151
ลำดบั ค่าเฉลี่ยต่ำสดุ ไดแ้ ก่ มีสิ่งอำนวยความสะดวกท่ีครบถว้ นสมบูรณ์ และเพยี งพอต่อความต้องการ
เชน่ ที่น่ังพัก ทีจ่ อดรถ ห้องน้ำ ถังรองรบั ขยะ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ๔.๒๔
152
ตารางที่ ๔.๑๗ แสดงค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับความคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชม
ศูนยฯ์ ทม่ี ตี ่อกลยทุ ธท์ างการตลาดดา้ นการบริการ ในการพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การ
เรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี จำแนกเป็นรายด้าน
“การพฒั นาด้านกระบวนการให้บรกิ าร ณ ศนู ยก์ ารเรียนรู้ฯ”
การพัฒนาดา้ นกระบวนการให้บริการ ณ ศูนยก์ าร คา่ เฉล่ีย (X) คา่ S.D แปลผล
เรยี นรู้ฯ
มากท่สี ดุ
๑. มีการอำนวยความสะดวกแก่ผ้มู าเยี่ยมชมศูนย์ฯอยา่ ง ๔.๓๑ ๐.๗๒ มากทส่ี ดุ
เหมาะสม
มากทีส่ ดุ
๒. มีความปลอดภัยท้งั ในและนอกศูนย์ฯ ๔.๔๑ ๐.๖๙ มากทส่ี ดุ
มากท่ีสดุ
๓. มคี วามทนั สมัยและมคี วามพรอ้ มของระบบ
เทคโนโลยี เชน่ เทคโนโลยีท่ีใชเ้ พ่ือการจดั แสดงให้
ความรู้ มีบรกิ ารฟรีไวไฟ
๔.๒๓ ๐.๗๙
๔. มพี ้ืนที่เพียงพอในการรองรบั ผมู้ าเยย่ี มชมศนู ย์การ ๔.๓๓ ๐.๗๙
เรยี นรู้ฯ
รวม ๔.๓๒ ๐.๗๓
ผลการศึกษาตามตารางที่ ๔.๑๗ ระดับความคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ที่มีต่อกลยุทธ์ทาง
การตลาดด้านการบริการ การพัฒนาด้านกระบวนการให้บริการ ณ ศูนย์การเรียนรู้ฯ”พบว่า
โดยรวมทกุ ข้อมีคา่ เฉลีย่ อยูใ่ นระดับมากท่ีสดุ (X) เท่ากับ ๔.๓๒
เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ระดับความคิดเห็นที่มีต่อกลยุทธ์การตลาดด้านการบรกิ าร
การพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย เรียงตามลำดับ
ได้ ดังนี้ มีความปลอดภัยทั้งในและนอกศูนย์ฯมีค่าเฉลี่ยอยู่ในลำดับสูงสุดเท่ากับ ๔.๔๑ รองลงมา
ได้แก่ มีพื้นที่เพียงพอในการรองรับผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ฯมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ๔.๓๓ ส่วนด้านที่มีลำดับ
153
คา่ เฉล่ยี ต่ำสดุ ไดแ้ ก่ ความทนั สมยั และมีความพร้อมของระบบเทคโนโลยี เช่น เทคโนโลยที ่ีใช้เพื่อการ
จัดแสดงใหค้ วามรู้ มีบรกิ ารฟรีไวไฟมคี า่ เฉล่ยี เท่ากับ ๔.๒๓
สว่ นที่ ๔ การทดสอบสมมติฐาน
สมมติฐานการวิจัย กลยุทธ์ทางการตลาดด้านการบริการ ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา
ด้านช่องทางให้บรกิ าร ด้านการส่งเสรมิ การตลาด ด้านเจ้าหนา้ ท่ีผู้ใหบ้ รกิ าร ด้านภาพลักษณแ์ ละการ
นำเสนอลักษณะสถานที่ และด้านกระบวนการให้บริการ มีความสัมพันธ์ต่อการพัฒนามาตรฐาน
คณุ ภาพศูนยก์ ารเรยี นรแู้ บบมสี ่วนร่วมในการอนรุ กั ษพ์ นั ธ์ุกลว้ ย ไดแ้ ก่ ดา้ นสภาพท่ัวไป ดา้ นโครงสร้าง
ด้านบทบาทในการบริหารจัดการ ด้านศักยภาพการบริหารจัดการ การรองรับผู้มาเยี่ยมชม การ
ให้บริการแก่ผู้มาเยี่ยมชม และด้านศักยภาพการดึงดูดผู้มาเยี่ยมชมศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมใน
การอนรุ ักษ์พนั ธุ์กล้วย จงั หวัดสพุ รรณบุรี
ซ่งึ สามารถเขียนเป็นสมมตฐิ านทางสถติ ิได้ ดังน้ี
H๐ : กลยุทธก์ ารตลาดด้านการบริการ ไม่มคี วามสมั พันธ์กับการพัฒนามาตรฐานคณุ ภาพศูนย์
การเรยี นรู้แบบมีสว่ นร่วมในการอนรุ ักษพ์ ันธ์ุกลว้ ย จังหวดั สุพรรณบุรี
H๑ : กลยุทธ์การตลาดด้านการบริการ มีความสัมพันธ์กับการพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์
การเรยี นรู้แบบมีส่วนรว่ มในการอนรุ ักษพ์ ันธ์ุกล้วย จงั หวดั สุพรรณบรุ ี
สำหรับสถิตทิ ี่ใชใ้ นการวิเคราะห์ จะใชก้ ารทดสอบด้วยการวิเคราะหค์ วามสัมพันธ์ของตัวแปร
สองตัวท่ีเป็นอิสระต่อกัน ทีเ่ ปน็ มาตรอันตรภาคชั้น โดยใช้สถิตคิ า่ สมั ประสทิ ธสิ หสัมพันธ์แบบเพียร์สัน
(Pearson Product Moment Correlation Coefficient) ใช้ระดับความเช่ือมันร้อยละ ๙๕ ดังนั้น
จะปฏิเสธสมมติฐานหลัก (H๐) กต็ ่อเมอ่ื Sig.(๒-tailed) มีคา่ น้อยกว่า ๐.๐๕ ผลการทดสอบสมมติฐาน
ดงั แสดงในตารางท่ี ๔.๑๘ – ๔.๒๕
154
ตารางท่ี ๔.๑๘ แสดงผลการวิเคราะห์ความสัมพนั ธร์ ะหว่างกลยทุ ธ์การตลาดดา้ นการบริการ
กับ การพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัด
สุพรรณบรุ ี ในภาพรวม
การพัฒนามาตรฐานคณุ ภาพศนู ย์การเรียนรู้ฯ
กลยุทธก์ ารตลาดด้านบรกิ าร Pearson Sig. ไปทศิ ทาง มคี วามสมั พันธใ์ น
Correlation(r) (๒-tailed)
ด้านผลติ ภัณฑ์ ณ ศูนยก์ ารเรียนรู้ฯ ๐.๒๒๖ ๐.๐๐ เดียวกนั ระดับตำ่
ด้านราคา ณ ศนู ย์การเรียนรู้ฯ ๐.๒๒๗ ๐.๐๐ เดียวกัน ระดบั ตำ่
ดา้ นชอ่ งทางการให้บริการ ณ ศูนย์
การเรียนรู้ฯ ๐.๕๐๒ ๐.๐๐ เดียวกนั ระดบั ปานกลาง
ดา้ นการส่งเสรมิ การตลาด ณ ศนู ย์
การเรียนรู้ฯ ๐.๕๖๕ ๐.๐๐ เดยี วกัน ระดบั ปานกลาง
ดา้ นเจา้ หนา้ ทผี่ ใู้ หบ้ รกิ าร ณ ศูนย์ ๐.๕๙๑ ๐.๐๐ เดียวกัน ระดับปานกลาง
การเรียนร้ฯู
ดา้ นภาพลักษณส์ ถานท่ี ณ ศูนยก์ าร ๐.๔๗๙ ๐.๐๐ เดยี วกนั ระดบั ปานกลาง
เรียนรฯู้
ดา้ นกระบวนการใหบ้ ริการ ณ ศนู ย์
การเรียนร้ฯู ๐.๕๐๘ ๐.๐๐ เดยี วกนั ระดับปานกลาง
รวม ๐.๔๔๓ ๐.๐๐ เดียวกนั ระดบั ปานกลาง
*มีนยั สำคญั ทางสถติ ิทีร่ ะดบั ๐.๐๕
155
ผลการศกึ ษาตามตารางที่ ๔.๑๘ แสดงผลการวิเคราะหค์ วามสมั พนั ธ์ระหวา่ งกลยทุ ธ์การตลาด
ด้านการบริการ กับ การพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์
กลว้ ย จังหวดั สุพรรณบรุ ี โดยใชก้ ารวเิ คราะหท์ างสถิติคา่ สมั ประสทิ ธิ์สหสมั พนั ธ์แบบเพยี ร์สัน
เมื่อพิจารณาในภาพรวม พบว่า กลยุทธ์การตลาดด้านการบริการการ มีความสัมพันธ์กับ
การพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัด
สุพรรณบุรี ในทางบวกระดับปานกลาง และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยมี่ค่า r เท่ากับ ๐.๔๔๓ มี
ค่า Sig เท่ากับ ๐.๐๐ ซึ่งมีค่าน้อยกว่า ๐.๐๕ นั้นคือ ปฏิเสธสมมติฐานหลัก (HO) และยอมรับสมมติ
ฐานรอง (H๑) หมายความว่า การพัฒนากลยุทธ์การตลาดด้านการบริการทั้ง ๗ ด้าน มีระดับ
ความสัมพันธ์หรือมีผลกับการพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์
พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี ๗ ด้าน ได้แก่ สภาพทั่วไปของศูนย์ฯ ลักษณะโครงสร้างของศูนย์ฯ
บทบาทในการบริหารศูนยฯ์ ศักยภาพการบริหารจดั การศูนย์ฯ ศักยภาพการรองรับผู้มาเยีย่ มชมศนู ย์
ศักยภาพการให้บริการผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ ฯ และศักยภาพการดึงดูดผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ฯ อย่างมี
นยั สำคญั ทางสถติ ิที่ ๐.๐๕ ซ่งึ สอดคลอ้ งกับสมมติฐานที่ตง้ั ไว้
เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า กลยุทธ์ดา้ นที่มีค่าความสัมพันธใ์ นลำดับสงู สดุ และเป็นไป
ในทิศทางเดียวกัน ได้แก่ ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ ณ ศูนย์การเรียนรู้ฯ มีค่า r เท่ากับ ๐.๕๙๑ มีค่า
Sig เท่ากับ ๐.๐๐ รองลงมาได้แก่ ด้านการส่งเสริมการตลาด ณ ศูนย์การเรียนรู้ฯ มีค่า r เท่ากับ
๐.๕๖๕ มีค่า Sig เท่ากับ ๐.๐๐ ส่วนกลยุทธ์ที่มีค่าระดับความสัมพันธ์ลำดับต่ำสุด ได้แก่ ด้าน
ผลติ ภณั ฑ์ ณ ศูนยก์ ารเรียนรูฯ้ มีคา่ r เท่ากบั ๐.๒๒๖ มีค่า Sig เทา่ กับ ๐.๐๐
สรุปได้ว่า กลยุทธ์ทางการตลาดดา้ นบริการมคี วามสมั พันธ์กับการพัฒนาคณุ ภาพมาตรฐาน
ศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี โดยมีค่าความสัมพันธ์
ทางบวกในระดบั ปานกลาง และเป็นไปในทศิ ทางเดียวกนั เรยี งตามลำดับ ดังน้ี
๑) ดา้ นเจา้ หน้าทีผ่ ใู้ หบ้ รกิ าร ณ ศูนย์การเรยี นรู้ฯ มีคา่ r = ๐.๕๙๑ มคี ่า Sig = ๐.๐๐
๒) ดา้ นการสง่ เสริมการตลาด ณ ศูนยก์ ารเรียนรฯู้ มีคา่ r = ๐.๕๖๕ มคี ่า Sig = ๐.๐๐
๓) ดา้ นกระบวนการใหบ้ ริการ ณ ศูนยก์ ารเรยี นรู้ฯ มคี ่า r = ๐.๕๐๘ มคี ่า Sig = ๐.๐๐
๔) ด้านชอ่ งทางการใหบ้ ริการ ณ ศูนย์การเรยี นร้ฯู มีค่า r = ๐.๕๐๒ มคี ่า Sig = ๐.๐๐
๕) ด้านภาพลักษณ์สถานท่ี ณ ศนู ยก์ ารเรียนร้ฯู มีค่า r = ๐.๔๗๙ มคี ่า Sig = ๐.๐๐
สว่ นดา้ นด้านผลติ ภณั ฑ์ และดา้ นราคา ณ ศูนย์การเรียนรู้ฯ มีคา่ r = ๐.๒๒๖ และ ๐.๒๒๗
มีคา่ Sig = ๐.๐๐ ตามลำดบั มีค่าความสัมพันธท์ างบวกในระดับต่ำ แต่เปน็ ไปในทิศทางเดยี วกนั
156
ตารางที่ ๔.๑๙ แสดงผลการวเิ คราะห์ความสมั พันธร์ ะหว่างกลยทุ ธ์การตลาดด้านการบริการ กบั
การพฒั นามาตรฐานคณุ ภาพศนู ยก์ ารเรยี นรแู้ บบมสี ่วนรว่ มในการอนุรกั ษ์พนั ธ์กุ ล้วย
จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี จำแนกเปน็ รายด้าน“ดา้ นผลิตภณั ฑ์ ณ ศูนย์การเรยี นรู้ฯ”
กลยทุ ธ์ด้านผลิตภณั ฑ์ ณ ศูนย์การ การพฒั นามาตรฐานคุณภาพศนู ย์การเรียนรู้แบบมสี ่วน
เรยี นรู้ฯ ร่วมในการอนรุ ักษพ์ ันธุ์กล้วย
Pearson Sig.
Correlation (r) (๒-tailed) ไปในทิศทาง ความสมั พันธ์ใน
๑. ผลิตภณั ฑท์ างการเกษตรมีความ ๐.๒๗๒ ๐.๐๐ เดียวกนั ระดับต่ำ
หลากหลาย มใี ห้เลอื กซือ้ เลือกชม ระดบั ต่ำ
๐.๒๓๕ ๐.๐๐ เดียวกัน
๒. ผลิตภัณฑ์จากผลผลิตจาก
การเกษตรมคี ุณภาพตรงกบั ความ
จำเปน็ ในการดำรงชีพ
๓. ผลติ ภณั ฑม์ คี วามหลากหลายให้ ๐.๒๑๒ ๐.๐๐ เดยี วกัน ระดับตำ่
เลอื กซื้ออย่างเพียงพอ
๔. ผลติ ภัณฑ์จากผลผลิตจาก ๐.๐๐ เดยี วกัน ระดบั ตำ่
การเกษตรมีมาตรฐานคุณภาพ
นา่ เชือ่ ถอื
๐.๑๘๕
รวม ๐.๒๒๖ ๐.๐๐ เดยี วกัน ระดบั ตำ่
*มีนัยสำคญั ทางสถิตทิ ี่ระดับ ๐.๐๕
ผลการศกึ ษาตามตารางท่ี ๔.๑๙ แสดงผลการวเิ คราะหค์ วามสมั พันธร์ ะหว่างกลยทุ ธ์การตลาด
ดา้ นผลิตภณั ฑ์ ณ ศูนยก์ ารเรียนรฯู้ กับ การพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรูแ้ บบมีสว่ นร่วมใน
การอนรุ กั ษ์พนั ธ์ุกล้วย จังหวัดสพุ รรณบุรี เมื่อพิจารณาในภาพรวม พบวา่ มคี วามสัมพันธ์ทางบวกกัน
157
ในระดับต่ำ มีค่า r = ๐.๒๒๖ และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ Sig =
๐.๐๐ ซึ่งสอดคลอ้ งกบั สมมติฐานท่ตี ั้งไว้
เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า. ผลิตภัณฑ์จากผลผลิตจากการเกษตรมีมาตรฐานคุณภาพ
น่าเชื่อถือ มีความสัมพันธ์กันในระดับต่ำและเปน็ ไปในทศิ ทางเดียวกัน มีค่า r เท่ากับ ๐.๒๗๒ ค่า Sig
เท่ากับ ๐.๐๐ รองลงมา ได้แก่ ผลิตภัณฑ์จากผลผลิตจากการเกษตรมีคณุ ภาพตรงกับความจำเป็นใน
การดำรงชีพ มีระดับความสัมพันธ์ต่ำและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน มีค่า r เท่ากับ ๐.๒๓๕ ค่า Sig
เท่ากับ ๐.๐๐ สว่ นข้อทมี่ ีค่าระดบั ความสัมพนั ธ์ต่ำสดุ และไมม่ คี วามสัมพนั ธ์กัน ได้แก่ ผลิตภัณฑ์จาก
ผลผลิตจากการเกษตรมีมาตรฐานคณุ ภาพ น่าเช่ือถอื มีคา่ r เทา่ กบั ๐.๑๘๕ ค่า Sig เท่ากับ ๐.๐๐
158
ตารางท่ี ๔.๒๐ แสดงผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหวา่ งกลยุทธ์การตลาดด้านการบริการ กบั การ
พัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัด
สพุ รรณบรุ ี จำแนกเป็นรายด้าน “กลยทุ ธ์ด้านราคา ณ ศนู ยก์ ารเรยี นร้ฯู ”
กลยทุ ธด์ ้านราคา ณ ศนู ย์การเรียนรูฯ้ การพัฒนามาตรฐานคุณภาพศนู ย์การเรยี นรู้แบบมสี ่วน
รว่ มในการอนุรกั ษพ์ นั ธุ์กล้วย
Pearson Sig.
Correlation (r) (๒-tailed) ไปในทิศทาง ความสมั พันธ์ใน
๑..ราคาค่าสินค้ามคี วามเหมาะสมไมส่ งู ๐.๒๙๙ ๐.๐๐ เดียวกนั ระดับตำ่
มากเม่ือเทยี บกับผลิตภัณฑช์ นิดเดียวกัน
ตามท้องตลาด
๒. มีอาหารเคร่ืองด่มื ให้บริการพอเพยี ง ๐.๑๙๕ ๐.๐๐ เดยี วกนั ระดับตำ่
และมรี าคาท่เี หมาะสม
๓. มีปา้ ยแสดงราคาสินค้าของที่ระลึกที่
ชดั เจนและมรี าคาที่เหมาะสม ๐.๑๐๘ ๐.๐๕ เดียวกัน ระดับตำ่
๔. มีความคมุ้ ค่ากบั การเขา้ เยี่ยมชม ๐.๓๐๙ ๐.๐๐ เดยี วกนั ระดับปานกลาง
ศูนยฯ์ ในครง้ั นี้
รวม ๐.๒๒๗ ๐.๐๐ เดยี วกัน ระดบั ตำ่
*มนี ัยสำคญั ทางสถิตทิ ่ีระดับ ๐.๐๕
ผลการศึกษาตามตารางท่ี ๔.๒๐ แสดงผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธการตลาด
ดา้ นราคา ณ ศนู ย์การเรียนรฯู้ กบั การพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการ
อนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี เมื่อพิจารณาในภาพรวม พบว่า มีความสัมพันธ์ทางบวกกันใน
ระดับต่ำ มีค่า r = ๐.๒๒๗ และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ Sig =
๐.๐๐ ซงึ่ สอดคล้องกบั สมมติฐานท่ตี ั้งไว้
159
เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า มีความคุ้มค่ากับการเข้าเยี่ยมชมศูนย์ฯในครั้งนี้ มีระดับ
ความสมั พันธ์ลำดับสูงสุด และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน มคี า่ r เท่ากับ ๐.๓๐๙ คา่ Sig เท่ากับ ๐.๐๐
รองลงมา ได้แก่ ราคาค่าสินค้ามีความเหมาะสมไม่สูงมากเมื่อเทียบกับผลิตภัณฑ์ชนิดเดียวกันตาม
ท้องตลาด มีระดับความสัมพันธ์และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน มีค่า r เท่ากับ ๐.๒๙๙ ค่า Sig เท่ากับ
๐.๐๐ ส่วนข้อที่มีค่าระดับความสัมพันธ์ต่ำสุด และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ได้แก่ มีป้ายแสดงราคา
สินคา้ ของที่ระลึกทชี่ ดั เจนและมีราคาทีเ่ หมาะสม มคี า่ r เท่ากับ ๐.๑๐๘ ค่า Sig เทา่ กับ ๐.๐๕
160
ตารางที่ ๔.๒๑ แสดงผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์การตลาดด้านการบริการ กับ
การพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย
จังหวัดสุพรรณบุรี จำแนกเป็นรายด้าน “กลยุทธ์ด้านช่องทางการให้บริการ ณ ศูนย์การ
เรยี นรู้ฯ”
ด้านชอ่ งทางการใหบ้ ริการ ณ ณ ศูนย์ การพฒั นามาตรฐานคณุ ภาพศูนย์การเรยี นร้แู บบมีส่วน
การเรียนรู้ฯ รว่ มในการอนุรักษ์พันธุ์กลว้ ย
Pearson Sig.
Correlation (r) (๒-tailed ไปทิศทาง ความสมั พันธ์ใน
๑. มีการให้บริการเข้าชมสถานที่อย่าง ๐.๔๐๖ ๐.๐๐ เดยี วกัน ระดับปานกลาง
เหมาะสม
๐.๔๗๐ ๐.๐๐ เดยี วกนั ระดับปานกลาง
๒. มีการบริการข้อมูลด้านวิชาการการ ๐.๕๖๓ ๐.๐๐ เดียวกนั ระดับปานกลาง
อนรุ กั ษ์พนั ธก์ุ ลว้ ยใหเ้ กิดการเรียนรู้อย่าง
เพียงพอ
๓. มีความสะดวกหลายช่องทางในการ
เข้าถึงแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับการเรียนรู้ฯ
ผา่ นเว็บไซด์ เป็นตน้
๔. ท่ีต้ังของศนู ยฯ์ ต้งั อยใู่ นทำเลที่หางา่ ย ๐.๕๖๗ ๐.๐๐ เดียวกัน ระดับปานกลาง
เดนิ ทางสะดวก
รวม ๐.๕๐๒ ๐.๐๐ เดียวกัน ระดบั ปานกลาง
*มีนัยสำคญั ทางสถิตทิ ีร่ ะดบั ๐.๐๕
ผลการศกึ ษาตามตารางท่ี ๔.๒๑ แสดงผลการวิเคราะหค์ วามสมั พันธร์ ะหวา่ งกลยุทธ์ด้านช่อง
ทางการให้บริการ ณ ศูนย์การเรียนรู้ฯ กับ การพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วน
ร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี เมื่อพิจารณาในภาพรวม พบว่า มีความสัมพันธ์
161
ทางบวกกันในระดับปานกลางค่า r = ๐.๕๐๒ และเปน็ ไปในทศิ ทางเดียวกนั อย่างมนี ยั สำคัญทางสถิติ
ที่ระดับ Sig = ๐.๐๐ ซ่ึงสอดคลอ้ งกับสมมติฐานทตี่ ้งั ไว้
เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ที่ตั้งของศูนย์ฯตั้งอยู่ในทำเลที่หาง่าย เดินทางสะดวก มี
ระดับความสัมพันธ์ระดับปานกลาง และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน มีค่า r เท่ากับ ๐.๕๖๗ ค่า Sig
เท่ากับ ๐.๐๐ รองลงมา ได้แก่ มีความสะดวกหลายช่องทางในการเข้าถึงแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับการ
เรียนรู้ฯ ผ่านเว็บไซด์ เป็นต้น มีระดับความสัมพันธ์และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน มีค่า r เท่ากับ
๐.๕๖๓ คา่ Sig เทา่ กบั ๐.๐๐ สว่ นข้อทมี่ รี ะดบั ความสำคญั ตำ่ สดุ และเปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกัน ได้แก่
มกี ารให้บริการเข้าชมสถานที่อย่างเหมาะสม มคี ่า r เท่ากบั ๐.๔๐๖ ค่า Sig เท่ากับ ๐.๐๐
162
ตารางที่ ๔.๒๒ แสดงผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนากลยุทธ์การตลาดด้านการ
บริการการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ กับ การพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้
แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี จำแนกเป็นรายด้าน “กลยุทธ์
ดา้ นการสง่ เสรมิ การตลาด ณ ศูนยก์ ารเรียนร้ฯู ”
กลยุทธ์ด้านการส่งเสริมการตลาด ณ การพฒั นามาตรฐานคณุ ภาพศนู ย์การเรียนรู้แบบมสี ว่ น
ศนู ย์การเรยี นรูฯ้ ร่วมในการอนุรักษ์พนั ธุ์กล้วย
Pearson Sig.
Correlation (r) (๒-tailed ไปทศิ ทาง ความสัมพนั ธ์ใน
๑.มกี ารประชาสมั พันธถ์ งึ ผลิตภัณฑ์ /ศนู ย์ ๐.๕๙๙ ๐.๐๐ เดียวกัน ระดบั ปานกลาง
อนุรักษ์พันธุ์กล้วย
๒.มีการประชาสัมพนั ธเ์ สน้ ทางด้วยภาษา
ท่หี ลากหลาย เขา้ ใจง่าย และนา่ สนใจ
๐.๕๘๑ ๐.๐๐ เดยี วกัน ระดบั ปานกลาง
๓. มกี ารแนะนำศนู ย์ ฯ ผา่ นส่ือต่างๆ เชน่ ๐.๖๐๗ ๐.๐๐ เดียวกนั ระดับปานกลาง
อนิ เตอร์เน็ต แผ่นพับ หนังสือนำเท่ียว
โทรทัศน์ วทิ ยุ ดว้ ยภาษาทห่ี ลากหลาย ๐.๔๗๖ ๐.๐๐ เดยี วกัน ระดับปานกลาง
๐.๕๖๕ ๐.๐๐ เดยี วกนั ระดับปานกลาง
๔. มกี ารแนะนำข้อมูลข่าวสารผา่ น
นทิ รรศการ หรอื การจดั กิจกรรมต่างๆ ใน
สถานทีอ่ นื่ ๆ
รวม
*มนี ยั สำคญั ทางสถิตทิ ีร่ ะดับ ๐.๐๕
ผลการศึกษาตามตารางท่ี ๔.๒๒ แสดงผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์ดา้ นการ
ส่งเสริมการตลาด ณ ศูนย์การเรียนรู้ฯ กับ การพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วน
163
ร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี เมื่อพิจารณาในภาพรวม พบว่า มีความสัมพันธ์
ทางบวกกันในระดับปานกลางค่า r = ๐.๕๖๕ และเป็นไปในทิศทางเดยี วกนั อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
ทีร่ ะดบั Sig = ๐.๐๐ ซ่ึงสอดคล้องกับสมมติฐานท่ตี ้งั ไว้
เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า มีการแนะนำศูนย์ ฯ ผ่านสื่อต่างๆ เช่น อินเตอร์เน็ต แผ่น
พับ หนังสือนำเที่ยว โทรทัศน์ วิทยุ ด้วยภาษาที่หลากหลาย มีระดับความสัมพันธ์ลำดับสูงสุด และ
เป็นไปในทิศทางเดียวกัน มีค่า r เท่ากับ ๐.๖๐๗ ค่า Sig เท่ากับ ๐.๐๐ รองลงมา ได้แก่ มีการ
ประชาสัมพันธ์ถึงผลิตภัณฑ์ /ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์กล้วย มีระดับความสัมพันธ์และเป็นไปในทิศทาง
เดียวกัน มีค่า r เท่ากับ ๐.๕๙๙ ค่า Sig เท่ากับ ๐.๐๐ ส่วนข้อที่มีค่าระดับความสัมพันธ์ต่ำสุด และ
เปน็ ไปในทศิ ทางเดียวกนั ได้แก่ มกี ารแนะนำขอ้ มลู ขา่ วสารผ่านนิทรรศการ หรอื การจดั กิจกรรมต่างๆ
ในสถานท่ีอน่ื ๆ มีค่า r เท่ากบั ๐.๔๗๖ คา่ Sig เท่ากบั ๐.๐๐
164
ตารางที่ ๔.๒๓ แสดงผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนากลยุทธ์การตลาดด้านการ
บริการการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ กับ การพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้
แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี จำแนกเป็นรายด้าน “กลยุทธ์
ด้านเจ้าหนา้ ท่ีผใู้ ห้บรกิ าร ณ ศนู ยก์ ารเรียนร้ฯู ”
กลยุทธ์ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ ณ การพฒั นามาตรฐานคณุ ภาพศูนย์การเรยี นรูแ้ บบมีส่วน
ศูนยก์ ารเรียนร้ฯู รว่ มในการอนรุ ักษ์พนั ธ์กุ ลว้ ย
Pearson Sig.
Correlation (r) (๒-tailed ไปทศิ ทาง ความสมั พันธ์ใน
๑. มีเจา้ หนา้ ทใ่ี หค้ ำแนะนำ/ให้ขอ้ มูลด้าน ๐.๕๘๕ ๐.๐๐ เดยี วกัน ระดับปานกลาง
การอนรุ ักษ์พนั ธกุ์ ลว้ ยทกุ มิติ
๒. มเี จ้าหน้าทใี่ หบ้ ริการด้วยความสุภาพ/ ๐.๖๕๖ ๐.๐๐ เดียวกนั ระดับปานกลาง
มีความเป็นกัลยาณมิตร
๓. มเี จ้าหน้าที่มคี วามรู้ความสามารถใน ๐.๖๕๔ ๐.๐๐ เดยี วกนั ระดับปานกลาง
การตอบข้อซักถามและใหข้ ้อมูล
๔. เจ้าหน้าทม่ี ีมนษุ ยส์ มั พันธก์ บั ผมู้ าเยีย่ ม ๐.๔๖๗ ๐.๐๐ เดียวกัน ระดบั ปานกลาง
ชมศนู ย์ฯเปน็ อยา่ งดี
รวม ๐.๕๙๑ ๐.๐๐ เดียวกัน ระดับปานกลาง
*มีนัยสำคญั ทางสถิตทิ รี่ ะดับ ๐.๐๕
ผลการศึกษาตามตารางที่ ๔.๒๓ แสดงผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์ด้าน
เจา้ หน้าท่ีผใู้ หบ้ รกิ าร ณ ศนู ย์การเรยี นร้ฯู กับ การพฒั นามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วน
ร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี เมื่อพิจารณาในภาพรวม พบว่า มีความสัมพันธ์
ทางบวกกนั ในระดบั ปานกลางค่า r = ๐.๕๙๑ และเปน็ ไปในทิศทางเดยี วกนั อย่างมีนยั สำคญั ทางสถิติ
ท่ีระดบั Sig = ๐.๐๐ ซ่ึงสอดคล้องกับสมมติฐานท่ตี ั้งไว้
165
เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า มีเจ้าหน้าที่ให้บริการด้วยความสุภาพ/มีความเป็น
กัลยาณมติ ร ระดบั ความสมั พันธ์ลำดับสูงสุด และเป็นไปในทศิ ทางเดยี วกนั มีคา่ r เทา่ กบั ๐.๖๕๖ ค่า
Sig เท่ากับ ๐.๐๐ รองลงมา ได้แก่มีเจ้าหน้าที่มีความรู้ความสามารถในการตอบข้อซักถามและให้
ข้อมูล มีระดับความสัมพันธ์และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน มีค่า r เท่ากับ ๐.๖๕๔ ค่า Sig เท่ากับ
๐.๐๐ ส่วนขอ้ ทีม่ ีค่าระดับความสัมพันธ์ต่ำสุด และเป็นไปในทิศทางเดียวกนั ได้แก่ เจ้าหนา้ ท่มี ีมนุษย์
สมั พนั ธก์ บั ผูม้ าเย่ียมชมศูนย์ฯเป็นอยา่ งดี มีค่า r เท่ากบั ๐.๔๖๗ คา่ Sig เท่ากับ ๐.๐๐
ตารางที่ ๔.๒๔ แสดงผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์การตลาดด้านการบริการ กับ
การพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย
จังหวัดสุพรรณบุรี จำแนกเป็นรายด้าน “กลยุทธ์ด้านภาพลักษณ์สถานที่ ณ ศูนย์การ
เรยี นรฯู้ ”
กลยุทธ์ด้านภาพลักษณ์สถานที่ ณ การพฒั นามาตรฐานคุณภาพศนู ย์การเรยี นร้แู บบมสี ่วนรว่ ม
ศูนย์การเรียนรู้ฯ ในการอนรุ ักษ์พนั ธกุ์ ลว้ ย
Pearson Sig.
Correlation (r) (๒-tailed ไปทิศทาง ความสัมพันธ์ใน
๑. มคี วามโดดเด่นเปน็ แหลง่ เรียนรู้ ๐.๔๖๖ ๐.๐๐ เดียวกัน ระดับปานกลาง
และการอนุรักษ์พนั ธกุ์ ลว้ ย ๐.๔๔๑ ๐.๐๐ เดียวกัน ระดับปานกลาง
๒. มีความสะอาดเหมาะสมกับการ ๐.๔๘๘ ๐.๐๐ เดยี วกัน ระดบั ปานกลาง
เป็นศนู ย์ ฯ
๓. มีสง่ิ อำนวยความสะดวกท่ี
ครบถว้ นสมบรู ณ์ และเพยี งพอต่อ
ความตอ้ งการ เชน่ ทน่ี งั่ พัก ที่จอดรถ
หอ้ งน้ำ ถงั รองรับขยะ
๔. มีสภาพแวดลอ้ มท่เี หมาะสม ไม่
รกรุงรงั ไม่มสี งิ่ อันตรายในศูนย์ฯ
166
๐.๕๒๓ ๐.๐๐ เดยี วกัน ระดบั ปานกลาง
รวม ๐.๔๗๙ ๐.๐๐ เดียวกัน ระดับปานกลาง
*มีนัยสำคัญทางสถิตทิ ีร่ ะดับ ๐.๐๕
ผลการศึกษาตามตารางที่ ๔.๒๔ แสดงผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์ด้าน
ภาพลักษณ์สถานท่ี ณ ศูนย์การเรียนรู้ฯ กับ การพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วน
ร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี เมื่อพิจารณาในภาพรวม พบว่า มีความสัมพันธ์
ทางบวกกันในระดับปานกลางค่า r = ๐.๔๗๙ และเปน็ ไปในทิศทางเดียวกัน อย่างมนี ยั สำคญั ทางสถิติ
ทรี่ ะดบั Sig = ๐.๐๐ ซงึ่ สอดคลอ้ งกับสมมติฐานทตี่ ั้งไว้
เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ไม่รกรุงรัง ไม่มีสิ่งอันตรายใน
ศนู ย์ฯ มีระดบั ความสัมพันธล์ ำดับสูงสุด และเปน็ ไปในทิศทางเดียวกัน มีคา่ r เท่ากบั ๐.๕๒๓ ค่า Sig
เท่ากับ ๐.๐๐ รองลงมา ได้แก่ มีสิ่งอำนวยความสะดวกที่ครบถ้วนสมบูรณ์ และเพียงพอต่อความ
ต้องการ เช่น ที่นั่งพกั ที่จอดรถ ห้องน้ำ ถังรองรับขยะ มีระดับความสัมพันธ์ปานกลางและเปน็ ไปใน
ทิศทางเดียวกัน มีค่า r เท่ากับ ๐.๔๘๘ ค่า Sig เท่ากับ ๐.๐๐ ส่วนข้อที่มีค่าระดับความสมั พันธ์ตำ่ สุด
และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ได้แก่ มีความสะอาดเหมาะสมกับการเป็นศูนย์ ฯ มีค่า r เท่ากับ
๐.๔๔๑ ค่า Sig เท่ากับ ๐.๐๐
167
ตารางที่ ๔.๒๕ แสดงผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์การตลาดด้านการบริการ กับ
การพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย
จังหวัดสุพรรณบุรี จำแนกเป็นรายด้าน “กลยุทธ์ด้านกระบวนการให้บริการ ณ ศูนย์การ
เรยี นรู้ ฯ”
ด้านกระบวนการให้บริการ ณ ศูนย์การ การพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนยก์ ารเรยี นรูแ้ บบมีสว่ น
เรียน ฯ รว่ มในการอนุรักษ์พนั ธุ์กลว้ ย
Pearson Sig.
Correlation (r) (๒-tailed) ไปทศิ ทาง ความสัมพันธ์ใน
๑. มีการอำนวยความสะดวกแก่ผ้มู าเยี่ยม ๐.๕๑๒ ๐.๐๐ เดียวกัน ระดบั ปานกลาง
ชมศูนยฯ์ อยา่ งเหมาะสม
๒. มคี วามปลอดภัยท้งั ในและนอกศนู ย์ฯ ๐.๔๔๑ ๐.๐๐ เดยี วกัน ระดบั ปานกลาง
๓. มีความทนั สมยั และมคี วามพร้อมของ
ระบบเทคโนโลยี เชน่ เทคโนโลยีท่ีใชเ้ พ่ือ
การจดั แสดงให้ความรู้ มบี ริการฟรไี วไฟ ๐.๕๖๘ ๐.๐๐ เดยี วกัน ระดับปานกลาง
๔. มีพ้ืนทเ่ี พยี งพอในการรองรับผู้มาเยี่ยม ๐.๕๐๙ ๐.๐๐ เดยี วกนั ระดบั ปานกลาง
ชมศนู ย์ฯ
รวม ๐.๕๐๘ ๐.๐๐ เดยี วกัน ระดบั ปานกลาง
*มีนัยสำคัญทางสถติ ิทีร่ ะดับ ๐.๐๕
ผลการศึกษาตามตารางท่ี ๔.๒๕ แสดงผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์ด้าน
ภาพลักษณ์สถานที่ ณ ศูนย์การเรียนรู้ฯ กับ การพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วน
ร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี เมื่อพิจารณาในภาพรวม พบว่า มีความสัมพันธ์
ทางบวกกนั ในระดับปานกลางค่า r = ๐.๕๐๘ และเป็นไปในทิศทางเดียวกนั อยา่ งมนี ัยสำคญั ทางสถิติ
ท่รี ะดับ Sig = ๐.๐๐ ซ่งึ สอดคล้องกับสมมตฐิ านทต่ี ง้ั ไว้
168
เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า มีความทันสมัยและมีความพรอ้ มของระบบเทคโนโลยี เชน่
เทคโนโลยีที่ใช้เพื่อการจัดแสดงให้ความรู้ มีบริการฟรีไวไฟ มีระดับความสัมพันธ์ลำดับสูงสุด และ
เป็นไปในทิศทางเดียวกัน มีค่า r เท่ากับ ๐.๕๖๘ ค่า Sig เท่ากับ ๐.๐๐ รองลงมา ได้แก่ มีการอำนวย
ความสะดวกแก่ผู้มาเยีย่ มชมศูนย์ฯอยา่ งเหมาะสม มีระดบั ความสมั พนั ธ์และเปน็ ไปในทิศทางเดียวกัน
มีค่า r เท่ากับ ๐.๕๑๒ ค่า Sig เท่ากับ ๐.๐๐ ส่วนข้อที่มีค่าระดับความสัมพันธ์ต่ำสุด และเป็นไปใน
ทิศทางเดียวกัน ได้แก่ มีความปลอดภัยทั้งในและนอกศูนย์ฯ มีค่า r เท่ากับ ๐.๔๔๑ ค่า Sig เท่ากับ
๐.๐๐
169
ส่วนที่ ๕. ผลสรุปการวิเคราะห์บทสัมภาษณ์ข้อคิดเห็นจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ที่เสนอแนะแนวทาง
ในการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานศนู ย์การเรยี นรูแ้ บบมีส่วนรว่ มในการอนุรกั ษพ์ ันธุ์กลว้ ย
จงั หวดั สพุ รรณบุรี
การวเิ คราะหป์ จั จยั ส่วนบุคคลของผู้ใหข้ ้อมูลหลัก
ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม ประกอบด้วย เพศ อายุ สถานภาพสมรส
สถานภาพทางสงั คม ระดับการศึกษา ระยะเวลาท่ีอย่ใู นชุมชน ภูมลำเนาเดิม โดยใชส้ ถติ ิคา่ รอ้ ยละ ดัง
แสดงในตารางตอ่ ไปนี้
ตารางที่ ๔.๒๖ แสดงจำนวนร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามปัจจยั สว่ นบุคคล
ปจั จยั ส่วนบุคคล จำนวน(รูป/คน) ร้อยละ
เพศ ๕๓.๓๓
๔๖.๖๔
ชาย ๘ ๑๐๐
หญงิ ๗ ๓๓.๓๓
๔๐.๐๐
รวม ๑๕ ๖.๖๗
๒๐.๐๐
อายุ ๑๐๐
๓๑ – ๔๐ ปี ๕ ๖.๖๗
๔๖.๖๗
๔๑ – ๕๐ ปี ๖ ๓๓.๓๓
๑๓.๓๓
๕๑ – ๖๐ ปี ๑ ๑๐๐
๖๑ ปี ขึ้นไป ๓ ๘๐.๐๐
๖.๖๗
รวม ๑๕ ๖.๖๗
๖.๖๗
ระดบั การศึกษา
ต่ำกวา่ ปรญิ ญาตรี ๑
ปรญิ ญาตรี ๗
ปรญิ ญาโท ๕
ปริญญาเอก ๒
รวม ๑๕
สถานภาพทางสังคม
ขา้ ราชการ/ขา้ ราชการบำนาญ ๑๒
พนักงาน ๑
ประธานศูนยอ์ นรุ ักษ์ ๑
นักบวช ๑
ปจั จัยสว่ นบคุ คล จำนวน(รูป/คน) 170
๑๕
รวม รอ้ ยละ
๑ ๑๐๐
สถานภาพสมรส ๗
๗ ๖.๖๖
หยา่ รา้ ง ๑๕ ๔๖.๖๗
สมรส ๔๖.๖๗
โสด ๑๑ ๑๐๐
๑
รวม ๑ ๗๓.๓๒
๑ ๖.๖๗
ภมู ิลำเนาเดมิ อยจู่ ังหวัด ๑ ๖.๖๗
๑๕ ๖.๖๗
สุพรรณบรุ ี ๖.๖๗
๖ ๑๐๐
อ่างทอง ๔
พะเยา ๑ ๔๐.๐๐
นครศรธี รรมราช ๒ ๒๖.๖๖
พระนครศรีอยธุ ยา ๑ ๖.๖๗
๑ ๑๓.๓๓
รวม ๑๕ ๖.๖๗
๖.๖๗
ระยะเวลาท่ีอยใู่ นชมุ ชน ๑๐๐
๕ ปี
๘ ปี
๑๐ ปี
๒๐ ปี
๓๐ ปี
๓๒ ปี
รวม
ผลการศึกษาตามตารางที่ ๔.๒๒ พบว่า ผลการวิเคราะห์ข้อมูลลักษณะปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ให้
ขอ้ มลู สำคัญ จำนวน ๑๕ รูป/คน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลได้ ดงั นี้
เพศ พบว่า ส่วนใหญเ่ ปน็ เพศชาย จำนวน ๘ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๕๓.๓๓ เพศชายจำนวน ๗
คน คดิ เป็นร้อยละ ๔๖.๖๔
อายุ พบว่าส่วนใหญ่มีอายุ ๔๑ – ๕๐ ปี จำนวน ๖ รูป/คน คิดเป็นร้อยละ ๔๐.๐๐
รองลงมาคืออายุ ๓๑ - ๔๐ ปี จำนวน ๕ รูป/คน คิดเป็นร้อยละ ๓๓.๓๓ และมีอายุต่ำกว่า ๖๑ ปี
จำนวน ๓ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๒๐.๐๐
171
ระดับการศึกษา พบว่า ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับปรญิ ญาตรี จำนวน ๗ รูป/คน คิดเปน็
ร้อยละ ๔๖.๖๗ รองลงมา จบการศึกษาระดับปริญญาโท จำนวน ๕ รูป/คน คิดเป็นร้อยละ ๓๓.๓๓
และปรญิ ญาเอกจำนวน ๒ รปู /คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๓.๓๓
สถานภาพทางสงั คม พบวา่ ส่วนใหญเ่ ปน็ ขา้ ราชการ/ขา้ ราชการบำนาญ จำนวน ๑๒ คน
คิดเปน็ รอ้ ยละ ๘๐
สถานภาพสมรส พบว่า สว่ นใหญ่สมรสแล้ว จำนวน ๗ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๔๖.๖๗ และ
เป็นโสด จำนวนละ ๗ รูป/คน คดิ เป็นร้อยละ ๔๖.๖๗ ตามลำดบั
ภูมิลำเนาเดิม พบว่า ส่วนใหญ่อยู่จังหวัดสุพรรณบุรีมากที่สุด จำนวน ๑๑ รูป/คน คิดเป็น
รอ้ ยละ ๗๓.๓๓
ระยะเวลาที่อยใู่ นชมุ ชน พบว่า ส่วนใหญอ่ าศัยอยู่ในชมุ ชนเป็นระยะเวลา ๕ ปี มากที่สุด
จำนวน ๖ รูป/คน คิดเปน็ ร้อยละ ๔๐.๐๐ รองลงมา จำนวน ๗-๘ ปี จำนวน ๔ รปู /คน คดิ เป็นร้อย
ละ ๒๖.๖๖ และ ๒๐ ปี จำนวน ๒ รูป/คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๑๓.๓๓
ผู้วิจัยทำการสรุปผลการสัมภาษณ์เชงิ ลกึ จากผูใ้ ห้ข้อมูลสำคญั เก่ียวกับการพัฒนามาตรฐาน
คุณภาพศนู ย์การเรียนรู้แบบมสี ว่ นรว่ มในการอนรุ ักษ์พันธกุ์ ลว้ ย จังหวัดสุพรรณบุรี เพ่ือให้มีมาตรฐาน
คุณภาพแหล่งท่องเทยี่ วเชิงเกษตร โดยยดึ ทฤษฎี กลยุทธก์ ารตลาดด้านบรกิ าร จำนวน ๗ ดา้ น ดังน้ี
๑) การพัฒนาด้านผลิตภณั ฑ์ ณ ศนู ย์การเรยี นรู้ฯ
จากการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ พบว่า ควรพัฒนาให้ผลิตภัณฑ์ตรงกับความจำเป็นใช้
สอยเป็นสิ่งที่น่าสนใจและดึงดูดผู้บริโภค เช่น รูปแบบบรรจุภัณฑ์ มีเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ ร่วมสมัยสู่
สากล มีเรื่องราวความเป็นมาประกอบ มีประโยชน์ตรงกับความต้องการของผู้บริโภค มีคุณค่าจริง
ปลอดภัยตอ่ สุขภาพและส่งิ แวดล้อม52 ตรงกบั ความจำเปน็ ใชส้ อยเป็นสิ่งทีน่ ่าสนใจและดึงดูดผู้บริโภค
เช่น ทดแทนพลาสติก มีคุณภาพเทียบได้เท่าชาม จาน ถ้วย ปลอดสารปนเปื้อน ใช้ได้นาน ดีต่อ
สุขภาพ มีความหลากหลายให้เลือกอย่างเพียงพอ53 ควรให้สะดุดตา สะอาด อร่อย และสวยงาม มี
ความปลอดภัยและดีต่อสุขภาพ54 จะต้องมีการจัดโครงการอบรมให้ความรู้ มีการอบรมผ่านวิทยากร
ความปลอดภัยก็จะต้องผ่านการดูแลเบื้องต้น55 การใช้แบบบรรจุภัณฑ์ที่เป็นสัดส่วน ปลอดภัยจก
สารเคมีต่าง ๆ ตอ้ งมีการตรวจสอบผลติ ภัณฑ์ และมีความเหมาะสมเพียงพอต่อความต้องการ56 บรรจุ
52 สัมภาษณ์ นายเฉลิมศักดิ์ จติ ถนอม,สำหรับกล่มุ ข้าราชการ/ผนู้ ำชมุ ชน , อายุ 63 ปี, ท่ีอยู่ ม.3 ต.สาว
รอ้ งไห้ อ.วเิ ศษชัยชาญ จ.อ่างทอง, [1 กนั ยายน ๒๕๖3].
53 สัมภาษณ์ นายปณั ณวิชญ์ แสงหลา้ ,สำหรบั กล่มุ ข้าราชการ/ผูน้ ำชุมชน , อายุ 43 ป,ี ทีอ่ ยู่ ภูมิลำเนา
เดมิ พะเยา, [1 กนั ยายน ๒๕๖3].
54 สัมภาษณ์ นางสาว วรรณวรัทย์ พงษ์สงฆ์,สำหรับกลุ่มข้าราชการ/ผู้นำชุมชน , อายุ 42 ปี,เจ้าหน้าที่
บรรณารกั ษ์ วส.สพุ รรณบุรี , ทอ่ี ยู่ ภูมลิ ำเนาเดิม วดั ป่าเลไลยก์, [1 กันยายน ๒๕๖3].
55 สัมภาษณ์ ดร.กชด ยันต์ทอง,สำหรับกลุ่มข้าราชการ/ผู้นำชุมชน , อายุ 65 ปีข้าราชการบำนาญ, ที่
อยู่ ภูมิลำเนาเดมิ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี , [1 กันยายน ๒๕๖3].
56 สัมภาษณ์ นายอานนท์ รักผล ,สำหรับกลุม่ ขา้ ราชการ/ผู้นำชุมชน , อายุ 59 ปี,ประธานศูนย์อนุรักษ์
พันธก์ุ ลว้ ย , ทอี่ ยู่ ภูมิลำเนาเดิม จงั หวัดนครศรธี รรมราช , [1 กนั ยายน ๒๕๖3].
172
ภัณฑ์ต้องมีการออกแบบให้สวยงาม สร้างความน่าเชื่อถือโดยการขออนุญาต อย. ผ่านกระบวนการ
ตรวจสอบ และมีทั้งของกินและของใช้57 บรรจุภัณฑ์ดูสวยงามและรักษาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ และ
มีมาตรฐานรับรอง ผลิตภัณฑ์มีความเพียงพอและหลากหลาย58 ได้มาตรฐานสากล มีเอกลักษณ์โดด
เด่น มคี ุณคา่ และประโยชนท์ ี่แท้จรงิ มคี วามสะอาด ปลอดภยั ถูกสุขลกั ษณะ และมคี วามหลากหลาย
ตอบสนองผู้บรโิ ภคไดอ้ ย่างเพียงพอ59 ควรให้สะดุดตา สะอาด อร่อย และสวยงาม การมีความรู้เรือ่ ง
ผลิตภัณฑ์ ความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์60 ควรพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้มีความสวยงาม ทนทาน สร้าง
ความน่าเชือ่ ถือโดยผ่านการรับรองจาก อย.เพื่อความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์61 รูปแบบมีความดงึ ดูด
สวยงาม และทนทานตอ่ การใชง้ าน มีความปลอดภัย62 รูปแบบผลิตภณั ฑ์ท่เี หมาะสมได้รบั การรับรอง
จาก อย.63 รูปแบบของบรรจุภณั ฑ์มีความโดนเดน่ สะดดุ ตา และมกี ารรับรองมาตรฐานสากล มีความ
ปลอดภยั ตามมาตรฐาน64 มสี ีสันสวยงาม ผลติ ภัณฑม์ ีมาตรฐาน และยงั ไดร้ บั การรับรองจาก อย.65 มี
การใช้วัสดุจากธรรมชาติ สวยงาม มคี วามปลอดภัยตามมาตรฐาน 66
สรุป การพัฒนาด้านผลิตภัณฑ์ศูนย์การเรียนรู้ฯ ผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนใหญ่ให้ความเห็นว่าควร
พัฒนาผลิตภัณฑ์ตรงกับความจำเป็นใช้สอย ดึงดูดผู้บริโภค มีประโยชน์ คุณค่าจริง ปลอดภัยต่อ
สขุ ภาพและสิง่ แวดลอ้ มตรงกบั ความต้องการของผบู้ ริโภค ได้มาตรฐานสากลไดร้ บั การรับรองจาก อย.
มีเอกลักษณ์โดดเด่น มีความสะอาด ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ และมีความหลากหลาย ตอบสนอง
ผ้บู รโิ ภคได้อย่างเพียงพอ
๒) การพัฒนาดา้ นราคา ณ ศนู ยก์ ารเรียนรูฯ้
57 สัมภาษณ์ พระครูโสภณวีรานูวัตร,ดร. , สำหรับกลุ่มข้าราชการ/ผู้นำชุมชน, อายุ 48 ปี, บวช, ที่อยู่
ภูมิลำเนาเดิม จังหวัดสุพรรณบรุ ี, [1 กันยายน ๒๕๖3].
58 สัมภาษณ์ นายมานะ พุทธิโชติ , สำหรับกลุ่มข้าราชการ/ผู้นำชุมชน, อายุ 35 ปี, รับราชการ, ที่อยู่
ภมู ลิ ำเนาเดิม จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา , [1 กนั ยายน ๒๕๖3].
59 สัมภาษณ์ นายฤชานนท์ สมงาม , สำหรับกลุ่มข้าราชการ/ผู้นำชุมชน, อายุ 32 ปี, เลขานุการ, ที่อยู่
ภมู ิลำเนาเดิม วดั ป่าเลไลยกม์ , [1 กันยายน ๒๕๖3].
60 สัมภาษณ์ นายธนภค ธัญญสหวภิ า , สำหรับกลุ่มข้าราชการ/ผู้นำชุมชน, อายุ 39 ปี, รับราชการ, ที่
อยู่ ภูมลิ ำเนาเดมิ วดั ป่าเลไลยก์, [1 กนั ยายน ๒๕๖3].
61 สมั ภาษณ์ นายวัฒนา เผอื กเสรฐิ , สำหรบั กลมุ่ ข้าราชการ/ผู้นำชมุ ชน, อายุ 62 ปี, พนักงานวัด, ที่อยู่
ภูมลิ ำเนาเดมิ วัดปา่ เลไลยก์, [1 กันยายน ๒๕๖3].
62 สัมภาษณ์ นายอรรภนพ อ่อนกลัน , สำหรับกลุม่ ข้าราชการ/ผู้นำชุมชน, อายุ 43 ปี, ที่อยู่ ภูมิลำเนา
เดิม จังหวัดตราด, [1 กันยายน ๒๕๖3].
63 สมั ภาษณ์, สำหรับกลมุ่ ขา้ ราชการ/ผู้นำชมุ ชน, อายุ 38 ปี, ทอี่ ยู่ ภูมลิ ำเนาเดิม จงั หวดั กาญจนบุรี, [1
กนั ยายน ๒๕๖3].
64 สัมภาษณ์, สำหรับกลุ่มข้าราชการ/ผู้นำชุมชน, อายุ 59 ปี, ที่อยู่ ภูมิลำเนาเดิม จังหวัดลพบุรี, [1
กนั ยายน ๒๕๖3].
65 สัมภาษณ์, สำหรับกลุ่มข้าราชการ/ผู้นำชุมชน, อายุ 39 ปี, ที่อยู่ ภูมิลำเนาเดิม จังหวัดอุทัยธานี, [1
กนั ยายน ๒๕๖3].
66 สมั ภาษณ์, สำหรบั กลุ่มข้าราชการ/ผู้นำชุมชน, อายุ 38 ปี, ทอ่ี ยู่ ภมู ลิ ำเนาเดมิ จงั หวัดกาญจนบุรี, [1
กนั ยายน ๒๕๖3].
173
จากการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ พบว่า ควรกำหนดราคาให้เป็นสิ่งที่น่าสนใจแก่ผู้บริโภค
เช่น ราคาไม่สงู มากนัก เมอ่ื เทยี บกับผลิตภัณฑ์เดียวกันตามท้องตลาด ราคาพอประมาณเหมาะสมกับ
สินค้าและผู้บริโภค67 มีการกำหนดราคาที่เหมาะสมกับคุณภาพและผลิตภัณฑ์ ไม่ถูกหรือแพง
จนเกินไป มีการแจ้งราคาจำหน่ายที่ชัดเจน ผลิตภัณฑ์มีความเหมาะสม เป็นแรงจูงใจให้ผู้ซื้อและ
ส่งเสรมิ เกษตรกร มีการกำหนดราคา เพราะจะเปน็ มาตรฐานทบี่ ่งบอกถึงคุณภาพ68 ลูกคา้ สามารถซ้ือ
ผลิตภัณฑไ์ ด้ มีการกำหนดราคาทเ่ี หมาะสมกับผ้บู ริโภค69 มีมาตรฐานกว่าสินค้าทั่วไปอยา่ งเหมาสม
สรุป การพัฒนาด้านราคาผลิตภัณฑ์ศูนย์การเรียนรู้ฯ ผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนใหญ่เห็นว่า ควร
กำหนดราคาให้เป็นสิ่งที่น่าสนใจแก่ผู้บริโภค ราคาไม่สูงมากนัก เมื่อเทียบกับผลิตภัณฑ์เดียวกันตาม
ท้องตลาด ราคาพอประมาณเหมาะสมกับสินค้า เพราะการกำหนดราคาจะเป็นมาตรฐานทีบ่ ่งบอกถึง
คุณภาพของผลิตภณั ฑ์นั้นๆ
๓) การพัฒนาดา้ นชอ่ งทางใหบ้ รกิ าร ณ ศนู ยก์ ารเรยี นรูฯ้
จากการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ พบวา่ ควรพัฒนาช่องทางการใหบ้ ริการน่าสนใจ และเกิด
ความประทับใจให้แก่ผู้เยี่ยมชม มีความโดดเด่น มีเอกลักษณ์ สะอาดและปลอดภัย จุดจำหน่าย
ผลิตภัณฑ์อยใู่ นสถานทที่ ่ีเหมาะสม และสะดวกแก่การซื้อผลิตภัณฑ์ มีการวางระบบกลุ่มหรือประเภท
ของสินค้า เหมาะแก่การจับจ่าย ซื้อ - ขาย รวมถึงขนาดของพื้นที่สามารถให้บริการแก่ผู้บริโภคได้
อย่างเพียงพอ ไม่คับแคบแออัดจนเกินไป70 สถานที่กว้างขวาง สะดวกสบาย ไม่แออัด71 ควรจัดให้ดู
เรยี บรอ้ ย เปน็ ไปตามอัตลักษณ์ของศนู ย์ฯ พนื้ ทน่ี ่งั ยังไม่เพยี งพอต่อความต้องการของคนท่ีมาเย่ียมชม
72
สรุป การพัฒนาด้านช่องทางให้บริการ ณ ศูนย์การเรียนรู้ฯ ผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนใหญ่เห็นว่า
ควรพัฒนาช่องทางการให้บริการน่าสนใจน่าสนใจ และเกิดความประทับใจให้แก่ผู้เยี่ยมชม มีความ
โดดเด่น มีเอกลักษณ์ สะอาดและปลอดภัย จุดจำหน่ายผลิตภัณฑ์อยู่ในสถานที่ที่เหมาะสม และ
สะดวกแก่การซื้อผลิตภัณฑ์ มีการวางระบบกลุ่มหรือประเภทของสินค้า เหมาะแก่การจับจ่าย ซื้อ -
ขาย รวมถึงขนาดของพืน้ ท่ีสามารถให้บริการแกผ่ ู้บริโภคได้อย่างเพียงพอ และควรเพิม่ เกา้ อี้ ม้านั่งให้
เพยี งพอกบั จำนวนผ้มู าเยี่ยมชม
67 สัมภาษณ์ นายเฉลิมศักดิ์ จิตถนอม,สำหรับกลุ่มข้าราชการ/ผู้นำชุมชน , อายุ 63 ปี, ที่อยู่ ม.3 ต.
สาวรอ้ งไห้ อ.วิเศษชัยชาญ จ.อ่างทอง, [1 กันยายน ๒๕๖3].
68 สัมภาษณ์ นายปัณณวิชญ์ แสงหล้า ,สำหรับกล่มุ ข้าราชการ/ผนู้ ำชมุ ชน , อายุ 43 ปี, ที่อยู่ ภูมลิ ำเนา
เดิม พะเยา, [1 กันยายน ๒๕๖3].
69 สัมภาษณ์ นางสาว วรรณวรัทย์ พงษ์สงฆ์,สำหรับกลุ่มข้าราชการ/ผู้นำชุมชน , อายุ 42 ปี,เจ้าหน้าท่ี
บรรณารักษ์ วส.สุพรรณบุรี , ที่อยู่ ภมู ลิ ำเนาเดิม วดั ป่าเลไลยก์, [1 กนั ยายน ๒๕๖3].
70 สัมภาษณ์ นายอานนท์ รักผล ,สำหรับกลุม่ ข้าราชการ/ผู้นำชุมชน , อายุ 59 ปี,ประธานศูนย์อนุรักษ์
พันธุก์ ล้วย , ที่อยู่ ภูมลิ ำเนาเดมิ จังหวัดนครศรีธรรมราช , [1 กนั ยายน ๒๕๖3].
71 สัมภาษณ์ นายฤชานนท์ สมงาม , สำหรับกลุ่มข้าราชการ/ผู้นำชุมชน, อายุ 32 ปี, เลขานุการ, ที่อยู่
ภมู ิลำเนาเดมิ วดั ป่าเลไลยกม์ , [1 กนั ยายน ๒๕๖3].
72 สัมภาษณ์ นายมานะ พุทธิโชติ , สำหรับกลุ่มข้าราชการ/ผู้นำชุมชน, อายุ 35 ปี, รับราชการ, ที่อยู่
ภูมลิ ำเนาเดิม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา , [1 กนั ยายน ๒๕๖3].
174
๔) การพัฒนาด้านการส่งเสริมการตลาดศนู ยอ์ นุรกั ษพ์ นั ธก์ุ ลว้ ย
จากการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ พบว่า ควรดำเนินการการประชาสัมพันธ์ให้เป็นที่รู้จัก
อย่างกว้างขวาง มกี ารประชาสัมพนั ธผ์ ่านสอื่ มัลติมีเดยี เชน่ เวบ็ ไซต์ เพจตา่ ง ๆ เฟสบุ๊ค มกี ารส่งเสริม
โดยผ่านสถาบันทางการศึกษา วิทยาลัยสงฆ์สุพรรณบุรีศรสี ุวรรณภมู ิ และมีการดำเนินการผ่านชมรม
หรือศูนย์การเกษตรต่าง ๆ ดำเนินการผ่านศูนย์อนุรักษ์พันธุ์กล้วยสุพรรณบุรี ภูมิปัญญา ปราชญ์
ชาวบ้าน73 การประชาสัมพันธ์ยังน้อยเกินไป ควรมีการเพิ่มการประชาสัมพันธ์ไปยังพื้นที่ใกล้เคียง
ผ่านเครือข่ายต่าง ๆ ให้มีส่วนร่วมในการนำเสนอ74 ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่าง ๆ อย่างทั่วถึงทุกวัน
การส่งเสริมการประชาสัมพันธ์ผ่านสถาบันทางการศึกษาให้มีส่วนร่วมมากยิ่งขึ้น 75 ควรมีการ
ประชาสัมพันธ์ ผ่านโทรทัศน์ เพื่อเป็นช่องทางในการประชาสัมพันธ์เพิ่มมากขึ้น 76 ควรมีการ
ดำเนินการเพ่ิมแหลง่ การเรยี นรู้ให้มมี ากข้ึนโดยผา่ นชมรม เครือข่ายตา่ ง ๆ ควรมกี ารทำงานร่วมกนั 77
สรุป การพฒั นาดา้ นการส่งเสริมการตลาดศนู ย์อนรุ ักษพ์ นั ธุ์กล้วย ผใู้ ห้สัมภาษณส์ ่วนใหญเ่ ห็น
ว่า การประชาสัมพันธ์ควรดำเนินการอย่างกว้างขวาง การประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อมัลติมีเดีย เช่น
เว็บไซต์ เพจตา่ ง ๆ เฟสบ๊คุ มีการส่งเสริมโดยการผา่ นสถาบันทางการศึกษา และมกี ารดำเนนิ การผ่าน
ชมรม หรือศูนย์การเกษตรต่าง ๆ ดำเนินการผ่านศูนย์อนุรักษ์พันธุ์กล้วยสุพรรณบุรี ภูมิปัญญา
ปราชญช์ าวบ้าน มกี ารดำเนนิ การเพมิ่ แหล่งการเรียนร้ใู ห้มีมากขนึ้ โดยผา่ นชมรม เครือขา่ ยตา่ ง ๆ และ
มกี ารทำงานรว่ มกันในทกุ หนว่ ยงาน
๕) การพัฒนาดา้ นเจา้ หน้าที่ผู้ใหบ้ ริการ ณ ศนู ย์อนรุ ักษฯ์
จากการสัมภาษณ์ผใู้ ห้ขอ้ มูลสำคญั พบว่า ควรพฒั นาใหม้ ีหัวใจใฝ่บรกิ าร รักงานบริการ มีการ
อบรมให้การให้ความรู้แก่พนักงานและเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบโดยตรง มีเจ้าหน้าที่ บุคลากรมีความรู้
ความสามารถ บริการด้วยมิตรไมตรี78 ควรมีเจ้าหน้าที่ให้บริการมากกว่านี้เพื่อให้บริการผู้เยี่ยมชม
อย่างทั่วถึง มีหลักการให้บริการที่มีประสิทธิภาพ กาย วาจา ใจ 79 ต้องมีการประเมิน และการ
73 สัมภาษณ์ พระครูโสภณวีรานูวัตร,ดร. , สำหรับกลุ่มข้าราชการ/ผู้นำชุมชน, อายุ 48 ปี, บวช, ที่อยู่
ภูมลิ ำเนาเดมิ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี, [1 กันยายน ๒๕๖3].
74 สมั ภาษณ์ นายปัณณวิชญ์ แสงหล้า ,สำหรับกลุ่มข้าราชการ/ผ้นู ำชุมชน , อายุ 43 ปี, ที่อยู่ ภูมิลำเนา
เดมิ พะเยา, [1 กันยายน ๒๕๖3].
75 สมั ภาษณ์ ดร.กชด ยนั ตท์ อง,สำหรับกลุม่ ขา้ ราชการ/ผูน้ ำชมุ ชน , อายุ 65 ปขี า้ ราชการบำนาญ, ท่ี
อยู่ ภมู ิลำเนาเดมิ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี , [1 กันยายน ๒๕๖3].
76 สัมภาษณ์ นายอานนท์ รักผล ,สำหรับกลุ่มข้าราชการ/ผู้นำชุมชน , อายุ 59 ปี,ประธานศูนย์อนุรักษ์
พันธก์ุ ล้วย , ทอี่ ยู่ ภูมิลำเนาเดมิ จงั หวัดนครศรธี รรมราช , [1 กันยายน ๒๕๖3].
77 สัมภาษณ์ นางสาว วรรณวรัทย์ พงษ์สงฆ์,สำหรับกลุ่มข้าราชการ/ผู้นำชุมชน , อายุ 42 ปี,เจ้าหน้าท่ี
บรรณารกั ษ์ วส.สพุ รรณบุรี , ที่อยู่ ภูมิลำเนาเดิม วดั ปา่ เลไลยก์, [1 กนั ยายน ๒๕๖3].
78 สัมภาษณ์ นายเฉลิมศักดิ์ จิตถนอม,สำหรับกลุ่มข้าราชการ/ผู้นำชุมชน , อายุ 63 ปี, ที่อยู่ ม.3 ต.
สาวรอ้ งไห้ อ.วิเศษชัยชาญ จ.อา่ งทอง, [1 กันยายน ๒๕๖3].
79 สัมภาษณ์ นายมานะ พุทธิโชติ , สำหรับกลุ่มข้าราชการ/ผู้นำชุมชน, อายุ 35 ปี, รับราชการ, ที่อยู่
ภมู ลิ ำเนาเดิม จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา , [1 กันยายน ๒๕๖3].
175
ตรวจสอบเจ้าหน้าที่อย่างสม่ำเสมอ ให้มีมาตรฐานการบริการ 80 มีวิทยากรประจำศูนย์การเรียนรู้ฯ
หรือนกั วชิ าการเกษตร เพ่อื ให้บรกิ ารข้อมูลความรู้ทถ่ี ูกต้องแก่ผเู้ ยี่ยมชม81 เจ้าหนา้ ที่ควรจะมีรูปแบบ
การแตง่ ตัวไปในทิศทางเดียวกนั ใหบ้ ริการด้วยความสภุ าพ ยิ้มแย้มแจ่มใส และควรจะมีวิทยากรหลัก
และวิทยากรรองสลับกนั 82
สรุป การพัฒนาด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ ณ ศูนย์อนุรักษ์ฯ ผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนใหญ่เห็นว่า
ควรพัฒนาเจ้าหน้าที่ให้มีหัวใจใฝ่บริการ รักงานบริการ มีการอบรมให้ความรู้แก่พนักงานและ
เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบโดยตรง บุคลากรมีความรู้ความสามารถ บริการด้วยมิตรไมตรี ควรให้บริการผู้
เยี่ยมชมอย่างทั่วถึง มีหลักการให้บริการที่มีประสิทธิภาพ กาย วาจา ใจ มีวิทยากรประจำศูนย์การ
เรยี นรฯู้ หรือนักวชิ าการเกษตร เพ่ือใหบ้ รกิ ารข้อมลู ความรู้ท่ีถูกต้องแก่ผู้เยยี่ มชม ควรจะมีรปู แบบการ
แต่งตวั ไปในทิศทางเดียวกัน ควรให้บรกิ ารดว้ ยความสภุ าพ ย้ิมแยม้ แจม่ ใส และควรจะมีวิทยากรหลัก
และวิทยากรรองสลบั กัน
๖) การพฒั นาดา้ นภาพลกั ษณ์และการนำเสนอลักษณะศูนย์
จากการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ พบว่า ควรมีการสร้างความโดดเด่นเป็นแหล่งการเรียนรู้
และการอนรุ ักษ์พันธ์ุกล้วยที่ชัดเจน มเี อกลกั ษณ์ มีความสะอาดเหมาะสมกับการเป็นศนู ย์การเรียนรู้ฯ
มีพื้นที่กว้างขวาง เป็นระเบียบ สะดวก ปลอดภัย มีสิ่งอำนวยความสะดวกที่ครบถ้วนสมบูรณ์ และ
เพียงพอต่อความตอ้ งการของผทู้ เ่ี ข้ามาเยีย่ มชม เช่น ท่ีน่ัง ทจี่ อดรถ หอ้ งนำ้ ถังขยะ รวมถึงร้านอาหาร
และเครื่องดื่มที่อำนวยความสะดวก83 ควรจะมีรูปภาพประกอบ เพื่ออธิบายพันธุ์กล้วยชนิดต่าง ๆ
รวมถงึ แหล่งกำเนิดของกล้วยแตล่ ะสายพันธ์ุ ควรมีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ไม่มีสิ่งอันตรายในศูนย์
การเรยี นรฯู้ 84 ควรมีการสรา้ งความโดดเด่นท่เี หมาะสมกับการเป็นแหล่งการเรียนรู้ทดี่ ี มสี ่ิงแวดล้อมที่
ดี รวมถึงสิ่งอำนวยความสะดวกที่เพียงพอต่อความต้องการของผู้เข้ามาเยี่ยมชม85 ควรมีแบบและ
ภาพประกอบการเรียนรู้ เพื่อเป็นข้อมูลในการศึกษา โดยอ้างอ้างถึงแหล่งกำเนิด หรือแหล่งที่มาของ
พันธุ์กล้วยชนิดต่าง ๆ ควรเพิ่มจำนวนห้องน้ำ เพิ่มจำนวนถังขยะ ควรจัดระเบียบ กำหนดตำแหน่งท่ี
วาง เป็นจดุ ๆ ตามความเหมาะสม86
80 สมั ภาษณ์ นายฤชานนท์ สมงาม , สำหรับกลุม่ ข้าราชการ/ผนู้ ำชุมชน, อายุ 32 ปี, เลขานุการ, ท่อี ยู่
ภมู ิลำเนาเดมิ วดั ป่าเลไลยกม์ , [1 กนั ยายน ๒๕๖3].
81 สัมภาษณ์ พระครูโสภณวีรานูวัตร,ดร. , สำหรับกลุ่มข้าราชการ/ผู้นำชุมชน, อายุ 48 ปี, บวช, ที่อยู่
ภูมิลำเนาเดมิ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี, [1 กนั ยายน ๒๕๖3].
82 สมั ภาษณ์ นายปณั ณวชิ ญ์ แสงหลา้ ,สำหรับกลุ่มข้าราชการ/ผ้นู ำชมุ ชน , อายุ 43 ปี, ทอ่ี ยู่ ภูมลิ ำเนา
เดิม พะเยา, [1 กันยายน ๒๕๖3].
83 สัมภาษณ์ นายอานนท์ รักผล ,สำหรับกลุ่มขา้ ราชการ/ผู้นำชุมชน , อายุ 59 ปี,ประธานศูนย์อนุรักษ์
พนั ธุก์ ล้วย , ท่ีอยู่ ภูมลิ ำเนาเดมิ จงั หวัดนครศรีธรรมราช , [1 กนั ยายน ๒๕๖3].
84 สัมภาษณ์ นายฤชานนท์ สมงาม , สำหรับกลมุ่ ข้าราชการ/ผนู้ ำชมุ ชน, อายุ 32 ปี, เลขานุการ, ท่ีอยู่
ภมู ิลำเนาเดิม วดั ป่าเลไลยกม์ , [1 กันยายน ๒๕๖3].
85 สมั ภาษณ์, สำหรับกลมุ่ ขา้ ราชการ/ผนู้ ำชุมชน, อายุ 38 ปี, ท่อี ยู่ ภูมิลำเนาเดิม จังหวดั กาญจนบรุ ี, [1
กนั ยายน ๒๕๖3].
86 สัมภาษณ์ นางสาว วรรณวรัทย์ พงษ์สงฆ์,สำหรับกลุ่มข้าราชการ/ผู้นำชุมชน , อายุ 42 ปี,เจ้าหน้าท่ี
บรรณารักษ์ วส.สุพรรณบรุ ี , ทอ่ี ยู่ ภูมลิ ำเนาเดมิ วดั ปา่ เลไลยก์, [1 กันยายน ๒๕๖3].
176
สรุป การพัฒนาด้านภาพลักษณ์และการนำเสนอลักษณะศูนย์ฯ ผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนใหญ่เห็น
ว่า ควรมีการสร้างความโดดเด่นให้เป็นแหล่งการเรียนรู้และการอนุรักษ์พันธุ์กล้วยที่ชัดเจน มี
เอกลักษณ์ มีความสะอาดเหมาะสมกับการเป็นศูนย์การเรียนรู้ฯ ให้มีพื้นที่กว้างขวาง เป็นระเบียบ
สะดวก ปลอดภัย มีสิ่งอำนวยความสะดวกที่ครบถ้วนสมบูรณ์และเพียงพอต่อความต้องการของผู้ท่ี
เข้ามาเยี่ยมชม เช่น ที่นั่ง ที่จอดรถ ห้องน้ำ ถังขยะ รวมถึงร้านอาหารและเครื่องดื่มที่อำนวยความ
สะดวก ควรมีแบบและภาพประกอบการเรียนรู้ เพื่อเป็นข้อมูลในการศึกษา โดยอ้างอ้างถึง
แหลง่ กำเนิด หรอื แหลง่ ทีม่ าของพันธุ์กลว้ ย ตา่ ง ๆ และควรเพิ่มจำนวนหอ้ งน้ำ จดั ระเบียบ กำหนดจุด
ตำแหน่งทวี่ างถังขยะเปน็ จดุ ๆ ตามความเหมาะสม
๗) การพฒั นาดา้ นกระบวนการใหบ้ รกิ าร ณ ศูนย์อนรุ กั ษ์ฯ
จากการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ พบว่า เมื่อมีผู้เยี่ยมชมเข้ามาใช้บริการแล้วจะต้องมี
ขั้นตอนในการให้บริการ มีการอำนวยความสะดวกแก่ผู้ที่มาเยี่ยมชมศูนย์ฯอย่างเหมาะสม 87 มีการ
ประชาสัมพันธ์ให้คำแนะนำใหค้ วามร้แู กผ่ ูท้ เี่ ขา้ มาเย่ยี มชมดว้ ยมิตรไมตรเี ปน็ กัลยาณมิตร รวมถึงความ
ปลอดภัยในและภายนอกศูนย์การเรียนรู้ฯ88 ควรให้มีความทันสมัยและมีความพร้อมของระบบ
เทคโนโลยี เช่น เทคโนโลยีที่ใช้เพื่อจัดการแสดงในศูนย์การเรียนรู้ฯ ฟรีไวไฟ มีอินเตอร์เน็ต 89 การ
อำนวยความสะดวกแกผ่ เู้ ขา้ เยี่ยมชม มีพ้ืนทเี่ พียงพอในการรองรับผู้เขา้ เยีย่ มชมศูนย์ 90
สรุป การพัฒนาด้านกระบวนการให้บริการ ณ ศูนย์อนุรักษ์ ผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนใหญ่เห็นว่า
เมอื่ มีผเู้ ยย่ี มชมเข้ามาใชบ้ ริการแลว้ จะตอ้ งมีขัน้ ตอนในการใหบ้ ริการ ควรมีการอำนวยความสะดวกแก่
ผู้ที่มาเยี่ยมชมศูนย์ฯอย่างเหมาะสม มีการประชาสัมพันธ์ให้คำแนะนำให้ความรู้แก่ผูท้ ี่เขา้ มาเยี่ยมชม
ดว้ ยมติ รไมตรีเปน็ กัลยาณมติ ร รวมถงึ ความเป็นระเบยี บ และปลอดภัยในและภายนอกศูนยก์ ารเรียนรู้
ฯ มีความทันสมัยและมีความพร้อมของระบบเทคโนโลยี เช่น เทคโนโลยีที่ใช้เพื่อจัดการแสดงในศูนย์
การเรยี นร้ฯู ฟรีไวไฟ มีอนิ เตอรเ์ นต็ มกี ารอำนวยความสะดวกแกผ่ ้เู ขา้ เยี่ยมชม มพี ื้นทีเ่ พียงพอในการ
รองรับผ้เู ขา้ เยีย่ มชมศูนย์ฯ
ข้อเสนอแนะเพิม่ เติม
ผู้ให้ข้อมูลสำคัญส่วนใหญ่ให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมว่า การพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การ
เรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี ให้มีมาตรฐานคุณภาพเป็นแหล่ง
ท่องเที่ยวเชิงเกษตรนั้น ควรให้ทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ท้องถิ่น ชุมชน ภาคีเครือข่าย
87 สมั ภาษณ์ นายเฉลิมศกั ดิ์ จติ ถนอม,สำหรบั กลุ่มขา้ ราชการ/ผูน้ ำชุมชน , อายุ 63 ป,ี ทีอ่ ยู่ ม.3 ต.
สาวร้องไห้ อ.วเิ ศษชยั ชาญ จ.อา่ งทอง, [1 กันยายน ๒๕๖3].
88 สัมภาษณ์, สำหรับกลุ่มข้าราชการ/ผู้นำชมุ ชน, อายุ 39 ป,ี ที่อยู่ ภมู ิลำเนาเดมิ จังหวัดอุทัยธานี, [1
กันยายน ๒๕๖3].
89 สมั ภาษณ์ พระครโู สภณวีรานูวัตร,ดร. , สำหรับกลมุ่ ข้าราชการ/ผนู้ ำชมุ ชน, อายุ 48 ป,ี บวช, ทอ่ี ยู่
ภูมิลำเนาเดมิ จังหวัดสพุ รรณบรุ ,ี [1 กนั ยายน ๒๕๖3].
90 สัมภาษณ์ นายอรรภนพ อ่อนกลนั , สำหรบั กลุ่มข้าราชการ/ผูน้ ำชมุ ชน, อายุ 43 ปี, ทอี่ ยู่ ภูมลิ ำเนา
เดิม จงั หวัดตราด, [1 กันยายน ๒๕๖3].
177
การพัฒนาไดเ้ ข้ามารว่ มมือชว่ ยเหลือกันอย่างต่อเน่ือง91แต่บางอยา่ งต้องแกไ้ ขคือ ที่ทง้ิ ขยะ ยังนอ้ ยอยู่
ทุกวันเสาร์-อาทิตย์ และวันนักขัตฤกษ์ ให้มีประชาสัมพันธ์บอกว่ามีอะไรในสวนกล้วยบ้างและบอก
ร้านค้าต่าง ๆ92 เรื่องความสะอาดอาจจะเพิ่มการจัดเก็บขยะในอนาคต เมื่อมีการขยายตัวของคนที่
เข้ามาเยี่ยมชม93ควรมีแบบและภาพประกอบการเรียนรู้ เพื่อเป็นข้อมูลในการศึกษา โดยอ้างอ้างถึง
แหล่งกำเนิด หรือแหล่งที่มาของพันธุ์กล้วยชนิดต่าง ๆ ควรเพิ่มจำนวนห้องน้ำสำหรับคนทั่วไป และ
กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้พิการ ถังขยะต้องจัดระเบียบจุดตำแหน่งที่วาง เป็นจุด ๆ ตามความเหมาะสม94
ควรพฒั นาใหม้ หี ัวใจใฝ่บริการ รักงานบริการ มกี ารอบรมให้การให้ความรู้แก่พนักงานและเจ้าหน้าที่ที่
รับผิดชอบโดยตรง มเี จ้าหนา้ ที่ บคุ ลากรมีความรู้ความสามารถ บรกิ ารดว้ ยมิตรไมตรี เจ้าหน้าที่ควรมี
การให้บริการมากกว่าน้ีเพื่อใหบ้ รกิ ารผเู้ ย่ียมชมอย่างทั่วถึง มหี ลกั การให้บริการท่ีมีประสิทธิภาพ กาย
วาจา ใจ มีวิทยากรประจำศูนย์การเรียนรู้ฯ หรือนักวิชาการเกษตร เพื่อให้บริการข้อมูลความรู้ที่
ถูกต้องแก่ผู้เยี่ยมชม เจ้าหน้าที่ควรจะมีรูปแบบการแต่งตัวไปในทิศทางเดียวกัน ควรให้บริการด้วย
ความสภุ าพ ยมิ้ แยม้ แจม่ ใส และควรจะมีวทิ ยากรหลัก และวิทยากรรองสลับกนั 95
ส่วนท่ี ๖ บทสรุปจากการสัมมนารายงานการวจิ ัย เร่ือง การพฒั นาศูนยก์ ารเรียนรู้แบบ
มสี ว่ นรว่ มในการอนุรักษพ์ นั ธ์ุกล้วยจังหวัดสพุ รรณบรุ ี
เป็นการวิจัยแบบมีส่วนร่วมระยะที่ ๓ ด้วยการจัดประชุมสรุปผลการวิจัยและนำเสนอ
หน่วยงานพร้อมท้ังองคค์ วามรทู้ ไี่ ดจ้ ากการวิจัย (Focus Group)
คณะผู้วิจัยได้เรียนเชิญนักวิชาการที่มีความเชี่ยวชาญในด้านการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย การ
ป้องกันโรคในกล้วย การผลิตภัณฑ์จากกล้วย การสาธิตขยายพันธุ์กล้วย การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ การ
บำรุงรกั ษาดิน และด้านการตลาด รวมทงั้ ดา้ นการบริหารจัดการองคก์ รทัง้ ภาครฐั และเอกชน จดั ขนึ้ ใน
วันที่ ๑๕ กนั ยายน ๒๕๖๓ ณ ศนู ย์อนุรักษ์พันธุ์กลว้ ยสุพรรณบรุ ี ๘/๓ ถนนสถานรี ถไฟ (หลังวัดป่าเล
ไลยก์วรวิหาร) อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี มีผู้เข้าร่วมฟังการสัมมนาประกอบด้วย นิสิตวิทยาลัย
สงฆ์สุพรรณบุรีศรสี ุวรรณภูมิ จำนวน ๑๕๐ คน ชมุ ชนชาวบ้านวัดป่าเลไลยกว์ รวหิ าร จำนวน ๒๕ คน
และ กลมุ่ วสิ าหกจิ ชุมชนเขตอำเภอเมือง จังหวดั สุพรรณบรุ ี จำนวน ๘ คน
91 สัมภาษณ์ นายเฉลมิ ศกั ดิ์ จติ ถนอม,สำหรบั กล่มุ ขา้ ราชการ/ผู้นำชุมชน , อายุ 63 ป,ี ทีอ่ ยู่ ม.3 ต.
สาวรอ้ งไห้ อ.วิเศษชยั ชาญ จ.อา่ งทอง, [1 กนั ยายน ๒๕๖3].
92 สัมภาษณ์ นางสาว วรรณวรัทย์ พงษ์สงฆ์,สำหรับกลมุ่ ข้าราชการ/ผู้นำชุมชน , อายุ 42 ป,ี เจา้ หน้าที่
บรรณารกั ษ์ วส.สุพรรณบรุ ี , ที่อยู่ ภูมิลำเนาเดิม วดั ปา่ เลไลยก์, [1 กนั ยายน ๒๕๖3].
93 สัมภาษณ์ นายปณั ณวิชญ์ แสงหล้า ,สำหรับกลมุ่ ข้าราชการ/ผนู้ ำชุมชน , อายุ 43 ป,ี ทอ่ี ยู่ ภมู ลิ ำเนา
เดิม พะเยา, [1 กนั ยายน ๒๕๖3].
94 สัมภาษณ์ นายมานะ พุทธิโชติ , สำหรับกล่มุ ข้าราชการ/ผนู้ ำชุมชน, อายุ 35 ป,ี รับราชการ, ทอ่ี ยู่
ภมู ลิ ำเนาเดิม จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา , [1 กนั ยายน ๒๕๖3].
95 สัมภาษณ์ ดร.กชด ยันต์ทอง,สำหรับกลมุ่ ข้าราชการ/ผูน้ ำชมุ ชน , อายุ 65 ปขี า้ ราชการบำนาญ, ท่ี
อยู่ ภูมลิ ำเนาเดมิ จังหวดั สุพรรณบรุ ี , [1 กนั ยายน ๒๕๖3].
178
มีนักวิชาการสมั มนาจำนวน ๗ คน96 ประเดน็ การสมั มนาประกอบดว้ ย
๑) การบำรงุ ดิน
๒) การอนุรกั ษ์และขยายพันธุก์ ล้วย
๓) การแปรรปู ผลิตภัณฑ์จากกาบกล้วย และใบไม้ทุกชนิด
๔) การเพิ่มคณุ ค่าผลิตภณั ฑ์ทางการเกษตร
๕) การนำผลการวิจัยไปพัฒนาสู่นวัตกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรอย่างยืน การบริหาร
จัดการศูนย์การเรียนรู้การอนุรักษ์พันธุ์กล้วย ส่งเสริมการจัดกิจกรรมวิถีพุทธทางน้ำ วัดป่าเลไลยก์
วรวหิ าร จงั หวดั สุพรรณบุรี
โดยมหี ัวหนา้ ชุดวจิ ัย97 เปน็ ผู้ดำเนนิ รายการ สรุปประเดน็ การสัมมนาได้ ดังนี้
๑) ดา้ นการบำรงุ ดิน
๑.๑ ควรมีการตรวจสภาพดิน และเชอ้ื โรคตา่ งๆ โดยแนะนำใหน้ ำดนิ นำ้ และเง่า
หนอ่ ลำตน้ กล้วยไปตรวจหาเช้ือโรคต่างๆ ณ คลนี ิควิจัยโรคพชื มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขต
กำแพงแสน จงั หวดั นครปฐม เมอ่ื รูส้ าเหตุแลว้ ทางศูนยอ์ ารักขาพืชสุพรรณบรุ ีจะไดด้ ำเนินการรักษา
ตามอาการต่อไป
๑.๒ ดำเนินการปรับสภาพดนิ โดยใชป้ ุ๋ยอนิ ทรีย์น้ำ ทที่ ำได้เองจากหน่อกลว้ ยผสมกับ
หัวเช้อื พด.๒ และสอนใหใ้ ช้เศษขยะอาหาร เศษหญ้าผสมกับสารเร่งซปุ เปอร์ พด.๑
๒) ด้านการอนุรักษ์และขยายสายพันธุก์ ลว้ ย
๒.๑ การผ่าตากลว้ ย โดยทำการเลอื กพันธก์ุ ลว้ ยหนอ่ ทส่ี มบูรณน์ ำมาผา่ หนอ่ ต้อง
ระวงั อยา่ ให้โดนตากลว้ ย แลว้ แชน่ ้ำยาฆา่ เชอื้ ราและน้ำยาเร่งราก หลงั จากนน้ั นำไปฝังดินในแปลง
เพอร์มาคัลเจอร์ (permaculture) (เปน็ แนวคิดและวิถีทางการเกษตรทเ่ี นน้ เรื่องความย่ังยืนของชวี ิต
และส่ิงแวดลอ้ ม) ใชเ้ วลา ๒๐ วัน ผลผลติ กใ็ ชไ้ ด้
๒.๒ หนอ่ กลว้ ยที่ไดจ้ ากการผ่าตาจะมสี ภาพที่แข็งแรงกว่าการเพราะเน้ือเยื่อ และ
ประหยดั คา่ ใชจ้ า่ ย ประหยดั ระยะเวลา
๓) ดา้ นการแปรรูปจากกาบกลว้ ย และใบไม้อน่ื ๆ ทเี่ ป็นวัสดธุ รรมชาติ
96 ชาตรี รักธรรม ที่ปรึกษาศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ชุมชนสวนกล้วย อำเภออู่ทอง จังหวัด
สุพรรณบุร,ี วีรธรรม ชูใจ นักวิชาการส่งเสรมิ การเกษตรชำนาญการ ศูนย์อารักขาพืช สุพรรณบุรี. วีระพงษ์ ฉ่ำมาก
นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ ศูนย์อารกั ขาพืช สุพรรณบุรี, วิชา งามยิ่ง .นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร
ชำนาญการ ศูนย์อารักขาพืช สุพรรณบุรี, ประชุม รื่นนุสาร ภาควิชาโรคพืช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต
กำแพงแสน จังหวัดนครปฐม, นงลักษณ์ เล็กรุ่งเรืองกิจ หัวหน้าศูนย์ปฏิบัติการวิศวกรรมพลังงานและสิ่งแวดล้อม,
และมานะ พุฒิโชติ นายช่างเทคนคิ อาวโุ ส ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาค ๘ จังหวัดสุพรรณบรุ ี.
97 พระครโู สภณ วีรานวุ ตั ร รองผู้อำนวยการวิทยาลยั สงฆส์ ุพรรณบรุ ีศรสี ุวรรณภมู ิ จังหวดั สุพรรณบรุ ี
179
๓.๑ อาจนำมาจากใบกลว้ ย กาบหมาก กาบปาลม์ ใบไม้ใบใหญๆ่ ทกุ ชนิดสามารถ
นำมาทำจาน-ชาม ได้ นอกจากนั้นยังใช้เศษวสั ดุทุกชนดิ ทม่ี ีเยื่อมาก เช่น ผกั ตบชวา ฟางขา้ ว นำมา
เข้ากระบวนการให้เปน็ กระดาษสา ก็สามารถผลิตจาน-ชาม ได้เช่นกนั เปน็ การรณรงค์ลดโลกร้อน
๓.๒ การนำผลผลิตกล้วยมาแปรรูป เชน่ กล้วยตาก กลว้ ยทอด ขนมกล้วย กลว้ ย
ฉาบ กลว้ ยบวชชี การนำไสก้ ลว้ ยมาทำเปน็ แกงคั่ว ห่อหมกหวั ปลี หรือแกงเลียงหวั ปลี
๔) การเพ่ิมคุณคา่ ผลติ ภัณฑ์ทางการเกษตร ควรดำเนนิ การ ดงั น้ี
๔.๑ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ทส่ี ร้างแรงจงู ใจผูบ้ รโิ ภค
๔.๒ การเพมิ่ ราคาผลผลติ เชน่ การรบั รองผลผลิต เพื่อสรา้ งความเชอื่ มัน่ ใหผ้ บู้ ริโภค
๔.๓ ตอ่ ยอดแบบผลติ ภัณฑ์
๔.๔ ส่งเสริมกลุ่มงานวิสาหกิจชมุ ชน เชื่อมโยงกบั หมู่บ้านอตุ สาหกรรมสรา้ งสรรค์
(Creative Industry Village : CIV) คือ หมบู่ ้านแหง่ ความสมดลุ ทน่ี ำทุนวัฒนธรรม วถิ ชี ีวติ มาผนวก
กับความคิดสร้างสรรค์ และการออกแบบ เพ่อื สร้างมูลคา่ ใหมข่ องสนิ คา้ ที่ระลึกเพื่อการท่องเทีย่ ว และ
บรกิ ารหรอื กจิ กรรมท่สี รา้ งประสบการณ์ใหม่จากการท่องเท่ียว เพอื่ ให้เกิดมูลค่าใหมท่ างเศรษฐกิจบน
แนวคิดอุตสาหกรรมสรา้ งสรรค์ ผลคอื จะทาใหเ้ กิดตลาดชมุ ชนและชาวบา้ นจกั มีรายไดอ้ ยา่ งย่งั ยืน
ตลอดไป
๕) การนำผลการวิจัยไปพัฒนาสู่นวัตกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรอย่างยืน การบริหาร
จัดการศูนย์การเรียนรู้การอนุรักษ์พันธุ์กล้วย ส่งเสริมการจัดกิจกรรมวิถีพุทธทางน้ำ วัดป่าเลไลยก์
วรวิหาร จังหวัดสุพรรณบุรี โดยใช้กลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดด้านการท่องเที่ยวเป็นกรอบการ
พัฒนา
เนื่องจากศูนย์การเรียนรู้การอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี จัดตั้งในลักษณะของ
องค์กร มีคณะกรรมการบริหารจัดการ มีสมาชิกเข้ามาทำงานในองค์กร จำเป็นจะต้องแสวงหา
งบประมาณเพื่อเป็นปัจจัยให้เกิดการขับเคลื่อนสู่แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรให้มีมาตรฐานคุณภาพ
ดังนั้นการนำกลยุทธส์ ่วนประสมการตลาดด้านการท่องเทีย่ วมาเป็นกรอบในการบริหารจัดการจะเกดิ
การพัฒนาอย่างต่อเนื่องและย่งั ยนื มปี ระเดน็ ที่ควรพัฒนาต่อยอดสู่นวัตกรรมการท่องเท่ียวเชิงเกษตร
อย่างย่งั ยืน ดงั น้ี
๕.๑ ด้านผลิตภณั ฑ์ (Product) ควรมีเอกลักษณโ์ ดดเดน่ มีความสะอาด ปลอดภัย
ถกู สุขลักษณะ และมีความหลากหลาย ตอบสนองผู้บรโิ ภคไดอ้ ย่างเพยี งพอ
๕.๒ ด้านราคา (Price) ราคาไม่สูงมากนัก เมื่อเทียบกับผลิตภัณฑ์เดียวกันตาม
ทอ้ งตลาด การกำหนดราคาจะเปน็ มาตรฐานท่ีบ่งบอกถงึ คุณภาพของผลติ ภัณฑน์ นั้ ๆ ดว้ ย
180
๕.๓ ด้านช่องทางให้บริการ (Place) ควรพัฒนาช่องทางการให้บริการหลายๆ
ช่องทาง มีความโดดเด่น มีเอกลักษณ์ สะอาดและปลอดภัย จุดจำหน่ายผลิตภัณฑ์อยู่ในสถานที่ ท่ี
เหมาะสม และในชว่ งเทศกาลสำคญั ควรเพ่ิมเก้าอี้ ม้านงั่ ให้เพยี งพอกบั จำนวนผู้มาเยย่ี มชม
๕.๔ ด้านการส่งเสริมการตลาด (Promotion) ควรมีการประชาสัมพันธ์ผ่านส่ือ
มัลติมีเดีย เช่น เว็บไซต์ เพจต่าง ๆ เฟสบุ๊ค มีการส่งเสริมโดยการผ่านชมรม ผ่านภูมิปัญญา ปราชญ์
ชาวบ้าน และมีการทำงานร่วมกันในทุกภาคส่วน การจัดกิจกรรมส่งเสริมวิถีพุทธ เช่น การตักบาตร
ทางน้ำ การจัดอบรมคณุ ธรรมจริยธรรม จดั เปน็ สถานที่ฝกึ สมาธิ ฯ
๕.๕ ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ (People) ควรให้บริการด้วยมิตรไมตรี มีหลักการ
ใหบ้ รกิ ารที่มีประสิทธภิ าพ กาย วาจา ใจ มนี กั วชิ าการเกษตร เพอ่ื ให้บรกิ ารข้อมูลความรู้ท่ีถูกต้องแก่
ผเู้ ย่ียมชม
๕.๖ ด้านภาพลักษณ์และการนำเสนอลักษณะศูนย์ฯ ( ) ควรให้ความสำคัญเรื่อง
ความสะอาด ให้มพี ้ืนทีก่ วา้ งขวาง เปน็ ระเบยี บ สะดวก ปลอดภยั มสี ่งิ อำนวยความสะดวกท่ีครบถ้วน
เช่น ที่นั่ง ที่จอดรถ ห้องน้ำ ถังขยะ รวมถึงร้านอาหารและเครื่องดื่มที่อำนวยความสะดวก และควร
เพ่ิมจำนวนห้องน้ำ เพม่ิ ไมย้ ืนต้น ไม้ดอกไมป้ ระดับ ให้มีจุดถา่ ยรูปหลาย ๆ จุด
๕.๗ ดา้ นกระบวนการให้บริการ (Process) ควรมีการประชาสัมพนั ธ์ให้คำแนะนำให้
ความรู้แก่ผู้ที่เข้ามาเยี่ยมชมด้วยกัลยาณมิตร สร้างระบบความปลอดภัยทั้งในและนอกศูนย์ มีความ
ความพร้อมของระบบเทคโนโลยี เช่น เทคโนโลยีที่ใช้เพื่อจดั การแสดงในศูนย์การเรียนรู้ฯ ฟรีไวไฟ มี
อนิ เตอรเ์ น็ต
สรุป ผลจากการสัมมนาจากผู้เชี่ยวชาญในด้านต่าง ๆ พบข้อเสนอแนะให้ศูนย์การเรียนรู้
การอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี ดำเนินการบำรุงดินให้มีความอุดมสมบูรณ์ โดยใช้ปุ๋ยน้ำท่ี
ผลิตจากหน่อกล้วย ต้นกล้วย ควรนำดิน น้ำ และเง่า หน่อ ลำต้นกล้วยไปตรวจหาเชื้อโรคต่างๆ ณ
คลีนิควิจัยโรคพชื มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม มีการสาธิตการ
ขยายพันธุก์ ลว้ ยชนดิ ผ่าตากล้วย การสาธิตผลติ ภณั ฑ์ที่ได้จากกาบกลว้ ย ใบกลว้ ย และจากใบไม้อื่น ๆ
การเพิม่ คุณค่าผลิตภณั ฑ์ทางการเกษตรด้วยการออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ให้ดึงดูดใจผบู้ รโิ ภค ซงึ่ สอดคล้อง
กับผลจากการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญในการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์
พนั ธกุ ล้วย ใหเ้ ปน็ แหลง่ เรียนรู้ ศนู ย์กลางการจัดกิจกรรมชุมชนวิถีพุทธ เช่น การตักบาตรทางน้ำ การ
เขา้ คา่ ยฝึกอบรมคุณธรรมจริยธรรม และแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วเชิงเกษตรทีม่ ีคณุ ภาพมาตรฐาน
181
ส่วนที่ ๗ บทสรุป การพัฒนาศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย
จงั หวดั สุพรรณบุรี
เปน็ การนำเสนอบทสรปุ ที่ได้จากการวจิ ัยในระยะที่ ๑ นำไปสูก่ ารมีส่วนรว่ มระยะท่ี ๒ ของ
ระยะดำเนินการวิจยั ในขนั้ ตอนที่ ๒ คือรว่ มกันปฏบิ ตั ิ (Acting) เป็นการนำแผนจากขั้นตอนท่ี ๑ ไปสู่การ
ปฏบิ ัตติ ามแผนงาน/ โครงการ /กิจกรรม ซึง่ เปน็ กิจกรรมเรง่ ด่วน จำนวน ๔ กิจกรรม ได้แก่
(๑) กจิ กรรมการพัฒนามาตรฐานศูนย์การเรยี นรู้
(๒) กิจกรรมการพฒั นาการอนุรกั ษ์พนั ธุ์กล้วย
(๓) กิจกรรมการพัฒนาการตลาดด้านบริการ
(๔) กิจกรรมการสร้างเครือข่าย
เมื่อศูนย์ฯ ได้รับรายงานผลการวิจัยรวมทั้งองค์ความรู้ที่ได้จากการสัมมนาประชุมกลุ่ม
(Focus Group) นำเข้าสู่ที่ประชุมคณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ เพื่อระดมความคิดเห็นโดยใช้
ผลการวิจัยเป็นแกนหลักในการจัดกิจกรรมพัฒนาศูนย์ฯให้ได้มาตรฐานคุณภาพ โดยแต่ละกิจกรรมมี
ขอบขา่ ยงานที่ต้องดำเนินการ ดังนี้
๑) กจิ กรรมการพัฒนามาตรฐานศูนย์การเรยี นรู้ ท่ปี ระชมุ ได้มีมติรว่ มกันใหจ้ ัดกิจกรรม
พัฒนาประกอบด้วย
๑.๑ ดำเนินการปรับโครงสร้างและบทบาทในการบรหิ ารจัดการศูนย์ฯ ในประเดน็ การ
จดั เตรียมสิ่งอำนวยความสะดวกอย่างพร้อมเพรียง การจัดการด้านความปลอดภัย
๑.๒ ดำเนินการปรับสภาพภูมิทัศน์ ในประเด็นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม การกำจัดของเสียในศูนย์ฯ มีที่ทิ้งขยะให้เพียงพอ การจัดที่นั่ง ห้องน้ำรองรับผู้สูงวัย/ผู้
พกิ ารใหเ้ พียงพอ
๑.๓ ดำเนนิ การประชาสัมพันธ์หลายภาษา สอ่ื สารเข้าใจง่าย และนา่ สนใจ
๑.๔ ดำเนนิ การจัดกจิ กรรมให้มีความหลากหลาย
๒) กิจกรรมการพัฒนาการอนรุ ักษ์พันธุ์กลว้ ย ท่ีประชุมไดม้ ีมติร่วมกันให้เชิญวทิ ยากรทมี่ ี
ความเชีย่ วชาญ ดำเนินงาน
๒.๑ ขยายพันธกุ์ ลว้ ย
๒.๒ การดูแลลังการปลูก
๒.๓ การบำรุงดิน
๒.๔ การป้องกันโรค
๒.๕ สาธติ การขยายพันธโุ์ ดยใชเ้ นื้อเย่ือ
๒.๖ จัดให้มหี ้องและอุปกรณ์ท่ีทนั สมัยในการถา่ ยทอดองค์ความรู้
182
๓) กิจกรรมการพฒั นาการตลาดดา้ นบริการ แตง่ ต้ังคณะทำงานปฏิบัตหิ น้าท่ีการตลาดใน
ดา้ น ประกอบด้วย
๓.๑ ดำเนนิ การประเมนิ /ออกแบบผลิตภัณฑ์
๓.๒ ดำเนินการประเมินราคาจำหน่ายสินค้าท่ีเปน็ ธรรมทั้งสองฝ่าย
๓.๓ ดำเนนิ การจดั สถานทจ่ี ดั จำหน่ายทเ่ี หมาะสม มีความสะดวกในการเข้าถึงข้อมลู ของ
สนิ ค้าผ่านช่องทางส่ือสารต่างๆ
๓.๔ จัดดำเนินการประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑท์ ่ีมีในศูนยผ์ า่ นการส่ือสารหลายชอ่ งทาง
๓.๕ ดำเนินการพัฒนาเจ้าหน้าทีบ่ ริการให้มีความรู้สามารถตอบข้อซักถามและใหข้ ้อมูล
ได้
๓.๖ ดำเนนิ การจัดให้มีเจ้าหน้าทีค่ อยดูแลเรื่องความสะอาด จัดสภาพแวดล้อมที่
เหมาะสม
๓.๗ ดำเนินการจดั ใหร้ ะบบเทคโนโลยีท่ีมีความทันสมยั และมีความพร้อมให้บริการ
๔) กิจกรรมการสร้างเครือขา่ ย ท่ีประชุมเหน็ ชอบใหเ้ ชิญองค์กรต่างๆ เข้ามารว่ มกันพัฒนา
ศนู ย์ฯให้เป็น แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรแบบย่งั ยืน แหลง่ จำหนา่ ยสินคา้ ทั้งอุปโภคและบริโภค ศูนย์การจัด
กิจกรรมวถิ ีชุมชนทางน้ำ ศูนย์การเรียนรตู้ ลอดชวี ติ ศนู ยฝ์ ึกอบรมคุณธรรม จริยธรรมนักเรยี น ดังนั้น จึง
ควรมีประกาศแต่งต้ังผนู้ ำองค์กรท้งั ภาครฐั และเอกชนเขา้ มารว่ มกันบริหารศูนย์ เพ่ือสรา้ งเครือขา่ ย ได้แก่
๔.๑ วดั
๔.๒ สถาบันทางการศึกษา
๔.๓ วิสาหกจิ ชุมชน
๔.๔ พาณชิ ยจ์ ังหวัด
๔.๕ พฒั นาการจังหวัด
๔.๖ เกษตรจงั หวดั
๔.๗ การท่องเที่ยวจังหวัด
๔.๘ วัฒนธรรมจงั หวัด
๔.๙ สำนักงานพระพุทธศาสนาจงั หวัด
๔.๑๐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
๔.๑๑ องค์กรภาคเอกชน
ที่ประชุมมอบหมายใหผ้ ู้ท่ีได้รับผดิ ชอบเรง่ ดำเนินการก่อนเทศกาลออกพรรษา เพื่อรองรับ
นักท่องเที่ยวเชิงวฒั นธรรมและการท่องเที่ยวเชิงเกษตร
183
ตารางภาพท่ี ๔.๑ แสดงกจิ กรรมการพฒั นาศูนย์การเรยี นรแู้ บบมีส่วนร่วมในการอนรุ ักษ์พันธก์ุ ล้วยเปน็
แหล่งทอ่ งเทีย่ วเชิงเกษตรท่ีมมี าตรฐานคุณภาพ
กิจกรรมการพัฒนาศูนย์ฯ แบบมสี ่วนร่วม
มาตรฐานศูนย์ ฯ การอนรุ ักษ์พันธ์ุกลว้ ย การตลาดด้านบริการ การสร้างเครือขา่ ย
การเรยี นรู้
สง่ิ อำนวยความสะด(ว๒ก การขยายพันธ์ุกลว้ ย ออกแบบผลิตภณั ฑ์ วดั
) กจิ กรรมการ การดแู ลหลังการปลกู ประเมินราคา สถาบนั การศึกษา
พเนัฒ้นนควาากมปาลรอดภยั วิสาหกจิ ชุมชน
อนุรักษ์พันธ์ุ การบำรงุ ดิน/น้ำ สถานท่จี ำหนา่ ย
กปลรบัว้ สยภาพภมู ทิ ศั น์ การปอ้ งกนั โรค การประชาสัมพนั ธ์ ภาคเอกชน
การสาธติ ขยายพนั ธุ์ เจา้ หนา้ ท่ีมคี วามรู้ ภาคราชการ
(๓ จดั หอ้ ง/อปุ กรณ์ทันสมัย จัดสภาพแวดล้อม
ธ)รรกมิจชกาตร/ิ รสมิงแกวาดรล้อม พร้อมเทคโนโลยี สนิ ค้า O-TOP
พัฒนาการตลาด
เพดม่ิ า้ชนอ่ งบทราิงกกาารรสือ่ สาร
(ก๔จิ ก)รกรมิจหกลรากรหมลกาายร
สร้างเครอื ข่าย
184
ศูนย์การเรยี นรแู้ ละอนรุ ักษ์พนั ธ์กุ ลว้ ย จ. สุพรรณบุรี เปน็
แหล่งท่องเท่ียวเชงิ เกษตรท่ีมีมาตรฐานคณุ ภาพ
185
ส่วนท่ี ๘ องค์ความรู้ท่ีได้จากการวิจยั
จากผลการศึกษา งานวจิ ยั เรอ่ื ง การพัฒนาศูนยก์ ารเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์
พันธก์ุ ลว้ ย จงั หวดั สุพรรณบรุ ี มีองค์ความรูเ้ กดิ ขน้ึ ในหลายมิติ สามารถสรปุ ไดใ้ น ๓ ดา้ น
๑) ด้านกลยทุ ธ์การตลาดด้านบริการ หรอื ส่วนประสมทางการตลาดดา้ นบริการ มีทัง้ หมด
๗ ดา้ น
๒) มาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเทีย่ วเชงิ เกษตร มกี ารกำหนดเกณฑ์ไว้ ๔ ประการ แตล่ ะ
เกณฑ์จะมีองค์ประกอบและตัวชวี้ ัดมาตรฐานคุณภาพ
๓) กรอบการพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนยก์ ารเรยี นร้แู บบมีสว่ นรว่ มในการอนุรกั ษพ์ ันธ์ุ
กล้วย จังหวดั สุพรรณบุรี
ผู้วจิ ยั นำเสนอรายละเอียดตามตารางภาพ ๔.๒ ดงั น้ี
186
ตารางแผนภาพที่ ๔.๒ แสดงบทสรุปองค์ความร้ทู ี่ได้รบั จากการวิจยั
ทีม่ า : จากการสงั เคราะห์ของผวู้ จิ ยั
การพัฒนาศนู ย์การเรยี นรู้แบบมีส่วนรว่ มในการอนุรกั ษ์พันธ์กุ ล้วย
จังหวดั สุพรรณบุรี
ดา้ นกลยทุ ธก์ ารตลาด ด้านการพฒั นามาตรฐาน มาตรฐานคณุ ภาพแหลง่
ดา้ นบรกิ าร คุณภาพศูนย์การเรยี นรู้ ท่องเท่ียวเชิงเกษตร
๑) ดา้ นผลติ ภณั ฑ์ ๑. ดา้ นสภาพทว่ั ไปของศนู ย์ฯ ๑). ด้านศักยภาพการบรหิ าร
๒) ดา้ นราคา ๒. ด้านโครงสรา้ งของศูนยฯ์ จดั การของศนู ย์ฯ
๓) ดา้ นช่องทางการใหบ้ รกิ าร ๓. ด้านการมีสว่ นรว่ มในการบรหิ าร ๒). ด้านศกั ยภาพการรองรับผ้มู า
๔) ดา้ นการสง่ เสริมการตลาด จดั การศูนย์ฯ เยี่ยมชมศูนยฯ์
๕) ด้านเจ้าหนา้ ที่ผูใ้ ห้บริการ ๔. ด้านศกั ยภาพการบรหิ ารจดั การ ๓). ดา้ นศกั ยภาพการให้บริการแก่
๖) ดา้ นภาพลักษณส์ ถานที่ ของศูนยฯ์ ผ้มู าเย่ียมชมศนู ยฯ์
๗) ดา้ นกระบวนการใหบ้ ริการ ๕. ด้านศักยภาพการรองรับผูม้ า ๔) ดา้ นศักยภาพการดึงดดู ผมู้ า
เย่ยี มชมศนู ย์ฯ เยี่ยมชมศนู ย์ฯ
ผลการศึกษา พบวา่ กลยุทธ์ ๖. ด้านศกั ยภาพการใหบ้ รกิ ารแกผ่ ู้
การตลาดด้านบริการทมี่ ีความสำคัญ มาเยยี่ มชมศูนยฯ์ ผลการศกึ ษาประเมินจาก
สูงสดุ ตอ่ การพัฒนามาตรฐานศนู ย์ฯ ๗. ดา้ นศักยภาพการดึงดูดผมู้ า ความคดิ เห็นของผ้มู าเย่ียมชมศนู ย์
ไดแ้ ก่ เยย่ี มชมศนู ย์ฯ พบวา่ ศูนยก์ ารเรียนรู้แบบมสี ว่ น
การพัฒนาดา้ นภาพลักษณแ์ ละการ รว่ มในการอนรุ ักษพ์ ันธกุ์ ล้วย มี
นำเสนอลกั ษณะ และการพัฒนา ผลการศกึ ษาปจั จัยการพฒั นา คุณสมบัตสิ อดคลอ้ งกบั เกณฑ์การ
ดา้ นกระบวนการใหบ้ ริการ มี ศูนยฯ์ ใหม้ มี าตรฐานคุณภาพ พบวา่ พฒั นาคุณภาพมาตรฐานศนู ย์ฯให้
คา่ เฉลี่ยอยใู่ นลำดบั สงู สุดเท่ากบั การพฒั นามาตรฐานคุณภาพศูนยฯ์ เป็นแหลง่ ทอ่ งเท่ียวเชิงเกษตร โดย
๔.๓๗ รองลงมา ไดแ้ ก่ การพัฒนา ด้านโครงสรา้ ง และบทบาทในการ มีค่าเฉล่ียระดับความคดิ เหน็ เรยี ง
ด้านราคา มีค่าเฉลีย่ เท่ากบั ๔.๒๙ บรหิ ารจดั การศูนย์ฯ เปน็ ปจั จยั ที่มี ตามลำดบั ดงั น้ี
ด้านท่มี ีลำดบั คา่ เฉลี่ยตำ่ สุด ได้แก่ ความสำคญั สูงสุด รองลงมา ได้แก่ ๑) ด้านศักยภาพการรองรบั ผู้มา
การพัฒนาด้านการสง่ เสริม ดา้ นสภาพทวั่ ไปของศูนยฯ์ ส่วน เยีย่ มชมศูนยฯ์ ค่าเฉลย่ี ๔.๒๙
การตลาด มคี า่ เฉลย่ี เท่ากบั ๔.๐๗ ด้านที่มลี ำดับความสำคญั ต่ำสุด (ระดบั มากท่สี ุด)
และยงั พบวา่ มีความสมั พนั ธเ์ ชิงบวก ได้แก่ ด้านศกั ยภาพการดงึ ดดู ผู้มา ๒) ดา้ นศักยภาพการบรหิ าร
ระดับปานกลางกบั ปัจจยั การพัฒนา เยี่ยมชมศูนยฯ์ ควรสร้างความโดด จัดการของศนู ย์ฯค่าเฉล่ีย ๔.๒๕
มาตรฐานคุณภาพศนู ยฯ์ เด่น (ระดับมากทสี่ ดุ )
ดงั นน้ั จึงควรพัฒนาดา้ นสง่ เสริม -ดา้ นเทคโนโลยกี ารเกษตร ๓) ด้านศกั ยภาพการใหบ้ รกิ ารแก่ผู้
การตลาด ดงั น้ี -ดา้ นเศรษฐกิจพอเพียงและภมู ิ มาเยีย่ มชมศูนยฯ์ คา่ เฉล่ยี ๔.๒๐
๑) ควรมีการประชาสัมพนั ธ์ถงึ ปัญญาทอ้ งถนิ่ (ระดับมาก)
ผลิตภณั ฑ์ /ศนู ยอ์ นรุ กั ษ์พนั ธกุ์ ลว้ ย -ความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ ๔) ดา้ นศักยภาพการดงึ ดูดผู้มา
๒) ควรมกี ารประชาสัมพันธเ์ สน้ ทาง ทางการเกษตร เยย่ี มชมศนู ย์ฯค่าเฉลีย่ ๔.๐๗
-และหลากหลายของกิจกรรมใน (ระดับมาก)
ดว้ ยภางษงางทงหี่ งลากหลาย เข้าใจงา่ ย ศนู ย์ ดงั นั้น ศนู ย์การเรียนรู้ ควรพัฒนา
ให้เปน็ แหลง่ ท่องเทย่ี วเชิงเกษตร
และนา่ สนใจ อยา่ งยัง่ ยืนตอ่ ไป
๓) ควรมกี ารแนะนำศนู ย์ ฯ ผา่ นสอื่
ต่าง ๆ เชน่ อนิ เตอรเ์ นต็ แผ่นพบั
หนังสอื นำเที่ยว โทรทศั น์ วทิ ยุ ดว้ ย
ภาษาทหี่ ลากหลาย
๔) ควรมีการแนะนำข้อมลู ขา่ วสาร
187
จากตารางภาพที่ ๔.๒ พบว่า
๑) กลยุทธ์การตลาดด้านบริการที่มีความสำคัญสูงสุดต่อการพัฒนามาตรฐานศูนย์ฯ การ
พัฒนาด้านภาพลักษณ์และการนำเสนอลักษณะ และการพัฒนาด้านกระบวนการใหบ้ ริการ รองลงมา
ได้แก่ การพัฒนาด้านราคา และด้านการพัฒนาด้านการส่งเสริมการตลาด มี และยังพบว่า มี
ความสมั พนั ธเ์ ชิงบวกระดับปานกลางกับปัจจยั การพฒั นามาตรฐานคณุ ภาพศนู ย์ฯ
๒) ปัจจัยการพัฒนาศูนยฯ์ ให้มีมาตรฐานคุณภาพ พบว่า การพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์ฯ
ด้านโครงสร้าง และบทบาทในการบริหารจัดการศูนย์ฯ เป็นปัจจัยท่ีมีความสำคัญสูงสุด รองลงมา
ไดแ้ ก่ ด้านสภาพท่ัวไปของศนู ยฯ์ ส่วนด้านทมี่ ลี ำดับความสำคญั ตำ่ สุด ได้แก่ ด้านศกั ยภาพการดึงดูด
ผู้มาเยย่ี มชมศนู ยฯ์
๓) ความคดิ เห็นของผู้มาเย่ยี มชมศูนย์พบว่า ศูนย์การเรียนรู้แบบมสี ว่ นร่วมในการอนุรักษ์
พนั ธุก์ ลว้ ย มคี ณุ สมบัตสิ อดคล้องกบั เกณฑ์การพฒั นาคุณภาพมาตรฐานศูนยฯ์ ใหเ้ ปน็ แหลง่ ท่องเที่ยว
เชงิ เกษตรได้
188
บทที่ ๕
สรุปผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ
การศึกษาวิจัยเรื่อง “การพัฒนาศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย
จังหวดั สพุ รรณบรุ ี” แบ่งเป็น ๓ สว่ น ผลจากการศึกษาสามารถสรุปผลได้ดงั นี้
๕.๑ สรปุ ผลการวิจัย
๕.๑.๑ ผลการวเิ คราะหป์ จั จยั สว่ นบคุ คลของผู้มาเยย่ี มชมศูนย์ฯ
๕.๑.๒ ผลการวเิ คราะหร์ ะดับความคิดเห็นของผู้มาเย่ียมชมศูนย์ฯ ท่ีมีต่อการพัฒนา
มาตรฐานคณุ ภาพศนู ยก์ ารเรยี นร้แู บบมีสว่ นรว่ มในการอนุรักษ์พันธกุ์ ล้วย จงั หวัดสุพรรณบรุ ี
๕.๑.๓ ผลการวิเคราะห์ระดับความคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ฯที่มีต่อกลยุทธ์
การตลาดด้านบริการการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัด
สพุ รรณบุรี
๕.๑.๔ ผลการทดสอบสมมตฐิ าน “กลยุทธก์ ารตลาดด้านการบริการ มีความสัมพันธ์
กับการพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัด
สุพรรณบุรี”
๕.๑.๕ ผลสรุปกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Focus Group) เสนอแนะแนวทางในการ
พฒั นามาตรฐานคุณภาพศนู ยก์ ารเรียนร้ฯู
๕.๒ อภิปรายผล
๕.๓ ขอ้ เสนอแนะ
๕.๑. สรปุ ผลการวิจยั
๕.๑.๑ ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ ฯ จากการศึกษา พบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศ
หญิง มีอายุระหว่าง ๒๑-๓๐ ปี จบการศึกษาระดับระดับปริญญาตรี มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนตั้งแต่
189
๑๕,๐๐๑- ๒๕,๐๐๐ บาท ประกอบอาชพี เปน็ พนกั งานเอกชนทำธุรกจิ สว่ นตวั และมีถิ่นพำนักปัจจุบัน
อยใู่ นภาคกลาง
๕.๑.๒ ผลการวิเคราะห์ระดับความคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ฯ ที่มีต่อการพัฒนา
มาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนรุ ักษ์พนั ธุ์กลว้ ย จังหวัดสุพรรณบุรี พบว่า มี
ค่าเฉลี่ยในภาพรวมอยูใ่ นระดับมากทีส่ ดุ (X) = ๔.๒๖ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๐.๓๖ เมื่อพิจารณาเป็น
รายด้านพบว่า ระดับความคิดเห็นที่มีต่อการพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์ฯ ด้านสภาพทั่วไปของ
ศูนย์ฯ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในลำดับสูงสุดเท่ากับ ๔.๓๗ รองลงมา ได้แก่ ด้านศักยภาพการให้บริการแก่ผู้มา
เยี่ยมชมศูนย์ฯ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ๔.๓๕ ส่วนด้านที่มีลำดับค่าเฉลี่ยต่ำสุด ได้แก่ ด้านศักยภาพการ
ดงึ ดดู ผู้มาเย่ียมชมศูนยฯ์ มคี า่ เฉลี่ยเทา่ กบั ๔.๐๗
๕.๑.๓ ผลการวเิ คราะหร์ ะดับความคิดเห็นของผูม้ าเยี่ยมชมศูนย์ฯที่มีต่อกลยุทธ์การตลาด
ด้านบริการการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี
พบว่า มีค่าเฉลี่ยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด(X) ๔.๒๕ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๐.๔๑ เมื่อพิจารณา
เป็นรายด้าน พบว่า ระดับความคิดเห็นที่มีต่อกลยุทธ์ทางการตลาดด้านการบริการ ในการพัฒนา
มาตรฐานคณุ ภาพศนู ย์การเรียนรแู้ บบมสี ว่ นรว่ มในการอนุรกั ษ์พันธ์กุ ลว้ ย เรยี งตามลำดับได้ ดังน้ี การ
พัฒนาด้านภาพลักษณ์และการนำเสนอลักษณะ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในลำดับสูงสุดเท่ากับ ๔.๓๕ รองลงมา
การพัฒนาด้านกระบวนการให้บริการ ณ ศูนย์การเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ๔.๓๒ ส่วนด้านที่มีลำดับ
ค่าเฉลี่ยต่ำสุด ได้แก่ การพัฒนาด้านการส่งเสริมการตลาด ณ ศูนย์การเรียนรู้ ฯ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ
๔.๑๑
๕.๑.๔ ผลการทดสอบสมมติฐาน
สมมตฐิ านการวิจัยได้แก่ “กลยทุ ธก์ ารตลาดด้านการบรกิ าร มคี วามสัมพันธ์กบั การพฒั นา
มาตรฐานคุณภาพศนู ย์การเรียนรู้แบบมีส่วนรว่ มในการอนุรกั ษพ์ นั ธุ์กลว้ ย จงั หวัดสพุ รรณบุรี”โดยใช้
การวิเคราะห์ทางสถิติคา่ สมั ประสิทธสิ์ หสัมพันธแ์ บบเพยี ร์สัน
ผลการทดสอบ พบว่า กลยุทธ์การตลาดด้านการบริการการ มีความสัมพันธ์กับการพัฒนา
มาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี ใน
ทางบวกระดับปานกลาง และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยมี่ค่า r เท่ากับ ๐.๔๔๓ มีค่า Sig เท่ากับ
๐.๐๐ ซึ่งมีค่าน้อยกว่า ๐.๐๕ นั้นคือ ปฏิเสธสมมติฐานหลัก (HO) และยอมรับสมมติฐานรอง (H๑)
หมายความว่า การพัฒนากลยุทธ์การตลาดด้านการบริการทั้ง ๗ ด้าน มีระดับความสัมพันธ์หรือมีผล
กับการพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัด
สุพรรณบุรี ๗ ด้าน ได้แก่ สภาพทั่วไปของศูนย์ฯ ลักษณะโครงสร้างของศูนย์ฯ บทบาทในการบริหาร
ศูนย์ฯ ศักยภาพการบริหารจัดการศูนย์ฯ ศักยภาพการรองรับผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ ศักยภาพการ
190
ให้บริการผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ ฯ และศักยภาพการดึงดูดผู้มาเย่ียมชมศูนย์ฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่
๐.๐๕ ซึง่ สอดคล้องกับสมมตฐิ านท่ีตง้ั ไว้
สามารถอธิบายได้ว่า กลยุทธ์การตลาดด้านบริการส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพมาตรฐาน
ศนู ยก์ ารเรียนรแู้ บบมีสว่ นร่วมในการอนรุ กั ษพ์ ันธุ์กลว้ ย จังหวัดสุพรรณบรุ ี ให้มมี าตรฐานคณุ ภาพ
๕.๑.๕ ผลสรุปกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Focus Group) เสนอแนะแนวทางในการพัฒนา
มาตรฐานคณุ ภาพศนู ย์การเรยี นรูฯ้ มีผลการสรุป ดงั นี้
๑) การพัฒนาด้านผลิตภณั ฑ์ ผู้ให้สมั ภาษณส์ ว่ นใหญเ่ ห็นว่า ควรพัฒนาผลิตภัณฑ์ตรงกับ
ความจำเป็นใช้สอย ดึงดูดผู้บริโภค มีประโยชน์ คุณค่าจริง ปลอดภัยต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมตรง
กับความต้องการของผู้บริโภค ได้มาตรฐานสากลได้รับการรับรองจาก อย. มีเอกลักษณ์โดดเด่น มี
ความสะอาด ปลอดภยั ถูกสุขลกั ษณะ และมคี วามหลากหลาย ตอบสนองผูบ้ ริโภคได้อย่างเพียงพอ
๒) การพัฒนาด้านราคา ผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนใหญ่เห็นว่า ควรกำหนดราคาให้เป็นสิ่งที่
น่าสนใจแก่ผู้บริโภค ราคาไม่สูงมากนัก เมื่อเทียบกับผลิตภัณฑ์เดียวกันตามท้องตลาด ราคา
พอประมาณเหมาะสมกับสินค้า เพราะการกำหนดราคาจะเป็นมาตรฐานที่บ่งบอกถึงคุณภาพของ
ผลติ ภณั ฑ์นั้นๆ
๓) การพัฒนาด้านช่องทางให้บริการ ผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนใหญ่เห็นว่า ควรพัฒนาช่อง
ทางการให้บริการน่าสนใจ และเกิดความประทับใจให้แก่ผู้เยี่ยมชม มีความโดดเด่น มีเอกลักษณ์
สะอาดและปลอดภัย จุดจำหนา่ ยผลิตภัณฑ์อยู่ในสถานที่ที่เหมาะสม และสะดวกแกก่ ารซ้ือผลิตภัณฑ์
มีการวางระบบกลุ่มหรือประเภทของสินค้า เหมาะแก่การจับจ่าย ซื้อ - ขาย รวมถึงขนาดของพื้นที่
สามารถให้บริการแก่ผู้บริโภคได้อย่างเพียงพอ และควรเพิ่มเก้าอี้ ม้านั่งให้เพียงพอกับจำนวนผู้มา
เยย่ี มชม
๔) การพฒั นาด้านการสง่ เสริมการตลาด ผู้ให้สมั ภาษณส์ ว่ นใหญ่เหน็ ว่าการประชาสัมพันธ์
ควรดำเนนิ การอย่างกว้างขวาง การประชาสัมพันธ์ผ่านส่ือมัลตมิ ีเดีย เช่น เว็บไซต์ เพจต่าง ๆ เฟสบุ๊ค
มีการส่งเสริมโดยการผ่านสถาบันทางการศึกษา และมีการดำเนินการผ่านชมรม หรือศูนย์การเกษตร
ต่าง ๆ ดำเนินการผา่ นศูนย์อนุรักษพ์ นั ธ์ุกลว้ ยสพุ รรณบรุ ี ภมู ิปัญญา ปราชญช์ าวบ้าน มีการดำเนนิ การ
เพิ่มแหล่งการเรียนรู้ให้มีมากขึ้นโดยผ่านชมรม เครือข่ายต่าง ๆ และมีการทำงานร่วมกันในทุก
หน่วยงาน
๕) การพัฒนาด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ ผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนใหญ่เห็นว่าควรพัฒนา
เจ้าหน้าที่ให้มีหัวใจใฝ่บริการ รักงานบริการ มีการอบรมให้ความรู้แก่พนักงานและเจ้าหน้าที่ที่
รับผิดชอบโดยตรง บุคลากรมีความรู้ความสามารถ บริการด้วยมิตรไมตรี ควรให้บริการผู้เยี่ยมชม
อย่างทั่วถึง มีหลักการให้บริการที่มีประสิทธิภาพ กาย วาจา ใจ มีวิทยากรประจำศูนย์การเรียนรู้ฯ
หรือนักวิชาการเกษตร เพื่อให้บริการข้อมูลความรู้ท่ีถูกต้องแก่ผู้เยี่ยมชม ควรจะมีรูปแบบการแต่งตวั
191
ไปในทิศทางเดียวกัน ควรให้บริการด้วยความสุภาพ ยิ้มแย้มแจ่มใส และควรจะมีวิทยากรหลัก และ
วิทยากรรองสลับกัน
๖) การพัฒนาด้านภาพลักษณ์และการนำเสนอลักษณะศูนย์ฯ ผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนใหญ่
เห็นว่า ควรมีการสร้างความโดดเด่นให้เป็นแหล่งการเรียนรู้และการอนุรักษ์พันธุ์กล้วยที่ชัดเจน มี
เอกลักษณ์ มีความสะอาดเหมาะสมกับการเป็นศูนย์การเรียนรู้ฯ ให้มีพื้นที่กว้างขวาง เป็นระเบียบ
สะดวก ปลอดภัย มีสิ่งอำนวยความสะดวกที่ครบถ้วนสมบูรณ์และเพียงพอต่อความต้องการของผู้ท่ี
เข้ามาเยี่ยมชม เช่น ที่นั่ง ที่จอดรถ ห้องน้ำ ถังขยะ รวมถึงร้านอาหารและเครื่องดื่มที่อำนวยความ
สะดวก ควรมีแบบและภาพประกอบการเรียนรู้ เพื่อเป็นข้อมูลในการศึกษา โดยอ้างอ้างถึง
แหล่งกำเนดิ หรอื แหลง่ ที่มาของพันธุ์กล้วย ตา่ ง ๆ และควรเพิม่ จำนวนห้องน้ำ จดั ระเบยี บ กำหนดจุด
ตำแหนง่ ที่วางถงั ขยะเป็นจดุ ๆ ตามความเหมาะสม
๗) การพัฒนาด้านกระบวนการให้บริการ ผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนใหญ่เห็นว่า เมื่อมีผู้เยี่ยมชม
เขา้ มาใช้บริการแลว้ จะต้องมีข้ันตอนในการให้บริการ ควรมีการอำนวยความสะดวกแก่ผู้ที่มาเยี่ยมชม
ศูนย์ฯอย่างเหมาะสม มีการประชาสัมพันธ์ให้คำแนะนำให้ความรู้แก่ผู้ที่เข้ามาเยี่ยมชมด้วยมิตรไมตรี
เป็นกัลยาณมิตร รวมถึงความเป็นระเบียบ และปลอดภัยในและภายนอกศูนย์การเรียนรู้ฯ มีความ
ทันสมัยและมคี วามพร้อมของระบบเทคโนโลยี เช่น เทคโนโลยที ใี่ ชเ้ พ่ือจัดการแสดงในศูนย์การเรียนรู้
ฯ ฟรีไวไฟ มีอินเตอร์เน็ต มีการอำนวยความสะดวกแก่ผู้เข้าเยี่ยมชม มีพื้นที่เพียงพอในการรองรับผู้
เข้าเยยี่ มชมศูนย์ฯ
๕.๒ อภิปรายผล
๑) จากวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
ในการอนรุ กั ษ์พันธ์ุกลว้ ย จังหวดั สพุ รรณบรุ ี ผลการศึกษา พบวา่ มีค่าเฉลี่ยในภาพรวมอยใู่ นระดับมาก
ที่สุด (X) = ๔.๒๖ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๐.๓๖ สอดคล้องกับองค์ประกอบของมาตรฐานคุณภาพ
แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร คือ มีศักยภาพการบริหารจัดการศูนย์ฯ มีโครงสร้างการบริหารจัดการ
ศูนย์ฯ มีชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการศูนย์ฯ มีศักยภาพการรองรับผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ฯ
อย่างเพียงพอ มีศักยภาพการให้บริการแก่ผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ฯ เช่นการให้ความรู้เรื่องกล้วย และมี
ศักยภาพการดึงดูดผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ฯเช่น มีการเรียนรู้วิถีชีวิตหรือร่วมกิจกรรมกับเกาตร และ
สอดคล้องกับแนวทางการดำเนินงานศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร
ประกอบด้วย ๑) เปน็ เกษตรกรตน้ แบบ เปน็ แหลง่ เรยี นร้แู ละประสบผลสำเรจ็ ในการเพมิ่ ประสทิ ธิภาพ
การผลิตทางการเกษตร ที่สามารถเป็นต้นแบบให้กับเกษตรกรรายอื่น ๆ ในชุมชน ๒) มีแปลงสาธิต
การเรียนรู้ เป็นแปลงต้นแบบที่ดำเนินการเพิ่มผลผลิตสินค้าเกษตร ((ลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต และ
พัฒนาคุณภาพผลผลิต ๓) มีหลักสูตรการเรียนรู้ โดยศูนย์ได้จัดทำหลักสูตรและแผนการเรียนรู้ โดย
192
เนน้ ประเด็นหลักในการอนรุ กั ษ์ การเพ่มิ ผลผลิต เปน็ หลกั สูตรท่ีเน้นกระบวนการเรยี นรู้แบบมสี ่วนร่วม
และต่อเนื่องตลอดฤดูการผลิต และ ๔) จัดตั้งเป็นศูนย์การเรียนรู้.การขยายพันธุ์กล้วย การดูแล
บำรงุ รกั ษากลว้ ย การเก็บผลกลว้ ย การแปรรปู กลว้ ยเพ่ือการบริโภค การบรรจุผลติ ภัณฑ์จากการแปร
รปู กลว้ ย
๒) จากวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลยุทธ์การตลาดด้านบริการที่มีผลต่อการพัฒนาศูนย์การ
เรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี ให้มีมาตรฐานคุณภาพ ผล
การศกึ ษาพบว่า มีคา่ เฉลย่ี ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (X) = ๔.๒๕ คา่ เบีย่ งเบนมาตรฐาน ๐.๔๑
สอดคล้องกับผลการวิจัยของ มณี ชินรงค์ และคณะ เรื่อง การพัฒนากลยุทธ์การตลาดด้านการ
ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ผลการวิจัยพบว่า 1) นักท่องเที่ยวมีระดับความคิดเห็นต่อการพัฒนากล
ยุทธ์การตลาดด้านการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.24
เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านช่องทางให้บริการ ณ แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์มีความ
คิดเห็นในลำดับสูงสุด เฉลี่ย 4.38 และความคิดเห็นที่มีต่อมาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวทาง
ประวัติศาสตร์โดยรวมอยู่ในระดับมากทีส่ ุด เฉลี่ย 4.25 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบวา่ คุณภาพการ
ยอมรับแหล่งท่องเทีย่ วทางประวัติศาสตรม์ ีความคิดเหน็ ในลำดับสูงสดุ เฉลี่ย 4.29 และสอดคล้องกับ
ผลการวจิ ยั ของ Krittika Sainaratchai ทำวจิ ยั เรอ่ื ง แนวทางการพัฒนาสว่ นประสมทางการตลาดของ
ที่ระลึกสำหรับนักท่องเที่ยวชาวยุโรปและเอเชียในกรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยพบว่า ผู้ตอบ
แบบสอบถามมีความคดิ เห็นเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาส่วนประสมทางการตลาดของที่ระลึกสำหรับ
นักท่องเที่ยวชาวยุโรปและเอเชียส่วนใหญ่เห็นด้วยในระดับมาก ได้แก่ ด้านราคา ด้านช่องทางและ
สถานที่จัดจำหน่าย ด้านบุคลากร และด้านผลติ ภัณฑ์ ส่วนด้านการส่งเสริมการตลาดอยู่ในระดับปาน
กลาง
๓) จากวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์การตลาดด้านบริการกับการ
พัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี
ผลการศึกษาสอดคล้องกับงานวิจัยของ มณี ชินรงค์ และคณะ เรื่อง การพัฒนากลยุทธก์ ารตลาดด้าน
การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ พบว่า ความสัมพันธ์การพัฒนากลยุทธ์การตลาดด้านการท่องเที่ยว
เชิงประวัติศาสตร์ อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี มีระดับความสัมพันธ์ในระดับสูง และเป็นไปใน
ทิศทางเดียวกันกับการพัฒนามาตรฐานคณุ ภาพแหล่งท่องเท่ียวทางประวัตศิ าสตร์ โดยมี่ค่า r เท่ากับ
0.950 มคี า่ Sig เทา่ กับ 0.00 ซึง่ มีค่า Sig < 0.05 สอดคล้องกบั สมมตฐิ านที่ตง้ั ไว้ สามารถอธบิ ายได้ว่า
การพัฒนากลยุทธ์การตลาดด้านการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ส่งผลให้แหล่งท่องเที่ยวทาง
ประวัติศาสตร์มีมาตรฐานคุณภาพ และสอดคล้องกับงานวิจัยของ ณัฐนนท์ โชครัศมีศิริ เรื่อง ปัจจัย
สว่ นผสมทางการตลาดท่ีมคี วามสัมพันธ์ต่อความจงรักภกั ดขี องผู้บริโภคในการเลทอกใช้บรกิ ารโรงแรม
ราคาประหยัด ในอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม พบว่า ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ด้านสถานที่ตั้ง ด้าน
193
ลักษณะทางกายภาพ และด้านกระบวนการ มีความสัมพันธ์กับความจงรักภักดีในการเลือกใช้บริการ
โรงแรมราคาประหยดั ในอำเภอเมือง จังหวดั นครปฐมอย่างมีนัยสำคัญทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั ๐.๐๕
๕.๓ ข้อเสนอแนะ
จากการวิจัยเรื่อง การพัฒนาศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธ์กล้วย
จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ผลการศึกษาโดยรวมมีค่าแปลผลเฉล่ีย อย่ใู นระดบั มากท่สี ุดทุกด้าน และพบว่า กล
ยุทธ์การตลาดด้านบริการมีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับปานกลางและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
ผู้วิจยั มขี ้อเสนอแนะ ดังน้ี
๕.๓.๑ ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบาย ดังน้ี
๑) หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในจังหวัดสุพรรณบุรี เช่น สำนักงานท่องเที่ยวและการ
กีฬาจังหวัด เกษตรจังหวัด หรือพัฒนาชุมชน ศูนย์สินค้าโอท๊อปหรือกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ควรร่วมมือ
กบั ศนู ยอ์ นุรักษ์พนั ธ์กุ ลว้ ย จงั หวดั สุพรรณบุรี เพื่อพัฒนาต่อยอดให้เปน็ แหลง่ ท่องเทีย่ วเชิงเกษตรอย่าง
ยั่งยืน ส่งเสริมให้เป็นศูนย์ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร จำหน่ายสินค้าการเกษตร เป็นการสร้างรายได้
ให้กับชุมชนเกิดความมั่นคงในชีวิต เป็นวิธีการของกลยุทธ์ทางการตลาด ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้นจาก
การจำหน่ายสินค้ามีความมั่งคั่ง เกิดการสร้างผลิตภัณฑ์ขึ้นใหม่จากฐานเกษตร ซึ่งเป็นมรดกทาง
วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีคุณค่าอยู่แล้วทำให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่มีคุณค่าสูงขึ้นนำไปสู่ความ
ยงั่ ยนื
๒) ศูนย์อนุรักษ์พันธ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี ควรจัดทำแผนพัฒนาศูนย์ฯ เพ่ือ
ส่งเสริมบทบาทของศูนย์ฯให้เป็นแหล่งเรียนรู้ทางการปลกู ขยาย รักษาพันธุก์ ล้วย ให้เกิดความมั่นคง
ทางอาหาร ขยายฐานการผลิต และรับเป็นศูนย์กลางตัวแทนจำหน่ายผลผลิตจากกล้วย สินค้า
การเกษตรอ่ืนๆ เป็นการเพมิ่ ช่องทางการจำหน่ายและสินค้าถงึ มือผูบ้ รโิ ภคโดดตรง
๕.๓.๒ ขอ้ เสนอแนะเพือ่ การวจิ ยั
จากการวิจัยเรื่อง การพัฒนาศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย
จังหวัดสพุ รรณบุรี ยงั มปี ระเดน็ ทน่ี ่าศึกษาอีกหลายประเดน็ เช่น
๑) ควรศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการสร้างมาตรฐานคุณภาพศูนย์การอนุรักษ์พันธ์ุ
กลว้ ยให้เป็นแหล่งท่องเท่ยี วเชงิ เกษตรแบบย่ังยืน จังหวัดสพุ รรณบรุ ี
๒) ควรศึกษาแนวทางการพัฒนาศักยภาพวิสาหกิจชุมชนในการผลิตสินค้าทาง
เกษตร เพื่อสนบั สนุนให้เป็นชุมชนเกษตรย่งั ยืน
๕.๓.๓ ขอ้ เสนอแนะเพือ่ การพฒั นาศูนย์ฯ
194
๑) ด้านการกลยุทธ์การตลาดดา้ นบรกิ ารการการพฒั นาศนู ยก์ ารเรียนรแู้ บบมสี ่วน
รว่ มในการอนุรักษ์พนั ธกุ์ ลว้ ย จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี เม่อื พิจารณาในภาพรวม ควรมีการพัฒนาดา้ นการ
ส่งเสริมการตลาด ณ ศนู ย์การเรยี นรฯู้ โดยควรพัฒนาในประเด็นตา่ ง ๆ ดงั นี้
(๑) เพิม่ การประชาสัมพันธถ์ ึงผลิตภัณฑ์การเกษตร/กจิ กรรมของศนู ย์อนรุ ักษ์
พันธ์กุ ลว้ ย
(๒) เพม่ิ การประชาสมั พนั ธ์เส้นทางเขา้ เยี่ยมชมศูนย์ฯ ผ่านการสือ่ สารดว้ ย
ภาษาทห่ี ลากหลาย เขา้ ใจงา่ ย และนา่ สนใจ
(๓) เพิม่ การแนะนำศนู ย์ ฯ ผ่านสอ่ื ต่าง ๆ เช่น อนิ เตอร์เน็ต แผน่ พบั หนังสือ
นำเทย่ี ว โทรทัศน์ วทิ ยุ ด้วยภาษาท่หี ลากหลาย
(๔) เพมิ่ การแนะนำข้อมลู ข่าวสารผ่านนทิ รรศการ หรอื การจดั กิจกรรมตา่ ง ๆ
ในสถานที่อนื่ ๆ
๒) การพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์
พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี เมื่อพิจารณาในภาพรวม พบว่า ควรมีการพัฒนาคุณภาพด้านศักยภาพ
การดึงดูดผ้มู าเยยี่ มชมศนู ย์ฯ โดยควรพัฒนาในประเด็นตา่ ง ๆ ดังนี้
(๑) ควรสรา้ งความโดดเดน่ ทางด้านเทคโนโลยีการเกษตรและองค์ความรู้
เฉพาะ เชน่ เปน็ ตน้ แบบของการทำเกษตรกรรม มีการถา่ ยทอดความรใู้ ห้ผู้มาเยยี่ มชม
(๒) ควรสรา้ งความโดดเด่นด้านเศรษฐกจิ พอเพียงและภูมิปัญญาทอ้ งถนิ่ เช่น
การเกษตรทฤษฎีใหม่ เกษตรแบบธรรมชาติ หรอื เกษตรอินทรยี ์ การผลติ สารชีวภาพกำจัดศัตรพู ชื
(๓) ควรสร้างความโดดเด่นหลากหลายของผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เพื่อ
จำหนา่ ยสำหรับผ้มู าเยย่ี มชม
(๔) ควรสร้างความโดดเด่นและหลากหลายของกิจกรรมในศูนย์ เช่น การอบ
สมุนไพร การนวดและการประคบสมุนไพร การพายเรือฯ การถ่ายทอดความรู้จากวิทยากรที่มีความ
เช่ียวชาญทางเกษตร และการใชเ้ ทคโนโลยีท่ีทันสมยั
195
บรรณานกุ รม
กวิศร์ วานิชกุล, เบญจมาศ ศิลาย้อย, ฉลองชัย แบบประเสริฐ, จุลภาค คุ้นวงศ์ และ ธํารง ช่วยเจรญิ
2536. การทดสอบและเปรียบเทียบศักยะภาพของกล้วยพันธุ์การค้าที่ขยายพันธุ์โดยการ
เพาะ เลี้ยงเนื้อเย่ือในแหลง่ ปลกู ต่าง ๆ ของประเทศไทย. รายงานวจิ ยั เสนอตอ่ สํานกั งานคณะ
กรรมการวิจัยแห่งชาติ, 147 หน้า กองโภชนาการ. 2521. ตารางแสดงคุณภาพอาหารไทย
ในส่วนท่กี ินได้ 100 กรัม. โรงพิมพอ์ งคก์ าร เภสัชกรรม, กรงุ เทพฯ, 48 หน้า
กรมสง่ เสรมิ การเกษตร. วิสาหกิจชมุ ชน. กรุงเทพมหานคร: ผูแ้ ต่ง, ๒๕๔๘.
_______. คูม่ อื โครงการส่งเสริมวสิ าหกจิ ชุมชน. กรุงเทพมหานคร: ผ้แู ต่ง, ๒๕๕๒.
กลมุ่ งานพัฒนากลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมการเกษตร. การสร้างและพฒั นาเครือข่ายภาค การผลิต
ทางการเกษตร. ชมุ พร: สำนักพัฒนาเกษตรกรจังหวัดชุมพร, ๒๕๖๑.
กรุง สตี ะธนี. คู่มือปลูกพรกิ . นครปฐม: มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน, ๒๕๕๖.
เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์, การมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการดำเนินนโยบายของรัฐบาลด้านการ
บริการจัดหางาน, (กรุงเทพฯ : กองแผนงานและสารสนเทศ กรมการจัดหางาน กระทรวง
แรงงาน, ๒๕๕๐),.
กัลยาณี อรรถฉัตร, 2533. การเพิม่ ปรมิ าณต้นและการเจรญิ เตบิ โตของกล้วยหอมพันธ์ุ Grand Nain
โดยวิธีเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ, ปัญหาพิเศษปริญญาตรี ภาควิชาพืชสวน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 28 หน้า
เกษมศักดิ์ ผลากร. 2535. การจําแนกยีโนมของกล้วยด้วยวิธีเคมี, วิทยานิพนธ์ประกอบปริญญาโท
ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,
คณะทํางานจัดนิทรรศการกล้วย. 2538. อาหารจากกล้วย. นิทรรศการงานแสดงเกษตรและ
อุตสาหกรรมโลก 4 พย.-16 ธค. 2538, จว.นครราชสมี า,
ชจู ิตรสมบตั ิพานิชย์, 2505. คุณคา่ อาหารของกลว้ ย. วิทยานพิ นธป์ ระกอบปรญิ ญาตรี คณะกสิกรรม
และ สัตวบาล มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
โชติ สวุ ัตถิ 2505. กลว้ ยป่าและกล้วยปลูกในประเทศไทย สาํ นักสง่ เสริมและเผยแพร่ความรู้ทางการ
เกษตร มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, กรงุ เทพฯ. 48 หน้า
196
ถาวร โกวิทยากร. 2510. การเปรียบเทยี บผลผลติ ของกลว้ ยหอมทอง โดยใช้ปยุ๋ ไนโตรเจนและโปแต
สเซียมในระดับต่างๆ วิทยานิพนธ์ประกอบปริญญาตรี คณะกสิกรรมและสัตวบาล
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์,
ธรรมศักดิ์ ทองเกตุ, 2529. การปลูกกล้วย, เอกสารคําแนะนําที่ 12. กรมส่งเสริมการเกษตร, 23
หน้า
นิพนธ์ วสิ ารทานนท.์ 2542. โรคไม้ผลเขตรอ้ นและการป้องกันกําจดั , บรษิ ทั เจฟลิ ์ม โปรเซส จาํ กัด.
นิรนาม, 2528. การป้องกันและกําจัดโรคพืชด้วยสารเคมี, เอกสารวิชาการ เล่มที่ 10. กรมวิชาการ
เกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, 90 หนา้
เนื้อทอง วนานุวัธ, เบญจมาศ ศิลาย้อย และฉลองชัย แบบประเสริฐ 2530. การวิเคราะห์คุณค่า
อาหารของกล้วยบางชนิด, รายงานวิจยั , สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กรงุ เทพฯ
บุเรศบํารุงการ, หลวง 2516. การทําไร่กล้วย, สมาคมพฤกษชาติแห่งประเทศไทย, แพร่วิทยา,
กรุงเทพฯ .
เบญจมาศ กาญจนสุต และวัฒนา เสถียรสวัสดิ์, 2515. การศึกษาทางอนุกรมวิธานกล้วยโดยวิธีทาง
ไซโตและสัณฐานวิทยา, รายงานการประชุมทางวิชาการเกษตรศาสตร์และชีววิทยา ครั้งท่ี
10 สาขาพืช พระนคร, กรงุ สยามการพมิ พ์
เบญจมาศ ศิลาย้อย และกรรณิกา เกรียงยะกุล, 2544. การชักนําให้กล้วยไข่เกิดการกลายพันธุ์โดย
ใช้ รงั สีแกมมารว่ มกบั การเพาะเลีย้ งเน้ือเยื่อ, สัมมนาวิชาการพันธุศาสตร์ ครัง้ ที่ 12, 28-30
มนี าคม 2544.
เบญจมาศ ศิลาย้อย และฉลองชัย แบบประเสริฐ 2526. แหล่งพันธุกรรมกล้วยในประเทศไทย
เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่อง แหล่งพันธุกรรมทางพืช ครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 11 - 12
ตลุ าคม 2527. ณ สภาวิจยั แห่งชาติ, กรงุ เทพฯ
เบญจมาศ ศลิ ายอ้ ย และประวัติ สมเป็น, 2526. การศึกษาโครโมโซมของกล้วย รายงานการประชุม
ทาง วชิ าการ สาขาพืช ครั้งท่ี 21. มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ
ประไพศรี พิทักษ์ไพรวัน, พัฒนา สนธิรัตน์, วิรัช ชูบํารุง และสัญชัย ตันตยาภรณ์, 2528. การ
รวบรวม และจําแนกเชื้อราชนิดต่าง ๆ ที่เป็นสาเหตุของโรคกล้วย, รายงานการประชุมทาง
วิชาการ คร้ังที่ 23 ภาคโปสเตอร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ,.
ประภาส จิระพัฒนาสกุล. 2512. ปริมาณแคโรทีนในกล้วย. วิทยานิพนธ์ประกอบปริญญาตรี คณะ
กสิกรรมและสตั วบาล มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์
ประภาสินี รัตโนภาส, 2529. เทคนิคการขยายพันธุ์กล้วยโดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ปัญหาพิเศษ
ปรญิ ญาโท. ภาควชิ าพชื สวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 54 หนา้
197
ประยูร ดีมา, 2517. วัตถุมีพิษที่ใช้ในการเกษตรและการสาธารณสุข. เอกสารวิชาการ ฉบับที่ 14.
กรมสง่ เสรมิ การเกษตร, กรุงเทพฯ
ประวัติ สมเป็น 2526. การศึกษาลักษณะสันฐานบางประการของกล้วยท่ีมีจาํ นวนโครโมโซมต่างกัน
ปญั หาพเิ ศษปริญญาโท ภาควิชาพชื สวน คณะเกษตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพ
ปาริชาติ นุกูลการ, เบญจมาศ ศิลาย้อย และอรดี สหวัชรินทร์, 2526. ผลของสิ่งก่อกลายพันธุ์ต่อ
กลว้ ยท่เี ลย้ี งในสภาพปลอดเชอ้ื , เรือ่ งย่อ รายงานการประชุมทางวิชาการ สาขาพชื ครงั้ ท่ี 21.
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ
พเยาว์ เหมือนวงษ์ญาติ, 2534. กลว้ ยกับสุขภาพ : การใช้ประโยชน์ทางยา, สมั มนาวชิ าในการกล้วย
เพื่อสิ่งแวดล้อม จัดโดยสมาคมคหเศรษฐศาสตร์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ์
กรมส่งเสริมการเกษตร สภาสตรีแห่งชาติในพระบรมราชินูปถัมภ์ และกรรมการ
ประชาสมั พันธ์ ส่ิงแวดลอ้ ม, 16-17 ธันวาคม 2534. ณ โรงแรมเซน็ ทรัลพลาซา่ , กรงุ เทพ,
ภาสันต์ ศารทูลทัต 2540. การชักนําให้กล้วยไข่กลายพันธุ์ในสภาพเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อด้วย
colchicine และ oryzalin, วิทยานิพนธ์ประกอบปริญญาโท ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, 70 หน้า
วไลลกั ษณ์ รัตนอาภา, วภิ า สุโรจนเมธากลุ , เพลนิ ใจ ตง้ั คณะกลุ , เบญจมาศ ศลิ าย้อย และกรณุ า วงษ์
กระจา่ ง 2532. การศึกษาคณุ ค่าทางอาหารของกล้วยในกลุ่ม ABB บางชนดิ ,อาหาร 19(4).
วจิ ติ ร วงั ใน 2530. กล้วย ภาควิชาพชื สวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (เอกสารโรเนยี ว)
ศรีสังวาลย์ ฉายวิเศษกุล. 2533. ผลของ PH ต่อการเกิดหน่อของกล้วยไข่บนอาหารสังเคราะห์
ปัญหาพเิ ศษปริญญาตรี ภาควิชาพืชสวน มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์, 11 หนา้
ศิริลักษณ์ แก้วสุรลิขิต. 2533. ผลของระดับความเข้มข้นของวันและ Supporting agent ต่อการ
เจริญเติบโตของกล้วยไข่ในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ, ปัญหาพิเศษ ปริญญาตรีภาควิชาพืชสวน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 18 หน้า
สมัย เจริญรัถ, ไพโรจน์ ผลประสิทธิ์ และอัมพวัน สัตยานุรักษ์. 2512, กล้วย, กสิกร. 42(7): 1 -
68.
สรสิทธิ์ วัชโรทยาน, 2513. ปุ๋ยนาและการใช้ปุ๋ยกับพืชสําคัญหลายชนิด, โครงการวิจัยและแนะนํา
ทางเทคโนโลยีของดนิ ภาควชิ าปฐพีวทิ ยา มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
สุจิตรา โพธิปาน, 2541 การเก็บรักษาเชื้อพันธุกรรมกล้วย Abaca (Musa Textilis Nee.) ในสภาพ
ปลอดเชื้อ. วิทยานิ พนธ์ประกอบปริญญาโท ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
สุภาพร แก้วสมพงษ์, 2532. ผลของ 6-Benzylaminopurine ต่อการเกิดหน่อของกล้วยไข่บน
อาหาร สังเคราะห์, ปัญหาพเิ ศษปรญิ ญาตรี ภาควชิ าพชื สวน มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
198
สุภาพรรณ ธรรมสุวรรณ. 2539. ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพของผลกล้วยหอมพันธุ์แกรนด์เนน
วทิ ยานพิ นธป์ ระกอบปรญิ ญาโท ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
สุภาภรณ์ รุ่งเรืองขจรเลิศ. 2537. การศึกษาการเพิ่มปรมิ าณต้นกล้าในกลุ่มหอมทอง และหอมเขียว
โดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อและการเจริญเติบโตหลังยา้ ยปลูก, วิทยานิพนธ์ ประกอบปริญญา
โทภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์,
อนันต์ ภู่พิทยาสถาพร, 2517. การศึกษาเซลวิทยาของกล้วย, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพ. 36 หน้า
อัญมณี อาวุชานนท์, เสาวนีย์ สุพุทธิธาดา, เบญจมาศ ศิลาย้อย และสมศักดิ์ อภิสิทธิวาณิช. 2544
การตรวจสอบยีโนมกล้วยด้วยยีโนมิกอินซิทูไฮบริไดเซชันและเอสเอสอาร์, สัมมนาวิชาการ
พนั ธศุ าสตร์ ครัง้ ที่ 12, 28-30 มีนาคม 2544.
อารี วัลยะเสวี, 2534. กลว้ ยกับสขุ ภาพในแง่โภชนา ในการสมั มนาวิชาการ กล้วยเพอ่ื สิ่งแวดล้อมจัด
โดยสมาคมคนเศรษฐศาสตร์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ์ กรมส่งเสริม
การเกษตร สภาสตรีแห่งชาติในพระบรมราชินูปถัมภ์ และกรรมการประชาสัมพันธ์
สิง่ แวดล้อม 16-17 ธนั วาคม 2534. ณ โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา่ , กรงุ เทพ, .
เอยี น ศลิ าย้อย, 2527 วธิ ีจัดการศัตรพู ืช, ข่าวสารเกษตรศาสตร์, 29(4) : 30 - 54.
เอี่ยน ศิลาย้อย, 2528. การใช้สารเคมีปราบศัตรูพืช. คู่มือเกษตรกร. สมาคมการค้าปุ๋ยและธุรกิจ
การเกษตรไทย เอกสารทางวชิ าการ 2 : 70 – 72.
เอี่ยน ศิลาย้อย, 2530. โรคพืชไม้ผลและการป้องกันกําจัด โครงการตําราชาวบ้าน
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, โรงพิมพ์ หจก. พอ่ - ลกู การพมิ พ,์ กรุงเทพฯ, 79 หนา้
เอี่ยน ศิลาย้อย, 2530. โรคพืชไม้ผลและการป้องกันกําจัด , โครงการตําราชาวบ้าน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, สํานกั ส่งเสริมและฝกึ อบรม, กรุงเทพฯ. 127 หนา้
เอี่ยน ศิลาย้อย, 2536. โรคพืชไม้ผลและการป้องกันกําจัด, มูลนิธิตระการศักดิ์ มณีภาค สํานัก
ส่งเสรมิ และฝึกอบรม, 314 หน้า
เสรรี ตั น์ และคณะ. องคก์ ารและการจดั การ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพธ์ รรมสาร. ๒๕๔๕.
เสาวนิตย์ ชัยมุสิก, การบริหารโรงเรียนเป็นฐานเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา,
(กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์บุคพอยท์ , ๒๕๔๒), .
โกวิทย์ พวงงาม. การเสริมสร้างความเขม้ แข็งของชมุ ชน. (ม.ป.ท, ๒๕๔๕),
กมลวรรณ ตั้งธนกานนท์. (๒๕๕๘). ระเบียบวิธีสถิติทางการศึกษา. (กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ
มหาวทิ ยาลยั . 2558),
กมลวรรณ ตังธนกานนท์. ระเบียบวิธีสถิติทางการศึกษา. (กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย, ๒๕๕๘).
199
กลุ่มพฒั นาระบบบรหิ าร, การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน, กรงุ เทพมหานคร : สำนักงานปลัดกระทรวง
สาธารณสขุ , ๒๕๔๙, (อัดสำเนา).
คะนึงนิจ ศรีบัวเอี่ยม และคณะ. แนวทางการเสริมสร้างประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมตาม
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๔๐ : ปัญหา อุปสรรค และทางออก,
(กรุงเทพฯ : ธรรมดาเพลส, ๒๕๔๕).
ชิต นิลพานิช และกุลธน ธนาพงศธร. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชนบท. เอกสาร
การสอนชุดวิชาความรู้ทั่วไปสำหรับการพัฒนาระดับตำบล หมู่บ้าน (พิมพ์ครั้งที่ ๓, หน่วยที่
๘), (นนทบรุ ี : โรงพมิ พ์มหาวิทยาลัยสโุ ขทยธรรมาธิราช, ๒๕๓๒),
บุญชม ศรีสะอาด. การวิจัยเบื้องต้นฉบับปรับปรุงใหม่. (พิมพ์ครั้งท่ี ๖.), กรุงเทพมหานคร: สุวีริยา
สาสน์ ,๒๕๔๓,.
ปกรณ์ ปรียากร, ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาในการบริหารการพัฒนา, :(
กรุงเทพมหานคร: สามเจริญพานชิ ,.๒๕๓๘), .
พระมหาสทุ ติ ย์ อาภากโร (อบอุน่ ). เครอื ขา่ ย : ธรรมชาติ ความรู้ และการจัดการ.
กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์โอเดียนสโตร,์ ๒๕๕๗.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). ธรรมนูญชีวิต. พิมพ์ครั้งที่ ๘๒. กรุงเทพมหานคร: พิมพ์สวย,
๒๕๕๐.
พรธิดา วิเชียรปัญญา. การจัดการความรู้พื้นฐานและการประยุกต์ใช้. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์
เอ็กซเ์ ปอร์เนท็ , ๒๕๔๗.
พันธทิพย รามสูตร, การวิจัยเชิงปฏิบัติการอยางมีสวนรวม, (กรุงเทพฯ: สถาบัน พัฒนาการ
สาธารณสุขอาเซียน มหาวิทยาลัยมหดิ ล, ๒๕๔๐),
ภัทราพร อาวัชนาการ, ปัจจัยทางการตลาดและพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอย่าง
ยั่งยืน ในเขตอำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์, หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะ
พาณชิ ยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร,์ 2558 : .
ยิ่งลักษณ์ กาญจนฤกษ์และคณะ, รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์, โครงการ “การยกระดับความยั่งยนื ทาง
การเกษตรของเกษตรรายยอ่ ย อ.แจห้ ่ม จ.ลำปาง, 2560 .
ยวุ ัฒน์ วุฒิเมธี, หลักการพฒั นาชุมชนและการพฒั นาชนบท,(กรงุ เทพมหานคร:ไทยอนุเคราะห์ไทย.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ พิมพ์ครั้งที่ ๑.
กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพศ์ รวี ัฒนาอนิ เตอรพ์ รน้ิ ท,์ ๒๕๕๖.
________ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์นานมี
บคุ ส์พับลเิ คช่ันส์, ๒๕๔๖.
วิรัช วัชชนภิ าวรรณ. หลักการพัฒนาชุมชนการพัฒนาชุมชนประยกุ ต์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพโ์ อ
เดยี นสโตร์, ๒๕๓๒.
วทิ ยา ดา่ นธำรงกลู . การบริหาร. (พมิ พ์ครงั้ ที่ ๑). กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพ์เธริ ์ดเวฟ เอด็ ดูเคชัน่ ,
๒๕๔๖.
200
วฑิ ูรย์ เล่ยี นจำรญู . นำ้ พรกิ : นำ้ พรกิ สู้โลกาภิวัฒน์ มูลนธิ ิชวี วิถี (Bio Thai). กรงุ เทพมหานคร: โรง
พิมพอ์ มรนิ ทร์พร้ินติ้งแอนด์พบั ลิชชิง่ , ๒๕๕๐.
วิจารณ์ พานิช. การจัดการความรู้ในยุคสังคมและเศรษฐกิจบนฐานความรู้. กรุงเทพมหานคร :
สถาบนั สง่ เสริมการจดั การความรูเ้ พือ่ สงั คม, ๒๕๔๖.
วันทนีย์ แสนภักด,ี พรทิพย์ วีระสวสั ด์ิ, ธดิ า พาหอม. การจัดการพสั ดุและสำนักงาน.
กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พ์เอ็กซเปอรเ์ น็ท, ๒๕๕๓.
วนั ชยั มชี าต.ิ การบรหิ ารองค์กร พิมพค์ รงั้ ที่ ๒. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พจ์ ฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย,
๒๕๕๐.
วเิ ชียร วทิ ยาอุดม. ทฤษฎอี งค์การ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ธรี ะฟลิ ม์ และไซเทกซ์, ๒๕๔๘.
ศริ ิวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. องคก์ ารและการจดั การ ฉบับสมบูรณ์. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพ์
เพชรธรรมแก้วแหง่ โลกธรุ กิจ, ๒๕๔๒.
วิฑูรย์ ปัญญากุล, การพัฒนาต้องมาจากประชาชนชาวบ้านเวที ๓๔.(พิมพ์ครั้งที่ ๒),.
กรงุ เทพมหานคร : สถาบันชมุ ชนทอ้ งถ่นิ พัฒนา, ๒๕๓๕.
ศ.นพ.วันชัย วัฒนศัพท์,คู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชนในการตัดสินใจของชุมชน,
(กรงุ เทพมหานคร : สถาบนั พระปกเกล้า และ มลู นธิ อิ าเซีย, ๒๕๕๒), .
สนธยา พลศรี, ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน. (พิมพ์ครั้งที่๕),:( กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์.
๒๕๔๗, .
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ( ป.อ. ปยุตฺโต), การพัฒนาที่ยั่งยืน,:( กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิโกมลคีม
ทอง.๒๕๓๐), หนา้ ๑๖-๑๘.
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต), พุทธศาสนากับสังคมไทย, (พิมพ์ครั้งที่๓),
(กรงุ เทพมหานคร : มูลนิธิ โกมลคีมทอง,๒๕๓๒).
สมจิตร ล้วนจำเริญ. (2541). พฤติกรรมผู้บริโภค. (กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.สม
จิตร ลว้ นจำเริญ, ๒๕๔๑),
กรมการท่องเท่ยี ว. คูม่ อื การประเมนิ มาตรฐานการทอ่ งเที่ยวเชงิ เกษตร. หนา้ ๑-๓
กรมการท่องเที่ยว. คู่มือการประเมินมาตรฐานการท่องเที่ยวเชิงเกษตร. (สำนักพัฒนาแหล่ง
ท่องเที่ยว : กระทรวงการท่องเที่ยวและกฬี า.๒๕๕๓),
กรมส่งเสริมการเกษตร. แนวทางการดำเนินงานศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้า
เกษตร : (กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, ๒๕๕๘, .
ขนิษฐา นันทบุตร. บทสังเคราะห์ ข้อเสนอเพื่อการพัฒนาระบบการทำงานของผู้ดูแล. สถาบันวิจัย
และพัฒนาระบบบริการการพยาบาล, สภาการพยาบาล, สำนักงานหลักประกันสุขภาพ
แห่งชาต,ิ ๒๕๕๑.
คอทเลอร์ (Kotler), อ้างถึงใน ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ, กลยุทธ์การตลาดสำหรับธุรกิจบริการ,
(กรุงเทพมหานคร: บรษิ ทั ธนวัช การพมิ พ์ จำกัด ๒๕๔๑), .