The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนาศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ddttgr1125, 2021-01-29 22:23:37

การพัฒนาศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย

การพัฒนาศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี

101

๓. ปุ๋ยเคมี สูตร ๑๓-๑๓-๒๑ ปุ๋ยนี้ควรให้หลังติดผลแล้ว อัตรา ๕๐๐ กรัม/ต้น โดย
แบ่งใส่ ๒ ครง้ั - ครง้ั แรกหลังตดั ปลแี ล้ว - ครงั้ ที่ ๒ หลังจากคร้งั แรก ๑ เดอื น

๑๓.การกำจัดวชั พืช

วัชพืชเป็นพืชที่มาแย่งดูดอาหารในดินไปใช้เพื่อการเจริญเติบโต มีผลทำให้กล้วยมีความ
เจริญเติบโตชา้ ลง บางชนดิ อาจทำให้การปฏิบตั ิเปน็ ไปดว้ ยความยากลำบาก ทอ่ี าศัยของโรคและแมลง
บางชนิด เกษตรกรควรมีการกำจดั วชั พืชอยา่ งเหมาะสม และถกู วิธี ซง่ึ สามารถแบ่งออกได้ดงั นี้

๑. วธิ กี ล ไดแ้ ก่ การถอน ดาย หรือถากด้วยจอบ ควรทำการกำจัดขณะท่ีวัชพืชมีต้น
เล็ก ก่อนที่วัชพืชนั้นจะออกดอก ถ้าเป็นพืชที่มีดอก ต้องเก็บภาชนะที่ใส่เมล็ดวัชพืช ร่วงหล่นไปตาม
พื้นดิน มิฉะนั้นจะทำให้วัชพืชมีการระบาดและแพร่กระจายมากยิ่งขึ้น ควรเก็บวัชพืชออกมารวมกัน
แล้วทำการเผาหรอื ฝงั หากกองทิ้งไวเ้ ฉย ๆ เมล็ดทแี่ ห้งอาจถูกลมพดั พาไปงอกเปน็ ตน้ ใหม่ได้ต่อไป

๒. วิธีเขตกรรม โดยการปลกู พชื แซม เลือกพืชท่ีมีระบบรากตืน้ และสามารถใชล้ ำต้น
เปน็ ปยุ๋ ไดอ้ ีกด้วย เชน่ พชื ตระกูลถัว่ ตา่ ง ๆ หรอื พืชผกั ชนิดตา่ ง ๆ นอกจากจะชว่ ยลดปรมิ าณวชั พืชใน
แปลงปลูกกล้วย ยงั ทำให้เกษตรกรมีรายได้เพ่ิมขน้ึ อกี ดว้ ย

๓. ใชว้ ิธีคลมุ ดิน หลังจากมีการตดั แต่งกิง่ ใบกล้วยแลว้ เกษตรกรกน็ ิยมใชใ้ บกล้วย
ชว่ ยคลุมหนา้ ดินไว้ นอกจากจะช่วยใหล้ ดปรมิ าณวชั พชื ลงไดแ้ ล้ว ยังชว่ ยปอ้ งกนั การชะล้างของหน้า
ดนิ อกี ด้วย

๑๔.การตดั แต่งหน่อ

หลงั จากปลกู กลว้ ยไปแล้วประมาณ ๕-๖ เดอื น กลว้ ยจะเจรญิ เติบโตมากข้ึน ในชว่ งนี้จะมี
หน่อกล้วยเจริญขึ้นมาพร้อมกับต้นแม่ จำนวน ๔-๕ หน่อ หรือมากกว่านั้น หน่อขนาดใหญ่เป็นหน่อ
ตาม อยู่ตรงข้ามต้นแม่ จะแย่งอาหารจากต้นแม่ ทำให้เครือกล้วยที่ออกมาจากต้นแม่มีขนาดเล็ก
เกษตรกรทีม่ ีการดูแลสม่ำเสมอ ควรขุดแยกออกต้งั แต่ยังมีขนาดเล็กอยู่ หากหน่อดงั กลา่ วมีขนาดใหญ่
มากแล้ว จะไมส่ ามารถขุดออกได้ ทำลายโดยใชน้ ้ำมนั กา๊ ดหยอดลงที่ยอดประมาณ ๑/๒ ชอ้ นชา ส่วน
หน่ออื่น ๆ เก็บไว้ได้ ๑-๒ หน่อ หากมีมากกว่านี้ควรขุดออกบ้าง แต่ไม่ควรขุดหน่อในช่วงกล้วยออก
เครอื เพราะอาจทำใหก้ ล้วย ผลลีบเลก็ เครอื เล็กหรอื สั้นลงได้ เกษตรกรควรใช้มีดปาดหน่อ ที่เกิดช่วง
ตกเครือใหส้ นั้ ลงได้ จะชว่ ยลดการแยง่ อาหารจากตน้ แมไ่ ดอ้ กี ทง้ั ยังสามารถชะลอการเจรญิ เตบิ โตของ
หน่อ และสามารถขุดหนอ่ มาใชป้ ลกู ตอ่ ไป หลังจากที่ทำการตัดเครือกล้วยแลว้

การตดั แตง่ ใบและหนอ่

เมื่อปลูกกล้วยไปประมาณ ๖-๘ เดือน กล้วยจะมลี ำต้นขนาดใหญ่พร้อมที่จะออกปลี โดย
กล้วยจะแตกใบยอดสุดท้าย ซึ่งมีขนาดสั้นและเล็กมาก ชูก้านใบขึ้นชี้ท้องฟ้า ซึ่งเรียกว่า "ใบธง"

102

หลังจากนนั้ กล้วยจะแทงปลีกล้วยสีแดงออกให้เห็นชดั และกาบปลจี ะบานต่อไปเร่ือย ๆ จนกระทั่งผล
กล้วยที่อยู่บนหวีเริ่มสั้นและเล็กลง อีกทั้งขนาดแต่ละผลไม่สมำ่ เสมอกัน ซึ่งเรียกวา่ "หวีตีนเต่า" ส่วน
หวีที่ถัดจากหวีตีนเตา่ ลงมาก็จะมีขนาดเล็กมากเท่ากับก้านดอกในกาบปลีทีก่ ำลังบานอยู่ ถ้าปล่อยให้
หัวปลีบานตอ่ ไปเรอ่ื ย ๆ ก็จะเหน็ เพยี งกา้ นดอกกล้วยเล็ก ๆ เรียงกัน คลา้ ยหวีกล้วยขนาดจิว๋ การบาน
ของหวั ปลจี ะทำให้การพฒั นาขนาดของผลกล้วยช้าลง สง่ ผลให้ผลกล้วยมขี นาดเลก็ ๆ ไมโ่ ตเทา่ ท่คี วร

กลว้ ยออกปลี

หลังจากกลว้ ยออกปลมี าแล้วระยะหน่ึง กจ็ ะเห็นผลกล้วยเลก็ จำนวนมาก เป็นหวี ๆ อย่าง
ชัดเจน โดยทุกหวีจะมีผลกลว้ ยขนาดเทา่ ๆ กนั ยกเวน้ หวตี นี เตา่ และหวตี อ่ ไปก็จะเป็นผลกล้วยขนาด
เล็กมาก ๆ ให้ทำการตัดปลีออกหลังจากปลีบานต่อไปจากหวีตีนเต่าอีก ๒ ชั้น เพื่อไว้สำหรับมือจับ
ปลายเครือ ขณะทำการตัดเครือกลว้ ยในช่วงเกบ็ เกี่ยว อีกท้งั สะดวกในการหยบิ ยกและแบกหาม

การตัดปลี

การห่อผล หลงั จากที่ไดท้ ำการตดั ปลกี ลว้ ยออกไปแล้ว ผลกลว้ ยกจ็ ะเรมิ่ พัฒนาและขยาย
ขนาดใหญ่ขึ้น ในการผลิตกลว้ ยเปน็ การค้าที่ต้องการให้ผิวกลว้ ยสวยงามปราศจากโรคแมลงทำลาย สี
ผิวนวลข้นึ และนำ้ หนักผลเพมิ่ มากข้ึน ควรมกี ารห่อผล

การค้ำกลว้ ย

ต้นกล้วยหลังจากตกเครือแล้ว จะมีการหักกลางต้น (หักคอ) ได้ง่าย เมื่อกล้วยใกล้จะแก่
ท้ังนเ้ี พราะน้ำหนักผลมมี ากข้นึ โดยเฉพาะอย่างย่งิ ในกล้วยหอมทอง ซง่ึ จะมกี ารหักล้มไดง้ ่ายมาก เพื่อ
ป้องกันการเสียหายจากหักล้ม เกษตรกรควรใช้ไม้ค้ำกล้วยหลังตกเครอื แล้ว ด้วยไม้รวกที่ผ่านการแช่
นำ้ มาแล้วประมาณ ๑ เดอื น โดยดำเนินการดงั น้ี

๑. นำไม้รวกมาเสี้ยมปลายด้านที่จะใช้ปักลงดินทั้ง ๒ อัน แล้วผูกเชือกปลายไม้ทั้ง
สองอันนี้โดยให้เหลือส่วนปลายไม้ด้านบนอันละ ๓๐ เซนติเมตร เพื่อทำหน้าที่รับน้ำหนักต้นกล้วย
จากนั้นให้ถ่างไม้ทั้งสองไขว้กันเป็นลักษณะคีม แล้วนำไปค้ำต้นกล้วยบริเวณที่ต่ำลงมาจากตำแหน่ง
เครือกล้วยประมาณ ๓๐-๕๐ เซนติเมตร

นอกจากใชไ้ มร้ วกแล้ว เกษตรกรอาจใช้ไม้ที่มอี ยู่ในทอ้ งถิ่นทเ่ี ป็นไมง้ ามอยู่แล้วแทนก็ได้

๑๕.เทคนคิ ปลกู กลว้ ยน้ำว้าให้ไดผ้ ลดี

เคล็ดลับจาก (อาจารย์กัลยาณี สุวิทวัส นักวิจัยชำนาญการพิเศษ สถานีวิจัยปากช่อง
สถาบันอินทรีจันทรสถิตย์เพื่อการค้นคว้าและพัฒนาพืชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อำเภอ
ปากช่อง จงั หวดั นครราชสมี า)

103

สำหรับต้นกล้วยนำ้ วา้ ปากช่อง ๕๐ ซึ่งมาจากการเพาะเลี้ยงเน้ือเยือ่ ซึ่งเกษตรกรที่นำตน้
พันธุ์ของสถานีไปปลูกนัน้ อาจารย์กัลยาณีบอกวา่ มีเทคนคิ ทตี่ อ้ งใส่ใจ ดังนี้

๑. คัดเลือกต้นพันธุ์ที่มีขนาดความสูง ๑๕ เซนติเมตรขึ้นไป หรือมีเส้นรอบวงต้น
มากกวา่ ๓.๕ เซนตเิ มตร หากต้นเลก็ กว่านี้จะพบปัญหาเร่ืองการดแู ล และอัตราการตายสงู

๒. เตรียมแปลงปลูก ระยะ ๓×๓ หรือ ๔×๔ เมตร ขนาดหลุมปลูก ๕๐x๕๐x๕๐
เซนตเิ มตรเพื่อใหร้ ะบบรากเดนิ ดี ขึ้นโคนช้า ระยะปลกู ขนึ้ อยู่กบั การดูแล ถ้าดแู ลดี กอกลว้ ยใหญ่ ควร
ปลกู ระยะ๔×๔ เมตร ๑ กอ ควรใว้เพียง ๔ ตน้ เทา่ น้ัน

๓. คลุกเคล้าปุ๋ยคอกผสมดินประมาณหลุมละ ๒ กิโลกรัม รองก้นหลุมขึ้นมา
ประมาณ ๓๐เซนติเมตร แล้วจึงปลูกต้นกล้วยและกลบบริเวณโคนต้นให้แน่น ทำแอ่งดินรอบต้นเพื่อ
เก็บน้ำรักษาความชื้นของดิน และควรรองก้นหลุมด้วยสารป้องกันหนอนกอกล้วยประมาณ ๑ ช้อน
โต๊ะ ต่อหลุม

๔. ปลูกเสร็จใหน้ ้ำตามทนั ทใี ห้ช่มุ ชนื้ พอเพียง ไม่เช่นนัน้ ต้นจะเหย่ี วเฉา ใบแหง้ และ
ยบุ ตวั บางต้นตาย บางตน้ แตกต้นใหม่ขึน้ แทนทำใหอ้ ายตุ ้นไม่สม่ำเสมอกนั

๕. ในระยะเดือนแรกต้องให้น้ำอย่างสมำ่ เสมอ และดนิ ตอ้ งชุม่ ชนื้ เพยี งพอ เป็นเดือนท่ีต้อง
เอาใจใส่อย่างมาก หากเป็นการให้นำ้ แบบฝอยหรือมินิสปริงเกลอร์ จะทำให้ต้นตงั้ ตัวได้เร็ว สามารถ
สร้างใบและลำต้นใหม่ได้ดี โอกาสรอดสงู กวา่ การลากสายยางรดนำ้ และเริ่มใหป้ ุ๋ยสูตร ๑๕-๑๕-๑๕
หรอื ๑๖-๑๖-๑๖ ประมาณ ๑๐๐-๑๕๐ กรมั ต่อตน้ หลงั ปลูกได้ ๑ เดอื น และเดือนท่ี ๒ ส่วนเดือนท่ี
๓ ใชป้ ุ๋ยคอกหรือปุย๋ หมกั แทน

๖. เดือนท่ี ๒ และ ๓ ต้นกล้วยจะมีตน้ และใบใหมท่ ง้ั หมด ปัญหาคือหญ้าข้นึ คลุมต้น
ตอ้ งถากหญ้าบรเิ วณโคนตน้ และฉดี ยาฆ่าหญ้าพาราควอต ระหว่างแถว ต้องระวงั อย่าให้ละอองยาโดน
ต้นกลว้ ย จะทำให้ต้นชะงกั และตายได้

๗. เดือนที่ ๔ การเจริญเติบโตเรว็ มาก ทั้งความสูงและรอบวงต้นใกลเ้ คียงปลูกจาก
หน่อพนั ธุ์ แต่ท้ังน้ีข้ึนอยู่กบั ขนาดต้นปลกู เริม่ แรก ถ้าสงู ๑๕ เซนติเมตร ขึ้นไป จะโตทันกนั ถือว่าเดือน
นเ้ี ป็นเดือนทต่ี น้ รอดตายทั้งหมด การดูแลทำเชน่ เดียวกับการปลกู ด้วยหน่อ โดยใหป้ ุ๋ย ๑๕-๑๕-๑๕
หรอื ๑๖-๑๖-๑๖ ประมาณ ๑๐๐-๑๕๐ กรมั ตอ่ ต้นในเดือนที่ ๔ และ ๕ ส่วนเดือนที่ ๖ ใช้ป๋ยุ คอกหรือ
ปุย๋ หมกั แทนและงดใสป่ ยุ๋ จนกว่าจะแทงปลี ถึงจะใส่ป๋ยุ เคมีอกี คร้ัง จนกระท่ังหลงั เกบ็ เกย่ี วถึงจะเริม่ ให้
ปยุ๋ ในรอบใหม่

๘. เดือนที่ ๖ หรอื ๗ กลว้ ยเริม่ แทงหน่อ และสะสมอาหารเพื่อการตกเครือ

104

๙. เดอื นที่ ๙ กลว้ ยเรมิ่ แทงปลี การแทงปลีหรอื ตกเครือจะเร็วหรือชา้ กว่าหน่อพันธ์ุ
ข้นึ อยู่กับขนาดลำตน้ ปลูกเรม่ิ แรกและการดูแลรักษา หากต้นพันธทุ์ ่ีมขี นาดความสูง ๑๕ เซนตเิ มตรขึน้
ไปหรอื มเี ส้นรอบวงตน้ มากกว่า ๔ เซนตเิ มตร การตกเครือใกล้เคยี งกับหน่อพันธ์ุ ขนาด ๑ เมตร หาก
ตน้ มขี นาดใหญ่กว่าน้ี การตกเครือจะเรว็ กวา่ หนอ่ พนั ธ์ุ และหากเลก็ กว่านีก้ ารตกเครือจะชา้ กวา่ หนอ่
พนั ธอุ์ ายเุ ครือกลว้ ยจากการแทงปลีจนกระทัง่ เก็บเก่ยี วมีอายุประมาณ ๔ เดือน เท่ากบั หนอ่ พนั ธกุ์ ล้วย
นำ้ วา้ ทัว่ ไป

๒.ด้านพื้นที่น้ำ เปน็ ลกั ษณะบอ่ สระที่ขุดลกึ ประมาณ ๕ เมตร มี จำนวน ๒ ไร่ ซ่ึงได้
ใชป้ ระโยชนพ์ ้ืนที่ แบ่งเป็น ๒ สว่ นคือ

สว่ นท่ี ๑ แหลง่ น้ำได้ทำเปน็ แหลง่ อาศัยของปลานานาชนิดมี .จำนวน
ประมาณ ๒ แสน ตวั กำลงั เจริญเติบโตมีอายุถึง ๑ ปแี ลว้ เมื่อปลาเจริญเตบิ โต ก็สามารถ
ขายทำรายไดใ้ ห้แก่ชมุ ชนได้ แต่ในขณะเดยี วกันทางชุมชนมองเหน็ ประโยชน์ในการทอ่ งเท่ยี วจึงทำเปน็
สถานท่ี ให้นกั ท่องเทย่ี วเลีย้ งอาหารปลา เปน็ รายได้ต่อศนู ยต์ อ่ ไป
สว่ นท่ี ๒ แหลง่ นำ้ เป็นสถานทใ่ี ห้นักท่องเท่ียวได้พายเรอื รอบเกาะเลน่ ทำสมุนไพรปลา
กบั คนที่มาเท่ยี ว ทำรายได้ให้ชมุ ชน
ดังรปู ภาพด้านล่าง

105

๓.ดา้ นสถานท่ีพกั แหลง่ ท่องเทย่ี วรา้ นค้า ๒ ไร่

106

๔.ด้านพ้นื ทแ่ี หลง่ เรยี นรู้และผลติ ภณั ฑ์ของศูนย์อนรุ กั ษ์พันธุ์กลว้ ยสุพรรณบุรี ๒ ไร่

107

108

109

110

๒.๗ งานวิจัยทีเ่ กย่ี วขอ้ ง

สรลั รัชน์ กระบาย และชวลยี ์ ณ ถลาง41 ทำวิจยั เรอ่ื ง แนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยว
เชิงเกษตร จงั หวัดลพบุรี ผลการวจิ ัยพบว่า ๑) ข้อมลู ทว่ั ไปของผ้ตู อบแบบสอบถามเปน็ เพศชาย รอ้ ย
ละ ๖๘.๓ อายุระหว่าง ๒๐-๒๙ ปี ร้อยละ ๕๕.๕ สถานภาพโสด ร้อยละ ๖๘.๓ การศึกษาสูงสุดต่ำ
กวา่ ปรญิ ญาตรี ร้อยละ ๖๐.๓ ประกอบอาชีพนักเรยี น/ นกั ศึกษา รอ้ ยละ๓๙.๓ และมรี ายได้ต่อเดือน
ต่ำกว่า ๑๕,๐๐๐ บาท ร้อยละ ๗๑.๘ ๒) พฤติกรรมการเดินทางท่องเที่ยว เพื่อเพิ่มพูนความรู้ทาง
วิชาชีพมากที่สุด ส่วนใหญ่เดินทางมากับหน่วยงานต่าง ๆ เดินทางมาท่องเที่ยวครั้งแรก เดินทาง
ในช่วงวันจันทร์-ศุกร์ ผู้ร่วมเดินทาง ๔ คนขึ้นไป และใช้จ่ายน้อยกว่า ๑,๐๐๐ บาท ๓) ปัจจัยส่วน
ประสมการตลาด โดยเรียงลำดับจากมากที่สุด ได้แก่ ด้านกระบวนการให้บริการ ด้านการส่งเสริม
การตลาด ดา้ นบคุ ลากร ด้านลกั ษณะทางกายภาพ ด้านราคา ด้านผลติ ภณั ฑ์ และด้านชอ่ งทางการจัด
จำหน่าย ตามลำดับ ๔) แรงจูงใจในการเดินทางมา ท่องเที่ยว ด้านปัจจัยผลัก ส่วนใหญ่เพื่อศึกษาหา
ความร้ใู นแหลง่ ทอ่ งเท่ยี วเชิงเกษตร และด้านปจั จยั ดงึ สว่ นใหญ่ เพ่อื ทำกจิ กรรมในแหล่งท่องเที่ยวเชิง
เกษตร และ ๕) แนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตร จังหวัดลพบุรี ควรมีการจัดการเส้นทาง
การเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว เช่น การเพิ่มป้ายบอกเส้นทาง ควรเพิ่มระบบการขนส่งสาธารณะ เพื่อให้
ครอบคลุมกับแหล่งท่องเที่ยว การจัดกิจกรรมทางการเกษตรที่มีความหลากหลายโดดเด่นเป็น
เอกลกั ษณ์ ควรส่งเสริมให้แหล่งท่องเทย่ี วใช้ส่ือออนไลน์ เพอ่ื การติดต่อสื่อสารไดง้ ่าย สะดวก รวดเร็ว
และควรมีการจัดระบบ สาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานภายในแหล่งท่องเที่ยวให้พร้อมต่อการรองรับ
นกั ทอ่ งเทย่ี ว

เพ็ญนภา เพ็งประไพ42 ทำวจิ ยั เรอื่ ง ปจั จัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อความ
ต้องการของนักท่องเที่ยวชาวไทยและต่างชาติ ในกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสังคมและวัฒนธรรมของ

41 สรลั รชั น์ กระบาย และชวลีย์ ณ ถลาง. แนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชงิ เกษตร จงั หวัดลพบรุ ี.
วารสารวิชาการ สถาบันการพลศกึ ษา ปีที่ ๑๑ ฉบับท่ี ๓ กนั ยายน – ธันวาคม ๒๕๖๒ Journal Online ๒๖๗๒-
๙๑๓X. หนา้ ๑๗๖.

42เพญ็ นภา เพ็งประไพ. ปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาดทม่ี ีอทิ ธิพลตอ่ ความตอ้ งการของนกั ท่องเทยี่ ว
ชาวไทยและตา่ งชาติ ในกิจกรรมการทอ่ งเทีย่ วเชิงสงั คมและวัฒนธรรมของเกาะพะงัน จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี. ปรญิ ญา

111

เกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ผลวิจัยพบว่า นักท่องเที่ยวให้ความสำคัญต่อปัจจัยส่วนประสมทาง
การตลาดกจิ กรรมการทอ่ งเท่ยี วเชิงสงั คมและวัฒนธรรม ในระดบั มากทีส่ ุดในด้านผลติ ภัณฑ์ รองลงมา
ด้านบุคคล ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ด้านการสร้างและนำเสนอลักษณะทางกายภาพ ด้าน
กระบวนการ ด้านราคา และด้านส่งเสริมการตลาด ตามลำดับ โดยนักท่องเที่ยว ชาวต่างชาติให้
ความสำคัญกับปัจจัยทางการตลาดท่องเที่ยวสูงกว่านักท่องเที่ยวชาวไทย และกลุ่มนักท่องเท่ียวชาว
ไทยมีความต้องการเกี่ยวกับกิจกรรมด้านสังคมและวัฒนธรรมของเกาะพะงัน มากกว่านักท่องเที่ยว
ชาวตา่ งชาติ โดยนักท่องเท่ียวชาวไทยมีความต้องการสูงสดุ ในกิจกรรมดาํ น้ำดูปะการงั ผลการทดสอบ
สมมติฐานพบว่า ปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดการท่องเที่ยว ได้แก่ ด้านผลติภัณฑ์ ด้านบุคคล และ
ด้านส่งเสริมการตลาด มีอิทธิพลเชิงบวก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติต่อความต้องการในกิจกรรม
กรรมการท่องเที่ยวเชิงสังคมของเกาะพะงัน และ ปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดการท่องเที่ยว ได้แก่
ด้านราคา และด้านกระบวนการ มีอิทธิพลเชิงลบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติต่อความต้องการใน
กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสังคมของเกาะพะงัน โดยปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดการท่องเที่ยวด้าน
บุคคลมีอิทธิพลสงู สุด รองลงมาคอื ดา้ นผลิตภณั ฑ์ และ ด้านสง่ เสรมิ การตลาด ตามลำดบั และผลการ
ทดสอบความแตกตา่ งพบว่านกั ท่องเที่ยวที่มีลักษณะสว่ นบุคคล ด้านอายุ สถานภาพ และรายได้เฉลี่ย
ต่อเดือน มีความต้องการในกิจกรรมการทอ่ งเที่ยวเชิงสงั คมและวัฒนธรรมของเกาะพะงันแตกต่างกัน
อย่างมนี ยั สำคัญทางสถติ ิ

ร้อยโท อภิรักษ์ ส่งสุข,และมูฮัมหมัดอิลยาส หญ้าปรัง.43 ทำวิจัยเรื่อง แนวทางการ
พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรตำบลตระกาจ อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ ผลการศึกษา
พบว่า ได้เปิดโอกาสให้นักท่องเที่ยวมีส่วนร่วมในกิจกรมทางการเกษตร การเข้าชมบุฟเฟต์ในสวน
ผลไม้ แต่ไม่ มีบริการรถชมแปลงเกษตรและพักแรม แหล่งเรียนรู้ศูนย์สาธิตด้านการเกษตร ได้แก่
ศูนย์สาธิตด้าน การเกษตร ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพด้านการเกษตร ส่วนการบริการในด้าน
ร้านอาหารและ เครื่องดื่มยังไม่มี มีเพียงจุดบริการขนาดเล็ก ด้านการประชาสัมพันธ์มีน้อย เน้นการ
แนะนำบอกต่อ มี การประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อโทรทัศน์และวิทยุท้องถิ่น สื่อออนไลน์ ด้าน
สาธารณูปโภคและสิ่งอำนวย ความสะดวกแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร ตำบลตระกาจ เป็นแหล่ง
ทอ่ งเทย่ี วทเี่ ปดิ ใหม่ ยงั ไม่มีระบบการจัดการทีช่ ัดเจน

ศิลปศาสตรมหาบณั ฑติ , สาขาวิชาการจดั การอุตสาหกรรมการบรกิ าร และทอ่ งเที่ยว: (บัณฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลัย
กรงุ เทพ), ๒๕๕๙, (บทคดั ยอ่ ).

43 ร้อยโท อภิรกั ษ์ ส่งสขุ ,และมูฮมั หมัดอลิ ยาส หญา้ ปรงั . แนวทางการพฒั นาแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร
ตำบลตระกาจ อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรสี ะเกษ. หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าสหวิทยาการเพ่อื การ
พฒั นาทองถนิ่ มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง.

112

การมีส่วนรว่ มของชุมชนในการพฒั นาแหลง่ ทอ่ งเที่ยวเชิงเกษตร ตำบลตระกาจ โดยชมุ ชน
มีส่วนร่วมในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวใน ๕ ด้าน ดังนี้ ๑) ด้านการวางแผน/ตัดสินใจ ๒) ด้านการมี
ส่วนร่วมในการวิเคราะห์ปัญหา ๓) ด้านการมีส่วนร่วมใน การพัฒนาและร่วมกิจกรรม ๔) ด้านการ
แบ่งปันประโยชน์และกระจายรายได้ ๕) ด้านการมีส่วนร่วม ในการติดตามผลการดำเนินงาน แต่
ชาวบ้านยังมีส่วนร่วมน้อย ไม่ตระหนักถึงความสำคัญของการมีส่วนร่วมเท่าที่ควร ยกเว้น
ผู้ประกอบการที่ได้รับผลประโยชน์ ดังนั้นการส่งเสริมให้ประชาชนในพื้นที่เข้ามีส่วนร่วมในกิจกรรม
ตา่ งๆ จะเป็นการสรา้ งความร้สู ึกร่วมในการเป็นเจ้าของใหเ้ กดิ ขึ้นกับบคุ คล และชุมชน เพอ่ื นำไปสู่การ
รักษาทรัพยากรแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรที่มีเอกลักษณ์ และสิ่งแวดล้อมของตำบลตระกาจ ที่จะ
ก่อให้เกิดรายได้ให้แกช่ ุมชนทงั้ ปัจจุบันและอนาคต

แนวทางการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรตำบลตระกาจ ได้รับการสนับสนุนจาก
หน่วยงานรัฐเพื่อพัฒนาและส่งเสริมเป็นศูนย์เรียนรู้ประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) การ
พัฒนาศูนย์จำหน่ายผลิตภัณฑ์ด้านการเกษตร จำนวน ๒ แห่ง การพัฒนาการประชาสัมพันธ์การ
โฆษณาและสื่อประชาสัมพันธ์ การสื่อสารผ่านวิทยุ โทรทัศน์ การพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเที่ยว
ในด้านสาธารณูปโภคและสิ่งอำนวยความสะดวก ยังคงต้องพัฒนาอีกในหลายๆประเด็น โดยเฉพาะ
อย่างย่งิ การคมนาคม ทพ่ี ัก บริการหอ้ งสุขา บรกิ ารโทรศัพท์สาธารณะ สัญญาณอนิ เตอร์เน็ต ตู้กดเงิน
สด จุดทิ้งขยะ จุดบริการจำหน่ายอาหาร แนวทางสำคัญคือ การบริหารจัดการของเกษตรกรให้มี
ศักยภาพ มีความพร้อมในการบริการ การนำเที่ยว การสร้างเอกลักษณ์ประจำถิน่ การสร้างเครือข่าย
เพอื่ การทอ่ งเท่ียวเชงิ เกษตรอยา่ งย่ังยนื ควบคู่ไปกบั การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมใน
ชมุ ชนทอ้ งถน่ิ ใหม้ ีความย่ังยืน

จุฬนี วิริยะกิจไพศาล44. ทำการวิจัยเรื่อง กลยุทธ์การตลาดกับการตัดสินใจเลือกเข้า
ศึกษา ในโรงเรียนกวดวิชาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ผลการวิจัยพบว่า ๑) กลยุทธ์
การตลาดของโรงเรียนกวดวิชาในเขตกรุงเทพมหานคร ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อ พจิ ารณา
เปน็ รายดา้ นพบวา่ อยู่ในระดบั มากทกุ ดา้ น โดยเรยี งลำดับค่ามชั ฌมิ เลขคณติ จากมากไปหาน้อย ดังนี้
กลยุทธ์การตลาดด้านการส่งเสริมการตลาด กลยุทธ์การตลาดด้านช่องทางจัดจำหน่าย กลยุทธ์
การตลาดด้านราคา และกลยทุ ธ์ด้านผลิตภัณฑ์ ตามลำดบั ๒) การตดั สนิ ใจเลือกเขา้ ศึกษาในโรงเรียน
กวดวิชาของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมือ่ พิจารณาเป็นราย
ด้านพบว่า อยูใ่ นระดบั มากทกุ ดา้ น โดยเรยี งลำดับค่ามชั ฌิมเลขคณิตจากมากไปหาน้อย ดงั นี้ ดา้ นการ

44 จฬุ นี วริ ิยะกจิ ไพศาล. กลยุทธ์การตลาดกบั การตัดสนิ ใจเลอื กเข้าศึกษาในโรงเรยี นกวดวิชาของ
นักเรียน ชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย. หลักสตู รปริญญาศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาการบริหารการศกึ ษา ภาค
วชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา: (บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร), ๒๕๕๙, (บทคัดยอ่ )

113

รับรู้ความต้องการ/รับรู้ปัญหา ด้านพฤติกรรมภายหลังการเลือก ด้านการประเมินผลทางเลือก ด้าน
การค้นหาข้อมูล และด้านการตัดสินใจเลือก ตามลำดับ ๓) กลยุทธ์การตลาดมีความสัมพันธ์กับการ
ตดั สนิ ใจเลอื กเขา้ ศึกษาในโรงเรียนกวดวชิ าของนักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ในภาพรวม อย่างมี
นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ ด้านที่มีความสัมพันธ์กันมาก ที่สุดคือ กลยุทธ์การตลาดด้าน
ผลิตภัณฑ์ กับ การตัดสินใจด้านพฤติกรรมภายหลังการเลอื ก และกลยุทธ์การตลาด ด้านการส่งเสริม
การตลาด กับ การตดั สินใจดา้ นการประเมนิ ทางเลือก

มณี ชินรงค์ และคณะ45 ทำการวิจัยเรื่อง การพัฒนากลยุทธก์ ารตลาดด้านการท่องเท่ยี ว
เชิงประวัติศาสตร์ อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบรุ ี ผลการวจิ ยั พบวา่ ผลการวิจัยพบว่า ๑) นกั ทอ่ งเท่ียว
มีระดบั ความคดิ เห็นตอ่ การพัฒนากลยุทธ์การตลาดด้านการท่องเท่ียวเชิงประวตั ิศาสตร์ในภาพรวมอยู่
ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย ๔.๒๔ เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านช่องทางให้บริการ ณ แหล่ง
ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์มีความคิดเห็นในลำดับสูงสุด เฉลี่ย ๔.๓๘ และความคิดเห็นที่มีต่อ
มาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เฉลี่ย ๔.๒๕ เม่ือ
พิจารณาเป็นรายด้านพบว่า คุณภาพการยอมรับแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์มีความคิดเห็นใน
ลำดับสูงสุด เฉลี่ย ๔.๒๙ ๒) ความสัมพันธ์การพัฒนากลยุทธ์การตลาดด้านการท่องเที่ยวเชิง
ประวัติศาสตร์ อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี มีระดับความสัมพนั ธ์ในระดับสูง และเป็นไปในทิศทาง
เดยี วกนั กบั การพฒั นามาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเทีย่ วทางประวัตศิ าสตร์ โดยม่ีค่า r เทา่ กบั ๐.๙๕๐
มคี า่ Sig เท่ากับ ๐.๐๐ ซึง่ มีค่า Sig < ๐.๐๕ สอดคล้องกบั สมมติฐานที่ตั้งไว้ สามารถอธิบายได้ว่า การ
พฒั นากลยุทธ์การตลาดดา้ นการท่องเท่ียวเชิงประวตั ศิ าสตร์สง่ ผลให้แหล่งทอ่ งเที่ยวทางประวัตศิ าสตร์
มมี าตรฐานคุณภาพ

๒.๘ กรอบในการวจิ ัย

จากการทบทวนแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สามารถนำมาสรุปเป็น
กรอบแนวคิดเพื่อดำเนนิ การวจิ ัย ไดด้ ังนี้

ตัวแปรต้น ตวั แปรตาม

45 มณี ชินรงค์ และคณะ. การพฒั นากลยทุ ธก์ ารตลาดด้านการทอ่ งเทยี่ วเชิงประวัตศิ าสตร์ อำเภอเมอื ง
จังหวดั กาญจนบรุ ี หลักสตู รบรหิ ารธรุ กจิ สาขาการตลาด คณะวทิ ยาการจดั การ: (มหาวิทยาลัยราชภฎั กาญจนบรุ ี
,๒๕๖๓), (บทคัดยอ่ )

114

การพฒั นามาตรฐานคณุ ภาพศนู ย์ ศนู ยก์ ารเรียนรู้และอนุรกั ษ์พันธุ์
การเรยี นรแู้ บบมสี ่วนร่วมในการ กลว้ ย จังหวัดสพุ รรณบุรี เป็นแหลง่
ท่องเที่ยวเชิงเกษตรท่ีมีมาตรฐาน
อนุรกั ษ์พันธุ์กลว้ ย จังหวดั
สุพรรณบรุ ี คณุ ภาพ

๑) ตัวแปรต้น ได้แก่ การพัฒนาศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย
จังหวัดสุพรรณบุรี

๒) ตัวแปรตาม ได้แก่ เป็นศูนย์การเรียนรู้และอนุรักษ์พันธุ์กล้วยที่มีคุณภาพมาตรฐาน
จงั หวดั สุพรรณบรุ ี

115

บทท่ี ๓

วิธีดำเนินการวจิ ยั

ในการดำเนินการวจิ ัยเร่อื ง การพัฒนาศนู ย์การเรยี นรู้แบบมีส่วนรว่ มในการอนุรกั ษ์พนั ธุ์
กลว้ ย จงั หวดั สพุ รรณบุรี ผู้วิจยั ดำเนนิ การวจิ ัยตามขน้ั ตอนต่อไปน้ี

๓.๑ รูปแบบการวจิ ยั
๓.๒ ประชากรและกลุม่ ตัวอย่างและผใู้ หข้ ้อมูลสำคัญ
๓.๓ เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการวจิ ัย
๓.๔ การเกบ็ รวบรวมข้อมลู
๓.๕ การวิเคราะหข์ อ้ มลู
เพอ่ื ใหก้ ารวิจัยมีประสทิ ธภิ าพ และเป็นไปตามวตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย ผ้ศู ึกษาจึงได้
กำหนดวธิ ีดำเนินการวจิ ัยไว้ตามลำดบั ดงั น้ี

๓.๑ รูปแบบการวิจัย

๓.๑.๑ การวิจัยเรื่อง “การพัฒนาศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย
จังหวัดสุพรรณบุรี ” ใช้วิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) ร่วมกับการวิจัยแบบผสานวิธี
(Mixed Methods Research) ระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) กับการวิจัย
เชิงคุณภาพ ทำการเกบ็ ขอ้ มูลภาคสนาม (Field Study) เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงจากผู้ให้ข้อมูล
สำคัญ (Key Informants) ที่เกี่ยวข้องกับศูนย์ฯ โดยใช้แบบสัมภาษณ์เชิงลึก (In depth Interview)
เป็นแกน และเลือกสุ่มจากกลุ่มประชากรท่ีมาเยี่ยมชมศูนย์อนุรักษ์พันธุ์กล้วย ใช้แบบสอบถาม
(Questionnaire) เป็นขอ้ มูลสนับสนุน ผวู้ จิ ยั ไดก้ ำหนดขน้ั ตอนการดำเนนิ การวิจัยตามลำดับ ดงั น้ี

๑) ศกึ ษาหลกั การ แนวคดิ ทฤษฎี ระเบียบ และผลงานวิจัยทีเ่ กย่ี วขอ้ ง
๒) กำหนดกรอบแนวคิด หัวขอ้ ปญั หา และวัตถุประสงค์ในการวจิ ยั
๓) กำหนดกลุ่มประชากร และกล่มุ ตวั อยา่ งที่ใชใ้ นการวจิ ัย

116

๔) สร้างเครื่องมือสำหรับเก็บข้อมูลการวิจัยร่วมกับผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารศูนย์ฯ
ดา้ นการตลาดและการอนรุ ักษ์พนั ธก์ุ ล้วย

๕) นำเคร่ืองมือเสนอผเู้ ชี่ยวชาญตรวจสอบเพือ่ ปรบั ปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์
๖) ทดสอบเครอื่ งมอื กบั กลุ่มตวั อยา่ งท่ีไม่ใช่กล่มุ ตัวอย่างที่ใชใ้ นการวจิ ยั (Try out)
๗) ดำเนนิ การสัมภาษณ์ และส่งแบบสอบถามให้กล่มุ ตวั อยา่ ง จัดเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
๘) วิเคราะหข์ อ้ มูลและแปลผลข้อมูล
๙) สรุปผลการศึกษา จดั ทำเป็นแนวทางการพัฒนาศูนย์การเรยี นร้แู บบมสี ว่ นรว่ มในการ
อนุรกั ษ์พันธกุ์ ลว้ ย จังหวดั สพุ รรณบรุ ี

๓.๑.๒ งานวจิ ัยฉบับนี้ใช้รูปแบบการวิจยั วจิ ยั เชงิ ปฏิบตั ิการเป็นหลกั ตามกรอบแนวคดิ ของ
ของ เลวิน ซึ่ง Kemmis and McTaggart ได้นำแนวคิดของเลวินมาพัฒนาเป็นการวิจัยปฏิบัติการ
แบบบันไดเวยี น46แบง่ การวิจยั ออกเป็น ๓ ระยะ คอื

๑) ระยะเตรียมการ (Pre-Research Phase) มีกจิ กรรมประกอบดว้ ย
(๑) รวบรวมข้อมูลพ้นื ฐานของศนู ย์การเรยี นรู้และการอนุรักษ์พันธ์ุกลว้ ย ด้วยกระบวนการ

มีสว่ นรว่ มของชุมชนในจังหวดั สุพรรณบุรี ข้อมูลจากหนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวข้อง
(๒) ประสานงานกับชุมชนในพ้ืนท่ี ทั้งภาครัฐภาคเอกชน และภาคีเครือข่าย รวมท้ังคณะ

สงฆ์พระสังฆาธิการในจังหวัดสุพรรณบรุ ี เข้าร่วมในโครงการวิจัยและชแ้ี จงวตั ถุประสงค์การจัดต้งั ศูนย์การ
เรียนร้แู ละการอนุรักษ์พันธุ์กล้วยและวธิ กี ารดำเนินงานใหท้ ุกฝา่ ยรับรู้

(๓) สร้างสัมพันธภาพกับชุมชนตา่ งๆ เพ่ือสร้างความคุ้นเคย และสร้างการร่วมมือในการ
ดำเนนิ งานวจิ ัยที่จะมขี น้ึ โดยการเข้าไปพบปะ พูดคยุ และปรึกษาหารืออยา่ งไม่เป็นทางการ

(๔) จัดเตรียมวสั ดุอุปกรณ์ ท่ีจำเป็นต้องใช้ในโครงการวิจยั ให้เพียงพอ

๒) ระยะดำเนินการวจิ ัย (Research Phase) ผู้วิจยั ประยกุ ต์ใช้กระบวนการมีส่วนรว่ มของ
ชมุ ชน47 เป็น ๔ ขน้ั ตอน ดังนี้

ขั้นตอนที่ ๑ ร่วมกันวางแผน (Planning) จดั ประชุมเชิงปฏิบัติการโดยมีกระบวนการ ดังนี้
(๑) กระบวนการหาและใช้ทุนทางสังคมในการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้และการอนุรักษ์พันธ์ุ

กล้วย จงั หวัดสพุ รรณบุรี วเิ คราะหค์ วามเป็นไปได้ท่ีจะจัดต้ังศูนย์การเรียนรู้และการการอนุรักษ์พันธ์ุกล้วย

46ฬฏิ า สมบรู ณ์, วิจัยเชิงปฏบิ ตั ิการ(๔) [ออนไลน์] เข้าถึงไดจ้ าก
https://www.gotoknow.org/posts/๓๔๘๗๕ สบื คน้ เมื่อวนั ท่ี ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๖๓.

47ขนษิ ฐา นันทบตุ ร. บทสังเคราะห์ ขอ้ เสนอเพอื่ การพัฒนาระบบการทำงานของผดู้ ูแล. สถาบันวิจัย
และพัฒนาระบบบรกิ ารการพยาบาล, สภาการพยาบาล, สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ, ๒๕๕๑.

117

โดยศึกษาบริบทของพื้นที่ ข้อมูลประชากร ศึกษาแผนงาน ศึกษาทรัพยากรการบริหารจัดการศูนย์ฯและ
คณุ ภาพดา้ นสิง่ แวดล้อม

(๒) กระบวนการศกึ ษาปัญหาความต้องการของชุมชน ในการพัฒนาใหเ้ ปน็ ศูนย์การเรยี นรู้
และการอนุรักษ์พันธุ์กลว้ ย วเิ คราะหป์ ัญหา สาเหตุ กิจกรรมท่ีใชแ้ ก้ปญั หา กำหนดเปา้ หมาย วางแผน
ดำเนินงานรว่ มกนั ปรับทัศนคติ วธิ คี ดิ และการพฒั นาศักยภาพของบุคคล

(๓) กระบวนการออกแบบกจิ กรรมของศูนย์การเรยี นรู้และการอนรุ ักษ์พันธ์ุกล้วย โดยใช้พน้ื ที่
เป็นตัวต้ัง สรา้ งสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดกิจกรรม และจัดกิจกรรมในการเรียนรู้ การอนุรักษ์ การจัด
จำหนา่ ยผลติ ภัณฑ์การเกษตร

ขั้นตอนที่ ๒ ร่วมกันปฏบิ ัติ (Acting)
นำแผนจากข้ันตอนที่ ๑ ไปสู่การปฏิบตั ิตามแผนงาน/ โครงการ /กิจกรรม ตามกิจกรรมหลัก

๔ กิจกรรม ไดแ้ ก่
(๑) กิจกรรมการพัฒนาศนู ย์การเรียนรู้
(๒) กิจกรรมการอนุรักษ์พนั ธุ์กลว้ ย
(๓) กิจกรรมการตลาดด้านบริการ
(๔) กิจกรรมการสรา้ งเครือข่าย

ข้ันตอนที่ ๓ ร่วมกันสังเกตผล (Observing) และประเมินผลการปฏบิ ัติงานตามแผนงาน มีการ
แต่งต้ังคณะกรรมการการนิเทศ ติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามแผนงาน โครงการ กจิ กรรม และ
สนับสนุนการดำเนินงานด้านวิชาการ ด้านการอนรุ ักษ์พันธ์ุกล้วย และการตลาดด้านบริการ

ข้นั ตอนที่ ๔ ร่วมกนั สะท้อนผล (Reflecting)
จัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถอดบทเรียน สรุปผล ประเมินผลร่วมกันวิเคราะห์ปัญหา
อุปสรรคในการดำเนินงานและวางแผนในการแก้ไขปัญหา ร่วมกันสังเคราะห์ข้อมูล สรุปเป็นแนวทางใน
การพัฒนาโครงการ/กจิ กรรมในรอบปีต่อไป เพ่อื ให้ตรงเป้าหมายการจัดต้ังศูนย์การเรียนรู้และการอนุรักษ์
พนั ธุก์ ล้วย จังหวดั สพุ รรณบุรี

ระยะท่ี ๓ ประชมุ สรุปผลการวิจัยและนำเสนอหนว่ ยงานพร้อมทั้งองค์ความรู้ท่ีได้จากการ

วจิ ัย (Focus Group)

๓.๒ ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง

ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเรื่อง “การพัฒนาศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมใน
การอนรุ กั ษพ์ ันธุ์กล้วย จงั หวัดสพุ รรณบุรี ” ผู้ศกึ ษาดำเนินการ ดังนี้

๓.๒.๑ กลมุ่ ประชากร แบ่งเปน็ ๒ กล่มุ คือ

118

๑) กลมุ่ ประชากรที่เดินทางมาเยยี่ มชมศนู ย์อนุรกั ษ์พันธุ์กล้วย จงั หวัดสพุ รรณบุรี
ระหว่างเดือนมิถนุ ายน ๒๕๖๓ – กรกฎาคม ๒๕๖๓ ประมาณ ๑,๘๐๐ คน

๒) กลุ่มประชากรผ้ใู หข้ ้อมูลสำคัญทม่ี ีความเกีย่ วข้องกับศูนย์อนรุ กั ษ์พนั ธุ์กลว้ ย จังหวัด
สพุ รรณบุรี จำนวน ๑๓ คน

๓.๒.๒ กล่มุ ตัวอย่าง
ขนาดของกลมุ่ ตัวอยา่ ง ที่ใชใ้ นการวจิ ยั ผูว้ จิ ยั ไดท้ ำการสุม่ ผู้เดินทางมาเย่ียมชมศูนย์อนุรักษ์
พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี ระหว่างเดือนมิถุนายน ๒๕๖๓ – กรกฎาคม ๒๕๖๓ โดยใช้วิธีการสุ่ม
ตัวอย่างแบบใช้วิจารรณญาณ ประเภทไม่ทราบจำนวนประชากร48. โดยใช้สูตรคำนวณขนาดกลุ่ม
ตัวอย่างของทาโร ยามาเน่ (Taro Yamane) กรณีไม่ทราบขนาดของประชากรที่แน่นอน ซึ่งใช้ระดับ
ความคลาดเคลอื่ นที่ ๐.๐๕

n = 1 + N
N (e)2

โดย N = จำนวนประชากรทง้ั หมด
e = ความคลาดเคล่อื นที่ยอมรับได้
n = จำนวนกลุม่ ตัวอยา่ ง

ประชากรทงั้ หมด ๑๘๐๐ คน เม่อื แทนคา่ ในสูตรจะไดด้ งั นี้

แทนค่าในสตู ร n = ๑,๘๐๐
๑ + ๑,๘๐๐ (๐.๐๕๒)

ดังน้ันจงึ ไดข้ นาดกลมุ่ ตัวอยา่ งจำนวน ๓๒๗ คน

๓.๒.๓ ผู้ให้ขอ้ มลู สำคัญ (Key Informant)

ผู้วิจัยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจงจากผู้ที่เกี่ยวข้องกับศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการ
อนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี ซึ่งผู้ที่ได้รับการคัดเลือกเป็นบุคคลที่มีคุณสมบัติที่สัมพันธ์กับ
ศูนยฯ์ จำนวน ๒๒ รปู /คน แบง่ เปน็ ๒ กลุ่ม ดงั น้ี คือ

๑) กลุ่มข้าราชการ เช่น เกษตรจังหวัด พัฒนาการจังหวัด อุตสาหกรรมจังหวัด พาณิชย์
จังหวัด นกั วิชาการการเกษตร จำนวน ๑๒ คน

48 กมลวรรณ ตังธนกานนท์. ระเบียบวิธีสถิติทางการศึกษา. (กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่ง
จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั , ๒๕๕๘). หนา้ ๘๓ – ๘๔

119

๒) กลุ่มบุคลากรที่ปฏิบัติงานประจำในศูนย์อนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี จำนวน
๑๐ คน

๓.๓ เครือ่ งมอื ที่ใช้ในการวิจัย

การศึกษาครั้งนีเ้ ป็นการวจิ ยั แบบปฏบิ ัตกิ ารแบบมีส่วนร่วมเชิงผสานวิธีระหว่างการวจิ ยั เชิง
ปริมาณ กับการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยได้สร้างแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์เชิงลึกแบบมี
โครงสร้างขึ้นมาเพื่อเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง เพื่อศึกษาการพัฒนา
ศูนยก์ ารเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พนั ธุ์กล้วย จงั หวดั สุพรรณบรุ ี มีลำดับการสร้างเครื่องมือ
ดังนี้

๑) ขัน้ ตอนการสรา้ งเคร่อื งมอื แบบสอบถามประมาณค่า
(๑) ศึกษาทฤษฎี เอกสาร บทความ ตำรา รวมถึงการรวบรวมวรรณกรรม งานวิจัยที่

เกี่ยวข้องกับการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย ผู้วิจัยนำมารวบรวม
และเรียบเรียงข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างแบบสอบถามโดยยึดหลักความมีประสิทธิภาพ และความ
เที่ยงตรงเชงิ เน้อื หา (content Validity)

(๒) นำเสนอแบบสอบถามให้ผู้ทรงคุณวุฒิ/ผู้เชี่ยวชาญ ตรวจสอบเนื้อหาและความ
เหมาะสมของภาษา (Content Valid) และโครงสร้างแบบสอบถาม (Construct Validity) หลังจาก
น้ันนำมาปรบั ปรงุ ขอ้ คำถามให้มีความเหมาะสมยิง่ ขน้ึ เพื่อใหไ้ ดค้ ำถามท่ีตรงตามวัตถุประสงค์การวิจัย
ทำการประเมินความเทย่ี งตรง (Validity) และความน่าเชอ่ื ถือ (Reliability) ดงั นี้

๒.๑ การหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหวา่ งข้อคำถามกับวัตถุประสงค์ (Index of
item-Objective Congruence: IOC) โดยอาศัยความเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิ/ผู้เชี่ยวชาญ ด้าน
การตลาด หรอื ผทู้ รงคณุ วฒุ ิทีเ่ ปน็ นักวชิ าการ จำนวน ๓ ทา่ น โดยใช้เกณฑ์ประเมินต่อไปน้ี

+ ๑ หมายความว่า มีความแนใ่ จวา่ คำถามตรงกับเนื้อหาหรอื วัตถุประสงค์ในข้อนน้ั
๐ หมายความว่า มีความไม่แน่ใจว่าคำถามตรงกับเนื้อหาหรือวัตถุประสงค์ในข้อ
นั้น
- ๑ หมายความว่า มีความแน่ใจว่าคำถามไม่ตรงกับเนื้อหาหรือวัตถุประสงค์ในข้อ
น้ัน
๒.๒ นำผลการประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิ/ผู้เชี่ยวชาญ ในข้อที่ (๑) มาคำนวณหา
ค่าความเที่ยงตรงดา้ นเน้ือหา โดยคา่ ทย่ี อมรบั ได้จะต้องมากกว่า ๐.๕ ในแตล่ ะคำถาม จึงจะสรุปได้ว่า
คำถามนนั้ ตรงประเด็นทสี่ ามารถวัดไดต้ รงกบั จดุ มุ่งหมายของการวิจยั ไดค้ ่าความเทย่ี งตรงด้านเนื้อหา
เทา่ กับ ๑.๐๐
๒.๓ นำแบบสอบถามที่ได้รับการตรวจสอบ และปรับปรุงจนมีความเที่ยงตรงแล้ว
นำไปทดลองใช้ (try out) ด้วยการทดลองแจกแบบสอบถาม (Pilot Survey) จำนวน ๓๐ ชุด กับ

120

บุคคลทั่วไปที่มาเยี่ยมชมศูนย์การเรียนรู้ในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี เพื่อนำมาหา
ความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบสอบถาม โดยใช้วิธีสัมประสิทธิ์อัลฟ่า (Alpha Coefficient)
ของครอนบาค (Cronbach) และไดค้ ่าความเชือ่ ม่นั ฉบบั ทีห่ นง่ึ ๐.๙๐๘ ฉบับทีส่ อง ๐.๙๑๑ ตามลำดับ
ซ่งึ รายละเอียดของแบบสอบถาม มดี ังน้ี

ชุดที่ ๑ เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคลของผู้มาเยี่ยมชมศูนย์อนุรักษ์
พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ อายุ อาชีพ ระดับ
การศึกษา ถิ่นพำนัก เป็นแบบสอบถามที่มีหลายคำตอบ (multiple choice questions) แต่ให้เลือก
คำตอบท่ีตรงกับความเป็นจรงิ ของผตู้ อบคำถามเพียงคำตอบเดียว

ชุดที่ ๒ เป็นแบบสอบถามระดับความคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชมศูนย์อนุรักษ์พันธ์ุ
กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี ท่ีมีต่อการพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการ
อนรุ ักษพ์ นั ธุก์ ลว้ ย จังหวัดสุพรรณบรุ ี

ชุดที่ ๓ เป็นแบบสอบถามระดับความคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชมศูนย์อนุรักษ์พันธ์ุ
กลว้ ย จังหวัดสพุ รรณบรุ ี ในการพัฒนากลยุทธ์การตลาดดา้ นการบริการการ ไดแ้ ก่ ๑) ด้านผลิตภัณฑ์
๒) ด้านการจัดจำหน่าย ๓) ด้านการกำหนดราคา ๔) ด้านการส่งเสริมการตลาด ๕) ด้านบุคคล หรือ
พนักงาน ๖) ด้านกายภาพและการนำเสนอ และ๗) ดา้ นกระบวนการผลิตผลติ ภัณฑ์

๒) การสร้างเครื่องมือเป็นแบบสัมภาษณ์เชิงลึกของผู้ให้ข้อมูลสำคัญ เพื่อเสนอแนะแนว
ทางการการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี ตามกรอบกลยุทธ์
การตลาดดา้ นการบรกิ าร ใหม้ มี าตรฐานคุณภาพเปน็ แหล่งท่องเที่ยวเชงิ เกษตร แบง่ เปน็ ๒ ตอน ได้แก่

ตอนที่ ๑ ข้อมลู ทัว่ ไปของผู้ให้สมั ภาษณ์
ตอนท่ี ๒ แนวทางการการพัฒนาศนู ยก์ ารเรียนรู้ในการอนุรกั ษ์พนั ธุ์กลว้ ย จงั หวดั
สพุ รรณบรุ ี ตามกรอบกลยุทธก์ ารตลาดดา้ นการบริการให้มีมาตรฐานคณุ ภาพเปน็ แหลง่ ท่องเท่ียวเชิง
เกษตร

๓.๔ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู

ผู้วจิ ยั ไดท้ ำการจำแนกประเภทและแหล่งท่ีมาของข้อมูลตามลำดบั ดังนี้
๑) ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) คือข้อมูลที่ได้จากการสำรวจ (Survey) โดยการใช้
แบบสอบถาม รวบรวมข้อมูลจากผู้มาเยย่ี มชมศนู ย์การเรยี นรูแ้ บบมสี ่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย
จังหวดั สพุ รรณบุรี ดำเนนิ การเกบ็ ขอ้ มลู โดยแจกแบบสอบถาม จำนวน ๓๒๗ ชดุ ใชว้ ิธีการสมุ่ ตัวอย่าง
แบบใช้วิจารรณญาณ (Judgment Sampling) ผวู้ ิจัยจะสอบถามเฉพาะผู้ที่มาเยย่ี มชมศูนยก์ ารเรียนรู้
แบบมสี ่วนร่วมในการอนรุ ักษพ์ นั ธ์ุกล้วย จังหวดั สุพรรณบรุ ี

121

๒) ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) ทำการรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร ตำราวิชาการ
วารสาร บทความ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง จากสำนักงานห้องสมุดมหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณวิทยาลยั
และข้อมูลใน Internet

การปฏิบัตกิ ารจัดเก็บข้อมลู ภาคสนามในครั้งน้ี เรมิ่ ดำเนินการในชว่ งกลางเดือนมถิ ุนายน –
กรกฎาคม ๒๕๖๓ และทำการจดั เกบ็ สะสมไว้ทกุ วันจนครบตามขนาดกล่มุ ตวั อย่าง

๓.๕ การวเิ คราะหข์ อ้ มลู และสถิตทิ ีใ่ ชใ้ นการวจิ ัย

การเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อนำมาวิเคราะห์ ผ้ศู ึกษาได้ดำเนนิ การตามขั้นตอน ดังน้ี
๑) ดำเนินการเก็บขอ้ มูลโดยแจกแบบสอบถาม จำนวน ๓๒๗ ชดุ
๒) ผู้วจิ ยั และผู้ช่วยในการวิจัยจะสอบถามเฉพาะผู้มาเย่ยี มชมศนู ย์การเรยี นรูแ้ บบมสี ่วนร่วม
ในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี เท่านั้น หากพบกลุ่มตัวอย่างดังกล่าวจึงจะทำการแจก
แบบสอบถาม
๓) นำข้อมูลทไี่ ดก้ รอกลงในแบบกรอกข้อมลู (coding form)
๔) นำข้อมูลที่ได้ทั้งหมดมาหาค่าสถิติโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับการวิจัยทาง
สังคมศาสตร์ เพอื่ หาคา่ ความถี่ ค่ารอ้ ยละ คา่ เฉลยี่ และสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน
๕) นำค่าเฉลี่ยที่ได้จากการวิเคราะห์ไปทำการเปรียบเทียบกับเกณฑ์เพื่อใช้ในการแปล
ความหมายเปน็ รายขอ้ /รายดา้ น
๖) วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อทดสอบสมมติฐานการวิจัยโดยใช้สถิติ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์
เพยี ร์สัน
๗) เสนอผลการวเิ คราะห์ในรปู แบบตารางและสรปุ ความหมาย
๓.๕.๑ สถิตทิ ีใ่ ชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมูล

ก่อนจะดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูล ผ้ศู ึกษาได้ดำเนนิ การดังน้ี
๑) ผู้วจิ ยั ทำการตรวจสอบขอ้ มลู (Editing) เพ่อื ตรวจสอบความสมบรู ณ์ และความถูกต้อง
ของแบบสอบถามหลงั จากดำเนนิ การเก็บรวบรวมแบบสอบถาม
๒) ทำการลงรหสั แบบสอบถาม (coding) โดยนำแบบสอบถามท่ีถกู ต้อง สมบรู ณ์แลว้ มาลง
รหัสตามท่ีกำหนดไว้
๓) ทำการประมวลผลขอ้ มูลทไ่ี ดล้ งรหัสแล้วโดยใชโ้ ปรแกรมสำเรจ็ รปู ทางสถติ ิเพ่ือการวิจยั
ทางสงั คม และแจกแจงความถี่ของทกุ ตวั แปร แลว้ นำมาคำนวณหาค่าร้อยละ
ผู้วิจัยได้กำหนดค่าสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลอธิบายตัวแปรของการศึกษาครั้งนี้ไว้
ดังนคี้ อื

122

๑) สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) สำหรับการอธิบายผลการศึกษาในเรื่อง
ตอ่ ไปนีค้ ือ

(๑) การวิเคราะห์ปัจจัยส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งเป็นปัจจัยส่วนบุคคลของกลุ่ม
ตัวอย่าง เชน่ เพศ อายุ ระดับการศกึ ษา ลกั ษณะข้อมลู ท่ีใช้เป็นมาตรวดั แบบนามบญั ญัติ ใช้สถิติ การ
หาคา่ ความถี่ (Frequency) และค่ารอ้ ยละ (Percentage)

(๒) การวิเคราะห์ระดับความคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ฯ เกี่ยวกับการพัฒนา
มาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้และอนุรักษ์พันธุ์กล้วย และเกี่ยวกับกลยุทธ์ทางการตลาดด้าน
บริการ ในการพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้และอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี ใช้
สถิติ การหาค่าความถี่ (Frequency) ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard
Deviation)

การกำหนดเกณฑ์การแปลความหมายของคะแนน เพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการเปรียบเทียบ
ค่าเฉลี่ยความคิดเห็นโดยใช้หลักของลิเคิร์ท (Likert’s Scales) อ้างถึงใน บุญชม ศรีสะอาด49. ซึ่ง
กำหนดคา่ เฉลยี่ ทไี่ ดน้ ำมาแปลความหมายตามเกณฑ์ดงั ต่อไปน้ี

มีผลต่อระดบั ความคดิ เหน็ มากท่ีสุด ให้ ๕ คะแนน
มีผลต่อระดบั ความคิดเหน็ มาก ให้ ๔ คะแนน
มผี ลตอ่ ระดบั ความคดิ เห็นปานกลาง ให้ ๓ คะแนน
มีผลตอ่ ระดบั ความคดิ เหน็ น้อย ให้ ๒ คะแนน
มผี ลตอ่ ระดบั ความคดิ เหน็ น้อยทส่ี ุด ให้ ๑ คะแนน

หลังจากนั้นนำคะแนนระดับความคิดเห็นจากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดมารวมกันเพื่อหาระดับ
เฉลี่ย ตามเกณฑ์การกำหนดช่วงคะแนนตามสูตรการหาอันตรภาคชั้นของนิภา ศรีไพโรจน์ 50
ดงั ต่อไปนี้

สตู รการหาอนั ตรภาคช้นั (Class Interval)
เกณฑ์ในการกำหนดช่วง = คะแนนสูงสุด – คะแนนนอ้ ยสดุ

จำนวนชั้น
แทนค่าสูตร = ๕ – ๑



49 บุญชม ศรสี ะอาด. การวจิ ัยเบ้อื งต้นฉบบั ปรับปรงุ ใหม่. (พมิ พค์ ร้งั ที่ ๖.), กรุงเทพมหานคร :: สุวรี ยิ า
สาสน์ ,๒๕๔๓,หน้า ๑๑๗.

50 นภิ า ศรีไพโรจน์. หลกั การวิจัยเบื้องตน้ , (กรุงเทพมหานคร: บริษทั ศึกษาพร จำกัด ๒๕๒๗). หนา้
๑๔๘.

123

= ๐.๘

ท้งั น้จี ะนำคะแนนความพึงพอใจ นำไปวิเคราะห์ในรปู ของค่าเฉลีย่ ดงั นี้

ค่าเฉลยี่ ๔.๒๑– ๕.๐๐ หมายถงึ มีผลต่อระดบั ความคิดเห็นมากทีส่ ดุ
คา่ เฉลย่ี ๓.๔๑ - ๔.๒๐ หมายถงึ มีผลต่อระดับความคดิ เหน็ มาก
คา่ เฉลี่ย ๒.๖๑ – ๓.๔๐ หมายถึง มผี ลต่อระดับความคดิ เหน็ ปานกลาง
คา่ เฉลยี่ ๑.๘๑ – ๒.๖๐ หมายถงึ มีผลต่อระดับความคิดเหน็ นอ้ ย
ค่าเฉลย่ี ๑.๐๐ – ๑.๘๐ หมายถึง มผี ลต่อระดับความคดิ เห็นนอ้ ยท่ีสดุ
๒) สถิติเชงิ อา้ งอิง (Inference Statistics) ผู้วิจัยได้ใชส้ ถติ ิเชงิ อา้ งอิง เพ่อื ใช้ในการทดสอบ
สมมตฐิ านการวจิ ยั ดงั น้ี
การทดสอบสมมติฐานกลยุทธ์ทางการตลาดด้านการบริการที่มีความสัมพันธ์ต่อการพัฒนา
ศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี ไปในทิศทางเดียวกัน
วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อทดสอบความสัมพันธ์โดยใช้สถิติค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson
Product Moment Correlation Coefficient) เป็นสถิติที่ใช้หาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ๒ ชุด
โดยที่ตัวแปรทั้ง ๒ ชุดเป็นตัวแปรต่อเนื่อง (Continuous data) การแปลความหมายค่าสัมประสิทธ์ิ
สหสัมพนั ธ์ (r) ที่คำนวณได้จะพจิ ารณาจากเกณฑ์51 ดงั น้ี
(๑) สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์มีค่าเป็น – ๑ แสดงว่า ตัวแปร ๒ ตัวนั้นมีความสัมพันธ์กนั
ทางลบแบบสมบรู ณ์
(๒) สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์มีค่าเป็น - ๑ ถึง -๐.๘ แสดงว่า ตัวแปร ๒ ตัวนั้นมี
ความสัมพนั ธก์ นั ทางลบในระดบั สูง
(๓) สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์มีค่าเป็น – ๐.๗ ถึง – ๐.๓ แสดงว่า ตัวแปร ๒ ตัวนั้นมี
ความสมั พนั ธก์ นั ทางลบในระดบั ปานกลาง
(๔) สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์มีค่าเป็น – ๐.๓ ถึง ๐ แสดงว่า ตัวแปร ๒ ตัวนั้นมี
ความสมั พันธ์กนั ทางลบในระดับตำ่
(๕) สัมประสิทธ์ิสหสัมพันธม์ ีคา่ เป็น ๐ แสดงวา่ ตวั แปร ๒ ตัวนั้นไมม่ คี วามสมั พนั ธ์กนั
(๖) สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์มีค่าเป็น ๐ ถึง ๐.๓ แสดงว่า ตัวแปร ๒ ตัวนั้นมี
ความสัมพนั ธก์ ันทางบวกในระดับตำ่
(๗) สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์มีค่าเป็น ๐.๓ ถึง ๐.๗ แสดงว่า ตัวแปร ๒ ตัวนั้นมี
ความสมั พันธก์ นั ทางบวกในระดบั ปานกลาง

51 กมลวรรณ ต้ังธนกานนท.์ (๒๕๕๘). ระเบียบวธิ ีสถิติทางการศึกษา. (กรงุ เทพมหานคร: จฬุ าลงกรณ
มหาวทิ ยาลยั . 2558), หนา้ ๑๔๐.

124

(๘) สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์มีค่าเป็น ๐.๗ ถึง ๑ แสดงว่า ตัวแปร ๒ ตัวนั้นมี
ความสมั พนั ธก์ นั ทางบวกในระดบั สูง

(๙) สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์มีค่าเป็น ๑ แสดงว่า ตัวแปร ๒ ตัวนั้นมีความสัมพันธ์กัน
ทางบวกแบบสมบรู ณ์

๓) ข้อมูลจากแบบสัมภาษณ์ ทำการสัมภาษณ์จากผู้เกี่ยวข้องกับศูนย์การเรียนรู้และการ
อนุรักษ์พันธุ์กล้วย ใช้วิธีการวิเคราะห์ด้วยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive analysis method) โดย
แบ่งเปน็ ๒ สว่ น ตามแบบสอบถาม ดังนี้

ส่วนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไปของผู้ให้สัมภาษณ์ ค่าสถิติที่ใช้คือ ค่าความถี่ (Frequency) และค่า
รอ้ ยละ (Percentage)

สว่ นท่ี ๒ เปน็ แบบสมั ภาษณ์เชงิ ลึกของผู้ให้ขอ้ มลู สำคัญ เพื่อเสนอแนะแนวทางการพัฒนา
ศนู ย์การเรียนรู้ การอนรุ ักษพ์ ันธก์ุ ลว้ ย และการตลาดดา้ นบรกิ าร ใหม้ ีมาตรฐานคุณภาพ ใชว้ ิธีการ
วเิ คราะห์เชิงพรรณนาโดยการสรุปใจความสำคัญที่ผตู้ อบแบบสอบถามใหข้ ้อมูลมา และตัดขอ้ ความที่
ไม่มีผลต่อการเพิ่มศกั ยภาพในการพัฒนาศนู ยอ์ นุรักษ์พนั ธ์กุ ล้วย จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ออกไปเพอ่ื ใหเ้ กดิ
ความกระชับและได้ใจความตรงประเด็นกับคำถาม

125

บทท่ี ๔
ผลการวิจัย

บทนี้เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการอธิบายและการทดสอบสมมุติฐานที่เกี่ยวข้องกับตัว
แปรแต่ละตัว ข้อมูลดังกล่าวผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมจากแบบสอบถามที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพแลว้
จำนวน ๓๒๗ ชุด แล้วทำการวิเคราะห์ด้วยวิธีการทางสถิติตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย ผลการ
วเิ คราะหจ์ ะนำเสนอในรปู ของการพรรณนาความ ประกอบรปู ตาราง แบง่ เปน็ ๗ สว่ น ดังน้ี

สว่ นที่ ๑ การวเิ คราะหป์ ัจจยั ส่วนบุคคลของกล่มุ ตวั อยา่ ง
ส่วนที่ ๒ การวิเคราะห์ระดับความคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ฯเกี่ยวกับการพัฒนา
มาตรฐานคุณภาพศนู ยก์ ารเรียนรแู้ ละอนรุ ักษพ์ นั ธ์ุกลว้ ย จังหวดั สุพรรณบรุ ี
ส่วนที่ ๓ การวิเคราะห์ระดับความคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ฯ เกี่ยวกับกลยุทธ์ทาง
การตลาดด้านบริการ ในการพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้และอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัด
สพุ รรณบรุ ี
ส่วนที่ ๔ การทดสอบสมมติฐาน “กลยุทธ์ทางการตลาดด้านการบริการมีความสัมพันธต์ ่อ
การพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัด
สุพรรณบรุ ี ไปในทศิ ทางเดียวกัน
ส่วนที่ ๕ การวิเคราะห์บทสัมภาษณ์ข้อคิดเห็นจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญและข้อเสนอแนะจาก
การประชุมกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญท่ีเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้และอนุรักษ์พันธ์ุ
กล้วยใหม้ มี าตรฐานคณุ ภาพแหล่งทอ่ งเที่ยวเชงิ เกษตร จังหวัดสพุ รรณบรุ ี

126

ส่วนที่ ๖ บทสรปุ จากการสมั มนารายงานการวจิ ยั เรอ่ื ง การพฒั นาศนู ยก์ ารเรียนรแู้ บบมี
สว่ นร่วมในการอนรุ กั ษพ์ นั ธก์ุ ล้วยจังหวัดสุพรรณบรุ ี

ส่วนที่ ๗ บทสรุป การพัฒนาศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย
จงั หวัด สุพรรณบุรี

สว่ นที่ ๘ การนำเสนอองค์ความรู้ท่ีได้จากการวจิ ัย

สัญลักษณใ์ นการวิเคราะห์ข้อมูล

เพ่ือความเขา้ ใจในการแปลความหมาย ผวู้ จิ ยั ได้กำหนดสญั ลักษณ์ทใ่ี ช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล ดังนี้

n แทน ขนาดกลมุ่ ตัวอย่าง
t แทน ค่าสถิติทใี่ ชใ้ นการพิจารณาการแจกแจงความถี่ แบบที (t-Distribution)
X แทน คา่ สถิติที่ใช้พจิ ารณาค่าเฉลี่ย
S.D. แทน ค่าสถติ ิท่ีใช้ในการพิจารณาค่าสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (Standard
Deviation)
r แทน ค่าสถิติสมั ประสทิ ธ์สหสมั พันธ์ของเพียรส์ นั
Sig แทน คา่ ระดบั นัยสำคัญของสถิติทดสอบ (Significant)
* แทน ความมีนัยสำคัญทางสถติ ิทร่ี ะดับ ๐.๐๕ (๙๕เปอรเ์ ซ็นต์)

127

ส่วนที่ ๑ การวิเคราะห์ปัจจัยส่วนบคุ คลของผูต้ อบแบบสอบถาม
ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม ประกอบด้วย เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ

รายได้สว่ นบุคคลเฉล่ยี ต่อเดือน โดยใช้สถิติคา่ ร้อยละ ดังแสดงในตารางตอ่ ไปนี้
ตารางที่ ๔.๑ แสดงจำนวนร้อยละของกลุม่ ตวั อยา่ งจำแนกตามปจั จยั สว่ นบุคคล

ปัจจัยส่วนบุคคล จำนวน(คน) รอ้ ยละ
เพศ
๑๔๕ ๔๓.๕
ชาย ๑๘๒ ๕๔.๗
หญิง ๓๒๗ ๑๐๐
รวม
อายุ ๔๙ ๑๔.๗
ตำ่ กวา่ ๒๐ ปี ๑๒๓ ๓๖.๙
๒๑ – ๓๐ ปี ๑๑๑ ๓๓.๓
๓๑ – ๔๐ ปี ๓๓ ๙.๙
๔๑ – ๕๐ ปี ๑๑ ๓.๓
๕๑ – ๖๐ ปี ๖ ๑.๘
๖๑ ปี ขึ้นไป ๓๒๗ ๑๐๐
รวม
ระดับการศึกษา ๗๙ ๒๓.๗
ตำ่ กวา่ ปรญิ ญาตรี ๑๕๗ ๔๗.๑
ปริญญาตรี ๗๔ ๒๒.๒
สงู กว่าปรญิ ญาตรี ๑๗ ๕.๑
อ่นื ๆ ๓๒๗ ๑๐๐

รวม ๓๘ ๑๑.๔
อาชพี ๑๙๓ ๕๘.๐
๕๘ ๑๗.๔
ข้าราชการ/พนักงานวิสาหกิจ ๑๗ ๕.๑
พนักงานบริษัทเอกชน ๖ ๑.๘
ทำธุรกิจส่วนตัว ๑๒ ๓.๖
นกั เรียน/นกั ศึกษา
แม่บ้าน
เกษตรกร

ปจั จยั ส่วนบคุ คล จำนวน(คน) 128
เกษยี ณ ๓
อน่ื ๆ ระบุ ๐ รอ้ ยละ
๐.๙
๐.๐๐

รวม ๓๒๗ ๑๐๐

รายได้ส่วนบุคคลเฉลยี่ ต่อเดือน ๗๑ ๒๑.๓
๑๕.๐๐๐ บาท หรือต่ำกวา่ ๑๒๕ ๓๗.๕
๑๕,๐๐๑ – ๒๕,๐๐๐ บาท ๔๙ ๑๔.๗
๒๕,๐๐๑ – ๓๕,๐๐๐ บาท ๖๙ ๒๐.๗
๓๕,๐๐๑ – ๔๕,๐๐๐ บาท ๙ ๒.๗
๔๕,๐๐๑ – ๕๕,๐๐๐ บาท ๔ ๑.๒
มากกว่า ๕๕,๐๐๐ บาท ข้ึนไป ๓๒๗ ๑๐๐
รวม
๗ ๒.๑
ถ่ินพำนักในปัจจุบัน ๑๕๓ ๔๕.๙
ภาคเหนอื ๗ ๒.๑
ภาคกลาง ๗ ๒.๑
ภาคตะวนั ออก ๕๖ ๑๖.๘
ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ๗ ๒.๑
ภาคตะวนั ตก ๒๖ ๗.๘
ภาคใต้ ๓๒๗ ๑๐๐
กรุงเทพมหานคร
รวม

ผลการศึกษาตามตารางที่ ๔.๑ พบวา่ ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ลกั ษณะปจั จยั สว่ นบุคคลขอกลุ่มตวั อย่าง
ในการศึกษาคร้ังน้ี จำนวน ๓๒๗ คน จำแนกตามปัจจยั สว่ นบคุ คลได้ ดงั น้ี

เพศ พบว่าส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จำนวน ๑๘๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๔.๗ เพศชายจำนวน
๑๔๕ คน คดิ เป็นร้อยละ ๔๓.๕

129

อายุ พบวา่ ส่วนใหญม่ ีอายุ ๒๑ – ๓๐ ปี จำนวน ๑๒๓ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๓๖.๙ รองลงมาคือ
อายุ ๓๑ - ๔๐ ปี จำนวน ๑๑๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๓.๓ และมีอายุต่ำกว่า ๒๐ ปี จำนวน ๔๙ คน
คิดเป็นร้อยละ ๑๔.๗

ระดับการศึกษา พบว่าสว่ นใหญจ่ บการศกึ ษาระดับปริญญาตรี จำนวน ๑๕๗ คน คดิ เป็นร้อย
ละ ๔๗.๑ รองลงมา จบการศึกษาระดับต่ำกวา่ ปริญญาตรี จำนวน ๗๙ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๓๒.๗ และ
สงู กว่าปริญญาตรีจำนวน ๗๔ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๒๒.๒

การประกอบอาชีพ พบว่าส่วนใหญ่เป็นกลุ่มพนักงานเอกชนทำธุรกิจส่วนตัว จำนวน ๑๙๓
คน คิดเป็นร้อยละ ๕๘.๐ รองลงมามีอาชีพทำธุรกิจส่วนตัว จำนวน ๕๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๗.๔
และรับราชการ/รัฐวิสาหกิจ จำนวน ๓๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๑.๔

รายได้ส่วนบุคคลเฉลี่ยต่อเดือนพบว่า ส่วนใหญ่มีรายได้ตั้งแต่ ๑๕,,๐๐๑ – ๒๕,๐๐๐
๓๕,๐๐๑ – ๔๕,๐๐๐ บาท จำนวน ๑๒๕ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๓๗.๕ รองลงมามรี ายไดส้ ว่ นบคุ คลเฉล่ยี
ต่อเดือน ๑๕,,๐๐๐ บาท หรือต่ำกว่า จำนวน ๗๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๑.๓ และมีรายได้เฉลี่ยต่อ
เดอื น ๓๕,,๐๐๑ – ๔๕,๐๐๐ บาท จำนวน ๖๙ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๒๐.๗

ถิ่นพำนักในปัจจุบันของผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ฯ พบว่าส่วนใหญ่มีถิ่นพำนักในปัจจุบันอยู่ที่ภาค
กลาง กรุงเทพมหานคร จำนวน ๑๕๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๔๕.๙ รองลงมาผู้ที่อยู่ในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน ๗๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๑.๓ และภาคตะวันตก จำนวน ๕๖ คน คิด
เป็นรอ้ ยละ ๑๖.๘

สว่ นท่ี ๒ การวเิ คราะหร์ ะดบั ความคิดเหน็ ของกลุ่มตัวอย่าง เกีย่ วกบั การพัฒนามาตรฐานคุณภาพ
ศนู ย์การเรยี นรู้แบบมีส่วนรว่ มในการอนรุ กั ษ์พันธุ์กลว้ ย จังหวัดสพุ รรณบรุ ี

ตารางท่ี ๔.๒ แสดงค่าเฉลย่ี และคา่ สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน ระดบั ความคิดเห็นของผู้มาเย่ยี มชมศูนย์ฯ
ที่มีต่อการพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรยี นรู้แบบมสี ว่ นร่วมในการอนุรักษพ์ ันธ์กุ ลว้ ย
จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ในภาพรวม

การพัฒนาศูนย์การเรยี นรู้แบบมสี ่วนรว่ มในการอนุรกั ษ์ ค่าเฉล่ีย (X) คา่ S.D แปลผล
พนั ธุ์กลว้ ย จังหวดั สุพรรณบุรี
มากที่สุด
๑. ดา้ นสภาพทัว่ ไปของศนู ยฯ์ ๔.๓๗ ๐.๔๘ มากท่ีสุด

๒. ดา้ นโครงสร้างของศนู ย์ฯ ๔.๓๐ ๐.๕๓

๓. ดา้ นการมสี ว่ นรว่ มในการบริหารจัดการศูนยฯ์ 130
๔. ดา้ นศักยภาพการบริหารจัดการของศนู ยฯ์
๕. ดา้ นศกั ยภาพการรองรบั ผู้มาเย่ยี มชมศนู ยฯ์ ๔.๒๐ ๐.๖๔ มาก
๖. ดา้ นศกั ยภาพการใหบ้ ริการแกผ่ มู้ าเย่ียมชมศูนย์ฯ ๔.๒๕ ๐.๔๑ มากทสี่ ุด
๗. ด้านศกั ยภาพการดึงดูดผู้มาเย่ยี มชมศูนยฯ์ ๔.๒๙ ๐.๔๗ มากท่ีสุด
๔.๓๕ ๐.๕๕ มากที่สุด
รวมเฉล่ีย ๔.๐๗ ๐.๗๙ มาก
๔.๒๖ ๐.๓๖ มากทส่ี ดุ

ผลการศึกษาตามตารางที่ ๔.๒ ระดับความคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ฯ ที่มีต่อการพัฒนา
มาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมสี ว่ นรว่ มในการอนุรักษ์พนั ธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี พบว่า มี
ความคดิ เหน็ ในภาพรวมท้งั ๗ ด้าน มีค่าเฉลยี่ อยใู่ นระดบั มากทส่ี ดุ (X) เท่ากบั ๔.๒๖

เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ระดับความคิดเห็นที่มีต่อการพัฒนามาตรฐานคุณภาพ
ศูนย์ฯ ด้านสภาพทั่วไปของศูนย์ฯ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในลำดับสูงสุดเท่ากับ ๔.๓๗ รองลงมา ได้แก่ ด้าน
ศักยภาพการให้บริการแก่ผู้มาเยย่ี มชมศูนยฯ์ มคี า่ เฉลี่ยเทา่ กับ ๔.๓๕ สว่ นด้านท่มี ลี ำดบั คา่ เฉลี่ยต่ำสุด
ไดแ้ ก่ ดา้ นศกั ยภาพการดงึ ดูดผมู้ าเยย่ี มชมศนู ย์ฯ มคี า่ เฉลย่ี เท่ากับ ๔.๐๗

ตารางที่ ๔.๓ แสดงค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับความคิดเห็นของผู้มาเย่ียมชม
ศนู ยฯ์ ท่ีมีต่อการพฒั นามาตรฐานคุณภาพศนู ย์การเรียนรู้แบบมสี ว่ นรว่ มในการอนุรักษ์พันธุ์
กล้วย จังหวดั สุพรรณบุรี จำแนกเป็นรายด้าน “ด้านสภาพทั่วไปของศนู ย์การเรยี นรู้ ฯ”

ด้านสภาพท่ัวไปของศนู ย์ฯ ค่าเฉลยี่ (X) คา่ S.D แปลผล

๑. มีทำเล ท่ตี งั้ ที่เหมาะสม ๔.๔๙ 131
๒. มกี ารกำหนดแผนการบริหารจัดการพ้นื ทอ่ี ย่างเปน็
ระบบ เชน่ กำหนดเขต การใช้ประโยชนพ์ นื้ ท่กี ารเกษตร ๔.๓๗ ๐.๖๔ มากที่สุด
พืน้ ทก่ี ารทอ่ งเท่ยี ว พ้นื ท่ีอนุรักษ์ ถนนและลานจอดรถ
๔.๒๕ ๐.๖๖ มากที่สดุ
๓. มีการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม
เช่น การรกั ษาความอุดมสมบูรณข์ องทรัพยากรการผลิต ๔.๓๖ ๐.๗๖ มากท่สี ุด
ได้แก่ ดิน นำ้ ๔.๓๗
๐.๖๘ มากท่ีสุด
๔. มีการกำจัดของเสียในศนู ย์ฯ เช่นขยะ น้ำเสยี มลพิษ ๐.๔๘ มากท่สี ดุ
ในอากาศท่ีเกิดจากการท่องเที่ยว มกี ารจัดวางท่ที ิ้งขยะ
อย่างเหมาะสมและเพยี งพอ

รวม

ผลการศึกษาตามตารางที่ ๔.๓ ระดับความคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ฯ ที่มีต่อการพัฒนา
มาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรยี นรู้แบบมีสว่ นร่วมในการอนุรกั ษ์พนั ธ์ุกลว้ ย จังหวัดสพุ รรณบุรี พบว่า มี
ความคดิ เห็นต่อการพัฒนามาตรฐานคุณภาพ ดา้ นสภาพทัว่ ไปของศนู ย์การเรียนรู้ฯ โดยรวมทุกข้อมี
คา่ เฉล่ยี อยูใ่ นระดบั มากทส่ี ุด (X) เทา่ กับ ๔.๓๗

เมือ่ พจิ ารณาเป็นรายข้อ พบว่า ระดบั ความคิดเห็นที่มีต่อการพฒั นามาตรฐานคุณภาพศูนย์
การเรียนร้แู บบมสี ่วนรว่ มในการอนุรักษ์พันธ์ุกล้วย เรยี งตามลำดับได้ ดังน้ี มที ำเล ท่ีตั้งที่เหมาะสม มี
คา่ เฉลีย่ อย่ใู นลำดบั สูงสดุ เทา่ กับ ๔.๔๙ รองลงมาไดแ้ ก่ มกี ารกำหนดแผนการบรหิ ารจดั การพ้นื ทอ่ี ย่าง
เป็นระบบ เช่น กำหนดเขต การใช้ประโยชน์พื้นที่การเกษตร พื้นที่การท่องเที่ยว พื้นที่อนุรักษ์ ถนน
และลานจอดรถ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ๔.๓๗ ส่วนด้านที่มีลำดับค่าเฉลี่ยต่ำสุด ได้แก่ มีการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่น การรักษาความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรการผลิต ได้แก่
ดิน น้ำ มีค่าเฉลยี่ เทา่ กบั ๔.๒๕

132

ตารางที่ ๔.๔ แสดงค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับความคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชม
ศนู ย์ฯ ท่ีมตี อ่ การพฒั นามาตรฐานคณุ ภาพศนู ย์การเรียนรู้แบบมีสว่ นร่วมในการอนรุ ักษ์พันธุ์
กล้วย จังหวัดสพุ รรณบุรี จำแนกเป็นรายดา้ น“ดา้ นโครงสรา้ งของศนู ยก์ ารเรยี นรู้”

ด้านโครงสร้างของศูนย์ฯ ค่าเฉล่ีย (X) คา่ S.D แปลผล
มากท่ีสุด
๑. มเี อกลักษณแ์ ละมีความโดดเดน่ เฉพาะตวั ๔.๓๒ ๐.๗๖
มากทส่ี ุด
๒. มีการจดั การด้านความปลอดภยั สำหรับผมู้ าเยี่ยมชม
เชน่ การเตรยี มความพร้อมดา้ นการรกั ษาความปลอดภยั มากที่สดุ
การรักษาพยาบาลเบ้ืองตน้ เมื่อเกดิ อุบตั ิเหตหุ รือเจ็บปว่ ย มากที่สดุ
มากทีส่ ดุ
๔.๒๕ ๐.๗๗

๓. มกี ารจัดเตรยี มสง่ิ อำนวยความสะดวกในศูนย์ฯ อย่าง
พรอ้ มเพรียง เช่น อปุ กรณ์หว่ งยาง ท่ีนง่ั พักผอ่ น ไฟส่อง
สวา่ ง

๔.๒๔ ๐.๗๖

๔. มสี งิ่ สาธารณปู โภค เชน่ หอ้ งน้ำสะอาด ร้านอาหาร

ลานจอดรถเพยี งพอต่อการให้บรกิ าร ๔.๓๙ ๐.๖๔

รวม ๔.๓๐ ๐.๕๓

ผลการศึกษาตามตารางที่ ๔.๔ ระดับความคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ฯ ที่มีต่อการพัฒนา
มาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรยี นรู้แบบมสี ว่ นร่วมในการอนุรักษ์พันธ์ุกล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี พบว่า มี
ความคิดเห็นต่อการพัฒนามาตรฐานคุณภาพ ด้านลักษณะโครงสร้างของศูนย์การเรียนรู้ฯ โดยรวม
ทุกขอ้ มีค่าเฉลย่ี อยใู่ นระดับมากทส่ี ดุ (X) เทา่ กบั ๔.๓๐

เมอื่ พจิ ารณาเป็นรายข้อ พบวา่ ระดับความคดิ เห็นที่มีต่อการพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์
การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย เรียงตามลำดับได้ ดังนี้ มีสิ่งสาธารณูปโภค เช่น

133

ห้องน้ำสะอาด ร้านอาหาร ลานจอดรถเพียงพอต่อการให้บริการ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในลำดับสูงสุดเท่ากับ
๔.๓๙ รองลงมาได้แก่ มเี อกลกั ษณ์และมีความโดดเดน่ เฉพาะตัว มคี ่าเฉลีย่ เท่ากบั ๔.๓๒ ส่วนด้านท่ีมี
ลำดับค่าเฉลี่ยต่ำสุด ได้แก่ มีการจัดเตรียมสิ่งอำนวยความสะดวกในศูนย์ฯ อย่างพร้อมเพรียง เช่น
อุปกรณห์ ่วงยาง ที่น่ังพกั ผ่อน ไฟส่องสวา่ ง มีคา่ เฉลย่ี เทา่ กับ ๔.๒๔

ตารางที่ ๔.๕ แสดงค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับความคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชม
ศนู ยฯ์ ที่มตี ่อการพัฒนามาตรฐานคุณภาพศนู ย์การเรยี นรแู้ บบมสี ่วนรว่ มในการอนุรักษ์พันธุ์
กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี จำแนกเป็นรายด้าน “ด้านการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ
ศนู ยก์ ารเรียนรู้ฯ”

ด้านการมีสว่ นร่วมในการบริหารจดั การศนู ยฯ์ ค่าเฉล่ยี (X) คา่ S.D แปลผล
๑. มสี ว่ นรว่ มในการวางแผน/ตดั สนิ ใจ ๔.๔๗ ๐.๖๘ มาก
๒. มสี ่วนรว่ มในการวเิ คราะห์ปัญหา ๔.๓๘ ๐.๖๖ มากทส่ี ดุ
๓. มสี ่วนรว่ มในการพัฒนาและร่วมกจิ กรรมและร่วม
แบง่ ปนั ผลประโยชนแ์ ละกระรายได้ ๔.๐๑ ๑.๒๘ มากทส่ี ุด
๓.๙๗ ๑.๒๘ มากที่สดุ
๔. มสี ว่ นร่วมในการติดตามประเมินผลการดำเนินงาน ๔.๒๐ ๐.๖๔ มากท่สี ดุ
รวม

ผลการศึกษาตามตารางที่ ๔.๕ ระดับความคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ฯ ที่มีต่อการพัฒนา
มาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนรว่ มในการอนุรกั ษ์พนั ธุ์กลว้ ย จังหวดั สุพรรณบรุ ี พบว่า มี

134

ความคิดเห็นต่อการพัฒนามาตรฐานคุณภาพ ด้านการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการศูนย์การ
เรยี นรู้ฯ”โดยรวมทุกขอ้ มคี ่าเฉลีย่ อยู่ในระดับมากท่สี ดุ (X) เท่ากบั ๔.๒๐

เมือ่ พิจารณาเป็นรายข้อ พบวา่ ระดับความคดิ เห็นท่ีมีต่อการพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์
การเรียนรู้แบบมีส่วนรว่ มในการอนุรักษ์พันธ์ุกลว้ ย เรียงตามลำดับได้ ดงั นี้ มีสว่ นรว่ มในการวางแผน/
ตัดสินใจ มคี า่ เฉลยี่ อยู่ในลำดับสงู สดุ เทา่ กับ ๔.๔๗ รองลงมาได้แก่ มสี ่วนรว่ มในการวเิ คราะหป์ ญั หา มี
คา่ เฉล่ียเทา่ กบั ๔.๓๘ ส่วนดา้ นทม่ี ีลำดบั ค่าเฉลย่ี ต่ำสดุ ไดแ้ ก่ มสี ่วนร่วมในการตดิ ตามประเมินผลการ
ดำเนนิ งาน ๓.๙๗

ตารางที่ ๔.๖ แสดงค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับความคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชม
ศูนยฯ์ ท่มี ีตอ่ การพฒั นามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมสี ่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธ์ุ
กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี จำแนกเป็นรายด้าน “ด้านศักยภาพในการบริหารจัดการศูนย์
การเรียนรู้ฯ”

ศกั ยภาพในการบริหารจดั การศนู ย์ฯ ค่าเฉล่ีย (X) ค่า S.D แปลผล
มากทสี่ ุด
๑. มีการประชาสัมพนั ธ์หลายภาษา สอื่ สารเขา้ ใจง่าย
และมคี วามนา่ สนใจ เช่น ปา้ ยโฆษณา ผา่ นทางเวบ็ ไซด์
หนงั สอื พิมพ์ ยูท๊ปู เฟสบุ๊ค โทรทัศน์

๔.๒๑ ๐.๗๑

135

๒. มีการส่งเสริมการขาย เพิ่มมูลค่าและพัฒนา

ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร ๔.๑๒ ๐.๖๖ มาก

๓. มีการสรา้ งเครอื ข่ายเพื่อสนบั สนุนแหลง่ ท่องเท่ียว
เช่นการเชอ่ื มโยงกบั แหล่งทอ่ งเท่ยี วอน่ื ๆ การสนบั สนนุ
จากภาครัฐ/เอกชน

๔.๒๖ ๐.๕๕ มากทีส่ ดุ

๔. มกี ารร่วมมอื กับวสิ าหกิจชมุ ชน การรักษาวฒั นธรรม

การจา้ งงานและสรา้ งรายได้แกช่ มุ ชน ๔.๔๐ ๐.๖๑ มากท่ีสุด

รวม ๔.๒๕ ๐.๔๑ มากทส่ี ุด

ผลการศึกษาตามตารางที่ ๔.๖ ระดับความคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ฯ ที่มีต่อการพัฒนา
มาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรยี นรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พนั ธ์ุกล้วย จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี พบว่า มี
ความคิดเห็นต่อการพัฒนามาตรฐานคุณภาพ ด้านศักยภาพในการบริหารจัดการศูนย์การเรียนรู้ฯ
โดยรวมทกุ ข้อมคี ่าเฉลยี่ อยู่ในระดบั มากทส่ี ุด (X) เทา่ กบั ๔.๒๕

เมอ่ื พิจารณาเป็นรายข้อ พบวา่ ระดบั ความคดิ เห็นทีม่ ีต่อการพฒั นามาตรฐานคุณภาพศูนย์
การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย เรียงตามลำดับได้ ดังนี้ มีการร่วมมือกับวิสาหกิจ
ชุมชน การรักษาวัฒนธรรม การจ้างงานและสร้างรายได้แก่ชุมชน มีค่าเฉลี่ยอยู่ในลำดับสูงสุดเท่ากับ
๔.๔๐ รองลงมาได้แก่ มีการสร้างเครือข่ายเพื่อสนับสนุนแหล่งท่องเที่ยว เช่นการเชื่อมโยงกับแหล่ง
ท่องเที่ยวอื่นๆ การสนับสนุนจากภาครัฐ/เอกชน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ๔.๒๖ ส่วนด้านที่มีลำดับค่าเฉลี่ย
ต่ำสุด ได้แก่ มีการส่งเสริมการขาย เพิ่มมูลค่าและพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ
๔.๑๒

136

ตารางที่ ๔.๗ แสดงค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับความคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชม
ศูนย์ฯ ทีม่ ีตอ่ การพัฒนามาตรฐานคณุ ภาพศูนย์การเรียนร้แู บบมีสว่ นร่วมในการอนรุ ักษ์พันธ์ุ
กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี จำแนกเป็นรายด้าน “ด้านศักยภาพในการรองรับผู้มาเยี่ยมชม
ศูนยฯ์ ”

ศกั ยภาพในการรองรับผู้มาเยย่ี มชมศูนย์ ฯ คา่ เฉล่ีย (X) คา่ S.D แปลผล
มากทสี่ ดุ
๑. มเี สน้ ทางการเดินทางเข้าถึงศนู ยฯ์ สะดวก(พิจารณา
มากท่ีสุด
จากชว่ งเวลาท่ีสามารถเข้าถงึ ศูนย)์ และปลอดภัย ๔.๒๕ ๐.๖๗ มากทีส่ ดุ

๒. มคี วามพรอ้ มในระบบสาธารณูปโภคพ้นื ฐาน เชน่ มาก
ถนน ไฟฟา้ ประปา โทรศัพท์และอนิ เตอร์เน็ต อย่าง มากท่ีสดุ
เหมาะสม

๔.๒๘ ๐.๖๘

๓. มคี วามพรอ้ มด้านอาหารสำหรับผู้มาเยย่ี มชมศนู ยฯ์

อยา่ งเพยี งพอ ๔.๒๙ ๐.๖๔

๔. มีการเตรียมความพร้อมของบุคคลากรในการรองรับ

ผูม้ าเยย่ี มชมศูนย์อยา่ งเหมาะสม ๔.๑๗ ๐.๗๐

รวม ๔.๒๙ ๐.๔๗

ผลการศึกษาตามตารางที่ ๔.๗ ระดับความคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ฯ ที่มีต่อการพัฒนา
มาตรฐานคณุ ภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนรว่ มในการอนุรกั ษ์พนั ธ์ุกล้วย จังหวดั สพุ รรณบรุ ี พบว่า มี
ความคิดเห็นต่อการพัฒนามาตรฐานคุณภาพ ด้านศักยภาพในการรองรับผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ฯ
โดยรวมทุกขอ้ มคี า่ เฉล่ยี อย่ใู นระดับมากทีส่ ุด (X) เทา่ กบั ๔.๒๙

เมือ่ พิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ระดับความคดิ เห็นที่มีต่อการพฒั นามาตรฐานคุณภาพศูนย์
การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย เรียงตามลำดับได้ ดังนี้ มีความพร้อมด้านอาหาร
สำหรับผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ฯอย่างเพียงพอ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในลำดับสูงสุดเท่ากับ ๔.๒๙ รองลงมาได้แก่ มี
ความพร้อมในระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน เช่นถนน ไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์และอินเตอร์เน็ต อย่าง

137

เหมาะสมมีค่าเฉล่ียเทา่ กบั ๔.๒๘ ส่วนด้านท่มี ลี ำดับค่าเฉลีย่ ต่ำสุด ไดแ้ ก่ มีการเตรียมความพร้อมของ
บคุ คลากรในการรองรับผมู้ าเยย่ี มชมศนู ยอ์ ย่างเหมาะสม มคี ่าเฉลี่ยเท่ากับ ๔.๑๗

ตารางที่ ๔.๘ แสดงค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับความคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชม
ศูนยฯ์ ทมี่ ตี ่อการพัฒนามาตรฐานคณุ ภาพศนู ย์การเรยี นรูแ้ บบมีส่วนร่วมในการอนรุ ักษ์พันธุ์
กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี จำแนกเป็นรายด้าน “ด้านศักยภาพการให้บริการแก่ผู้มาเยี่ยม
ชมศนู ย์การเรียนรู้ฯ”

ศักยภาพการใหบ้ ริการแกผ่ มู้ าเยย่ี มชมศูนย์ฯ ค่าเฉล่ยี (X) ค่า S.D แปลผล
มากที่สุด
๑. มีเสน้ ทางการเดินทางเขา้ ถึงศนู ยฯ์ สะดวก(พิจารณา
มากทส่ี ุด
จากช่วงเวลาท่สี ามารถเขา้ ถงึ ศูนย์) และปลอดภัย ๔.๓๔ ๐.๗๙ มากทสี่ ุด
มากท่ีสดุ
๒. มคี วามพรอ้ มในระบบสาธารณปู โภคพน้ื ฐาน เชน่
ถนน ไฟฟ้า ประปา โทรศพั ท์และอินเตอร์เนต็ อยา่ ง
เหมาะสม

๔.๔๖ ๐.๖๙

๓. มคี วามพรอ้ มด้านอาหารสำหรบั ผู้มาเยีย่ มชมศูนยฯ์

อยา่ งเพยี งพอ ๔.๓๒ ๐.๗๒

๔. มกี ารเตรยี มความพรอ้ มของบุคคลากรในการรองรับ

ผู้มาเยี่ยมชมศูนย์อย่างเหมาะสม ๔.๒๙ ๐.๗๙

138

รวม ๔.๓๕ ๐.๕๘ มากที่สดุ

ผลการศึกษาตามตารางที่ ๔.๘ ระดับความคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ฯ ที่มีต่อการพัฒนา
ศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี พบว่า มีความคิดเห็นต่อ
การพัฒนามาตรฐานคุณภาพ ด้านศักยภาพการให้บริการแก่ผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ฯ โดยรวมทุกข้อมี
คา่ เฉลี่ยอยู่ในระดบั มากทส่ี ดุ (X) เท่ากับ ๔.๓๕

เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบวา่ ระดบั ความคดิ เห็นทม่ี ีต่อการพฒั นามาตรฐานคุณภาพศูนย์
การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย เรียงตามลำดับได้ ดังน้ี มีความพร้อมในระบบ
สาธารณูปโภคพื้นฐาน เช่นถนน ไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์และอินเตอร์เน็ต อย่างเหมาะสม มีค่าเฉล่ีย
อยู่ในลำดับสูงสุดเท่ากับ ๔.๔๖ รองลงมาได้แก่ มีเส้นทางการเดินทางเข้าถึงศูนย์ฯ สะดวก(พิจารณา
จากช่วงเวลาที่สามารถเข้าถึงศูนย์) และปลอดภัยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ๔.๓๔ ส่วนด้านที่มีลำดับค่าเฉลี่ย
ต่ำสุด ได้แก่ มีการเตรียมความพร้อมของบุคคลากรในการรองรับผู้มาเยี่ยมชมศูนย์อย่างเหมาะสม มี
คา่ เฉลีย่ เท่ากบั ๔.๒๙

ตารางที่ ๔.๙ แสดงค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับความคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชม
ศนู ยฯ์ ท่ีมตี ่อการพัฒนามาตรฐานคณุ ภาพศูนย์การเรียนรแู้ บบมีส่วนรว่ มในการอนรุ ักษ์พันธุ์
กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี จำแนกเป็นรายด้าน “ด้านศักยภาพในการดึงดูดผู้มาเยี่ยมชม
ศนู ยก์ ารเรียนรู้ฯ”

ศกั ยภาพในการดึงดดู ผู้มาเยย่ี มชมศูนย์ฯ ค่าเฉล่ยี (X) คา่ S.D แปลผล

๑. มคี วามโดดเด่นทางดา้ นเทคโนโลยีการเกษตรและ
องค์ความร้เู ฉพาะ เชน่ เปน็ ต้นแบบของการทำ
เกษตรกรรม มีการถา่ ยทอดความรู้ให้ผูม้ าเย่ยี มชม

๒. มีความโดดเด่นด้านเศรษฐกิจพอเพียงและภูมปิ ญั ญา ๔.๕๕ 139
ทอ้ งถน่ิ เชน่ การเกษตรทฤษฎใี หม่ เกษตรแบบ
ธรรมชาติ หรือเกษตรอนิ ทรีย์ การผลิตสารชีวภาพกำจดั ๔.๐๕ ๐.๖๙ มากทีส่ ดุ
ศัตรพู ืช ๓.๘๖
๓.๘๐ ๑.๐๓ มาก
๓. มีความโดดเด่นหลากหลายของผลิตภัณฑ์ทาง ๔.๐๗ ๑.๑๙ มาก
การเกษตร เพ่ือจำหน่ายสำหรับผ้มู าเยีย่ มชม ๑.๑๘ มาก
๐.๗๙ มาก
๔. มคี วามโดดเด่นและหลากหลายของกิจกรรมในศนู ย์
เช่น การอบ การนวดและประคบสมุนไพร การพายเรือฯ

รวม

ผลการศึกษาตามตารางที่ ๔.๙ ระดับความคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ฯ ที่มีต่อการพัฒนา
มาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธ์ุกล้วย จงั หวดั สุพรรณบรุ ี พบว่า มี
ความคิดเห็นต่อการพัฒนามาตรฐานคุณภาพ ด้านศักยภาพในการดึงดดู ผู้มาเยี่ยมชมศนู ย์การเรยี น
รู้ฯ โดยรวมทุกขอ้ มคี า่ เฉลยี่ อยใู่ นระดบั มาก (X) เทา่ กบั ๔.๐๗

เม่อื พจิ ารณาเป็นรายข้อ พบว่า ระดบั ความคดิ เห็นท่มี ีต่อการพฒั นามาตรฐานคุณภาพศูนย์
การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย เรียงตามลำดับได้ ดังนี้ มีความโดดเด่นทางด้าน
เทคโนโลยีการเกษตรและองค์ความรู้เฉพาะ เช่น เป็นต้นแบบของการทำเกษตรกรรม มีการถ่ายทอด
ความรู้ให้ผู้มาเย่ียมชม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในลำดับสูงสุดเท่ากับ ๔.๕๕ รองลงมาได้แก่ มีความโดดเด่นด้าน
เศรษฐกิจพอเพยี งและภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ เช่น การเกษตรทฤษฎใี หม่ เกษตรแบบธรรมชาติ หรอื เกษตร
อินทรีย์ การผลิตสารชีวภาพกำจัดศัตรูพืช มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ๔.๐๕ ส่วนด้านที่มีลำดับค่าเฉลี่ยต่ำสุด
ได้แก่ มีความโดดเด่นและหลากหลายของกิจกรรมในศนู ย์ เช่น การอบ การนวดและประคบสมุนไพร
การพายเรอื ฯลฯ มคี า่ เฉล่ียเทา่ กบั ๓.๘๐
ส่วนที่ ๓ การวิเคราะหร์ ะดับความคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ ทางการตลาดด้านบริการ ในการ

พัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย
จังหวัดสพุ รรณบุรี

140

ตารางที่ ๔.๑๐ แสดงค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความคิดเห็นที่มีต่อกล
ยุทธ์ทางการตลาดด้านการบริการ ในการพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมใน
การอนุรกั ษ์พันธ์กุ ลว้ ย จังหวัดสพุ รรณบุรี ในภาพรวม

กลยุทธก์ ารตลาดด้านบรกิ ารในการพฒั นาศนู ย์ ฯ ค่าเฉลย่ี (X) คา่ S.D แปลผล

๑. ด้านผลติ ภัณฑ์ ณ ศนู ย์การเรียนรู้ฯ ๔.๒๕ ๐.๔๑ มากที่สุด

๒. ดา้ นราคา ณ ศนู ย์การเรียนรู้ฯ ๔.๒๙ ๐.๔๗ มากท่สี ุด

๓. ด้านชอ่ งทางให้บรกิ าร ณ ศนู ย์การเรียนรฯู้ ๔.๒๐ ๐.๖๔ มาก

๔. ดา้ นการส่งเสรมิ การตลาด ณ ศนู ย์การเรียนรู้ฯ ๔.๑๑ ๐.๗๙ มาก

๕. ดา้ นเจา้ หน้าทผี่ ู้ให้บรกิ าร ณ ศูนย์การเรียนรู้ฯ ๔.๓๐ ๐.๕๓ มากทส่ี ุด

๖. ด้านภาพลกั ษณ์และการนำเสนอลกั ษณะ ณ ศูนย์ฯ ๔.๓๕ ๐.๕๑ มากท่สี ุด

๗. ด้านกระบวนการใหบ้ ริการ ณ ศูนย์การเรียนร้ฯู ๔.๓๒ ๐.๕๙ มากที่สุด

รวมเฉลี่ย ๔.๒๕ ๐.๔๑ มากทส่ี ดุ

ผลการศึกษาตามตารางท่ี ๔.๑๐ ระดบั ความคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ฯ ท่ีมีต่อกลยุทธ์ทาง
การตลาดด้านการบริการ ในการพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการ
อนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี พบว่า มีความคิดเห็นโดยรวมทั้ง ๗ ด้าน มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดบั
มากท่ีสดุ (X) เทา่ กับ ๔.๒๕

เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ระดับความคิดเห็นที่มีต่อกลยุทธ์ทางการตลาดด้านการ
บริการ ในการพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย เรียง
ตามลำดับได้ ดังนี้ การพัฒนาด้านภาพลักษณ์และการนำเสนอลักษณะ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในลำดับสูงสุด
เท่ากับ ๔.๓๕ รองลงมา การพัฒนาด้านกระบวนการให้บริการ ณ ศูนย์การเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ
๔.๓๒ ส่วนด้านที่มลี ำดบั คา่ เฉล่ยี ต่ำสดุ ได้แก่ การพฒั นาด้านการสง่ เสรมิ การตลาด ณ ศนู ย์การเรียนรู้
ฯ มคี า่ เฉลี่ยเท่ากับ ๔.๑๑

141

142

ตารางที่ ๔.๑๑ แสดงค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับความคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชม
ศนู ยฯ์ ทมี่ ตี ่อกลยทุ ธ์ทางการตลาดดา้ นการบรกิ าร ในการพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การ
เรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี จำแนกเป็นรายด้าน
“การพัฒนาดา้ นผลติ ภณั ฑ์ ณ ศูนยก์ ารเรียนรู้ฯ”

การพฒั นาดา้ นผลติ ภณั ฑ์ ณ ศนู ย์การเรยี นรู้ฯ ค่าเฉล่ีย (X) คา่ S.D แปลผล
มากที่สุด
๑. มีผลติ ภัณฑท์ างการเกษตรมีความหลากหลาย มีให้
มาก
เลือกซ้ือ เลือกชม ๔.๒๑ ๐.๗๑ มากที่สดุ
มากทีส่ ุด
๒. มผี ลิตภัณฑจ์ ากผลผลิตจากการเกษตรมีคณุ ภาพตรง มากท่ีสดุ

กบั ความจำเปน็ ในการดำรงชีพ ๔.๑๒ ๐.๖๖

๓. มีผลิตภัณฑม์ คี วามหลากหลายใหเ้ ลือกซ้ืออย่าง ๔.๒๖ ๐.๕๕
เพยี งพอ

๔. มผี ลติ ภณั ฑจ์ ากผลผลติ จากการเกษตรมีมาตรฐาน ๔.๔๐ ๐.๖๑
คณุ ภาพ นา่ เชอ่ื ถือ

รวม ๔.๒๕ ๐.๔๑

ผลการศึกษาตามตารางที่ ๔.๑๑ ระดับความคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ที่มีต่อกลยุทธ์ทาง
การตลาดด้านการบริการ การพัฒนาด้านผลิตภัณฑ์ ณ ศูนย์การเรียนรู้ฯ”พบว่า โดยรวมทุกข้อมี
คา่ เฉลี่ยอยใู่ นระดับมากมากทีส่ ดุ (X) เทา่ กับ ๔.๒๕

เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ระดับความคิดเห็นที่มีต่อกลยุทธ์การตลาดด้านการบรกิ าร

การพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย เรียงตามลำดับ

ได้ ดังนี้ ผลิตภัณฑ์จากผลผลิตจากการเกษตรมีมาตรฐานคุณภาพ น่าเชื่อถือ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในลำดับ

สูงสดุ เทา่ กับ ๔.๔๐ รองลงมาได้แก่ ผลิตภัณฑ์มีความหลากหลายให้เลือกซื้ออยา่ งเพียงพอ มีค่าเฉลี่ย

143

เท่ากับ ๔.๒๖ ส่วนด้านที่มีลำดับค่าเฉลีย่ ต่ำสุด ได้แก่ ผลิตภัณฑ์จากผลผลิตจากการเกษตรมคี ุณภาพ
ตรงกับความจำเป็นในการดำรงชพี มคี า่ เฉล่ยี เท่ากบั ๔.๑๒

ตารางที่ ๔.๑๒ แสดงค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับความคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชม
ศูนย์ฯ ทม่ี ีตอ่ กลยทุ ธ์ทางการตลาดด้านการบริการ ในการพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การ
เรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี จำแนกเป็นรายด้าน
“การพฒั นาดา้ นราคา ณ ศูนย์การเรียนรู้ ฯ”

การพฒั นาด้านราคา ณ ศนู ยก์ ารเรียนรู้ฯ คา่ เฉล่ีย (X) ค่า S.D แปลผล

๑. ราคาคา่ สินค้ามีความเหมาะสมไม่สงู มากเมื่อเทยี บกับ ๔.๔๒ ๐.๖๗ มากท่สี ดุ
ผลิตภณั ฑช์ นิดเดยี วกนั ตามท้องตลาด
มากทส่ี ุด
๒. มอี าหารเคร่ืองดม่ื ให้บริการพอเพียงและมรี าคาท่ี ๔.๒๘ ๐.๖๘
เหมาะสม มากทสี่ ุด
มาก
๓. มีปา้ ยแสดงราคาสนิ ค้าของที่ระลึกทช่ี ดั เจนและมี ๔.๒๙ ๐.๖๔
ราคาทเ่ี หมาะสม มากทส่ี ุด

๔. มคี วามคุ้มคา่ กบั การเขา้ เย่ียมชมศนู ยฯ์ ในครัง้ นี้ ๔.๑๗ ๐.๗๐

รวม ๔.๒๙ ๐.๔๗

144

ผลการศึกษาตามตารางที่ ๔.๑๒ ระดับความคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ที่มีต่อกลยุทธ์ทาง
การตลาดดา้ นการบริการ การพัฒนาดา้ นราคา ณ ศนู ย์การเรยี นรู้ฯ”พบว่า โดยรวมทุกข้อมีค่าเฉลี่ย
อยู่ในระดับมากที่สุด (X) เท่ากับ ๔.๒๙

เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ระดับความคิดเห็นที่มีต่อกลยุทธ์การตลาดด้านการบรกิ าร
การพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย เรียงตามลำดับ
ได้ ดังน้ี ราคาค่าสินค้ามีความเหมาะสมไม่สงู มากเมื่อเทียบกับผลติ ภัณฑช์ นิดเดยี วกันตามท้องตลาดมี
ค่าเฉลี่ยอยู่ในลำดับสูงสุดเท่ากับ ๔.๔๒ รองลงมาได้แก่ มีป้ายแสดงราคาสินค้าของที่ระลึกที่ชัดเจน
และมีราคาที่เหมาะสมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ๔.๒๙ ส่วนด้านที่มีลำดับค่าเฉลี่ยต่ำสุด ได้แก่ มีความคุ้มค่า
กับการเข้าเยีย่ มชมศูนย์ฯในคร้งั นี้มคี ่าเฉล่ียเท่ากบั ๔.๑๗

ตารางที่ ๔.๑๓ แสดงค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับความคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชม
ศนู ย์ฯ ทม่ี ีต่อกลยทุ ธท์ างการตลาดด้านการบรกิ าร ในการพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การ
เรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี จำแนกเป็นรายด้าน
“การพัฒนาด้านชอ่ งทางใหบ้ ริการ ณ ศนู ยก์ ารเรียนรู้ฯ”

ดา้ นการพฒั นาดา้ นช่องทางให้บริการ ณ ศนู ย์การ ค่าเฉลยี่ (X) ค่า S.D แปลผล
เรยี นรฯู้ มากทส่ี ุด

๑. มกี ารใหบ้ ริการเข้าชมสถานท่ีอยา่ งเหมาะสม ๔.๔๗ ๐.๖๘

๒. มีการบริการข้อมูลดา้ นวิชาการการอนุรักษพ์ นั ธ์ุ
กลว้ ยใหเ้ กดิ การเรียนรู้อย่างเพียงพอ

๓. มีความสะดวกหลายช่องทางในการเข้าถึง ๔.๓๘ 145
แหลง่ ข้อมูลเกยี่ วกับการเรยี นรฯู้ ผ่านเว็บไซด์ เปน็ ตน้
๓.๙๗ ๐.๖๖ มากที่สดุ
๔. ทีต่ ้งั ของศูนยฯ์ ตง้ั อย่ใู นทำเลที่หางา่ ย เดินทางสะดวก ๔.๐๑
รวม ๔.๒๐ ๑.๒๘ มาก
๑.๑๑ มาก
๐.๖๔ มาก

ผลการศึกษาตามตารางที่ ๔.๑๓ ระดับความคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ที่มีต่อกลยุทธ์ทาง
การตลาดดา้ นการบริการ การพฒั นาด้านชอ่ งทางให้บริการ ณ ศนู ย์การเรียนรู้ฯ”พบว่า โดยรวมทุก
ขอ้ มีค่าเฉลย่ี อยู่ในระดบั มาก (X) เทา่ กบั ๔.๒๐

เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ระดับความคิดเห็นที่มีต่อกลยุทธ์การตลาดด้านการบรกิ าร
การพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย เรียงตามลำดับ

ได้ ดังนี้ มีการให้บริการเข้าชมสถานที่อย่างเหมาะสมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในลำดับสูงสุดเท่ากับ ๔.๔๗

รองลงมาได้แก่ มีการบริการข้อมูลด้านวิชาการการอนุรักษ์พันธ์ุกล้วยให้เกิดการเรียนรู้อย่างเพียงพอ

มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ๔.๓๘ ส่วนด้านที่มีลำดับค่าเฉลี่ยต่ำสุด ได้แก่ มีความสะดวกหลายช่องทางในการ

เขา้ ถึงแหลง่ ขอ้ มลู เกีย่ วกับการเรยี นรู้ฯ ผา่ นเวบ็ ไซด์ เป็นต้น มีค่าเฉลีย่ เทา่ กับ ๓.๙๗

ตารางที่ ๔.๑๔ แสดงค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับความคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชม
ศนู ย์ฯ ท่มี ีตอ่ กลยทุ ธ์ทางการตลาดด้านการบรกิ าร ในการพัฒนามาตรฐานคณุ ภาพศูนย์การ

146

เรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี จำแนกเป็นรายด้าน
“การพัฒนาด้านการสง่ เสริมการตลาด ณ ศนู ย์การเรียนรู้ฯ”

การพฒั นาดา้ นการส่งเสริมการตลาด ณ ศนู ยก์ าร ค่าเฉลี่ย (X) ค่า S.D แปลผล
เรยี นรู้
มาก
๑. มกี ารประชาสมั พันธ์ถึงผลติ ภณั ฑ์ /ศูนยอ์ นุรักษ์พนั ธ์ุ ๓.๘๔ ๑.๑๑ มาก
กล้วย
มาก
๒. มีการประชาสมั พันธ์เสน้ ทางดว้ ยภาษาทห่ี ลากหลาย มากทส่ี ุด

เข้าใจง่าย และนา่ สนใจ ๔.๐๙ ๑.๐๑ มาก

๓. มกี ารแนะนำศูนย์ ฯ ผ่านส่ือตา่ ง ๆ เช่น อินเตอร์เนต็
แผ่นพับ หนงั สอื นำเท่ียว โทรทศั น์ วทิ ยุ ด้วยภาษาท่ี
หลากหลาย

๓.๙๐ ๑.๑๔

๔. มกี ารแนะนำข้อมลู ขา่ วสารผ่านนิทรรศการ หรอื การ

จดั กิจกรรมตา่ ง ๆ ในสถานที่อืน่ ๆ ๔.๕๙ ๐.๖๕

รวม ๔.๑๑ ๐.๙๗

ผลการศึกษาตามตารางที่ ๔.๑๔ ระดับความคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ที่มีต่อกลยุทธ์ทาง
การตลาดด้านการบริการ การพัฒนาด้านการส่งเสรมิ การตลาด ณ ศนู ย์การเรยี นรู้ฯ”พบวา่ โดยรวม
ทุกขอ้ มีคา่ เฉลย่ี อย่ใู นระดับมาก (X) เทา่ กบั ๔.๑๑

เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ระดับความคิดเห็นที่มีต่อกลยุทธ์การตลาดด้านการบรกิ าร

การพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย เรียงตามลำดับ

ได้ ดังนี้ มีการแนะนำข้อมูลข่าวสารผ่านนิทรรศการ หรือการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ในสถานที่อื่น ๆ มี

ค่าเฉลี่ยอยู่ในลำดับสูงสุดเท่ากับ ๔.๕๙ รองลงมาได้แก่ มีการประชาสัมพันธ์เส้นทางด้วยภาษาท่ี

147

หลากหลาย เข้าใจง่าย และน่าสนใจมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ๔.๐๙ สว่ นด้านท่มี ีลำดับค่าเฉล่ียตำ่ สุด ได้แก่ มี
การประชาสมั พนั ธถ์ งึ ผลิตภณั ฑ์ /ศูนยอ์ นรุ ักษพ์ ันธ์กุ ล้วยมคี า่ เฉลีย่ เท่ากับ ๓.๘๔

148

ตารางที่ ๔.๑๕ แสดงค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับความคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชม
ศนู ย์ฯ ท่ีมีตอ่ กลยทุ ธ์ทางการตลาดด้านการบริการ ในการพัฒนามาตรฐานคณุ ภาพศูนย์การ
เรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี จำแนกเป็นรายด้าน
“การพัฒนาดา้ นเจา้ หนา้ ที่ผู้ให้บริการ ณ ศูนยก์ ารเรียนรู้ฯ”

การพัฒนาดา้ นเจา้ หน้าท่ีผใู้ หบ้ ริการ ณ ศูนย์การ ค่าเฉลี่ย (X) ค่า S.D แปลผล
เรยี นรฯู้
มากท่ีสุด
๑. มเี จา้ หน้าท่ีใหค้ ำแนะนำ/ให้ขอ้ มูลด้านการอนุรกั ษ์ ๔.๓๒ ๐.๗๖ มากทส่ี ุด
พนั ธ์กุ ล้วยทุกมิติ มากทส่ี ดุ
มากทส่ี ดุ
๒. มเี จา้ หนา้ ท่ีใหบ้ ริการดว้ ยความสุภาพ/มคี วามเปน็ ๔.๒๕ ๐.๗๗ มากที่สุด
กัลยาณมิตร

๓. มเี จา้ หน้าที่มีความรู้ความสามารถในการตอบข้อ ๔.๒๔ ๐.๗๖
ซกั ถามและให้ข้อมลู

๔. เจา้ หนา้ ท่มี มี นุษยส์ ัมพันธ์กบั ผู้มาเยี่ยมชมศนู ยฯ์ เป็น
อยา่ งดี ๔.๓๙ ๐.๖๔

รวม ๔.๓๐ ๐.๕๓

ผลการศึกษาตามตารางที่ ๔.๑๕ ระดับความคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ที่มีต่อกลยุทธ์ทาง
การตลาดดา้ นการบริการ การพัฒนาด้านเจ้าหน้าท่ีผใู้ ห้บริการ ณ ศนู ยก์ ารเรยี นรู้ฯ”พบวา่ โดยรวม
ทุกข้อมีคา่ เฉลย่ี อยู่ในระดบั มากทส่ี ดุ (X) เทา่ กับ ๔.๓๐

เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ระดับความคิดเห็นที่มีต่อกลยุทธ์การตลาดด้านการบรกิ าร

การพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย เรียงตามลำดับ

ได้ ดังนี้ เจ้าหน้าทม่ี มี นษุ ยส์ มั พันธก์ ับผู้มาเย่ียมชมศูนย์ฯเป็นอยา่ งดีมีค่าเฉล่ียอยู่ในลำดับสูงสุดเท่ากับ

๔.๓๙ รองลงมาได้แก่ มีเจ้าหน้าที่ให้คำแนะนำ/ให้ข้อมูลด้านการอนุรักษ์พันธุ์กล้วยทุกมิติมีค่าเฉลี่ย

149

เท่ากบั ๔.๓๒ สว่ นดา้ นทมี่ ลี ำดับค่าเฉลี่ยต่ำสุด ได้แก่ มีเจา้ หน้าท่มี คี วามรู้ความสามารถในการตอบข้อ
ซกั ถามและให้ขอ้ มูลมคี า่ เฉลย่ี เท่ากบั ๔.๒๔

150

ตารางที่ ๔.๑๖ แสดงค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับความคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชม
ศนู ยฯ์ ท่ีมีตอ่ กลยทุ ธท์ างการตลาดด้านการบริการ ในการพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การ
เรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย จังหวัดสุพรรณบุรี จำแนกเป็นรายด้าน
“การพฒั นาดา้ นภาพลักษณ์และการนำเสนอลกั ษณะ ณ ศูนย์การเรยี นรู้ ฯ”

การพัฒนาด้านภาพลกั ษณแ์ ละการนำเสนอลกั ษณะ ค่าเฉลี่ย (X) ค่า S.D แปลผล
ณ ศนู ยก์ ารเรียนรู้ฯ
มากที่สุด
๑. มคี วามโดดเดน่ เป็นแหล่งเรียนรแู้ ละการอนุรักษ์พนั ธ์ุ ๔.๔๖ ๐.๖๔ มากทส่ี ดุ
กล้วย
มากทสี่ ุด
๒. มีความสะอาดเหมาะสมกับการเป็นศนู ย์เรยี นรู้ ฯ ๔.๓๖ ๐.๖๖ มากทสี่ ุด
มากทีส่ ดุ
๓. มีส่ิงอำนวยความสะดวกที่ครบถ้วนสมบูรณ์ และ
เพียงพอต่อความต้องการ เชน่ ท่ีนั่งพัก ที่จอดรถ
ห้องน้ำ ถงั รองรับขยะ

๔.๒๔ ๐.๗๗

๔. มสี ภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสม ไม่รกรุงรัง ไม่มีส่งิ ๔.๓๕ ๐.๖๘
อันตรายในศูนย์การเรยี นรู้ฯ

รวม ๔.๓๕ ๐.๔๘

ผลการศึกษาตามตารางที่ ๔.๑๖ ระดับความคิดเห็นของผู้มาเยี่ยมชมศูนย์ที่มีต่อกลยุทธ์ทาง
การตลาดด้านการบริการ การพัฒนาด้านภาพลักษณ์และการนำเสนอลักษณะ ณ ศูนย์การเรียน
รู้ฯ”พบวา่ โดยรวมทกุ ข้อมคี ่าเฉลี่ยอยใู่ นระดบั มากทส่ี ดุ (X) เท่ากับ ๔.๓๕

เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ระดับความคิดเห็นที่มีต่อกลยุทธ์การตลาดด้านการบรกิ าร

การพัฒนามาตรฐานคุณภาพศูนย์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พันธุ์กล้วย เรียงตามลำดับ

ได้ ดังนี้ มีความโดดเด่นเปน็ แหล่งเรียนรู้และการอนุรกั ษ์พนั ธก์ุ ล้วย มคี า่ เฉลี่ยอยใู่ นลำดับสูงสุดเท่ากับ

๔.๔๖ รองลงมาได้แก่ มีความสะอาดเหมาะสมกับการเป็นศูนย์ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ๔.๓๖ ส่วนด้านท่ีมี


Click to View FlipBook Version