The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การบช.ชั้นกลาง2-สอน2.64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นางนภลดา อินภูษา, 2021-10-31 09:02:19

การบช.ชั้นกลาง2-สอน2.64

การบช.ชั้นกลาง2-สอน2.64

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 8 การเปล่ยี นแปลงในสว่ นของผ้ถู ือหุน้ 488

สมุดรายวนั ท่ัวไป หนา้ 2
รายการ
พ.ศ. เลขท่ี เดบติ เครดติ
เดือน วนั
บญั ชี บาท สต. บาท สต.

2. วนั ที่ 1 กุมภาพนั ธ์ 2557 บรษิ ัท รุ่งทรัพย์ จากัด (มหาชน) ออกจาหนา่ ยหุ้นสามัญ จานวน 5,000 หุ้น
มลู คา่ หนุ้ ละ 100 บาท ในราคาหนุ้ ละ 115 บาท และขายสินค้าเป็นเงนิ เชื่อใหบ้ รษิ ทั รวมสุข จากดั

52,500 บาท ตอ่ มาวนั ที่ 1 มีนาคม 2557 บรษิ ัท รวมสุข จากดั ชาระหน้ีเป็นห้นุ สามญั ของบรษิ ทั
จานวน 500 หนุ้ หุ้นสามัญมมี ลู คา่ ยุติธรรมหุ้นละ 105 บาท และบริษทั จาหนา่ ยหุ้นท่ีได้รบั คืนท้ังหมด
ในวนั ที่ 1 เมษายน 2557 ราคาหุน้ ละ 80 บาท

ใหท้ า บนั ทึกรายการในสมุดรายวนั ทวั่ ไป ในแตล่ ะกรณีดงั นี้
กรณที ี่ 1 วธิ ีราคาทุน
กรณที ่ี 2 วิธรี าคาตามมูลค่า

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 8 การเปลี่ยนแปลงในส่วนของผถู้ ือหนุ้ 489

กรณที ่ี 1 วิธีราคาทุน สมุดรายวนั ทวั่ ไป หน้า 1
รายการ
พ.ศ. เลขท่ี เดบิต เครดิต
เดือน วนั
บัญชี บาท สต. บาท สต.

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 8 การเปลีย่ นแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น 490

กรณที ี่ 2 วิธีราคาตามมูลคา่

สมุดรายวันทัว่ ไป หน้า 1

พ.ศ. รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต
เดือน วัน
บญั ชี บาท สต. บาท สต.

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 8 การเปลย่ี นแปลงในส่วนของผถู้ ือหุน้ 491

5. การไถค่ นื หนุ้ บรุ มิ สทิ ธิ

โดยปกติหุ้นบุริมสิทธิจะมีข้อกาหนดเกี่ยวกับสิทธิการไถ่คืนไว้ คือ หุ้นบุริมสิทธิท่ีบริษัทมีสิทธิ
เรียกมาไถ่คืน และหุ้นบุริมสิทธิท่ีให้สิทธิแก่ผู้ถือหุ้นท่ีจะนามาไถ่คืน (Redeemable Preferred Stock)
ภายใต้เงื่อนไขและราคาไถ่คืน โดยปกติราคาไถ่คืนจะสูงกว่าราคาที่ออกจาหน่ายคร้ังแรก และ
ถ้าหนุ้ บรุ ิมสิทธิเป็นชนิดสะสมแลว้ บริษัทจะต้องมกี ารจ่ายเงนิ ปันผลคงค้างก่อนการไถค่ ืนห้นุ บุริมสิทธิน้ัน

การบันทึกบัญชีเม่ือมีการไถ่คืนหุ้นบุริมสิทธิ จะปิดบัญชีหุ้นบุริมสิทธิ และบัญชีส่วนเกินมูลค่า
หรือส่วนต่ากวา่ มลู คา่ หุ้นบรุ ิมสทิ ธิตามสดั สว่ นของจานวนหุน้ บรุ มิ สทิ ธทิ ไ่ี ถค่ นื ผลต่างระหว่างราคาไถค่ ืนกับ
ราคาท่ีออกจาหน่ายครั้งแรก จะไม่ถือเป็นรายการกาไรหรือขาดทุน ถ้าผลต่างอยู่ด้านเดบิตให้ลดยอด
บญั ชกี าไรสะสม ดงั น้ี

เดบติ ห้นุ บรุ มิ สิทธิ ××
สว่ นเกนิ มลู ค่าหุน้ บุรมิ สทิ ธิ ××

กาไรสะสม ××
เครดติ เงินสด ××

ถ้าผลตา่ งอยูด่ า้ นเครดิตใหบ้ นั ทกึ บัญชสี ่วนเกินทุนจากการไถ่คนื หนุ้ บุรมิ สทิ ธิ ดังนี้

เดบิต หุน้ บรุ มิ สทิ ธิ ××
ส่วนเกนิ มลู คา่ หุน้ บรุ มิ สทิ ธิ ××
เครดิต เงนิ สด ××

สว่ นเกินทุนจากการไถ่คืนหุ้นบุริมสทิ ธิ ××

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 8 การเปลย่ี นแปลงในส่วนของผถู้ ือหนุ้ 492

ตัวอย่างท่ี 8.12 วันท่ี 1 มกราคม 2557 บริษัท รวมทรัพย์ จากัด จาหน่ายหุ้นบุริมสิทธิ 10%

ชนิดไมส่ ะสมเงินปนั ผลและสามารถไถ่คืนได้ 10,000 หนุ้ มูลค่าหนุ้ ละ 100 บาท ในราคาหุ้นละ 120 บาท

ต่อมาวันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทขอไถ่คืนหุ้นบุริมสิทธิ ในราคาหุ้นละ 130 บาท ปีน้ีบริษัท

ไมป่ ระกาศจ่ายเงินปนั ผล

การบันทกึ บัญชี

สมุดรายวนั ท่ัวไป หนา้ 1

พ.ศ. 2557 รายการ เลขท่ี เดบิต เครดิต
เดอื น วนั
บัญชี บาท สต. บาท สต.

ม.ค. 1 เงนิ สด (10,000 x 120) 1,200,000 -

หุ้นบุริมสิทธิ (10,000 x 100) 1,000,000 -

สว่ นเกนิ มลู คา่ หุน้ บุรมิ สทิ ธิ 200,000

จาหนา่ ยหนุ้ บรุ ิมสทิ ธิ 10%

ชนิดไม่สะสมเงินปนั ผลและ

สามารถไถ่คืนได้ 10,000 หุ้น

ราคาหนุ้ ละ 120 บาท

ธ.ค. 31 หนุ้ บรุ ิมสทิ ธิ (10,000 x 100) 1,000,000 -

ส่วนเกินมลู คา่ หุ้นบรุ มิ สทิ ธิ 200,000 -

กาไรสะสม 100,000 -

เงินสด (10,000 x 130) 1,300,000 -

บันทกึ การไถค่ ืนหนุ้ บรุ มิ สทิ ธิ

10,000 ห้นุ ราคาหุ้นละ 130 บาท

ถ้าวนั ที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษทั ขอไถ่คืนหุ้นบุริมสิทธิ ในราคาหนุ้ ละ 110 บาท

การบันทกึ บญั ชี

สมดุ รายวันทั่วไป หนา้ 1

พ.ศ. 2557 รายการ เลขที่ เดบิต เครดติ
เดอื น วัน
บญั ชี บาท สต. บาท สต.

ธ.ค. 31 หนุ้ บรุ ิมสทิ ธิ (10,000 x 100) 1,000,000 -

สว่ นเกนิ มลู คา่ หนุ้ บุรมิ สทิ ธิ 200,000 -

เงินสด (10,000 x 110) 1,100,000 -

สว่ นเกินทุนจากการไถ่คนื - 100,000 -

หุ้นบรุ ิมสิทธิ

บันทึกการไถค่ นื หุน้ บรุ ิมสทิ ธิ

10,000 หนุ้ ราคาหุ้นละ 110 บาท

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 8 การเปลี่ยนแปลงในสว่ นของผู้ถือหนุ้ 493

ตวั อย่างท่ี 8.13 วันท่ี 31 มกราคม 2557 บริษัท พรเทพ จากดั (มหาชน) มหี ุ้นบุรมิ สทิ ธชิ นดิ ไถ่คืน
จานวน 50,000 หุ้น มลู ค่าหนุ้ ละ 10 บาท ส่วนเกินมลู คา่ หุ้นบุรมิ สทิ ธิ 150,000 บาท
บญั ชีกาไรสะสมมยี อดคงเหลอื 90,000 บาท บรษิ ัทเรียกหนุ้ บรุ มิ สิทธิมาไถค่ นื จานวน 20,000 หุ้น

ภายใตเ้ ง่อื นไขดังตอ่ ไปน้ี
กรณที ี่ 1 หนุ้ บุรมิ สิทธชิ นิดไม่สะสม เรยี กไถค่ นื ในราคาหุน้ ละ 13 บาท
กรณที ่ี 2 หุน้ บรุ มิ สิทธชิ นดิ มส่ ะสม เรียกไถ่คนื ในราคาหนุ้ ละ 15 บาท

กรณีที่ 3 หนุ้ บุรมิ สทิ ธชิ นดิ 10% ชนดิ สะสม เงินปนั ผลคงค้าง 2 ปี เรียกไถค่ ืนในราคาหุ้นละ 12 บาท

กรณที ่ี 1 หนุ้ บุรมิ สทิ ธชิ นดิ ไม่สะสม เรยี กไถค่ นื ในราคาหุ้นละ 13 บาท

สมุดรายวันทั่วไป หน้า 1
เครดติ
พ.ศ. 2557 รายการ เลขท่ี เดบิต บาท สต.
เดือน วัน บญั ชี บาท สต.
260,000 -
ม.ค. 31 หุ้นบรุ มิ สทิ ธิ (20,000 x 10) 200,000 -

สว่ นเกินมลู ค่าหุ้นบรุ มิ สทิ ธิ 60,000 -

เงนิ สด (20,000 x 13)

บนั ทึกการไถ่คืนห้นุ บรุ ิมสทิ ธิ

20,000 หุ้น ราคาหนุ้ ละ 13 บาท

กรณที ี่ 2 หุ้นบรุ มิ สิทธชิ นิดมส่ ะสม เรยี กไถ่คืนในราคาห้นุ ละ 15 บาท

สมุดรายวนั ทั่วไป หน้า 1
เครดติ
พ.ศ. 2557 รายการ เลขที่ เดบิต บาท สต.
เดอื น วัน บญั ชี บาท สต.
300,000 -
ม.ค. 31 หนุ้ บรุ ิมสทิ ธิ (20,000 x 10) 200,000 -

สว่ นเกินมลู ค่าหนุ้ บรุ มิ สทิ ธิ 60,000 -

กาไรสะสม 40,000

เงนิ สด (20,000 x 15)

บนั ทึกการไถค่ นื หนุ้ บรุ มิ สิทธิ

20,000 หุน้ ราคาหุน้ ละ 15 บาท

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 8 การเปลีย่ นแปลงในส่วนของผถู้ ือหุ้น 494

กรณที ี่ 3 หุน้ บุริมสทิ ธิชนิด 10% ชนดิ สะสม เงนิ ปันผลคงค้าง 2 ปี เรยี กไถ่คืนในราคาหนุ้ ละ 12 บาท

สมุดรายวนั ทว่ั ไป หน้า 1

พ.ศ. 2557 รายการ เลขท่ี เดบติ เครดติ
เดอื น วัน
บญั ชี บาท สต. บาท สต.

ม.ค. 31 กาไรสะสม 40,000

เงินสด (20,000 x 10 × 10%) 40,000 -

บันทกึ จ่ายเงินปันผลคงคา้ ง 2 ปี

ห้นุ บรุ ิมสทิ ธิ (20,000 x 10) 200,000 -

สว่ นเกนิ มลู ค่าหนุ้ บรุ มิ สทิ ธิ 60,000 -

เงนิ สด (20,000 x 12) 240,000 -

ส่วนเกินทุนจากการไถ่คนื -

ห้นุ บรุ ิมสทิ ธิ 20,000 -

บนั ทึกการไถ่คืนหุ้นบรุ มิ สิทธิ

20,000 หนุ้ ราคาหุ้นละ 12 บาท

แบบฝึกหดั ที่ 8.9

จงปฏิบตั ิกจิ กรรมตามทีโ่ จทย์กาหนด (10 คะแนน)
1. วันท่ี 1 มกราคม 2557 บริษัท เพ่มิ ทรพั ย์ จากดั (มหาชน) จาหนา่ ยหุ้นบรุ มิ สิทธิ 5% ชนดิ ไม่สะสม

เงินปนั ผลและไถค่ ืนได้ 5,000 หนุ้ มลู ค่าหุน้ ละ 50 บาท ในราคาหนุ้ ละ 60 บาท
ในปีน้บี รษิ ทั ไมป่ ระกาศจา่ ยเงินปันผล บริษทั ขอไถค่ นื หุ้นบรุ มิ สทิ ธิ ในวันท่ี 31 ธนั วาคม 2557
ให้ทา บนั ทึกรายการในสมดุ รายวันทัว่ ไป ในแต่ละกรณดี งั น้ี

กรณที ่ี 1 บรษิ ัทขอไถค่ นื หุ้นบุริมสทิ ธใิ นราคาหนุ้ ละ 70 บาท
กรณที ี่ 2 บริษัทขอไถ่คืนหนุ้ บุรมิ สิทธิในราคาหุน้ ละ 55 บาท

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 8 การเปลย่ี นแปลงในส่วนของผถู้ ือหุ้น 495

กรณที ่ี 1 บริษัทขอไถค่ ืนหุ้นบุริมสทิ ธิในราคาห้นุ ละ 70 บาท

สมุดรายวนั ท่วั ไป หนา้ 1

พ.ศ. รายการ เลขที่ เดบติ เครดิต
เดอื น วัน บัญชี บาท สต. บาท สต.

กรณที ่ี 2 บรษิ ัทขอไถค่ นื หุ้นบรุ มิ สิทธใิ นราคาหนุ้ ละ 55 บาท

สมุดรายวนั ท่ัวไป หน้า 1

พ.ศ. รายการ เลขที่ เดบติ เครดิต
เดือน วัน บัญชี บาท สต. บาท สต.

หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 8 การเปล่ยี นแปลงในสว่ นของผ้ถู ือหนุ้ 496

2. วนั ท่ี 1 มนี าคม 2557 บริษัท พิมพพ์ ร จากัด (มหาชน) ออกจาหนา่ ยหนุ้ บรุ มิ สิทธิเรยี กมาไถค่ นื ได้
จานวน 2,000 หนุ้ มลู ค่าหุ้นละ 100 บาท จาหนา่ ยในราคาหนุ้ ละ 110 บาท
บญั ชีกาไรสะสมมียอดคงเหลอื 100,000 บาท บรษิ ทั เรยี กหนุ้ บรุ มิ สทิ ธมิ าไถ่คนื จานวน 2,000 หนุ้

ให้ทา บนั ทึกรายการในสมุดรายวนั ทวั่ ไป ในแตล่ ะกรณี
กรณีที่ 1 หนุ้ บุริมสทิ ธชิ นิดไม่สะสม เรียกไถ่คนื ในราคาหนุ้ ละ 110 บาท
กรณีท่ี 2 หุ้นบุริมสิทธชิ นิดม่สะสม เรยี กไถค่ นื ในราคาหุ้นละ 115 บาท

กรณีที่ 3 หุ้นบุริมสทิ ธิชนิดสะสม 8% มเี งนิ ปันผลคงคา้ ง 3 ปี เรยี กไถ่คืนในราคาหุ้นละ 106 บาท

กรณีที่ 1 ห้นุ บุรมิ สทิ ธิชนดิ ไมส่ ะสม เรยี กไถ่คนื ในราคาหนุ้ ละ 110 บาท

สมุดรายวันทวั่ ไป หน้า 1

พ.ศ. รายการ เลขท่ี เดบิต สต. เครดิต
เดือน วนั บัญชี บาท บาท สต.

กรณีที่ 2 หุ้นบรุ มิ สิทธิชนิดม่สะสม เรียกไถค่ ืนในราคาหนุ้ ละ 115 บาท

สมดุ รายวนั ท่วั ไป หนา้ 1

พ.ศ. รายการ เลขท่ี เดบติ สต. เครดติ
เดือน วนั บญั ชี บาท บาท สต.

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 8 การเปล่ียนแปลงในสว่ นของผู้ถือหุ้น 497

กรณีท่ี 3 ห้นุ บรุ มิ สิทธชิ นดิ สะสม 8% มีเงนิ ปนั ผลคงคา้ ง 3 ปี เรยี กไถค่ ืนในราคาหุ้นละ 106 บาท

สมุดรายวันทว่ั ไป หน้า 1

พ.ศ. รายการ เลขท่ี เดบติ เครดติ
เดือน วนั
บญั ชี บาท สต. บาท สต.

3. วันท่ี 1 เมษายน 2557 บริษัท ก้าวหน้า จากดั (มหาชน) มหี นุ้ บรุ มิ สทิ ธิชนดิ เรยี กไถ่คืนได้อยใู่ นมือ
ของผู้ถอื หุ้น จานวน 1,000 หุ้น มูลคา่ หนุ้ ละ 100 บาท จาหน่ายครง้ั แรกในราคาหุ้นละ 120 บาท

บญั ชกี าไรสะสมมียอดคงเหลือ 50,000 บาท บรษิ ัทเรียกหนุ้ บรุ มิ สทิ ธมิ าไถค่ นื ท้งั หมด
ใหท้ า บนั ทึกรายการในสมดุ รายวันทั่วไป ในแต่ละกรณี
กรณที ่ี 1 หุ้นบุรมิ สิทธิชนิดไม่สะสม เรยี กไถ่คนื ในราคาหุ้นละ 120 บาท

กรณที ่ี 2 หุ้นบรุ ิมสทิ ธชิ นดิ สะสม 5% ไมม่ ีเงนิ ปนั ผลคงค้าง เรียกไถ่คืนในราคาหนุ้ ละ 130 บาท
กรณที ี่ 3 หนุ้ บุริมสิทธิชนิดสะสม 5% มีเงินปนั ผลคงคา้ ง 2 ปี เรยี กไถค่ นื ในราคาหนุ้ ละ 110 บาท

กรณีท่ี 1 หุน้ บุรมิ สิทธิชนดิ ไม่สะสม เรยี กไถค่ ืนในราคาหุ้นละ 120 บาท

สมุดรายวันท่ัวไป หน้า 1

พ.ศ. รายการ เลขท่ี เดบิต สต. เครดติ
เดือน วนั บญั ชี บาท บาท สต.

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 8 การเปลีย่ นแปลงในส่วนของผู้ถือหนุ้ 498

กรณีท่ี 2 หนุ้ บรุ ิมสิทธชิ นิดสะสม 5% ไม่มเี งนิ ปนั ผลคงค้าง เรียกไถค่ ืนในราคาหุ้นละ 130 บาท

สมุดรายวนั ทวั่ ไป หนา้ 1

พ.ศ. รายการ เลขที่ เดบติ เครดิต
เดอื น วัน
บญั ชี บาท สต. บาท สต.

กรณีที่ 3 หุ้นบุรมิ สทิ ธิชนดิ สะสม 5% มีเงินปนั ผลคงคา้ ง 2 ปี เรียกไถค่ ืนในราคาห้นุ ละ 110 บาท

สมดุ รายวนั ทว่ั ไป หน้า 1

พ.ศ. รายการ เลขที่ เดบิต เครดติ
เดอื น วัน
บัญชี บาท สต. บาท สต.

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 8 การเปลย่ี นแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น 499

สรปุ

สิทธิในการซ้ือหุ้น หมายถึง สิทธิที่บริษัทออกให้แก่ผู้ถือหุ้น ผู้ถือหลักทรัพย์ พนักงาน และ
เจ้าหนา้ ท่ีของบรษิ ัท ในการเลอื กใช้สทิ ธเิ พือ่ ซ้อื หุน้ ท่ีบรษิ ทั ออกใหม่ไดก้ ่อนบุคคลอ่นื ในราคาและระยะเวลา
ท่กี าหนด

ใบสาคญั แสดงสทิ ธิทจ่ี ะซือ้ หนุ้ แบ่งเป็น 3 ประเภท คอื
1. สิทธิท่ีออกให้ผู้ถือหุ้นเดิม การบันทึกบัญชีจะแบ่งเป็นวันที่บริษัทให้สิทธิผู้ถือหุ้น

บริษัทจะบันทึกความทรงจาเพ่ือให้ทราบจานวนหุ้นทุนที่สามารถซ้ือได้ด้วยสิทธิ วันท่ีผู้ถือหุ้นนาสิทธิ
มาซ้ือหุ้นจะบันทึกจาหน่ายหุ้นทุน ผลต่างจะรับรู้เป็นกาไรสะสมหรือส่วนเกินมูลค่าหุ้นทุน พร้อมท้ัง
บันทึกความทรงจาลดจานวนสิทธิลง และวันท่ีสิทธิหมดอายุจะบันทึกความทรงจาเพ่ือยกเลิกการให้สิทธิ
ซื้อหุน้ ทนุ

2. ใบสาคญั แสดงสิทธิซ้อื หนุ้ เปน็ การให้สิทธซิ ้ือหนุ้ สามญั พรอ้ มกบั การขายหุ้นกู้หรอื หนุ้ บุรมิ สิทธิ
การบันทึกบัญชีเม่ือบริษัทให้สิทธิแก่ผู้ถือหุ้นจะต้องแยกราคาสิทธิและราคาของหลักทรัพย์ออกจากกัน
โดยพจิ ารณาจากมูลคา่ ยตุ ธิ รรมของสทิ ธแิ ละหลักทรพั ย์

3. สิทธิที่จะเลือกซ้ือหุ้น โดยถือเป็นการตอบแทน จานวนค่าตอบแทน คานวณจากผลต่าง
ระหว่างมลู ค่ายุติธรรมของหุ้นสามัญที่สูงกว่าราคาใช้สิทธิและใบสาคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้นท่ีออกให้พนักงาน
ถือเปน็ คา่ ตอบแทนที่ไดป้ ฏบิ ัตงิ านในงวดปัจจบุ ัน วนั ท่ผี ถู้ อื หุ้นนาสทิ ธมิ าซอ้ื หุ้นให้บันทึกออกหนุ้ สามัญและ
ลดบัญชีใบสาคัญแสดงสิทธิซ้ือหุ้นตามสัดส่วนสิทธิที่ใช้ เม่ือใบสาคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้นหมดอายุให้
โอนปิดบญั ชีใบสาคญั แสดงสิทธิซือ้ หุ้นไปยังบัญชสี ่วนเกนิ ทนุ จากการไมใ่ ช้สิทธิซื้อหุ้น

การแปลงสภาพหุ้นบุริมสิทธิ คือ หุ้นบุริมสิทธิชนิดท่ีสามารถแปลงสภาพเป็นหุ้นสามัญ
ในช่วงระยะเวลาและอัตราท่ีบริษัทได้กาหนดไว้ การบันทึกบัญชีการแปลงสภาพหุ้นบุริมสิทธิให้โอนปิด
บัญชีที่เกี่ยวข้องกับหุ้นบุริมสิทธิท่ีแปลงสภาพ และบันทึกการออกหุ้นสามัญในราคาตามมูลค่า
หากมีผลตา่ งให้รับรูใ้ นบญั ชกี าไรสะสมหรือส่วนเกินทุนจากการแปลงสภาพห้นุ บรุ ิมสิทธิ

การแตกหุ้น คือ การลดมูลค่าของหุ้นที่จดทะเบียนไว้โดยการเพิ่มจานวนหุ้น ซึ่งจะตรงกันข้ามกับ
การรวมหุ้นที่เป็นการลดจานวนหุ้นโดยการเพิ่มมูลค่าหุ้น ซึ่งทั้งสองกรณีไม่ทาให้ทุนจดทะเบียน
เปลีย่ นไปจากเดิม การปฏบิ ัตทิ างการบัญชีเมอ่ื บรษิ ทั แตกหนุ้ หรือรวมหุ้นใหบ้ ันทึกความทรงจา

หุ้นทุนได้รับคืน หมายถึง หุ้นสามัญท่ีบริษัทได้เคยออกจาหน่ายใบหุ้นไปแล้ว ต่อมาบริษัทได้รับ
หนุ้ สามญั ดงั กล่าวกลบั คนื มาจากการซอื้ คืน จากการรับบริจาค และจากการรับชาระหน้ี การบันทึกบัญชี
สาหรับหุ้นทุนได้รับคืนบริษัทอาจใช้วิธีราคาทุนหรือวิธีราคาตามมูลค่า แต่วิธีท่ีคณะกรรมการมาตรฐาน
การบัญชแี นะนาให้ถอื ปฏบิ ตั คิ อื วธิ ีราคาทนุ

การไถ่คืนหุ้นบุรมิ สทิ ธิ บริษัทอาจกาหนดให้การไถ่ถอนเปน็ สิทธขิ องบรษิ ัท หรอื ใหส้ ทิ ธแิ กผ่ ู้ถอื ห้นุ
ในการไถ่ถอนซึ่งต้องระบุต้ังแต่แรก หากหุ้นบุริมสิทธิเป็นชนิดสะสมหรือมีเงินปันผลคงค้าง
บริษัทต้องจ่ายเงินปันผลคงค้างก่อนไถ่ถอนหุ้นบุริมสิทธิและรับรู้ผลต่างของการไถ่คืนหุ้นบุริมสิทธิ
เข้าบัญชีกาไรสะสม หรือสว่ นเกนิ ทนุ จากการไถ่คนื หุ้นบุริมสทิ ธิ

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 8 การเปลีย่ นแปลงในสว่ นของผู้ถือหุ้น 500

คาศพั ทท์ างการบญั ชี

คาศัพท์ ความหมาย

Cost Method วธิ ีราคาทุน
Donated Treasury Stock หนุ้ ทุนไดร้ บั คนื จากการรบั บริจาค

Exercise Period ระยะเวลาที่กาหนด
Exercise Price ราคาท่กี าหนด
Par Value Method วธิ ีราคาตามมูลคา่

Pre-emptive Rights สทิ ธิทผี่ ้ถู อื หุน้ เดมิ ไดร้ บั ก่อนบุคคลภายนอก
Reacquisition of Shares หนุ้ ทนุ ได้รบั คืนจากการซือ้ คืน
Redeemable Preferred Stock หุ้นบรุ ิมสทิ ธทิ ่ใี หส้ ทิ ธิแกผ่ ถู้ ือห้นุ ท่ีจะนามาไถ่คนื

Stock Options สิทธิท่จี ะเลอื กซือ้ หนุ้
Stock Rights สิทธทิ อ่ี อกใหผ้ ู้ถือหนุ้ เดมิ
Stock Split-down การรวมหนุ้

Stock split-up การแตกหุ้น
Stock Warrants ใบสาคัญแสดงสิทธิซื้อหนุ้

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 8 การเปลี่ยนแปลงในส่วนของผ้ถู ือหุ้น 501

แบบทดสอบหลงั เรยี น
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 8 การเปลยี่ นแปลงในสว่ นของผถู้ ือห้นุ

คาชี้แจง

1. ให้เลือกคาตอบท่ถี ูกตอ้ งท่สี ดุ เพยี งข้อเดยี ว และทาเคร่อื งหมายกากบาท (×) ลงในระดาษคาตอบ
2. แบบทดสอบ จานวน 10 ข้อ รวม 10 คะแนน ใชเ้ วลา 10 นาที

1. เมื่อวนั ท่ี 1 มนี าคม 2557 บรษิ ัท ชนะกจิ จากัด ออกจาหน่ายหนุ้ บรุ ิมสิทธิ 8% จานวน 2,000 หนุ้

มลู คา่ ห้นุ ละ 100 บาท พร้อมออกใบสาคญั แสดงสทิ ธิซ้ือหุ้น จานวน 2,000 ใบ ในราคาหุ้นละ 130 บาท

ใบสาคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้น 1 ใบ นามาใช้ซ้ือหุ้นสามัญ มูลค่าหุ้นละ 100 บาท จานวน 1 หุ้น

ในราคาหุ้นละ 120 บาท มูลค่ายุติธรรมของหุ้นสามัญในวันนี้หุ้นละ 140 บาท มูลค่ายุติธรรม

ของหุ้นบรุ ิมสทิ ธิ 8% ไม่รวมสทิ ธหิ ุน้ ละ 155 บาท และใบสาคัญแสดงสิทธิซอ้ื หุ้นมีมูลคา่ ยตุ ธิ รรม

ใบละ 5 บาท การบนั ทกึ บญั ชีจาหน่ายหลกั ทรพั ยพ์ ร้อมใบสาคญั แสดงสทิ ธิซ้ือหุ้น ตรงกับขอ้ ใด

(จุดประสงคก์ ารเรียนร้ขู อ้ ที่ 2)

ก. เดบิต เงนิ สด 260,000

เครดติ หนุ้ บุริมสิทธิ 200,000

ส่วนเกนิ มูลคา่ หนุ้ บรุ มิ สิทธิ 60,000

ข. เดบิต เงินสด 260,000

เครดติ หนุ้ บรุ ิมสทิ ธิ 200,000

ใบสาคัญแสดงสิทธซิ ้ือหุน้ 8,125

ส่วนเกินมลู ค่าหุน้ บุรมิ สทิ ธิ 51,875

ค. เดบิต เงนิ สด 260,000

เครดิต หุ้นบรุ ิมสทิ ธิ 200,000

ใบสาคญั แสดงสทิ ธซิ อ้ื หุ้น 10,000

สว่ นเกินมูลคา่ หุ้นบุรมิ สทิ ธิ 50,000

ง. เดบิต เงนิ สด 200,000

ใบสาคัญแสดงสทิ ธิซือ้ หุน้ 8,125

เครดติ หุน้ บุริมสทิ ธิ 200,000

สว่ นเกินมลู คา่ หนุ้ บรุ มิ สิทธิ 8,125

จ. เดบิต เงินสด 200,000

ส่วนตา่ กวา่ มลู คา่ หุ้นบุริมสิทธิ 10,000

เครดติ หนุ้ บรุ มิ สทิ ธิ 200,000

ใบสาคัญแสดงสิทธิซ้อื หุ้น 10,000

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 8 การเปล่ยี นแปลงในส่วนของผถู้ ือหุ้น 502

2. วันที่ 1 มีนาคม 2557 บรษิ ทั อวยพร จากดั (มหาชน) ประกาศใหส้ ทิ ธิซ้อื หนุ้ สามัญเปน็ คา่ ตอบแทน

ใหแ้ กผ่ บู้ รหิ ารระดบั สูง จานวน 5 คน คนละ 2,000 ห้นุ มลู คา่ หนุ้ ละ 100 บาท ราคาใชส้ ทิ ธิ

หุน้ ละ 120 บาท มลู ค่ายุตธิ รรมของหุ้นสามญั ณ วนั ให้สิทธหิ ุ้นละ 130 บาท สิทธมิ อี ายุ 4 เดอื น

ต่อมาวันที่ 1 เมษายน 2557 มผี ้บู ริหารนาใบสาคญั แสดงสทิ ธซิ ้อื ห้นุ มาใชท้ ้ังสิ้น 80%

ส่วนทเี่ หลอื ปลอ่ ยใหห้ มดอายุ การบันทึกบัญชอี อกใบสาคญั แสดงสทิ ธิซ้ือหนุ้ เพ่ือเปน็ ค่าตอบแทน

ในวนั ที่ 1 มนี าคม 2557 ตรงกบั ข้อใด (จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรูข้ ้อที่ 3)

ก. เดบิต ค่าตอบแทนพนักงาน 100,000

เครดติ ใบสาคัญแสดงสทิ ธซิ ้อื หุ้น 100,000

ข. เดบิต คา่ ตอบแทนพนกั งาน 120,000

เครดติ ใบสาคญั แสดงสิทธิซอื้ หุ้น 100,000

ส่วนเกินมลู ค่าหนุ้ สามญั 20,00

ค. เดบิต เงนิ สด 100,000

ใบสาคญั แสดงสทิ ธซิ ้ือห้นุ 20,000

เครดิต หุ้นสามัญ 120,000

ง. เดบิต ค่าตอบแทนพนกั งานรอตัดบญั ชี 100,000

เครดิต ใบสาคญั แสดงสิทธซิ อ้ื หนุ้ 100,000

จ. เดบติ ค่าตอบแทนพนกั งาน 120,000

เครดิต หนุ้ สามัญ 100,000

สว่ นเกนิ มูลคา่ หุ้นสามัญ 20,000

3. เมอื่ วนั ท่ี 1 มนี าคม 2557 บรษิ ัท ก้าวหน้า จากดั จดทะเบยี นเพิม่ ทนุ ห้นุ สามญั จานวน 1,000 หนุ้

มลู ค่าหุ้นละ 100 บาท และออกใบสาคญั แสดงสทิ ธิซ้ือห้นุ ท่อี อกใหมใ่ ห้แกผ่ ู้ถอื หุน้ เดิม 2,000 ใบ

โดยตอ้ งใช้สิทธิ 2 ใบ ซ้อื หนุ้ ใหม่ 1 หนุ้ ในราคาหนุ้ ละ 110 บาท มูลค่ายตุ ธิ รรมของหุน้ สามญั ในวนั นี้

หุ้นละ 115 บาท สิทธมิ อี ายุ 3 เดอื น ตอ่ มาวนั ท่ี 1 เมษายน 2557 มผี ้ใู บสาคัญแสดงสิทธิ 1,500 ใบ

มาซื้อหนุ้ สามญั การบันทึกบัญชีใช้สิทธิซอ้ื หุ้นสามญั ในวนั ที่ 1 เมษายน 2557 ตรงกบั ข้อใด

(จุดประสงคก์ ารเรียนรูข้ ้อท่ี 1)

ก. เดบติ เงนิ สด 82,500

เครดติ ห้นุ สามัญ 75,000

ส่วนเกินมูลคา่ หนุ้ สามญั 7,500

ข. เดบิต เงินสด 82,500

เครดิต ห้นุ สามัญ 75,000

กาไรสะสม 7,500

ค. เดบติ เงนิ สด 75,000

กาไรสะสม 7,500

เครดิต หุ้นสามัญ 82,500

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 8 การเปลีย่ นแปลงในสว่ นของผ้ถู ือห้นุ 503

3. (ต่อ)

ง. เดบิต หนุ้ สามัญ 75,000

สว่ นเกินมลู คา่ ห้นุ สามัญ 11,250

เครดติ เงนิ สด 86,250

จ. เดบิต เงนิ สด 86,250

เครดิต ห้นุ สามญั 75,000

สว่ นเกนิ มลู คา่ หุ้นสามัญ 11,250

4. บรษิ ัท มีชัย จากดั จดทะเบียนและจาหนา่ ยห้นุ สามญั 2,000 หนุ้ มลู ค่าหุ้นละ 100 บาท

ต่อมาวนั ท่ี 1 มนี าคม 2557 บริษัททาการแตกหุน้ สามัญจาก 1 หนุ้ เป็น 2 หนุ้

บริษทั จะบันทึกความทรงจาในสมุดรายวนั ทวั่ ไปอย่างไร (จดุ ประสงค์การเรียนรู้ขอ้ ที่ 5)

ก. 2557

มี.ค. 1 บันทึกความทรงจา : บริษัทแตกหนุ้ สามัญ 2,000 หุน้ มูลคา่ หุน้ ละ 100 บาท

เปน็ หุ้นสามญั 1,000 ห้นุ มูลคา่ หนุ้ ละ 200 บาท

ข. 2557

มี.ค. 1 บันทึกความทรงจา : บริษทั แตกหุ้นสามญั 2,000 หุ้น มลู คา่ ห้นุ ละ 100 บาท

เป็นหนุ้ สามญั 200 ห้นุ มลู ค่าหุ้นละ 1,000 บาท

ค. 2557

มี.ค. 1 บนั ทึกความทรงจา : บรษิ ทั แตกหุน้ สามัญ 1,000 หุ้น มูลคา่ หุน้ ละ 200 บาท

เปน็ หุ้นสามญั 2,000 หุน้ มูลคา่ หุ้นละ 100 บาท

ง. 2557

มี.ค. 1 บันทกึ ความทรงจา : บริษัทแตกหุ้นสามัญ 2,000 หนุ้ มูลคา่ หุ้นละ 100 บาท

เปน็ หุ้นสามญั 4,000 ห้นุ มูลคา่ หนุ้ ละ 50 บาท

จ. 2557

มี.ค. 1 บันทกึ ความทรงจา : บรษิ ทั แตกหุ้นสามญั 4,000 หนุ้ มูลค่าหนุ้ ละ 50 บาท

เปน็ หนุ้ สามญั 2,000 หุน้ มูลคา่ หุ้นละ 100 บาท

5. บรษิ ัท ชยั ชนะ จากัด (มหาชน) จดทะเบียนและจาหน่ายหุ้นสามัญ 400,000 หนุ้ มูลค่าหุ้นละ 5 บาท

ต่อมาวันที่ 1 กมุ ภาพนั ธ์ 2557 บรษิ ัทไดท้ าการรวมหุ้นสามญั จาก 10 หุ้น เป็น 1 หนุ้

บริษทั จะบนั ทกึ ความทรงจาในสมุดรายวันทัว่ ไปอยา่ งไร (จดุ ประสงคก์ ารเรยี นร้ขู อ้ ท่ี 6)

ก. 2557

ก.พ.1 บนั ทึกความทรงจา : บริษทั รวมหุ้นสามญั 400,000 หนุ้ มูลคา่ หุ้นละ 5 บาท

เป็นหนุ้ สามญั 40,000 หนุ้ มูลคา่ ห้นุ ละ 50 บาท

ข. 2557

ก.พ.1 บันทกึ ความทรงจา : บรษิ ัทรวมหุ้นสามญั 40,000 ห้นุ มลู ค่าหนุ้ ละ 50 บาท

เป็นหุ้นสามญั 400,000 หุ้น มลู คา่ หุน้ ละ 5 บาท

หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 8 การเปล่ียนแปลงในสว่ นของผถู้ ือห้นุ 504

5. (ตอ่ )

ค. 2557

ก.พ.1 บันทกึ ความทรงจา : บรษิ ัทรวมห้นุ สามญั 400,000 หุ้น มูลค่าหนุ้ ละ 5 บาท

เป็นหุ้นสามญั 400,000 หุน้ มลู คา่ หนุ้ ละ 5 บาท

ง. 2557

ก.พ.1 บนั ทึกความทรงจา : บรษิ ัทรวมหุ้นสามญั 400,000 หุ้น มูลคา่ หุ้นละ 5 บาท

เปน็ หุ้นสามญั 4,000 หนุ้ มูลคา่ หนุ้ ละ 500 บาท

จ. 2557

ก.พ.1 บนั ทึกความทรงจา : บริษัทรวมหุน้ สามญั 40,000 หุ้น มูลค่าหุน้ ละ 50 บาท

เปน็ หุ้นสามญั 4,000 หุ้น มลู คา่ หุ้นละ 500 บาท

6. วันท่ี 1 มนี าคม 2557 บริษัท ยนิ ดี จากัด (มหาชน) ซ้ือหุน้ ทนุ คนื จานวน 1,000 หนุ้

มูลค่าหุ้นละ 100 บาท ในราคาหุน้ ละ 105 บาท เป็นหุน้ ทบ่ี รษิ ัทออกจาหน่ายไปแล้ว

ในราคาหนุ้ ละ 102 บาท การบนั ทกึ บัญชหี ้นุ ทนุ ซอ้ื คืนวธิ รี าคาทนุ ในวนั ที่ 1 มนี าคม 2557

ตรงกบั ข้อใด (จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ข้อที่ 7)

ก. เดบติ ห้นุ ทนุ ซือ้ คนื 100,000

ส่วนเกนิ มลู ค่าหนุ้ สามญั 5,000

เครดติ เงินสด 105,000

ข. เดบติ หนุ้ ทุนซือ้ คืน 100,000

สว่ นเกินมูลคา่ หนุ้ สามัญ 2,000

กาไรสะสม 3,000

เครดติ เงินสด 105,000

ค. เดบติ เงนิ สด 105,000

เครดิต หุน้ ทนุ ซอ้ื คืน 100,000

สว่ นเกนิ ทนุ หุน้ ทนุ ซอ้ื คนื 5,000

ง. เดบติ เงินสด 105,000

เครดติ หุ้นทุนซอื้ คนื 105,000

จ. เดบิต หนุ้ ทนุ ซ้อื คนื 105,000

เครดิต เงนิ สด 105,000

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 8 การเปลีย่ นแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น 505

7. วนั ที่ 1 เมษายน 2557 บริษทั อวยพร จากัด (มหาชน) ได้รบั บรจิ าคหนุ้ สามญั จากผู้ถือห้นุ รายหน่ึง

จานวน 5,000 หุ้น มลู ค่าหนุ้ ละ 100 บาท ออกจาหน่ายครง้ั แรกในราคาหนุ้ ละ 110 บาท

มูลคา่ ยตุ ธิ รรม ณ วนั ทไี่ ดร้ บั บรจิ าคหุน้ ละ 120 บาท การบนั ทกึ บญั ชหี นุ้ ทุนรบั คืนวิธรี าคาทนุ

ตรงกบั ขอ้ ใด (จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ข้อท่ี 8)

ก. เดบิต หนุ้ ทนุ รับคนื 500,000

เครดติ ส่วนเกนิ ทนุ จากการรบั บรจิ าค 500,000

ข. เดบติ หนุ้ ทุนรบั คนื 450,000

สว่ นเกินมลู คา่ หุ้นสามญั 50,000

เครดติ ส่วนเกนิ ทนุ จากการรบั บรจิ าค 500,000

ค. เดบติ หนุ้ ทุนรับคืน 600,000

เครดิต ส่วนเกินทนุ จากการรับบรจิ าค 500,000

สว่ นเกินทุนจากหุ้นทนุ รับคนื 100,000

ง. เดบติ หนุ้ ทุนรบั คนื 600,000

เครดติ ส่วนเกินทนุ จากการรบั บรจิ าค 600,000

จ. เดบติ หนุ้ ทุนรับคนื 500,000

กาไรสะสม 100,000

เครดิต สว่ นเกินทุนจากการรับบรจิ าค 600,000

8. บรษิ ัท กา้ วหน้า จากดั (มหาชน) ออกจาหน่ายหนุ้ บรุ มิ สทิ ธิ 6% ไมส่ ะสมชนดิ แปลงสภาพได้

จานวน 2,000 หุ้น มลู ค่าหุ้นละ 100 บาท ในราคาหุ้นละ 105 บาท เงอื่ นไขการแปลงสภาพ

คอื ห้นุ บรุ ิมสิทธิ 1 หุ้น แปลงสภาพเป็นหนุ้ สามญั ได้ 2 หุน้ มลู คา่ ห้นุ ละ 70 บาท

ผถู้ อื หุน้ บุริมสิทธินาหุ้นมาแปลงสภาพท้งั หมด การบนั ทกึ บัญชแี ปลงสภาพห้นุ บุรมิ สิทธิ

ตรงกับข้อใด (จุดประสงคก์ ารเรียนรูข้ อ้ ท่ี 4)

ก. เดบิต หุ้นบรุ มิ สทิ ธิ 200,000

ส่วนเกินมลู ค่าหนุ้ บุริมสทิ ธิ 10,000

เครดติ หนุ้ สามัญ 140,000

สว่ นเกินทนุ จากการแปลงสภาพห้นุ บุริมสิทธิ 70,000

ข. เดบติ หุ้นบุรมิ สทิ ธิ 200,000

สว่ นเกนิ มูลคา่ หนุ้ บรุ ิมสิทธิ 10,000

เครดติ หุ้นสามัญ 180,000

กาไรสะสม 30,000

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 8 การเปล่ียนแปลงในส่วนของผถู้ ือหุ้น 506

8. (ต่อ)

ค. เดบติ หนุ้ บรุ มิ สิทธิ 200,000

สว่ นเกนิ มลู คา่ หุ้นบุริมสทิ ธิ 10,000

กาไรสะสม 70,000

เครดิต หุ้นสามัญ 280,000

ง. เดบิต หุ้นบุรมิ สิทธิ 200,000

สว่ นเกินทุนจากการแปลงสภาพหุ้นบุรมิ สิทธิ 10,000

เครดติ หนุ้ สามญั 200,000

สว่ นเกนิ มลู คา่ หุ้นบุริมสิทธิ 10,000

จ. เดบิต หนุ้ บุรมิ สิทธิ 200,000

สว่ นเกนิ มูลค่าหนุ้ บรุ ิมสิทธิ 10,000

กาไรสะสม 70,000

เครดติ หุ้นสามัญ 200,000

ส่วนเกินทุนจากการแปลงสภาพหนุ้ บรุ มิ สิทธิ 80,000

9. วนั ท่ี 1 กุมภาพันธ์ 2557 บรษิ ทั กิจเจริญ จากดั (มหาชน) มหี นุ้ บรุ มิ สทิ ธิ 8% ชนดิ สะสมและไถค่ นื ได้

อย่ใู นมือของผถู้ อื หนุ้ จานวน 10,000 หนุ้ มลู ค่าหุ้นละ 100 บาท จาหนา่ ยครง้ั แรกในราคาหนุ้ ละ

130 บาท ในปีนบี้ รษิ ัทไมป่ ระกาศจ่ายเงินปนั ผล บริษทั เรยี กหุ้นบรุ ิมสทิ ธมิ าไถค่ ืนทั้งหมด

ในราคาห้นุ ละ 120 บาท การบนั ทึกบญั ชไี ถค่ นื หนุ้ บรุ มิ สทิ ธิ ตรงกับข้อใด

(จดุ ประสงค์การเรียนรู้ขอ้ ที่ 10)

ก. เดบติ หนุ้ บรุ มิ สิทธิ 1,000,000

ส่วนเกินมูลคา่ หุ้นบุริมสทิ ธิ 100,000

กาไรสะสม 100,000

เครดติ เงนิ สด 1,200,000

ข. เดบิต หุ้นบุริมสิทธิ 1,000,000

ส่วนเกนิ มลู คา่ หนุ้ บุริมสทิ ธิ 300,000

เครดติ เงินสด 1,200,000

ส่วนเกินทนุ จากการไถ่คืนหุน้ บรุ มิ สิทธิ 100,000

ค. เดบติ หุ้นบรุ ิมสทิ ธิ 1,000,000

ส่วนเกินทุนจากการไถ่คืนหนุ้ บรุ ิมสทิ ธิ 300,000

เครดติ เงินสด 1,200,000

สว่ นเกนิ มลู ค่าหนุ้ บุรมิ สทิ ธิ 100,000

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 8 การเปลยี่ นแปลงในสว่ นของผู้ถือหุ้น 507

9. (ตอ่ )

ง. เดบติ หนุ้ บรุ มิ สทิ ธิ 1,200,000

กาไรสะสม 100,000

เครดิต เงนิ สด 1,200,000

ส่วนเกนิ มลู ค่าหุ้นบรุ มิ สทิ ธิ 100,000

จ. เดบติ หุ้นบุริมสทิ ธิ 1,000,000

กาไรสะสม 300,000

เครดิต เงนิ สด 1,200,000

10. วันท่ี 1 มกราคม 2557 บริษทั รงุ่ เจรญิ จากัด (มหาชน) จาหนา่ ยห้นุ สามญั 10,000 หนุ้

มลู คา่ หุ้นละ 50 บาท ในราคาหนุ้ ละ 60 บาท และขายสนิ คา้ เปน็ เงนิ เช่อื ใหบ้ ริษทั พรชยั จากดั

140,000 บาท ตอ่ มาวันที่ 1 มีนาคม 2557 บรษิ ัท พรชยั จากดั ชาระหน้เี ปน็ ห้นุ สามัญของบริษทั

2,000 หุ้น มูลคา่ ยตุ ธิ รรมหนุ้ ละ 70 บาท การบันทึกบญั ชีหนุ้ ทุนได้รบั คืนจากการรบั ชาระหนี้

วิธรี าคาตามมูลคา่ ตรงกับข้อใด (จดุ ประสงค์การเรยี นรขู้ ้อท่ี 9)

ก. เดบติ หุ้นทนุ รบั คืน 100,000

สว่ นเกนิ ทนุ หุ้นทนุ รับคนื 40,000

เครดติ ลกู หน-้ี บรษิ ัท พรชัย จากัด 140,000

ข. เดบิต หนุ้ ทุนรับคืน 140,000

เครดิต ลูกหน-ี้ บรษิ ทั พรชยั จากดั 120,000

สว่ นเกนิ มลู คา่ หนุ้ สามัญ 20,000

ค. เดบิต หนุ้ ทุนรบั คืน 120,000

กาไรสะสม 20,000

เครดิต ลูกหน-ี้ บริษทั พรชยั จากัด 140,000

ง. เดบติ หุ้นทนุ รบั คืน 100,000

ส่วนเกนิ มูลค่าหนุ้ สามญั 20,000

สว่ นเกนิ ทนุ หนุ้ ทุนรับคนื 20,000

เครดติ ลกู หน-้ี บริษทั พรชัย จากดั 140,000

จ. เดบติ หุ้นทนุ รับคืน 100,000

สว่ นเกนิ มูลค่าหุ้นสามญั 20,000

กาไรสะสม 20,000

เครดิต ลกู หน-ี้ บรษิ ทั พรชยั จากัด 140,000

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 9
กาไรสะสมและเงินปันผล

สาระการเรยี นรู้

1. กาไรสะสม
2. การคานวณเงนิ ปนั ผล
3. การบนั ทึกบญั ชเี กี่ยวกบั เงินปันผล

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. บอกวตั ถปุ ระสงคข์ องการจดั สรรกาไรสะสมได้
2. บันทึกบญั ชีการจดั สรรกาไรสะสมได้
3. คานวณเงินปันผลได้
4. บันทกึ บญั ชีจ่ายเงินปนั ผลเป็นเงินสดได้
5. บันทึกบญั ชีจา่ ยเงินปนั ผลเปน็ สินทรัพยอ์ ืน่ ได้
6. บันทกึ บญั ชีจ่ายเงินปันผลเปน็ เอกสารแสดงหน้ีของบรษิ ทั ได้
7. บันทกึ บัญชีจ่ายเงินปนั ผลในลักษณะคนื ทุนได้
8. บนั ทกึ บญั ชจี า่ ยเงินปันผลเป็นหนุ้ สามัญได้
9. ปฏิบัตงิ านด้วยความรบั ผิดชอบ มคี วามสนใจใฝร่ ู้ ซอ่ื สตั ย์สจุ รติ ตรงตอ่ เวลาและสภุ าพเรยี บรอ้ ย

สมรรถนะประจาหน่วย

บนั ทกึ บัญชีเก่ียวกบั การจดั สรรกาไรสะสมและเงินปันผลไดถ้ กู ต้องตามมาตรฐานการบญั ชี

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 9 กาไรสะสมและเงินปนั ผล 509

ผงั มโนทศั น์ (Concept Map)

Ways to increase

กาไรสะสมและ 1. กาไรสะสม
เงินปนั ผล 1.1 การจดั สรรกาไรสะสม
1.2 การบันทกึ บัญชีเกีย่ วกับการจดั สรรกาไรสะสม

2. การคานวณเงินปันผล

3. การบันทกึ บัญชเี กีย่ วกับเงินปันผล
3.1 การจ่ายเงนิ ปนั ผลเปน็ เงนิ สด
3.2 การจา่ ยเงินปนั ผลเปน็ สนิ ทรัพยอ์ ืน่
3.3 การจา่ ยเงินปนั ผลเปน็ เอกสารแสดงหนี้ของบรษิ ทั
3.4 การจา่ ยเงนิ ปันผลในลกั ษณะคืนทุน
3.5 การจา่ ยเงนิ ปนั ผลเปน็ หนุ้ สามัญ

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 9 กาไรสะสมและเงินปนั ผล 510

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 9 กาไรสะสมและเงนิ ปันผล

คาชแี้ จง

1. ให้เลือกคาตอบที่ถกู ต้องทสี่ ุดเพยี งข้อเดยี ว และทาเครือ่ งหมายกากบาท (×) ลงในระดาษคาตอบ
2. แบบทดสอบ จานวน 8 ข้อ รวม 8 คะแนน ใชเ้ วลา 8 นาที

1. ขอ้ ใดเป็นการจัดสรรกาไรสะสมตามภาระผกู พัน (จดุ ประสงค์การเรยี นรขู้ ้อที่ 1)

ก. สารองตามกฎหมาย

ข. สารองเพอื่ การไถถ่ อนหนุ้ กู้

ค. สารองเพอ่ื การขยายกจิ การ

ง. สารองเพอื่ การจ่ายเงนิ ปนั ผล

จ. สารองเผื่อผลขาดทุนในอนาคต

2. ในวนั ทบี่ รษิ ัทมกี ารจดั สรรกาไรสะสม จะบนั ทกึ บัญชอี ยา่ งไร (จุดประสงค์การเรียนรู้ข้อที่ 2)

ก. เดบติ กาไรสะสม ××

เครดิต กาไรสะสมจัดสรร-(ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้) ××

ข. เดบิต กาไรสะสมจดั สรร ××

เครดิต กาไรสะสมจัดสรร-(ตามวัตถปุ ระสงคท์ ีก่ าหนดไว้) ××

ค. เดบิต กาไรสะสมจดั สรรเพอ่ื ขยายงาน ××

เครดิต กาไรสะสมจดั สรร ××

ง. เดบติ กาไรสะสมจัดสรรสารองตามกฎหมาย ××

เครดิต กาไรสะสม ××

จ. เดบติ กาไรสะสมจัดสรร-(ตามวตั ถปุ ระสงคท์ ่ีกาหนดไว)้ ××

เครดิต กาไรสะสมจัดสรร ××

3. วันที่ 1 มกราคม 2557 บรษิ ทั รักไทย จากัด จดทะเบยี นและออกจาหนา่ ยหนุ้ บรุ ิมสทิ ธิ 5% ชนิดสะสม

และรว่ มรบั ไมเ่ กนิ 7% จานวน 20,000 หุ้น มูลคา่ หุ้นละ 100 บาท และห้นุ สามญั จานวน 50,000 ห้นุ

มูลค่าหุ้นละ 50 บาท ปี 2557 บริษัทประกาศจ่ายเงินปนั ผล จานวน 700,000 บาท ส่วนปี 2556

ไม่มกี ารจ่ายเงินปนั ผล เงนิ ปันผลทผี่ ถู้ อื ห้นุ บรุ มิ สทิ ธิและผถู้ อื หนุ้ สามญั จะไดร้ ับ มจี านวนเทา่ ใด

(จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ขอ้ ที่ 3)

ก. เงนิ ปันผลหุ้นบรุ มิ สิทธิ 100,000 บาท เงนิ ปนั ผลหนุ้ สามัญ 600,000 บาท

ข. เงินปนั ผลหุน้ บรุ มิ สิทธิ 200,000 บาท เงนิ ปันผลหุ้นสามญั 500,000 บาท

ค. เงินปันผลหุ้นบุรมิ สิทธิ 240,000 บาท เงนิ ปันผลหนุ้ สามญั 460,000 บาท

ง. เงนิ ปนั ผลหนุ้ บุรมิ สิทธิ 240,000 บาท เงินปนั ผลหุ้นสามัญ 560,000 บาท

จ. เงนิ ปันผลหุน้ บรุ ิมสิทธิ 260,000 บาท เงินปันผลห้นุ สามัญ 440,000 บาท

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 9 กาไรสะสมและเงินปนั ผล 511

4. บรษิ ทั ขวญั จิต จากัด จดทะเบยี นหุ้นสามญั จานวน 28,000 หุ้น มูลคา่ หนุ้ ละ 100 บาท

ออกจาหน่ายและเรียกชาระเตม็ มลู ค่าแลว้ จานวน 20,000 หนุ้ ในปี 2556 บริษทั มีกาไรสุทธิ

จานวน 800,000 บาท วนั ที่ 1 กมุ ภาพนั ธ์ 2557 บรษิ ัทประกาศจ่ายเงินปนั ผลให้แกผ่ ้ถู ือหนุ้ สามญั

อัตราหนุ้ ละ 2 บาท การบันทึกบญั ชใี นวนั ท่ี 1 กุมภาพนั ธ์ 2557 ตรงกับขอ้ ใด

(จุดประสงคก์ ารเรยี นรขู้ ้อท่ี 4)

ก. เดบติ กาไรสะสม 40,000

เครดติ เงนิ สด 40,000

ข. เดบติ กาไรสะสม 40,000

เครดิต เงินปันผลคา้ งจา่ ย-หุ้นสามญั 40,000

ค. เดบติ กาไรสะสม 56,000

เครดติ หุ้นสามญั ปนั ผลคา้ งจ่าย 56,000

ง. เดบิต เงินปนั ผลค้างจา่ ย 56,000

เครดติ เงินสด 56,000

จ. เดบิต เงินปนั ผลคา้ งจ่าย 56,000

เครดติ กาไรสะสม 56,000

5. วนั ท่ี 1 มีนาคม 2557 บริษัท ปรีดา จากัด ประกาศจา่ ยเงินปนั ผลเปน็ ห้นุ สามญั

ของบรษิ ัท กจิ รงุ่ จากัด จานวน 8,000 หนุ้ มูลค่าหุ้นละ 100 บาท มลู คา่ ยุตธิ รรมหนุ้ ละ 110 บาท

บริษทั ตั้งใจถอื ไว้เปน็ เงินลงทุนทั่วไป บริษทั จะจ่ายเงนิ ปันผลในวันท่ี 1 เมษายน 2557

การบันทกึ บญั ชีจ่ายเงินปันผลในวันท่ี 1 เมษายน 2557 ตรงกบั ข้อใด (จดุ ประสงค์การเรยี นรขู้ ้อที่ 5)

ก. เดบิต กาไรสะสม 880,000

เครดิต เงนิ ปันผลคา้ งจ่าย 880,000

ข. เดบติ กาไรสะสม 880,000

เครดติ เงินลงทุนท่ัวไป 880,000

ค. เดบติ เงินปันผลค้างจา่ ย-เงนิ ลงทุนทวั่ ไป 880,000

เครดติ เงนิ ลงทุนทวั่ ไป 880,000

ง. เดบติ เงนิ ลงทุนท่ัวไป 880,000

เครดติ เงนิ ปันผลค้างจ่าย-เงินลงทนุ ท่วั ไป 880,000

จ. เดบิต เงินปนั ผลค้างจา่ ย 880,000

เครดติ กาไรจากการจาหน่ายเงนิ ลงทนุ 880,000

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 9 กาไรสะสมและเงินปันผล 512

6. วันท่ี 1 มนี าคม 2557 บริษทั เจริญสขุ จากัด ประกาศจา่ ยเงินปันผลเป็นต๋วั สัญญาใชเ้ งนิ

อตั ราดอกเบย้ี 6% ตอ่ ปี จานวน 100,000 บาท กาหนดระยะเวลา 3 เดือน นับจากวนั ที่ออกต๋วั

บรษิ ทั ออกตั๋วสัญญาใชเ้ งนิ วันท่ี 1 เมษายน 2557 การบนั ทกึ บญั ชีจา่ ยเงนิ ปันผล

ในวนั ที่ 1 มีนาคม 2557 ตรงกบั ข้อใด (จดุ ประสงค์การเรยี นรูข้ ้อที่ 6)

ก. เดบิต เงนิ สด 100,000

เครดติ ต๋ัวเงนิ จ่าย 100,000

ข. เดบิต ต๋ัวเงนิ จา่ ย 100,000

เครดติ กาไรสะสม 100,000

ค. เดบิต เงินปันผลคา้ งจา่ ย 100,000

เครดิต เงินสด 100,000

ง. เดบิต กาไรสะสม 100,000

เครดติ เงนิ ปนั ผลคา้ งจ่าย 100,000

จ. เดบติ กาไรสะสม 100,000

เครดิต เงนิ ปันผลค้างจ่าย-ตัว๋ เงนิ จา่ ยเงินจา่ ย 100,000

7. เมื่อวนั ท่ี 1 เมษายน 2557 บริษทั พลงั งาน จากัด ไดป้ ระกาศจา่ ยเงินปันผลเปน็ เงนิ สดให้กบั ผถู้ อื หนุ้

จานวน 300,000 บาท โดยจ่ายจากกาไรสะสม 35% ที่เหลอื เปน็ การจ่ายคืนทุน

จะบันทกึ บญั ชีตามขอ้ ใด (จุดประสงคก์ ารเรียนรูข้ ้อท่ี 7)

ก. เดบติ กาไรสะสม 300,000

เครดิต เงินปนั ผลคา้ งจ่าย 105,000

เงินทนุ จา่ ยคืนผถู้ อื ห้นุ 195,000

ข. เดบิต กาไรสะสม 300,000

เครดติ เงนิ ปันผลค้างจา่ ย 300,000

ค. เดบิต กาไรสะสม 195,000

เงินปันผลจ่าย 105,000

เครดติ เงนิ ทุนจ่ายคนื ผูถ้ อื หุน้ 300,000

ง. เดบิต กาไรสะสม 105,000

เงนิ ทนุ จา่ ยคืนผู้ถอื หุ้น 195,000

เครดติ เงินปันผลคา้ งจ่าย 300,000

จ. เดบิต เงนิ ปันผลคา้ งจา่ ย 300,000

เครดิต กาไรสะสม 105,000

เงนิ ทุนจ่ายคนื ผ้ถู อื หนุ้ 195,000

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 9 กาไรสะสมและเงินปันผล 513

8. บรษิ ทั พรชนก จากัด มีหุ้นสามัญออกจาหน่ายและเรยี กชาระเตม็ มูลคา่ แล้ว จานวน 10,000 หุ้น

มลู ค่าหุ้นละ 100 บาท ในวนั ท่ี 1 มีนาคม 2557 บรษิ ทั ประกาศจา่ ยหนุ้ สามญั ปนั ผล 20%

หนุ้ สามญั มมี ลู คา่ ยุติธรรมหุ้นละ 120 บาท จะบนั ทึกบญั ชตี ามขอ้ ใด (จุดประสงค์การเรียนรขู้ อ้ ที่ 8)

ก. เดบติ กาไรสะสม 200,000

หุ้นสามญั ปนั ผลคา้ งจา่ ย 40,000

เครดิต หุ้นสามญั 240,000

ข. เดบิต หนุ้ สามญั ปันผลค้างจา่ ย 240,000

เครดติ หุ้นสามัญ 200,000

สว่ นเกินมูลค่าหุ้นสามญั 40,000

ค. เดบิต กาไรสะสม 240,000

เครดติ หนุ้ สามัญปันผลคา้ งจ่าย 240,000

ง. เดบิต กาไรสะสม 240,000

เครดิต หุ้นสามญั ปันผลค้างจา่ ย 200,000

สว่ นเกินมูลค่าห้นุ สามญั 40,000

จ. เดบติ หุ้นสามัญปันผลค้างจา่ ย 240,000

เครดติ หุ้นสามัญ 200,000

สว่ นเกินมูลค่าหุ้นสามัญ 40,000

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 9 กาไรสะสมและเงินปนั ผล 514

เนอื้ หาสาระ

เม่ือสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีบริษัทจะต้องจัดทางบกาไรขาดทุนเพื่อให้ทราบผลกาไรขาดทุน
และนาผลกาไรขาดทุนน้ันโอนเข้าบัญชีกาไรสะสม และจะพิจารณาจัดสรรกาไรสะสมตามมติที่ประชุม
ของคณะกรรมการบริษัท เช่น จัดสรรตามกฎหมาย จัดสรรตามภาระผูกพัน และจัดสรรตามนโยบาย
ของบรษิ ทั เปน็ ต้น กาไรสะสมส่วนท่ียงั มไิ ด้จัดสรรจึงนาไปจ่ายเงนิ ปนั ผลใหแ้ กผ่ ถู้ ือหุ้น ซึ่งบริษัทสามารถ
จ่ายเงินปันผลเป็นเงินสด จ่ายเงินปันผลเป็นสินทรัพย์อื่น จ่ายปันผลเป็นเอกสารแสดงหนี้ของบริษัท
จา่ ยเงินปันผลในลกั ษณะคนื ทุน และจา่ ยปนั ผลเป็นหุ้นสามญั เป็นตน้

1. กาไรสะสม

กาไรสะสม (Retained Earnings) เป็นผลจากการดาเนินงานของบริษัทตั้งแต่จัดต้ังบริษัท
จนถึงปัจจุบันที่ยังไม่แบ่งปันใหผ้ ถู้ ือหนุ้ และยงั สะสมไว้ในบรษิ ทั

กาไรสะสม แบง่ เปน็ 2 ประเภท คอื
1. กาไรสะสมจัดสรร (Appropriation Retained Earnings) คือ กาไรสะสมท่ีบริษัทกันไว้

ตามกฎหมายหรือวตั ถุประสงคเ์ ฉพาะตามนโยบายและขอ้ ผกู พนั ของบรษิ ัท รวมถึงกันไวเ้ พือ่ เป็นหลักประกนั
ต่อเหตกุ ารณท์ ่ีอาจเกดิ ข้นึ ในอนาคต ซึ่งบรษิ ทั ต้องแยกบัญชีออกไว้ต่างหากเพอ่ื ไมใ่ ห้นาไปจ่ายเงินปันผล

2. กาไรสะสมทยี่ งั ไม่ไดจ้ ดั สรร (Un-appropriation Retained Earnings) คอื กาไรสะสม
ส่วนทเี่ หลอื จากการจัดสรรตามวตั ถุประสงคแ์ ลว้ บรษิ ัทสามารถนาไปจ่ายเงินปันผลใหแ้ กผ่ ้ถู ือหุ้นได้

1.1 การจดั สรรกาไรสะสม เป็นการแยกกาไรสะสมจานวนหนงึ่ ออกมาตา่ งหากจากบญั ชีกาไรสะสม
ตามวัตถุประสงค์ของการจดั สรร ท้งั นีเ้ พอ่ื ให้กาไรสะสมส่วนนี้คงไว้ในบริษัทไม่ให้นาไปจ่ายเป็นเงินปันผล
วัตถุประสงค์ของการจดั สรรกาไรสะสม แบง่ เปน็ 3 ประเภท คอื

1.1.1 การจดั สรรตามกฎหมาย (Legal Restrictions) ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา 1202 และพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 กาหนดให้บริษัท
ต้องจัดสรรกาไรสุทธิประจาปีส่วนหนึ่งไว้เป็นทุนสารองไม่น้อยกว่าหน่ึงในยี่สิบ (ร้อยละ 5) ของจานวน
ผลกาไรสุทธิประจาปีหักด้วยยอดขาดทุนสะสม (ถ้ามี) จนกว่าทุนสารองน้ันจะมีจานวนถึงหน่ึงในสิบ
(รอ้ ยละ 10) ของจานวนทุนของบริษัท หรือมากกว่านน้ั แล้วแต่จะไดต้ กลงกาหนดไว้ในขอ้ บังคับของบรษิ ทั

1.1.2 การจัดสรรตามภาระผกู พนั (Contractual Restrictions) เปน็ การจัดสรรกาไรสะสม
ตามเงือ่ นไขหรือสัญญาทบี่ รษิ ัทตกลงไว้กับเจา้ หนหี้ รอื ผถู้ อื ห้นุ บรุ มิ สทิ ธิ เพอ่ื เป็นหลักประกนั ในการชาระหน้ี
หรือไถ่คืนห้นุ บุริมสิทธิเมอ่ื ครบกาหนด

1.1.3 การจดั สรรตามนโยบายของบรษิ ทั (Discretion of Management)
คณะกรรมการบริษทั อาจมีนโยบายใหม้ กี ารจดั สรรกาไรสะสมไว้เพื่อขยายโรงงาน โดยใชแ้ หลง่ เงินทนุ
จากภายในของบริษทั ดังนั้น จงึ ตอ้ งจดั สรรกาไรสะสมไวไ้ มใ่ หน้ าไปจ่ายเงนิ ปนั ผล

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 9 กาไรสะสมและเงินปนั ผล 515

1.2 การบันทึกบัญชเี กี่ยวกับการจัดสรรกาไรสะสม มดี งั น้ี
1) บันทึกการจัดสรรตามกฎหมาย ตามกฎหมายไทยกาหนดให้บริษัทจัดสรรกาไรสะสม

เป็นทุนสารองตามกฎหมายจานวนร้อยละ 5 ของกาไรสุทธิ จนกว่าทุนสารองตามกฎหมายจะมี

จานวนเท่ากับร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียนของบริษัท การบันทึกบัญชีโดยลดยอดบัญชีกาไรสะสม
และเครดติ บญั ชกี าไรสะสมจัดสรร-สารองตามกฎหมาย บนั ทกึ บญั ชโี ดย

เดบิต กาไรสะสม ××
เครดติ กาไรสะสมจดั สรร-สารองตามกฎหมาย ××

ตัวอย่างท่ี 9.1 วันที่ 1 มกราคม 2557 บริษัท ทรัพย์ทวี จากัด มีทุนจดทะเบียนเป็นหุ้นสามัญ

จานวน 50,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท จาหน่ายในราคาตามมูลค่า พร้อมทั้งออกใบหุ้น

ไปแล้วทั้งหมด ต่อมาวันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีกาไรสุทธิ 700,000 บาท การจัดสรรกาไรสะสม

เปน็ สารองตามกฎหมาย 5% ของกาไรสุทธิ

การบนั ทกึ บัญชี

สมุดรายวันทัว่ ไป หน้า 1

พ.ศ. 2557 รายการ เลขที่ เดบติ เครดติ
เดอื น วนั
บัญชี บาท สต. บาท สต.

ธ.ค. 31 กาไรสะสม (700,000 × 5%) 35,000 -

กาไรสะสมจดั สรร-

สารองตามกฎหมาย 35,000 -

บนั ทึกจดั สรรกาไรสะสม

เป็นทุนสารองตามกฎหมาย

บรษิ ทั จะต้องจัดสรรกาไรสะสมเป็นทนุ สารองตามกฎหมายก่อนจ่ายเงินปนั ผลทกุ ปจี นกว่า

ทุนสารองตามกฎหมายจะมจี านวน 500,000 บาท (5,000,000 × 10%)
ในกรณที บ่ี ริษทั จาหนา่ ยหุ้นในราคาสงู กว่ามลู คา่ ให้ถอื วา่ สว่ นเกนิ มลู ค่าหุน้ นัน้ เปน็ ส่วนหนงึ่

ของทนุ สารองตามกฎหมายด้วย

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 9 กาไรสะสมและเงินปนั ผล 516

จากตวั อยา่ ง 9.1 ถ้าบรษิ ัท ทรพั ย์ทวี จากดั นาหุ้นสามัญ จานวน 50,000 หนุ้ มลู คา่ หุ้นละ 100 บาท

จาหน่ายในราคาหุ้นละ 108 บาท จะมีส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญที่ถือเป็นทุนสารองตามกฎหมาย

จานวน 400,000 บาท (50,000 × 8) ดังน้ัน การจัดสรรกาไรสะสมเป็นทุนสารองตามกฎหมาย

ในวันท่ี 31 ธันวาคม 2557 บริษัทจะจัดสรรเพียง 100,000 บาท เพ่ือให้ทุนสารองตามกฎหมาย

เป็นไปตามที่กฎหมายกาหนด คอื 500,000 บาท

การบนั ทกึ บญั ชี

สมดุ รายวนั ทวั่ ไป หนา้ 1

พ.ศ. 2557 รายการ เลขที่ เดบิต เครดติ
เดอื น วัน
บัญชี บาท สต. บาท สต.

ธ.ค. 31 กาไรสะสม 100,000 -

กาไรสะสมจดั สรร-

สารองตามกฎหมาย 100,000 -

บันทึกจัดสรรกาไรสะสม

เปน็ ทนุ สารองตามกฎหมาย

และถ้าในปตี ่อมาบริษัทดาเนนิ งานแลว้ มีผลกาไรก็ไม่ตอ้ งจดั สรรไวเ้ ปน็ ทุนสารองตามกฎหมายอกี
เนอ่ื งจากไดจ้ ดั สรรไว้ครบจานวนแล้ว

2) บันทึกการจัดสรรตามภาระผูกพัน เป็นการจัดสรรกาไรสะสมตามเงื่อนไขหรือสัญญา
ทบ่ี ริษทั ตกลงไว้กับเจา้ หน้หี รอื ผู้ถือหนุ้ บรุ มิ สทิ ธิ เพื่อเปน็ หลักประกนั ในการชาระหน้ี หรือไถค่ นื หนุ้ บรุ ิมสิทธิ
เม่อื ครบกาหนด บันทึกบญั ชโี ดย

เดบติ กาไรสะสม ××
เครดติ กาไรสะสมจดั สรร-เพือ่ ไถถ่ อนหนุ้ กู้ ××

เมอ่ื วัตถุประสงค์ในการจัดสรรกาไรสะสมนน้ั สนิ้ สุดลง ให้โอนปิดบญั ชกี าไรสะสมจดั สรร
เขา้ บญั ชกี าไรสะสม บนั ทกึ บญั ชโี ดย

เดบติ กาไรสะสมจัดสรร-เพอื่ ไถ่ถอนหุ้นกู้ ××
เครดติ กาไรสะสม ××

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 9 กาไรสะสมและเงินปันผล 517

ตัวอย่างท่ี 9.2 วันที่ 1 มกราคม 2557 บริษัท ทรัพย์ทวี จากัด ออกจาหน่ายหุ้นกู้ชนิดไถ่ถอน

เม่ือครบกาหนด มูลค่า 500,000 บาท อัตราดอกเบ้ีย 10% ต่อปี อายุ 5 ปี บริษัทมีนโยบาย

จัดสรรกาไรสะสมเพอ่ื การไถ่ถอนหุ้นก้ปู ีละ 100,000 บาท

การบนั ทึกบัญชี

สมุดรายวนั ทว่ั ไป หน้า 1

พ.ศ. 2557 รายการ เลขท่ี เดบิต เครดิต
เดอื น วัน
บัญชี บาท สต. บาท สต.

ธ.ค. 31 กาไรสะสม 100,000 -

กาไรสะสมจัดสรร-

เพื่อไถถ่ อนหนุ้ กู้ 100,000 -

จดั สรรกาไรสะสมเพอ่ื ไถ่ถอนหุ้นกู้

ปีละ 100,000 บาท เวลา 5 ปี

ครบกาหนด 1 มกราคม 2562

ต่อมาวนั ท่ี 1 มกราคม 2562 หุ้นกู้ครบกาหนดไถถ่ อนบริษทั จ่ายชาระหนแ้ี ละดอกเบย้ี ครบถว้ นแลว้

บริษัทต้องโอนปิดบัญชกี าไรสะสมจัดสรร-เพื่อไถ่ถอนหุ้นกู้ จานวน 500,000 บาท
(จดั สรรปลี ะ 100,000 บาท เปน็ เวลา 5 ปี) เขา้ บญั ชีกาไรสะสม

การบนั ทกึ บญั ชี

สมุดรายวนั ทวั่ ไป หนา้ 1
เครดติ
พ.ศ. 2562 รายการ เลขที่ เดบิต บาท สต.
เดือน วนั บญั ชี บาท สต.
500,000 -
ม.ค. 1 กาไรสะสมจดั สรร-เพือ่ ไถ่ถอนหนุ้ กู้ 500,000 -

กาไรสะสม

บนั ทึกโอนปิดบญั ชกี าไรสะสม

จัดสรรกาไรสะสมเพอ่ื ไถถ่ อนหนุ้ กู้

กลบั ไปบญั ชีกาไรสะสม

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 9 กาไรสะสมและเงินปันผล 518

3) บันทึกการจัดสรรตามนโยบายของบรษิ ัท
คณะกรรมการบรษิ ทั อาจมีนโยบายใหม้ ีการจดั สรรกาไรสะสมไว้เพอ่ื ขยายโรงงาน

โดยใชแ้ หลง่ เงนิ ทนุ จากภายในของบริษทั ดงั น้นั จงึ ต้องจัดสรรกาไรสะสมไว้ไมใ่ หน้ าไปจ่ายเงนิ ปันผล

บนั ทึกบญั ชีโดย

เดบิต กาไรสะสม ××
เครดิต กาไรสะสมจดั สรร-เพือ่ (ระบุ) ××

เมื่อวัตถปุ ระสงคใ์ นการจดั สรรกาไรสะสมน้นั สิ้นสุดลง ให้โอนปิดบัญชีกาไรสะสมจดั สรร
เขา้ บัญชกี าไรสะสม บันทึกบัญชโี ดย

เดบติ กาไรสะสมจดั สรร-เพ่อื (ระบ)ุ ××
เครดิต กาไรสะสม ××

ตวั อยา่ งที่ 9.3 วันท่ี 1 มกราคม 2557 บริษทั ทรพั ย์ทวี จากัด วางแผนจะขยายโรงงานในอกี 5 ปีข้างหน้า
บริษัทประสงค์จะใช้เงินทุนบางส่วนที่ได้มาจากการดาเนินงานไปขยายโรงงาน บริษัทจึงมีนโยบาย
จัดสรรกาไรสะสมเพื่อขยายโรงงานปลี ะ 300,000 บาท เป็นเวลา 5 ปี

การบันทกึ บัญชี

สมดุ รายวันทว่ั ไป หน้า 1

พ.ศ. 2557 รายการ เลขท่ี เดบิต เครดิต
เดือน วนั บัญชี บาท สต. บาท สต.

ธ.ค. 31 กาไรสะสม 300,000 -

กาไรสะสมจัดสรร-

เพ่ือขยายโรงงาน 300,000 -

จัดสรรกาไรสะสมเพือ่ ขยายโรงงาน

ปีละ 300,000 บาท เวลา 5 ปี

ครบกาหนด 1 มกราคม 2562

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 9 กาไรสะสมและเงินปนั ผล 519

เม่ือสิน้ ปีท่ี 5 บรษิ ทั ขยายโรงงานเสรจ็ สนิ้ แลว้ และบรษิ ัทมยี อดกาไรสะสมจดั สรรเพื่อขยายโรงงาน

1,500,000 บาท จงึ โอนปิดบัญชกี าไรสะสมจัดสรร-เพอื่ ขยายโรงงาน เข้าบญั ชีกาไรสะสม

การบันทึกบญั ชี

สมดุ รายวนั ทวั่ ไป หนา้ 1

พ.ศ. 2562 รายการ เลขท่ี เดบติ เครดติ
เดือน วัน
บัญชี บาท สต. บาท สต.

ม.ค. 1 กาไรสะสมจดั สรร-เพือ่ ขยายโรงงาน 1,500,000 -

กาไรสะสม 1,500,000 -

บันทกึ โอนปดิ บญั ชกี าไรสะสม

จัดสรรกาไรสะสมเพอ่ื ขยายโรงงาน

กลับไปบัญชีกาไรสะสม

การแสดงรายการกาไรสะสมในงบแสดงฐานะการเงนิ
โดยจะแสดงกาไรสะสมจดั สรร และกาไรสะสมทีย่ งั ไมไ่ ดจ้ ัดสรร แยกออกจากกัน

ตัวอย่างท่ี 9.4 บริษัท ทรพั ยท์ วี จากดั แสดงรายการเกย่ี วกับกาไรสะสมในงบแสดงฐานะการเงิน

(บางส่วน) ในปี 2557 ดังน้ี

บริษัท ทรพั ยท์ วี จากัด

งบแสดงฐานะการเงิน

ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2557

ส่วนของผถู้ ือหุ้น

ทนุ จดทะเบยี น

หุ้นสามญั 50,000 หุ้น มลู ค่าห้นุ ละ 100 บาท 5,000,000

ทุนท่ีชาระแล้ว

หนุ้ สามญั 50,000 หุ้น มูลคา่ หนุ้ ละ 100 บาท 5,000,000

กาไรสะสม

จัดสรรแล้ว

สารองตามกฎหมาย (หมายเหตุ 23) 35,000

สารองเพอื่ ไถถ่ อนหุน้ กู้ 100,000

สารองเพอ่ื ขยายโรงงาน 300,000

ยงั ไม่ไดจ้ ัดสรร (700,000 – 435,000) 265,000 700,000

รวมสว่ นของผูถ้ อื หนุ้ ××

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 9 กาไรสะสมและเงินปนั ผล 520

หมายเหตุประกอบงบการเงิน
หมายเหตุ 23 ตามข้อกาหนดของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์กาหนดให้บริษัทต้องจัดสรร
เงินสารองอย่างนอ้ ยรอ้ ยละ 5 ของกาไรสุทธิประจาปี หลงั หักส่วนของขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกระทั่ง
สารองนี้มีมูลค่าไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน ซ่ึงสารองตามกฎหมายน้ีไม่สามารถ
นามาจ่ายปันผลได้

แบบฝึกหดั ที่ 9.1

จงตอบคาถามต่อไปนใี้ ห้สมบรู ณ์ (ขอ้ ละ 2 คะแนน)
1. กาไรสะสมแบง่ เป็นกปี่ ระเภท อะไรบ้าง

................................................................................................................................ .....................................
.....................................................................................................................................................................
2. จงบอกวัตถปุ ระสงคข์ องการจดั สรรกาไรสะสม
................................................................................................................................ .....................................
............................................................................................................................. ........................................
................................................................................................................................ .....................................
.....................................................................................................................................................................
................................................................................................................................ .....................................
........................................................................................................................................... ..........................
.....................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................................

จงปฏิบัตกิ ิจกรรมตามท่โี จทยก์ าหนด (10 คะแนน)
1. วนั ท่ี 1 มกราคม 2557 บริษทั รงุ่ ทรพั ย์ จากดั มีทนุ จดทะเบยี นเปน็ หุน้ สามญั จานวน 10,000 หุน้

มลู คา่ ห้นุ ละ 100 บาท จาหน่ายในราคาตามมลู คา่ พร้อมทง้ั ออกใบห้นุ ไปแลว้ ทงั้ หมด
ตอ่ มาวันที่ 31 ธันวาคม 2557 มกี าไรสทุ ธิ 500,000 บาท
ให้ทา 1. บนั ทกึ รายการจดั สรรกาไรสะสมตามกฎหมาย

2. แสดงรายการกาไรสะสมในงบแสดงฐานะการเงิน (บางสว่ น) ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2557
3. เปดิ เผยขอ้ มลู การจัดสรรกาไรสะสมในหมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 9 กาไรสะสมและเงินปนั ผล 521

1. บนั ทึกรายการจัดสรรกาไรสะสมตามกฎหมาย

สมดุ รายวนั ท่วั ไป หน้า 1

พ.ศ. รายการ เลขที่ เดบิต เครดติ
เดือน วัน บญั ชี บาท สต. บาท สต.

2. แสดงรายการกาไรสะสมในงบแสดงฐานะการเงนิ (บางสว่ น) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

บริษัท รุ่งทรัพย์ จากัด

งบแสดงฐานะการเงิน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557

สว่ นของผถู้ ือหุ้น

ทนุ จดทะเบยี น

หนุ้ สามญั 10,000 หุน้ มูลค่าหนุ้ ละ 100 บาท

ทนุ ทชี่ าระแลว้

หุ้นสามญั 10,000 หุ้น มูลคา่ หุ้นละ 100 บาท

กาไรสะสม

จัดสรรแลว้

สารองตามกฎหมาย (หมายเหตุ.….)

ยังไม่ไดจ้ ัดสรร

รวมส่วนของผู้ถอื หุน้

3. เปิดเผยข้อมลู การจดั สรรกาไรสะสมในหมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน

หมายเหตุ..... ตามข้อกาหนดของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์กาหนดให้บริษัทต้องจัดสรร
เงนิ สารองอยา่ งน้อยรอ้ ยละ.......ของกาไรสทุ ธปิ ระจาปี หลังหักส่วนของขาดทุนสะสมยกมา (ถ้าม)ี จนกระท่งั
สารองนี้มีมูลค่าไม่น้อยกว่าร้อยละ......ของทุนจดทะเบียน ซึ่งสารองตามกฎหมายน้ีไม่สามารถ

นามาจ่ายปันผลได้

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 9 กาไรสะสมและเงินปันผล 522

2. วนั ที่ 1 มกราคม 2557 บริษัท โชคทวี จากัด ออกจาหนา่ ยหนุ้ กู้ชนิดไถ่ถอนเมอื่ ครบกาหนด
มลู คา่ 400,000 บาท อัตราดอกเบ้ีย 10% ต่อปี อายุ 4 ปี บรษิ ัทมีนโยบายจดั สรรกาไรสะสม
เพอ่ื การไถถ่ อนหุ้นก้ปู ลี ะ 100,000 บาท และวางแผนจะขยายโรงงานในอีก 4 ปีขา้ งหนา้

บรษิ ัทประสงคจ์ ะใช้เงนิ ทุนบางส่วนที่ได้มาจากการดาเนนิ งานไปขยายโรงงาน
บริษัทมีนโยบายจดั สรรกาไรสะสมเพอ่ื ขยายโรงงานปลี ะ 100,000 บาท เป็นเวลา 4 ปี
ในปี 2557 บริษัทมีกาไรสทุ ธิ 400,000 บาท

ให้ทา 1. บนั ทกึ รายการจัดสรรกาไรสะสม ปี 2557
2. บนั ทกึ โอนปิดการจัดสรรกาไรสะสม ปี 2561

1. บันทึกรายการจัดสรรกาไรสะสม ปี 2557

สมดุ รายวนั ทวั่ ไป หน้า 1

พ.ศ. รายการ เลขท่ี เดบติ เครดิต
เดอื น วนั
บัญชี บาท สต. บาท สต.

2. บนั ทึกโอนปดิ การจัดสรรกาไรสะสม ปี 2561

สมดุ รายวนั ท่ัวไป หน้า 1

พ.ศ. รายการ เลขท่ี เดบิต เครดติ
เดือน วนั บัญชี บาท สต. บาท สต.

หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 9 กาไรสะสมและเงินปันผล 523

2. การคานวณเงนิ ปันผล

เงินปันผล (Dividends) เป็นกาไรสุทธิที่บริษัทแบ่งให้ผู้ถือหุ้น โดยปกติการคานวณเงินปันผล
จะคานวณเป็นร้อยละของมลู คา่ หุ้นท่ีออกจาหน่ายและเรียกชาระเต็มมูลค่าแล้ว แต่ไม่รวมหุ้นทุนได้รับคืน
ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ยไ์ ด้กาหนด หลกั เกณฑแ์ ละข้นั ตอนการจ่ายเงนิ ปันผล ดังน้ี

1. เงินปันผลท่ีจ่ายต้องคิดให้ตามส่วนของจานวนเงินค่าหุ้นท่ีส่งใช้แล้วในหุ้นหนึ่ง ๆ เว้นแต่
จะมีการตกลงเป็นอย่างอ่นื ในเรอื่ งของหนุ้ บรุ มิ สทิ ธิ

2. เงินปันผลต้องจ่ายจากกาไรเท่าน้ัน หากบริษัทมีผลขาดทุนจะจ่ายเงินปันผลได้จะต้อง
มีกาไรมาชดเชยผลขาดทุนทเี่ กดิ ข้ึนทงั้ หมดกอ่ น กาไรทเ่ี หลอื จึงจะนาไปจา่ ยเปน็ เงนิ ปันผลได้

3. ทุกครั้งท่ีบริษัทประกาศจ่ายเงินปันผล บริษัทต้องจัดสรรเงินไว้เป็นทุนสารองอย่างน้อย
5% ของกาไรประจาปี จนกว่าทุนสารองจะมีไมน่ ้อยกวา่ 10% ของจานวนทนุ ของบริษัท

4. การจา่ ยเงนิ ปันผลตอ้ งแจง้ ให้ผถู้ อื หุ้นทราบ โดยโฆษณาในหนังสือพิมพ์แห่งท้องถ่ินฉบับหนึ่ง
อย่างน้อย 2 ครั้ง หรอื ใหม้ จี ดหมายแจ้งให้ผถู้ ือหุ้นทราบ

5. เงินปนั ผลคา้ งจ่ายจะคดิ ดอกเบี้ยกบั บริษัทไม่ได้
6. การประกาศจ่ายเงนิ ปนั ผลทกุ คร้ังต้องไดร้ ับมติจากท่ปี ระชุมใหญ่ผู้ถอื หนุ้ การจา่ ยเงินปันผล
ให้กระทาภายใน 1 เดือน นับแต่วันประชมุ ผู้ถือหนุ้ หรอื คณะกรรมการลงมติ
อย่างไรก็ตาม หากคณะกรรมการบริษัทเห็นควรให้จ่ายเงินปันผลระหว่างกาลให้ผู้ถือหุ้น
เป็นคร้ังคราวโดยไม่ต้องขออนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น ถ้ามั่นใจว่างวดบัญชีน้ันบริษัทมีกาไรมากพอ
ก็สามารถทาได้
วนั ทีเ่ กย่ี วขอ้ งกับการจ่ายเงนิ ปันผลมี 3 วัน ดงั น้ี
1. วันประกาศจ่ายเงนิ ปันผล (Date of Declaration) เป็นวนั ที่คณะกรรมการของบรษิ ทั
ไดม้ ีมตใิ ห้ประกาศจ่ายเงนิ ปนั ผล บริษทั จะถอื วา่ มหี นส้ี ินเกดิ ขนึ้ เนื่องจากมภี าระผูกพันทจ่ี ะตอ้ งจา่ ย
เงินปันผลให้กบั ผถู้ ือหุน้ ตามทป่ี ระกาศไว้
2. วันปิดรับโอนหุ้น (Ex-dividend Date) เป็นวันทบ่ี ริษทั งดรบั การโอนหนุ้ กอ่ นทีจ่ ะรวบรวม
รายช่ือผู้ถอื หนุ้ ที่มสี ทิ ธิรบั เงนิ ปันผล
3. วันทจ่ี า่ ยเงินปันผล (Date of Payment) โดยปกติวันจ่ายเงินปันผลจะเกดิ ขนึ้
หลงั วันทปี่ ระกาศจ่ายเงนิ ปนั ผลประมาณ 4 - 6 สปั ดาห์
การคานวณเงินปันผล การจ่ายเงินปันผลให้จ่ายตามสัดส่วนของจานวนหุ้นที่อยู่ในมือผู้ถือหุ้น
ผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิมีสิทธิได้รับเงินปันผลก่อนผู้ถือหุ้นสามัญตามอัตราและสิทธิพิเศษท่ีกาหนดไว้ใน
ใบหุ้นบุรมิ สิทธิ ดังนี้
1) หุ้นบรุ ิมสิทธิชนดิ ไม่สะสมและไมร่ ว่ มรบั
2) หุ้นบุริมสิทธิชนิดไม่สะสมแตร่ ว่ มรบั
3) หุ้นบรุ ิมสิทธชิ นิดสะสมแตไ่ มร่ ว่ มรบั
4) ห้นุ บรุ ิมสทิ ธิชนดิ สะสมและรว่ มรบั

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 9 กาไรสะสมและเงินปันผล 524

ตัวอย่างท่ี 9.5 วันที่ 1 มกราคม 2557 บริษทั มีทรัพย์ จากดั จดทะเบยี นและออกจาหน่ายหุน้ ดังนี้
หุ้นบรุ มิ สิทธิ 5% จานวน 20,000 หุน้ มูลคา่ หนุ้ ละ 100 บาท จานวนเงนิ ทง้ั สน้ิ 2,00,000 บาท
หนุ้ สามญั จานวน 50,000 หุ้น มลู ค่าหนุ้ ละ 50 บาท จานวนเงินทัง้ สิ้น 2,500,000 บาท

ขอ้ มูลเกยี่ วกบั การจ่ายเงินปันผล ในปี 2556 บรษิ ทั ประสบผลขาดทนุ จงึ ไมม่ ีการประกาศจ่ายเงินปันผล
และในปี 2557 ประกาศจ่ายเงนิ ปันผล จานวน 900,000 บาท

การคานวณเงินปันผล ขึ้นอยูก่ ับหุ้นบุริมสทิ ธิเป็นประเภทใด ดงั นี้

1. หุ้นบรุ มิ สทิ ธชิ นิดไม่สะสมและไมร่ ว่ มรับ

หุ้นบรุ ิมสิทธิ หุ้นสามญั รวม
- 100,000
เงินปันผลของห้นุ บรุ มิ สทิ ธิปี 2557 (20,000 × 100 × 5%) 100,000 800,000
800,000
เงินปนั ผลของหนุ้ สามญั (900,000 - 100,000) - 900,000
800,000
รวม 100,000

ดงั นนั้

เงนิ ปันผลทป่ี ระกาศจา่ ย 900,000 บาท แบ่งเป็น

เงินปันผลที่ผถู้ ือหุน้ บุรมิ สทิ ธิได้รับ จานวน 100,000 บาท

เงินปนั ผลทผ่ี ถู้ ือห้นุ สามัญไดร้ บั จานวน 800,000 บาท

รวม จานวน 900,000 บาท

2. หุ้นบุริมสทิ ธิชนิดไม่สะสมแตร่ ว่ มรับ หนุ้ บุริมสทิ ธิ หนุ้ สามัญ รวม
2.1 หุน้ บุรมิ สทิ ธชิ นิดไม่สะสมแต่รว่ มรบั เต็มที่ 100,000 - 100,000

เงินปันผลของหุ้นบรุ มิ สทิ ธิปี 2557 (20,000 × 100 × 5%) - 125,000 125,000
เงินปันผลของหนุ้ สามญั (50,000 × 50 × 5%)
เงินปนั ผลคงเหลอื 675,000 บาท แบง่ ตามอัตราสว่ นทุน 300,0001) - 300,000
เงินปนั ผลของห้นุ บรุ มิ สทิ ธิ - 375,0001) 375,000
เงินปนั ผลของห้นุ สามญั
400,000 500,000 900,000
รวม

1) การคานวณห้นุ บรุ มิ สิทธชิ นดิ รว่ มรบั เต็มท่ี

ผถู้ ือหุน้ บุรมิ สทิ ธจิ ะมสี ทิ ธิรว่ มรบั เงินปนั ผลคงเหลือ หลงั จากทผ่ี ู้ถือห้นุ บรุ ิมสทิ ธแิ ละผูถ้ ือหุ้นสามญั

ไดร้ บั เงินปันผลในอตั ราเดียวกัน (900,000 – 100,000 – 125,000) จานวน 675,000 บาท

โดยแบ่งตามอัตราส่วนทุน

หนุ้ บรุ มิ สทิ ธิ (20,000×100) = 2,000,000 675,000×2,000,000/4,500,000 = 300,000 บาท

ห้นุ สามญั (50,000×50) = 2,500,000 675,000×2,500,000/4,500,000 = 375,000 บาท

รวม 4,500,000 รวมเงนิ ปนั ผล 675,000 บาท

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 9 กาไรสะสมและเงินปนั ผล 525

ดงั นนั้
เงินปนั ผลที่ประกาศจา่ ย 900,000 บาท แบ่งเป็น
เงนิ ปนั ผลทีผ่ ู้ถอื หุน้ บรุ ิมสทิ ธิไดร้ ับ จานวน 400,000 บาท

เงนิ ปันผลที่ผ้ถู อื ห้นุ สามญั ได้รับ จานวน 500,000 บาท
รวม จานวน 900,000 บาท

2.2 หุน้ บุริมสทิ ธิชนดิ ไมส่ ะสมแต่ร่วมรบั ไม่เกิน 8%

หนุ้ บุรมิ สทิ ธิ หนุ้ สามัญ รวม

เงินปนั ผลของหนุ้ บรุ มิ สทิ ธิปี 2557 (20,000 × 100 × 5%) 100,000 - 100,000

เงนิ ปันผลของหนุ้ สามญั (50,000 × 50 × 5%) - 125,000 125,000
เงินปนั ผลคงเหลอื 675,0001) บาท แบง่ ดงั นี้

เงินปันผลของหนุ้ บรุ ิมสทิ ธิ (20,000 × 100 × 3%) 60,000 - 60,000

เงินปันผลของหนุ้ สามญั (675,000 – 60,000) - 615,000 615,000

รวม 160,000 740,000 900,000
1) การคานวณห้นุ บรุ มิ สทิ ธิชนดิ ร่วมรบั ไมเ่ กนิ 8%

ผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิจะมีสิทธิร่วมรับเงินปันผลคงเหลือ หลังจากที่ผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิและผู้ถือหุ้นสามัญ

ไดร้ บั เงนิ ปันผลในอัตราเดยี วกัน (900,000 – 100,000 – 125,000) จานวน 675,000 บาท

ผถู้ ือหนุ้ บรุ มิ สิทธิจะได้รบั เงนิ ปนั ผลอกี 3%

ดงั นนั้
เงนิ ปนั ผลท่ปี ระกาศจ่าย 900,000 บาท แบง่ เป็น
เงนิ ปันผลทผ่ี ู้ถอื ห้นุ บุรมิ สทิ ธิได้รบั จานวน 160,000 บาท

เงนิ ปนั ผลที่ผถู้ ือหุ้นสามญั ได้รบั จานวน 740,000 บาท
รวม จานวน 900,000 บาท

3. หุ้นบุริมสทิ ธิชนดิ สะสมแต่ไม่รว่ มรับ หุ้นบรุ มิ สิทธิ หนุ้ สามญั รวม
100,000 - 100,000
เงินปันผลของห้นุ บรุ มิ สทิ ธิปี 2556 (20,000 × 100 × 5%)
เงนิ ปนั ผลของหุ้นบรุ ิมสทิ ธิปี 2557 (20,000 × 100 × 5%) 100,000 - 100,000
เงินปันผลของหนุ้ สามญั (900,000 – 200,000) - 700,000 700,000
900,000
รวม 200,000 700,000

หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 กาไรสะสมและเงินปนั ผล 526

ดงั นั้น
เงินปันผลท่ปี ระกาศจ่าย 900,000 บาท แบง่ เป็น
เงนิ ปนั ผลท่ีผถู้ อื หุ้นบรุ ิมสิทธิได้รับ จานวน 200,000 บาท

เงินปนั ผลที่ผู้ถอื หนุ้ สามญั ไดร้ บั จานวน 700,000 บาท
รวม จานวน 900,000 บาท

4. หุ้นบรุ มิ สทิ ธิชนิดสะสมและรว่ มรับ

4.1 หุ้นบรุ ิมสทิ ธชิ นิดสะสมแตร่ ว่ มรับเตม็ ท่ี

หุ้นบุริมสิทธิ หนุ้ สามญั รวม

เงนิ ปันผลของห้นุ บรุ ิมสทิ ธิปี 2556 (20,000 × 100 × 5%) 100,000 - 100,000

เงนิ ปันผลของหุ้นบรุ ิมสทิ ธิปี 2557 (20,000 × 100 × 5%) 100,000 - 100,000

เงนิ ปนั ผลของห้นุ สามญั (50,000 × 50 × 5%) - 125,000 125,000

เงินปนั ผลคงเหลอื 575,000 บาท แบ่งตามอตั ราสว่ นทนุ 255,5561) - 255,556
เงินปนั ผลของหุ้นบรุ ิมสทิ ธิ - 319,4441) 319,444
เงินปันผลของหุ้นสามญั

รวม 455,556 444,444 900,000
1) การคานวณห้นุ บรุ มิ สิทธชิ นิดร่วมรบั เตม็ ที่

ผถู้ อื หนุ้ บรุ มิ สทิ ธจิ ะมสี ิทธิรว่ มรับเงนิ ปันผลคงเหลอื หลงั จากทีผ่ ู้ถือหุ้นบรุ ิมสทิ ธิและผู้ถือหุ้นสามญั

ได้รับเงินปันผลในอัตราเดียวกัน (900,000 – 200,000 – 125,000) จานวน 575,000 บาท

โดยแบ่งตามอตั ราส่วนทนุ

หนุ้ บรุ ิมสทิ ธิ (20,000×100) = 2,000,000 575,000×2,000,000/4,500,000 = 255,556 บาท

หุ้นสามญั (50,000×50) = 2,500,000 575,000×2,500,000/4,500,000 = 319,444 บาท

รวม 4,500,000 รวมเงนิ ปันผล 575,000 บาท

ดังนน้ั
เงินปนั ผลทป่ี ระกาศจ่าย 900,000 บาท แบง่ เปน็
เงินปันผลท่ผี ถู้ ือหนุ้ บุริมสิทธไิ ด้รับ จานวน 455,556 บาท

เงินปนั ผลทผี่ ู้ถอื ห้นุ สามัญไดร้ ับ จานวน 444,444 บาท
รวม จานวน 900,000 บาท

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 9 กาไรสะสมและเงินปนั ผล 527

4.2 หุน้ บุรมิ สทิ ธชิ นิดสะสมแต่รว่ มรับไม่เกิน 8%

หุน้ บรุ ิมสิทธิ หุ้นสามญั รวม

เงินปันผลของหุ้นบรุ มิ สทิ ธิปี 2556 (20,000 × 100 × 5%) 100,000 - 100,000

เงินปนั ผลของหนุ้ บรุ ิมสทิ ธิปี 2557 (20,000 × 100 × 5%) 100,000 - 100,000

เงนิ ปนั ผลของหุ้นสามญั (50,000 × 50 × 5%) - 125,000 125,000
เงนิ ปันผลคงเหลอื 575,0001) บาท แบง่ ดังนี้

เงนิ ปันผลของหุ้นบรุ ิมสทิ ธิ (20,000 × 100 × 3%) 60,000 - 60,000

เงินปันผลของห้นุ สามญั (575,000 – 60,000) - 515,000 515,000

รวม 260,000 640,000 900,000
1) การคานวณหนุ้ บรุ ิมสิทธิชนิดรว่ มรบั ไมเ่ กิน 8%

ผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิจะมีสิทธิร่วมรับเงินปันผลคงเหลือ หลังจากท่ีผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิและผู้ถือหุ้นสามัญ

ได้รบั เงินปันผลในอตั ราเดียวกนั (900,000 – 200,000 – 125,000) จานวน 575,000 บาท

ผ้ถู ือหนุ้ บรุ มิ สทิ ธจิ ะไดร้ บั เงินปันผลอกี 3%

ดงั นนั้

เงนิ ปนั ผลทปี่ ระกาศจ่าย 900,000 บาท แบ่งเปน็

เงนิ ปันผลทีผ่ ้ถู อื หุ้นบรุ มิ สทิ ธิได้รบั จานวน 260,000 บาท

เงินปันผลท่ผี ถู้ อื หนุ้ สามญั ไดร้ บั จานวน 640,000 บาท

รวม จานวน 900,000 บาท

แบบฝกึ หดั ท่ี 9.2

จงปฏิบตั ิกจิ กรรมตามท่ีโจทยก์ าหนด (10 คะแนน)
1. บริษทั ออมทรัพย์ จากดั มีหุ้นทนุ ที่ออกจาหน่ายแล้วในปี 2557 ดังนี้

หนุ้ บรุ ิมสทิ ธิ 5% จานวน 40,000 หุน้ มลู ค่าหุ้นละ 50 บาท หนุ้ สามญั จานวน 10,000 หนุ้
มลู ค่าหนุ้ ละ 100 บาท วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2557 บรษิ ทั ประกาศจา่ ยเงนิ ปนั ผล 800,000 บาท
และในปีทแ่ี ล้วบริษทั ไม่ได้จ่ายเงนิ ปันผล
ใหท้ า คานวณเงินปนั ผลในแต่ละกรณีดังน้ี

กรณีที่ 1 หุ้นบรุ มิ สทิ ธชิ นดิ ไมส่ ะสมและไม่รว่ มรบั
กรณที ่ี 2 หุน้ บรุ มิ สิทธิชนดิ ไมส่ ะสมแตร่ ่วมรบั เตม็ ที่
กรณที ี่ 3 หุน้ บรุ มิ สิทธิชนดิ สะสมแต่ไมร่ ่วมรบั
กรณที ่ี 4 หุน้ บรุ ิมสิทธชิ นดิ สะสมแต่ร่วมรับไมเ่ กิน 8%

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 9 กาไรสะสมและเงินปนั ผล 528

กรณีท่ี 1 หุ้นบรุ มิ สิทธชิ นิดไมส่ ะสมและไมร่ ว่ มรับ หนุ้ บุริมสทิ ธิ หุ้นสามญั รวม

เงินปนั ผลของหุน้ บรุ ิมสทิ ธิปี 2557 บาท
เงินปันผลของหุ้นสามญั บาท
บาท
รวม
ดงั นนั้
เงนิ ปันผลท่ปี ระกาศจา่ ย 800,000 บาท แบ่งเป็น
เงินปนั ผลท่ีผ้ถู ือหนุ้ บรุ มิ สทิ ธิได้รบั จานวน
เงินปันผลท่ผี ู้ถอื หุน้ สามญั ได้รับ จานวน

รวม จานวน

กรณที ่ี 2 หนุ้ บรุ ิมสิทธชิ นดิ ไม่สะสมแตร่ ว่ มรับเตม็ ท่ี

หนุ้ บุรมิ สทิ ธิ หุ้นสามญั รวม

เงนิ ปนั ผลของหนุ้ บรุ ิมสทิ ธิปี 2557

เงนิ ปันผลของหุ้นสามญั

เงินปนั ผลคงเหลอื บาท แบ่งตามอตั ราสว่ นทนุ

เงินปันผลของหนุ้ บรุ ิมสทิ ธิ

เงินปันผลของหุน้ สามญั

รวม

1) การคานวณหุน้ บรุ ิมสทิ ธชิ นดิ รว่ มรับเต็มที่

ผถู้ อื ห้นุ บรุ มิ สทิ ธจิ ะมสี ิทธิร่วมรับเงินปนั ผลคงเหลือ หลงั จากท่ผี ถู้ อื ห้นุ บรุ มิ สทิ ธิและผ้ถู อื หุน้ สามญั

ได้รบั เงินปนั ผลในอตั ราเดียวกนั ....................................................... จานวน.........................บาท

โดยแบง่ ตามอัตราสว่ นทนุ

หุ้นบรุ มิ สทิ ธิ = =

หนุ้ สามญั = =

รวม 3,000,000 รวมเงินปนั ผล

ดังนน้ั

เงินปนั ผลทปี่ ระกาศจา่ ย 800,000 บาท แบ่งเปน็

เงนิ ปนั ผลที่ผูถ้ ือหนุ้ บรุ มิ สทิ ธิไดร้ บั จานวน บาท

เงนิ ปันผลที่ผู้ถอื หนุ้ สามญั ไดร้ บั จานวน บาท

รวม จานวน บาท

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 9 กาไรสะสมและเงินปนั ผล 529

กรณที ่ี 3 หุ้นบรุ มิ สิทธชิ นิดสะสมแต่ไม่ร่วมรบั หุ้นบรุ ิมสิทธิ ห้นุ สามญั รวม

เงนิ ปันผลของหนุ้ บรุ ิมสทิ ธิปี 2556 บาท
เงินปันผลของหนุ้ บรุ มิ สทิ ธิปี 2557 บาท
เงนิ ปนั ผลของหนุ้ สามญั บาท

รวม
ดังนัน้
เงินปนั ผลท่ปี ระกาศจา่ ย 800,000 บาท แบง่ เปน็
เงนิ ปันผลทผี่ ถู้ ือห้นุ บรุ มิ สิทธไิ ดร้ บั จานวน
เงนิ ปันผลทผ่ี ถู้ อื หุ้นสามญั ไดร้ บั จานวน

รวม จานวน

กรณที ่ี 4 หุ้นบุริมสทิ ธชิ นดิ สะสมแตร่ ว่ มรับไม่เกิน 8%

หุน้ บรุ ิมสิทธิ ห้นุ สามัญ รวม

เงนิ ปันผลของหนุ้ บรุ ิมสทิ ธิปี 2556

เงินปันผลของหนุ้ บรุ มิ สทิ ธิปี 2557

เงนิ ปนั ผลของหนุ้ สามญั

เงนิ ปนั ผลคงเหลอื ....................บาท แบง่ ดงั น้ี

เงินปนั ผลของหุ้นบรุ ิมสทิ ธิ

เงนิ ปนั ผลของหุ้นสามญั

รวม
1) การคานวณหนุ้ บรุ มิ สิทธชิ นดิ รว่ มรบั ไมเ่ กิน 8%

ผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิจะมีสิทธิร่วมรับเงินปันผลคงเหลือ หลังจากที่ผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิและผู้ถือหุ้นสามัญ

ได้รับเงินปนั ผลในอตั ราเดียวกนั (800,000 – 200,000 – 50,000) จานวน 550,000 บาท

ผถู้ อื หุ้นบรุ มิ สทิ ธจิ ะไดร้ ับเงนิ ปันผลอีก 3%

ดังนัน้

เงนิ ปนั ผลท่ีประกาศจา่ ย 800,000 บาท แบง่ เป็น

เงินปันผลท่ีผู้ถอื หุน้ บุริมสิทธิไดร้ ับ จานวน บาท

เงินปนั ผลทผ่ี ูถ้ อื หนุ้ สามัญได้รบั จานวน บาท

รวม จานวน บาท

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 9 กาไรสะสมและเงินปันผล 530

2. วนั ท่ี 1 มกราคม 2557 บริษัท ภูมใิ จ จากดั จดทะเบยี นหุน้ บรุ มิ สิทธิ 5% จานวน 5,000 ห้นุ

มูลคา่ หุน้ ละ 100 บาท หุ้นสามญั จานวน 12,000 ห้นุ มูลคา่ หนุ้ ละ 50 บาท บริษัทไดน้ าหนุ้

ท้งั 2 ชนดิ ออกจาหน่ายและเรยี กเก็บเงนิ คา่ ห้นุ ครบแล้ว ในปี 2556 บริษทั ไม่ได้ประกาศจ่ายเงนิ ปันผล

และในปี 2557 บรษิ ัทประกาศจา่ ยเงินปันผล 110,000 บาท

ให้ทา คานวณเงนิ ปนั ผลในแต่ละกรณีดังน้ี

กรณที ี่ 1 หนุ้ บรุ มิ สิทธชิ นิดไม่สะสมและไม่ร่วมรับ

กรณีที่ 2 หุ้นบรุ มิ สทิ ธิชนดิ ไมส่ ะสมแต่รว่ มรับไมเ่ กิน 7%

กรณีที่ 3 หุ้นบรุ ิมสทิ ธชิ นิดสะสมแตไ่ มร่ ่วมรบั

กรณีท่ี 4 หนุ้ บรุ มิ สิทธิชนดิ สะสมแต่รว่ มรับเตม็ ที่

กรณีที่ 1 ห้นุ บรุ ิมสิทธชิ นิดไม่สะสมและไมร่ ว่ มรับ

หนุ้ บุรมิ สทิ ธิ ห้นุ สามญั รวม

เงนิ ปนั ผลของหุ้นบรุ มิ สทิ ธิปี 2557

เงินปันผลของหุ้นสามญั

รวม

ดงั นัน้

เงนิ ปันผลท่ปี ระกาศจา่ ย 110,000 บาท แบ่งเปน็

เงนิ ปันผลทีผ่ ้ถู ือหนุ้ บุริมสิทธิไดร้ บั จานวน บาท

เงินปนั ผลทผี่ ้ถู ือหนุ้ สามญั ไดร้ ับ จานวน บาท

รวม จานวน บาท

กรณที ี่ 2 หุ้นบรุ มิ สิทธิชนดิ ไม่สะสมแต่ร่วมรบั ไมเ่ กนิ 7%

หุ้นบรุ มิ สิทธิ หุน้ สามัญ รวม
เงนิ ปันผลของหุ้นบรุ ิมสทิ ธิปี 2557
เงินปนั ผลของหนุ้ สามญั
เงินปันผลคงเหลอื ..................บาท แบ่งดังน้ี
เงินปนั ผลของหนุ้ บรุ มิ สทิ ธิ
เงินปันผลของหุ้นสามญั

รวม
1) การคานวณหนุ้ บรุ ิมสิทธชิ นดิ ร่วมรบั ไมเ่ กิน 7%
ผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิจะมีสิทธิร่วมรับเงินปันผลคงเหลือ หลังจากที่ผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิและผู้ถือหุ้นสามัญ
ได้รบั เงินปนั ผลในอัตราเดียวกัน.......................................................จานวน....................บาท
ผู้ถอื ห้นุ บุริมสิทธิจะไดร้ ับเงนิ ปันผลอกี 2%

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 9 กาไรสะสมและเงินปันผล 531

ดงั นน้ั บาท
เงินปนั ผลทปี่ ระกาศจา่ ย 110,000 บาท แบง่ เปน็ บาท
เงินปนั ผลทีผ่ ้ถู ือห้นุ บรุ ิมสิทธิไดร้ บั จานวน บาท
เงนิ ปนั ผลที่ผถู้ อื หนุ้ สามัญไดร้ ับ จานวน
ห้นุ บุรมิ สิทธิ หุน้ สามัญ รวม
รวม จานวน
บาท
กรณที ี่ 3 หุ้นบุริมสิทธชิ นิดสะสมแตไ่ มร่ ว่ มรับ บาท
บาท
เงินปันผลของหนุ้ บรุ ิมสทิ ธิปี 2556
เงินปนั ผลของหนุ้ บรุ มิ สทิ ธิปี 2557
เงินปนั ผลของหุ้นสามญั

รวม
ดังน้ัน
เงนิ ปนั ผลที่ประกาศจ่าย 110,000 บาท แบง่ เป็น
เงินปนั ผลที่ผูถ้ อื หุ้นบรุ ิมสทิ ธไิ ดร้ ับ จานวน
เงินปนั ผลทผ่ี ถู้ ือหุ้นสามัญได้รบั จานวน

รวม จานวน

กรณีที่ 4 หุ้นบรุ ิมสทิ ธิชนดิ สะสมแต่ร่วมรับเต็มท่ี

หนุ้ บุรมิ สทิ ธิ ห้นุ สามญั รวม
เงินปันผลของหนุ้ บรุ มิ สทิ ธิปี 2556
เงนิ ปันผลของหุ้นบรุ มิ สทิ ธิปี 2557
เงินปนั ผลของหนุ้ สามญั
เงนิ ปนั ผลคงเหลอื ......................บาท แบง่ ตามอัตราส่วนทนุ
เงินปันผลของหนุ้ บรุ ิมสทิ ธิ
เงนิ ปันผลของห้นุ สามญั

รวม
1) การคานวณหุน้ บรุ มิ สิทธิชนดิ ร่วมรับเต็มที่
ผู้ถือหุ้นบุรมิ สิทธจิ ะมสี ิทธิรว่ มรับเงินปันผลคงเหลอื หลงั จากทผ่ี ู้ถอื หนุ้ บรุ มิ สทิ ธิและผู้ถือหนุ้ สามญั
ได้รับเงินปนั ผลในอตั ราเดยี วกนั .........................................................จานวน.......................บาท

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 9 กาไรสะสมและเงินปนั ผล 532

โดยแบ่งตามอตั ราส่วนทนุ = =
= =
หนุ้ บรุ ิมสทิ ธิ
หุ้นสามญั รวมเงนิ ปันผล

รวม บาท
บาท
ดังน้ัน บาท
เงนิ ปันผลทป่ี ระกาศจา่ ย 110,000 บาท แบง่ เปน็
เงนิ ปนั ผลที่ผู้ถอื หุ้นบรุ ิมสิทธไิ ดร้ บั จานวน
เงินปนั ผลทีผ่ ู้ถือหนุ้ สามัญไดร้ บั จานวน

รวม จานวน

3. การบนั ทกึ บญั ชีเกยี่ วกบั เงนิ ปันผล

โดยทัว่ ไปบริษัทจะจา่ ยเงินปันผลเปน็ เงินสด แตใ่ นบางคร้ังบริษัทอาจมีข้อจากัดในด้านสภาพคล่อง
ทาให้ไมส่ ามารถจ่ายเงนิ ปนั ผลเปน็ เงนิ สดได้ เช่น สินทรพั ย์สว่ นใหญ่ของบรษิ ทั เป็นทดี่ ิน อาคารและอุปกรณ์
ซ่ึงมีไว้เพื่อใช้ในการดาเนินงาน การจ่ายเงินสดปันผลอาจต้องทาการจาหน่ายสินทรัพย์หรือกู้ยืมเงิน
เพอื่ นามาจ่ายเงินปนั ผล เปน็ ต้น ในกรณนี ้ีบรษิ ทั อาจจา่ ยเงนิ ปนั ผลเป็นสนิ ทรัพย์อ่ืน หรอื เอกสารแสดงหน้ี
ของบริษทั หรอื จา่ ยเงนิ ปนั ผลในลักษณะคนื ทุน หรือจ่ายเป็นหนุ้ ปันผล แตล่ ะกรณเี ปน็ ดงั น้ี

3.1 การจ่ายเงินปันผลเปน็ เงนิ สด (Cash Dividends)

การจา่ ยเงินปนั ผลเป็นเงนิ สดเป็นวิธีท่ีบริษัทนิยมใช้กันมากท่ีสุด การจ่ายเงินปันผลอาจกาหนด

เป็นร้อยละของมูลค่าหุ้น เช่น เงินปันผลหุ้นบุริมสิทธิ 5% คือ การจ่ายเงินปันผล 5% ตามราคามูลค่า
หนุ้ บรุ ิมสิทธิทอี่ อกจาหน่ายและอยใู่ นมือบุคคลภายนอก หรอื อาจกาหนดเปน็ อัตราต่อหนุ้

1) ณ วนั ประกาศจา่ ยเงนิ ปนั ผล ในวนั ท่คี ณะกรรมการบริษัทได้มีมติให้ประกาศจ่ายเงินปันผล

ให้แก่ผูถ้ ือหนุ้ บรษิ ทั จะถอื ว่ามหี นส้ี นิ เกดิ ข้ึน เน่อื งจากมภี าระผูกพันที่จะต้องจ่ายเงินปันผลให้กับผู้ถือหุ้น
ตามท่ีประกาศไว้ บันทึกบัญชโี ดย

เดบิต กาไรสะสม ××
เครดิต เงนิ ปันผลค้างจา่ ย-หุน้ บรุ มิ สทิ ธิ ××

เงินปันผลค้างจ่าย-หนุ้ สามัญ ××

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 9 กาไรสะสมและเงินปนั ผล 533

2) วันจ่ายเปน็ ปันผล บนั ทกึ บญั ชีโดย ××

เดบิต เงินปันผลคา้ งจ่าย-หุ้นบุรมิ สทิ ธิ ××
เงินปันผลคา้ งจ่าย-หนุ้ สามญั ××
เครดิต เงนิ สด

ตวั อยา่ งที่ 9.6 บริษัท มที รพั ย์ จากัด มีทนุ จดทะเบยี นเปน็ หุน้ บรุ มิ สทิ ธิ 8% จานวน 6,000 หนุ้

มูลคา่ หุ้นละ 50 บาท และห้นุ สามญั จานวน 5,000 หุ้น มลู ค่าหุน้ ละ 100 บาท

บรษิ ทั ประกาศจ่ายเงนิ ปันผลเปน็ เงินสด 50,000 บาท ในวันท่ี 15 มกราคม 2557

และจา่ ยเงนิ ปนั ผลในวันที่ 15 กมุ ภาพันธ์ 2557

การบนั ทึกบญั ชี

สมดุ รายวันทว่ั ไป หนา้ 1

พ.ศ. 2557 รายการ เลขท่ี เดบิต เครดติ
เดอื น วนั
บัญชี บาท สต. บาท สต.

ม.ค. 15 กาไรสะสม 50,000 -

เงนิ ปันผลคา้ งจ่าย-หนุ้ บุรมิ สทิ ธิ 24,000 -

เงนิ ปนั ผลคา้ งจ่าย-หนุ้ สามญั 26,000 -

ประกาศจา่ ยเงินปันผลเป็นเงินสด

หนุ้ บรุ ิมสทิ ธิ (6,000 × 50 × 8%)

ห้นุ สามญั (50,000 - 24,000)

ก.พ. 15 เงินปันผลค้างจา่ ย-หนุ้ บุรมิ สทิ ธิ 24,000 -

เงินปนั ผลคา้ งจา่ ย-หนุ้ สามญั 26,000 -

เงนิ สด 50,000 -

บันทกึ จ่ายเงนิ ปนั ผลเป็นเงนิ สด

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 9 กาไรสะสมและเงินปันผล 534

แบบฝกึ หดั ท่ี 9.3

จงปฏิบัติกจิ กรรมตามที่โจทยก์ าหนด (10 คะแนน)

1. บริษัท นาทรัพย์ จากัด มีทุนจดทะเบยี นเปน็ หุน้ บุริมสิทธิ 10% จานวน 8,000 หุ้น
มลู ค่าหนุ้ ละ 100 บาท และหนุ้ สามญั จานวน 10,000 หุ้น มูลค่าหนุ้ ละ 100 บาท
ในวนั ท่ี 1 กุมภาพนั ธ์ 2557 บริษทั ประกาศจา่ ยเงินปันผลเป็นเงนิ สด 100,000 บาท

และจา่ ยเงินปันผลในวนั ท่ี 1 มนี าคม 2557
ใหท้ า บันทึกรายการในสมุดรายวันท่ัวไป

สมุดรายวันท่วั ไป หนา้ 1
รายการ
พ.ศ. เลขที่ เดบติ เครดิต
เดือน วัน
บัญชี บาท สต. บาท สต.

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 9 กาไรสะสมและเงินปันผล 535

2. บรษิ ทั ทองแท้ จากัด มีทนุ จดทะเบยี นเป็นหุน้ บุริมสทิ ธิ 8% จานวน 20,000 หุ้น
มลู ค่าห้นุ ละ 50 บาท และหุ้นสามัญ จานวน 15,000 หุ้น มลู คา่ หุ้นละ 100 บาท
ในวนั ที่ 15 มกราคม 2557 บรษิ ัทประกาศจา่ ยเงนิ ปนั ผลเป็นเงนิ สด 150,000 บาท

และจ่ายเงินปนั ผลในวันท่ี 1 กุมภาพนั ธ์ 2557
ให้ทา บันทกึ รายการในสมุดรายวันทัว่ ไป

สมดุ รายวันทวั่ ไป หน้า 1
รายการ
พ.ศ. เลขท่ี เดบิต เครดิต
เดือน วัน
บญั ชี บาท สต. บาท สต.

3.2 การจา่ ยเงนิ ปันผลเป็นสินทรัพย์อื่น (Property Dividends)

ในบางกรณบี ริษทั อาจจะประกาศจา่ ยเงนิ ปนั ผลเป็นสนิ ทรพั ย์อ่นื แทนทจี่ ะเป็นเงินสด เช่น สินค้า

อุปกรณ์ หรือตราสารทนุ ของบรษิ ทั อน่ื ทถี่ อื ไว้เป็นเงินลงทนุ เปน็ ตน้ การจา่ ยเงนิ ปนั ผลเปน็ สินทรัพย์อื่นน้ี
เป็นการโอนสินทรัพย์ไปให้แก่ผู้ถือหุ้นโดยบริษัทไม่ได้รับผลตอบแทน ณ วันประกาศจ่ายเงินปันผล
เป็นสินทรพั ย์อื่น บริษัทต้องตีราคาสินทรัพย์ท่ีจะจ่ายปันผลให้เป็นมูลค่ายุติธรรม หากมีผลต่างระหว่าง

ราคาตามบัญชีกับมลู คา่ ยตุ ิธรรมของสินทรพั ย์อืน่ ใหบ้ ันทึกบัญชกี าไรหรอื ขาดทุนจากการจาหนา่ ยสินทรัพย์
1) ณ วนั ประกาศจ่ายเงินปันผลเป็นสินทรัพย์อื่น
(1) ปรับปรงุ ราคาสินทรพั ยท์ ่ีจะจา่ ยปันผลใหเ้ ปน็ มลู ค่ายุตธิ รรม ผลต่างระหวา่ ง

มูลคา่ ยตุ ิธรรมกบั ราคาตามบญั ชีของสินทรพั ยอ์ ืน่ ให้บันทึกบญั ชกี าไรหรอื ขาดทนุ จากการจาหน่ายสนิ ทรพั ย์
บนั ทึกบัญชีโดย

เดบิต สินทรัพย์ (ระบ)ุ ××
เครดิต กาไรจากการจาหน่ายสินทรัพย์ ××

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 9 กาไรสะสมและเงินปนั ผล 536

(2) ประกาศจ่ายเงินปันผลเป็นสินทรพั ย์ ××
××
เดบิต กาไรสะสม
เครดิต เงนิ ปันผลค้างจ่าย – สินทรพั ย์ (ระบ)ุ

2) วันจา่ ยเงนิ ปันผล บันทกึ บญั ชโี ดย ××
××
เดบติ เงินปันผลค้างจ่าย – สนิ ทรพั ย์ (ระบ)ุ
เครดติ สินทรัพย์ (ระบ)ุ

ตวั อยา่ งท่ี 9.7 วันท่ี 1 มถิ นุ ายน 2557 บรษิ ัท ทรพั ยท์ วี จากดั ประกาศจา่ ยเงินปนั ผล

เปน็ หุน้ สามญั ของบริษทั รวยทรพั ย์ จากัด จานวน 3,000 หุ้น มูลค่าหนุ้ ละ 100 บาท มูลค่ายุตธิ รรม

หุ้นละ 110 บาท บริษัทถือไวเ้ ปน็ เงินลงทุนทัว่ ไป และจา่ ยเงนิ ปนั ผลในวนั ที่ 1 กรกฎาคม 2557

การบันทึกบัญชี

สมุดรายวนั ท่วั ไป หนา้ 1

พ.ศ. 2557 รายการ เลขที่ เดบติ เครดิต
เดือน วนั
บัญชี บาท สต. บาท สต.

ม.ิ ย. 1 เงินลงทุนท่ัวไป (3,000×(110-100)) 30,000 -

กาไรจากการจาหนา่ ย-

เงนิ ลงทนุ ทวั่ ไป 30,000 -

ปรบั ปรงุ เงนิ ลงทุนทัว่ ไป

ใหเ้ ปน็ มูลคา่ ยตุ ธิ รรม

กาไรสะสม (3,000×110) 330,000 -

เงนิ ปนั ผลค้างจา่ ย-เงนิ ลงทนุ ทัว่ ไป 330,000 -

ประกาศจา่ ยปนั ผลเป็นเงินลงทนุ ท่ัวไป

ก.ค. 1 เงนิ ปันผลค้างจ่าย-เงินลงทุนท่วั ไป 330,000 -

เงนิ ลงทุนทว่ั ไป 330,000 -

บนั ทึกจา่ ยปันผลเปน็ เงินลงทนุ ทั่วไป

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 9 กาไรสะสมและเงินปันผล 537

แบบฝึกหดั ที่ 9.4

จงปฏิบตั ิกิจกรรมตามทีโ่ จทย์กาหนด (10 คะแนน)

1. วันที่ 1 กมุ ภาพนั ธ์ 2557 บรษิ ัท ทองเอก จากัด ประกาศจา่ ยเงนิ ปนั ผลให้แกผ่ ู้ถอื หุน้ สามญั
เปน็ หุ้นสามญั ของบรษิ ทั รวยยง่ิ จากดั จานวน 5,000 หุ้น มูลคา่ ห้นุ ละ 100 บาท

มูลค่ายตุ ธิ รรมหุ้นละ 130 บาท บรษิ ัทต้ังใจถอื ไวเ้ ปน็ เงินลงทุนทว่ั ไป และจา่ ยเงินปันผล
ในวันท่ี 1 มนี าคม 2557
ใหท้ า บันทึกรายการในสมดุ รายวนั ทว่ั ไป

สมุดรายวันทว่ั ไป หนา้ 1
รายการ
พ.ศ. เลขท่ี เดบติ เครดิต
เดอื น วนั
บัญชี บาท สต. บาท สต.


Click to View FlipBook Version