The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การบช.ชั้นกลาง2-สอน2.64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นางนภลดา อินภูษา, 2021-10-31 09:02:19

การบช.ชั้นกลาง2-สอน2.64

การบช.ชั้นกลาง2-สอน2.64

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 6 การเลกิ หา้ งหุ้นส่วนและการชาระบัญชี 338

เดือนมีนาคมจาหนา่ ยสนิ ทรัพย์

ราคาตามบัญชขี องสนิ ทรัพยท์ ีไ่ ม่ใชเ่ งินสด = 262,500 บาท

หกั จาหนา่ ยสินทรัพยไ์ ดเ้ งิน = 210,000 บาท
ขาดทุนจากการจาหนา่ ยสินทรพั ย์ = 52,500 บาท

การแบ่งผลขาดทนุ ตามอัตราส่วน 50% 25% และ 25% ดังน้ี

ทุน – ต้งั (52,500 x 50%) = 26,250 บาท

ทนุ – ตรง (52,500 x 25%) = 13,125 บาท

ทนุ – ใจ (52,500 x 25%) = 13,125 บาท

ห้างหุ้นส่วนจากัดตงั้ ตรงใจ
งบ 2 : คานวณการจ่ายคืนทุนผเู้ ป็นหุ้นส่วน

เดอื นมีนาคม 2558

รายการ ตงั้ (หน่วย : บาท)
50% ตรง ใจ
ยอดคงเหลือก่อนจ่ายคนื ทนุ 339,750 25% 25%
หกั ผลขาดทนุ ทอ่ี าจเกดิ จากสนิ ทรัพย์ทเ่ี หลอื 406,500 บาท 106,875 169,875
(203,250)
(669,000 – 262,500) ขายไม่ได้ 136,500 (101,625) (101,625)
จา่ ยคืนทุนงวดที่ 2 5,250 68,250

เดือนเมษายนจาหน่ายสนิ ทรพั ย์

ราคาตามบัญชีของสนิ ทรพั ย์ทีไ่ มใ่ ชเ่ งินสด = 225,000 บาท
หัก จาหนา่ ยสินทรัพยไ์ ดเ้ งนิ = 180,000 บาท

ขาดทุนจากการจาหนา่ ยสนิ ทรัพย์ = 45,000 บาท

การแบ่งผลขาดทุนตามอัตราส่วน 50% 25% และ 25% ดังน้ี

ทนุ – ตง้ั (45,000 x 50%) = 22,500 บาท

ทุน – ตรง (45,000 x 25%) = 11,250 บาท

ทุน – ใจ (45,000 x 25%) = 11,250 บาท

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 6 การเลิกหา้ งหุ้นส่วนและการชาระบญั ชี 339

เดือนพฤษภาคมจาหนา่ ยสนิ ทรัพย์

ราคาตามบัญชีของสินทรพั ย์ทไี่ มใ่ ชเ่ งินสด = 181,500 บาท
หกั จาหนา่ ยสินทรพั ยไ์ ด้เงนิ = 120,000 บาท
ขาดทุนจากการจาหน่ายสินทรัพย์ = 61,500 บาท

การแบ่งผลขาดทุนตามอตั ราสว่ น 50% 25% และ 25% ดังนี้

ทนุ – ตัง้ (61,500 x 50%) = 30,750 บาท

ทุน – ตรง (61,500 x 25%) = 15,375 บาท

ทนุ – ใจ (61,500 x 25%) = 15,375 บาท

การบันทึกบญั ชี

สมดุ รายวนั ทั่วไป หนา้ 1
เครดติ
พ.ศ. 2558 รายการ เลขที่ เดบิต บาท สต.
เดอื น วัน บัญชี บาท สต.
285,000 - 360,000 -
ม.ค. 31 เงินสด 60,000 - 45,000 -
30,000 - 105,000 -
ทนุ -ตั้ง 30,000 -
186,000 -
ทนุ -ตรง 105,000 -

ทุน-ใจ 75,000 -
87,000 -
สนิ ทรพั ย์ 24,000 -

คา่ ชาระบญั ชคี า้ งจา่ ย

จาหนา่ ยสนิ ทรพั ย์แบง่ ผลขาดทุน

เจา้ หนก้ี ารค้า

เงนิ สด

จา่ ยชาระหนบี้ คุ คลภายนอก

เงนิ ก-ู้ ใจ

ทุน-ใจ

ทนุ -ตง้ั

เงนิ สด

จา่ ยคนื ทุนผเู้ ปน็ หุ้นส่วนงวดท่ี 1

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 6 การเลกิ หา้ งหุ้นส่วนและการชาระบัญชี 340

พ.ศ. 2558 สมุดรายวันท่ัวไป เลขที่ เดบิต หน้า 2
เดอื น วนั บัญชี เครดิต
ม.ี ค. 31 รายการ บาท สต. บาท สต.

เม.ย. 30 เงินสด 210,000 - 262,500 -
ทุน-ตง้ั 26,250 -
พ.ค. 31 ทุน-ตรง 13,125 -
ทุน-ใจ 13,125 -

สนิ ทรพั ย์ 136,500 -
จาหนา่ ยสนิ ทรพั ย์แบง่ ผลขาดทุน 5,250 -
ทุน-ต้งั 68,250 -
ทุน-ตรง
ทนุ -ใจ 210,000 -

เงินสด 180,000 -
จา่ ยคนื ทุนหุ้นส่วนงวดที่ 2
เงินสด 22,500 -
ทนุ -ตง้ั 11,250 -
ทุน-ตรง 11,250 -
ทุน-ใจ
225,000 -
สนิ ทรัพย์
จาหน่ายสนิ ทรพั ย์และแบง่ ขาดทุน 90,000 -
ทนุ -ต้งั
ทุน-ตรง 45,000 -
ทนุ -ใจ 45,000 -

เงนิ สด 180,000 -
จ่ายคนื ทุนหนุ้ ส่วนงวดท่ี 3
เงินสด 120,000 -
ทนุ -ตั้ง 30,750 -
ทุน-ตรง
ทุน-ใจ 15,375 -
15,375 -
สินทรพั ย์
จาหน่ายสินทรพั ย์และแบ่งขาดทนุ 181,500 -
คา่ ชาระบญั ชคี ้างจา่ ย
45,000 -
เงินสด
จา่ ยคา่ ชาระบญั ชี 45,000 -

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 6 การเลิกหา้ งหุ้นส่วนและการชาระบญั ชี 341

สมุดรายวนั ทวั่ ไป หนา้ 3

พ.ศ. 2558 รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต
เดอื น วนั
ทุน-ต้ัง บญั ชี บาท สต. บาท สต.
พ.ค. 31 ทนุ -ตรง
ทนุ -ใจ 60,000 -

เงินสด 30,000 -
จา่ ยคนื ทนุ หุน้ ส่วนงวดสดุ ท้าย
30,000 -

120,000 -

แบบฝกึ หดั ท่ี 6.3

จงปฏิบตั ิกิจกรรมตามท่ีโจทย์กาหนด (10 คะแนน)

หนึ่ง หนยุ่ และนา้ ดาเนินกจิ การห้างหนุ้ ส่วนจากดั ทรพั ยท์ วี แบ่งกาไรขาดทนุ ในอตั รา 2 : 1 : 1
ผู้เปน็ หนุ้ ส่วนตกลงเลกิ กจิ การในวนั ท่ี 1 มิถุนายน 2557 งบแสดงฐานะการเงนิ กอ่ นชาระบญั ชี เป็นดังน้ี

หา้ งห้นุ ส่วนจากัดทรัพย์ทวี

งบแสดงฐานะการเงนิ

ณ วันที่ 1 มิถุนายน 2557

(หนว่ ย : บาท)

สินทรัพย์ หนสี้ ินและส่วนของผู้เปน็ หนุ้ ส่วน

เงนิ สด 10,000 เจ้าหนก้ี ารค้า 30,000
สนิ ทรพั ยอ์ นื่
200,000 เงินก-ู้ หน่งึ 8,000

ทนุ -หนง่ึ 64,000

ทุน-หนุ่ย 60,000

ทนุ -นา้ 48,000

รวมสนิ ทรพั ย์ 210,000 รวมหนส้ี นิ และสว่ นของผเู้ ป็นห้นุ สว่ น 210,000

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 6 การเลกิ หา้ งหุ้นส่วนและการชาระบญั ชี 342

ในระหว่างปี 2557 หา้ งห้นุ ส่วนจาหนา่ ยสินทรพั ยด์ ังนี้

เดอื น ราคาตามบญั ชี (บาท) ราคาขาย (บาท)

มิถนุ ายน 90,000 50,000

สงิ หาคม 70,000 42,000

ตลุ าคม 40,000 18,000

รวม 200,000 110,000

ใหท้ า 1. งบชาระบัญชี

2. งบคานวณการจา่ ยคืนทนุ ผเู้ ปน็ หนุ้ สว่ น

3. บนั ทกึ รายการในสมุดรายวนั ท่วั ไป

1. งบชาระบัญชี

หา้ งหนุ้ ส่วนจากดั ทรพั ย์ทวี

งบชาระบัญชี
เดอื นมถิ ุนายน – ตุลาคม 2557

รายการ สนิ ทรพั ย์ เจ้าหน้ี เงนิ กู้ หนึง่ (หนว่ ย : บาท)
เงินสด อืน่ หนงึ่
ทุน
หนุ่ย น้า

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 6 การเลกิ หา้ งหุ้นส่วนและการชาระบัญชี 343

2. งบคานวณการจา่ ยคืนทุนผูเ้ ป็นหุ้นส่วน
ห้างหนุ้ ส่วนจากดั ทรพั ยท์ วี

งบคานวณการจ่ายคืนทุนผู้เป็นหุ้นส่วน

รายการ หนง่ึ (หน่วย : บาท)
หนุ่ย น้า

3. บันทกึ รายการในสมุดรายวนั ทัว่ ไป

สมดุ รายวันท่ัวไป หนา้ 1

พ.ศ. รายการ เลขที่ เดบติ เครดิต
เดือน วนั
บญั ชี บาท สต. บาท สต.

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 6 การเลกิ ห้างหุ้นส่วนและการชาระบัญชี 344

สมุดรายวันทัว่ ไป หนา้ 2
รายการ
พ.ศ. เลขท่ี เดบิต เครดิต
เดอื น วนั
บญั ชี บาท สต. บาท สต.

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชาระบัญชี 345

3.2 การทาแผนการจ่ายคืนทุนให้ผูเ้ ป็นหุ้นสว่ นตลอดงวดการชาระบัญชี

การทาแผนการจ่ายคนื เงินใหผ้ ูเ้ ป็นหุ้นสว่ นตลอดงวดการชาระบัญชีเป็นการล่วงหน้าเพ่ือให้ทราบว่า
หากมกี ารจา่ ยคืนทนุ ผู้เป็นห้นุ สว่ นคนใดจะไดร้ บั เงนิ คนื ทนุ กอ่ นหรือหลงั ตามลาดับ มขี ้นั ตอนดังน้ี

1. จดั อันดบั ความสามารถในการรับเฉล่ยี ผลขาดทุน โดยไม่ทาให้สทิ ธิส่วนได้เสยี ติดลบ (ทุน + เงนิ ก)ู้

คานวณจากสทิ ธสิ ว่ นได้เสยี ของผูเ้ ป็นหุน้ สว่ นแต่ละคนหารด้วยอตั ราสว่ นแบง่ กาไรขาดทนุ
2. จัดทาตารางรับผลขาดทุนโดยสมมติผลขาดทุนที่อาจเกิดขึ้นเท่ากับจานวนที่เหลืออยู่

ในบญั ชที นุ ของผู้เปน็ หนุ้ สว่ น

3. จัดทาแผนผังการจ่ายคืนเงิน กิจการต้องจ่ายชาระหนี้สินภายนอกเป็นลาดับแรก ต่อจากน้ัน
จ่ายเงินสดให้ผ้เู ป็นหนุ้ ส่วนโดยเรยี งลาดบั ตามตารางรับผลขาดทนุ ท่สี มมติขึน้

ตัวอยา่ งที่ 6.9 จากตัวอยา่ งท่ี 6.8 ห้างห้นุ ส่วนจากดั ตัง้ ตรงใจ ใช้วธิ ีการชาระบญั ชเี ลกิ หา้ งห้นุ ส่วน

โดยการจดั ทาแผนผงั การจ่ายคนื เงินให้แก่ผเู้ ปน็ หุ้นส่วน เปน็ ดงั น้ี

1. จัดอันดบั ความสามารถในการรับเฉลยี่ ผลขาดทุน

หุ้นส่วน ความสามารถในการรับผลขาดทุน ลาดบั ความเส่ยี ง

ตั้ง 450,000 x 100/50 = 900,000 2

ตรง 150,000 x 100/25 = 600,000 1

ใจ 375,000 x 100/25 = 1,500,000 3

2. จัดทาตารางรบั ผลขาดทุน ผเู้ ป็นหุ้นส่วน รวม
ตง้ั ตรง ใจ
รายการ
50% 25% 25%
อตั ราสว่ นแบง่ กาไรขาดทุน
สิทธิส่วนได้เสียของผเู้ ปน็ หุ้นส่วน 450,000 150,000 375,000 975,000
ลาดบั ท่ี 1 สมมตผิ ลขาดทุนทตี่ รงรับได้ (150,000×100/25)
คงเหลือ (300,000) (150,000) (150,000) (600,000)
ลาดบั ที่ 2 สมมติผลขาดทุนทีต่ ัง้ รบั ได้ (150,000×75/50)
คงเหลือ 150,000 225,000 375,000
ลาดับท่ี 3 สมมติผลขาดทุนที่ใจรบั ได้ (150,000×100%)
(150,000) (75,000) (225,000)

150,000 150,000

(150,000) (150,000)

3. จดั ทาแผนผงั การจา่ ยคนื เงิน หนี้สิน สทิ ธิสว่ นไดเ้ สียของผเู้ ป็นห้นุ ส่วน
ต้งั ตรง ใจ
รายการ 100%
100%
ลาดบั ท่ี 1 ชาระหน้ีสนิ 105,000 บาท 50% 25%
ลาดบั ที่ 2 คืนทุนใจ 150,000 บาท 50% 25% 25%
ลาดบั ที่ 3 คนื ทุนตงั้ และใจ 225,000 บาท
ลาดับที่ 4 คนื ทุนตัง้ ตรง และใจ ด้วยเงนิ ท่เี หลอื

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 6 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชาระบญั ชี 346

ตารางคานวณการจา่ ยคนื ทุนของผ้เู ป็นหุ้นสว่ น

รายการ เงนิ สด หน้ีสิน สิทธสิ ่วนไดเ้ สียของผเู้ ปน็ ห้นุ สว่ น

ตง้ั ตรง ใจ

จ่ายคนื ทุนงวดที่ 1 336,000 105,000
หกั เงินกันคา่ ชาระบัญชี
(45,000) 150,000
ลาดบั ที่ 1 ชาระหนีส้ นิ 105,000 บาท 291,000
(105,000) 24,000 12,000
ลาดับท่ี 2 คนื ทุนใจ 150,000 บาท 186,000
(150,000)
ลาดับที่ 3 คืนทุนต้ังและใจ 225,000 บาท 36,000
รับเพยี ง 36,000 (36,000)

รวม 105,000 24,000 162,000

รายการ เงนิ สด หน้สี ิน สิทธสิ ่วนได้เสียของผเู้ ป็นหุน้ ส่วน

ตัง้ ตรง ใจ

จ่ายคนื ทุนครัง้ ท่ี 2 (255,000-45,000) 210,000 126,000 63,000
10,500 5,250 5,250
ลาดบั ท่ี 3 คืนทุนตั้งและใจ (225,000-36,000) 189,000 (189,000) 136,500 5,250 68,250
ลาดบั ที่ 4 คืนทุนตง้ั ตรง และใจ ดว้ ยเงินทเ่ี หลอื (21,000)

รวม

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 6 การเลกิ หา้ งหุ้นส่วนและการชาระบัญชี 347

ห้างหุ้นสว่ นจากดั ตงั้ ตรงใจ
งบชาระบญั ชี

วันที่ 1 มกราคม – 31 พฤษภาคม 2558

(หนว่ ย : บาท)

รายการ สนิ ทรัพย์ หนส้ี นิ เงนิ กู้ใจ ตง้ั ทุน ใจ
เงนิ สด สินทรัพย์อ่ืน ตรง
ยอดคงเหลือก่อนชาระบัญชี
ม.ค.ขายสินทรพั ย์แบ่งขาดทุนและค่าชาระบัญชี 51,000 1,029,000 105,000 75,000 450,000 150,000 300,000
คงเหลือ
จา่ ยชาระหนสี้ ินบุคคลภายนอก 285,000 (360,000) 45,000 (60,000) (30,000) (30,000)
คงเหลือ
จา่ ยคืนทุนงวดที่ 1 336,000 669,000 150,000 75,000 390,000 120,000 270,000

(105,000) (105,000)

231,000 669,000 45,000 75,000 390,000 120,000 270,000

(186,000) (75,000) (24,000) (87,000)

คงเหลือ 45,000 669,000 45,000 366,000 120,000 183,000
มี.ค. ขายสินทรพั ย์และแบ่งขาดทุน 210,000 (262,500) 45,000 (26,250) (13,125) (13,125)
คงเหลือ 255,000 406,500 45,000 339,750 106,875 169,875
จา่ ยคืนทุนงวดที่ 2 (210,000) 45,000 (136,500) (5,250) (68,250)
เหลือ 45,000 406,500 45,000 203,250 101,625 101,625
เม.ย. ขายสินทรพั ย์และแบ่งขาดทุน 180,000 (225,000) (22,500) (11,250) (11,250)
คงเหลือ 225,000 181,500 180,750 90,375 90,375
จา่ ยคืนทุนงวดที่ 3 (180,000) (90,000) (45,000) (45,000)
เหลือ 45,000 181,500 90,750 45,375 45,375
พ.ค. ขายสินทรพั ย์และแบ่งขาดทุน 120,000 (181,500) (30,750) (15,375) (15,375)

เหลือ 165,000 45,000 60,000 30,000 30,000
จา่ ยค่าชาระบัญชี (45,000) (45,000)
เหลือ 120,000 60,000 30,000 30,000
จา่ ยคืนทุนงวดสุดท้าย (120,000) (60,000) (30,000) (30,000)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การเลิกหา้ งหุ้นส่วนและการชาระบัญชี 348

แบบฝกึ หดั ที่ 6.4

จงปฏิบตั ิกจิ กรรมตามท่โี จทย์กาหนด (10 คะแนน)

หา้ งหุน้ สว่ นจากัดไร่อ้อย มหี ้นุ ส่วนประกอบด้วยไร่นา ไร่อ้อยและนาขา้ ว แบง่ กาไรขาดทุน

ในอัตรา 5 : 3 : 2 ตามลาดับ งบแสดงฐานะการเงนิ ณ วนั เลิกกจิ การ ปรากฏดงั น้ี

ห้างหุ้นสว่ นจากดั ไรอ่ ้อย

งบแสดงฐานะการเงิน

ณ วันที่ 1 กรกฎาคม 2557

(หนว่ ย : บาท)

สนิ ทรัพย์ หน้ีสนิ และส่วนของผูเ้ ป็นหุ้นสว่ น

เงนิ สด 58,800 เจา้ หนกี้ ารคา้ 357,000

สนิ ทรพั ยอ์ นื่ 1,201,200 เงินก-ู้ นาข้าว 63,000

ทนุ -ไรน่ า 315,000

ทนุ -ไรอ่ ้อย 294,000

ทนุ -นาข้าว 231,000

รวมสินทรพั ย์ 1,260,000 รวมหนส้ี นิ และสว่ นของผูเ้ ปน็ หนุ้ สว่ น 1,260,000

ระหว่างเดอื นกรกฎาคมถงึ กันยายน ผู้ชาระบญั ชีได้ขายสินทรัพยร์ าคาตามบัญชี 630,000 บาท
151,200 บาท และ 420,000 บาท ได้ในราคา 478,800 บาท 107,100 บาท และ 325,500 บาท

ตามลาดบั ตกลงจ่ายค่าชาระบญั ชี 31,500 บาท

ให้ทา 1. จัดอนั ดับความสามารถในการรับเฉลี่ยผลขาดทุน
2. จัดทาตารางรบั ผลขาดทนุ
3. จัดทาแผนผังการจา่ ยคืนเงิน

4. ตารางคานวณการจ่ายคนื ทุนของผเู้ ปน็ หนุ้ สว่ น
5. งบชาระบญั ชี

1. จดั อนั ดับความสามารถในการรับเฉลยี่ ผลขาดทุน

หุน้ สว่ น ความสามารถในการรบั ผลขาดทุน ลาดบั ความเสี่ยง

หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 6 การเลิกหา้ งหุ้นส่วนและการชาระบัญชี 349

2. จัดทาตารางรบั ผลขาดทุน ผเู้ ป็นหุ้นส่วน รวม
รายการ ไร่นา ไร่อ้อย นาขา้ ว

3. จดั ทาแผนผงั การจา่ ยคนื เงิน หน้ีสิน สิทธิสว่ นได้เสียของผู้เป็นหนุ้ ส่วน
รายการ ไร่นา ไร่ออ้ ย นาขา้ ว

4. ตารางคานวณการจา่ ยคืนทุนของผเู้ ป็นหุ้นส่วน

รายการ เงนิ สด สิทธิสว่ นไดเ้ สยี ของผู้เป็น

หน้ีสิน หนุ้ ส่วน
ไร่นา ไร่ออ้ ย นาข้าว

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 6 การเลกิ ห้างหุ้นส่วนและการชาระบญั ชี 350

5. งบชาระบัญชี หา้ งห้นุ สว่ นจากดั ไรอ่ อ้ ย
รายการ งบชาระบัญชี

เดือนกรกฎาคม-กนั ยายน 2557

สินทรพั ย์ เจา้ หน้ี เงนิ กู้ ไร่นา (หน่วย : บาท)
เงนิ สด อ่นื นาข้าว
ทุน
ไรอ่ อ้ ย นาขา้ ว

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 6 การเลกิ ห้างหุ้นส่วนและการชาระบญั ชี 351

สรปุ

การเลิกห้างหุ้นส่วน หมายถึง การเลิกดาเนินกิจการห้างหุ้นส่วนโดยเด็ดขาดและ
จะตอ้ งมกี ารชาระบัญชเี พ่อื จ่ายคนื ทนุ ใหผ้ ู้เปน็ หุ้นสว่ น

การชาระบัญชี หมายถึง การเลิกกิจการโดยการจาหน่ายสินทรัพย์ เรียกเก็บเงินจากลูกหนี้
เพ่ือนาเงินสดหลังหักค่าใช้จ่ายในการชาระบัญชีแล้วมาชาระหนี้สินแก่บุคคลภายนอก ชาระคืนเงินกู้
และจ่ายคืนทนุ ให้กบั ผู้เปน็ ห้นุ ส่วน การชาระบญั ชีจะต้องจดั ทาโดยผู้ชาระบัญชี

วิธีการชาระบัญชแี ละจ่ายคนื ทนุ มี 2 วธิ ี คอื
1. การชาระบญั ชีโดยจา่ ยคนื ทนุ คร้ังเดยี ว วิธีน้ผี ชู้ าระบัญชจี ะนาสินทรัพย์ทั้งหมดออกจาหน่าย
ผลกาไรขาดทุนจากการจาหน่ายสินทรัพย์แบ่งให้ผู้เป็นหุ้นส่วนตามอัตราส่วนแบ่งกาไรขาดทุน
เรียกเกบ็ เงินจากลูกหน้ีและนาเงินสดท่ไี ด้จ่ายค่าใช้จ่ายในการชาระบัญชี จ่ายชาระหน้ีสินบุคคลภายนอก
จ่ายเงนิ กู้ผเู้ ป็นหุ้นส่วนและจา่ ยคนื ทุนใหผ้ ้เู ปน็ หุ้นส่วน ตามลาดับ
2. การชาระบัญชโี ดยจ่ายคนื ทุนเปน็ งวด วิธีน้ใี ช้ในกรณีท่ีมีสินทรัพย์จานวนมากและไม่สามารถ
จาหน่ายได้หมดในคร้ังเดียว ต้องทยอยนาออกจาหน่ายซึ่งต้องใช้เวลานานในการจาหน่ายสินทรัพย์
แต่ละงวดให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับวิธีท่ี 1 โดยสมมติว่าสินทรัพย์ท่ีเหลืออยู่ไม่สามารถจาหน่ายได้
ต้องถือเป็นผลขาดทุนแบ่งไปบัญชีทุนของผู้เป็นหุ้นส่วน การจ่ายคืนทุนจะจ่ายให้เฉพาะผู้เป็นหุ้นส่วน
ท่ีมยี อดเครดติ บัญชที นุ เท่าน้นั

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 6 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชาระบญั ชี 352

คาศพั ทท์ างการบญั ชี

คาศพั ท์ ความหมาย

Gain or Loss on Realization Account บญั ชีกาไรหรือขาดทุนจากการจาหนา่ ยสินทรัพย์
Installment Liquidation การชาระบัญชโี ดยจ่ายคนื ทุนเป็นงวด
Liquidation of Partnership การเลิกหา้ งหนุ้ ส่วน
Simple Liquidation การชาระบญั ชีโดยจ่ายคนื ทุนคร้ังเดียว
Statement of Partnership Realization and งบชาระบญั ชี
Liquidation

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 6 การเลกิ หา้ งหุ้นส่วนและการชาระบัญชี 353

แบบทดสอบหลงั เรยี น
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 6 การเลกิ หา้ งหุ้นส่วนและการชาระบญั ชี

คาช้แี จง
1. ให้เลือกคาตอบทถี่ ูกตอ้ งท่สี ุดเพยี งข้อเดียว และทาเครอื่ งหมายกากบาท (×) ลงในระดาษคาตอบ
2. แบบทดสอบ จานวน 5 ข้อ รวม 5 คะแนน ใช้เวลา 5 นาที

1. ห้างหุ้นสว่ นจากัด ปกั ธงชัย แบ่งกาไรขาดทนุ ในอัตรา 1 : 1 : 2 ตกลงเลิกกิจการ มียอดคงเหลอื ดงั นี้

เงินสด 5,000 บาท สินทรพั ย์อนื่ ๆ 150,000 บาท เจา้ หน้ี 20,000 บาท ทนุ -ปัก 10,000 บาท

ทุน-ธง 55,000 บาท และทนุ -ชัย 70,000 บาท ผ้ชู าระบัญชีจาหนา่ ยสนิ ทรพั ย์ได้เงนิ 100,000 บาท

จ่ายค่าใชจ้ า่ ยในการชาระบญั ชี 8,000 บาท จา่ ยชาระหนเ้ี จา้ หน้ี ผ้เู ป็นหุน้ สว่ นทม่ี ีบญั ชที ุนด้านเดบติ

ไมส่ ามารถนาเงนิ มาชดใช้ได้ ชัย จะได้รบั คนื ทุนเปน็ จานวนเท่าใด (จุดประสงคก์ ารเรียนรขู้ ้อที่ 2)

ก. 38,000 บาท

ข. 41,000 บาท

ค. 45,000 บาท

ง. 67,000 บาท

จ. 70,000 บาท

2. การจา่ ยคา่ ใช้จา่ ยในการชาระบญั ชี จะบันทกึ บญั ชอี ย่างไร (จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรขู้ อ้ ที่ 3)

ก. เดบิต คา่ ใช้จา่ ยในการชาระบญั ชี ××

เครดติ ค่าใชจ้ า่ ยในการชาระบญั ชีคา้ งจา่ ย ××

ข. เดบิต ทุน-ผเู้ ป็นหุน้ สว่ น ××

เครดติ เงินสด ××

ค. เดบิต เงนิ สด ××

เครดติ คา่ ใช้จ่ายในการชาระบญั ชี ××

ง. เดบิต คา่ ใชจ้ ่ายในการชาระบญั ชี ××

เครดติ เงินสด ××

จ. เดบิต ทนุ -ผเู้ ปน็ หุน้ ส่วน ××

เครดติ กาไรขาดทุนจากการจาหน่ายสนิ ทรพั ย์ ××

3. ข้อใดคือสาเหตขุ องการเลิกหา้ งหุ้นสว่ น (จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ข้อที่ 1)

ก. การดาเนินงานของห้างหนุ้ สว่ นมีแตก่ าไรขาดทุน

ข. ผู้เป็นหุ้นสว่ นบางคนมมี ติให้มกี ารเลกิ หา้ งหุ้นส่วน

ค. ทายาทของผเู้ ป็นหนุ้ สว่ นจงใจละเมดิ กฎของห้างหุ้นสว่ น

ง. ผู้เป็นหนุ้ บอกเลกิ เมื่อสน้ิ รอบปบี ญั ชีโดยบอกเลกิ ก่อน 6 เดือน

จ. ผเู้ ป็นหุน้ สว่ นประเภทจากัดความรบั ผิดคนใดคนหนึ่งล้มละลาย

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 6 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชาระบญั ชี 354

4. เทยี น ทา และแทน รว่ มกันจดั ต้งั ห้างหนุ้ ส่วนจากดั รวมสุข แบง่ กาไรขาดทนุ ในอตั รา 35% 35%
และ 30% ตกลงเลิกกจิ การในวันท่ี 1 กมุ ภาพนั ธ์ 2554 งบแสดงฐานะการเงนิ กอ่ นชาระบญั ชี
มบี ญั ชีเงนิ สด 15,000 บาท สนิ ทรัพย์อื่น 623,000 บาท เจ้าหน้ี 64,000 บาท เงินก-ู้ เทยี น 7,900 บาท
ทุน-เทยี น 235,100 บาท ทุน-ทา 131,000 บาท และทุน-แทน 200,000 บาท
ใครได้รับคนื ทนุ กอ่ นเปน็ อนั ดับแรก (จุดประสงคก์ ารเรียนรขู้ ้อท่ี 5)
ก. ทา
ข. แทน
ค. เทียน
ง. แทนและทา
จ. ได้รบั พรอ้ มกนั

5. ตุลา พจิ กิ า และกนั ยา เปน็ หนุ้ ส่วนกัน แบง่ กาไรขาดทุนเท่ากนั ยอดบัญชีคงเหลอื ของห้างหุน้ ส่วน
กอ่ นการชาระบญั ชีในวันที่ 1 มนี าคม 2557 มเี งินสด 96,000 บาท สนิ ทรัพยอ์ ่นื 640,000 บาท
เจ้าหน้ี 136,000 บาท ทุน-ตลุ า 240,000 บาท ทุน-พิจิกา 192,000 บาท และทนุ -กนั ยา 168,000 บาท
ในเดือนมีนาคม จาหน่ายสนิ ทรัพยอ์ ื่น 280,000 บาท ไดเ้ งิน 160,000 บาท หลังจากชาระหน้สี นิ
ตลุ า พิจิกา และกนั ยา ได้รบั คนื ทุนงวดแรกคนละเท่าใด (จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ขอ้ ที่ 4)
ก. 48,000 บาท 48,000 บาท และ 48,000 บาท
ข. 48,000 บาท 32,000 บาท และ 18,000 บาท
ค. 32,000 บาท 32,000 บาท และ 32,000 บาท
ง. 80,000 บาท 48,000 บาท และ 18,000 บาท
จ. 80,000 บาท 32,000 บาท และ 8,000 บาท

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 7
การจัดต้ังบริษัทและเงนิ ทุนของบริษัท

สาระการเรยี นรู้

1. ประเภทของบริษทั
2. การจดั ตง้ั บรษิ ทั
3. เงนิ ทนุ ของบรษิ ัท
4. การบญั ชีเก่ียวกบั การออกหนุ้ ทุน

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

1. จาแนกประเภทของบริษัทได้
2. บอกขัน้ ตอนการจัดตงั้ บริษทั จากดั ได้
3. บอกขั้นตอนการจดั ต้ังบริษทั มหาชนจากดั ได้
4. บอกชนดิ เงนิ ทนุ ของบริษัทได้
5. บันทึกบญั ชีจาหน่ายหุ้นทุนเป็นเงนิ สดได้
6. บนั ทึกบญั ชีจาหนา่ ยหนุ้ ทุนโดยการใหจ้ องได้
7. บนั ทกึ บัญชีการผิดนดั ชาระหน้ีค่าหนุ้ ได้
8. บนั ทึกบญั ชีจาหน่ายหนุ้ เปน็ หนว่ ยรวมได้
9. บนั ทกึ บัญชีออกห้นุ ทนุ เพอ่ื ชาระคา่ บรกิ ารได้
10. บันทกึ บญั ชอี อกหุ้นทุนเพ่ือแลกกบั สินทรพั ยอ์ น่ื ได้
11. ปฏบิ ตั งิ านด้วยความรับผดิ ชอบ มคี วามสนใจใฝร่ ู้ ซ่อื สตั ย์สจุ รติ ตรงต่อเวลาและสภุ าพเรียบรอ้ ย

สมรรถนะประจาหน่วย

บนั ทึกบญั ชีเกีย่ วกบั การออกหุ้นทนุ ของบริษัทจากัดได้ถกู ต้องตามมาตรฐานการบัญชี

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 7 การจัดต้ังบริษัทและเงินทุนของบริษทั 356

ผงั มโนทศั น์ (Concept Map)

Ways to increase

การจดั ตั้งบริษัทและ 1. ประเภทของบริษทั
เงินทนุ ของบรษิ ัท
2. การจดั ต้ังบริษทั

2.1 การจัดตง้ั บรษิ ัทจากัด
2.2 การจดั ตง้ั บริษัทมหาชนจากดั

3. เงินทุนของบรษิ ัท

4. การบญั ชีเกย่ี วกบั การออกหุน้ ทนุ

4.1 การจาหนา่ ยห้นุ ทนุ เป็นเงนิ สด
4.2 การจาหน่ายหุ้นทนุ โดยการให้จอง
4.3 การผิดนดั ชาระหน้คี ่าห้นุ
4.4 การจาหนา่ ยหุ้นเปน็ หนว่ ยรวม
4.5 การออกหนุ้ ทุนเพอ่ื ชาระค่าบรกิ าร
4.6 การออกหนุ้ ทนุ เพอ่ื แลกกับสนิ ทรัพยอ์ ื่น

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 7 การจดั ตัง้ บรษิ ัทและเงนิ ทุนของบริษทั 357

แบบทดสอบกอ่ นเรียน
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 7 การจดั ตัง้ บริษทั และเงินทนุ ของบริษทั

คาชแ้ี จง
1. ใหเ้ ลือกคาตอบที่ถกู ต้องที่สดุ เพยี งข้อเดยี ว และทาเครอื่ งหมายกากบาท (×) ลงในระดาษคาตอบ
2. แบบทดสอบ จานวน 10 ขอ้ รวม 10 คะแนน ใชเ้ วลา 10 นาที

1. ประเทศไทยจาแนกบริษัทออกเปน็ กี่ประเภท (จดุ ประสงค์การเรยี นรขู้ อ้ ที่ 1)
ก. 2 ประเภท คือ บริษัทจากัดและบริษัทมหาชนจากัด
ข. 2 ประเภท คอื บรษิ ัทเอกชนจากดั และบริษทั จากดั
ค. 2 ประเภท คอื บรษิ ทั จากดั และบริษทั มหาชนจดทะเบียน
ง. 3 ประเภท คือ บรษิ ทั จากดั บริษทั เอกชนและบริษัทมหาชนจากดั
จ. 3 ประเภท คือ บริษัทเอกชน บรษิ ทั จดเบียนและบรษิ ทั มหาชนจากัด

2. การจัดตงั้ บริษทั จากดั ตอ้ งดาเนนิ การตามขอ้ ใดเป็นลาดับแรก (จดุ ประสงคก์ ารเรียนรขู้ อ้ ที่ 2)
ก. จดทะเบยี นจัดตั้งบริษัท
ข. จัดให้มกี ารลงช่ือจองหนุ้
ค. จดั การประชมุ จัดตงั้ บรษิ ทั
ง. จดทะเบียนหนังสอื บรคิ ณห์สนธิ
จ. เรยี กใหผ้ จู้ องซอ้ื หุ้นชาระคา่ ห้นุ อย่างน้อย 25%

3. การจัดตง้ั บรษิ ัทมหาชนจากัดต้องดาเนินการตามข้อใดเป็นลาดบั สดุ ท้าย (จดุ ประสงค์การเรียนรูข้ อ้ ที่ 3)
ก. เสนอขายหุ้นต่อประชาชน
ข. จดทะเบยี นจัดตั้งบริษัท
ค. จดั การประชมุ จัดตง้ั บรษิ ัท
ง. จดทะเบียนหนังสือบรคิ ณห์สนธิ
จ. เรียกเก็บเงินคา่ หุ้นจากผจู้ องซ้อื หุน้ เตม็ จานวน

4. ห้นุ ทุนของบรษิ ัท ตรงกบั ข้อใด (จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ข้อท่ี 4)
ก. Share capital and Ordinary
ข. Common Stock and Capital Stock
ค. Preferred Stock and Capital Stock
ง. Capital Stock and Preferred Stock
จ. Common Stock and Preferred Stock

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 7 การจัดตงั้ บรษิ ัทและเงินทุนของบริษทั 358

5. วันที่ 5 มกราคม 2557 บริษัท ทาดี จากัด (มหาชน) จดทะเบยี นหุ้นสามญั จานวน 5,000 หนุ้

ราคาตามมูลค่าห้นุ ละ 100 บาท ตอ่ มาวันที่ 10 มกราคม 2557 บรษิ ทั นาห้นุ ทั้งหมดออกจาหนา่ ย

ในราคาหุ้นละ 95 บาท และไดร้ บั ชาระคา่ หุ้นครบ การบนั ทกึ บญั ชจี าหน่ายหนุ้ สามัญ ตรงกบั ข้อใด

(จุดประสงค์การเรียนรขู้ อ้ ท่ี 5)

ก. เดบติ เงินสด 475,000

เครดติ หุน้ สามัญ 475,000

ข. เดบติ เงนิ สด 500,000

เครดิต หนุ้ สามัญ 475,000

ส่วนต่ากว่ามูลค่าหุ้นสามญั 25,000

ค. เดบติ เงินสด 475,000

สว่ นตา่ กวา่ มลู คา่ หนุ้ สามญั 25,000

เครดติ หนุ้ สามญั 500,000

ง. เดบิต เงินสด 500,000

เครดิต หุน้ สามญั 500,000

จ. เดบิต หนุ้ สามัญ 500,000

เครดิต เงนิ สด 475,000

ส่วนตา่ กวา่ มลู คา่ ห้นุ สามญั 25,000

6. วนั ท่ี 1 มกราคม 2557 บริษทั เพม่ิ ผล จากดั ออกจาหนา่ ยหุ้นสามญั โดยการใหจ้ อง

จานวน 10,000 หุ้น ราคาตามมลู คา่ หุ้นละ 100 บาท ในราคาหนุ้ ละ 150 บาท

บรษิ ัทจะบนั ทึกบญั ชีอยา่ งไร (จดุ ประสงค์การเรยี นร้ขู ้อที่ 6)

ก. เดบิต เงนิ สด 1,000,000

ลกู หนี้ค่าจองหุ้นสามญั 500,000

เครดติ หนุ้ สามญั ให้จอง 1,500,000

ข. เดบิต หนุ้ สามัญให้จอง 1,000,000

ส่วนเกินมลู ค่าห้นุ สามญั 500,000

เครดิต หนุ้ สามัญ 1,500,000

ค. เดบติ ลกู หน้คี า่ จองหุน้ สามัญ 1,500,000

เครดติ หุ้นสามัญ 1,000,000

เงนิ สด 500,000

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 7 การจดั ตัง้ บริษัทและเงินทุนของบริษทั 359

6. (ต่อ)

ง. เดบติ เงนิ สด 1,500,000

เครดติ หุ้นสามญั 1,000,000

ส่วนเกินมูลคา่ หนุ้ สามญั 500,000

จ. เดบติ ลกู หนคี้ า่ จองหุน้ สามญั 1,500,000

เครดิต ห้นุ สามญั ใหจ้ อง 1,000,000

ส่วนเกินมลู ค่าหุน้ สามัญ 500,000

7. วันที่ 1 มกราคม 2557 บรษิ ทั โชคดี จากัด ออกจาหน่ายหนุ้ สามัญโดยการใหจ้ อง จานวน 1,000 หุน้

ราคาตามมูลค่าหุ้นละ 100 บาท ในราคาหุ้นละ 120 บาท และไดร้ ับชาระเงินคา่ หนุ้ งวดแรก 30%

พรอ้ มสว่ นเกินมูลคา่ หุน้ ตอ่ มาวันท่ี 1 มนี าคม 2557 บรษิ ทั เรียกชาระคา่ หุ้นสว่ นท่เี หลอื 70%

ผู้ถอื ห้นุ จานวน 100 หุ้น ไม่สามารถชาระเงินคา่ หุน้ ได้ บริษัทจึงรบิ หนุ้ และนาออกขายทอดตลาด

ในราคาหุ้นละ 110 บาท เสยี คา่ ใช้จา่ ยในการขายทอดตลาด 200 บาท โดยบรษิ ทั จะคืนเงินค่าห้นุ

ทผ่ี จู้ องซอ้ื หนุ้ ชาระมาแล้วหลงั หักผลขาดทนุ และคา่ ใชจ้ า่ ยจากการขายหุน้ แลว้

การบนั ทึกบญั ชีผดิ นัดชาระหนี้คา่ หุน้ ในวันท่ี 1 มีนาคม 2557 ตรงกับข้อใด

(จุดประสงคก์ ารเรียนรขู้ ้อท่ี 7)

ก. เดบติ เงนิ สด 5,000

ลกู หนี้ค่าจองหุน้ สามัญ 7,000

เครดติ หนุ้ สามญั ใหจ้ อง 10,000

สว่ นเกินทุนจากการริบหนุ้ 2,000

ข. เดบิต ลกู หนีค้ า่ จองหุน้ สามญั 7,000

ส่วนเกนิ ทนุ จากการริบหนุ้ 5,000

เครดติ หุน้ สามญั ให้จอง 10,000

ส่วนเกนิ มลู คา่ หุ้นสามัญ 2,000

ค. เดบติ ห้นุ สามญั ใหจ้ อง 10,000

ส่วนเกนิ มูลคา่ หุ้นสามัญ 2,000

เครดิต ลกู หนค้ี า่ จองหนุ้ สามญั 7,000

เจา้ หนผี้ จู้ องซอ้ื หนุ้ 5,000

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 7 การจัดต้ังบรษิ ทั และเงนิ ทุนของบริษัท 360

7. (ต่อ)

ง. เดบิต ห้นุ สามัญใหจ้ อง 10,000

ส่วนเกินมลู ค่าห้นุ สามญั 2,000

เครดิต ลูกหน้ีค่าจองห้นุ สามัญ 7,000

เงนิ สด 5,000

จ. เดบติ หนุ้ สามัญให้จอง 10,000

ลูกหน้คี า่ จองหุน้ สามญั 2,000

เครดติ ส่วนเกนิ มลู คา่ หุ้นสามญั 7,000

เจา้ หน้ีผูจ้ องซ้อื หนุ้ 5,000

8. วนั ที่ 1 เมษายน 2557 บรษิ ัท ชนะกจิ จากดั จาหนา่ ยหนุ้ เป็นหน่วยรวม จานวน 100 หน่วย

ในราคาหนว่ ยละ 300 บาท ในแต่ละหน่วยประกอบด้วยหนุ้ สามัญ 2 หุ้น มูลคา่ หนุ้ ละ 100 บาท

และหุน้ บุรมิ สทิ ธิ 1 หุ้น มลู ค่าหนุ้ ละ 50 บาท ในวันจาหนา่ ยหุ้นสามญั มมี ูลคา่ ยุตธิ รรมหนุ้ ละ 120 บาท

และไม่ทราบมลู คา่ ยตุ ธิ รรมของห้นุ บรุ ิมสทิ ธิ บรษิ ัทจะบนั ทกึ บัญชจี าหนา่ ยหุ้นเปน็ หน่วยรวมอย่างไร

(จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรขู้ ้อที่ 8)

ก. เดบิต เงินสด 30,000

เครดิต หนุ้ สามญั 24,000

ห้นุ บุริมสทิ ธิ 4,000

ส่วนเกินมลู ค่าหุ้นสามัญ 1,000

สว่ นเกินมลู คา่ หุ้นบรุ มิ สิทธิ 1,000

ข. เดบิต เงนิ สด 30,000

เครดติ หุ้นสามัญ 20,000

ห้นุ บรุ ิมสทิ ธิ 5,000

ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามญั 4,000

ส่วนเกนิ มลู คา่ หนุ้ บุริมสทิ ธิ 1,000

ค. เดบติ เงินสด 30,000

เครดติ หนุ้ สามญั 24,000

ห้นุ บรุ มิ สทิ ธิ 5,000

ส่วนเกินมูลค่าห้นุ บุรมิ สทิ ธิ 1,000

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 7 การจดั ต้ังบริษทั และเงินทุนของบริษทั 361

8. (ตอ่ )

ง. เดบิต เงินสด 30,000

เครดติ หนุ้ สามญั 24,000

หนุ้ บุริมสทิ ธิ 6,000

จ. เดบติ เงนิ สด 30,000

เครดิต หุ้นสามญั 20,000

หุ้นบรุ มิ สิทธิ 6,000

ส่วนเกินมลู ค่าหุ้นสามัญ 4,000

9. วนั ที่ 1 มีนาคม 2557 บรษิ ัท กจิ ดี จากัด ออกห้นุ สามญั จานวน 200 หุ้น มลู คา่ หุ้นละ 50 บาท

มลู คา่ ยตุ ธิ รรมหุ้นละ 55 บาท เพอ่ื เปน็ การชาระค่าจัดทาบญั ชี บริษัทจะบนั ทกึ บญั ชอี ย่างไร

(จดุ ประสงค์การเรียนร้ขู อ้ ที่ 9)

ก. เดบติ คา่ จัดทาบญั ชี 10,000

เครดิต หนุ้ สามัญ 10,000

ข. เดบติ สว่ นเกนิ มลู ค่าหุน้ สามัญ 10,000

เครดิต คา่ ใชจ้ ่ายในการจัดตงั้ บรษิ ทั รอตัดบญั ชี 10,000

ค. เดบิต คา่ ใชจ้ ่ายในการออกหุน้ ทนุ 11,000

เครดิต หนุ้ สามัญ 1,000

ส่วนเกนิ มลู ค่าหุ้นสามัญ 10,000

ง. เดบติ คา่ ใชจ้ ่ายในการจดั ตัง้ บริษัท 11,000

เครดิต หุ้นสามัญ 10,000

สว่ นเกินมูลค่าหนุ้ สามัญ 1,000

จ. เดบิต ค่าใช้จ่ายในการจดั ตั้งบรษิ ทั รอตัดบัญชี 11,000

เครดิต ห้นุ สามัญ 11,000

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 7 การจดั ตัง้ บริษทั และเงนิ ทุนของบริษทั 362

10. วนั ท่ี 1 เมษายน 2557 บริษทั มั่งมี จากัด ออกหนุ้ สามญั จานวน 100,000 หนุ้

มลู คา่ หุ้นละ 10 บาท เพอื่ แลกกับอาคารสานกั งาน มมี ูลคา่ ยุติธรรม 1,250,000 บาท

บริษทั จะบันทกึ บญั ชีอย่างไร (จดุ ประสงคก์ ารเรียนรขู้ อ้ ท่ี 10)

ก. เดบติ อาคารสานกั งาน 1,000,000

เครดติ หุ้นสามัญ 1,000,0000

ข. เดบติ อาคารสานกั งาน 1,100,000

เครดิต หนุ้ สามญั 1,000,0000

ส่วนเกินมลู ค่าหนุ้ สามัญ 100,000

ค. เดบิต อาคารสานักงาน 1,200,000

เครดิต หนุ้ สามัญ 1,000,0000

สว่ นเกินมลู คา่ หุ้นสามัญ 200,000

ง. เดบติ อาคารสานกั งาน 1,250,000

เครดติ หนุ้ สามญั 1,000,0000

ส่วนเกินมูลค่าหุน้ สามัญ 250,000

จ. เดบติ อาคารสานกั งาน 1,500,000

เครดิต หุ้นสามญั 500,0000

สว่ นเกนิ มูลค่าหนุ้ สามัญ 1,000,000

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 7 การจดั ตั้งบริษทั และเงินทุนของบริษทั 363

เนื้อหาสาระ

การดาเนินธุรกิจที่ต้องการเงินทุนเป็นจานวนมากมักจัดตั้งในรูปแบบของบริษัท เน่ืองจาก
การระดมเงินทุนของบริษัทกระทาการจดทะเบียนหุ้นและการนาออกจาหน่าย ซ่ึงมีการกาหนด
มูลค่าของหุ้นไว้ในราคาเท่า ๆ กัน การนาหุ้นออกจาหน่ายผู้ถือหุ้นทุกคนต่างรับผิดจากัดเพียง
ไม่เกินจานวนเงินท่ีตนยังส่งใช้ไม่ครบมูลค่าของหุ้นท่ีตนถืออยู่น้ัน บริษัทอาจจาหน่ายหุ้นเป็นเงินสด
โดยชาระค่าหนุ้ ในคร้งั เดยี วแล้วจึงออกใบหนุ้ ให้ หรือจาหนา่ ยโดยการใหจ้ อง โดยเรียกชาระค่าหุ้นเป็นงวด
อาจเกิดกรณีท่ีผู้จองหุ้นผิดนัดชาระหน้ีค่าหุ้น ดังนั้น บริษัทจึงริบหุ้ นและนาหุ้นออกจาหน่ายใหม่
ซ่ึงวิธีปฏิบัติทางบัญชีมีหลายวิธี นอกจากนี้บริษัทอาจออกจาหน่ายหุ้นเป็นหน่วยรวม หรือ
เพ่ือแลกกบั สนิ ทรัพยอ์ นื่ ๆ ทีไ่ มใ่ ชเ่ งนิ สดกไ็ ด้

1. ประเภทของบรษิ ัท

ในประเทศไทยได้แบ่งบริษทั ออกเปน็ 2 ประเภท คอื
1. บรษิ ัทเอกชนจากัดหรือบรษิ ัทจากดั (Private Company Limited
2. บริษัทมหาชนจากัด (Public Company Limited)

2. การจดั ตั้งบรษิ ทั

2.1 การจดั ตัง้ บรษิ ัทจากัด
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1096 ไดใ้ ห้ความหมายไว้วา่

บริษัทจากดั คอื บรษิ ทั ประเภทซ่งึ ตงั้ ขึ้นด้วยการแบ่งทุนออกเป็นหนุ้ มมี ูลคา่ เท่า ๆ กนั โดยมผี ้ถู อื หุ้น
ตา่ งรับผดิ จากดั เพียงไมเ่ กนิ จานวนเงนิ ทีต่ นยงั ส่งใช้ไม่ครบมลู คา่ ของหุน้ ทตี่ นถือ

การดาเนนิ การจัดตงั้ บรษิ ัทจากัด มลี าดับข้ันตอนดังน้ี
1) จดทะเบียนหนังสือบริคณห์สนธิ ผู้เริ่มก่อการตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป ร่วมลงช่ือกัน
ทาหนังสอื บริคณห์สนธิ และผู้เร่มิ ก่อการทุกคนตอ้ งซื้อหุ้นอย่างน้อยคนละหนึ่งหุ้น แล้วนาไปจดทะเบียน
ตามส ถาน ท่ีรับจดเบี ยนท่ีบริษัท มีสานักง านใหญ่ตั้ง อยู่ ในกรุง เทพมหา นครส ามา รถยื่นขอจ ดทะเบีย น
ที่สานักงานงานบริการจดทะเบียนธุรกิจ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า หรือทาง http://www.dbd.go.th
หากเปน็ ส่วนภมู ิภาคยืน่ จดทะเบยี นได้ทส่ี านกั งานพฒั นาธรุ กิจการคา้ จงั หวัดน้ัน ๆ
2) การจองหนุ้ ผเู้ ร่ิมก่อการตอ้ งจัดให้มผี ู้เขา้ ช่ือจองซ้อื หนุ้ จนครบตามที่กาหนดไว้
3) ประชมุ จดั ต้งั บริษทั ผ้เู รมิ่ กอ่ การจะต้องออกหนงั สือนดั ประชมุ ผูถ้ อื ห้นุ ทั้งหมด
อยา่ งน้อย 7 วัน กอ่ นวันประชุม การประชุมจดั ตั้งบริษทั ใหท้ ่ปี ระชมุ แต่งตั้งกรรมการบริษทั และผู้เร่มิ กอ่ การ
ต้องมอบหมายกิจการใหก้ รรมการบรษิ ทั รบั ดาเนนิ การต่อไป
4) การชาระคา่ หุ้น กรรมการบริษัทเรียกให้ผเู้ รมิ่ กอ่ การและผจู้ องซอื้ ห้นุ ชาระค่าหุ้น
อย่างนอ้ ยรอ้ ยละ 25 ของมลู ค่าหุ้นพรอ้ มส่วนเกนิ มูลคา่ หุ้น (ถ้ามี)

หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 7 การจัดต้งั บรษิ ัทและเงินทุนของบริษัท 364

5) จดทะเบยี นจัดตั้งบริษัท เมื่อได้รบั เงินค่าห้นุ แลว้ กรรมการต้องไปจดทะเบยี นเปน็ บริษทั
ภายใน 3 เดือน นับจากการประชมุ จัดตั้งบริษทั

2.2 การจัดตัง้ บรษิ ัทมหาชนจากดั
ตา มพ ระ ร าชบัญ ญั ติบ ริษั ท มห าชน จา กัด พ. ศ. 25 35 ได้ ให้ ควา มห ม าย ไว้ ว่ า

บริษัทมหาชนจากัด คือ บริษัทประเภทซึ่งต้ังขึ้นด้วยความประสงค์ท่ีจะเสนอขายหุ้นต่อประชาชน
โดยผถู้ ือหุ้นมีความรับผดิ จากดั ไม่เกินจานวนเงินคา่ หุ้นท่ตี ้องชาระและบริษัทดังกล่าวได้ระบคุ วามประสงค์
ทจ่ี ะเสนอขายห้นุ ตอ่ ประชาชนไว้ในหนงั สอื บรคิ ณหส์ นธิ

การดาเนนิ การจดั ตง้ั บรษิ ัทมหาชนจากัด มีลาดับขนั้ ตอนดงั นี้
1) จดทะเบียนหนังสือบริคณห์สนธิ ผู้เร่ิมก่อการต้ังแต่ 15 คนข้ึนไป เข้าช่ือกันจัดทา
หนงั สอื บรคิ ณห์สนธิ เพือ่ นาไปยื่นขอจดทะเบียน ณ ส่วนจดทะเบียนธุรกิจกลาง กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
หรอื สานักงานพัฒนาธุรกิจการค้าจังหวดั ในจงั หวดั ที่สานกั งานใหญข่ องบรษิ ทั ตงั้ อยู่
2) เสนอขายหนุ้ ผู้เรม่ิ กอ่ การอาจเลือกดาเนินการได้ 2 กรณี คอื เสนอขายหนุ้ ทงั้ หมดให้แก่
ผเู้ ริ่มกอ่ การหรือเสนอขายหุ้นตอ่ ประชาชน ซ่งึ ต้องขออนญุ าตจากสานกั งานคณะกรรมการกากับหลกั ทรัพย์
และตลาดหลกั ทรพั ย์ (ก.ล.ต.)
3) ประชมุ จัดตง้ั บรษิ ทั ผู้เร่ิมก่อการต้องเรียกประชุมจัดตั้งบริษัท ภายใน 2 เดือน
เมอ่ื มกี ารจองซ้ือหุ้นครบจานวนท่ีกาหนด ซึ่งต้องไม่เกิน 6 เดือน นับแต่วันที่นายทะเบียนรับจดทะเบียน
หนังสือบริคณห์สนธิ โดยส่งหนังสือนัดประชุมให้ผู้จองซื้อหุ้น ไม่น้อยกว่า 14 วัน ก่อนวันประชุม
เม่ือได้ประชุมจัดต้ังบริษัทและเลือกคณะกรรมการบริษัทได้แล้ว ภายใน 7 วัน นับแต่วันประชุม
จดั ตง้ั บรษิ ัท ผู้เร่มิ กอ่ การตอ้ งมอบงานให้แกค่ ณะกรรมการบรษิ ัทเข้าบรหิ ารงานของบรษิ ทั ตอ่ ไป
4) การชาระคา่ ห้นุ คณะกรรมการบรษิ ทั เรยี กใหผ้ จู้ องหุ้นชาระคา่ หนุ้ เตม็ จานวน
5) จดทะเบียนจดั ตั้งบริษัท คณะกรรมการบรษิ ัทยื่นขอจดทะเบยี นจัดตั้งบริษทั
ภายใน 3 เดือน นบั แตว่ นั ประชมุ จัดตงั้ บรษิ ทั
ค่าใช้จ่ายในการจัดต้ังบริษัท (Organization Expenses) หมายถึง ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ
ที่ผู้เร่ิมก่อการต้ังบริษัทจ่ายไปเพ่ือการต้ังบริษัทจากัดและบริษัทมหาชนจากัด ซ่ึงเป็นระยะเริ่มแรก
ยังไม่มีการดาเนินธุรกิจ เช่น ค่าท่ีปรึกษาทางกฎหมาย ค่าจดทะเบียนหนังสือบริคณห์สนธิ
ค่าโฆษณาชี้ชวนให้เข้าช่ือซ้ือหุ้น ค่าใช้จ่ายในการจัดประชุมต้ังบริษัท ค่าตอบแทนผู้เริ่มก่อการ
คา่ พมิ พแ์ บบฟอรม์ ต่าง ๆ คา่ ใช้จา่ ยทางการบรหิ ารและคา่ ใช้จ่ายในการจัดเตรียมเอกสารตา่ ง ๆ เป็นต้น
ตามมาตรฐานการบญั ชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2558) เร่ือง สินทรัพย์ไม่มีตัวตน กล่าวถึง
ค่าใช้จ่ายในการจัดต้ังบริษัทไม่ให้ถือเป็นสินทรัพย์ เน่ืองจากไม่เข้าเงื่อนไขคือเป็นสินทรัพย์
ท่ีไม่ก่อให้เกิดประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจึงไม่ควรต้ังพักเพื่อตัดจาหน่ายเป็นค่าใช้จ่ายในอนาคต
ดงั นน้ั ใหบ้ นั ทึกรบั รู้เป็นค่าใช้จ่ายในงวดท่ีเกิดข้ึนท้ังจานวน

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 7 การจดั ต้ังบริษัทและเงนิ ทุนของบริษทั 365

3. เงนิ ทนุ ของบริษทั

เงนิ ทนุ ของบรษิ ทั แบง่ ออกเปน็ หุน้ เรยี กวา่ ทนุ เรอื นหนุ้ (Capital Stock) หรือหนุ้ ทนุ (Stock)
ผ้ซู อื้ หนุ้ ทนุ เรยี กว่า ผู้ถือหุน้ (Stockholder) มฐี านะเป็นเจ้าของบริษัท โดยบริษัทจะออกใบหุ้น (Share)
มอบใหแ้ ก่ผถู้ ือหนุ้ ทกุ คนไวเ้ ปน็ หลกั ฐานเม่อื ผ้ถู อื ห้นุ ชาระคา่ หนุ้ ครบแล้ว

ดังน้นั เงนิ ทุนของบริษัท คือ จานวนเงินทั้งหมดทบี่ รษิ ัทไดร้ บั จากการจาหนา่ ยหุ้น
ส่วนของเจา้ ของในกิจการบรษิ ทั จะเรียกว่า ส่วนของผ้ถู ือห้นุ
ส่วนของผู้ถือหุ้น (Stockholders’ Equity) ตามกรอบแนวคิดสาหรับการรายงานทางการเงิน
(ปรับปรุง 2558) หมายถึง ส่วนได้เสียคงเหลือในสินทรัพย์ของบริษัทหลังจากหักหน้ีสินทั้งสิ้นออกแล้ว
หรอื สนิ ทรพั ยส์ ุทธิ (Net Assets)

การแสดงส่วนของผู้ถือหุ้นตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่อง กาหนดรายการย่อ
ทต่ี อ้ งมีในงบการเงิน พ.ศ. 2554 แสดงดงั นี้

1. ทนุ เรอื นหุ้น (Share capital) คอื ส่วนทีเ่ จ้าของนามาลงทนุ แบง่ เปน็ 2 สว่ น ดงั น้ี
1) ทนุ จดทะเบยี น (Authorized share capital) คือ ทุนทจี่ ดทะเบยี นในหนงั สอื บริคณหส์ นธิ

โดยแสดงชนิดของห้นุ จานวนหุน้ และมูลค่าหนุ้ ทจี่ ดทะเบยี นแตล่ ะชนิด
2) ทนุ ทีช่ าระแลว้ (บรษิ ทั จากดั ) ทุนทอี่ อกและชาระแลว้ (บริษทั มหาชนจากดั ) คือ

ทุนที่ออกจาหน่ายและเรียกชาระเงินแลว้ โดยแสดงชนดิ ของห้นุ จานวนหุน้ และมลู คา่ ห้นุ ทีน่ าออกจาหนา่ ย
ถา้ มีหุน้ ทนุ 2 ประเภท ให้แสดงหุ้นบุริมสิทธกิ อ่ นแล้วจงึ แสดงรายการหนุ้ สามญั

2. ส่วนเกินทุน (Paid-in Capital) แบ่งเป็น 3 ส่วน ดงั น้ี
1) สว่ นเกินมลู คา่ หุน้ (Share Premium Account) เกดิ ขึ้นในกรณีท่ีมกี ารจาหนา่ ยหนุ้

ในราคาสงู กวา่ มลู ค่าจะนาไปบวกทุนท่ีออกและชาระแล้ว สว่ นต่ากว่ามลู ค่าหุ้น (Discount on Issue of
Share) เกิดขึ้นในกรณที ม่ี กี ารจาหน่ายหุน้ ในราคาตา่ กว่ามลู ค่าจะนาไปหกั ออกจากทุนที่ออกและชาระแลว้

2) ส่วนเกนิ ทนุ จากการตรี าคาสนิ ทรัพยเ์ พิม่ (Appraisal Surplus)
3) สว่ นเกนิ ทนุ อ่ืน ๆ ได้แก่ ส่วนเกินทุนจากการแปลงสภาพห้นุ สว่ นเกนิ ทุน
จากการขายหนุ้ ทุนได้รบั คืน
3. กาไรสะสม (Retained Earnings) แบง่ เป็น 2 สว่ น ดังน้ี
1) จัดสรรแล้ว (Appropriated Retained Earnings) คือ กาไรสะสมที่บริษัทได้กันไว้
เพือ่ วัตถุประสงคเ์ ฉพาะท่กี าหนดไว้ เชน่ จดั สรรเพอื่ ขยายกจิ การ จัดสรรเพ่ือสารองตามกฎหมาย เป็นต้น
2) ยังไม่ได้จัดสรร (Unappropriated Retained Earnings) คือ กาไรสะสมคงเหลือ
เป็นยอดยกไปในงวดบญั ชีหนา้

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 7 การจดั ตั้งบรษิ ทั และเงนิ ทุนของบริษทั 366

ชนดิ ของหุ้นทุน โดยปกตแิ ลว้ กฎหมายกาหนดให้บรษิ ทั ออกหุ้นได้ 2 ชนิด คือ
1. หุ้นสามัญ (Common Stock)
เป็นห้นุ พื้นฐานหรือหนุ้ หลกั ของบรษิ ัท โดยบริษทั อาจมีเพยี งหนุ้ สามัญเพยี งอย่างเดยี วกไ็ ด้

เป็นหนุ้ ทมี่ คี วามเส่ยี งสูงอีกท้ังไม่มสี ทิ ธพิ ิเศษอยา่ งใด หากบรษิ ัทมกี าไรผู้ถือหุ้นชนิดน้ีถึงจะได้รับเงินปันผล
และถ้าบริษัทล้มละลายผู้ถือหุ้นชนิดนี้จะได้รับคืนทุนท้ายสุด ดังนั้น ผู้ถือหุ้นสามัญเท่าน้ันที่มีสิทธิ
เขา้ ประชมุ และออกเสียงลงคะแนนในการดาเนินกจิ การ ตลอดจนสิทธใิ นการบริหารงานบริษัท

2. หนุ้ บุรมิ สทิ ธิ (Preferred Stock)
เป็นหนุ้ ท่ีมสี ิทธพิ ิเศษเหนอื กวา่ หนุ้ สามัญ โดยจะได้รับเงินปนั ผลกอ่ นหนุ้ สามญั

และหากบริษัทเลิกกิจการจะได้รับคืนทุนก่อนหุ้นสามัญ แต่จะถูกจากัดสิทธิในการออกเสียงที่ประชุม
และการบรหิ ารบริษัท หุ้นบรุ ิมสทิ ธแิ บง่ ออกเป็น 6 ชนิด ดังนี้

1) หุ้นบุริมสิทธชิ นดิ สะสม (Cumulative Preferred Stock) คอื หนุ้ บรุ ิมสิทธิที่ผู้ถือหุ้น
มีสิทธิได้รับเงินปันผลเสมอไม่ว่าบริษัทจะมีกาไรหรือขาดทุน หากปีใดบริษัทดาเนินงานขาดทุน
จะไม่มีการประกาศจ่ายเงินปันผล เงินปันผลของหุ้นบุริมสิทธิจะสะสมไปรับในปีท่ีมีการประกาศจ่าย
หรือปีใดมีการประกาศจ่ายแต่จ่ายไม่ครบจานวน ส่วนที่ยังขาดอยู่นี้จะยกยอดไปจ่ายในปีท่ีมี
การประกาศจ่ายเงินปนั ผล

2) หุ้นบุริมสิทธิชนิดไม่สะสม (Noncumulative Preferred Stock) คือ หุ้นบุริมสิทธิ
ที่ผูถ้ อื หุ้นจะได้รบั เงนิ ปันผลต่อเมือ่ บรษิ ทั มีกาไรและประกาศจา่ ยเท่านัน้ หากปีใดบริษัทดาเนินงานขาดทุน
จะไม่ได้รับเงนิ ปนั ผลในปีนัน้ และจะไมไ่ ด้รับเงนิ ปันผลย้อนหลังสาหรับปกี ่อน ๆ ทีบ่ รษิ ทั ไม่ได้ประกาศจา่ ย

3) หุ้นบรุ มิ สิทธิชนิดร่วมรบั (Participating Preferred Stock) คือ หุ้นบุริมสิทธิท่ีมีสิทธิ
ได้รับเงินปันผลเฉพาะปีท่ีบริษัทประกาศจ่ายและยังมีสิทธิร่วมรับเงินปันผลคงเหลือภายหลังที่ ได้จ่ายให้
หุ้นสามัญในอัตราเดียวกับหุ้นบุริมสิทธิตามสัดส่วนของมูลค่าหุ้น มี 2 ชนิด คือ หุ้นบุริมสิทธิชนิด
ร่วมรบั เตม็ ที่ (Fully Participating Preferred Stock) คอื หุ้นบุริมสิทธิท่ีมีสิทธิร่วมรับเงินปันผลท่ีเหลือ
ในอัตราเท่ากับเงินปันผลท่ีผู้ถือหุ้นสามัญได้รับ และหุ้นบุริมสิทธิชนิดร่วมรับเพียงไม่เกินอัตราสูงสุด
ทก่ี าหนดไว้ (Maximum Rate) คือ หนุ้ บรุ มิ สิทธทิ ่มี สี ทิ ธริ ว่ มรบั เงนิ ปันผลท่ีเหลือเพยี งไม่เกนิ จานวนสูงสดุ
ที่กาหนดไว้

4) หุ้นบุรมิ สทิ ธิชนดิ ไม่รว่ มรบั (Nonparticipating Preferred Stock) คอื หนุ้ บุริมสิทธิ
ที่จะได้รบั เงินปนั ผลตามอตั ราที่กาหนดไว้ในปีท่ีมีการประกาศจ่ายเงินปันผลเท่านั้น ส่วนที่เหลือหลังจาก
จา่ ยให้แกผ่ ้ถู อื หุน้ บรุ ิมสิทธิแลว้ จะเปน็ ของผูถ้ ือหุ้นสามัญทั้งหมด

5) หุ้นบุริมสิทธิชนิดแปลงสภาพ (Convertible Preferred Stock) คือ หุ้นบุริมสิทธิ
ชนิดทบ่ี รษิ ทั ใหส้ ทิ ธใิ นการแปลงสภาพเป็นหลักทรัพย์ชนิดอื่นของบริษัทได้ ส่วนใหญ่ให้สิทธิในการแปลง
เป็นหุ้นสามัญตามอัตราและระยะเวลาท่ีกาหนด เพ่ือกระตุ้นให้นักลงทุนสนใจในหุ้นบุริมสิทธิมากข้ึน
แม้ว่าหุ้นบุริมสิทธิมีสิทธิได้รับเงินปันผลก่อนหุ้นสามัญ แต่ก็ถูกจากัดเพียงไม่เกินอัตราท่ีกาหนดไว้
เพ่ือให้โอกาสแก่หุ้นบุริมสิทธิได้รับส่วนแบ่งกาไรมากขึ้นในระยะที่บริษัทมีกาไรสูง บริษัทจึงให้สิทธิ
แกผ่ ้ถู ือห้นุ บรุ ิมสทิ ธใิ นการแปลงเปน็ ห้นุ สามญั ได้

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 7 การจดั ต้ังบรษิ ทั และเงินทุนของบริษัท 367

6) หุ้นบุริมสิทธิชนิดไถ่คืนหรือชนิดไถ่ถอน (Redeemable Preferred Stock) คือ
หุ้นบุริมสิทธิท่ีมีข้อกาหนดไว้ว่าบริษัทมีสิทธิขอไถ่ถอนคืนได้ภายในระยะเวลาและจานวนเงินที่กาหนด
ตอนจดทะเบียนขายหนุ้ ซง่ึ ราคาไถ่ถอนคืนนัน้ บริษัทจะจา่ ยในราคาทสี่ ูงกว่ามูลค่าหุ้นหรือสูงกว่าราคาเดิม
ท่อี อกจาหนา่ ย เพ่อื เปน็ การตอบแทนผู้ถือหุ้นกรณีบริษัทไมต่ อ้ งการใชเ้ งินทุนจานวนน้ีตอ่ ไป

แบบฝกึ หดั ท่ี 7.1

จงตอบคาถามต่อไปนใ้ี ห้สมบรู ณ์ (ข้อละ 2 คะแนน)

1. บรษิ ัทแบง่ ออกเปน็ ก่ปี ระเภท อะไรบ้าง
............................................................................................................................. ........................................
.....................................................................................................................................................................

2. จงบอกขัน้ ตอนการจัดตัง้ บรษิ ทั จากดั
............................................................................................................................. ........................................
............................................................................................................................. ........................................
.....................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................................
............................................................................................................................. ........................................
.....................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................................
.....................................................................................................................................................................

3. จงบอกขน้ั ตอนการจดั ตัง้ บริษทั มหาชนจากดั
............................................................................................................................. ........................................
.....................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................................
........................................................................................................................................ .............................
.....................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................................
............................................................................................................................. ........................................
.....................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................................

4. หุ้นทุนมีกป่ี ระเภท อะไรบา้ ง
............................................................................................................................. ........................................
.....................................................................................................................................................................

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 7 การจัดต้งั บริษทั และเงินทุนของบริษัท 368

4. การบญั ชีเกี่ยวกบั การออกหนุ้ ทนุ

ณ วันทีไ่ ดร้ บั อนุมตั ใิ หจ้ ดทะเบยี นในหนงั สอื บรคิ ณหส์ นธิไมต่ ้องบนั ทกึ บญั ชี แตใ่ ห้บนั ทกึ ความทรงจา
ในสมุดรายวนั ทัว่ ไปเกี่ยวกบั จานวนหนุ้ และมลู คา่ หนุ้ ทจี่ ดทะเบียน

การนาหนุ้ ทุนออกจาหน่าย กฎหมายไทยกาหนดใหบ้ ริษทั ออกหุ้นชนิดท่ีมีมูลคา่ (Par Value Stock)
เท่านั้น และการจาหน่ายของบริษัทจากัดห้ามจาหน่ายหุ้นในราคาต่ากว่ามูลค่า แต่จะจาหน่ายในราคา
ตามมูลค่าหรอื สูงกวา่ มูลคา่ ได้ ยกเว้นบริษทั มหาชนจากดั ทด่ี าเนนิ งานมาอย่างน้อย 1 ปี และมีผลขาดทุน

จากการดาเนินงาน สามารถจาหน่ายในราคาต่ากว่ามูลค่าได้ ส่วนบริษัทมหาชนจากัดสามารถจาหน่าย
ในราคาตา่ กวา่ มลู คา่ ได้

การนาหุ้นทุนออกจาหนา่ ยของบริษัท อาจมีวตั ถปุ ระสงค์เพอ่ื ตอ้ งการเงินสด แลกเปลย่ี นสนิ ทรพั ยอ์ ่ืน

หรอื เพ่ือชาระคา่ บรกิ าร เปน็ ตน้ ซ่งึ มีวธิ ีการบนั ทกึ บญั ชีทแ่ี ตกต่างกันดังนี้

4.1 การจาหนา่ ยหุ้นทนุ เปน็ เงินสด

การจาหนา่ ยหุ้นทุนวิธนี ้ีบรษิ ทั จะเรยี กชาระค่าห้นุ ครง้ั เดยี วเตม็ จานวนและออกใบหุน้
ให้ผู้ถือหุ้นทันที การบันทกึ บญั ชแี บง่ เป็น 3 กรณี คอื

1) จาหน่ายในราคาตามมลู ค่า (At Par Value) บนั ทึกบญั ชีโดย

เดบิต เงนิ สด ××
เครดติ หนุ้ สามญั /หนุ้ บุรมิ สทิ ธิ ××

2) จาหนา่ ยในราคาสงู กว่ามลู ค่า (At Premium) บันทกึ บญั ชีโดย ××
××
เดบติ เงินสด ××
เครดิต หุ้นสามญั /หนุ้ บุรมิ สทิ ธิ
ส่วนเกินมลู คา่ หุ้นสามญั /ส่วนเกนิ มลู คา่ ห้นุ บรุ ิมสทิ ธิ

3) จาหน่ายในราคาตา่ กวา่ มลู ค่า (At Discount) บันทกึ บญั ชีโดย ××
××
เดบิต เงินสด
สว่ นต่ากวา่ มูลคา่ หนุ้ สามญั /ส่วนตา่ กว่ามลู ค่าหุ้นบรุ มิ สทิ ธิ ××
เครดติ หนุ้ สามญั /หุน้ บุรมิ สทิ ธิ

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 7 การจดั ตง้ั บริษทั และเงินทุนของบริษัท 369

ตวั อย่างท่ี 7.1 เมื่อวนั ที่ 29 มกราคม 2557 บรษิ ทั ทรัพยเ์ พิ่ม จากดั (มหาชน) จดทะเบียนห้นุ สามญั

จานวน 50,000 หุ้น ราคาตามมูลค่าหนุ้ ละ 5 บาท และหนุ้ บุริมสทิ ธิ 10% จานวน 40,000 หุ้น

ราคาตามมูลค่าห้นุ ละ 5 บาท การจาหน่ายหนุ้ มดี ังน้ี

2557

ม.ค. 30 จาหนา่ ยหนุ้ สามญั 20,000 ห้นุ ในราคาห้นุ ละ 5 บาท

ก.พ. 8 จาหนา่ ยหนุ้ สามญั 15,000 หุน้ ในราคาหุ้นละ 7 บาท

ก.พ. 10 จาหนา่ ยหนุ้ บรุ มิ สทิ ธิ 40,000 หุ้น ในราคาหนุ้ ละ 4.50 บาท

การบันทึกบญั ชี

สมุดรายวนั ทั่วไป หนา้ 1

พ.ศ. 2557 รายการ เลขที่ เดบติ เครดติ
เดอื น วนั
บญั ชี บาท สต. บาท สต.

ม.ค. 29 บนั ทึกความทรงจา : จดทะเบียน

หนุ้ สามญั 50,000 หุน้ มลู ค่าหุน้ ละ

5 บาท และหุ้นบุริมสทิ ธิ 10%

40,000 หุ้น มลู คา่ ห้นุ ละ 5 บาท

30 เงนิ สด 100,000 -

หุ้นสามญั (20,000 x 5) 100,000 -

จาหนา่ ยหนุ้ สามญั ในราคาตามมลู คา่

ก.พ. 8 เงินสด (15,000 x 7) 105,000 -

หนุ้ สามญั (15,000 x 5) 75,000 -

ส่วนเกินมูลคา่ หุน้ สามญั 30,000 -

จาหน่ายหนุ้ สามญั ราคาสงู กวา่ มลู ค่า

เงินสด (40,000 x 4.50) 180,000 -

สว่ นต่ากว่ามูลค่าหุ้นบุรมิ สทิ ธิ 20,000 -

หนุ้ บุริมสทิ ธิ (40,000 x 5) 200,000 -

จาหนา่ ยหนุ้ บรุ มิ สทิ ธติ า่ กวา่ มูลค่า

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 7 การจดั ตงั้ บรษิ ัทและเงินทุนของบริษัท 370

แบบฝกึ หดั ท่ี 7.2

จงปฏิบตั ิกิจกรรมตามทโ่ี จทยก์ าหนด (10 คะแนน)

เมื่อวนั ที่ 1 มกราคม 2557 บรษิ ัท นาทรัพย์ จากัด (มหาชน) จดทะเบียนหนุ้ สามญั จานวน 10,000 หนุ้

มูลคา่ หุ้นละ 100 บาท และหนุ้ บุรมิ สทิ ธิ 6% จานวน 5,000 ห้นุ มลู คา่ หุ้นละ 50 บาท

การจาหนา่ ยหุน้ มีดังนี้

ม.ค. 1 ออกจาหน่ายหุน้ สามญั เป็นเงินสด ในราคาตามมลู คา่ จานวน 5,000 หุน้

10 ออกจาหน่ายหนุ้ บรุ มิ สทิ ธเิ ป็นเงนิ สด ในราคาหุน้ ละ 45 บาท จานวน 2,000 หุ้น

12 ออกจาหน่ายหุน้ สามัญเปน็ เงนิ สด ในราคาหนุ้ ละ 110 บาท จานวน 1,000 หุ้น

15 ออกจาหน่ายหนุ้ สามัญ ในราคาห้นุ ละ 90 บาท จานวน 3,000 ห้นุ

และหนุ้ บุรมิ สทิ ธิ ในราคาห้นุ ละ 55 บาท จานวน 500 หนุ้ เป็นเงินสด

ใหท้ า บนั ทึกรายการในสมุดรายวนั ทั่วไป

สมุดรายวันทั่วไป หน้า 1

พ.ศ. รายการ เลขที่ เดบติ เครดิต
เดอื น วัน
บญั ชี บาท สต. บาท สต.

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 7 การจัดตัง้ บริษัทและเงนิ ทุนของบริษัท 371

4.2 การจาหน่ายหนุ้ ทุนโดยการใหจ้ อง

โดยทั่วไปเป็นวิธีการท่ีบริษัทมหาชนจากัดใช้ เนื่องจากมีผู้ต้องการซ้ือหุ้นเป็นจานวนมาก
จงึ เปิดให้มกี ารจองห้นุ โดยกาหนดระยะเวลาในการจองไวอ้ ยา่ งชดั เจนและผู้ซือ้ หนุ้ ต้องชาระเงินครบ 100%
แต่สาหรบั บรษิ ัทจากดั สามารถเรียกชาระค่าหุ้นเป็นงวดได้และการเรียกชาระค่าหุ้นงวดแรกต้องไม่ต่ากว่า

25% ของมูลค่าหุ้นพร้อมส่วนเกินท้ังจานวน ดังนั้น บริษัทจะยังไม่ออกใบหุ้นให้แก่ผู้ถือหุ้นจนกว่า
จะไดช้ าระครบมูลค่า

การจาหน่ายหุน้ ทุนโดยการให้จอง แยกพจิ ารณาออกเปน็ 3 กรณี คอื

กรณที ่ี 1 ในวันจองซอ้ื ห้นุ ผูจ้ องลงชื่อจองซอ้ื ห้นุ เท่านน้ั
กรณที ี่ 2 ในวันจองซ้อื หนุ้ ผ้จู องต้องจ่ายเงินมดั จาคา่ จองห้นุ
กรณีที่ 3 ในวนั จองซือ้ ห้นุ ผ้จู องจ่ายชาระค่าหนุ้ พรอ้ มการจอง

การบนั ทึกบัญชมี รี ายการดงั นี้
1) จองซื้อหุ้น บนั ทึกบัญชโี ดย

เดบติ ลูกหนคี้ า่ จองห้นุ สามัญ/หนุ้ บรุ ิมสิทธิ ××

เครดติ หนุ้ สามญั /หุน้ บุรมิ สทิ ธิให้จอง ××

ส่วนเกนิ มลู คา่ ห้นุ สามญั /สว่ นเกินมลู คา่ หุ้นบรุ ิมสทิ ธิ (ถ้ามี) ××

จองซอ้ื หุ้นและจา่ ยเงินมัดจาคา่ จองหนุ้ บันทกึ บญั ชโี ดย ××
××
เดบิต เงนิ สด
เครดติ เงินมดั จาคา่ จองหุ้นสามัญ/ห้นุ บรุ มิ สทิ ธิ

2) รับชาระคา่ หนุ้ งวดแรก บนั ทึกบัญชีโดย ××
××
เดบติ เงินสด
เครดิต ลูกหนค้ี า่ จองหนุ้ สามัญ/หนุ้ บรุ มิ สิทธิ ××
××
รบั ชาระค่าหุน้ และลดยอดเงนิ มัดจา บนั ทกึ บญั ชีโดย
××
เดบติ เงินสด
เงินมดั จาค่าจองหนุ้ สามญั /หุ้นบรุ ิมสทิ ธิ
เครดติ ลกู หนค้ี า่ จองหนุ้ สามญั /หนุ้ บรุ มิ สิทธิ

หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 7 การจดั ตง้ั บรษิ ัทและเงนิ ทุนของบริษทั 372

3) ออกใบหุ้นให้กับผถู้ ือหุ้น บันทึกบัญชีโดย ××
××
เดบิต หนุ้ สามญั /หนุ้ บุรมิ สทิ ธใิ หจ้ อง
เครดิต หุ้นสามญั /หุน้ บรุ มิ สทิ ธิ

ตัวอย่างท่ี 7.2 เม่ือวันที่ 1 มกราคม 2557 บริษัท ทรัพย์อนันต์ จากัด จดทะเบียนหุ้นสามัญ

จานวน 2,000 หุ้น มลู ค่าห้นุ ละ 100 บาท ตอ่ มาวนั ท่ี 1 กุมภาพันธ์ 2557 บริษัทได้นาหุ้นออกจาหน่าย
โดยการให้จองในราคาหุ้นละ 120 บาท รับชาระค่าหุ้นงวดแรกวันท่ี 1 มีนาคม 2557 และ
วนั ท่ี 1 เมษายน 2557 ผู้ถอื หนุ้ ชาระค่าหนุ้ ครบทั้งหมด การบันทกึ บัญชีแบง่ เป็น 3 กรณี ดังนี้

กรณที ี่ 1 ในวันจองหุ้น ผจู้ องลงชื่อจองหุ้นเท่าน้ัน

ผจู้ องชาระคา่ หุ้นแบง่ เปน็ 2 งวด งวดแรก 60% และงวดทสี่ อง 40%

การคานวณ ชาระเงินค่าหุ้นงวดแรก 60% = 60% ของราคาตามมูลคา่ + สว่ นเกินมลู ค่าหุ้น

= (60% × 100) + 20

= 80 บาทตอ่ ห้นุ

งวดทีส่ อง 40% = 40 บาทตอ่ หุน้

การบนั ทึกบัญชี

สมดุ รายวันทัว่ ไป หน้า 1

พ.ศ. 2557 รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต
เดอื น วัน บัญชี บาท สต. บาท สต.

ม.ค. 1 บนั ทึกความทรงจา : จดทะเบียน

หนุ้ สามญั 2,000 หนุ้ มูลคา่ หนุ้ ละ

100 บาท

ก.พ. 1 ลูกหนี้ค่าจองห้นุ สามญั (2,000 x 120) 240,000 -

ห้นุ สามญั ใหจ้ อง (2,000 x 100) 200,000 -
40,000 -
สว่ นเกนิ มลู คา่ หุ้นสามญั

บันทึกจองซื้อหุน้ สามญั สงู กวา่ มลู คา่

ม.ี ค. 1 เงนิ สด (2,000 x 80) 160,000 -
160,000 -
ลูกหน้คี ่าจองห้นุ สามัญ

รบั ชาระคา่ ห้นุ งวดแรก

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 7 การจัดตัง้ บรษิ ัทและเงินทุนของบริษัท 373

การบันทกึ บัญชี

สมุดรายวนั ท่วั ไป หนา้ 2

พ.ศ. 2557 รายการ เลขท่ี เดบติ เครดติ
เดือน วัน
บัญชี บาท สต. บาท สต.

เม.ย. 1 เงนิ สด (2,000 x 40) 80,000 -

ลูกหนี้คา่ จองหนุ้ สามญั 80,000 -

รับชาระคา่ หุน้ งวดสุดทา้ ย

หุ้นสามญั ใหจ้ อง 200,000 -

หุ้นสามญั (2,000 x 100) 200,000 -

บันทึกการออกใบห้นุ

กรณีที่ 2 ในวันจองหุ้น ผ้จู องต้องจา่ ยเงนิ มดั จาคา่ จองหุ้น โดยใหจ้ ่ายเงินมดั จาค่าจองหุ้น ห้นุ ละ 20 บาท

ชาระคา่ หนุ้ แบ่งเปน็ 2 งวด งวดแรก 60% และงวดท่สี อง 40% มีผจู้ องสง่ เงนิ มดั จาค่าจองหนุ้ 2,100 หุน้
การคานวณ งวดแรก 60% = 60% ของราคาตามมูลคา่ + สว่ นเกนิ มลู คา่ หุ้น – เงนิ มัดจา
= (60% × 100) + 20 - 20

= 60 บาทต่อหนุ้

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 7 การจดั ต้งั บรษิ ทั และเงนิ ทุนของบริษทั 374

การบนั ทึกบัญชี

สมุดรายวนั ทั่วไป หน้า 1

พ.ศ. 2557 รายการ เลขที่ เดบติ เครดติ
เดือน วนั บัญชี บาท สต. บาท สต.

ม.ค. 1 บนั ทึกความทรงจา : จดทะเบียน

หนุ้ สามญั 2,000 หุ้น มูลคา่ หนุ้ ละ

100 บาท

ก.พ. 1 ลูกหนคี้ า่ จองห้นุ สามัญ (2,000 x 120) 240,000 -

หุ้นสามญั ใหจ้ อง (2,000 x 100) 42,000 - 200,000 -
40,000 -
สว่ นเกินมูลค่าหนุ้ สามญั 120,000 - 42,000 -
40,000 -
บันทึกการจองซอ้ื หุ้นสามญั 160,000 -

เงินสด (2,100 x 20)

เงินมดั จาค่าจองหนุ้ สามัญ

รบั ใบจองหุ้นและเงินมัดจาการจอง

มี.ค. 1 เงินสด (2,000 × 60)

เงนิ มัดจาค่าจองหุ้นสามัญ

ลกู หน้ีค่าจองหุน้ สามัญ

รับชาระคา่ จองหนุ้ และลดยอด

เงินมัดจา (2,000 x 20)

เงินมัดจาค่าจองหนุ้ สามญั 2,000 -

เงินสด 2,000 -

คนื เงนิ มดั จาท่จี องเกินจานวนหุน้ ท่มี ี

เม.ย. 1 เงนิ สด (2,000 x 40) 80,000 -

ลูกหนค้ี า่ จองหนุ้ สามญั 80,000 -

รบั ชาระคา่ หนุ้ งวดสุดท้าย

หุ้นสามญั ใหจ้ อง 200,000 -
200,000 -
หนุ้ สามัญ (2,000 x 100)

บนั ทึกการออกใบหุ้น

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 7 การจดั ต้ังบริษทั และเงนิ ทุนของบริษัท 375

กรณีท่ี 3 ในวันจองหุ้น ผจู้ องต้องชาระคา่ หนุ้ พร้อมการจอง ให้ผ้จู องจา่ ยชาระค่าหุ้นในวันจองซื้อหนุ้
30% และค่าหุ้นทเ่ี หลอื ชาระ 2 งวด งวดแรก 30% และงวดทส่ี อง 40%

การคานวณ ชาระคา่ ห้นุ 30% = 30% ของราคาตามมลู คา่ + สว่ นเกินมลู ค่าหุ้น

= (30% × 100) + 20
= 50 บาทต่อหนุ้
งวดแรก 30% = 30 บาทตอ่ หนุ้

งวดท่สี อง 40% = 40 บาทต่อหนุ้

การบันทกึ บัญชี

สมดุ รายวันท่วั ไป หนา้ 1

พ.ศ. 2557 รายการ เลขท่ี เดบิต เครดิต
เดือน วนั บัญชี บาท สต. บาท สต.

ม.ค. 1 บันทกึ ความทรงจา : จดทะเบยี น

หนุ้ สามญั 2,000 หนุ้ มลู คา่ หนุ้ ละ

100 บาท

ก.พ. 1 เงนิ สด (2,000 x 50) 100,000 -
140,000 -
ลูกหนค้ี า่ จองหุน้ สามญั (2,000 x 70)

หนุ้ สามัญใหจ้ อง (2,000 x 100) 200,000 -
40,000 -
สว่ นเกินมลู ค่าหุ้นสามญั

บันทึกการจองหุ้นและชาระคา่ หนุ้

ในวนั จองซอ้ื หุ้น 30%

มี.ค. 1 เงนิ สด (2,000 x 30) 60,000 -
80,000 -
ลกู หน้ีค่าจองหุ้นสามัญ 200,000 - 60,000 -
รบั ชาระคา่ หุ้นงวดแรก 80,000 -
200,000 -
เม.ย. 1 เงนิ สด (2,000 x 40)

ลูกหน้ีค่าจองหนุ้ สามญั
รับชาระคา่ หุ้นงวดสุดทา้ ย

ห้นุ สามญั ใหจ้ อง

หนุ้ สามญั (2,000 x 100)

บนั ทึกการออกใบห้นุ

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 7 การจดั ต้ังบริษัทและเงินทุนของบริษทั 376

แบบฝึกหดั ท่ี 7.3

จงปฏิบตั กิ จิ กรรมตามท่ีโจทยก์ าหนด (10 คะแนน)
เม่ือวนั ที่ 1 มกราคม 2557 บริษัท ทรัพย์ธานี จากดั จดทะเบียนหนุ้ สามญั จานวน 1,000 หนุ้
ราคาตามมลู ค่าหุ้นละ 100 บาท ตอ่ มาวนั ที่ 20 มกราคม 2557 บรษิ ทั นาหนุ้ สามญั ออกใหจ้ อง
ในราคาหุ้นละ 120 บาท โดยให้ผอ่ นชาระ 2 งวด งวดแรกวนั ท่ี 1 กุมภาพนั ธ์ 2557
และงวดที่ 2 วันท่ี 1 มีนาคม 2557
ใหท้ า บันทกึ รายการในสมดุ รายวันทวั่ ไป ในแตล่ ะกรณดี งั นี้
กรณีท่ี 1 ในวันจองหุ้น ผ้จู องลงช่ือจองหุ้นเทา่ นั้น กาหนดให้ผ้จู องชาระคา่ หุ้นงวดแรก 30%
กรณีท่ี 2 ในวันจองหุ้น ผูจ้ องต้องจา่ ยเงนิ มัดจาค่าจองหุ้น
โดยให้จ่ายเงนิ มัดจาคา่ จองหนุ้ หนุ้ ละ 30 บาท กาหนดให้ชาระคา่ หุ้นแบ่งเปน็ 2 งวด
งวดแรก 30% สว่ นที่เหลือชาระในงวดที่ 2 ปรากฏว่ามีผู้จองสง่ เงนิ มัดจาค่าจองหุน้
1,050 ห้นุ
กรณีที่ 3 ในวันจองหุ้น ผจู้ องต้องชาระค่าหนุ้ พรอ้ มการจอง
บรษิ ัทกาหนดใหผ้ ู้จองจ่ายชาระค่าหุ้นในวันจองซือ้ หนุ้ 20% และคา่ หุ้นท่เี หลอื ชาระ 2 งวด
งวดแรก 30% สว่ นทเี่ หลือชาระในงวดท่ี 2

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 7 การจดั ตัง้ บริษทั และเงินทุนของบริษทั 377

กรณีที่ 1 ในวันจองหุ้น ผู้จองลงชือ่ จองหุ้นเท่าน้ัน กาหนดใหผ้ ู้จองชาระค่าหุ้นงวดแรก 30%

สมุดรายวนั ท่ัวไป หน้า 1

พ.ศ. รายการ เลขท่ี เดบิต เครดติ
เดือน วนั
บญั ชี บาท สต. บาท สต.

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 7 การจัดตัง้ บรษิ ัทและเงนิ ทุนของบริษัท 378

กรณที ่ี 2 ในวันจองหุ้น ผู้จองต้องจ่ายเงินมัดจาค่าจองหุ้น

โดยให้จ่ายเงินมัดจาค่าจองหุ้น หนุ้ ละ 30 บาท กาหนดใหช้ าระคา่ หุ้นแบ่งเปน็ 2 งวด

งวดแรก 30% ส่วนที่เหลอื ชาระในงวดท่ี 2 ปรากฏวา่ มีผู้จองสง่ เงินมัดจาคา่ จองหนุ้ 1,050 หนุ้

สมดุ รายวนั ทว่ั ไป หนา้ 1

พ.ศ. รายการ เลขท่ี เดบิต เครดิต
เดือน วัน
บญั ชี บาท สต. บาท สต.

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 7 การจดั ตัง้ บรษิ ัทและเงินทุนของบริษัท 379

กรณีท่ี 3 ในวันจองหุ้น ผูจ้ องต้องชาระค่าหุ้นพร้อมการจอง

บริษัทกาหนดใหผ้ จู้ องจา่ ยชาระค่าหุ้นในวันจองซ้อื หุ้น 20% และคา่ หุ้นทีเ่ หลอื ชาระ 2 งวด

งวดแรก 30% สว่ นที่เหลอื ชาระในงวดท่ี 2

สมดุ รายวนั ทัว่ ไป หนา้ 1

พ.ศ. รายการ เลขที่ เดบติ เครดติ
เดอื น วนั
บัญชี บาท สต. บาท สต.

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 7 การจัดตง้ั บรษิ ัทและเงินทุนของบริษัท 380

4.3 การผดิ นัดชาระหนี้คา่ หุ้น

ถา้ ผ้จู องซอ้ื หุ้นผดิ นดั ไม่ชาระคา่ หนุ้ ทสี่ ่งั จองเม่อื ถึงกาหนด บริษทั อาจจะรบิ หุ้น

โดยปฏบิ ัติตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1121-1125 ดงั นี้
1) การเรยี กให้ชาระค่าหุ้นแตล่ ะครง้ั บรษิ ทั ตอ้ งแจ้งล่วงหน้าไมน่ อ้ ยกวา่ 21 วนั
2) ผูถ้ อื หุ้นท่ไี มส่ ง่ เงนิ ใช้ค่าห้นุ ตามเวลาทกี่ าหนดจะตอ้ งเสียดอกเบีย้ ในอัตรารอ้ ยละ 7.5

โดยเริม่ นบั จากวนั ทก่ี าหนดจนถึงวนั นาเงนิ มาชาระ
3) ถา้ ผถู้ ือหุน้ ยงั ไมส่ ง่ ใช้เงินค่าหนุ้ ตามทกี่ าหนดให้ทวงเงนิ คา่ หนุ้ พรอ้ มดอกเบี้ย

ดว้ ยจดหมายลงทะเบียนและแจง้ ใหท้ ราบวา่ ถา้ ยังไมช่ าระเงนิ ตามกาหนดจะรบิ หุน้

4) เมื่อรบิ หุน้ มาแล้วใหน้ าออกขายทอดตลาดทนั ที ไดเ้ งนิ มาเทา่ ใดใหห้ กั ใช้ค่าหนุ้ ทค่ี า้ งชาระ
พรอ้ มดอกเบ้ียและคา่ ใช้จ่ายในการขายทอดตลาด ถา้ มีเงนิ เหลอื ใหค้ ืนเงินแกผ่ ถู้ ือหุ้นน้ัน แต่ถา้ ขายหนุ้
ได้เงินไม่พอชาระคา่ หุ้นทค่ี ้างและดอกเบย้ี ผถู้ อื หนุ้ ที่ถกู รบิ ตอ้ งชาระสว่ นทข่ี าดดว้ ย

การริบหุ้นตามกฎหมายไทยมีวิธเี ดียวคอื วธิ ีที่ 1 สว่ นกฎหมายของสหรฐั อเมรกิ ามี 4 วิธี ดงั นี้
วิธีท่ี 1 คืนเงนิ ค่าหุ้นท่ผี จู้ องซอื้ หนุ้ ชาระมาแล้ว หกั ดว้ ยคา่ ใช้จ่ายและผลขาดทุนทเ่ี กดิ ขน้ึ

จากการนาห้นุ ทร่ี บิ น้นั ออกจาหนา่ ย

วิธีที่ 2 ออกหุ้นบางส่วนใหผ้ ู้จองซ้ือหุ้นเท่ากับจานวนเงินทีช่ าระมาแลว้
วิธีที่ 3 คืนเงินคา่ หุ้นท่ผี จู้ องซ้ือหุ้นชาระมาแลว้ ทงั้ หมด
วิธที ี่ 4 ริบเงนิ ทผ่ี จู้ องซื้อห้นุ ชาระมาแล้วท้ังหมด

วธิ ีที่ 1 คืนเงินค่าหุ้นท่ผี จู้ องซื้อหุ้นชาระมาแลว้ หกั ดว้ ยคา่ ใช้จา่ ยและผลขาดทุนทเี่ กิดขึน้
จากการนาหนุ้ ที่ริบนั้นออกจาหน่าย วธิ ปี ฏิบัติตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์มาตรา 1125

(1) ปดิ บัญชกี ารจองหุ้นท่ีถูกรบิ ทั้งหมด บนั ทึกบญั ชโี ดย

เดบิต หุน้ สามญั ใหจ้ อง ××

สว่ นเกินมลู คา่ หุน้ สามญั ××
เครดิต ลูกหน้ีคา่ จองหุ้นสามัญ (สว่ นท่ีคา้ งชาระ) ××
××
เจ้าหนผี้ จู้ องซ้ือหนุ้ (ส่วนที่ชาระแลว้ )

(2) บันทกึ การนาหนุ้ ท่ีริบออกขายทอดตลาด บนั ทึกบญั ชโี ดย ××

เดบติ เงินสด ××
เจา้ หนผ้ี จู้ องซ้อื หุน้ (ผลต่าง) ××
เครดติ หนุ้ สามญั ××
สว่ นเกินมลู ค่าหุน้ สามญั

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 7 การจดั ตัง้ บรษิ ทั และเงนิ ทุนของบริษทั 381

(3) บันทึกค่าใช้จา่ ยในการนาหุน้ ออกขายทอดตลาด บนั ทึกบัญชโี ดย

เดบติ เจา้ หนผ้ี จู้ องซอ้ื หุน้ ××
เครดิต เงนิ สด ××

(4) บันทกึ คืนเงินให้แกเ่ จา้ หน้ีผู้จองซอื้ หุ้นหลงั หกั คา่ ใชจ้ า่ ยและผลขาดทุนทเี่ กิดขน้ึ
จากการนาหนุ้ ทรี่ บิ ออกจาหน่ายแล้ว บนั ทกึ บญั ชโี ดย

เดบิต เจ้าหนผี้ จู้ องซือ้ หนุ้ ××
เครดิต เงนิ สด ××

วธิ ที ่ี 2 ออกหุ้นบางส่วนให้ผูจ้ องซ้ือหนุ้ เท่ากบั จานวนเงินท่ชี าระมาแล้ว

การคานวณใบห้นุ ทอี่ อกให้ = จานวนเงนิ ทผี่ จู้ องซอ้ื หุ้นชาระมาแลว้
ราคาหุ้นใหจ้ อง

(1) ปดิ บัญชีการจองหุ้นท่ีถูกริบ ออกใบหุ้นบางสว่ นตามจานวนที่ไดร้ ับชาระและจา่ ยคืนเงิน
ให้ผู้จองซอื้ หุ้นถา้ จานวนท่ไี ดร้ ับชาระไมส่ ามารถออกใบหุน้ ได้เต็มจานวน บนั ทึกบญั ชีโดย

เดบิต หุ้นสามญั ใหจ้ อง ××
ส่วนเกนิ มลู คา่ หุ้นสามญั ××
เครดติ ลกู หนี้ค่าจองหุ้นสามญั
××
หนุ้ สามญั
เงนิ สด ××
××

(2) บันทึกการนาหุ้นท่ีถกู รบิ ออกจาหน่าย บนั ทกึ บญั ชีโดย ××
××
เดบติ เงินสด ××
เครดิต หุน้ สามญั
สว่ นเกินมลู คา่ หนุ้ สามญั

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 7 การจัดตง้ั บริษทั และเงนิ ทุนของบริษทั 382

(3) บันทกึ ค่าใชจ้ ่ายในการขายทอดตลาด บันทกึ บญั ชโี ดย ××
××
เดบติ คา่ ใชจ้ ่ายในการจดั ต้งั บริษทั
เครดิต เงินสด

วิธที ี่ 3 คืนเงินค่าหุ้นทผ่ี จู้ องซือ้ หุ้นชาระมาแล้วทัง้ หมด
(1) ปิดบัญชกี ารจองหนุ้ ทถี่ ูกริบท้ังหมดและจา่ ยเงินค่าหุ้นท่ีผูจ้ องซ้อื หุ้นชาระมาแล้วท้งั หมด
บันทึกบญั ชโี ดย

เดบิต หุ้นสามญั ใหจ้ อง ××

สว่ นเกินมลู ค่าห้นุ สามญั ××
เครดิต ลูกหน้ีคา่ จองหุ้นสามญั ××
××
เงนิ สด

(2) บันทึกการนาหุน้ ท่ีถูกริบออกจาหน่าย บนั ทกึ บญั ชีโดย

เดบิต เงนิ สด ××
เครดติ ห้นุ สามญั ××
สว่ นเกินมลู คา่ ห้นุ สามญั ××

(3) บันทกึ คา่ ใช้จ่ายในการขายทอดตลาด บนั ทกึ บญั ชีโดย ××
××
เดบิต คา่ ใช้จา่ ยในการจดั ต้งั บริษทั
เครดิต เงนิ สด

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 7 การจัดต้งั บรษิ ทั และเงนิ ทุนของบริษัท 383

วธิ ที ี่ 4 รบิ เงินท่ีผจู้ องซอ้ื หนุ้ ชาระมาแลว้ ทง้ั หมด
(1) บันทกึ การริบหุ้นถือเป็นส่วนเกินทุนจากการริบหุ้น บันทกึ บญั ชีโดย

เดบิต หนุ้ สามญั ใหจ้ อง ××
ส่วนเกนิ มลู ค่าหุ้นสามญั ××

เครดติ ลูกหนีค้ า่ จองหนุ้ สามญั ××
ส่วนเกนิ ทนุ จากการรบิ หุ้น ××

(2) บันทึกการนาหุน้ ที่ถูกริบออกจาหน่าย บันทกึ บัญชีโดย ××
××
เดบิต เงนิ สด ××
เครดิต ห้นุ สามญั
สว่ นเกินมลู คา่ หุน้ สามญั ××
××
(3) บันทึกคา่ ใชจ้ ่ายในการขายทอดตลาด บันทึกบญั ชีโดย

เดบติ คา่ ใชจ้ า่ ยในการจัดตงั้ บรษิ ัท
เครดติ เงินสด

หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การจัดตัง้ บริษัทและเงนิ ทุนของบริษัท 384

ตวั อยา่ งที่ 7.3 บรษิ ทั ทรัพย์ทวี จากดั มีทนุ จดทะเบียนเปน็ หนุ้ สามญั จานวน 6,000 ห้นุ
มูลคา่ ห้นุ ละ 100 บาท รายการเกี่ยวกบั ทุนปี 2558 มีดังนี้

ก.ค. 12 จาหนา่ ยหนุ้ สามญั จานวน 5,000 หุ้น มูลคา่ หนุ้ ละ 120 บาท โดยวิธใี ห้จอง

ไดร้ ับเงินงวดแรก 30% พรอ้ มสว่ นเกนิ มูลคา่ หนุ้
ส.ค. 1 บรษิ ทั เรียกชาระค่าหนุ้ ทเี่ หลือ 70% มผี ้ถู ือหนุ้ 400 ห้นุ ผิดนัดชาระค่าหุน้

บรษิ ัทไดอ้ อกใบหนุ้ ใหผ้ ถู้ ือหุน้ ทีช่ าระค่าหนุ้ ครบแล้ว

5 บรษิ ัทนาหนุ้ ทรี่ ิบออกขายทอดตลาดในราคาห้นุ ละ 110 บาท
เสยี ค่าใชจ้ า่ ยในการขายทอดตลาด 400 บาท

6 บรษิ ทั จา่ ยเงนิ คนื ใหเ้ จา้ หนผ้ี จู้ องซอ้ื ห้นุ หลงั จากหักผลขาดทนุ จากการขายห้นุ

และค่าใช้จา่ ยแลว้

การบนั ทกึ รายการใหจ้ องหุ้น รบั ชาระคา่ หนุ้ และออกใบหนุ้ 4 รายการแรกเหมอื นกนั ทกุ วิธี คอื

พ.ศ. 2558 สมดุ รายวนั ทวั่ ไป เลขท่ี เดบิต หนา้ 1
เดือน วัน บัญชี บาท สต. เครดติ
ก.ค. 12 รายการ บาท สต.
600,000 -
ส.ค. 1 ลกู หน้ีค่าจองหุ้นสามญั (5,000 x 120) 500,000 -
100,000 -
หนุ้ สามัญใหจ้ อง (5,000 x 100)
ส่วนเกินมลู ค่าหุ้นสามญั 250,000 -
นาหุน้ สามญั 5,000 หนุ้ มูลคา่ หุ้นละ 250,000 -
100 บาท จองในราคา 120 บาท
เงินสด (5,000 x 50) 322,000 -
ลกู หน้คี า่ จองหนุ้ สามัญ 322,000 -
รบั ชาระค่าหนุ้ งวดแรก 30% พรอ้ ม
สว่ นเกินมลู คา่ ห้นุ สามญั 460,000 -
(100 x 30%) + 20 = 50 บาทต่อหุน้ 460,000 -

เงินสด (4,600 x 70)
ลกู หนค้ี ่าจองห้นุ สามัญ

รบั ชาระค่าหุ้นงวดทสี่ อง 4,600 หนุ้
(120 – 50) = 70 บาทตอ่ หนุ้
หนุ้ สามญั ใหจ้ อง

หุ้นสามญั (4,600 x 100)
บนั ทกึ การออกใบหนุ้

หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 7 การจัดต้งั บริษทั และเงนิ ทุนของบริษทั 385

วธิ ที ่ี 1 คืนเงินค่าหุ้นท่ผี ู้จองซื้อหุ้นชาระมาแล้ว หกั ด้วยคา่ ใช้จา่ ยและผลขาดทุนทีเ่ กดิ ข้นึ

จากการนาหุ้นท่รี บิ น้ันออกจาหนา่ ย

สมุดรายวนั ทว่ั ไป หน้า 1

พ.ศ. 2558 รายการ เลขที่ เดบิต เครดติ
เดอื น วัน
บญั ชี บาท สต. บาท สต.

ส.ค. 1 หุน้ สามญั ใหจ้ อง (400 x 100) 40,000 -

สว่ นเกนิ มลู คา่ หนุ้ สามญั (400 x 20) 8,000 -

ลกู หน้ีค่าจองห้นุ สามญั (400x70) 28,000 -

เจา้ หนี้ผจู้ องซื้อหนุ้ (400 x 50) 20,000 -

ริบหนุ้ สามญั จานวน 400 ห้นุ

5 เงินสด (400 x 110) 44,000 -

เจา้ หนผ้ี จู้ องซอื้ หุ้น 4,000 -

หุ้นสามญั (400 x 100) 40,000 -

สว่ นเกนิ มลู ค่าห้นุ สามญั (400x20) 8,000 -

จาหนา่ ยหนุ้ ท่ีถกู รบิ ในราคาหุ้นละ

110 บาท

เจา้ หนผ้ี จู้ องซอ้ื หนุ้ 400 -

เงินสด 400 -

จ่ายค่าใชจ้ ่ายในการขายหนุ้ ทถี่ กู รบิ

6 เจ้าหนผ้ี จู้ องซือ้ หนุ้ 15,600 -

เงินสด 15,600 -

จ่ายคืนเงนิ แกเ่ จ้าหนผ้ี จู้ องซ้อื หุ้น

(20,000 – 4,000 – 400)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การจดั ตงั้ บรษิ ทั และเงินทุนของบริษทั 386

วธิ ที ่ี 2 ออกหุ้นบางสว่ นให้ผจู้ องซอ้ื หนุ้ เทา่ กบั จานวนเงินทีช่ าระมาแลว้
การคานวณการออกใบหุ้น

ใบหุน้ ทอ่ี อกให้ = จานวนเงนิ ทผ่ี จู้ องซ้อื หนุ้ ชาระมาแล้ว

จานวนหนุ้ ทถ่ี กู รบิ ราคาหุ้นใหจ้ อง
จานวนเงนิ ทส่ี ง่ คืนแกผ่ ู้จอง
= (400 x 50) / 120
= 166 หนุ้ (ปดั เศษทศนิยมทง้ิ )
= 400 – 166

= 234 หุ้น
= 0.6666 x 120 (ราคาห้นุ ใหจ้ อง)
= 80 บาท

พ.ศ. 2558 สมดุ รายวนั ท่ัวไป เลขที่ เดบิต หนา้ 1
เดือน วนั บัญชี บาท สต. เครดิต
ส.ค. 1 รายการ บาท สต.
40,000 -
5 หุ้นสามญั ใหจ้ อง (400 x 100) 4,680 - 28,000 -
ส่วนเกนิ มลู คา่ หนุ้ สามญั (234 x 20) 16,600 -

ลูกหนคี้ ่าจองหุน้ สามญั (400x70) 80 -
หุน้ สามัญ (166 x 100)
เงนิ สด 25,740 -
ริบหุน้ 234 หุน้ และออกใบหุน้
166 หุ้น 23,400 -
เงนิ สด (234 x 110) 2,340 -
หุน้ สามญั (234 x 100)
สว่ นเกนิ มลู ค่าห้นุ สามัญ (234x10) 400 -
นาห้นุ ท่รี บิ 234 หุน้ ออกขายทอด
ตลาดในราคา 110 บาท 400 -
ค่าใช้จา่ ยในการจัดตั้งบริษทั
เงินสด
จ่ายค่าใช้จา่ ยในการขายทอดตลาด

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 7 การจดั ต้งั บรษิ ทั และเงินทุนของบริษทั 387

วิธีท่ี 3 คืนเงินค่าหุ้นท่ีผูจ้ องซอ้ื หุ้นชาระมาแลว้ ทัง้ หมด

สมุดรายวันท่ัวไป หน้า 1
เครดิต
พ.ศ. 2558 รายการ เลขที่ เดบติ บาท สต.
เดอื น วนั บญั ชี บาท สต.
40,000 - 28,000 -
ส.ค. 1 หุ้นสามญั ใหจ้ อง (400 x 100) 20,000 -
8,000 -
สว่ นเกินมลู ค่าหุ้นสามญั (400 x 20) 40,000 -
44,000 - 4,000 -
ลกู หนค้ี ่าจองหุ้นสามัญ (400x70)
400 - 400 -
เงินสด (400 x 50)

รบิ หุ้น 400 หุ้น และจ่ายเงินคืน

ใหผ้ จู้ องหุ้น

5 เงนิ สด (400 x 110)

หนุ้ สามญั (400 x 100)

สว่ นเกนิ มูลคา่ ห้นุ สามัญ (400x10)

นาหนุ้ ที่รบิ ออกขายทอดตลาด

6 คา่ ใช้จ่ายในการจัดต้ังบรษิ ทั

เงินสด

จา่ ยค่าใช้จา่ ยในการขายทอดตลาด


Click to View FlipBook Version