หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 4 การจดั ต้งั ห้างห้นุ สว่ นและการแบ่งกาไรขาดทนุ 238
2. งบเงินทุนของหา้ งหุ้นส่วนจากดั ย่งิ เจริญทรพั ย์ สาหรบั ปี ส้ินสดุ วันท่ี 31 ธันวาคม 2557
หา้ งหุ้นสว่ นจากดั ยงิ่ เจรญิ ทรัพย์ (หน่วย : บาท)
งบเงินทุนของผเู้ ป็นหุ้นสว่ น ทรพั ย์ รวม
สาหรบั ปี สนิ้ สุดวันท่ี 31 ธันวาคม 2557
ยง่ิ เจริญ
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 4 การจดั ต้ังหา้ งหุ้นสว่ นและการแบ่งกาไรขาดทุน 239
สรปุ
ห้างหุ้นส่วน หมายถึง กิจการที่มีบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปร่วมลงทุนกันในรูปของเงินสด
สินทรพั ย์อืน่ หรือแรงงาน โดยมีวตั ถปุ ระสงคท์ จ่ี ะแบ่งผลกาไรทไี่ ด้จากกจิ กรรมท่ีทาร่วมกนั นน้ั
หา้ งหนุ้ ส่วน แบง่ เปน็ 2 ประเภท คอื
1. ห้างหุ้นส่วนสามัญ เป็นห้างหุ้นส่วนที่จะจดทะเบียนหรือไม่ก็ได้ ถ้าจดทะเบียน
เรียกว่าหา้ งหนุ้ สว่ นสามญั นติ ิบคุ คล
2. ห้างหนุ้ สว่ นจากดั เป็นหา้ งหนุ้ ส่วนที่ต้องจดทะเบียนเทา่ น้นั
การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนอาจตกลงกันด้วยวาจา หรือจัดทาเป็นลายลักษณ์อักษรก็ได้ แต่เพ่ือป้องกัน
มใิ ห้เกิดการโตแ้ ย้งกันในภายหลังระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วนก็ควรมีการจัดทาเอกสารสัญญาจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
เปน็ หลกั ฐานไว้
การบนั ทกึ บญั ชที นุ ของห้างหุ้นสว่ น มี 2 วธิ ี คอื
1. วิธที นุ คงท่ี บญั ชีท่เี กย่ี วขอ้ งมี 2 บัญชี คือ บัญชที นุ ใชบ้ นั ทกึ การลงทนุ ครง้ั แรก การเพิ่มทุน
และการลดทนุ และบญั ชกี ระแสทนุ ใชบ้ นั ทึกการถอนใช้สว่ นตัวและสว่ นแบ่งกาไรขาดทุน
2. วธิ ีทุนเปลยี่ นแปลง บัญชีที่เก่ียวข้อง คือ บัญชีทุน ใช้บันทึกการลงทุนคร้ังแรก การเพ่ิมทุน
การลดทุน การถอนใชส้ ว่ นตวั และส่วนแบง่ กาไรขาดทนุ
การจัดต้ังห้างหุ้นส่วนนอกจากจะเกิดจากการลงทุนร่วมกันของบุคคลต้ังแต่ 2 คนข้ึนไปแล้ว
อาจเกิดจากการลงทุนระหว่างบุคคลและกิจการเจ้าของคนเดียว ในกรณีทาให้มีห้างหุ้นส่วนใหม่เกิดข้ึน
วิธีการบันทึกบัญชีเพ่ือเปล่ียนจากกิจการเจ้าของคนเดียวเป็นห้างหุ้นส่วนทาได้ 2 วิธี คือ ใช้สมุดบัญชี
ชดุ เดิมของกิจการเจ้าของคนเดียวต่อไป หรอื เปดิ สมุดบัญชชี ุดใหม่เป็นสมดุ บัญชขี องหา้ งหนุ้ สว่ นก็ได้
การแบ่งกาไรขาดทุนให้ผู้เป็นหุ้นส่วน มีวิธีปฏิบัติดังน้ี แบ่งตามอัตราส่วนท่ีตกลงกัน
แบ่งตามอัตราส่วนทุน คิดดอกเบี้ยเงินทุน เงินเดือน หรือโบนัสให้หุ้นส่วนก่อน ส่วนที่เหลือ
แบ่งตามอัตราสว่ นท่ตี กลงกัน
ก า ร จั ด ท า ง บ ก า ร เ งิ น ข อ ง ห้ า ง หุ้ น ส่ ว น จ ด ท ะ เ บี ย น ใ ห้ ท า ต า ม แ บ บ ม า ต ร ฐ า น ง บ ก า ร เ งิ น
ตามประกาศกรมพฒั นาธรุ กิจการคา้ เรอ่ื ง การกาหนดรายการย่อที่ต้องมใี นงบการเงนิ พ.ศ. 2554 แบบ 1
นอกจากน้ีห้างหุ้นส่วนจะต้องแสดงเพ่ิม คือ รายการท่ีเกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน
ซงึ่ อาจแสดงตอ่ ท้ายงบกาไรขาดทุน หรือจัดทางบเงินทุนส่วนของผู้เป็นห้นุ สว่ น
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 4 การจัดตั้งห้างหุน้ ส่วนและการแบง่ กาไรขาดทนุ 240
คาศัพท์ คาศพั ทท์ างการบญั ชี
Alternative Capital Method ความหมาย
Arbitrary Ratio วิธที ุนเปลยี่ นแปลง
แบง่ ตามอตั ราส่วนที่ตกลงกัน
Capital Account บัญชที ุน
Capital Ratio แบง่ ตามอัตราส่วนทุน
Corporation บรษิ ทั จากัด
บัญชีกระแสทุน
Current Accounts งบการเงินของหา้ งหุน้ ส่วน
Financial Statement Presentation วธิ ที นุ คงที่
Fixed Capital Method งบกาไรขาดทุน
ห้างหนุ้ สว่ นจากัด
Income Statement ห้างหนุ้ ส่วนสามญั
Limited Partnership สัญญาการจัดตง้ั หา้ งหุ้นสว่ น
Ordinary or Unlimited Partnership หา้ งหุน้ สว่ น
กจิ การเจา้ ของคนเดียว
Partnership Agreements งบแสดงฐานะการเงนิ
Partnership งบเงินทุนของผเู้ ป็นหนุ้ ส่วน
Sole Proprietorship
Statement of Financial Position
Statement of Partner’s Capital
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การจัดตั้งห้างห้นุ สว่ นและการแบ่งกาไรขาดทุน 241
แบบทดสอบหลังเรียน
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 4 การจดั ต้ังห้างหุ้นสว่ นและการแบ่งกาไรขาดทุน
คาช้ีแจง
1. ให้เลือกคาตอบท่ีถกู ตอ้ งทสี่ ุดเพยี งขอ้ เดยี ว และทาเครอ่ื งหมายกากบาท (×) ลงในระดาษคาตอบ
2. แบบทดสอบ จานวน 13 ข้อ รวม 13 คะแนน ใชเ้ วลา 13 นาที
1. ประเภทของห้างหนุ้ สว่ นตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา 1013 ตรงกบั ขอ้ ใด
(จดุ ประสงคก์ ารเรียนรขู้ อ้ ท่ี 2)
ก. Limited Partnership
ข. Unlimited Partnership
ค. Registered Ordinary Partnership
ง. Unregistered Ordinary Partnership
จ. Limited Partnership and Limited Partnership
2. ข้อใด ไม่ถูกต้อง เก่ยี วกบั ลักษณะของหา้ งหุน้ ส่วน (จุดประสงค์การเรียนร้ขู อ้ ท่ี 1)
ก. ตกลงลงทุนร่วมกนั และกระทากจิ การรว่ มกนั
ข. มวี ัตถุประสงคเ์ พอื่ แสวงหากาไรมาแบง่ ปันกนั
ค. ลงทนุ ดว้ ยเงินสด สนิ ทรพั ย์อ่นื หรือแรงงานก็ได้
ง. จดั ทาสญั ญาจัดตั้งห้างหุ้นส่วนเปน็ ลายลักษณอ์ ักษรเทา่ น้ัน
จ. หา้ งหนุ้ ส่วนประกอบดว้ ยบุคคลหรอื นิตบิ ุคคลตั้งแต่ 2 คนขน้ึ ไป
3. บัญชกี ระแสทนุ ด้านเครดติ ใช้บันทึกรายการตามข้อใด (จดุ ประสงค์การเรยี นรขู้ อ้ ท่ี 4)
ก. การเพม่ิ ทนุ
ข. ถอนใช้สว่ นตวั
ค. ดอกเบย้ี เงินทนุ
ง. การลงทุนครงั้ แรก
จ. สว่ นแบง่ ผลขาดทุน
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 4 การจดั ตั้งห้างหุ้นส่วนและการแบ่งกาไรขาดทนุ 242
4. วนั ท่ี 1 มกราคม 2557 สุขกมล สขุ ใจ และสุขจิต ร่วมกันจดั ตัง้ หา้ งหนุ้ ส่วนจากัดรวมสุข โดยสุขกมล
นาเงินสดมาลงทุน 600,000 บาท สุขใจนารถยนต์มาลงทนุ มีมูลคา่ ยุตธิ รรม 700,000 บาท และ
สุขจติ ลงทนุ ดว้ ยแรงงานยงั ไมไ่ ดต้ รี าคาแรงงาน การบนั ทกึ บญั ชจี ัดตง้ั หา้ งหุ้นส่วน ตรงกบั ข้อใด
(จดุ ประสงค์การเรยี นรขู้ อ้ ท่ี 5)
ก. เดบติ เงนิ สด 600,000
รถยนต์ 700,000
เครดติ ทนุ -สขุ กมล 600,000
ทุน-สขุ ใจ 100,000
ทุน-สุขจิต 600,000
ข. เดบติ เงนิ สด 600,000
รถยนต์ 700,000
ค่าความนยิ ม 650,000
เครดติ ทุน-สขุ กมล 600,000
ทนุ -สขุ ใจ 700,000
ทนุ -สุขจิต 650,000
ค. เดบิต เงินสด 600,000
คา่ ความนิยม 800,000
เครดิต ทนุ -สขุ กมล 600,000
ทนุ -สุขใจ 100,000
ทุน-สุขจิต 700,000
ง. เดบติ เงินสด 1,300,000
เครดิต ทนุ -สขุ กมล 100,000
ทนุ -สุขจติ 1,200,000
จ. เดบิต เงินสด 1,200,000
ค่าความนยิ ม 650,000
เครดิต ทุน-สุขใจ 550,000
ทนุ -สขุ จติ 1,300,000
หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 4 การจดั ตง้ั ห้างหุ้นสว่ นและการแบง่ กาไรขาดทุน 243
จากโจทยต์ ่อไปนี้ จงตอบคาถามข้อ 5 - 6
วรดา และจริยา ตกลงจดั ตั้งห้างหุน้ ส่วนจากัดวรยา โดยวรดามีกิจการของตนเองอยู่แลว้
จึงโอนกจิ การของตนเองมาลงทนุ ในห้างหุน้ ส่วน สว่ นจรยิ านาเงนิ สดมาลงทุน 200,000 บาท
งบแสดงฐานะการเงินร้านวรดา ณ วนั ท่นี ามาลงทนุ มดี ังน้ี
สินทรพั ย์ หนีส้ นิ และทุน
เงนิ สด 100,000 เจ้าหนก้ี ารค้า 45,000
ลกู หน้ี 60,000 เงนิ กู้ 50,000
หกั คา่ เผ่ือหนสี้ งสยั จะสูญ (5,000) 55,000 ทนุ -วรดา 190,000
สนิ คา้ คงเหลอื 70,000
อปุ กรณส์ านกั งาน 90,000
หัก คา่ เสื่อมราคาสะสม (30,000) 60,000
285,000 285,000
ผเู้ ป็นหนุ้ สว่ นตกลงรับโอนสินทรัพยแ์ ละหนี้สนิ ของร้านวรดาในราคาตามบญั ชี ยกเว้น
คา่ เผอ่ื หนีส้ งสัยจะสญู ให้ปรับเพิ่มอีก 2,000 บาท และเพ่ิมคา่ เสือ่ มราคาสะสมอกี 10,000 บาท
ผ้เู ปน็ ห้นุ สว่ นตกลงให้แบง่ กาไรขาดทุนเทา่ กนั โดยรบั ร้คู า่ ความนิยมให้วรดา เพอ่ื ใหม้ สี ว่ นทนุ
เทา่ กับจรยิ า
5. สมดุ บญั ชีของรา้ นวรดา จะปรบั ปรงุ บญั ชคี า่ เผอ่ื หน้สี งสัยจะสูญ และค่าเส่อื มราคาสะสม อยา่ งไร
(จุดประสงคก์ ารเรยี นรูข้ อ้ ที่ 6)
ก. เดบติ ทุน-วรดา 7,000
เครดติ ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสูญ 7,000
ข. เดบติ ทนุ -วรดา 10,000
เครดิต ค่าเส่ือมราคาสะสม 10,000
ค. เดบติ คา่ เผื่อหน้สี งสยั จะสญู 2,000
ค่าเสื่อมราคาสะสม 10,000
เครดติ ทนุ -วรดา 12,000
ง. เดบติ ทนุ -วรดา 12,000
เครดิต คา่ เสื่อมราคาสะสม 10,000
คา่ เผอื่ หนี้สงสยั จะสญู 2,000
จ. เดบติ ทุน-วรดา 20,000
เครดติ คา่ เส่อื มราคาสะสม 20,000
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 4 การจดั ตั้งห้างห้นุ ส่วนและการแบง่ กาไรขาดทุน 244
6. สมุดบญั ชีของห้างหุน้ สว่ นจากดั วรยา จะบันทกึ บญั ชีทุน-วรดา และทนุ -จรยิ า ตรงกบั ข้อใด
(จุดประสงคก์ ารเรียนร้ขู อ้ ที่ 7)
ก. เดบิต ทนุ -วรดา 178,000 และเครดติ ทุน-จรยิ า 200,000
ข. เดบติ ทนุ -วรดา 190,000 และเครดติ ทุน-จรยิ า 200,000
ค. เครดิต ทนุ -วรดา 200,000 และเครดติ ทุน-จริยา 200,000
ง. เครดติ ทุน-วรดา 200,000 และเดบิต ทนุ -จริยา 190,000
จ. เครดติ ทุน-วรดา 212,000 และเดบติ ทุน-จริยา 190,000
7. แกว้ ใจ และก่ิงฟา้ ตกลงเป็นหุน้ สว่ นจัดตง้ั หา้ งห้นุ สว่ นจากัดกง่ิ แก้ว เม่อื วันที่ 2 มกราคม 2557
โดยตกลงแบง่ กาไรขาดทุนในอัตรา 2 : 3 การดาเนินงานในปี 2557 มีกาไรสทุ ธิ 50,000 บาท
ผู้เปน็ หนุ้ ส่วนจะไดร้ บั สว่ นแบง่ กาไรขาดทนุ คนละเทา่ ใด (จดุ ประสงคก์ ารเรยี นร้ขู อ้ ท่ี 8)
ก. แกว้ ใจ 20,000 บาท กงิ่ ฟ้า 30,000 บาท
ข. แกว้ ใจ 25,000 บาท ก่ิงฟ้า 25,000 บาท
ค. แกว้ ใจ 30,000 บาท กิ่งฟา้ 20,000 บาท
ง. แก้วใจ 35,000 บาท กงิ่ ฟ้า 30,000 บาท
จ. แก้วใจ 50,000 บาท ก่งิ ฟ้า 50,000 บาท
8. ข้อใด ไมใ่ ช่ สาระสาคญั ในสญั ญาจัดตงั้ หา้ งหุ้นส่วน (จดุ ประสงค์การเรียนรูข้ อ้ ท่ี 3)
ก. คุณสมบัตขิ องผเู้ ปน็ หนุ้ ส่วน
ข. เงนิ ทุนของหุ้นส่วนแต่ละคน
ค. วตั ถุประสงคข์ องหา้ งห้นุ สว่ น
ง. นโยบายบญั ชีและงวดบญั ชี
จ. ชอ่ื และสถานท่ตี งั้ ของห้างหุ้นส่วน
9. นภา และนุพล เป็นหนุ้ สว่ นกนั มที ุน ณ วนั ตน้ งวดคนละ 150,000 บาท และ 240,000 บาท ตามลาดบั
แบ่งกาไรขาดทุนโดยคิดดอกเบยี้ เงินทนุ 10% จากทุนต้นงวด คดิ เงินเดอื นใหน้ ภา 24,000 บาท และ
นุพล 23,500 บาท คิดโบนสั ให้นภา 15% ของกาไรสทุ ธหิ ลงั หกั โบนสั กาไรขาดทุนทเี่ หลือแบง่
ในอัตรา 3 : 2 ห้างหุ้นสว่ นมกี าไรสทุ ธิ 160,000 บาท ผ้เู ปน็ หุ้นสว่ นจะได้สว่ นแบง่ กาไรขาดทุน
คนละเทา่ ใด (จุดประสงคก์ ารเรยี นรขู้ อ้ ที่ 10)
ก. นภา 59,870 บาท นพุ ล 100,130 บาท
ข. นภา 66,700 บาท นุพล 93,300 บาท
ค. นภา 79,450 บาท นพุ ล 80,550 บาท
ง. นภา 82,300 บาท นุพล 77,700 บาท
จ. นภา 91,448 บาท นุพล 68,552 บาท
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การจดั ตัง้ หา้ งหุน้ สว่ นและการแบ่งกาไรขาดทนุ 245
10. มนี า และเมษา เปน็ หุ้นสว่ นกัน แบง่ กาไรขาดทุนโดยคิดดอกเบ้ยี เงินทุน 10% ของทนุ สิน้ งวด
มนี า มเี งินทุน 30,000 บาท และ 130,000 บาท ตามลาดบั การดาเนินงานห้างหนุ้ สว่ นมีกาไรสุทธิ
80,000 บาท ขอ้ ตกลงแบง่ กาไรขาดทนุ โดยคดิ เงินเดอื นใหม้ ีนา เดอื นละ 3,000 บาท และเมษา
เดอื นละ 300 บาท กาไรท่ีเหลอื แบง่ เท่ากนั การบนั ทกึ สว่ นแบ่งกาไรที่เหลอื ตรงกบั ขอ้ ใด (วิธีทุนคงท่)ี
(จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ขอ้ ท่ี 11)
ก. เดบิต กาไรขาดทนุ 16,000
เครดิต กระแสทุน-มนี า 3,000
กระแสทนุ -เมษา 13,000
ข. เดบิต กาไรขาดทุน 22,000
เครดติ กระแสทุน-มนี า 11,000
กระแสทุน-เมษา 11,000
ค. เดบติ กาไรขาดทุน 42,000
เครดิต กระแสทนุ -มีนา 36,000
กระแสทุน-เมษา 6,000
ง. เดบติ กาไรขาดทุน 16,000
เครดติ ทุน-มนี า 3,000
ทนุ -เมษา 13,000
จ. เดบิต กาไรขาดทนุ 22,000
เครดิต ทุน-มนี า 11,000
ทุน-เมษา 11,000
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 4 การจัดตงั้ ห้างห้นุ ส่วนและการแบง่ กาไรขาดทนุ 246
จากโจทย์ต่อไปนี้ จงตอบคาถามขอ้ 11 - 12
ห้างหุ้นสว่ นจากัดร่งุ เรอื ง ดาเนินกจิ การในปี 2557 มีผลการดาเนินงาน ดังนี้
ขายสินคา้ 239,000 บาท รบั คนื และส่วนลดจา่ ย 5,000 บาท
กาไรขนั้ ต้น 30% ของราคาทนุ คา่ ใช้จ่ายในการบรหิ าร 2,000 บาท
คา่ ใช้จา่ ยในการขาย 5% ของกาไรข้นั ตน้
ทนุ ของหุ้นส่วน ระหว่างปี 2557 เปน็ ดังนี้
ทนุ -จงกล ทุน-นลิ ยา
1 ม.ค. ยอดยกมา 125,000 บาท 1 ม.ค. ยอดยกมา 75,000 บาท
1 เม.ย. ถอนทุน 35,000 บาท 1 ก.พ. เพมิ่ ทุน 30,000 บาท
1 พ.ย. เพ่ิมทุน 60,000 บาท 1 ก.ค. เพ่มิ ทนุ 25,000 บาท
ผู้เปน็ หนุ้ สว่ นตกลงแบง่ กาไรขาดทนุ ดังน้ี
1. คดิ ดอกเบยี้ 5% ของทนุ ตน้ งวด
2. คิดเงนิ เดือนใหจ้ งกล 15,000 บาท และนลิ ยา 12,000 บาท
3. คดิ โบนสั ใหจ้ งกล 5% ของกาไรสทุ ธิ
4. กาไรทเี่ หลอื แบ่งเทา่ กัน
11. งบกาไรขาดทนุ ของหา้ งห้นุ ส่วนจากดั รงุ่ เรือง สาหรบั ปี สิ้นสดุ วันท่ี 31 ธันวาคม 2557
แสดงส่วนแบง่ กาไรขาดทุนของผเู้ ปน็ ห้นุ ส่วนแตล่ ะคน ตรงกบั ขอ้ ใด (จดุ ประสงค์การเรียนรู้ขอ้ ที่ 12)
ก. จงกล 21,250 บาท นลิ ยา 15,750 บาท
ข. จงกล 23,950 บาท นลิ ยา 15,750 บาท
ค. จงกล 31,100 บาท นิลยา 22,900 บาท
ง. จงกล 32,100 บาท นลิ ยา 23,900 บาท
จ. จงกล 33,100 บาท นิลยา 32,900 บาท
12. งบแสดงฐานะการเงนิ ของหา้ งหุ้นสว่ นจากดั รุ่งเรอื ง ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 23557 แสดงบัญชที ุน
ของผูเ้ ป็นหนุ้ ส่วนแต่ละคน ตรงกบั ข้อใด (จดุ ประสงค์การเรยี นร้ขู อ้ ท่ี 13)
ก. จงกล 115,000 บาท นิลยา 130,000 บาท
ข. จงกล 150,000 บาท นลิ ยา 130,000 บาท
ค. จงกล 171,250 บาท นิลยา 145,750 บาท
ง. จงกล 173,950 บาท นิลยา 145,750 บาท
จ. จงกล 181,100 บาท นลิ ยา 152,900 บาท
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 4 การจัดตง้ั ห้างหนุ้ สว่ นและการแบ่งกาไรขาดทนุ 247
13. สขุ จิต และสขุ ใจ จัดต้งั ห้างหุ้นส่วน เม่ือวนั ท่ี 1 มกราคม 2557 มีเงนิ ทุนเริ่มแรกคนละ 300,000 บาท
และ 500,000 บาท ตามลาดับ ในปี 2557 ห้างหนุ้ สว่ นมกี าไรสทุ ธิ 200,000 บาท หุ้นส่วนตกลง
แบ่งกาไรขาดทนุ ตามอัตราสว่ นทุน ณ วันเร่มิ กจิ การ ผเู้ ปน็ หนุ้ สว่ นจะได้ส่วนแบง่ กาไรขาดทนุ
คนละเท่าใด (จุดประสงค์การเรียนรู้ข้อท่ี 9)
ก. สุขจิต 30,000 บาท สุขใจ 170,000 บาท
ข. สุขจิต 75,000 บาท สขุ ใจ 125,000 บาท
ค. สุขจิต 70,000 บาท สขุ ใจ 130,000 บาท
ง. สขุ จิต 80,000 บาท สขุ ใจ 120,000 บาท
จ. สขุ จติ 65,000 บาท สขุ ใจ 135,000 บาท
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 5
การเปล่ยี นแปลงสว่ นของผู้เป็นหุ้นส่วน
สาระการเรียนรู้
1. การรบั ผเู้ ปน็ หนุ้ สว่ นใหม่
2. การลาออกของผเู้ ปน็ หนุ้ ส่วน
3. การตายของผู้เป็นหุ้นสว่ น
จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1. บนั ทกึ บัญชกี ารรับผ้เู ป็นหนุ้ ส่วนใหม่ กรณผี เู้ ป็นหุน้ สว่ นใหมซ่ ้อื สทิ ธิสว่ นได้เสีย
จากผเู้ ปน็ ห้นุ สว่ นเดิมได้
2. บันทึกบญั ชกี ารรบั ผู้เป็นห้นุ สว่ นใหม่ กรณีผเู้ ปน็ หนุ้ ส่วนใหมน่ าสนิ ทรพั ย์มาลงทนุ ในห้างห้นุ ส่วนได้
3. บันทึกบญั ชกี ารลาออกของผเู้ ปน็ หุน้ สว่ น กรณีหุ้นส่วนที่เหลอื อยูร่ ับซ้อื สิทธิสว่ นได้เสียจากหุ้นส่วน
ท่ีลาออกได้
4. บนั ทึกบัญชีการออกของผเู้ ป็นห้นุ ส่วน กรณหี ้างหนุ้ ส่วนชาระคืนทุนด้วยเงนิ สดหรอื สนิ ทรพั ยอ์ ื่น
ใหแ้ ก่หนุ้ สว่ นทล่ี าออกได้
5. บันทึกบญั ชีหา้ งหุ้นสว่ นชาระคนื ทุนใหแ้ กท่ ายาทหรือกองมรดกของหุ้นสว่ นที่ตายได้
6. ปฏิบตั งิ านดว้ ยความรบั ผดิ ชอบ มีความสนใจใฝร่ ู้ ซื่อสัตยส์ จุ ริต ตรงตอ่ เวลาและสภุ าพเรยี บรอ้ ย
สมรรถนะประจาหน่วย
บันทึกบญั ชีการรบั ผเู้ ป็นหนุ้ ส่วนใหม่ การลาออกของผเู้ ปน็ หุ้นสว่ นและการตายของผเู้ ป็นหุ้นสว่ น
ไดถ้ ูกตอ้ งตามมาตรฐานการบญั ชี
ผงั มโนทศั น์ (Concept Map) หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 5 การเปล่ียนแปลงส่วนของผู้เป็นหุน้ ส่วน 249
1. การรับผเู้ ปน็ หนุ้ สว่ นใหม่
1.1 ผูเ้ ปน็ หุ้นส่วนใหมซ่ ้อื สทิ ธิส่วนได้เสียจากผเู้ ปน็ หนุ้ สว่ นเดมิ
1.2 ผ้เู ปน็ ห้นุ สว่ นใหมน่ าสินทรพั ยม์ าลงทุนในห้างหนุ้ ส่วน
การเปลีย่ นแปลง 2. การลาออกของผูเ้ ปน็ หนุ้ สว่ น
สว่ นของผู้เป็นหนุ้ สว่ น
2.1 หุ้นสว่ นท่ีเหลอื อยู่รบั ซอื้ สิทธสิ ว่ นไดเ้ สยี จากหนุ้ สว่ นที่ลาออก
2.2 ห้างหุ้นสว่ นชาระคืนทนุ ดว้ ยเงินสดหรอื สนิ ทรัพย์อ่ืน
ให้แกห่ นุ้ ส่วนท่ีลาออก
3. การตายของผู้เปน็ หนุ้ สว่ น
3.1 ห้างหุ้นสว่ นชาระคนื ทนุ ใหแ้ กท่ ายาทหรอื กองมรดก
ของหุ้นสว่ นทตี่ าย
หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 5 การเปล่ียนแปลงส่วนของผู้เป็นหนุ้ ส่วน 250
แบบทดสอบกอ่ นเรียน
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5 การเปลี่ยนแปลงสว่ นของผูเ้ ปน็ หุ้นสว่ น
คาช้ีแจง
1. ให้เลอื กคาตอบทถ่ี กู ตอ้ งที่สุดเพยี งขอ้ เดยี ว และทาเคร่อื งหมายกากบาท (×) ลงในระดาษคาตอบ
2. แบบทดสอบ จานวน 5 ขอ้ รวม 5 คะแนน ใช้เวลา 5 นาที
1. กรุณาและกานดา เป็นห้นุ ส่วนกัน มที นุ คนละ 100,000 บาท และ 80,000 บาท ตามลาดบั
แบ่งกาไรขาดทุนเทา่ กนั ตกลงรบั กอบกลุ เขา้ มาเป็นหนุ้ ส่วนใหม่ โดยซื้อสทิ ธิส่วนได้เสยี
จากหุน้ สว่ นคนละ 25% ในราคา 50,000 บาท เพอื่ ให้มสี ทิ ธิสว่ นได้เสีย 25% ในห้างหนุ้ ส่วน
การบันทึกบญั ชีรับหุ้นสว่ นใหม่ด้วยวธิ คี ่าความนยิ ม ตรงกบั ขอ้ ใด (จุดประสงคก์ ารเรียนร้ขู อ้ ท่ี 1)
ก. เดบิต ทุน-กรุณา 25,000
ทนุ -กานดา 25,000
เครดติ ทนุ -กอบกุล 50,000
ข. เดบติ ทุน-กรณุ า 27,500
ทนุ -กานดา 22,500
เครดิต ทุน-กอบกลุ 50,000
ค. เดบติ เงนิ สด 25,000
คา่ ความนยิ ม 25,000
เครดติ ทุน-กอบกลุ 50,000
ง. เดบิต ทนุ -กรณุ า 27,500
ทุน-กานดา 20,000
ค่าความนยิ ม 2,500
เครดิต ทุน-กอบกุล 50,000
จ. เดบติ ค่าความนยิ ม 50,000
เครดติ ทนุ -กอบกุล 50,000
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การเปลย่ี นแปลงส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน 251
2. จงรกั และภกั ดี เปน็ หุ้นส่วนกนั แบง่ กาไรขาดทุนเทา่ กนั มที นุ คนละ 200,000 บาท และ 250,000 บาท
ตามลาดบั ตกลงรบั ภูมใิ จ เป็นห้นุ สว่ นใหม่ โดยภมู ใิ จ นาเงินสดมาลงทนุ 180,000 บาท
เพื่อได้สิทธสิ ว่ นได้เสีย 30% ในหา้ งหุ้นสว่ น การบันทกึ บญั ชรี บั หุน้ สว่ นใหม่โดยนาสนิ ทรพั ยม์ าลงทนุ
ด้วยวธิ คี ่าความนยิ ม ตรงกับขอ้ ใด (จดุ ประสงค์การเรียนรขู้ อ้ ท่ี 2)
ก. เดบติ เงนิ สด 180,000
เครดติ ทนุ -ภมู ใิ จ 180,000
ข. เดบติ เงนิ สด 180,000
คา่ ความนยิ ม 9,000
เครดติ ทุน-ภูมใิ จ 189,000
ค. เดบิต เงินสด 180,000
คา่ ความนิยม 12,857
เครดิต ทุน-ภูมิใจ 192,857
ง. เดบิต เงินสด 180,000
ทุน-จงรกั 15,000
ทนุ -ภกั ดี 15,000
เครดิต ทนุ -ภมู ใิ จ 210,000
จ. เดบติ ทนุ -จงรัก 60,000
ทุน-ภักดี 75,000
คา่ ความนิยม 90,000
เครดติ ทุน-ภมู ิใจ 225,000
3. พร พรรณ และเพชร เปน็ หนุ้ ส่วนกนั มที ุน 20,000 บาท 25,000 บาท และ 30,000 บาท ตามลาดับ
แบง่ กาไรขาดทนุ ในอตั รา 1 : 2 : 1 ต่อมาพรขอลาออกจากห้างห้นุ สว่ น โดยพรรณขอซ้ือสทิ ธิสว่ นไดเ้ สยี
จากพรในราคา 18,000 บาท การบันทึกการลาออกของพร ตรงกบั ขอ้ ใด
(จุดประสงคก์ ารเรียนร้ขู อ้ ที่ 3)
ก. เดบติ ทนุ -พรรณ 18,000
เครดติ ทนุ -พร 18,000
ข. เดบติ ทุน-เพชร 18,000
เครดติ ทุน-พรรณ 18,000
ค. เดบิต ทนุ -พรรณ 20,000
เครดิต ทุน-เพชร 20,000
ง. เดบิต ทุน-พร 20,000
เครดิต เงนิ สด 20,000
จ. เดบิต ทนุ -พร 20,000
เครดิต ทุน-พรรณ 20,000
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 5 การเปลยี่ นแปลงส่วนของผ้เู ป็นหนุ้ ส่วน 252
4. ดลพร กนกอร และม่ิงพร เป็นหนุ้ ส่วนกัน ดาเนนิ กจิ การหา้ งห้นุ สว่ นจากดั โอบกจิ มีทุนคนละ
80,000 บาท 75,000 บาท และ 65,000 บาท ตามลาดับ แบ่งกาไรขาดทนุ ในอัตรา 2 : 3 : 1
ต่อมา ดลพรขอลาออกจากหา้ งหุน้ ส่วนและไดร้ บั คืนทนุ 92,000 บาท ส่วนที่เกินถอื เป็นค่าความนิยม
ให้ผ้เู ปน็ หนุ้ สว่ นทุกคน การบันทกึ บญั ชจี า่ ยคนื ทุนใหห้ ุน้ สว่ นท่ีลาออก ตรงกบั ขอ้ ใด
(จุดประสงค์การเรยี นรู้ข้อท่ี 4)
ก. เดบติ ทุน-ดลพร 92,000
เครดิต เงนิ สด 92,000
ข. เดบิต ทุน-ดลพร 80,000
ค่าความนยิ ม 12,000
เครดติ เงินสด 92,000
ค. เดบิต ค่าความนยิ ม 92,000
เครดิต ทุน-ดลพร 92,000
ง. เดบติ เงนิ สด 80,000
คา่ ความนิยม 12,000
เครดิต ทนุ -ดลพร 92,000
จ. เดบิต ทุน-ดลพร 92,000
เครดติ เงินสด 80,000
คา่ ความนยิ ม 12,000
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 5 การเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้เป็นหนุ้ ส่วน 253
5. กรกช กรรวี และกัมพล เปน็ หุ้นส่วนกนั แบง่ กาไรขาดทุนในอตั รา 1 : 1 : 2 มีทนุ คนละ 100,000 บาท
120,000 บาท และ 200,000 บาท ตามลาดบั ในวันท่ี 30 พฤศจกิ ายน 2557 กรกชตาย ผูเ้ ป็นหนุ้ ส่วน
ตกลงให้มีการปรบั ปรงุ สนิ ทรัพยส์ ทุ ธขิ องห้างหนุ้ สว่ นกอ่ นจ่ายคนื ทุนให้ทายาทกรกช โดยที่ดนิ มรี าคา
เพมิ่ ข้ึน 25,000 บาท และคดิ ค่าเสื่อมราคาอาคารเพมิ่ 5,000 บาท หา้ งหุ้นส่วนมกี าไรขาดทุน
ย้อนหลงั 3 ปี ดังนี้ ปี 2556 กาไรสทุ ธิ 31,500 บาท ปี 2555 กาไรสุทธิ 29,500 บาท
และปี 2554 กาไรสทุ ธิ 38,000 บาท การบันทึกบญั ชจี ่ายคนื ทนุ ให้ทายาทผเู้ ป็นหนุ้ สว่ นท่ตี าย
ตรงกบั ข้อใด (จดุ ประสงคก์ ารเรียนรูข้ อ้ ที่ 5)
ก. เดบติ ทุน-กรกช 100,000
สว่ นแบง่ กาไรขาดทนุ โดยประมาณ-กรกช 7,563
เครดิต เงินสด 107,563
ข. เดบติ เงนิ สด 100,000
สว่ นแบ่งกาไรขาดทนุ โดยประมาณ-กรกช 7,563
เครดติ ทุน-กรกช 107,563
ค. เดบติ ทนุ -กรกช 107,563
เครดิต เงินสด 107,563
ง. เดบิต ทนุ -กรกช 112,563
เครดติ เงนิ สด 112,563
จ. เดบติ ทุน-กรกช 100,000
ส่วนแบง่ กาไรขาดทุนโดยประมาณ-กรกช 12,563
เครดิต เงินสด 112,563
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 5 การเปลีย่ นแปลงส่วนของผเู้ ป็นหนุ้ ส่วน 254
เน้อื หาสาระ
ห้างหุ้นส่วนดาเนินงานมาได้ระยะหนึ่งอาจจะมีความต้องการเงินทุนเพิ่มข้ึนเพ่ือขยายกิจการ
หรอื ต้องการผู้ท่ีมีความรู้ ความสามารถเข้ามาร่วมทุน เพ่ือช่วยบริหารกิจกรรมของห้างหุ้นส่วนให้ดีย่ิงข้ึน
หรืออาจจะมผี ู้เปน็ หุ้นสว่ นบางคนตาย ล้มละลาย หรือลาออกไปจากห้างหุ้นส่วน หรือมีเหตุอื่นใดก็ตาม
ท่ที าให้เกิดการเปล่ยี นแปลงสว่ นของผ้เู ปน็ หุ้นสว่ น ได้แก่ การรับหนุ้ สว่ นใหม่ การลาออกของผเู้ ป็นห้นุ ส่วน
และการตายของผู้เป็นหุ้นส่วน ในทางกฎหมายการเปล่ียนแปลงส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วนจะมีผลทาให้
การดาเนินงานของห้างห้นุ สว่ นต้องสิ้นสุดลง แต่อย่างไรก็ตามการส้ินสุดห้างหุ้นส่วนตามกฎหมายอาจจะ
ไม่ใช่การส้ินสุดการดาเนินงานที่มีอยู่จริง เพียงแต่ผู้เป็นหุ้นส่วนทุกคนตกลงยินยอมที่จะจัดทาสัญญา
จัดต้ังห้างหุ้นส่วนขึ้นมาใหม่ก็สามารถดาเนินกิจการห้างหุ้นส่วนต่อไปได้ และจะต้องไปย่ืนจดทะเบียน
เปลย่ี นแปลงสญั ญาการจดั ตั้งหา้ งหนุ้ ส่วนตอ่ สานกั งานทะเบยี นห้างหนุ้ สว่ นบริษัท
1. การรบั ผเู้ ป็นหนุ้ สว่ นใหม่ (Admission of a New Partner)
เม่ือห้างหนุ้ สว่ นดาเนนิ งานแลว้ ประสบความสาเร็จ อาจต้องการเงินทนุ เพมิ่ เพอ่ื ใช้ในการขยายกจิ การ
หรือต้องการบุคคลท่ีมีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์มาช่วยในการดาเนินงานจึงมี
การรับหุ้นส่วนใหม่ ซ่ึงต้องได้รับความยินยอมจากผู้เป็นหุ้นส่วนเดิมทุกคน เนื่องจากผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่
ตอ้ งเขา้ มารว่ มดาเนินกิจการและร่วมกันรับผดิ ในหนี้สินของห้างหุ้นส่วน ดังนั้น การรับผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่
มผี ลให้สถานภาพของห้างหุ้นส่วนท่ีมีอยู่เดิมต้องเลิกไป เกิดห้างหุ้นส่วนใหม่ขึ้นมาแทน สัญญาข้อตกลง
ของหา้ งหุน้ ส่วนต้องจัดทาข้ึนมาใหม่โดยเฉพาะข้อตกลงเกีย่ วกับการแบ่งกาไรขาดทนุ
ก่อนที่จะรับผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ จะต้องมีการปรับปรุงสินทรัพย์สุทธิของห้างหุ้นส่วนให้แสดงด้วย
มูลค่ายตุ ิธรรมกอ่ น ผลต่างจากการปรับปรงุ จะนาไปแบง่ ใหผ้ เู้ ปน็ หุ้นสว่ นเดิมตามอตั ราสว่ นแบง่ กาไรขาดทนุ
เพอื่ ใหเ้ กดิ ความเป็นธรรมระหวา่ งผูเ้ ปน็ หุ้นส่วนเดิม และผู้เปน็ หนุ้ ส่วนใหม่
วธิ กี ารบนั ทกึ บัญชีการรับห้นุ สว่ นใหม่แบ่งเป็น 2 วิธี
1. ผเู้ ป็นหุน้ สว่ นใหมซ่ ้อื สทิ ธิส่วนได้เสียจากผูเ้ ป็นหุน้ สว่ นเดิม
2. ผเู้ ป็นหนุ้ ส่วนใหม่นาสินทรัพย์มาลงทุนในหา้ งหุ้นสว่ น
วิธีการรับผู้เป็นหุ้นสว่ นใหม่ แสดงตามภาพท่ี 5.1 ดังนี้
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 5 การเปล่ียนแปลงส่วนของผเู้ ป็นหุน้ ส่วน 255
การรบั ผ้เู ป็นหุ้นสว่ นใหม่
ซอ้ื สทิ ธิ/นาสินทรพั ยม์ าลงทนุ เทา่ กบั ไม่บันทึก
เท่ากบั สทิ ธสิ ว่ นไดเ้ สยี ทีไ่ ด้รบั โบนัสหรือคา่ ความนิยม
หรือไม่
มากกว่า ไมเ่ ทา่ กบั
วิธีโบนัส-ผเู้ ปน็ หุ้นส่วนเดมิ นอ้ ยกว่า
วธิ คี า่ ความนิยม-ผเู้ ปน็ ห้นุ ส่วนเดมิ
วธิ โี บนัส-ผเู้ ป็นหุน้ ส่วนใหม่
วิธีคา่ ความนิยม-ผู้เป็นหนุ้ ส่วนใหม่
ภาพท่ี 5.1 การรบั หุ้นส่วนใหม่
1.1 ผ้เู ป็นหุ้นสว่ นใหมซ่ ือ้ สิทธสิ ว่ นไดเ้ สียจากผ้เู ปน็ หุ้นสว่ นเดิม (Admission by
Purchased Interest)
ผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ซื้อสิทธิส่วนได้เสียบางส่วน หรือทั้งหมดจากผู้เป็นหุ้นส่วนเดิมคนเดียว
หรอื หลายคนก็ได้ การบันทึกบัญชีจะเป็นการโอนบัญชีทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม (ผู้ขาย) ไปยังบัญชีทุน
ของผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ (ผู้ซ้ือ) เท่ากับสิทธิส่วนได้เสียท่ีตกลงซ้ือขายกัน โดยไม่คานึงถึงราคาที่ซ้ือ
ดงั นนั้ สนิ ทรพั ยส์ ทุ ธิของห้างหุ้นสว่ นจะไม่มกี ารเปลีย่ นแปลง การบนั ทึกบัญชีโดย
เดบิต ทนุ -ผ้เู ป็นหุน้ ส่วนเดิม ××
เครดิต ทุน-ผูเ้ ป็นหุน้ ส่วนใหม่ ××
สิทธสิ ่วนไดเ้ สยี ของผูเ้ ป็นหุน้ สว่ นใหมท่ จ่ี ะได้รบั ในห้างหุ้นสว่ น ไมจ่ าเป็นจะตอ้ งเทา่ กับ
อัตราส่วนแบง่ กาไรขาดทุน ดงั นัน้ เมอ่ื มกี ารรับผเู้ ปน็ หนุ้ ส่วนใหม่ ควรกาหนดอตั ราส่วนแบง่ กาไรขาดทุน
ใหม่ใหช้ ัดเจนเปน็ ลายลกั ษณ์อักษร แต่ถา้ ไมไ่ ด้ตกลงไว้ตามกฎหมายไทยใหแ้ บ่งตามอตั ราสว่ นทนุ
การบันทกึ บัญชีเม่ือมีการซอ้ื สิทธิส่วนไดเ้ สยี จากผเู้ ป็นหุ้นส่วนเดมิ แยกพจิ ารณา 3 กรณี คือ
1. ซอื้ สทิ ธสิ ่วนได้เสียในราคา เทา่ กบั สิทธสิ ว่ นได้เสียที่ไดร้ ับ
2. ซื้อสทิ ธิสว่ นได้เสียในราคา มากกว่า สทิ ธิสว่ นไดเ้ สยี ที่ได้รับ
3. ซ้อื สทิ ธิสว่ นไดเ้ สยี ในราคา นอ้ ยกว่า สิทธิส่วนไดเ้ สียทไี่ ด้รบั
หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 5 การเปลย่ี นแปลงส่วนของผเู้ ป็นหุ้นส่วน 256
1. ซ้ือสิทธิส่วนได้เสยี ในราคา เทา่ กับ สิทธสิ ว่ นไดเ้ สียที่ได้รบั
กรณีน้ใี ห้บนั ทกึ โอนบญั ชที นุ ของผเู้ ปน็ หนุ้ ส่วนเดิม ไปยังบญั ชที นุ ของผเู้ ป็นหุ้นสว่ นใหม่
ตามสิทธิสว่ นได้เสียทต่ี กลงซื้อขายกัน ซึ่งจะเท่ากับจานวนเงนิ ทีผ่ เู้ ปน็ หุ้นสว่ นใหม่จา่ ยซือ้
ตัวอย่างที่ 5.1 สุขจิต สุขใจและสขุ กมล ดาเนนิ กิจการห้างหุน้ ส่วนจากดั รวมสขุ ในวนั ที่ 1 มกราคม 2557
ผู้เป็นหุ้นส่วนตกลงรับสุขเจริญ เข้ามาเป็นหุ้นส่วนใหม่ โดยก่อนรับผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ ได้ปรับปรุง
สินทรัพย์สุทธิของห้างหุ้นส่วนให้เป็นมูลค่ายุติธรรมแล้ว หลังปรับปรุงบัญชีห้างหุ้นส่วนจากัดรวมสุข
มีบัญชีทนุ อัตราสทิ ธสิ ว่ นไดเ้ สยี และอตั ราสว่ นแบ่งกาไรขาดทนุ ดงั น้ี
บญั ชที ุน สทิ ธิสว่ นไดเ้ สยี อัตราสว่ นแบง่ กาไรขาดทนุ
สุขจิต 400,000 40% 40%
สุขใจ 250,000 25% 30%
สขุ กมล 350,000 35% 30%
1,000,000
สมมตวิ ่า สุขเจรญิ ซือ้ สิทธิส่วนได้เสียจากสขุ จติ เพ่ือจะได้รับสิทธสิ ว่ นได้เสยี 20% ในหา้ งหุน้ สว่ น
โดยจ่ายเงนิ 200,000 บาท
การคานวณ
จานวนเงนิ ทผ่ี เู้ ป็นห้นุ ส่วนใหมจ่ ่ายซอ้ื สทิ ธิส่วนไดเ้ สีย = 200,000 บาท
บาท
หกั สทิ ธิสว่ นไดเ้ สียที่ไดร้ ับ (1,000,000 × 20%) = 200,000
บาท
คงเหลือ =0
ดงั น้ัน สขุ เจรญิ ซอ้ื สทิ ธสิ ว่ นได้เสียในราคาเทา่ กบั สทิ ธสิ ่วนได้เสียทไี่ ดร้ ับ
การบันทกึ บญั ชี
สมดุ รายวันท่วั ไป หนา้ 1
เครดิต
พ.ศ. 2557 รายการ เลขที่ เดบิต บาท สต.
เดอื น วัน บัญชี บาท สต.
200,000 -
ม.ค. 1 ทุน-สขุ จติ (1,000,000 × 20%) 200,000 -
ทุน-สุขเจริญ
บนั ทกึ รบั สขุ เจรญิ เข้ามาเปน็ ห้นุ ส่วนใหม่
หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 5 การเปล่ยี นแปลงส่วนของผู้เป็นห้นุ ส่วน 257
หลงั จากรบั สุขเจรญิ เข้ามาเป็นหนุ้ สว่ นใหม่แลว้ เงินทนุ ของหา้ งหุน้ ส่วนเท่ากับ 1,000,000 บาท
แต่เงินทุนและสทิ ธสิ ว่ นได้เสยี ของผเู้ ปน็ หุ้นส่วนแตล่ ะคนจะเปลี่ยนไป ดงั นี้
เงินทนุ เดมิ สุขจติ สุขใจ สขุ กมล สุขเจริญ รวม
โอนทนุ ใหส้ ขุ เจรญิ 400,000 250,000 350,000 - 1,000,000
เงนิ ทนุ ใหม่ (200,000)
200,000 - - 200,000 -
250,000 350,000 200,000 1,000,000
สิทธิสว่ นได้เสีย 20% 25% 35% 20% 100.00%
การรบั ผเู้ ปน็ หนุ้ สว่ นใหม่ ต้องมกี ารตกลงเกย่ี วกับการแบง่ กาไรขาดทุน ว่าจะแบ่งในอัตราใด
ถ้าไม่มกี ารตกลงกันกฎหมายใหแ้ บง่ ตามอัตราสว่ นทุน
ตัวอย่างท่ี 5.2 จากตัวอย่างที่ 5.1 ถ้าสุขเจริญ ซื้อสิทธิส่วนได้เสียจากผู้เป็นหุ้นส่วนเดิมทุกคน
คนละ 20% เพอ่ื จะไดร้ บั สทิ ธิส่วนไดเ้ สีย 20% ในห้างหุน้ ส่วน โดยจา่ ยเงิน 200,000 บาท
การบนั ทกึ บัญชี
สมดุ รายวนั ท่วั ไป หน้า 1
เครดิต
พ.ศ. 2557 รายการ เลขท่ี เดบติ บาท สต.
เดอื น วัน บญั ชี บาท สต.
200,000 -
ม.ค. 1 ทนุ -สุขจติ (400,000 × 20%) 80,000 -
50,000 -
ทนุ -สุขใจ (250,000 × 20%) 70,000 -
ทนุ -สขุ กมล (350,000 × 20%)
ทุน-สขุ เจรญิ
บนั ทึกรับสุขเจรญิ เข้ามาเปน็ ห้นุ ส่วนใหม่
หลงั จากรับสขุ เจรญิ เขา้ มาเป็นหุ้นส่วนใหมแ่ ล้ว เงนิ ทุนของห้างหุน้ ส่วนเทา่ กบั 1,000,000 บาท
แตเ่ งนิ ทุนและสทิ ธิส่วนไดเ้ สียของผเู้ ป็นหนุ้ สว่ นแตล่ ะคนจะเปลย่ี นไป ดังนี้
เงนิ ทนุ เดมิ สขุ จิต สุขใจ สุขกมล สุขเจรญิ รวม
โอนทุนใหส้ ุขเจรญิ 400,000 250,000 350,000 - 1,000,000
เงนิ ทุนใหม่ (80,000) (50,000) (70,000)
320,000 200,000 280,000 200,000 -
200,000 1,000,000
สทิ ธิส่วนได้เสีย 32% 20% 28% 20% 100.00%
หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 5 การเปลย่ี นแปลงส่วนของผเู้ ป็นหนุ้ ส่วน 258
2. ซอื้ สิทธิส่วนได้เสียในราคา มากกวา่ สิทธสิ ่วนได้เสียท่ไี ด้รบั
ผ้เู ป็นหนุ้ ส่วนใหม่ซอื้ สทิ ธิส่วนได้เสียในราคาสงู กว่าสทิ ธิสว่ นได้เสียท่ไี ดร้ บั เนือ่ งจากผูเ้ ป็นหุน้ สว่ นเดิม
ดาเนินงานมานาน มีชื่อเสียง ดังน้ัน จานวนเงินที่ผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่จ่ายเกินไปน้ีถือเป็นการให้โบนัส
แกผ่ ู้เปน็ ห้นุ ส่วนเดมิ (โบนสั เปน็ เงินพเิ ศษท่ผี ู้เป็นหุน้ สว่ นให้แก่กันโดยไมม่ กี ารซอ้ื ขาย) เรยี กว่า วิธีโบนัส
(Bonus Method) หรือถือเป็นค่าความนยิ มของผูเ้ ปน็ หุน้ ส่วนเดิม เรยี กว่า วิธีค่าความนิยม
(Goodwill Method)
ตัวอย่างท่ี 5.3 จากตัวอย่างที่ 5.1 สขุ เจริญ ซ้ือสิทธิส่วนได้เสียจากผู้เป็นหุ้นส่วนเดิมทุกคน คนละ 20%
เพือ่ จะไดร้ ับสิทธสิ ่วนได้เสีย 20% ในห้างห้นุ สว่ น โดยจ่ายเงิน 250,000 บาท
การคานวณ
จานวนเงินทผี่ ู้เป็นหนุ้ สว่ นใหมจ่ า่ ยซอ้ื สทิ ธสิ ว่ นไดเ้ สีย = 250,000 บาท
บาท
หัก สทิ ธิส่วนได้เสยี ทีไ่ ดร้ บั (1,000,000 × 20%) = 200,000 บาท
โบนสั ของผเู้ ป็นหุ้นสว่ นเดิม = 50,000
การบนั ทกึ บัญชี สามารถเลือกปฏบิ ตั ไิ ด้ 2 วธิ ี คอื
1. วธิ โี บนสั การบนั ทกึ บญั ชีโอนบญั ชที นุ ของผเู้ ปน็ หนุ้ ส่วนเดมิ ทข่ี ายสทิ ธสิ ่วนได้เสยี ไปยงั บญั ชที ุน
ของผู้เปน็ หุ้นสว่ นใหม่เทา่ กับสิทธสิ ว่ นไดเ้ สยี ทไี่ ด้รบั
พ.ศ. 2557 สมดุ รายวันทวั่ ไป เลขที่ เดบติ หนา้ 1
เดอื น วัน บัญชี บาท สต. เครดติ
รายการ บาท สต.
ม.ค. 1 80,000 -
ทนุ -สุขจิต (400,000 × 20%) 50,000 - 200,000 -
ทนุ -สุขใจ (250,000 × 20%) 70,000 -
ทุน-สขุ กมล (350,000 × 20%)
ทนุ -สุขเจรญิ
บันทึกรับสขุ เจรญิ เขา้ มาเปน็ หุ้นส่วนใหม่
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 5 การเปลีย่ นแปลงส่วนของผู้เป็นหนุ้ ส่วน 259
หลงั จากรับสุขเจรญิ เข้ามาเปน็ หนุ้ สว่ นใหม่แล้ว เงินทุนของห้างหุน้ ส่วนเทา่ กบั 1,000,000 บาท
แตเ่ งินทุนและสทิ ธสิ ่วนไดเ้ สยี ของผเู้ ปน็ หนุ้ สว่ นแตล่ ะคนจะเปลย่ี นไป ดังน้ี
เงินทุนเดมิ สขุ จติ สุขใจ สุขกมล สขุ เจริญ รวม
โอนทนุ ใหส้ ุขเจรญิ 400,000 250,000 350,000 - 1,000,000
เงนิ ทุนใหม่ (80,000) (50,000) (70,000)
320,000 200,000 280,000 200,000 -
200,000 1,000,000
สทิ ธิส่วนได้เสีย 32% 20% 28% 20% 100.00%
2. วิธีค่าความนยิ ม
จากตวั อย่าง สขุ เจรญิ จา่ ยเงิน 250,000 บาท เพ่อื จะไดร้ ับสทิ ธสิ ่วนได้เสยี เพียง 200,000 บาท
เป็นการแสดงใหเ้ ห็นว่าหา้ งหนุ้ สว่ นบันทกึ สินทรพั ยต์ า่ กว่าความเปน็ จริง คอื ค่าความนิยมทีผ่ เู้ ปน็ หนุ้ สว่ นเดิม
ทกุ คนเป็นผ้มู สี ิทธิได้รบั ตามอตั ราส่วนแบ่งกาไรขาดทนุ
คานวณไดด้ งั น้ี
ค่าความนยิ มของผเู้ ป็นห้นุ สว่ นเดิม = โบนสั
สิทธสิ ว่ นได้เสยี ของผู้เปน็ หุ้นสว่ นใหม่
ดงั นั้น ค่าความนยิ มของผู้เปน็ หุ้นสว่ นเดิม = 50,000 = 250,000 บาท
0.20
การบนั ทึกบญั ชี
สมดุ รายวนั ทว่ั ไป หน้า 1
เครดติ
พ.ศ. 2557 รายการ เลขที่ เดบติ บาท สต.
เดือน วัน บัญชี บาท สต.
100,000 -
ม.ค. 1 ค่าความนิยม 250,000 - 75,000 -
75,000 -
ทนุ -สขุ จติ (250,000×40%)
ทนุ -สุขใจ (250,000×30%)
ทนุ -สขุ กมล (250,000×30%)
บนั ทึกคา่ ความนิยมใหห้ ุ้นส่วนเดมิ
ทนุ -สุขจิต (400,000+100,000×20%) 100,000 -
65,000 -
ทุน-สขุ ใจ (250,000+75,000 ×20%) 85,000 - -
-
ทนุ -สุขกมล (350,000+75,000×20%)
250,000 -
ทนุ -สุขเจริญ
บันทกึ การรบั หนุ้ สว่ นใหม่
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 การเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้เป็นหนุ้ ส่วน 260
หลงั จากรับสขุ เจรญิ เข้ามาเปน็ หนุ้ ส่วนใหม่แล้ว เงนิ ทนุ ของห้างหุ้นสว่ นจะเพิม่ ขึน้ 250,000 บาท
และส่วนของผ้เู ป็นหุ้นส่วนจะเปลีย่ นไป ดงั น้ี
เงินทนุ เดมิ สุขจิต สขุ ใจ สขุ กมล สุขเจรญิ รวม
บวก คา่ ความนิยม 400,000 250,000 350,000 - 1,000,000
100,000 75,000 75,000 -
โอนทุนใหส้ ขุ เจรญิ 500,000 325,000 425,000 - 250,000
เงินทุนใหม่ (100,000) (65,000) (85,000) 1,250,000
สทิ ธสิ ว่ นได้เสยี 400,000 260,000 340,000 250,000
250,000 -
32% 21% 27% 1,250,000
20%
100.00%
3. ซอ้ื สทิ ธิส่วนได้เสยี ในราคา นอ้ ยกว่า สิทธิส่วนไดเ้ สยี ทไี่ ดร้ ับ
การทผี่ ้เู ป็นหุ้นสว่ นใหมซ่ ้ือสทิ ธิส่วนได้เสยี จากผ้เู ป็นห้นุ สว่ นเดมิ ในราคาตา่ กวา่ สทิ ธสิ ว่ นไดเ้ สียทีไ่ ด้รบั
เนอ่ื งจาก ผู้เป็นหุน้ สว่ นเดิมเห็นวา่ ผเู้ ปน็ หนุ้ สว่ นใหมเ่ ป็นผมู้ คี วามรู้ ความสามารถและมปี ระสบการณท์ ีด่ ี
ซง่ึ จะกอ่ ใหเ้ กิดประโยชน์ต่อห้างหุน้ ส่วนในอนาคต จงึ ต้องบนั ทกึ คา่ ความนิยมใหก้ บั ผเู้ ป็นหุ้นส่วนใหม่
ตัวอยา่ งท่ี 5.4 จากตวั อย่างท่ี 5.1 สุขเจรญิ ซื้อสิทธสิ ว่ นไดเ้ สยี จากผเู้ ป็นหนุ้ ส่วนเดมิ ทกุ คน คนละ 20%
เพื่อจะได้รับสิทธสิ ่วนไดเ้ สีย 20% ในหา้ งหุ้นส่วน โดยจ่ายเงนิ 150,000 บาท
การคานวณ
จานวนเงนิ ทผ่ี ู้เป็นห้นุ ส่วนใหมจ่ า่ ยซอื้ สทิ ธสิ ่วนไดเ้ สีย = 150,000 บาท
หกั สทิ ธสิ ว่ นได้เสียทไ่ี ดร้ บั (1,000,000 × 20%) = 200,000 บาท
บาท
โบนสั ของผเู้ ปน็ หุ้นส่วนใหม่ = 50,000
หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 5 การเปลี่ยนแปลงส่วนของผูเ้ ป็นหุ้นส่วน 261
การบนั ทึกบญั ชี สามารถเลือกปฏบิ ัตไิ ด้ 2 วธิ ี คอื
1. วธิ ีโบนัส
สมุดรายวันทั่วไป หนา้ 1
เครดติ
พ.ศ. 2557 รายการ เลขท่ี เดบิต บาท สต.
เดือน วนั บัญชี บาท สต.
200,000 -
ม.ค. 1 ทนุ -สขุ จติ (400,000 × 20%) 80,000 -
50,000 -
ทุน-สขุ ใจ (250,000 × 20%) 70,000 -
ทนุ -สุขกมล (350,000 × 20%)
ทุน-สขุ เจรญิ
บนั ทกึ การรบั หนุ้ ส่วนใหม่
หลงั จากรบั สขุ เจรญิ เข้ามาเปน็ หนุ้ ส่วนใหม่แล้ว เงินทุนของหา้ งหนุ้ สว่ นเทา่ กบั 1,000,000 บาท
แต่เงนิ ทุนและสทิ ธสิ ว่ นได้เสียของผเู้ ปน็ หนุ้ สว่ นแตล่ ะคนจะเปลีย่ นไป ดงั น้ี
เงนิ ทุนเดมิ สุขจติ สุขใจ สุขกมล สุขเจริญ รวม
โอนทนุ ใหส้ ุขเจรญิ 400,000 250,000 350,000 - 1,000,000
เงินทนุ ใหม่ (80,000) (50,000) (70,000)
320,000 200,000 280,000 200,000 -
สทิ ธสิ ่วนไดเ้ สยี 200,000 1,000,000
32% 20% 28%
20% 100.00%
2. วิธีคา่ ความนิยม
จากตวั อยา่ ง สุขเจริญจ่ายเงนิ 150,000 บาท เพ่อื จะได้รับสทิ ธสิ ่วนได้เสีย 200,000 บาท
คานวณไดด้ ังนี้
ค่าความนิยมของผเู้ ปน็ ห้นุ สว่ นใหม่ = โบนสั
สทิ ธสิ ว่ นได้เสียของผู้เป็นหนุ้ สว่ นเดิม
ดังน้นั ค่าความนิยมของผเู้ ป็นหุ้นสว่ นใหม่ = 50,000 = 62,500 บาท
0.80
หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 5 การเปล่ียนแปลงส่วนของผู้เป็นหุน้ ส่วน 262
การบนั ทึกบญั ชี
สมดุ รายวันทว่ั ไป หนา้ 1
พ.ศ. 2557 รายการ เลขที่ เดบติ เครดติ
เดือน วนั
บญั ชี บาท สต. บาท สต.
ม.ค. 1 ค่าความนิยม 62,500 -
ทนุ -สุขเจริญ 62,500 -
บันทกึ คา่ ความนยิ มใหส้ ขุ เจรญิ
การคานวณบญั ชีทุนที่ผเู้ ปน็ หนุ้ ส่วนเดิมแต่ละคนโอนไปใหผ้ ู้เป็นหุ้นสว่ นใหม่
การบนั ทึกค่าความนิยม เงนิ ทุนของห้างหุ้นส่วนจะเทา่ กบั 1,062,500 บาท (1,00,0000+62,500)
สุขเจริญตอ้ งการสว่ นไดเ้ สยี ในหา้ งหนุ้ สว่ น 20% จะมบี ญั ชที นุ 212,500 บาท (1,062,500×20%)
และไดร้ ับค่าความนยิ มไปแล้ว 62,500 บาท ดงั นัน้ ผเู้ ปน็ หุ้นส่วนเดมิ ตอ้ งโอนทนุ ไปใหส้ ขุ เจรญิ
เพียง 150,000 บาท (212,500 - 62,500) ดังนี้
สขุ จติ สขุ ใจ สขุ กมล รวม
เงนิ ทนุ เดิม 400,000 250,000 350,000 1,000,000
บวก ค่าความนยิ ม (40% 30% 30%) 25,000 18,750 18,750 62,500
425,000 268,750 368,750 1,062,500
โอนทนุ ใหส้ ขุ เจรญิ คนละ 20% 85,000 53,750 73,750 212,500
หัก ค่าความนิยม (25,000) (18,750) (18,750) (62,500)
บญั ชีทุนท่ีโอนใหส้ ุขเจริญ 60,000 35,000 55,000 150,000
การบันทึกบัญชี
สมดุ รายวนั ทั่วไป หนา้ 1
พ.ศ. 2557 รายการ เลขที่ เดบติ เครดติ
เดือน วนั
บญั ชี บาท สต. บาท สต.
ม.ค. 1 ทุน-สขุ จิต 60,000 -
ทนุ -สุขใจ 35,000 -
ทนุ -สขุ กมล 55,000 -
ทุน-สขุ เจรญิ 150,000 -
บันทกึ การรบั หุ้นส่วนใหม่
หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 5 การเปลีย่ นแปลงส่วนของผู้เป็นห้นุ ส่วน 263
หลงั จากรับสขุ เจรญิ เขา้ มาเปน็ หุ้นส่วนใหมแ่ ล้ว เงนิ ทนุ ของหา้ งหนุ้ สว่ นจะเพ่ิมข้ึน 62,500 บาท
และสว่ นของผเู้ ป็นหุน้ ส่วนจะเปลีย่ นไป ดงั นี้
เงนิ ทนุ เดิม สขุ จติ สุขใจ สขุ กมล สขุ เจรญิ รวม
บวก คา่ ความนยิ ม 400,000 250,000 350,000 - 1,000,000
โอนทนุ ใหส้ ขุ เจรญิ - - - 62,500 62,500
เงนิ ทนุ ใหม่ 400,000 250,000 350,000 62,500 1,062,500
สิทธสิ ่วนไดเ้ สยี (60,000) (35,000) (55,000) 150,000
340,000 215,000 295,000 212,500 -
1,062,500
32% 20% 28% 20%
100.00%
แบบฝึกหดั ที่ 5.1
จงปฏิบตั ิกจิ กรรมตามที่โจทยก์ าหนด (10 คะแนน)
ต้นกลา้ และตน้ ขา้ ว เป็นหุ้นส่วนกนั โดยมเี งนิ ทนุ 80,000 บาท และ 120,000 บาท ตามลาดับ
แบง่ กาไรขาดทนุ เทา่ กัน ตอ่ มาวนั ท่ี 1 มกราคม 2557 ท้งั 2 คน ตกลงรบั รวงข้าวเป็นหนุ้ สว่ นใหม่
ใหท้ า บันทึกรายการในสมุดรายวนั ท่ัวไป ตามกรณดี ังน้ี
กรณีที่ 1 รวงข้าว ซื้อสทิ ธิส่วนได้เสยี จากผเู้ ปน็ ห้นุ สว่ นเดิมทุนคน คนละ 20% เพื่อจะไดร้ บั
สิทธสิ ่วนได้เสีย 20% ของห้างหุน้ ส่วน โดยจา่ ยเงนิ 40,000 บาท
การบันทึกบญั ชี
สมดุ รายวนั ทั่วไป หน้า 1
พ.ศ. รายการ เลขที่ เดบติ เครดิต
เดอื น วนั
บญั ชี บาท สต. บาท สต.
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 การเปล่ยี นแปลงส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน 264
กรณที ่ี 2 รวงขา้ ว ซื้อสิทธิส่วนไดเ้ สียจากผเู้ ปน็ หนุ้ สว่ นเดมิ ทุนคน คนละ 20% เพอื่ จะไดร้ ับ
สิทธิส่วนไดเ้ สีย 20% ของห้างหนุ้ ส่วน โดยจ่ายเงนิ 44,000 บาท (วิธีค่าความนยิ ม)
คานวณโบนัส
จานวนเงินทผ่ี ้เู ป็นหุ้นส่วนใหมจ่ า่ ยซอ้ื สทิ ธิส่วนไดเ้ สยี = บาท
หกั สิทธิสว่ นได้เสยี ท่ีไดร้ บั = บาท
โบนัสของผเู้ ปน็ หุ้นส่วนเดิม = บาท
คานวณคา่ ความนยิ ม = โบนัส
ค่าความนยิ มของผูเ้ ป็นหุน้ สว่ นเดิม
สทิ ธิส่วนไดเ้ สียของผเู้ ปน็ หุ้นส่วนใหม่
ดงั น้ัน ค่าความนิยมของผเู้ ปน็ หุ้นส่วนเดมิ = = บาท
การบนั ทึกบัญชี สมุดรายวนั ทวั่ ไป หน้า 1
รายการ
พ.ศ. เลขท่ี เดบติ เครดิต
เดือน วัน
บัญชี บาท สต. บาท สต.
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 5 การเปลี่ยนแปลงส่วนของผ้เู ป็นหนุ้ ส่วน 265
กรณที ี่ 3 รวงขา้ ว ซอ้ื สทิ ธสิ ่วนได้เสยี จากผเู้ ปน็ หนุ้ ส่วนเดมิ ทนุ คน คนละ 20% เพื่อจะไดร้ บั
สิทธสิ ว่ นไดเ้ สีย 20% ของหา้ งหนุ้ สว่ น โดยจา่ ยเงนิ 25,000 บาท (วธิ คี า่ ความนยิ ม)
คานวณโบนสั
จานวนเงนิ ทผ่ี ้เู ปน็ หนุ้ ส่วนใหมจ่ า่ ยซอ้ื สทิ ธิสว่ นไดเ้ สยี = บาท
หกั สิทธิส่วนได้เสียทีไ่ ดร้ ับ = บาท
โบนัสของผเู้ ปน็ หุ้นส่วนใหม่ = บาท
คานวณคา่ ความนยิ ม = โบนัส
คา่ ความนิยมของผู้เปน็ ห้นุ สว่ นใหม่
สิทธสิ ว่ นได้เสยี ของผ้เู ปน็ หนุ้ ส่วนเดิม
ดังนัน้ ค่าความนิยมของผูเ้ ปน็ ห้นุ ส่วนใหม่
== บาท
คานวณการโอนทุนให้ผเู้ ป็นหุ้นส่วนใหม่
ต้นกล้า ต้นข้าว
การบนั ทึกบัญชี สมุดรายวันท่ัวไป หน้า 1
รายการ
พ.ศ. เลขที่ เดบิต เครดติ
เดอื น วัน
บัญชี บาท สต. บาท สต.
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 5 การเปลยี่ นแปลงส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน 266
1.2 ผูเ้ ป็นหุ้นส่วนใหม่นาสินทรพั ย์มาลงทุนในหา้ งหุ้นส่วน (Admission by Investment)
ผเู้ ปน็ หุน้ สว่ นใหม่นาเงนิ สดหรือสินทรพั ยม์ าลงทุนในห้างหุ้นส่วน สินทรัพย์ท่ีนามาลงทุนน้ัน
ต้องบันทึกด้วยมูลค่ายุติธรรม ซึ่งจะทาให้สินทรัพย์ของห้างหุ้นส่วนเพ่ิมข้ึน ผู้เป็นหุ้นส่วนต้องตกลงกัน
ใหช้ ดั เจนเกย่ี วกบั อตั ราส่วนแบ่งกาไรขาดทุนและสทิ ธสิ ว่ นไดเ้ สยี ของผเู้ ปน็ หุ้นสว่ นใหมท่ ีจ่ ะไดร้ ับ
การบันทึกบญั ชีเมือ่ ผูเ้ ป็นหุ้นส่วนใหมน่ าสนิ ทรพั ย์มาลงทุน แยกพิจารณา 3 กรณี ดงั นี้
1. จานวนสนิ ทรัพย์ท่นี ามาลงทุน เท่ากบั สทิ ธสิ ว่ นไดเ้ สียทีไ่ ดร้ บั
2. จานวนสนิ ทรัพยท์ น่ี ามาลงทุน สูงกว่า สทิ ธิส่วนได้เสียท่ีไดร้ บั
3. จานวนสินทรพั ยท์ ่นี ามาลงทุน ต่ากวา่ สทิ ธิสว่ นไดเ้ สียทีไ่ ดร้ บั
การบันทึกบญั ชีผ้เู ป็นหุ้นสว่ นใหมน่ าสนิ ทรพั ย์มาลงทุน บนั ทกึ บญั ชโี ดย
เดบิต เงนิ สดหรอื สินทรัพย์ ××
เครดติ ทนุ -ผู้เป็นหนุ้ ส่วนใหม่ ××
1. จานวนสินทรพั ย์ที่นามาลงทนุ เทา่ กบั สิทธิส่วนได้เสียทไี่ ดร้ ับ
ตวั อยา่ งที่ 5.5 กงิ่ ฟา้ และกิ่งดาว เป็นหนุ้ ส่วนกัน มีเงินทนุ 20,000 บาท และ 40,000 บาท ตามลาดบั
ตกลงแบ่งกาไรขาดทนุ เท่ากัน ตอ่ มาวันท่ี 1 มกราคม 2557 ตกลงรับกง่ิ แก้ว เข้ามาเปน็ หนุ้ ส่วนใหม่
โดยกงิ่ แก้ว นาเงินสดมาลงทนุ 20,000 บาท เพอ่ื มีสทิ ธสิ ว่ นไดเ้ สียในห้างหุ้นสว่ น 1/4 หา้ งห้นุ ส่วน
คานวณโบนสั
จานวนเงนิ ทผี่ ูเ้ ปน็ หุน้ สว่ นใหม่นามาลงทนุ = 20,000 บาท
หกั สทิ ธิส่วนได้เสียท่ไี ดร้ ับ (60,000+20,000)×1/4 = 20,000 บาท
โบนัส = 0 บาท
การบนั ทึกบัญชี
สมุดรายวนั ท่วั ไป หนา้ 1
พ.ศ. 2557 รายการ เลขที่ เดบิต เครดติ
เดือน วนั
บัญชี บาท สต. บาท สต.
ม.ค. 1 เงินสด 20,000 -
ทุน-ก่งิ แก้ว 20,000 -
บันทึกกงิ่ แกว้ นาเงินสดมาลงทุน
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 5 การเปลีย่ นแปลงส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน 267
หลงั จากรับก่ิงแกว้ เปน็ หุ้นสว่ นใหมแ่ ลว้ เงินทนุ ของหา้ งหนุ้ ส่วนจะเพิ่มขึน้ 80,000 บาท
และสว่ นของผ้เู ปน็ หุ้นสว่ นจะเปลี่ยนไป ดังน้ี
เงนิ ทนุ กอ่ นรบั หนุ้ สว่ นใหม่ กง่ิ ฟ้า ก่งิ ดาว ก่ิงแก้ว รวม
บวก กิง่ แก้วนาเงินสดมาลงทนุ 20,000 40,000 - 60,000
เงนิ ทุนหลงั รบั ห้นุ สว่ นใหม่ 20,000
- - 20,000 80,000
20,000 40,000 20,000
สิทธิส่วนได้เสีย 1/4 2/4 1/4
2. จานวนสินทรพั ย์ท่ีนามาลงทุน สงู กวา่ สทิ ธิสว่ นไดเ้ สยี ท่ีไดร้ บั
การทผี่ ้เู ปน็ หุ้นส่วนใหมน่ าสนิ ทรพั ยม์ าลงทุนสงู กว่าสทิ ธสิ ว่ นไดเ้ สียท่ไี ดร้ บั เน่อื งจากหา้ งหุน้ ส่วนเดิม
ดาเนินงานมานานจนมชี ื่อเสยี งเป็นท่ยี อมรบั ในธรุ กจิ หา้ งหนุ้ สว่ น จานวนเงินทีจ่ า่ ยสูงกว่านจ้ี ะตอ้ งตกลงกนั
ว่าจะให้เป็นโบนสั หรือค่าความนยิ มทค่ี ดิ ใหผ้ เู้ ป็นหุน้ ส่วนใหม่
ตวั อย่างที่ 5.6 จากตัวอยา่ งท่ี 5.5 ถ้าก่ิงแกว้ นาเงนิ สดมาลงทุน 20,000 บาท เพอื่ มสี ทิ ธสิ ว่ นไดเ้ สยี
ในหา้ งหุน้ สว่ น 1/5
1. วธิ ีโบนสั
จานวนเงินทผี่ ูเ้ ป็นหุน้ สว่ นใหมน่ ามาลงทนุ = 20,000 บาท
หกั สิทธิสว่ นไดเ้ สยี ท่ไี ดร้ ับ (60,000+20,000)×1/5 = 16,000 บาท
กิง่ แก้วคิดโบนสั ใหผ้ เู้ ป็นหุน้ ส่วนเดมิ = 4,000 บาท
การบันทกึ บัญชี
สมุดรายวันท่วั ไป หน้า 1
พ.ศ. 2557 รายการ เลขท่ี เดบติ เครดิต
เดือน วนั
บัญชี บาท สต. บาท สต.
ม.ค. 1 ทนุ -กิ่งแก้ว 4,000 -
ทุน-กงิ่ ฟา้ (4,000/2) 2,000 -
ทนุ -กิง่ ดาว (4,000/2) 2,000 -
บันทกึ โบนัสใหผ้ เู้ ปน็ หนุ้ ส่วนเดิม
เงนิ สด 20,000 -
ทุน-ก่ิงแก้ว 20,000 -
บนั ทกึ กง่ิ แก้วนาเงนิ สดมาลงทุน
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 5 การเปลีย่ นแปลงส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน 268
หลงั จากรับกิง่ แกว้ เปน็ หุ้นส่วนใหม่แลว้ เงินทุนของผเู้ ปน็ หนุ้ ส่วนแต่ละคน แสดงดังนี้
กิง่ ฟา้ กิง่ ดาว กงิ่ แกว้ รวม
60,000
เงินทุนกอ่ นรบั ห้นุ สว่ นใหม่ 20,000 40,000 -
บวก โบนสั ทีผ่ ูเ้ ป็นหนุ้ สว่ นใหม่คดิ ให้ -
บวก ก่งิ แกว้ นาเงินสดมาลงทนุ 2,000 2,000 (4,000) 20,000
เงนิ ทุนหลงั รบั ห้นุ ส่วนใหม่ 80,000
- - 20,000
22,000 42,000 16,000
สิทธสิ ว่ นได้เสีย 11/40 21/40 1/5
2. วิธีค่าความนิยม
เปน็ ผลตา่ งระหวา่ งเงนิ ทุนหา้ งห้นุ สว่ นใหม่ทก่ี าหนดขนึ้ หลงั รบั หุ้นสว่ นใหม่กบั เงนิ ทนุ ผเู้ ปน็ หุน้ ส่วนเดิม
บวกสินทรัพยท์ ่ีผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่นามาลงทุน หากไม่ได้กาหนดเงินทุนห้างหุ้นส่วนใหม่ไว้ ให้คานวณจาก
เงนิ ทนุ ท่ผี ู้เป็นหนุ้ ส่วนใหม่นามาลงทุน
คานวณเงินทุนของหา้ งหุ้นสว่ นใหม่
กิง่ แก้ว นาเงินสดมาลงทนุ 20,000 บาท เพือ่ มสี ทิ ธิสว่ นไดเ้ สยี ในห้างห้นุ สว่ น 1/5
ผู้เปน็ หนุ้ สว่ นใหม่มที ุน 1 บาท ทุนห้างหุ้นส่วนจะมี 5 บาท
ถา้ ผ้เู ป็นหนุ้ สว่ นใหม่มที นุ 20,000 บาท ทุนห้างหนุ้ ส่วนจะมี 20,000 × 5/1
= 100,000 บาท
คานวณคา่ ความนยิ ม
เงนิ ทุนของห้างหุ้นส่วนใหม่ = 100,000 บาท
หัก เงนิ ทนุ ของห้างหุน้ สว่ นเดิม 60,000
เงนิ ทุนผเู้ ป็นหนุ้ สว่ นใหม่นามาลงทุน 20,000 = 80,000 บาท
คา่ ความนิยมทีค่ ดิ ใหห้ ุ้นส่วนเดมิ = 20,000 บาท
หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 5 การเปลยี่ นแปลงส่วนของผ้เู ป็นหนุ้ ส่วน 269
การบันทกึ บญั ชี
สมดุ รายวันท่วั ไป หน้า 1
เครดิต
พ.ศ. 2557 รายการ เลขที่ เดบิต บาท สต.
เดือน วัน บัญชี บาท สต.
10,000 -
ม.ค. 1 ค่าความนยิ ม 20,000 - 10,000 -
ทนุ -กง่ิ ฟ้า (20,000/2)
ทนุ -กง่ิ ดาว (20,000/2)
บนั ทึกค่าความนยิ มใหห้ ุ้นส่วนเดิม
เงินสด 20,000 -
ทนุ -ก่งิ แกว้ 20,000 -
บันทกึ กงิ่ แกว้ นาเงนิ สดมาลงทนุ
หลงั จากรับก่ิงแก้ว เปน็ หุ้นส่วนใหม่แล้ว เงนิ ทุนของผเู้ ปน็ หุ้นส่วนแตล่ ะคน แสดงดงั นี้
กิ่งฟ้า ก่งิ ดาว กิง่ แก้ว รวม
60,000
เงนิ ทนุ กอ่ นรบั หนุ้ สว่ นใหม่ 20,000 40,000 - 20,000
บวก คา่ ความนยิ ม 20,000
บวก กง่ิ แก้วนาเงินสดมาลงทุน 10,000 10,000 - 100,000
- - 20,000
เงินทุนหลงั รบั ห้นุ สว่ นใหม่ 30,000 50,000 20,000
สิทธิส่วนได้เสยี 3/10 1/2 1/5
หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 5 การเปลย่ี นแปลงส่วนของผ้เู ป็นหุ้นส่วน 270
3. วิธีค่าความนยิ มและโบนสั
เม่ือผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่นาสินทรัพย์มาลงทุนและ มีการกาหนดเงินทุนห้างหุ้นส่วนใหม่ไว้
เป็นจานวนที่แน่นอน กรณนี ใ้ี หบ้ นั ทกึ ค่าความนยิ มและโบนัสให้ผู้เปน็ หุ้นสว่ นเดิม
ตวั อยา่ งที่ 5.7 จากตัวอยา่ งท่ี 5.5 ถา้ กิง่ แก้ว นาเงินสดมาลงทุน 20,000 บาท เพื่อมสี ทิ ธิสว่ นได้เสีย
ในห้างหุน้ ส่วน 1/5 ของเงินทนุ ท่ีกาหนดคือ 90,000 บาท
คานวณค่าความนยิ ม
เงินทุนของห้างหุน้ สว่ นใหม่ = 90,000 บาท
หัก เงินทุนของหา้ งหนุ้ ส่วนเดมิ 60,000
เงินทุนผูเ้ ปน็ ห้นุ สว่ นใหม่นามาลงทนุ 20,000 = 80,000 บาท
ค่าความนิยม = 10,000 บาท
คานวณโบนสั
จานวนเงินทผ่ี ูเ้ ป็นหุ้นส่วนใหม่นามาลงทุน = 20,000 บาท
หัก สทิ ธิส่วนได้เสยี ท่ีไดร้ ับ (90,000×1/5) = 18,000 บาท
คิดโบนัสใหผ้ เู้ ป็นหุน้ ส่วนเดมิ = 2,000 บาท
การบนั ทกึ บัญชี
สมดุ รายวนั ท่วั ไป หนา้ 1
พ.ศ. 2557 รายการ เลขที่ เดบติ เครดิต
เดอื น วนั
บัญชี บาท สต. บาท สต.
ม.ค. 1 ค่าความนยิ ม 10,000 -
ทนุ -กงิ่ ฟ้า (10,000/2) 5,000 -
ทุน-กง่ิ ดาว (10,000/2) 5,000 -
บันทึกค่าความนยิ มใหห้ นุ้ ส่วนเดิม
ทนุ -กิง่ แกว้ 2,000 -
ทนุ -กิง่ ฟา้ (2,000/2) 1,000 -
ทุน-ก่งิ ดาว (2,000/2) 1,000 -
บนั ทึกโบนสั ให้หุน้ สว่ นเดมิ
เงนิ สด 20,000 -
ทนุ -ก่งิ แก้ว 20,000 -
บนั ทกึ กง่ิ แกว้ นาเงนิ สดมาลงทุน
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 การเปลี่ยนแปลงส่วนของผเู้ ป็นหนุ้ ส่วน 271
3. จานวนสินทรัพย์ที่นามาลงทนุ ตา่ กว่า สิทธสิ ่วนได้เสยี ทไ่ี ดร้ บั
วิธีนี้ผู้เป็นหุ้นส่วนเดิมยอมลดทุนตัวเอง เพื่อให้ผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ได้รับสิทธิส่วนได้เสียเพ่ิมข้ึน
จากสนิ ทรพั ย์ทนี่ ามาลงทนุ เป็นการจูงใจให้ผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่นาความรู้ ความสามารถและประสบการณ์
มาบริหารงานในหา้ งหุ้นส่วนใหด้ ขี ึ้น
ตัวอย่างท่ี 5.8 จากตัวอยา่ งท่ี 5.5 ถา้ ก่งิ แก้ว นาเงนิ สดมาลงทนุ 18,000 บาท เพ่ือใหม้ ีสทิ ธสิ ่วนได้เสยี
ในหา้ งหุ้นสว่ น 1/3
1. วิธโี บนัส
จานวนเงนิ ทผ่ี เู้ ป็นหนุ้ สว่ นใหมน่ ามาลงทนุ = 18,000 บาท
หัก สทิ ธิสว่ นได้เสียทไ่ี ดร้ บั (60,000+18,000)×1/3 = 26,000 บาท
คดิ โบนสั ใหผ้ เู้ ป็นหุ้นสว่ นใหม่ = 8,000 บาท
การบันทกึ บัญชี
สมดุ รายวนั ทั่วไป หน้า 1
พ.ศ. 2557 รายการ เลขท่ี เดบติ เครดติ
เดือน วัน
บัญชี บาท สต. บาท สต.
ม.ค. 1 ทนุ -ก่ิงฟา้ 4,000 -
ทุน-กง่ิ ดาว 4,000 -
ทนุ -กง่ิ แกว้ 8,000 -
ผูเ้ ปน็ หนุ้ สว่ นเดมิ คดิ โบนสั ให้ก่งิ แก้ว
เงนิ สด 18,000 -
ทุน-กิ่งแกว้ 18,000 -
บนั ทกึ กงิ่ แก้วนาเงนิ สดมาลงทุน
หลงั จากรับก่งิ แกว้ เปน็ ห้นุ ส่วนใหม่แลว้ เงนิ ทนุ ของผเู้ ปน็ หนุ้ สว่ นแตล่ ะคน แสดงดงั นี้
เงนิ ทนุ กอ่ นรบั หุน้ ส่วนใหม่ กิ่งฟ้า กง่ิ ดาว กงิ่ แกว้ รวม
หัก โบนสั ทคี่ ิดใหผ้ เู้ ปน็ หุ้นสว่ นใหม่ 20,000 40,000 - 60,000
บวก กง่ิ แกว้ นาเงนิ สดมาลงทนุ (4,000) (4,000)
เงินทุนหลงั รบั หนุ้ ส่วนใหม่ 8,000 -
- - 18,000 18,000
สิทธสิ ่วนไดเ้ สยี 16,000 36,000 26,000 78,000
8/39 18/39 1/3
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 5 การเปลยี่ นแปลงส่วนของผเู้ ป็นหุน้ ส่วน 272
2. วธิ คี ่าความนยิ ม
การคานวณค่าความนยิ มกรณนี ี้ใหใ้ ชจ้ านวนเงนิ ทุนของผเู้ ป็นหนุ้ สว่ นเดมิ และอัตราสว่ นไดเ้ สีย
ของผูเ้ ปน็ หุน้ สว่ นเดมิ ในการหาเงินทุนของห้างหุน้ สว่ นใหม่
คานวณเงินทุนของห้างหุ้นส่วนใหม่
กง่ิ ฟ้าและก่ิงดาว มเี งนิ ทุนรวมกัน 60,000 บาท มสี ทิ ธสิ ว่ นไดเ้ สยี 2/3 ของห้างหนุ้ สว่ นใหม่
ผู้เป็นห้นุ สว่ นเดิมมที นุ 2 บาท ทนุ หา้ งหุน้ ส่วนจะมี 3 บาท
ถ้าผเู้ ป็นห้นุ สว่ นเดิมมที นุ 60,000 บาท ทุนห้างหุ้นสว่ นจะมี 60,000 × 3/2
= 90,000 บาท
คานวณค่าความนยิ ม
เงินทุนของหา้ งหุ้นสว่ นใหม่ = 90,000 บาท
หัก เงินทุนของหา้ งหนุ้ สว่ นเดมิ 60,000
เงินทนุ ผ้เู ป็นหนุ้ ส่วนใหม่นามาลงทนุ 18,000 = 78,000 บาท
ค่าความนิยมท่คี ิดใหห้ นุ้ ส่วนใหม่ = 12,000 บาท
การบันทกึ บัญชี
สมดุ รายวนั ทว่ั ไป หน้า 1
เครดติ
พ.ศ. 2557 รายการ เลขที่ เดบติ บาท สต.
เดือน วนั บัญชี บาท สต.
30,000 -
ม.ค. 1 เงนิ สด 18,000 -
12,000 -
คา่ ความนิยม
ทุน-กิง่ แก้ว
บันทกึ ค่าความนยิ มใหห้ นุ้ ส่วนใหม่
หลงั จากรับกิ่งแก้ว เปน็ หุ้นส่วนใหมแ่ ลว้ เงินทนุ ของผ้เู ปน็ หนุ้ ส่วนแต่ละคน แสดงดงั น้ี
ก่งิ ฟ้า ก่ิงดาว กิง่ แก้ว รวม
60,000
เงนิ ทุนกอ่ นรบั หนุ้ ส่วนใหม่ 20,000 40,000 - 12,000
บวก ค่าความนิยมให้กง่ิ แก้ว 18,000
บวก กิง่ แก้วนาเงนิ สดมาลงทุน - - 12,000 90,000
เงินทุนหลงั รบั หุ้นสว่ นใหม่
- - 18,000
สิทธิสว่ นได้เสีย
20,000 40,000 30,000
2/9 4/9 1/3
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 5 การเปล่ยี นแปลงส่วนของผ้เู ป็นห้นุ ส่วน 273
3. วิธีคา่ ความนิยมและโบนัส
เม่ือผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่นาสินทรัพย์มาลงทุนและ มีการกาหนดเงินทุนห้างหุ้นส่วนใหม่
ไว้เป็นจานวนท่ีแน่นอน กรณนี ีใ้ ห้บันทึกค่าความนิยมและโบนสั ให้ผู้เปน็ หนุ้ สว่ นใหม่
ตัวอยา่ งท่ี 5.9 จากตวั อยา่ งท่ี 5.5 ถา้ กง่ิ แกว้ นาเงินสดมาลงทนุ 18,000 บาท เพ่ือมสี ทิ ธสิ ่วนไดเ้ สีย
ในหา้ งหุน้ ส่วน 1/3 ของเงินทนุ ทก่ี าหนดคอื 84,000 บาท
คานวณคา่ ความนยิ ม
เงินทนุ ของห้างหุ้นสว่ นใหม่ = 84,000 บาท
หกั เงินทนุ ของห้างหนุ้ ส่วนเดมิ 60,000
เงินทนุ ผู้เป็นหนุ้ สว่ นใหมน่ ามาลงทนุ 18,000 = 78,000 บาท
คา่ ความนยิ ม = 6,000 บาท
คานวณโบนัส
จานวนเงนิ ทผ่ี ู้เปน็ หุ้นส่วนใหมน่ ามาลงทนุ = 18,000 บาท
หัก สิทธสิ ่วนไดเ้ สยี ที่ไดร้ บั (84,000×1/3) = 28,000 บาท
คิดโบนสั ใหผ้ เู้ ปน็ หนุ้ ส่วนใหม่ = 10,000 บาท
การบันทึกบญั ชี
สมุดรายวนั ทั่วไป หน้า 1
เครดิต
พ.ศ. 2557 รายการ เลขท่ี เดบิต บาท สต.
เดือน วัน บัญชี บาท สต.
6,000 -
ม.ค. 1 ค่าความนิยม 6,000 -
ทนุ -ก่งิ แก้ว
บนั ทึกค่าความนิยมใหห้ ุน้ สว่ นใหม่
ทนุ -ก่ิงฟ้า (10,000/2) 5,000 -
5,000 -
ทนุ -กิ่งดาว (10,000/2)
ทนุ -ก่งิ แก้ว 10,000 -
บันทึกโบนสั ใหห้ นุ้ สว่ นใหม่
เงินสด 18,000 -
ทนุ -กิง่ แกว้ 18,000 -
บันทึกกง่ิ แก้วนาเงินสดมาลงทุน
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 5 การเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้เป็นห้นุ ส่วน 274
แบบฝึกหดั ที่ 5.2
จงปฏิบตั ิกิจกรรมตามทีโ่ จทย์กาหนด (10 คะแนน)
จงรกั จงดีและจงกล เป็นหุน้ ส่วนกนั แบ่งกาไรขาดทุนอัตรา 1 : 2 : 2 ก่อนรับห้นุ ส่วนใหม่
มยี อดคงเหลอื บญั ชที นุ 100,000 บาท 120,000 บาท และ 200,000 บาท ตามลาดับ
ผู้เปน็ หนุ้ ส่วนเดมิ ตกลงรับจงเจรญิ เข้ามาเปน็ หุ้นสว่ นในวนั ท่ี 1 มกราคม 2557
โดยจงเจริญนาเงินสดมาลงทุนในห้างหนุ้ ส่วน
ให้ทา บันทึกรายการรับจงเจรญิ เขา้ มาเป็นหุน้ สว่ นใหมใ่ นสมุดรายวันทั่วไป ในแตล่ ะกรณีดงั นี้
กรณีท่ี 1 จงเจรญิ นาเงนิ สดมาลงทนุ 160,000 บาท เพอ่ื ใหม้ สี ่วนไดเ้ สียในหา้ งหุ้นส่วน 1/4
วธิ ีโบนัส = บาท
จานวนเงินทผ่ี ู้เป็นหนุ้ สว่ นใหมน่ ามาลงทนุ = บาท
หัก สทิ ธสิ ว่ นได้เสยี ท่ีไดร้ บั = บาท
คิดโบนัสใหผ้ เู้ ปน็ หนุ้ ส่วนเดมิ
การบันทึกบัญชี สมดุ รายวนั ทวั่ ไป หน้า 1
รายการ
พ.ศ. เลขที่ เดบิต เครดิต
เดือน วนั
บญั ชี บาท สต. บาท สต.
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 5 การเปลีย่ นแปลงส่วนของผเู้ ป็นห้นุ ส่วน 275
กรณีท่ี 2 จงเจรญิ นาเงินสดมาลงทนุ 180,000 บาท เพอื่ ใหม้ สี ่วนได้เสยี ในห้างหนุ้ สว่ น 1/4
(วิธีคา่ ความนิยม)
คานวณเงินทุนของหา้ งหุ้นสว่ นใหม่
จงเจรญิ นาเงินสดมาลงทนุ บาท เพื่อมสี ทิ ธสิ ว่ นได้เสียในห้างหนุ้ สว่ น 1/4
ผเู้ ปน็ หนุ้ ส่วนใหม่มที ุน บาท ทุนหา้ งห้นุ ส่วนจะมี บาท
ถา้ ผ้เู ป็นหุ้นส่วนใหมม่ ที ุน บาท ทนุ ห้างห้นุ ส่วนจะมี
= บาท
คานวณค่าความนิยม = บาท
เงินทนุ ของห้างห้นุ ส่วนใหม่
หัก เงนิ ทนุ ของหา้ งห้นุ ส่วนเดมิ = บาท
= บาท
เงินทนุ ผู้เปน็ ห้นุ สว่ นใหมน่ ามาลงทุน
คา่ ความนิยม
การบันทกึ บญั ชี สมดุ รายวนั ท่วั ไป หน้า 1
รายการ
พ.ศ. เลขท่ี เดบิต เครดติ
เดอื น วนั
บัญชี บาท สต. บาท สต.
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 5 การเปลย่ี นแปลงส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน 276
กรณที ี่ 3 จงเจริญ นาเงินสดมาลงทนุ 180,000 บาท เพ่ือใหม้ ีส่วนไดเ้ สยี ในหา้ งหุน้ สว่ น 1/4
ของเงินทนุ ทกี่ าหนดเทา่ กบั 650,000 บาท (วธิ ีค่าความนิยมและโบนัส)
คานวณคา่ ความนิยม
เงินทนุ ของหา้ งหนุ้ สว่ นใหม่ = บาท
หกั เงนิ ทุนของหา้ งหุ้นสว่ นเดมิ
เงินทุนผู้เป็นหนุ้ ส่วนใหม่นามาลงทุน = บาท
คา่ ความนยิ ม = บาท
คานวณโบนัส
จานวนเงนิ ทผ่ี ู้เป็นหุ้นสว่ นใหมน่ ามาลงทนุ = บาท
หัก สทิ ธสิ ว่ นไดเ้ สียท่ไี ดร้ บั = บาท
คดิ โบนสั ใหผ้ เู้ ป็นหุ้นส่วนเดมิ = บาท
การบันทกึ บัญชี สมุดรายวันทัว่ ไป หนา้ 1
รายการ
พ.ศ. เลขที่ เดบติ เครดติ
เดอื น วนั
บญั ชี บาท สต. บาท สต.
หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 5 การเปลี่ยนแปลงส่วนของผ้เู ป็นหุน้ ส่วน 277
2. การลาออกของผ้เู ปน็ หนุ้ ส่วน (Retirement of A Partner)
ผู้เป็นหุ้นส่วนจะลาออกได้ต้องเป็นไปตามสัญญาการเข้าเป็นหุ้นส่วน ตามประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิชย์ มาตรา 1056 ดังนี้ การลาออกของผู้เป็นหุ้นส่วนจะทาได้เมื่อสิ้นงวดการบัญชี จะลาออก
ในระหวา่ งงวดบญั ชีไม่ไดแ้ ละตอ้ งบอกกลา่ วล่วงหนา้ ไมน่ ้อยกว่า 6 เดือน และการลาออกของผู้เป็นหุ้นส่วน
ประเภทไม่จากัดความรับผดิ ชอบจะมีผลทาให้ห้างหุ้นส่วนน้ันต้องเลิกไป เว้นแต่ข้อสัญญาในห้างหุ้นส่วน
ได้ระบุไว้เป็นอย่างอื่นก็สามารถดาเนินกิจการต่อไปได้ โดยต้องมีการทาสัญญาใหม่ หุ้นส่วนที่ลาออก
จะได้รับคืนทุนตามสิทธิส่วนได้เสียของตนเอง หลังจากปรับปรุงสินทรัพย์และหนี้สินของห้างหุ้นส่วน
ไดถ้ ูกตอ้ งแลว้
การลาออกของผู้เปน็ หนุ้ ส่วน สามารถปฏบิ ัติได้ 2 วธิ ี ดงั นี้
1. หุ้นสว่ นทีเ่ หลอื อยูร่ บั ซอื้ สทิ ธิสว่ นได้เสยี จากหุ้นสว่ นท่ีลาออก
2. ห้างหนุ้ สว่ นชาระคนื ทนุ ด้วยเงนิ สดหรือสนิ ทรพั ยอ์ ื่นใหแ้ กห่ ้นุ สว่ นที่ลาออก
วิธีปฏิบตั ิเก่ยี วกับการลาออกของผู้เปน็ หนุ้ สว่ น แสดงตามภาพท่ี 5.2 ดงั น้ี
การลาออกของ
ผเู้ ปน็ หุ้นส่วน
หนุ้ ส่วนที่เหลอื อยรู่ ับซ้อื สทิ ธิ ห้างหุ้นสว่ นชาระคนื ทุนด้วย
สว่ นไดเ้ สยี จากหุ้นสว่ น เงินสดหรือสินทรพั ย์อน่ื
ท่ลี าออก ให้แก่หนุ้ ส่วนทลี่ าออก
บัญชีทนุ ของผเู้ ปน็ หุ้นส่วน ชาระคืนทุนด้วยจานวน เท่ากับ สทิ ธิสว่ นได้เสยี
ที่ลาออกจะถูกโอนไปยัง
บญั ชีทนุ ของผเู้ ป็นหนุ้ สว่ น ชาระคนื ทนุ ดว้ ยจานวน มากกว่า สทิ ธิสว่ นไดเ้ สีย
ที่ซ้ือสิทธสิ ่วนได้เสีย ชาระคนื ทนุ ดว้ ยจานวน นอ้ ยกว่า สทิ ธิสว่ นได้เสีย
ภาพท่ี 5.2 วธิ ีปฏบิ ตั กิ ารลาออกของผูเ้ ปน็ ห้นุ ส่วน
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 5 การเปล่ียนแปลงส่วนของผเู้ ป็นหนุ้ ส่วน 278
2.1 ห้นุ สว่ นท่ีเหลืออยู่รบั ซอื้ สทิ ธิส่วนไดเ้ สียจากหุ้นส่วนท่ีลาออก
การบนั ทึกบัญชีของห้างหุ้นส่วนจะเป็นเพียงการบันทึกโอนเงินทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนท่ีลาออก
ไปยังบัญชีทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนท่ีรับซ้ือสิทธิส่วนได้เสียไว้ ส่วนเงินที่จ่ายชาระระหว่างกันให้ถือเป็น
รายการสว่ นตวั ห้างหุ้นส่วนไม่ต้องบนั ทึกบญั ชี บันทกึ บญั ชโี ดย
เดบติ ทุน-ผเู้ ปน็ หุ้นส่วนที่ลาออก ××
เครดิต ทนุ -ผเู้ ป็นหนุ้ ส่วนที่ซ้ือสทิ ธิส่วนได้เสีย ××
ตัวอยา่ งที่ 5.10 ขจรจติ ขจรลาภและขจรเดช เป็นหุ้นสว่ นกัน มียอดคงเหลอื ในบัญชีทนุ
คนละ 200,000 บาท 150,000 บาท และ 100,000 บาท ตามลาดับ แบง่ กาไรขาดทุน
ในอตั รา 5 : 3 : 2 ตอ่ มาวันที่ 1 กนั ยายน 2557 ขจรเดช ประสงคจ์ ะลาออกจากห้างหุ้นส่วน
โดยขายสทิ ธสิ ่วนไดเ้ สยี ของตนใหก้ บั ขจรจติ และขจรลาภ ตามสดั ส่วนการแบง่ กาไรขาดทุน
ในราคา 120,000 บาท
การบันทึกบญั ชี
สมดุ รายวันทั่วไป หน้า 1
พ.ศ. 2557 รายการ เลขที่ เดบติ เครดิต
เดือน วัน
บญั ชี บาท สต. บาท สต.
ก.ย. 1 ทุน-ขจรเดช 100,000 -
ทุน-ขจรจติ (100,000 × 5/8) 62,500 -
ทุน-ขจรลาภ (100,000 × 3/8) 37,500 -
บนั ทึกการลาออกของขจรเดช
ไดโ้ อนทุนใหก้ บั ขจรจติ และขจรลาภ
หลงั จากขจรเดช ลาออกจากห้างหุ้นส่วนแล้ว เงนิ ทุนของผเู้ ปน็ ห้นุ สว่ นแตล่ ะคน แสดงดงั น้ี
เงินทุนกอ่ นผเู้ ป็นหุ้นสว่ นลาออก ขจรจิต ขจรลาภ ขจรเดช รวม
หัก เงินทุนท่โี อนให้แกห่ ุ้นส่วนทเี่ หลอื อยู่ 200,000 150,000 100,000 450,000
เงินทุนหลงั ผเู้ ปน็ หนุ้ สว่ นลาออก 62,500 37,500 (100,000)
262,500 187,500 -
สิทธิสว่ นได้เสีย - 450,000
6/10 4/10
-
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 5 การเปล่ยี นแปลงส่วนของผูเ้ ป็นหุ้นส่วน 279
2.2 หา้ งหนุ้ สว่ นชาระคืนทุนด้วยเงินสดหรอื สนิ ทรพั ย์อ่นื ใหแ้ ก่หนุ้ สว่ นที่ลาออก
วิธีน้ีหลังจากห้างหุ้นส่วนชาระคืนทุนให้แก่หุ้นส่วนท่ีลาออกแล้วจะมีผลทาให้สินทรัพย์และ
เงินทุนของห้างหุ้นส่วนลดลงตามจานวนสิทธิส่วนได้เสียของหุ้นส่วนท่ีลาออก หรือตามจานวน
ที่จ่ายชาระคืนทุนน่ันเอง อย่างไรก็ตาม ก่อนการชาระคืนทุน ห้างหุ้นส่วนควรมีการปรับปรุงสินทรัพย์
และหนี้สินให้เป็นมูลค่ายุติธรรม ผลต่างที่เกิดข้ึนให้โอนเข้าบัญชีทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนตาม
อตั ราสว่ นแบง่ กาไรขาดทนุ และอาจบันทึกคา่ ความนยิ มท้ังจานวนหรือบันทึกเฉพาะส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน
ท่ีลาออกก็ได้
การบนั ทึกบญั ชี เปน็ ดงั นี้
เดบติ ทุน-ผู้เปน็ ห้นุ สว่ นท่ีลาออก ××
เครดติ เงนิ สดหรอื สนิ ทรพั ย์ ××
การชาระคืนทนุ ใหแ้ กผ่ เู้ ป็นหุน้ ส่วนทีล่ าออก แยกพจิ ารณาเปน็ 3 กรณี คอื
1. การชาระคนื ทนุ ดว้ ยจานวน เทา่ กบั สิทธสิ ว่ นไดเ้ สียของหุ้นสว่ นทล่ี าออก
2. การชาระคนื ทนุ ดว้ ยจานวน มากกวา่ สทิ ธสิ ่วนได้เสยี ของหนุ้ สว่ นที่ลาออก
3. การชาระคนื ทนุ ด้วยจานวน น้อยกว่า สทิ ธสิ ่วนไดเ้ สยี ของหนุ้ สว่ นที่ลาออก
1. การชาระคนื ทุนด้วยจานวน เท่ากบั สิทธิสว่ นไดเ้ สยี ของหุ้นส่วนที่ลาออก
กรณีนีใ้ หบ้ นั ทกึ รายการชาระคืนทนุ ใหก้ บั ผเู้ ป็นหุน้ สว่ นทีล่ าออกด้วยจานวนทเี่ ทา่ กบั บัญชที นุ
ตัวอย่างที่ 5.11 กนกนาถ กนกนชุ และกนกรดา เปน็ หุ้นส่วนกนั โดยมีเงินทุน 40,000 บาท
20,000 บาท และ 20,000 บาท ตามลาดับ ตกลงแบง่ กาไรขาดทนุ ในอตั รา 2 : 1 : 1
ต่อมาวนั ที่ 1 พฤษภาคม 2557 กนกรดา ลาออกจากห้างหนุ้ สว่ น โดยห้างห้นุ ส่วนจ่ายชาระคนื ทุน
ใหก้ นกรดาเป็นเงนิ สด 20,000 บาท ห้างห้นุ สว่ นได้ปรบั ปรุงสนิ ทรพั ย์และหนสี้ นิ ถกู ต้องแลว้
การบันทึกบัญชี
สมุดรายวันทว่ั ไป หน้า 1
เครดติ
พ.ศ. 2557 รายการ เลขท่ี เดบิต บาท สต.
เดอื น วนั บญั ชี บาท สต.
20,000 -
พ.ค. 1 ทนุ -กนกรดา 20,000 -
เงินสด
บนั ทึกการชาระคนื ทนุ ใหก้ นกรดา
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 การเปลี่ยนแปลงส่วนของผเู้ ป็นหนุ้ ส่วน 280
2. การชาระคืนทุนด้วยจานวน มากกวา่ สิทธิสว่ นไดเ้ สียของหนุ้ สว่ นท่ลี าออก
การที่ผ้เู ป็นห้นุ ส่วนคนใดคนหนง่ึ ลาออกจากห้างหุ้นส่วนหลังจากมีการปรับปรุงสินทรัพย์และหน้ีสิน
ให้ถูกต้องแล้ว ถ้าปรากฏว่าห้างหุ้นส่วนประสบความสาเร็จดาเนินงานมีผลกาไรดีและผู้เป็นหุ้นส่วน
ที่ลาออกนั้นได้มีส่วนร่วมในการสร้างความสาเร็จให้ห้างหุ้นส่วน ห้างหุ้นส่วนอาจจ่ายชาระคืนทุน
ใหผ้ ู้เป็นหุ้นส่วนทล่ี าออกดว้ ยจานวนทมี่ ากกวา่ ยอดในบญั ชที ุน การชาระคนื ทนุ กรณีนีแ้ บ่งเป็น 2 วธิ ี คือ
1. วิธโี บนสั
ตวั อยา่ งท่ี 5.12 จากตวั อยา่ งที่ 5.11 ถา้ ในวนั ที่ 1 พฤษภาคม 2557 หา้ งหุ้นส่วนจ่ายชาระคืนทนุ
ใหก้ นกรดา เป็นเงินสด 23,000 บาท
จานวนเงินทหี่ ้างหุ้นส่วนจา่ ยชาระคนื ทนุ ใหก้ นกรดา = 23,000 บาท
หัก สิทธสิ ว่ นไดเ้ สียของกนกรดา = 20,000 บาท
คิดโบนัสใหก้ นกรดา = 3,000 บาท
การบนั ทกึ บัญชี
สมุดรายวันทั่วไป หน้า 1
เครดิต
พ.ศ. 2557 รายการ เลขท่ี เดบติ บาท สต.
เดือน วัน บัญชี บาท สต.
3,000 -
พ.ค. 1 ทนุ -กนกนาถ (3,000 × 2/3) 2,000 -
1,000 -
ทนุ -กนกนชุ (3,000 × 1/3)
ทนุ -กนกรดา
หุ้นส่วนที่เหลอื อยคู่ ดิ โบนสั ใหก้ นกรดา
ทนุ -กนกรดา 23,000 -
เงนิ สด 23,000 -
บนั ทึกชาระคนื ทุนใหก้ นกรดา
หลงั จากกนกรดา ลาออกจากห้างหุน้ ส่วนแลว้ เงนิ ทุนของผเู้ ปน็ หนุ้ สว่ นแตล่ ะคน แสดงดงั นี้
เงนิ ทุนกอ่ นผเู้ ป็นหนุ้ ส่วนลาออก กนกนาถ กนกนุช กนกรดา รวม
บวก โบนัสท่คี ิดใหห้ ุ้นสว่ นทล่ี าออก 40,000 20,000 20,000 80,000
หัก จา่ ยชาระคนื ทนุ ใหก้ นกรดา (2,000) (1,000) 3,000
เงินทนุ หลงั ผเู้ ปน็ ห้นุ สว่ นลาออก (23,000) -
- - - (23,000)
38,000 19,000 57,000
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 5 การเปลยี่ นแปลงส่วนของผู้เป็นหุน้ ส่วน 281
2. วธิ ีค่าความนยิ ม การทหี่ ้างหนุ้ ส่วนชาระคนื ทุนมากกว่าบัญชีทนุ ของผเู้ ปน็ หุ้นส่วนทล่ี าออก
ถือว่าสว่ นทีจ่ า่ ยเกินเปน็ คา่ ความนิยมทีค่ ิดใหก้ บั หนุ้ ส่วนท่ลี าออก การบันทกึ บญั ชีแบ่งเป็น 2 วธิ ี คือ
1) บันทึกค่าความนิยมเฉพาะส่วนของหุ้นสว่ นท่ีลาออก
ตัวอย่างท่ี 5.13 จากตวั อยา่ งท่ี 5.11 ถ้าหา้ งหุ้นส่วนจ่ายชาระคนื ทุนให้กนกรดา
เป็นเงินสด 23,000 บาท จานวนทีจ่ า่ ยเกินในบัญชีทนุ ของกนกรดาถอื เปน็ ค่าความนยิ มทห่ี า้ งห้นุ สว่ น
คดิ ใหก้ นกรดา
การบนั ทกึ บญั ชี
สมุดรายวนั ทั่วไป หนา้ 1
พ.ศ. 2557 รายการ เลขท่ี เดบติ เครดิต
เดอื น วนั
บัญชี บาท สต. บาท สต.
พ.ค. 1 ค่าความนยิ ม 3,000 -
ทนุ -กนกรดา 3,000 -
คดิ ค่าความนิยมให้หนุ้ สว่ นทลี่ าออก
ทุน-กนกรดา 23,000 -
เงินสด 23,000 -
บันทกึ การชาระคนื ทนุ ให้กนกรดา
2) บันทึกคา่ ความนยิ มใหผ้ ูเ้ ป็นหุ้นส่วนทกุ คน
จะคานวณจากคา่ ความนยิ มของผูเ้ ป็นหุ้นส่วนที่ลาออกเปน็ เกณฑ์ และบันทึกแบ่งใหก้ บั
ผู้เป็นหนุ้ ส่วนทุกคนตามอัตราสว่ นแบง่ กาไรขาดทุน
ตัวอยา่ งท่ี 5.14 จากตวั อยา่ งท่ี 5.11 ถ้าหา้ งหุ้นสว่ นจ่ายชาระคืนทนุ ใหก้ นกรดา เปน็ เงินสด 23,000 บาท
จานวนเงินทจี่ า่ ยเกินบัญชที ุนของกนกรดา ถือเป็นค่าความนยิ มทีห่ า้ งหุ้นสว่ นคิดให้ผเู้ ป็นหุน้ สว่ นทกุ คน
การคานวณคา่ ความนยิ มท่คี ดิ ให้กับผู้เป็นหุ้นสว่ นทกุ คน
อัตราส่วนแบง่ กาไรขาดทุนของกนกรดา 1/4 คิดคา่ ความนยิ ม 3,000 บาท
ดังนัน้ อัตราสว่ นแบง่ กาไรขาดทุนของหา้ งหุ้นสว่ น 1 คิดค่าความนิยม 3,000 × 4/1 บาท
คา่ ความนิยม 12,000 บาท
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5 การเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้เป็นห้นุ ส่วน 282
การบันทกึ บญั ชี
สมุดรายวันท่ัวไป หน้า 1
เครดติ
พ.ศ. 2557 รายการ เลขท่ี เดบติ บาท สต.
เดือน วัน บญั ชี บาท สต.
6,000 -
พ.ค. 1 ค่าความนิยม 12,000 - 3,000 -
3,000 -
ทุน-กนกนาถ (12,000 × 2/4)
ทนุ -กนกนุช (12,000 × 1/4)
ทนุ -กนกรดา (12,000 × 1/4)
บนั ทกึ คา่ ความนยิ มของหา้ งห้นุ สว่ น
ทนุ -กนกรดา 23,000 -
เงินสด 23,000 -
บันทกึ การชาระคืนทนุ ใหก้ นกรดา
หลงั จากกนกรดา ลาออกจากห้างหุ้นสว่ นแลว้ เงนิ ทุนของผเู้ ป็นห้นุ ส่วนแต่ละคน แสดงดงั นี้
เงินทนุ กอ่ นผเู้ ป็นหนุ้ สว่ นลาออก กนกนาถ กนกนชุ กนกรดา รวม
บวก คา่ ความนิยมของหา้ งห้นุ ส่วน 40,000 20,000 20,000 80,000
หกั จา่ ยชาระคนื ทนุ ให้กนกรดา 6,000 3,000 3,000 12,000
เงินทนุ หลงั ผเู้ ปน็ หนุ้ ส่วนลาออก (23,000) (23,000)
- - - 69,000
46,000 23,000
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 5 การเปล่ียนแปลงส่วนของผู้เป็นหนุ้ ส่วน 283
3. การชาระคืนทุนดว้ ยจานวน นอ้ ยกว่า สิทธิสว่ นได้เสยี ของห้นุ สว่ นที่ลาออก
การที่ผู้เป็นหุ้นส่วนคนใดคนหนึ่งลาออกจากห้างหุ้นส่วนและยอมรับคืนทุนด้วยจานวนน้อยกว่า
ยอดในบญั ชีทุนนั้น เพราะเหน็ ว่าการดาเนินงานของหา้ งหนุ้ ส่วนไมป่ ระสบความสาเร็จ หากมกี ารเลกิ กจิ การ
และชาระบัญชี อาจได้รับคืนทนุ นอ้ ยกวา่ จานวนทต่ี กลงกนั การชาระคืนทนุ กรณีนแ้ี บ่งเปน็ 2 วธิ ี คอื
1. วธิ ีโบนัส การทหี่ ้างหนุ้ สว่ นชาระคนื ทนุ นอ้ ยกว่ายอดในบญั ชที ุนของหนุ้ สว่ นท่ลี าออกส่วนทจ่ี ่ายนอ้ ยกวา่
ถือเปน็ โบนสั ท่ีคดิ ให้กบั ผเู้ ป็นหุ้นสว่ นทเี่ หลอื อยู่ โดยแบง่ ตามอัตราส่วนแบง่ กาไรขาดทนุ
จากตัวอย่างที่ 5.15 จากตัวอย่างท่ี 5.11 ถ้าในวนั ท่ี 1 พฤษภาคม 2557 ห้างหนุ้ ส่วนจา่ ยชาระคืนทนุ
ให้กนกรดา เป็นเงนิ สด 18,500 บาท
จานวนเงินทห่ี ้างหุ้นสว่ นจ่ายชาระคนื ทุนใหก้ นกรดา = 18,500 บาท
หกั สทิ ธิสว่ นไดเ้ สยี ของกนกรดา = 20,000 บาท
คดิ โบนสั ใหผ้ เู้ ปน็ หุ้นสว่ นทเี่ หลอื อยู่ = 1,500 บาท
การบนั ทึกบญั ชี
สมุดรายวันท่วั ไป หน้า 1
เครดติ
พ.ศ. 2557 รายการ เลขท่ี เดบติ บาท สต.
เดอื น วนั บญั ชี บาท สต.
1,000 -
พ.ค. 1 ทนุ -กนกรดา 1,500 - 500 -
ทนุ -กนกนาถ (1,500 × 2/3)
ทุน-กนกนุช (1,500 × 1/3)
หนุ้ ส่วนท่ีเหลืออยคู่ ิดโบนัสใหก้ นกรดา
ทุน-กนกรดา 18,500 -
เงนิ สด 18,500 -
บันทกึ ชาระคืนทนุ ให้กนกรดา
หลงั จากกนกรดา ลาออกจากห้างหนุ้ ส่วนแล้ว เงนิ ทุนของผเู้ ปน็ หนุ้ สว่ นแต่ละคน แสดงดงั น้ี
เงนิ ทุนกอ่ นผเู้ ป็นหนุ้ ส่วนลาออก กนกนาถ กนกนุช กนกรดา รวม
บวก โบนัสท่คี ิดให้หุ้นส่วนทเี่ หลอื อยู่ 40,000 20,000 20,000 80,000
หัก จ่ายชาระคืนทนุ ให้กนกรดา 1,000 (1,500)
เงนิ ทุนหลงั ผเู้ ป็นหุ้นสว่ นลาออก 500 (18,500) -
- - - (18,500)
41,000 61,500
20,500
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5 การเปลี่ยนแปลงส่วนของผเู้ ป็นหุน้ ส่วน 284
2. วธิ ีค่าความนยิ ม การทีห่ า้ งหนุ้ ส่วนชาระคืนทุนน้อยกวา่ ยอดในบัญชีทุนของหุ้นสว่ นทลี่ าออก
ถอื เปน็ การลดค่าความนิยมทมี่ อี ยู่แล้ว การบันทึกบญั ชแี บ่งเปน็ 2 วิธี คือ
2.1 การลดคา่ ความนยิ มเฉพาะผูเ้ ป็นหุ้นสว่ นท่ลี าออก วิธีนีค้ า่ ความนิยมทีต่ ัดบญั ชีคดิ จาก
จานวนทจ่ี า่ ยต่ากว่ายอดในบญั ชที นุ ของหนุ้ ส่วนทลี่ าออก
จากตวั อยา่ งท่ี 5.16 จากตัวอยา่ งท่ี 5.11 ถา้ ห้างหุน้ สว่ นใชว้ ธิ ีคา่ ความนิยมและตัดคา่ ความนิยม
เฉพาะส่วนของหนุ้ สว่ นทลี่ าออก หา้ งหุน้ ส่วนจา่ ยชาระคืนทนุ ใหก้ นกรดา เปน็ เงินสด 18,500 บาท
การบันทึกบัญชี
สมดุ รายวนั ทว่ั ไป หนา้ 1
พ.ศ. 2557 รายการ เลขที่ เดบิต เครดติ
เดอื น วนั
บญั ชี บาท สต. บาท สต.
ม.ค. 1 ทุน-กนกรดา 1,500 -
คา่ ความนยิ ม 1,500 -
ลดค่าความนยิ มของห้นุ ส่วนท่ีลาออก
ทนุ -กนกรดา 18,500 -
เงนิ สด 18,500 -
บนั ทึกการชาระคืนทุนใหก้ นกรดา
2.2 ลดคา่ ความนยิ มของผูเ้ ป็นหุ้นสว่ นทกุ คน
กรณีนจ้ี ะบนั ทกึ ลดค่าความนิยมของผู้เป็นหุน้ สว่ นทกุ คน โดยคานวณจากทุนของกนกรดา
20,000 บาท แตไ่ ดร้ ับเงินจากห้างหุ้นสว่ น 18,500 บาท ตา่ กว่าบญั ชที นุ 1,500 บาท (20,000-18,500)
ดังนั้น การลดคา่ ความนิยมของผู้เป็นห้นุ สว่ นทกุ คนจะคิดจากอตั ราส่วนแบง่ กาไรของกนกรดา ดังนี้
การคานวณคา่ ความนยิ มทคี่ ิดให้กับผ้เู ป็นหุ้นส่วนทกุ คน
อตั ราส่วนแบง่ กาไรขาดทุนของกนกรดา 1/4 คดิ ค่าความนยิ ม 1,500 บาท
ดงั น้ัน อตั ราสว่ นแบง่ กาไรขาดทุนของหา้ งหุ้นส่วน 1 คิดคา่ ความนิยม 1,500 × 4/1 บาท
คา่ ความนิยม 6,000 บาท
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 5 การเปล่ียนแปลงส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน 285
การบนั ทกึ บญั ชี
สมดุ รายวนั ท่ัวไป หน้า 1
เครดิต
พ.ศ. 2557 รายการ เลขท่ี เดบิต บาท สต.
เดอื น วัน บัญชี บาท สต.
3,000 -
พ.ค. 1 ทนุ -กนกนาถ (6,000 × 2/4) 3,000 -
1,500 -
ทนุ -กนกนุช (6,000 × 1/4) 1,500 -
ทนุ -กนกรดา (6,000 × 1/4)
ค่าความนิยม
บนั ทึกลดค่าความนิยมห้างหนุ้ สว่ น
ทนุ -กนกรดา 18,500 -
เงนิ สด 18,500 -
บันทกึ การชาระคืนทุนให้กนกรดา
หลงั จากกนกรดา ลาออกจากห้างหุน้ ส่วนแลว้ เงนิ ทุนของผเู้ ป็นหุน้ สว่ นแตล่ ะคน แสดงดงั นี้
เงินทุนกอ่ นผเู้ ป็นหุน้ ส่วนลาออก กนกนาถ กนกนชุ กนกรดา รวม
หกั คา่ ความนิยมของห้างหุน้ ส่วน 40,000 20,000 20,000 80,000
หัก จา่ ยชาระคนื ทนุ ใหก้ นกรดา (3,000) (1,500) (1,500) (6,000)
เงินทนุ หลงั ผเู้ ปน็ หุ้นสว่ นลาออก (18,500) (18,500)
- - - 55,500
37,000 18,500
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 5 การเปลยี่ นแปลงส่วนของผ้เู ป็นหนุ้ ส่วน 286
แบบฝึกหดั ท่ี 5.3
จงปฏิบตั กิ ิจกรรมตามที่โจทยก์ าหนด (10 คะแนน)
มานี มนี าและม่งิ พร เป็นหุ้นส่วนกนั ดาเนนิ กจิ การหา้ งหนุ้ ส่วนจากดั มง่ั มี แบง่ กาไรขาดทนุ
ในอัตรา 25% 25% และ 50% ตามลาดับ เม่ือวนั ท่ี 1 มกราคม 2557 มง่ิ พร ขอลาออก
จากหา้ งห้นุ สว่ น ผูเ้ ปน็ หนุ้ ส่วนทกุ คนตกลงปรับปรงุ สนิ ทรัพย์สทุ ธิให้เปน็ มลู ค่ายตุ ิธรรม และ
ผูเ้ ปน็ ห้นุ สว่ นมบี ญั ชีทุน 200,000 บาท 200,000 บาท และ 400,000 บาท ตามลาดับ
ใหท้ า บันทกึ รายการในสมดุ รายวันทั่วไป ในแตล่ ะกรณดี งั นี้
กรณที ี่ 1 มานีและมนี า ซอ้ื สทิ ธสิ ่วนได้เสียของมงิ่ พร คนละครง่ึ โดยจา่ ยเงนิ ใหม้ งิ่ พร 412,000 บาท
สมุดรายวันทว่ั ไป หนา้ 1
พ.ศ. รายการ เลขที่ เดบติ เครดิต
เดอื น วัน
บญั ชี บาท สต. บาท สต.
กรณที ่ี 2 หา้ งห้นุ ส่วนชาระคืนทนุ ให้ม่ิงพร 450,000 บาท โดยใหบ้ ันทกึ คา่ ความนิยมใหแ้ กม่ ง่ิ พร
สมุดรายวนั ทั่วไป หน้า 1
พ.ศ. รายการ เลขที่ เดบติ เครดิต
เดือน วนั
บญั ชี บาท สต. บาท สต.
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 5 การเปลย่ี นแปลงส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน 287
กรณีที่ 3 ห้างหุ้นสว่ นชาระคืนทนุ ให้มงิ่ พร 450,000 บาท โดยให้บันทึกคา่ ความนิยม
ใหแ้ กผ่ ้เู ป็นหุ้นสว่ นทกุ คน
การคานวณค่าความนิยมท่คี ิดใหก้ ับผู้เป็นหุ้นส่วนทุกคน
อตั ราสว่ นแบง่ กาไรขาดทนุ ของมงิ่ พร คิดคา่ ความนยิ ม บาท
บาท
ดงั น้นั อัตราส่วนแบง่ กาไรขาดทุนของหา้ งหนุ้ ส่วน คดิ คา่ ความนยิ ม บาท
คา่ ความนิยม
สมุดรายวนั ท่วั ไป หนา้ 1
รายการ
พ.ศ. เลขที่ เดบติ เครดติ
เดือน วัน
บญั ชี บาท สต. บาท สต.
กรณที ่ี 4 หา้ งหุน้ ส่วนชาระคนื ทุนให้มง่ิ พร 300,000 บาท สว่ นที่จา่ ยน้อยกวา่ บญั ชีทุนถือเป็นโบนสั
ใหแ้ ก่ผ้เู ปน็ หุ้นส่วนทเี่ หลืออยู่
สมดุ รายวันทัว่ ไป หน้า 1
พ.ศ. รายการ เลขท่ี เดบิต เครดิต
เดอื น วัน
บัญชี บาท สต. บาท สต.