หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 5 การเปล่ียนแปลงส่วนของผ้เู ป็นหุ้นส่วน 288
3. การตายของผู้เป็นหนุ้ สว่ น (Death of A Partner)
เม่ือผู้เป็นหุ้นส่วนไม่จากัดความรับผิดคนใดคนหนึ่งตาย ตามกฎหมายถือว่าห้างหุ้นส่วนน้ัน
ต้องเลิกกิจการและต้องปิดบัญชี โดยการปรับปรุงสินทรัพย์และหน้ีสินให้ถูกต้อง เพ่ือหาสิทธิส่วนได้เสีย
ของผเู้ ป็นหนุ้ ส่วนท่ีตาย จาหนา่ ยสินทรพั ย์ ชาระหนสี้ ินต่าง ๆ และจา่ ยคืนทุนให้แก่ทายาทหรือกองมรดก
ของผู้เป็นหุ้นส่วนท่ีตาย แต่ถ้าข้อตกลงในสัญญาจัดต้ังห้างหุ้นส่วนระบุให้ผู้เป็นหุ้นส่วนที่เหลืออยู่
ดาเนนิ กิจการต่อไปโดยไม่ต้องเลกิ กิจการ และหา้ งหนุ้ สว่ นยงั คงตอ้ งจ่ายคืนทุนของหุ้นสว่ นท่ีตาย
3.1 หา้ งห้นุ ส่วนชาระคืนทุนใหแ้ ก่ทายาทหรอื กองมรดกของหุ้นส่วนทต่ี าย มขี ั้นตอนปฏิบัติ ดงั น้ี
1) ปรับปรงุ สนิ ทรพั ย์สทุ ธขิ องห้างหุ้นส่วนให้เป็นมลู คา่ ยตุ ิธรรม ณ วนั ที่หนุ้ สว่ นตายใหถ้ ูกตอ้ ง
ผลต่างให้บันทึกเข้าบญั ชที ุนของผเู้ ปน็ หุ้นสว่ นตามอตั ราส่วนแบ่งกาไรขาดทุน
2) คานวณสว่ นแบง่ กาไรขาดทุนตัง้ แตว่ นั ตน้ งวดจนถึงวนั ทหี่ ุ้นสว่ นตาย การแบ่งกาไรขาดทุน
โดยการประมาณกาไรขาดทนุ ณ วนั ท่ีหนุ้ ส่วนตาย บนั ทกึ บญั ชีโดย
เดบิต สว่ นแบง่ กาไรขาดทนุ โดยประมาณของหุน้ ส่วนท่ีตาย ××
เครดติ ทุน-ผูเ้ ปน็ หุ้นส่วนที่ตาย ××
3) จ่ายชาระคนื ทุนใหแ้ กท่ ายาทห้นุ สว่ นทตี่ ายตามยอดคงเหลือในบญั ชที ุน หลังจาก
ปรบั ปรงุ สนิ ทรพั ย์ หนส้ี นิ และส่วนแบ่งกาไรขาดทนุ โดยประมาณ บันทกึ บญั ชโี ดย
เดบิต ทุน-ผ้เู ป็นหุ้นส่วนทีต่ าย ××
เครดติ เงนิ สด ××
4) ปิดบัญชี ณ วันสนิ้ งวดบัญชี เพอ่ื คานวณกาไรขาดทุนประจาปี แล้วแบง่ ใหผ้ ู้เป็นห้นุ ส่วนทเ่ี หลอื
บนั ทึกบัญชีโดย
เดบิต กาไรขาดทุน ××
เครดติ สว่ นแบ่งกาไรขาดทนุ โดยประมาณของหนุ้ สว่ นทตี่ าย ××
ทนุ -ผู้เปน็ หนุ้ สว่ นที่เหลือ ××
หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 5 การเปลีย่ นแปลงส่วนของผูเ้ ป็นหุ้นส่วน 289
ตวั อยา่ งที่ 5.17 วรดา วรดี และวรนิต ดาเนินกิจการห้างหุ้นส่วนจากัดโอบกิจ ผู้เป็นหุ้นส่วน
แบ่งกาไรขาดทุนเท่ากัน วรดา ตาย ในวันท่ี 1 ตุลาคม 2557 ตามข้อตกลงในสัญญาจัดต้ังห้างหุ้นส่วน
กาหนดว่าหากผู้เป็นหุ้นส่วนคนใดคนหน่ึงตาย ห้างหุ้นส่วนยังดาเนินกิจการต่อไปได้ วรดา มีบัญชีทุน
หลังจากปรบั ปรงุ บัญชีสินทรัพยส์ ทุ ธิของหา้ งหนุ้ ส่วน 250,000 บาท ผู้เป็นห้นุ ส่วนตกลงแบง่ กาไรขาดทุน
ให้ผตู้ ายนับจากตน้ งวดจนถึงวนั ทผี่ ู้เปน็ หนุ้ ส่วนตาย โดยประมาณจากผลกาไรขาดทนุ ยอ้ นหลัง 3 ปี ดงั นี้
ปี 2554 ขาดทนุ สทุ ธิ 400,000 บาท
ปี 2555 กาไรสุทธิ 1,000,000 บาท
ปี 2556 กาไรสุทธิ 1,500,000 บาท
การคานวณส่วนแบง่ กาไรขาดทนุ ของวรดา
กาไรสทุ ธถิ ัวเฉลย่ี = 700,000 บาท (400,000)+1,000,000+1,500,000/3
กาไรสุทธิต้นงวดถึงวนั หนุ้ สว่ นตาย = 525,000 บาท (700,000 × 9/12) ม.ค.- ต.ค.
ส่วนแบ่งกาไรขาดทุนของวรดา = 175,000 บาท (525,000 ÷ 3)
ในวนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2557 ห้างหนุ้ ส่วน มกี าไรสทุ ธิ 900,000 บาท
การบนั ทกึ บญั ชี
สมดุ รายวันท่ัวไป หนา้ 1
พ.ศ. 2557 รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต
เดอื น วนั
บัญชี บาท สต. บาท สต.
ต.ค. 1 สว่ นแบง่ กาไรขาดทนุ โดยประมาณ-
ของวรดา 175,000 -
ทุน-วรดา 175,000 -
บนั ทึกสว่ นแบง่ กาไรโดยประมาณ
ทุน-วรดา (250,000 + 175,000) 425,000 -
เงินสด 425,000 -
ชาระคืนทนุ ใหท้ ายาทของวรดา
ธ.ค. 31 กาไรขาดทุน 900,000 -
สว่ นแบ่งกาไรขาดทุน-
โดยประมาณของวรดา 175,000 -
ทุน-วรดี (725,000 × 1/2) 362,500 -
ทุน-วรนติ (725,000 × 1/2) 362,500 -
ปิดบัญชีกาไรขาดทุนเขา้ บญั ชีทุน
บัญชีส่วนแบ่งกาไรขาดทุนโดยประมาณของวรดา เป็นบัญชีค่าใช้จ่ายและจะเปิดไว้จนกระทั่ง
มีการปิดบัญชี ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2557 และจะโอนปิดบัญชีนี้ไปยังบัญชีกาไรขาดทุน เพื่อคานวณ
หากาไรขาดทุนประจาปีแล้วแบง่ กาไรขาดทนุ ใหแ้ ก่ผเู้ ปน็ หุ้นส่วนที่เหลืออยู่
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 การเปลี่ยนแปลงส่วนของผ้เู ป็นห้นุ ส่วน 290
แบบฝกึ หดั ที่ 5.4
จงปฏิบัติกจิ กรรมตามท่โี จทย์กาหนด (10 คะแนน)
นพกร นพคุณและพบพร เป็นหุน้ สว่ นกัน มบี ัญชีทนุ คนละ 300,000 บาท แบง่ กาไรขาดทุน
ในอัตรา 35% 35% และ 30% ตามลาดับ ผเู้ ปน็ หนุ้ ส่วนตกลงกนั ว่าถา้ ผูเ้ ปน็ หุ้นส่วนคนใดคนหนง่ึ ตาย
ใหป้ รบั ปรงุ สนิ ทรัพยส์ ทุ ธิของห้างห้นุ ส่วนใหเ้ ป็นปัจจุบนั และแบ่งกาไรขาดทุนให้ผู้ตายนบั จากตน้ งวด
จนถงึ วนั ทหี่ ้นุ สว่ นตาย โดยประมาณการกาไรขาดทนุ ของงวดจากกาไรขาดทนุ ถัวเฉลีย่ ย้อนหลัง 3 ปี
นพกร ตายในวันที่ 1 มถิ ุนายน 2557 หา้ งหนุ้ ส่วนไดป้ รบั ปรุงบญั ชสี ินทรัพยข์ องห้างหนุ้ สว่ น ดังน้ี
1. สินค้าคงเหลอื ตรี าคาลดลง 10,000 บาท
2. ที่ดนิ ตีราคาเพม่ิ ขึ้น 50,000 บาท
3. ห้างหนุ้ สว่ นมผี ลกาไรขาดทุนในแต่ละปี ดงั นี้
ปี 2554 กาไรสทุ ธิ 500,000 บาท
ปี 2555 กาไรสทุ ธิ 600,000 บาท
ปี 2556 กาไรสุทธิ 450,000 บาท
ในวันท่ี 31 ธันวาคม 2557 หา้ งหุ้นส่วน มกี าไรสทุ ธิ 700,000 บาท
ให้ทา 1. คานวณสว่ นแบ่งกาไรขาดทนุ โดยประมาณของนพกร
กาไรสุทธถิ ัวเฉลยี่ = บาท
กาไรสุทธิต้นงวดถงึ วันหุน้ ส่วนตาย = บาท
ส่วนแบง่ กาไรขาดทนุ ของนพกร = บาท
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 5 การเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้เป็นหนุ้ ส่วน 291
2. บันทกึ รายการในสมุดรายวนั ทัว่ ไป
สมุดรายวันทว่ั ไป หน้า 1
พ.ศ. รายการ เลขท่ี เดบติ เครดิต
เดอื น วัน
บัญชี บาท สต. บาท สต.
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 5 การเปลีย่ นแปลงส่วนของผเู้ ป็นหุ้นส่วน 292
สรปุ
การเปล่ียนแปลงส่วนของผ้เู ป็นหุ้นส่วน แบ่งเปน็ 3 กรณี คอื
1. การรับผเู้ ป็นหุ้นส่วนใหม่ เกิดจากหา้ งหุน้ ส่วนตอ้ งการเงนิ ทุนเพมิ่ เพือ่ ใช้ในการขยายกิจการ หรือ
ตอ้ งการบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์มาช่วยในการดาเนินงาน การรับหุ้นส่วนใหม่
แบ่งเป็น 2 วธิ ี คือ
1) ผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่ซ้ือสิทธิส่วนได้เสียจากผู้เป็นหุ้นส่วนเดิม วิธีนี้ ผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่
อาจซอื้ สิทธิส่วนได้เสยี จากผู้เป็นหุ้นส่วนเดิมคนเดียว หรือหลายคนก็ได้ โดยซ้ือทั้งหมดหรือบางส่วนและ
ซ้ือในราคาเท่ากับสิทธิส่วนได้เสียท่ีได้รับ ซื้อในราคา มากกว่า หรือ น้อยกว่า สิทธิส่วนได้เสียท่ีได้รับ
ถือเป็นการให้โบนัสหรือค่าความนยิ มระหวา่ งผเู้ ป็นหุน้ สว่ น
2) ผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่นาสินทรัพย์มาลงทุนในห้างหุ้นส่วน วิธีนี้ผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่นาเงินสด
หรือสินทรัพย์มาลงทุนทาให้ผู้เป็นหุ้นส่วนใหม่นาสินทรัพย์มาลงทุน เท่ากับ สิทธิส่วนได้เสียที่ได้รับ
สูงกว่า หรือ ต่ากว่า สิทธิส่วนได้เสียท่ีได้รับ เป็นการให้โบนัสระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วน หรือค่าความนิยม
ทีค่ ดิ ให้แต่ละฝ่าย
2. การลาออกของผู้เป็นหุ้นส่วน การลาออกของผู้เป็นหุ้นส่วนประเภทไม่จากัดความรับผิดชอบ
จะมีผลทาให้ห้างหุ้นส่วนนั้นต้องเลิกไป เว้นแต่ข้อสัญญาในห้างหุ้นส่วนได้ระบุไว้เป็นอย่างอื่น
ก็สามารถดาเนินกิจการต่อไปได้โดยต้องมีการทาสัญญาใหม่ การลาออกของผู้เป็นหุ้นส่วน
ปฏบิ ตั ิได้ 2 วธิ ี คือ
1) หุน้ สว่ นทีเ่ หลืออยู่รับซื้อสิทธิส่วนได้เสียจากหุ้นส่วนท่ีลาออก วิธีนี้จะบันทึกบัญชีเหมือนกับ
การรับผ้เู ป็นหุ้นส่วนใหม่กรณซี อ้ื สทิ ธิส่วนไดเ้ สยี จากผู้เป็นหุ้นส่วนเดมิ
2) ห้างหุ้นส่วนชาระคืนทุนด้วยเงินสดหรือสินทรัพย์อ่ืนให้แก่หุ้นส่วนท่ีลาออก วิธีนี้
หลังจากปรับปรุงสินทรัพย์และหน้ีสินให้ถูกต้องแล้ว จึงมีการชาระคืนทุนให้แก่ผู้เป็นหุ้นส่วนที่ลาออก
การชาระคืนทุนด้วยจานวน เท่ากับ สิทธิส่วนได้เสีย มากกว่า หรือ น้อยกว่า สิทธิส่วนได้เสีย
กรณีน้ีอาจเกิดจากโบนัสท่ีให้ระหว่างกัน การคิดค่าความนิยมหรือการตัดค่าความนิยมท่ีจะคิดให้
เฉพาะหุน้ สว่ นทีล่ าออกหรือให้ผเู้ ปน็ หนุ้ สว่ นทกุ คน
3. การตายของผเู้ ป็นห้นุ ส่วน เม่อื ผเู้ ปน็ หุน้ สว่ นไมจ่ ากัดความรับผิดคนใดคนหนึ่งตายตามกฎหมาย
ถือว่าห้างหุ้นส่วนนั้นต้องเลิกกิจการ แต่ถ้าข้อตกลงในสัญญาจัดต้ังห้างหุ้นส่วนระบุให้ผู้เป็นหุ้นส่วน
ที่เหลืออยู่ดาเนนิ กิจการตอ่ ไป เพยี งแตห่ า้ งหุน้ ส่วนยงั คงต้องจ่ายคืนทุนของหุ้นส่วนท่ตี าย
หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 5 การเปลยี่ นแปลงส่วนของผเู้ ป็นหนุ้ ส่วน 293
คาศพั ทท์ างการบญั ชี
คาศัพท์ ความหมาย
Admission by Investment ผู้เป็นหนุ้ สว่ นใหมน่ าสนิ ทรัพยม์ าลงทนุ ในหา้ งหุ้นส่วน
Admission by Purchased Interest ผู้เป็นหุน้ ส่วนใหมซ่ ้ือสทิ ธสิ ว่ นได้เสยี จากผเู้ ป็นหุ้นส่วนเดมิ
Admission of a New Partner การรบั ผเู้ ป็นหุน้ สว่ นใหม่
Death of A Partner การตายของผูเ้ ป็นห้นุ ส่วน
Retirement of A Partner การลาออกของผเู้ ป็นหุ้นสว่ น
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 5 การเปลี่ยนแปลงส่วนของผเู้ ป็นหนุ้ ส่วน 294
แบบทดสอบหลังเรยี น
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5 การเปลี่ยนแปลงสว่ นของผเู้ ปน็ หนุ้ ส่วน
คาชแ้ี จง
1. ให้เลอื กคาตอบทถ่ี ูกต้องทีส่ ดุ เพยี งข้อเดยี ว และทาเคร่อื งหมายกากบาท (×) ลงในระดาษคาตอบ
2. แบบทดสอบ จานวน 5 ข้อ รวม 5 คะแนน ใช้เวลา 5 นาที
1. จงรกั และภกั ดี เป็นหุน้ ส่วนกนั แบ่งกาไรขาดทนุ เทา่ กนั มที นุ คนละ 200,000 บาท และ 250,000 บาท
ตามลาดบั ตกลงรบั ภูมิใจ เปน็ หุ้นสว่ นใหม่ โดยภมู ใิ จ นาเงินสดมาลงทนุ 180,000 บาท
เพอ่ื ได้สิทธสิ ่วนได้เสีย 30% ในห้างหนุ้ สว่ น การบนั ทกึ บญั ชีรับหุ้นสว่ นใหมโ่ ดยนาสินทรัพยม์ าลงทนุ
ดว้ ยวธิ ีค่าความนิยม ตรงกับข้อใด (จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ขอ้ ที่ 2)
ก. เดบิต เงินสด 180,000
เครดิต ทนุ -ภูมใิ จ 180,000
ข. เดบติ เงินสด 180,000
คา่ ความนยิ ม 9,000
เครดิต ทนุ -ภูมใิ จ 189,000
ค. เดบติ เงนิ สด 180,000
คา่ ความนยิ ม 12,857
เครดติ ทุน-ภมู ิใจ 192,857
ง. เดบิต เงินสด 180,000
ทุน-จงรัก 15,000
ทนุ -ภกั ดี 15,000
เครดติ ทนุ -ภูมิใจ 210,000
จ. เดบิต ทุน-จงรกั 60,000
ทุน-ภกั ดี 75,000
ค่าความนิยม 90,000
เครดติ ทนุ -ภมู ใิ จ 225,000
หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 5 การเปล่ยี นแปลงส่วนของผเู้ ป็นหนุ้ ส่วน 295
2. พร พรรณ และเพชร เป็นหุ้นสว่ นกนั มีทนุ 20,000 บาท 25,000 บาท และ 30,000 บาท ตามลาดบั
แบ่งกาไรขาดทนุ ในอัตรา 1 : 2 : 1 ตอ่ มาพรขอลาออกจากห้างหุน้ ส่วน โดยพรรณขอซอื้ สิทธิส่วนไดเ้ สีย
จากพรในราคา 18,000 บาท การบนั ทึกการลาออกของพร ตรงกับขอ้ ใด
(จดุ ประสงคก์ ารเรยี นร้ขู อ้ ที่ 3)
ก. เดบิต ทนุ -พรรณ 18,000
เครดิต ทนุ -พร 18,000
ข. เดบิต ทนุ -เพชร 18,000
เครดิต ทนุ -พรรณ 18,000
ค. เดบิต ทนุ -พรรณ 20,000
เครดิต ทุน-เพชร 20,000
ง. เดบติ ทุน-พร 20,000
เครดติ เงินสด 20,000
จ. เดบิต ทุน-พร 20,000
เครดิต ทนุ -พรรณ 20,000
3. ดลพร กนกอร และมิง่ พร เปน็ ห้นุ สว่ นกัน ดาเนินกิจการห้างหุน้ สว่ นจากัดโอบกิจ มที ุนคนละ
80,000 บาท 75,000 บาท และ 65,000 บาท ตามลาดับ แบง่ กาไรขาดทุนในอตั รา 2 : 3 : 1
ต่อมา ดลพรขอลาออกจากห้างหุ้นส่วนและไดร้ ับคืนทนุ 92,000 บาท ส่วนท่ีเกินถือเปน็ คา่ ความนิยม
ให้ผ้เู ป็นหนุ้ ส่วนทกุ คน การบันทกึ บญั ชจี า่ ยคืนทุนให้หุน้ สว่ นที่ลาออก ตรงกบั ข้อใด
(จดุ ประสงค์การเรียนรขู้ อ้ ท่ี 4)
ก. เดบิต ทนุ -ดลพร 92,000
เครดิต เงินสด 92,000
ข. เดบิต ทนุ -ดลพร 80,000
คา่ ความนยิ ม 12,000
เครดติ เงนิ สด 92,000
ค. เดบติ ค่าความนยิ ม 92,000
เครดติ ทนุ -ดลพร 92,000
ง. เดบิต เงนิ สด 80,000
ค่าความนยิ ม 12,000
เครดติ ทุน-ดลพร 92,000
จ. เดบิต ทนุ -ดลพร 92,000
เครดติ เงนิ สด 80,000
คา่ ความนิยม 12,000
หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 5 การเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้เป็นหนุ้ ส่วน 296
4. กรกช กรรวี และกัมพล เปน็ หุ้นส่วนกัน แบง่ กาไรขาดทนุ ในอัตรา 1 : 1 : 2 มีทนุ คนละ 100,000 บาท
120,000 บาท และ 200,000 บาท ตามลาดบั ในวันท่ี 30 พฤศจิกายน 2557 กรกชตาย ผ้เู ป็นหนุ้ ส่วน
ตกลงให้มีการปรบั ปรงุ สนิ ทรัพยส์ ุทธขิ องห้างหุ้นสว่ นก่อนจ่ายคนื ทนุ ให้ทายาทกรกช โดยท่ดี นิ มรี าคา
เพมิ่ ข้ึน 25,000 บาท และคิดคา่ เส่อื มราคาอาคารเพมิ่ 5,000 บาท หา้ งหุน้ สว่ นมกี าไรขาดทุน
ย้อนหลงั 3 ปี ดังนี้ ปี 2556 กาไรสทุ ธิ 31,500 บาท ปี 2555 กาไรสุทธิ 29,500 บาท
และปี 2554 กาไรสทุ ธิ 38,000 บาท การบนั ทกึ บญั ชีจ่ายคืนทนุ ให้ทายาทผเู้ ปน็ หนุ้ ส่วนทต่ี าย
ตรงกบั ข้อใด (จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรูข้ อ้ ที่ 5)
ก. เดบติ ทุน-กรกช 100,000
สว่ นแบง่ กาไรขาดทนุ โดยประมาณ-กรกช 7,563
เครดิต เงินสด 107,563
ข. เดบติ เงนิ สด 100,000
สว่ นแบ่งกาไรขาดทุนโดยประมาณ-กรกช 7,563
เครดติ ทุน-กรกช 107,563
ค. เดบติ ทนุ -กรกช 107,563
เครดิต เงินสด 107,563
ง. เดบิต ทนุ -กรกช 112,563
เครดติ เงนิ สด 112,563
จ. เดบติ ทุน-กรกช 100,000
ส่วนแบง่ กาไรขาดทุนโดยประมาณ-กรกช 12,563
เครดิต เงินสด 112,563
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 การเปลย่ี นแปลงส่วนของผเู้ ป็นห้นุ ส่วน 297
5. กรณุ าและกานดา เปน็ ห้นุ สว่ นกัน มที นุ คนละ 100,000 บาท และ 80,000 บาท ตามลาดบั
แบง่ กาไรขาดทุนเทา่ กัน ตกลงรบั กอบกลุ เขา้ มาเป็นหนุ้ ส่วนใหม่ โดยซ้ือสทิ ธสิ ว่ นไดเ้ สยี
จากหนุ้ ส่วนคนละ 25% ในราคา 50,000 บาท เพือ่ ใหม้ ีสทิ ธสิ ่วนไดเ้ สยี 25% ในหา้ งห้นุ สว่ น
การบนั ทึกบญั ชรี บั หุ้นสว่ นใหม่ดว้ ยวิธคี ่าความนยิ ม ตรงกับขอ้ ใด (จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรขู้ ้อท่ี 1)
ก. เดบิต ทนุ -กรณุ า 25,000
ทุน-กานดา 25,000
เครดติ ทนุ -กอบกลุ 50,000
ข. เดบิต ทุน-กรณุ า 27,500
ทุน-กานดา 22,500
เครดิต ทนุ -กอบกุล 50,000
ค. เดบิต เงนิ สด 25,000
คา่ ความนิยม 25,000
เครดิต ทนุ -กอบกุล 50,000
ง. เดบิต ทนุ -กรุณา 27,500
ทุน-กานดา 20,000
คา่ ความนิยม 2,500
เครดิต ทุน-กอบกลุ 50,000
จ. เดบิต ค่าความนยิ ม 50,000
เครดิต ทนุ -กอบกุล 50,000
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 6
การเลิกหา้ งหนุ้ ส่วนและการชาระบัญชี
สาระการเรียนรู้
1. สาเหตขุ องการเลกิ ห้างหนุ้ ส่วน
2. การชาระบัญชีโดยจ่ายคนื ทุนครั้งเดยี ว
3. การชาระบัญชีโดยจา่ ยคนื ทนุ เป็นงวด
จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. บอกสาเหตขุ องการเลกิ ห้างหุ้นสว่ นได้
2. ทางบชาระบญั ชีโดยจ่ายคนื ทุนครงั้ เดียวได้
3. บนั ทึกบญั ชีการชาระบญั ชีกรณีจา่ ยคืนทนุ คร้งั เดยี วได้
4. ทางบชาระบัญชีโดยจา่ ยคนื ทนุ ทกุ ครัง้ ภายหลงั การจาหนา่ ยสนิ ทรพั ย์ได้
5. ทางบชาระบญั ชีตามแผนการจ่ายคืนทุนตลอดงวดการชาระบัญชไี ด้
6. ปฏบิ ัติงานด้วยความรบั ผิดชอบ มคี วามสนใจใฝร่ ู้ ซือ่ สัตย์สจุ ริต ตรงตอ่ เวลาและสภุ าพเรียบรอ้ ย
สมรรถนะประจาหนว่ ย
บันทกึ บญั ชี จดั ทางบชาระบญั ชีการเลกิ ห้างหุน้ สว่ นโดยจา่ ยคนื ทุนครั้งเดียวและจ่ายคืนทนุ เปน็ งวด
ไดถ้ กู ต้องตามมาตรฐานการบัญชี
ผงั มโนทศั น์ (Concept Map) หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 6 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชาระบัญชี 299
1. สาเหตขุ องการเลิกหา้ งห้นุ ส่วน
การเลิกหา้ งหนุ้ ส่วน 2. การชาระบญั ชีโดยจ่ายคนื ทุนคร้ังเดยี ว
และการชาระบัญชี
2.1 การบนั ทกึ บัญชีการชาระบญั ชกี รณีจ่ายคนื ทนุ ครง้ั เดียว
2.2 งบชาระบญั ชีโดยจ่ายคนื ทนุ คร้งั เดยี ว
3. การชาระบญั ชโี ดยจา่ ยคืนทุนเป็นงวด
3.1 การจ่ายคนื ทนุ ทุกครั้งภายหลังการจาหนา่ ยสนิ ทรพั ย์
3.2 การทาแผนการจ่ายคืนทนุ ให้ผเู้ ปน็ หนุ้ ส่วน
ตลอดงวดการชาระบญั ชี
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 6 การเลกิ ห้างหุ้นส่วนและการชาระบญั ชี 300
แบบทดสอบกอ่ นเรียน
หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 6 การเลกิ หา้ งหุ้นสว่ นและการชาระบญั ชี
คาชแ้ี จง
1. ให้เลือกคาตอบทถ่ี ูกต้องท่สี ดุ เพยี งข้อเดียว และทาเครอื่ งหมายกากบาท (×) ลงในระดาษคาตอบ
2. แบบทดสอบ จานวน 5 ขอ้ รวม 5 คะแนน ใช้เวลา 5 นาที
1. ข้อใดคอื สาเหตุของการเลิกห้างหนุ้ สว่ น (จุดประสงคก์ ารเรยี นร้ขู ้อที่ 1)
ก. การดาเนนิ งานของหา้ งหนุ้ ส่วนมแี ตก่ าไรขาดทนุ
ข. ผเู้ ป็นหุ้นส่วนบางคนมมี ติใหม้ กี ารเลิกห้างหุน้ ส่วน
ค. ทายาทของผูเ้ ป็นหุ้นสว่ นจงใจละเมดิ กฎของหา้ งหุ้นส่วน
ง. ผู้เป็นหนุ้ บอกเลกิ เมื่อสิ้นรอบปีบญั ชีโดยบอกเลกิ กอ่ น 6 เดือน
จ. ผ้เู ป็นหนุ้ ส่วนประเภทจากัดความรบั ผิดคนใดคนหน่ึงล้มละลาย
2. หา้ งหุ้นส่วนจากดั ปกั ธงชัย แบง่ กาไรขาดทนุ ในอตั รา 1 : 1 : 2 ตกลงเลิกกจิ การ มยี อดคงเหลือดงั น้ี
เงนิ สด 5,000 บาท สินทรัพย์อ่นื ๆ 150,000 บาท เจ้าหน้ี 20,000 บาท ทนุ -ปัก 10,000 บาท
ทุน-ธง 55,000 บาท และทุน-ชยั 70,000 บาท ผ้ชู าระบัญชจี าหน่ายสินทรพั ย์ไดเ้ งิน 100,000 บาท
จา่ ยคา่ ใชจ้ า่ ยในการชาระบญั ชี 8,000 บาท จ่ายชาระหนเี้ จา้ หน้ี ผเู้ ปน็ หนุ้ สว่ นทมี่ ีบญั ชีทนุ ด้านเดบิต
ไม่สามารถนาเงนิ มาชดใช้ได้ ชัย จะไดร้ บั คืนทุนเป็นจานวนเท่าใด (จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรูข้ ้อท่ี 2)
ก. 38,000 บาท
ข. 41,000 บาท
ค. 45,000 บาท
ง. 67,000 บาท
จ. 70,000 บาท
3. การจา่ ยค่าใชจ้ ่ายในการชาระบญั ชี จะบนั ทกึ บญั ชีอย่างไร (จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ขอ้ ที่ 3)
ก. เดบติ คา่ ใชจ้ า่ ยในการชาระบัญชี ××
เครดติ ค่าใชจ้ า่ ยในการชาระบญั ชีค้างจ่าย ××
ข. เดบติ ทนุ -ผ้เู ป็นหุ้นส่วน ××
เครดติ เงินสด ××
ค. เดบิต เงนิ สด ××
เครดติ คา่ ใชจ้ ่ายในการชาระบัญชี ××
ง. เดบติ คา่ ใช้จ่ายในการชาระบญั ชี ××
เครดิต เงนิ สด ××
จ. เดบิต ทุน-ผ้เู ปน็ ห้นุ ส่วน ××
เครดิต กาไรขาดทนุ จากการจาหนา่ ยสนิ ทรัพย์ ××
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การเลกิ หา้ งหุ้นส่วนและการชาระบัญชี 301
4. ตลุ า พิจกิ า และกันยา เปน็ หนุ้ สว่ นกัน แบง่ กาไรขาดทุนเท่ากนั ยอดบญั ชีคงเหลอื ของห้างหุ้นส่วน
ก่อนการชาระบัญชีในวันท่ี 1 มนี าคม 2557 มีเงนิ สด 96,000 บาท สินทรพั ยอ์ ่ืน 640,000 บาท
เจ้าหน้ี 136,000 บาท ทนุ -ตลุ า 240,000 บาท ทุน-พจิ กิ า 192,000 บาท และทุน-กันยา 168,000 บาท
ในเดือนมีนาคม จาหน่ายสนิ ทรพั ย์อน่ื 280,000 บาท ไดเ้ งนิ 160,000 บาท หลังจากชาระหนสี้ ิน
ตลุ า พจิ กิ า และกนั ยา ได้รบั คนื ทุนงวดแรกคนละเทา่ ใด (จดุ ประสงค์การเรียนร้ขู ้อท่ี 4)
ก. 48,000 บาท 48,000 บาท และ 48,000 บาท
ข. 48,000 บาท 32,000 บาท และ 18,000 บาท
ค. 32,000 บาท 32,000 บาท และ 32,000 บาท
ง. 80,000 บาท 48,000 บาท และ 18,000 บาท
จ. 80,000 บาท 32,000 บาท และ 8,000 บาท
5. เทยี น ทา และแทน ร่วมกันจดั ตงั้ หา้ งหนุ้ สว่ นจากดั รวมสุข แบ่งกาไรขาดทุนในอัตรา 35% 35%
และ 30% ตกลงเลิกกจิ การในวนั ท่ี 1 กมุ ภาพันธ์ 2554 งบแสดงฐานะการเงินกอ่ นชาระบญั ชี
มีบัญชีเงินสด 15,000 บาท สนิ ทรัพย์อ่ืน 623,000 บาท เจา้ หนี้ 64,000 บาท เงินก-ู้ เทียน 7,900 บาท
ทุน-เทยี น 235,100 บาท ทุน-ทา 131,000 บาท และทนุ -แทน 200,000 บาท
ใครไดร้ บั คืนทนุ กอ่ นเป็นอนั ดบั แรก (จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรขู้ ้อที่ 5)
ก. ทา
ข. แทน
ค. เทยี น
ง. แทนและทา
จ. ไดร้ บั พรอ้ มกนั
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 6 การเลกิ ห้างหุ้นส่วนและการชาระบญั ชี 302
เนื้อหาสาระ
หา้ งหุน้ ส่วนหลังจากดาเนินกิจการมาแล้วระยะหนึ่ง ต่อมาเม่ือมีการเปล่ียนแปลงตัวผู้เป็นหุ้นส่วน
หรือหากผู้เป็นหุ้นส่วนต้องการเลิกกิจการ หรือเกิดเหตุการณ์ตามที่ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา 1055 1056 และ 1057 บญั ญัตไิ ว้สามารถทาได้ การเลิกห้างหนุ้ สว่ นเป็นการสน้ิ สดุ การดาเนนิ งาน
ท้งั ทางกฎหมายและในทางธรุ กิจ กลา่ วคือ การเลิกกิจการอยา่ งเด็ดขาด ห้างหุ้นส่วนหยุดประกอบกิจการ
และมีการชาระบัญชีนาสินทรัพย์ที่ไม่ใช่เงินสดท้ังหมดของห้างหุ้นส่วนออกจาหน่าย เพ่ือนาเงินสด
มาชาระหนสี้ ินใหแ้ ก่บคุ คลภายนอก ส่วนที่เหลือจึงจ่ายคนื ทุนใหแ้ กผ่ ู้เปน็ หุ้นสว่ นต่อไป
1. สาเหตขุ องการเลกิ ห้างห้นุ ส่วน
การเลกิ หา้ งหนุ้ สว่ น (Liquidation of Partnership) อาจเลกิ ด้วยสาเหตุ 2 กรณี คอื
1. ความตกลงของผเู้ ป็นหนุ้ สว่ นทกุ คน
2. ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ มาตรา 1055 มาตรา 1056 และ 1057 บัญญตั ิไว้
สรปุ ไดด้ งั นี้
1) ถา้ สญั ญาหุน้ สว่ นกาหนดไว้ว่า ถ้าเกิดกรณีใดกรณีหนึ่งขึ้นแล้วห้างหุ้นส่วนจะต้องเลิกกิจการ
เช่น ตกลงกันไว้วา่ หา้ งหุ้นส่วนดาเนินกจิ การขาดทนุ เมือ่ กิจการขาดทนุ ห้างหนุ้ ส่วนตอ้ งเลกิ กิจการ
2) ถา้ สญั ญาหนุ้ ส่วนกาหนดระยะเวลาในการดาเนินกจิ การไว้ เม่อื สน้ิ ระยะเวลาทก่ี าหนดไว้
ในสัญญาหา้ งหุ้นส่วนจะตอ้ งเลกิ กิจการ เชน่ กาหนดไวว้ า่ เม่ือดาเนนิ งานครบ 4 ปี ตอ้ งเลกิ กจิ การ
เว้นแตใ่ นกรณที ่ีผเู้ ป็นหนุ้ ส่วนยงั คงดาเนนิ งานในปีตอ่ ไปโดยมไิ ดช้ าระบัญชี ให้ถอื วา่ ผู้เป็นหนุ้ สว่ นทกุ คน
ไดต้ กลงเปน็ ห้างห้นุ สว่ นต่อไปโดยไม่มกี าหนด
3) ถ้าห้างหุ้นส่วนได้กาหนดวัตถุประสงค์เพ่ือทากิจการอย่างใดอย่างหนึ่งเพียงอย่างเดียว
เมื่อบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์แลว้ ห้างหนุ้ สว่ นตอ้ งเลิกกิจการ เชน่ ห้างหุน้ สว่ นจดั ตั้งขน้ึ เพือ่ จดั สรรที่ดนิ
เพียงอย่างเดียว เมือ่ จดั สรรทด่ี นิ เสรจ็ แล้วหา้ งหนุ้ ส่วนต้องเลกิ กจิ การ
4) ถา้ ห้างหุ้นส่วนตัง้ ข้ึนโดยไม่มีกาหนดระยะเวลาส้ินสุดไว้ แต่ถา้ ผู้เป็นหนุ้ ส่วนคนใดคนหนึ่ง
บอกเลิกเม่อื สนิ้ รอบปบี ัญชีของหา้ งหุ้นส่วน โดยบอกกล่าวลว่ งหน้าไมน่ ้อยกว่า 6 เดือน
5) ถ้าผู้เป็นหุ้นส่วนประเภทไม่จากัดความรับผิดคนใดคนหน่ึงตาย ล้มละลาย หรือ
ตกเป็นผู้ไร้ความสามารถ ห้างหุ้นส่วนจะต้องเลกิ กิจการทันที
6) ศาลอาจสงั่ ให้ห้างหุ้นส่วนเลิกกิจการได้ ถ้าผู้เป็นหุ้นส่วนคนใดคนหน่ึงร้องขอ เม่ือเกิดกรณี
ดังต่อไปนี้
(1) เมอื่ ผเู้ ป็นหนุ้ สว่ นคนใดคนหน่งึ ไม่ปฏิบัติตามข้อตกลงอันเปน็ สาระสาคญั ของสัญญา
ไม่ว่าจะเปน็ จงใจหรอื ประมาทเลนิ เล่ออยา่ งร้ายแรง
(2) เมอ่ื กิจการหา้ งห้นุ สว่ นทาไปมแี ต่ผลขาดทนุ และไมส่ ามารถจะฟนื้ ตัวได้อกี
(3) เมอ่ื มเี หตุการณ์อ่ืน ๆ ทาใหห้ ้างหุน้ ส่วนไม่สามารถดารงอยตู่ ่อไปได้
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 6 การเลกิ หา้ งหุ้นส่วนและการชาระบัญชี 303
วิธีการเลิกห้างหุ้นส่วน เมื่อห้างหุ้นส่วนต้องเลิกตามเหตุใดเหตุหน่ึงข้างต้น ผู้เป็นหุ้นส่วน
ควรทาสัญญาเลิกห้างหุ้นส่วนเป็นลายลักษณ์อักษร และไปจดทะเบียนเลิกห้างหุ้นส่วน ภายใน 14 วัน
นับจากวันตกลงเลิกห้างหุ้นส่วน ณ สานักงานทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทในพื้นท่ีที่กิจการต้ังอยู่
กรณีห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคลหรือห้างหุ้นส่วนจากัด ห้างหุ้นส่วนจะต้องยังคงอยู่จ นกว่าจะดาเนินการ
ชาระบัญชแี ล้วเสร็จ
การชาระบัญชี หมายถึง การเลิกกิจการโดยการจาหน่ายสินทรัพย์ เรียกเก็บเงินจากลูกหนี้
เพื่อนาเงนิ สดหลงั หักค่าใช้จา่ ยในการชาระบญั ชีแล้วมาชาระหน้ีสินแก่บุคคลภายนอก ชาระคืนเงินกู้ และ
จ่ายคนื ทนุ ให้กับผูเ้ ป็นหุ้นส่วน
ผู้ชาระบัญชี อาจเป็นผู้เป็นหุ้นส่วนหรือบุคคลอ่ืน ซึ่งผู้เป็นหุ้นส่วนได้แต่งตั้งขึ้น ผู้ชาระบัญชี
มีอานาจหน้าที่ในการปิดบัญชี ทางบการเงิน รวบรวมสินทรัพย์ท้ังหมด ทวงถามหนี้จากลูกหนี้
จาหน่ายสินทรัพย์ของห้างหุ้นส่วน ชาระหน้ีสินแก่บุคคลภายนอก จ่ายคืนเงินกู้ผู้เป็นหุ้นส่วน
และจ่ายคืนทุน รวมถึงการจัดทางบชาระบัญชี (Statement of Partnership Realization and
Liquidation)
วิธีการชาระบัญชแี ละจา่ ยคืนทนุ มี 2 วิธี คอื
1. การชาระบญั ชีโดยจา่ ยคืนทนุ ครัง้ เดียว (Simple Liquidation)
2. การชาระบัญชีโดยจ่ายคืนทนุ เป็นงวด (Installment Liquidation)
แบบฝึกหดั ท่ี 6.1
จงตอบคาถามต่อไปนใ้ี ห้สมบูรณ์ (ขอ้ ละ 2 คะแนน)
1. จงบอกสาเหตุของการเลกิ หา้ งหุน้ ส่วน ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มา 5 ข้อ
............................................................................................................................. ........................................
.....................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................................
..................................................................................................................................... ................................
.....................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................................
2. การชาระบญั ชีหมายถึงอะไร
............................................................................................................................. ........................................
.....................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ........................................
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 6 การเลกิ หา้ งหุ้นส่วนและการชาระบญั ชี 304
2. การชาระบญั ชีโดยจา่ ยคืนทนุ คร้งั เดียว (Simple Liquidation)
2.1 การบันทึกบัญชีการชาระบญั ชกี รณีจ่ายคนื ทุนครง้ั เดียว
เม่ือห้างหุ้นส่วนเลิกกิจการจะต้องบันทึกรายการปรับปรุง ปิดบัญชีรายได้และค่าใช้จ่าย
เพอื่ หาผลกาไรขาดทุนของงวดบญั ชนี น้ั นับตง้ั แตว่ ันตน้ งวดบัญชีถึงวันเลิกกิจการและแบ่งผลกาไรขาดทุน
ให้ผู้เป็นหุ้นส่วนตามอัตราส่วนแบ่งกาไรขาดทุน และจัดทางบแสดงฐานะการเงินก่อนการชาระบัญชี
จากน้นั จึงดาเนินการชาระบัญชีตามขั้นตอน ตอ่ ไปนี้
1. นาสินทรัพย์ออกจาหนา่ ยและเรยี กเกบ็ เงนิ จากลูกหนี้ ผลตา่ งระหว่างจานวนเงนิ ท่ีได้รบั
และมลู ค่าตามบัญชขี องสนิ ทรพั ย์ท่ีจาหน่ายออกไป ใหบ้ ันทึกไว้ในบัญชีกาไรหรือขาดทุนจากการจาหน่าย
สินทรัพย์ (Gain or Loss on Realization Account) ซึ่งจะโอนปิดเข้าบัญชีทุนของผู้เป็นหุ้นส่วน
ตามอัตราสว่ นแบ่งกาไรขาดทนุ บันทึกบัญชีโดย
เดบิต เงนิ สด ××
คา่ เผ่ือหนีส้ งสัยจะสญู ××
ค่าเสอ่ื มราคาสะสม (ระบุประเภทสินทรพั ย์) ××
ทนุ -ผ้เู ปน็ หุ้นส่วน (กรณขี าดทนุ ) ××
เครดติ ลูกหนี้ ××
สินทรัพย์ (ระบปุ ระเภท) ××
ทนุ -ผู้เปน็ หุ้นสว่ น (กรณีกาไร) ××
2. จา่ ยคา่ ใชจ้ า่ ยในการชาระบญั ชี บนั ทึกบัญชีโดย
เดบิต ทุน-ผเู้ ปน็ หุ้นสว่ น ××
เครดติ เงินสด ××
3. ชาระหน้สี ินแก่บุคคลภายนอก บนั ทึกบัญชีโดย
เดบติ เจา้ หนี้ ××
เครดิต เงินสด ××
4. ชาระเงนิ กู้จากผู้เป็นหุ้นส่วน บันทึกบญั ชีโดย ××
××
เดบติ เงนิ กู้-ผูเ้ ปน็ หนุ้ ส่วน
เครดติ เงินสด
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 6 การเลกิ หา้ งหุ้นส่วนและการชาระบัญชี 305
5. จ่ายคนื ทุนใหแ้ กผ่ ู้เป็นหุ้นส่วนทมี่ ยี อดทุนคงเหลอื ดา้ นเครดติ เทา่ นั้น บนั ทกึ บญั ชีโดย
เดบติ ทนุ -ผเู้ ป็นหนุ้ ส่วน ××
เครดิต เงนิ สด ××
ถ้าบัญชีทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนคนใดมียอดคงเหลือด้านเดบิตหรือเรียกว่ามีส่วนขาด
ในบัญชที นุ จะต้องดาเนินการตามลาดบั ดังน้ี
1) ถ้าผู้เป็นหุ้นส่วนคนน้ันมีเงินให้ห้างหุ้นส่วนกู้ ให้โอนบัญชีเงินกู้มาชดเชย
ส่วนขาดในบัญชีทนุ ได้
2) ถ้าผู้เป็นหุ้นส่วนคนน้ันไม่มีเงินให้ห้างหุ้นส่วนกู้ หรือมีแต่ไม่พอชดเชยส่วนขาด
ในบัญชีทุนได้ท้ังหมด ส่วนที่ยังขาดอยู่เท่าใดจะต้องนาเงินสดมาชาระให้ห้างหุ้นส่วนจนกว่าจะครบถ้วน
หรือบัญชีทนุ ไม่มยี อดคงเหลือด้านเดบิตอกี ต่อไป
3) ถ้าผู้เป็นหุ้นส่วนคนนั้นฐานะการเงินไม่ดีและไม่สามารถชาระส่วนขาดในบัญชีทุนได้
จะต้องโอนบัญชีทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนคนอ่ืน ๆ มาชดเชยส่วนขาดนั้น โดยถือว่าเป็นผลขาดทุน
ท่ผี ู้เปน็ หนุ้ สว่ นที่เหลอื จะต้องร่วมรบั ความเสียหายเฉลยี่ ตามอตั ราส่วนแบง่ กาไรขาดทุน
สาหรับผู้เป็นหุ้นส่วนที่ลงทุนด้วยแรงงาน จะไม่มีสิทธิได้รับคืนทุนตามท่ีได้ตีราคาไว้
แต่จะไดร้ บั เฉพาะส่วนแบง่ กาไรหรือขาดทุนจากการชาระบัญชีเทา่ น้ัน
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 6 การเลิกหา้ งหุ้นส่วนและการชาระบัญชี 306
2.2 งบชาระบญั ชโี ดยจ่ายคนื ทุนครงั้ เดยี ว
เปน็ งบทีแ่ สดงถึงการชาระบัญชหี า้ งหุ้นส่วน โดยมีการจ่ายคนื ทุนให้แกผ่ เู้ ป็นห้นุ ส่วนครง้ั เดียว
หลงั จากจาหนา่ ยสินทรัพยไ์ ด้ทั้งหมด ซงึ่ จะแยกพิจารณาเปน็ 4 กรณี ดังนี้
กรณที ่ี 1 ผเู้ ป็นหนุ้ ส่วนทกุ คนมบี ญั ชีทนุ เพยี งพอรบั ผลขาดทนุ จากการจาหนา่ ยสนิ ทรัพย์
ตัวอย่างที่ 6.1 กัลยา กานดา และกิติยา เป็นหุ้นส่วน แบ่งกาไรขาดทุน 5 : 3 : 2 ตามลาดับ
เนื่องจากผลการดาเนนิ งานขาดทนุ มาหลายปี ผเู้ ปน็ หนุ้ ส่วนจึงตกลงเลิกกิจการในวันท่ี 31 ธันวาคม 2558
หลงั จากปดิ บญั ชกี าไรขาดทนุ ประจาปีแล้ว งบแสดงฐานะการเงนิ ของหา้ งหุ้นสว่ น แสดงดงั น้ี
ห้างหุน้ สว่ นจากดั มิตรดี
งบแสดงฐานะการเงนิ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
(หน่วย : บาท)
สินทรพั ย์ หนี้สินและส่วนของผู้เป็นหุ้นสว่ น
สินทรพั ย์หมนุ เวียน หนส้ี นิ หมุนเวียน
เงินสด 35,000 เจา้ หนกี้ ารคา้ 50,000
ลูกหนกี้ ารค้า 50,000 เงินกู้ – กัลยา 15,000
หัก คา่ เผ่อื หนสี้ งสัยจะสูญ 10,000 40,000 เงนิ กู้ – กานดา 10,000
สนิ ค้าคงเหลอื 62,000 ส่วนของผเู้ ป็นหนุ้ ส่วน
สนิ ทรพั ยไ์ มห่ มนุ เวียน ทนุ – กลั ยา 102,500
อาคาร 230,000 ทุน – กานดา 25,000
หกั ค่าเสือ่ มราคาสะสม 92,000 138,000 ทนุ – กติ ิยา 72,500
รวมสนิ ทรัพย์ 275,000 รวมหนสี้ ินและสว่ นของผ้เู ป็นหุ้นส่วน 275,000
มคี า่ ใช้จา่ ยในการชาระบัญชี 8,000 บาท ระหว่างเดอื นมกราคม 2559 ผู้ชาระบัญชีได้
จาหนา่ ยสินทรพั ยท์ ั้งสิน้ ดงั นี้
ม.ค. 1 เก็บเงนิ จากลกู หน้ไี ด้ 25,000 บาท
18 ขายสนิ ค้าคงเหลอื ได้ 30,000 บาท
25 ขายอาคารได้เงิน 140,000 บาท
งบชาระบัญชี และการบนั ทกึ รายการในสมุดรายวันทวั่ ไป แสดงดังนี้
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 6 การเลิกหา้ งหุ้นส่วนและการชาระบัญชี 307
ห้างหนุ้ สว่ นจากัดมติ รดี
งบชาระบัญชี
ณ วันที่ 31 มกราคม 2559
(หน่วย : บาท)
รายการ สินทรัพย์ หนส้ี นิ เงนิ กู้ กัลยา ทุน กิตยิ า
เงนิ สด สนิ ทรัพย์อื่น กัลยา กานดา กานดา
อัตราส่วนแบ่งกาไรขาดทุน 53 2
ยอดคงเหลือก่อนชาระบัญชี 35,000 240,000 50,000 15,000 10,000 102,500 25,000 72,500
(1) จาหนา่ ยสินทรพั ย์และแบ่งผลขาดทุน 195,000 (240,000) (22,500) (13,500) (9,000)
230,000 50,000 15,000 10,000 80,000 11,500 63,500
(2) จา่ ยค่าใช้จา่ ยในการชาระบัญชี (8,000) (4,000) (2,400) (1,600)
222,000 50,000 15,000 10,000 76,000 9,100 61,900
(3) จา่ ยชาระหนส้ี ินบุคคลภายนอก (50,000) (50,000)
172,000 15,000 10,000 76,000 9,100 61,900
(4) ชาระเงินกู้หุ้นส่วน (25,000) (15,000) (10,000)
147,000 76,000 9,100 61,900
(5) จา่ ยชาระคืนทุนผู้เป็นหุ้นส่วน (147,000) (76,000) (91,000) (61,900)
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 6 การเลกิ ห้างหุ้นส่วนและการชาระบญั ชี 308
การบนั ทกึ บญั ชี
สมดุ รายวนั ท่ัวไป หน้า 1
เครดติ
พ.ศ. 2559 รายการ เลขที่ เดบิต บาท สต.
เดอื น วนั บัญชี บาท สต.
50,000 -
ม.ค. 1 เงินสด 25,000 -
10,000 -
(1) ค่าเผื่อหนส้ี งสัยจะสูญ 7,500 -
4,500 -
ทนุ -กลั ยา (15,000 x 5/10) 3,000 -
ทุน-กานดา (15,000 x 3/10)
ทนุ -กิตยิ า (15,000 x 2/10)
ลูกหนี้การคา้
เก็บเงนิ จากลกู หน้ีและแบง่ ขาดทนุ
18 เงินสด 30,000 -
16,000 -
(1) ทุน-กัลยา (32,000 x 5/10)
9,600 -
ทนุ -กานดา (32,000 x 3/10) 6,400 -
ทุน-กิตยิ า (32,000 x 2/10)
สนิ คา้ คงเหลอื 62,000 -
ขายสนิ คา้ และแบง่ ผลขาดทนุ
25 เงนิ สด 140,000 -
92,000 -
(1) คา่ เสอ่ื มราคาสะสม – อาคาร
อาคาร 230,000 -
1,000 -
ทนุ -กลั ยา (2,000 x 5/10) 600 -
ทนุ -กานดา (2,000 x 3/10) 400 -
ทุน-กิตยิ า (2,000 x 2/10)
จาหนา่ ยอาคารและแบง่ กาไร
(2) ทุน-กลั ยา (8,000 x 5/10) 4,000 -
2,400 -
ทุน-กานดา (8,000 x 3/10) 1,600 -
ทนุ -กิตยิ า (8,000 x 2/10)
เงนิ สด 8,000 -
จา่ ยค่าใชจ้ ่ายในการชาระบัญชี
(3) เจ้าหนก้ี ารค้า 50,000 -
เงนิ สด 50,000 -
จ่ายชาระหนส้ี ินบคุ คลภายนอก
หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 6 การเลกิ หา้ งหุ้นส่วนและการชาระบัญชี 309
สมดุ รายวนั ทัว่ ไป หนา้ 2
พ.ศ. 2559 รายการ เลขที่ เดบติ เครดิต
เดอื น วัน
ม.ค. (4) เงินก-ู้ กัลยา บัญชี บาท สต. บาท สต.
เงินก-ู้ กานดา
(5) 15,000 -
เงนิ สด
จ่ายคืนเงนิ กหู้ ุน้ ส่วน 10,000 -
ทนุ -กลั ยา
ทนุ -กานดา 25,000 -
ทนุ -กติ ยิ า
76,000 -
เงินสด 9,100 -
จา่ ยเงินสดคนื ทุนหุ้นสว่ น
61,900 -
147,000 -
การคานวณกาไรขาดทนุ จากการจาหนา่ ยสินทรพั ย์
ราคาตามบัญชีของสนิ ทรัพย์ไมร่ วมเงินสด (275,000 – 35,000) = 240,000 บาท
หัก ราคาจาหนา่ ยของสนิ ทรพั ยท์ ี่ไม่ใช่เงินสด = 195,000 บาท
= 45,000 บาท
ลูกหนี้ 25,000
สินคา้ คงเหลือ 30,000
อาคาร 140,000
ขาดทุนจากการจาหนา่ ยสินทรัพย์
การแบ่งผลขาดทนุ จากการจาหนา่ ยสินทรัพย์ ให้หนุ้ สว่ นตามอัตราส่วน 5 : 3 : 2
ทนุ – กัลยา (45,000 x 5/10) = 22,500 บาท
ทนุ – กานดา (45,000 x 3/10) = 13,500 บาท
ทุน – กิติยา (45,000 x 2/10) = 9,000 บาท
รวม = 45,000 บาท
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 6 การเลกิ ห้างหุ้นส่วนและการชาระบญั ชี 310
กรณที ่ี 2 ผ้เู ปน็ หนุ้ สว่ นมบี ัญชีทนุ ไมเ่ พยี งพอรบั ผลขาดทุนจากการจาหนา่ ยสนิ ทรพั ย์ แต่มบี ญั ชเี งนิ กู้
ตัวอยา่ งที่ 6.2 จากตัวอย่างท่ี 6.1 ถา้ ขายสินทรัพย์และเกบ็ เงนิ จากลกู หนี้ได้ 152,000 บาท
การคานวณกาไรขาดทุนจากการจาหนา่ ยสนิ ทรัพย์
ราคาตามบญั ชขี องสนิ ทรพั ย์ไมร่ วมเงินสด = 240,000 บาท
บาท
หัก ราคาจาหน่ายของสินทรพั ย์ทไ่ี มใ่ ช่เงนิ สด = 152,000 บาท
ขาดทนุ จากการจาหนา่ ยสินทรัพย์ = 88,000 บาท
บาท
การแบง่ ผลขาดทุนจากการจาหน่ายสินทรพั ย์ ให้หนุ้ สว่ นตามอัตราส่วน 5 : 3 : 2 บาท
บาท
ทุน – กัลยา (88,000 x 5/10) = 44,000
ทนุ – กานดา (88,000 x 3/10) = 26,400
ทุน – กิตยิ า (88,000 x 2/10) = 17,600
รวม = 88,000
งบชาระบญั ชีและการบันทึกรายการในสมดุ รายวนั ท่วั ไป แสดงดงั น้ี
หา้ งห้นุ สว่ นจากดั มิตรดี
งบชาระบัญชี
ณ วันที่ 31 มกราคม 2559
(หนว่ ย : บาท)
รายการ สินทรัพย์ หนสี้ ิน เงนิ กู้ กัลยา ทุน กิตยิ า
เงนิ สด สินทรัพย์อ่ืน กัลยา กานดา กานดา
อัตราส่วนแบ่งกาไรขาดทุน 53 2
ยอดคงเหลือก่อนชาระบัญชี 35,000 240,000 50,000 15,000 10,000 102,500 25,000 72,500
(1) จาหนา่ ยสินทรพั ย์และแบ่งผลขาดทุน 152,000 (240,000) (44,000) (26,400) (17,600)
187,000 50,000 15,000 10,000 58,500 (1,400) 54,900
(2) จา่ ยค่าใช้จา่ ยในการชาระบัญชี (8,000) (4,000) (2,400) (1,600)
179,000 50,000 15,000 10,000 54,500 (3,800) 53,300
(3) จา่ ยชาระหนส้ี ินบุคคลภายนอก (50,000) (50,000)
129,000 15,000 10,000 54,500 (3,800) 53,300
(4) โอนเงินกู้ชาระทุนเดบิตของกานดา (3,800) 3,800
129,000 15,000 6,200 54,500 53,300
(5) ชาระเงินกู้หุ้นส่วน 21,200 (15,000) (6,200)
107,800 54,500 53,300
(6) จา่ ยชาระคืนทุนผู้เป็นหุ้นส่วน (107,800) (54,500) (53,300)
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 6 การเลิกหา้ งหุ้นส่วนและการชาระบัญชี 311
การบนั ทกึ บัญชี
สมดุ รายวันท่วั ไป หน้า 1
เครดติ
พ.ศ. 2559 รายการ เลขที่ เดบติ บาท สต.
เดอื น วนั บัญชี
บาท สต. 50,000 -
ม.ค. 31 เงนิ สด 62,000 -
152,000 - 230,000 -
(1) คา่ เผอ่ื หน้ีสงสัยจะสูญ 10,000 -
92,000 -
ค่าเสอ่ื มราคาสะสม – อาคาร 44,000 -
26,400 -
ทนุ -กัลยา 17,600 -
ทนุ -กานดา
ทนุ -กติ ยิ า
ลกู หน้ีการค้า
สนิ ค้าคงเหลือ
อาคาร
จาหน่ายสินทรพั ย์และแบง่ ขาดทนุ
(2) ทนุ -กัลยา (8,000 x 5/10) 4,000 -
2,400 -
ทนุ -กานดา (8,000 x 3/10)
1,600 -
ทุน-กติ ยิ า (8,000 x 2/10)
เงนิ สด 8,000 -
จา่ ยคา่ ใชจ้ ่ายในการชาระบญั ชี
(3) เจ้าหนกี้ ารค้า 50,000 -
เงินสด 50,000 -
จ่ายชาระหนส้ี ินบุคคลภายนอก
(4) เงินก-ู้ กานดา 3,800 -
ทนุ -กานดา 3,800 -
โอนเงนิ กู้กานดาชดเชยทุนเดบติ
(5) เงินก-ู้ กานดา 6,200 -
15,000 -
เงินก-ู้ กัลยา
เงินสด 21,200 -
จา่ ยชาระเงนิ กหู้ นุ้ ส่วน
(6) ทุน-กัลยา 54,500 -
53,300 -
ทุน-กิติยา
เงินสด 107,800 -
จา่ ยคนื ทนุ หุ้นส่วน
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 6 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชาระบัญชี 312
กรณที ่ี 3 ผลขาดทนุ จากการจาหนา่ ยสนิ ทรพั ย์ มียอดเกนิ บัญชีทนุ และเงนิ กูข้ องผเู้ ป็นหุน้ สว่ นบางคน
ห ลั ง จ า ก ก า ร จ า ห น่ า ย สิ น ท รั พ ย์ ท่ี ไ ม่ ใ ช่ เ งิ น ส ด แ ล ะ จ่ า ย ค่ า ใ ช้ จ่ า ย ใ น ก า ร ช า ร ะ บั ญ ชี แ ล้ ว
มีผู้เป็นหุ้นส่วนบางคนมีบัญชีทุนคงเหลือทางด้านเดบิต และผู้เป็นหุ้นส่วนดังกล่าวมีบัญชีเงินกู้
ไม่เพียงพอท่ีจะชดเชยบัญชีทุนด้านเดบิตได้ ผู้เป็นหุ้นส่วนต้องนาสินทรัพย์ส่วนตัวมาชาระคืนทุน
ทางด้านเดบิต แบ่งเป็น 3 กรณี ดังน้ี
3.1 ผเู้ ป็นหุ้นสว่ นมีสินทรัพย์ส่วนตวั เพียงพอทช่ี าระคืนทุนด้านเดบติ
ตวั อยา่ งที่ 6.3 จากตวั อยา่ งที่ 6.1 ถ้าเกบ็ เงนิ จากลกู หน้แี ละจาหน่ายสินทรัพย์ได้ 120,000 บาท
เกิดผลขาดทนุ (240,000 – 120,000) = 120,000 บาท แบ่งผลขาดทุน ดงั น้ี
ทนุ – กลั ยา (120,000 x 5/10) = 60,000 บาท
ทนุ – กานดา (120,000 x 3/10) = 36,000 บาท
ทนุ – กติ ยิ า (120,000 x 2/10) = 24,000 บาท
งบชาระบญั ชีและการบนั ทกึ รายการในสมุดรายวันทั่วไป แสดงดงั นี้
หา้ งหนุ้ สว่ นจากดั มติ รดี
งบชาระบัญชี
ณ วันท่ี 31 มกราคม 2559
(หนว่ ย : บาท)
รายการ สินทรัพย์ หนส้ี นิ เงนิ กู้ กัลยา ทุน กิตยิ า
อัตราส่วนแบ่งกาไรขาดทุน เงนิ สด สินทรัพย์อ่ืน กัลยา กานดา กานดา
ยอดคงเหลือก่อนชาระบัญชี
(1) จาหนา่ ยสินทรพั ย์และแบ่งผลขาดทุน 53 2
(2) จา่ ยค่าใช้จา่ ยในการชาระบัญชี 35,000 240,000 50,000 15,000 10,000 102,500 25,000 72,500
(3) จา่ ยชาระหนสี้ ินบุคคลภายนอก 120,000 (240,000) (60,000) (36,000) (24,000)
(4) กานดาโอนเงินกู้ชาระทุนด้านเดบิต 155,000 50,000 15,000 10,000 42,500 (11,000) 48,500
(5) กานดานาเงินสดมาชาระทุนเดบิต (8,000) (4,000) (2,400) (1,600)
(6) ชาระเงินกู้กัลยา 147,000 50,000 15,000 10,000 38,500 (13,400) 46,900
(7) จา่ ยชาระคืนทุนผู้เป็นหุ้นส่วน (50,000) (50,000)
97,000 15,000 10,000 38,500 (13,400) 46,900
(10,000) 10,000
97,000 15,000 38,500 (3,400) 46,900
3,400 3,400
100,400 15,000 38,500 46,900
(15,000) (15,000)
85,400 38,500 46,900
(85,400) (38,500) (46,900)
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 6 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชาระบญั ชี 313
การบนั ทึกบัญชี
สมดุ รายวนั ทว่ั ไป หนา้ 1
เครดิต
พ.ศ. 2559 รายการ เลขท่ี เดบติ บาท สต.
เดอื น วัน บัญชี
บาท สต. 50,000 -
ม.ค. 1 เงินสด 62,000 -
120,000 - 230,000 -
(1) คา่ เผื่อหน้ีสงสยั จะสูญ 10,000 -
92,000 -
คา่ เส่อื มราคาสะสม – อาคาร 60,000 -
36,000 -
ทนุ -กัลยา (120,000 x 5/10) 24,000 -
ทนุ -กานดา (120,000 x 3/10)
ทุน-กิติยา (120,000 x 2/10)
ลกู หนี้การคา้
สินค้าคงเหลอื
อาคาร
จาหนา่ ยสินทรพั ยม์ ผี ลขาดทุน
ม.ค. 31 ทุน-กลั ยา (8,000 x 5/10) 4,000 -
2,400 -
(2) ทุน-กานดา (8,000 x 3/10)
1,600 -
ทนุ -กิติยา (8,000 x 2/10)
เงนิ สด 8,000 -
จ่ายคา่ ใชจ้ ่ายในการชาระบญั ชี
(3) เจ้าหนกี้ ารคา้ 50,000 -
เงินสด 50,000 -
จา่ ยชาระหนสี้ นิ
(4) เงนิ ก-ู้ กานดา 10,000 -
ทุน-กานดา 10,000 -
โอนเงินกูช้ ดเชยส่วนขาดในบัญชที ุน
(5) เงนิ สด 3,400 -
ทุน-กานดา 3,400 -
กานดาชาระสว่ นขาดในบญั ชีทุน
(6) เงินก-ู้ กัลยา 15,000 -
เงนิ สด 15,000 -
จ่ายคนื เงินกกู้ ลั ยา
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 6 การเลกิ หา้ งหุ้นส่วนและการชาระบัญชี 314
สมดุ รายวนั ทั่วไป หน้า 2
พ.ศ. 2559 รายการ เลขท่ี เดบิต เครดิต
เดอื น วนั
บัญชี บาท สต. บาท สต.
ม.ค. 31 ทุน-กลั ยา 38,500 -
(7) ทนุ -กิติยา 46,900 -
เงนิ สด 85,400 -
จา่ ยคืนทนุ หนุ้ ส่วน
3.2 ผ้เู ป็นหุ้นสว่ นมีสนิ ทรัพยส์ ่วนตัวไมพ่ อชาระทนุ ด้านเดบติ ผูเ้ ป็นหุ้นส่วนท่ีมบี ัญชีทุนเครดติ
ตอ้ งรบั ผิดชอบ
ตัวอยา่ งที่ 6.4 จากตวั อยา่ งท่ี 6.1 ถา้ กานดามฐี านะการเงินไม่ดี ไมส่ ามารถนาเงินสดมาชาระ
ส่วนขาดในบัญชที ุนได้ ถอื เปน็ ผลขาดทนุ เฉลยี่ เข้าบญั ชที ุนของกลั ยาและกิติยา ดังนี้
ทนุ – กัลยา (3,400 x 5/7) = 2,429 (ปัดเศษ)
ทนุ – กติ ยิ า (3,400 x 2/7) = 971 (ปัดเศษ)
งบชาระบญั ชแี ละการบนั ทึกรายการในสมุดรายวนั ทวั่ ไป แสดงดงั นี้
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 6 การเลิกหา้ งหุ้นส่วนและการชาระบญั ชี 315
หา้ งหุน้ ส่วนจากัดมิตรดี
งบชาระบญั ชี
ณ วันที่ 31 มกราคม 2559
(หนว่ ย : บาท)
รายการ สนิ ทรัพย์ หนสี้ นิ เงนิ กู้ กัลยา ทุน กิตยิ า
อัตราส่วนแบ่งกาไรขาดทุน เงนิ สด สินทรัพย์อ่ืน กัลยา กานดา กานดา
ยอดคงเหลือก่อนชาระบัญชี
(1) จาหนา่ ยสินทรพั ย์และแบ่งผลขาดทุน 53 2
(2) จา่ ยค่าใช้จา่ ยในการชาระบัญชี 35,000 240,000 50,000 15,000 10,000 102,500 25,000 72,500
(3) จา่ ยชาระหนส้ี ินบุคคลภายนอก 120,000 (240,000) (60,000) (36,000) (24,000)
(4) กานดาโอนเงินกู้ชาระทุนด้านเดบิต 155,000 50,000 15,000 10,000 42,500 (11,000) 48,500
(5) กัลยาและกิติยารบั โอนทุนกานดา (8,000) (4,000) (2,400) (1,600)
(6) ชาระเงินกู้กัลยา 147,000 50,000 15,000 10,000 38,500 (13,400) 46,900
(7) จา่ ยชาระคืนทุนผู้เป็นหุ้นส่วน (50,000) (50,000)
97,000 15,000 10,000 38,500 (13,400) 46,900
(10,000) 10,000
97,000 15,000 38,500 (3,400) 46,900
(2,429) 3,400 (971)
97,000 15,000 36,071 45,929
(15,000) (15,000)
82,000 36,071 45,929
(82,000) (36,071) (45,929)
การบนั ทึกรายการท่ี (1) – (4) เหมือนตัวอย่างท่ี 6.3 รายการตอ่ ไปการบันทึกบญั ชี เป็นดงั นี้
สมุดรายวนั ทัว่ ไป หน้า 2
พ.ศ. 2559 รายการ เลขที่ เดบิต เครดติ
เดือน วัน
บัญชี บาท สต. บาท สต.
ม.ค. 31 ทนุ -กัลยา 2,429 -
(5) ทุน-กิตยิ า 971 -
ทุน-กานดา 3,400 -
กัลยาและกติ ิยารบั โอนทนุ กานดา
(6) เงนิ ก-ู้ กลั ยา 15,000 -
เงินสด 15,000 -
จ่ายคนื เงนิ กกู้ ลั ยา
(7) ทุน-กัลยา 36,071 -
ทนุ -กิตยิ า 45,929 -
ทุน-กานดา 82,000 -
จา่ ยคนื ทุนหุ้นส่วน
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 6 การเลกิ หา้ งหุ้นส่วนและการชาระบัญชี 316
3.3 ผเู้ ป็นหุ้นสว่ นมีสินทรพั ยส์ ่วนตัวไม่พอชาระทุนดา้ นเดบติ ห้างหุ้นสว่ นตกลงรอจนกว่า
ผูเ้ ป็นหุ้นส่วนจะมีเงินมาชาระ และให้จา่ ยคนื ทุนบางส่วนก่อน
ตวั อยา่ งที่ 6.5 จากตัวอย่างที่ 6.1 หากผู้เป็นหุ้นส่วนตกลงที่จะรอจนกว่ากานดานาเงินสด
มาชาระบญั ชีทุนด้านเดบติ จานวน 3,400 บาท ดังนนั้ จงึ ตกลงจา่ ยคนื ทนุ บางสว่ นให้แกก่ ัลยาและกติ ยิ า
โดยคานงึ ถึงผลขาดทุนที่อาจเกดิ ขนึ้ หากกานดาไมน่ าเงนิ มาชาระ
หา้ งหนุ้ ส่วนจากดั มติ รดี
การคานวณเงินท่ีจะจา่ ยคืนให้ผ้เู ป็นหุ้นสว่ น
ณ วันท่ี 31 มกราคม 2559
(หนว่ ย : บาท)
รายการ ทนุ -กัลยา ทุน-กานดา ทุน-กิตยิ า
ยอดคงเหลอื กอ่ นจ่ายคืนทนุ 38,500 (3,400) 46,900
บวก เงินกู้ 15,000
รวม 53,500 (3,400) 46,900
หกั ผลขาดทนุ หากกานดาไมน่ าเงินมาชาระทนุ เดบติ (2,429) 3,400 (971)
ยอดคงเหลือที่จา่ ยคืนทนุ กลั ยาและกติ ิยา 51,071 45,929
ผลขาดทนุ เฉล่ยี เข้าบญั ชที นุ ของกลั ยาและกติ ิยา ดังน้ี
ทุน – กลั ยา (3,400 x 5/7) = 2,429 (ปดั เศษ)
ทนุ – กิตยิ า (3,400 x 2/7) = 971 (ปดั เศษ)
กลั ยาไดร้ บั คนื ทนุ 51,071 บาท แบง่ เป็นเงินกู้ 15,000 บาท และทนุ 36,071 บาท
งบชาระบัญชแี ละการบันทกึ รายการในสมุดรายวนั ทวั่ ไป แสดงดังนี้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การเลิกหา้ งหุ้นส่วนและการชาระบญั ชี 317
หา้ งหุ้นส่วนจากดั มติ รดี
งบชาระบญั ชี
ณ วันท่ี 31 มกราคม 2559
(หนว่ ย : บาท)
รายการ สนิ ทรัพย์ หนสี้ นิ เงนิ กู้ กัลยา ทุน กิตยิ า
อัตราส่วนแบ่งกาไรขาดทุน เงนิ สด สินทรัพย์อ่ืน กัลยา กานดา กานดา
ยอดคงเหลือก่อนชาระบัญชี
(1) จาหนา่ ยสินทรพั ย์และแบ่งผลขาดทุน 53 2
(2) จา่ ยค่าใช้จา่ ยในการชาระบัญชี 35,000 240,000 50,000 15,000 10,000 102,500 25,000 72,500
(3) จา่ ยชาระหนส้ี ินบุคคลภายนอก 120,000 (240,000) (60,000) (36,000) (24,000)
(4) กานดาโอนเงินกู้ชาระทุนด้านเดบิต 155,000 50,000 15,000 10,000 42,500 (11,000) 48,500
(5) จา่ ยคืนทุนกัลยาและกิติยาบางส่วน (8,000) (4,000) (2,400) (1,600)
(6) กานดานาเงินสดมาชาระทุนเดบิต 147,000 50,000 15,000 10,000 38,500 (13,400) 46,900
(7) จา่ ยชาระคืนทุนผู้เป็นหุ้นส่วน (50,000) (50,000)
97,000 15,000 10,000 38,500 (13,400) 46,900
(10,000) 10,000
97,000 15,000 38,500 (3,400) 46,900
(97,000) (15,000) (36,071) (45,929)
2,429 (3,400) 971
3,400 3,400
3,400 2,429 971
(3,400) (2,429) (971)
การบันทึกรายการในสมดุ รายวนั ทวั่ ไปตงั้ แตจ่ าหนา่ ยสนิ ทรพั ย์ เกบ็ เงินจากลกู หน้ี จนถึงโอนเงนิ กู้
ชาระทุนเดบิตเหมือนตวั อยา่ งที่ 6.4 ตามรายการท่ี (1) – (4) ในทีน่ จี้ ะบันทึกรายการต้ังแต่จ่ายคนื ทนุ กลั ยา
และกติ ยิ าบางสว่ น
การบันทกึ บัญชี
สมุดรายวนั ทว่ั ไป หน้า 2
พ.ศ. 2559 รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต
เดอื น วัน
บญั ชี บาท สต. บาท สต.
ม.ค. 31 เงินก-ู้ กลั ยา 15,000 -
(5) ทุน-กลั ยา 36,071 -
ทุน-กติ ิยา 45,929 -
เงินสด 97,000 -
จ่ายคนื เงนิ กู้และเงนิ ทุน
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 6 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชาระบญั ชี 318
พ.ศ. 2559 สมดุ รายวนั ท่ัวไป เลขที่ เดบติ หน้า 2
เดอื น วนั บัญชี บาท สต. เครดติ
ม.ค. 31 รายการ บาท สต.
3,400 -
(6) เงินสด 3,400 -
ทนุ -กานดา
(7) 2,429 -
กานดานาเงนิ สดมาชาระทุนเดบติ 971 -
ทนุ -กัลยา
ทุน-กิตยิ า 3,400 -
เงินสด
จา่ ยคืนทุนกลั ยาและกติ ิยา
กรณที ี่ 4 หา้ งหนุ้ ส่วนมีเงินสดไม่เพียงพอชาระหน้ีสิน
กรณีท่ีห้างหุ้นส่วนนาสินทรัพย์ออกจาหน่ายทั้งหมดแล้ว มีผลขา ดทุนเกิดขึ้นจานวนมาก
ทาให้หา้ งหนุ้ ส่วนอาจมีเงินสดไม่พอชาระหน้ีสิน ซ่ึงเจ้าหนี้ของห้างหุ้นส่วนสามารถฟ้องบังคับให้ชาระหน้ี
จากสินทรพั ย์ส่วนตวั ของผู้เปน็ หุ้นสว่ น ไดด้ งั นี้
1. ถ้าเป็นหุ้นส่วนประเภทไม่จากัดความรับผิด เจ้าหน้ีของห้างหุ้นส่วนสามารถบังคับให้ชาระหน้ี
จากสินทรัพย์ส่วนตัวของผู้เป็นหุ้นส่วนประเภทน้ีได้โดยไม่จากัดจานวน หุ้นส่วนคนใดที่จ่ายชาระหน้ีสิน
แทนห้างหนุ้ สว่ นไปกอ่ นจะได้รับคนื ตอ่ เมื่อห้นุ สว่ นทีม่ ยี อดทนุ เดบติ นาเงนิ มาชาระคืนหา้ งหุ้นส่วน
2. ถ้าเป็นหุ้นส่วนประเภทจากัดความรับผิด เจ้าหนี้ของห้างหุ้นส่วนสามารถบังคับให้ชาระหนี้
จากสินทรัพย์ของผู้เป็นหุ้นส่วนประเภทนี้เพียงเงินทุนที่ลงทุนในห้างหุ้นส่วนเฉพาะส่วนที่ยังไม่ได้ชาระ
ให้ห้างหุน้ สว่ นเท่านน้ั
ห้างหนุ้ ส่วนมีเงนิ สดไมเ่ พียงพอชาระหนี้สนิ แยกพจิ ารณาเป็น 2 กรณี คอื
1. ผู้เปน็ ห้นุ สว่ นทกุ คนมีฐานะการเงนิ ดีสามารถใชห้ น้แี ทนห้างห้นุ ส่วนได้
2. ผเู้ ป็นหุน้ ส่วนบางคนมีหนส้ี ินล้นพน้ ตัว
หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 6 การเลกิ ห้างหุ้นส่วนและการชาระบญั ชี 319
ตวั อย่างท่ี 6.6 สมพิศ สมพลและสมพร ดาเนนิ กจิ การหา้ งหุน้ ส่วนจากัดไทยรงุ่ มาเป็นระยะเวลาหลายปี
แบ่งกาไรขาดทุนในอัตรา 20% 30% และ 50% ตามลาดับ ผู้เปน็ หนุ้ สว่ นตกลงเลกิ กจิ การและชาระบัญชี
ในวันท่ี 1 มกราคม 2558 งบแสดงฐานะการเงนิ ของห้างหนุ้ สว่ นในวนั เลกิ กจิ การ แสดงดังน้ี
ห้างหุ้นส่วนจากัดไทยร่งุ
งบแสดงฐานะการเงิน
ณ วันท่ี 1 มกราคม 2558
(หนว่ ย : บาท)
สินทรพั ย์ หนส้ี นิ และส่วนของผเู้ ป็นหนุ้ ส่วน
สนิ ทรพั ยห์ มุนเวียน หนสี้ ินหมุนเวียน
เงนิ สด 36,050 เจ้าหนก้ี ารคา้ 507,500
ลูกหนกี้ ารคา้ 409,500 เงนิ ก-ู้ สมพร 280,000
หกั ค่าเผอื่ หนส้ี งสัยจะสูญ 20,475 389,025 สว่ นของผเู้ ป็นหุ้นสว่ น
สนิ คา้ คงเหลือ 1,301,300 ทนุ -สมพศิ 262,500
สินทรพั ยไ์ ม่หมนุ เวยี น ทนุ -สมพล 749,000
อุปกรณส์ านักงาน 770,000 ทนุ -สมพร 245,000
หัก คา่ เสื่อมราคาสะสม 396,375 373,625 กระแสทนุ -สมพิศ 52,500
กระแสทนุ -สมพล (66,500)
กระแสทุน-สมพร 70,000
รวมสนิ ทรพั ย์ 2,100,000 รวมหนีส้ ินและส่วนของผเู้ ป็นหุ้นส่วน 2,100,000
ขอ้ มูลเพ่มิ เติม
1. สมพิศเปน็ หุ้นสว่ นประเภทจากดั ความรบั ผิด
2. สมพลและสมพรเป็นหุ้นสว่ นประเภทไมจ่ ากัดความรบั ผิด
1. ผ้เู ป็นหุ้นส่วนทุกคนมีฐานะการเงนิ ดสี ามารถใชห้ นแี้ ทนห้างหุ้นส่วนได้
ฐานะการเงินส่วนตัวของหนุ้ ส่วน ณ วันที่ 1 มกราคม 2558 มดี ังนี้
หุ้นสว่ น สนิ ทรพั ย์ หนี้สิน
สมพิศ 315,000 140,000
สมพล 525,000 245,000
สมพร 350,000 50,000
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 6 การเลกิ หา้ งหุ้นส่วนและการชาระบญั ชี 320
ห้างหนุ้ ส่วนจาหนา่ ยสินทรพั ย์ได้ทงั้ หมด แล้วหักค่าใช้จ่ายการชาระบญั ชีเปน็ เงนิ 393,470 บาท
การคานวณกาไรขาดทนุ จากการจาหน่ายสนิ ทรพั ย์
ราคาตามบัญชีของสนิ ทรัพยท์ ไ่ี ม่ใชเ่ งินสด = 2,063,950 บาท
หัก จาหนา่ ยสินทรพั ย์ได้เงิน = 393,470 บาท
ขาดทุนจากการจาหนา่ ยสินทรัพย์ = 1,670,480 บาท
การแบ่งผลขาดทุนตามอัตราสว่ น 20% 30% และ 50% ดงั นี้
ทนุ – สมพิศ (1,670,480 x 20%) = 334,096 บาท
ทนุ – สมพล (1,670,480 x 30%) = 501,144 บาท
ทนุ – สมพร (1,670,480 x 50%) = 835,240 บาท
งบชาระบัญชแี ละการบันทึกรายการในสมดุ รายวนั ทั่วไป แสดงดงั นี้
หา้ งหนุ้ สว่ นจากัดไทยรุ่ง
งบชาระบัญชี
ณ วันที่ 31 มกราคม 2558
(หน่วย : บาท)
รายการ สนิ ทรัพย์ หนสี้ ิน เงนิ กู้ สมพศิ ทุน สมพร
อัตราส่วนแบ่งกาไรขาดทุน เงนิ สด สินทรัพย์อ่ืน สมพร สมพล
ยอดคงเหลือก่อนชาระบัญชี
จาหนา่ ยสินทรพั ย์และแบ่งผลขาดทุน 20% 30% 50%
จา่ ยชาระหน้ี 36,050 2,063,950 507,500 280,000 315,000 682,500 315,000
โอนเงินกู้สมพรชาระทุนเดบิต 393,470 (2,063,950) (334,096) (501,144) (835,240)
โอนทุนสมพร สมพลเข้าบัญชีทุนสมพศิ 429,520 507,500 280,000 (19,096) 181,356 (520,240)
สมพรนาเงินมาชาระทุนเดบิต (429,520) (429,520)
ชาระหนส้ี ิน 77,980 280,000 (19,096) 181,356 (520,240)
จา่ ยชาระคืนทุนผู้เป็นหุ้นส่วน (280,000) 280,000
77,980 (19,096) 181,356 (240,240)
19,096 (7,161) (11,935)
77,980 174,195 (252,175)
252,175 252,175
252,175 77,980 174,195
(77,980) (77,980)
174,195 174,195
(174,195) (174,195)
หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 6 การเลิกหา้ งหุ้นส่วนและการชาระบญั ชี 321
การบนั ทกึ บญั ชี
สมุดรายวนั ทัว่ ไป หน้า 1
เครดติ
พ.ศ. 2558 รายการ เลขที่ เดบติ บาท สต.
เดอื น วัน บญั ชี บาท สต.
66,500 -
ม.ค. 31 กระแสทนุ -สมพศิ 52,500 - 52,500 -
70,000 - 70,000 -
(1) กระแสทุน-สมพร 66,500 -
ทุน-สมพล
กระแสทุน-สมพล
ทุน-สมพศิ
ทนุ -สมพร
ปิดบัญชกี ระแสทุนเขา้ บญั ชีทนุ
(2) เงนิ สด 393,470 -
20,475 -
คา่ เผื่อหนส้ี งสยั จะสญู
396,375 -
คา่ เสือ่ มราคาสะสม-อุปกรณ์สานักงาน 334,096 -
501,144 -
ทนุ -สมพิศ
835,240 -
ทนุ -สมพล 409,500 -
ทนุ -สมพร 1,301,300 -
ลกู หน้ีการคา้ 770,000 -
สนิ คา้ คงเหลือ
อุปกรณส์ านกั งาน
จาหน่ายสินทรพั ย์ เก็บเงนิ จากลกู หนี้
มีผลขาดทุน
(4) เจ้าหนก้ี ารค้า 429,520 -
เงนิ สด 280,000 - 429,520 -
280,000 -
จา่ ยชาระหนี้สนิ 7,161 - 19,096 -
11,935 -
(5) เงินก-ู้ สมพร
ทนุ -สมพร
โอนเงนิ กูช้ ดเชยทุนเดบติ
(6) ทนุ -สมพล (19,096 x 3/8)
ทนุ -สมพร (19,096 x 5/8)
ทุน-สมพิศ
โอนทุนสมพลและสมพรเขา้ ทุนสมพิศ
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 6 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชาระบัญชี 322
สมดุ รายวนั ท่วั ไป หน้า 2
พ.ศ. 2558 รายการ เลขที่ เดบิต เครดติ
เดือน วนั
บญั ชี บาท สต. บาท สต.
ม.ค. 31 เงนิ สด 252,175 -
(7) ทนุ -สมพร 252,175 -
สมพรนาเงินมาชาระทนุ เดบติ
(8) เจา้ หน้ีการคา้ 77,980 -
เงินสด 77,980 -
จ่ายชาระหนส้ี ินส่วนทยี่ ังเหลอื อยู่
(9) ทุน-สมพล 174,195 -
เงินสด 174,195 -
จ่ายคนื ทนุ สมพล
2. ผู้เป็นหุ้นสว่ นบางคนมีหนสี้ ินล้นพ้นตัว
จากตัวอย่าง 6.6 หากฐานะการเงนิ ส่วนตัวของหนุ้ สว่ น ณ 1 มกราคม 2558 มีดงั นี้
ผเู้ ป็นหุ้นส่วน สนิ ทรพั ย์ หน้ีสิน
สมพศิ 315,000 140,000
สมพล 525,000 245,000
สมพร 210,000 350,000
ห้างห้นุ ส่วนจาหน่ายสินทรพั ยไ์ ดท้ ั้งหมดหลงั หกั ค่าใชจ้ า่ ยในการชาระบัญชเี ป็นเงนิ 393,470 บาท
การท่ีสมพลมีหน้ีสินส่วนตัวและยังต้องใช้หน้ีสินให้ห้างหุ้นส่วน ต้องพิจารณาว่าเจ้าหนี้ฝ่ายใด
จะมสี ทิ ธิบงั คับหนเ้ี อาจากสินทรพั ย์ส่วนตวั โดยตอ้ งยึดตามกฎหมาย ดังน้ี
(1) ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
เจา้ หนส้ี ่วนตวั ย่อมมสี ทิ ธิบงั คับหนี้จากสนิ ทรัพย์ของผู้เป็นหนุ้ ส่วนได้กอ่ น ดงั นน้ั ในกรณี
ทีผ่ ูเ้ ป็นหนุ้ สว่ นมหี นส้ี ินลน้ พ้นตวั จงึ ไม่มสี ินทรัพยส์ ่วนตวั เหลือทจี่ ะนามาชาระสว่ นขาดในบญั ชีทนุ ของตนได้
ถือเป็นผลขาดทุนเฉลย่ี เข้าบญั ชีทนุ ของผเู้ ปน็ หุ้นส่วนทเี่ หลือ
หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 6 การเลิกหา้ งหุ้นส่วนและการชาระบญั ชี 323
ห้างห้นุ สว่ นจากดั ไทยรุ่ง
งบชาระบญั ชี
ณ วันที่ 31 มกราคม 2558
(หนว่ ย : บาท)
รายการ สนิ ทรัพย์ หนส้ี ิน เงนิ กู้ สมพศิ ทุน สมพร
อัตราส่วนแบ่งกาไรขาดทุน เงนิ สด สนิ ทรัพย์อื่น สมพร สมพล
ยอดคงเหลือก่อนชาระบัญชี
จาหนา่ ยสินทรพั ย์และแบ่งผลขาดทุน 20% 30% 50%
จา่ ยชาระหน้ี 36,050 2,063,950 507,500 280,000 315,000 682,500 315,000
โอนเงินกู้สมพรชาระทุนเดบิต 393,470 (2,063,950) (334,096) (501,144) (835,240)
โอนทุนสมพร สมพลเข้าบัญชีทุนสมพิศ 429,520 507,500 280,000 (19,096) 181,356 (520,240)
สมพลชาระหนแ้ี ทนห้าง (429,520) (429,520)
โอนส่วนขาดในบัญชีสมพรให้สมพล 77,980 280,000 (19,096) 181,356 (520,240)
(280,000) 280,000
77,980 (19,096) 181,356 (240,240)
19,096 (7,161) (11,935)
77,980 174,195 (252,175)
(77,980) 77,980
252,175 (252,175)
(252,175) 252,175
การบันทึกรายการในสมุดรายวันท่ัวไป รายการโอนปิดบัญชีกระแสทุนเข้าบัญชีทุนจนถึง
รายการโอนทุนสมพร สมพลเข้าบัญชีสมพิศ รายการที่ (1) ถึง (6) เหมือนตัวอย่างท่ี 6.6
กรณที ี่ 1 หนุ้ ส่วนมฐี านะการเงนิ ดี ส่วนรายการตอ่ ไปจะเป็นดงั นี้
การบันทึกบัญชี
สมดุ รายวนั ท่ัวไป หนา้ 2
พ.ศ. 2558 รายการ เลขท่ี เดบติ เครดติ
เดอื น วนั
บญั ชี บาท สต. บาท สต.
ม.ค. 31 เจา้ หนี้การค้า 77,980 -
ทุน-สมพล 77,980 -
สมพลชาระหน้ีแทนหา้ ง
ทนุ -สมพล 252,175 -
252,175 -
ทนุ -สมพร
โอนทนุ สมพรใหส้ มพล
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 6 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชาระบัญชี 324
(2) ตามกฎหมายลม้ ละลาย
เจ้าหน้ีทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกันในการเรียกร้องบังคับหน้ีจากสินทรัพย์ส่วน ตัว
ของผเู้ ป็นหุ้นส่วน (กรณีผู้เป็นหุ้นส่วนมีบัญชีทุนเดบิต) ดังน้ัน ห้างหุ้นส่วนจึงมีสิทธิได้รับชาระส่วนขาด
ในบัญชีทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนที่ถูกฟ้องล้มละลาย โดยแบ่งเฉลี่ยกับเจ้าหนี้ส่วนตัวของผู้เป็นหุ้นส่วน
ตามสดั สว่ นหนท้ี คี่ ้างชาระของแต่ละฝา่ ย
ตัวอย่างที่ 6.7 จากตัวอยา่ งท่ี 6.6 ห้างหุน้ ส่วนมสี ิทธไิ ดร้ ับชาระหนสี้ ว่ นขาดในยอดทนุ เดบิตของสมพร
โดยเฉลยี่ กบั เจ้าหนสี้ ว่ นตวั ของสมพร ดงั นี้
เจา้ หนส้ี ่วนตัว = 350,000 บาท
เจา้ หนห้ี า้ งหุ้นสว่ น = 252,175 บาท
รวมหนส้ี ิน = 602,175 บาท
สมพรมสี ินทรัพย์ส่วนตัว 210,000 บาท จะแบง่ ได้ดงั นี้ = 122,058 บาท (ปดั เศษ)
เจ้าหนส้ี ว่ นตวั = 350,000 x 210,000/602,175 = 87,942 บาท
เจา้ หนห้ี ้างหุ้นสว่ น = 252,175 x 210,000/602,175 = 210,000 บาท
รวมสินทรพั ย์
งบชาระบัญชีและการบนั ทกึ รายการในสมดุ รายวันท่ัวไป จะเป็นดังนี้
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 6 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชาระบญั ชี 325
หา้ งหุ้นส่วนจากัดไทยร่งุ
งบชาระบญั ชี
ณ วันท่ี 1 มกราคม 2558
(หนว่ ย : บาท)
รายการ สินทรัพย์ หนส้ี นิ เงนิ กู้ สมพศิ ทุน สมพร
อัตราส่วนแบ่งกาไรขาดทุน เงนิ สด สินทรัพย์อ่ืน สมพร สมพล
ยอดคงเหลือก่อนชาระบัญชี
จาหนา่ ยสินทรพั ย์และแบ่งผลขาดทุน 20% 30% 50%
จา่ ยชาระหน้ี 36,050 2,063,950 507,500 280,000 315,000 682,500 315,000
โอนเงินกู้สมพรชาระทุนเดบิต 393,470 (2,063,950) (334,096) (501,144) (835,240)
โอนทุนสมพร สมพลเข้าบัญชีทุนสมพศิ 429,520 507,500 280,000 (19,096) 181,356 (520,240)
สมพลชาระหนแี้ ทนห้าง (429,520) (429,520)
สมพรนาเงินมาชาระทุนเดบิต 77,980 280,000 (19,096) 181,356 (520,240)
โอนส่วนขาดในบัญชีทุนให้สมพล (280,000) 280,000
จา่ ยคืนทุนหุ้นส่วน 77,980 (19,096) 181,356 (240,240)
19,096 (7,161) (11,935)
77,980 174,195 (252,175)
(77,980) 77,980
252,175 (252,175)
87,942 87,942
87,942 252,175 (164,233)
(164,233) 164,233
87,942 87,942
(87,942) (87,942)
การบนั ทกึ รายการที่ (1) ถงึ (6) เหมอื นตัวอย่างที่ 6.6 รายการต่อไป เปน็ ดงั น้ี
สมุดรายวนั ทั่วไป หนา้ 2
เครดติ
พ.ศ. 2558 รายการ เลขที่ เดบติ บาท สต.
เดอื น วัน บัญชี บาท สต. 87,942 -
ม.ค. 31 เงินสด 87,942 - 164,233 -
ทนุ -สมพร 87,942 -
สมพรนาเงนิ มาชาระทนุ เดบติ
ทนุ -สมพล 164,233 -
ทุน-สมพร
โอนสว่ นขาดในบัญชีทุนให้สมพล
ทนุ -สมพล 87,942 -
เงนิ สด
จา่ ยคืนทุนสมพล
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 6 การเลกิ หา้ งหุ้นส่วนและการชาระบัญชี 326
แบบฝกึ หดั ที่ 6.2
จงปฏิบัติกจิ กรรมตามที่โจทยก์ าหนด (10 คะแนน)
1. นลนิ นยั นาและนภิ า เปน็ หนุ้ ส่วนกัน แบง่ กาไรขาดทุนในอตั รา 1 : 2 : 2 ตามลาดบั
ผู้เป็นหุ้นสว่ นตกลงเลิกกจิ การเมอื่ วนั ท่ี 1 มกราคม 2557 หลังจากปิดบัญชีหาผลการดาเนนิ งานแล้ว
งบแสดงฐานะการเงินของห้างหนุ้ สว่ น ปรากฏดงั นี้
ห้างหนุ้ ส่วนจากดั ลินนาภา
งบแสดงฐานะการเงิน
ณ วันที่ 1 มกราคม 2557
(หนว่ ย : บาท)
สินทรพั ย์ หน้ีสินและส่วนของผเู้ ปน็ หนุ้ ส่วน
สินทรพั ยห์ มุนเวียน หนส้ี ินหมุนเวยี น
เงนิ สด 32,500 เจ้าหนกี้ ารคา้ 150,000
ลกู หนก้ี ารค้า 65,000 เงนิ ก-ู้ นยั นา 8,500
หกั คา่ เผ่ือหนส้ี งสยั จะสูญ 5,000 60,000 ส่วนของผเู้ ปน็ หุน้ สว่ น
สินค้าคงเหลอื 48,000 ทนุ -นลิน 50,000
สินทรพั ยไ์ ม่หมุนเวยี น ทุน-นัยนา 85,000
อปุ กรณส์ านักงาน 57,000 ทุน-นิภา 90,000
อาคาร 195,000 กระแสทุน-นลิน 15,000
กระแสทุน-นยั นา (14,000)
กระแสทุน-นิภา 8,000
รวมสินทรัพย์ 392,500 รวมหนส้ี นิ และสว่ นของผเู้ ปน็ หุ้นสว่ น 392,500
ผชู้ าระบญั ชีดาเนนิ การขายสนิ คา้ อปุ กรณส์ านักงาน อาคารและเกบ็ เงนิ จากลกู หนีไ้ ด้ 300,000 บาท
หา้ งหุ้นส่วนตกลงจา่ ยคา่ ชาระบญั ชี 10,000 บาท
ให้ทา 1. งบชาระบัญชี
2. บันทึกรายการในสมุดรายวนั ทว่ั ไป
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 6 การเลกิ หา้ งหุ้นส่วนและการชาระบัญชี 327
1. งบชาระบญั ชี ห้างหนุ้ สว่ นจากัด ลนิ นาภา
รายการ งบชาระบัญชี
วนั ท่ี 31 มกราคม 2557
สนิ ทรพั ย์ เจา้ หนี้ เงินกู้ นลิน (หน่วย : บาท)
เงินสด สนิ ทรัพย์อ่ืน นัยนา
ทนุ
นัยนา นิภา
2. บนั ทกึ รายการในสมดุ รายวนั ท่ัวไป
สมุดรายวนั ทั่วไป หน้า 1
รายการ
พ.ศ. เลขที่ เดบิต เครดติ
เดอื น วัน
บัญชี บาท สต. บาท สต.
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 6 การเลกิ ห้างหุ้นส่วนและการชาระบัญชี 328
สมุดรายวนั ท่วั ไป หนา้ 2
รายการ
พ.ศ. เลขที่ เดบิต เครดิต
เดอื น วนั
บญั ชี บาท สต. บาท สต.
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 6 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชาระบัญชี 329
2. จากโจทย์ข้อ 1 สมมติวา่ ขายสินทรัพยท์ ง้ั หมดได้ 150,000 บาท ผเู้ ปน็ ห้นุ สว่ นทข่ี าดทุนเกินบญั ชีทุน
ไม่สามารถนาเงนิ สดมาชดใช้ให้ห้างห้นุ ส่วนได้
ใหท้ า 1. งบชาระบญั ชี
2. บนั ทกึ รายการในสมดุ รายวันทวั่ ไป
1. งบชาระบัญชี
ห้างหุน้ สว่ นจากดั ลนิ นาภา
งบชาระบญั ชี
วันที่ 31 มกราคม 2557
(หน่วย : บาท)
รายการ สนิ ทรพั ย์ เจา้ หนี้ เงนิ กู้ นลิน ทุน นิภา
เงินสด สินทรัพย์อ่ืน นัยนา นยั นา
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 6 การเลกิ หา้ งหุ้นส่วนและการชาระบญั ชี 330
2. บันทกึ รายการในสมดุ รายวนั ทัว่ ไป
สมดุ รายวันทว่ั ไป หนา้ 1
พ.ศ. รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต
เดือน วัน
บัญชี บาท สต. บาท สต.
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 6 การเลกิ หา้ งหุ้นส่วนและการชาระบัญชี 331
สมดุ รายวันทั่วไป หน้า 2
รายการ
พ.ศ. เลขที่ เดบิต เครดติ
เดือน วนั
บญั ชี บาท สต. บาท สต.
3. พิมพ์ พลอยและแพน เปน็ หุ้นส่วนกัน แบ่งกาไรขาดทนุ เทา่ กนั ผเู้ ป็นสว่ นตกลงเลิกกจิ การ
เม่อื วนั ที่ 1 มกราคม 2557 หลังจากปิดบญั ชหี าผลการดาเนินงานแลว้
งบแสดงฐานะการเงินของห้างห้นุ สว่ นปรากฏดงั น้ี
หา้ งหุ้นสว่ นจากดั เพิม่ ทรัพย์
งบแสดงฐานะการเงนิ
ณ วันท่ี 1 มกราคม 2557
(หนว่ ย : บาท)
สนิ ทรพั ย์ หน้ีสินและส่วนของผ้เู ปน็ หุ้นส่วน
สินทรพั ย์หมุนเวยี น หนส้ี ินหมนุ เวียน
เงนิ สด 15,000 เจา้ หนกี้ ารค้า 80,000
ลกู หนก้ี ารค้า 56,000 สว่ นของผเู้ ปน็ หุ้นสว่ น
สนิ ค้าคงเหลือ 39,000 ทุน-พิมพ์ 15,000
สินทรพั ย์ไม่หมนุ เวยี น ทุน-พลอย 30,000
อุปกรณส์ านักงาน 55,000 ทุน-แพน 40,000
รวมสนิ ทรัพย์ 165,000 รวมหนสี้ ินและส่วนของผูเ้ ปน็ หนุ้ สว่ น 165,000
ห้างหุน้ ส่วนดาเนินการขายสนิ คา้ อุปกรณ์สานกั งาน และเกบ็ เงนิ จากลูกคา้ ได้ 45,000 บาท และ
ฐานะการเงินของผู้เปน็ ห้นุ สว่ นแตล่ ะคนเปน็ ดังนี้
หุ้นสว่ น สินทรพั ย์ หน้ีสิน สนิ ทรัพยส์ ุทธิ
พิมพ์ 30,000 40,000 (10,000)
พลอย 30,000 20,000 10,000
แพน 50,000 10,000 40,000
ใหท้ า 1. งบชาระบัญชี
2. บนั ทึกรายการในสมดุ รายวนั ท่วั ไป
หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 6 การเลิกหา้ งหุ้นส่วนและการชาระบญั ชี 332
1. งบชาระบัญชี ห้างห้นุ ส่วนจากดั เพิ่มทรพั ย์
รายการ
งบชาระบญั ชี
ณ วันที่ 1 มกราคม 2557
(หน่วย : บาท)
สินทรพั ย์ เจา้ หนี้ พิมพ์ ทนุ แพน
เงินสด สนิ ทรพั ย์อนื่ พลอย
พมิ พ์มฐี านะการเงินไมด่ ี มสี ่วนขาดเกินบญั ชีทนุ ในหา้ งหุ้นสว่ น 20,000 บาท หนี้สินส่วนตัว 40,000 บาท
มีสนิ ทรัพย์ 30,000 บาท
การคานวณจานวนเงินทช่ี าระ
ห้างหุ้นสว่ น = บาท
หนสี้ ินสว่ นตวั = บาท
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 6 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชาระบญั ชี 333
2. บันทึกรายการในสมดุ รายวันท่ัวไป
สมดุ รายวนั ทั่วไป หนา้ 1
รายการ
พ.ศ. เลขท่ี เดบติ เครดติ
เดือน วนั
บัญชี บาท สต. บาท สต.
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 6 การเลกิ ห้างหุ้นส่วนและการชาระบัญชี 334
3. การชาระบัญชีโดยจา่ ยคืนทนุ เปน็ งวด (Installment Liquidation)
ห้างหุ้นส่วนท่ีมีสินทรัพย์เป็นจานวนมาก การจาหน่ายสินทรัพย์ได้หมดอาจใช้เวลานาน
ผู้เปน็ หุน้ ส่วนอาจต้องการให้มีการจ่ายคืนทุนก่อนท่ีสินทรัพย์จะขายได้หมด ในกรณีน้ีห้างหุ้นส่วนจะต้อง
ทาการชาระหน้ีสินบุคคลภายนอกให้หมดกอ่ น หากมเี งนิ เหลอื จึงจ่ายคืนทุนได้
การชาระบัญชีโดยจ่ายคืนทุนเป็นงวด มีวิธีปฏิบัติ 2 วิธี คือ การจ่ายคืนทุนทุกคร้ังภายหลัง
การจาหน่ายสินทรัพย์ และการทาแผนผังการจ่ายเงินคืนทุนให้ผู้เป็นหุ้นส่วนตลอดงวดชาระบัญชี
แตล่ ะวิธมี ีรายละเอียดดังนี้
3.1 การจา่ ยคนื ทุนทุกคร้ังภายหลงั การจาหนา่ ยสินทรัพย์
การจ่ายคืนทุนให้แก่ผู้เป็นหุ้นส่วนก่อนที่จะจาหน่ายสินทรัพย์ได้ทั้งหมด ต้องทาด้วย
ความรอบคอบและต้องแน่ใจว่าบญั ชที ุนคงเหลอื ของผู้เป็นหุ้นสว่ นจะมยี อดเพียงพอตอ่ ผลขาดทุนในอนาคต
การคานวณจานวนเงนิ จ่ายคืนทนุ ให้กบั ผเู้ ปน็ ห้นุ ส่วนในแต่ละคร้งั ให้ปฏิบตั ิ ดงั น้ี
1. นาบัญชีเงินกู้ของผู้เป็นหุ้นส่วนแ ต่ละคนมาปรับเข้ากับบัญชีทุน เพื่อให้ได้
สิทธสิ ว่ นไดเ้ สยี สทุ ธขิ องผเู้ ป็นหุ้นส่วนแตล่ ะคน
2. สมมติวา่ สินทรัพย์ท่ีเหลืออยู่ทั้งหมดจาหน่ายไม่ได้ ผู้เป็นหุ้นส่วนทุกคนต้องรับส่วนแบ่ง
ผลขาดทุนท้ังหมดตามอตั ราสว่ นแบ่งกาไรขาดทนุ
3. ห้างหุ้นส่วนต้องกันเงินไว้สาหรับค่าใช้จ่ายและชาระหน้ีสินที่อาจเกิดข้ึน โดยถือเป็น
ผลขาดทุนทผ่ี ู้เปน็ หุ้นสว่ นทกุ คนต้องรับภาระตามอตั ราส่วนแบ่งกาไรขาดทุน
4. ถา้ ผ้เู ป็นห้นุ สว่ นคนใดมยี อดบญั ชีทนุ ด้านเดบิต ให้สมมติวา่ ผเู้ ปน็ หุ้นส่วนคนนั้นไม่สามารถ
นาเงนิ มาชาระคนื หา้ งได้ ผเู้ ปน็ ห้นุ ส่วนทเี่ หลือตอ้ งรับภาระผลขาดทุนนไ้ี ปตามอัตราสว่ นแบง่ กาไรขาดทนุ
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 6 การเลิกหา้ งหุ้นส่วนและการชาระบัญชี 335
ตัวอย่างที่ 6.8 ตงั้ ตรงและใจ เป็นหนุ้ ส่วนกัน ดาเนนิ กิจการหา้ งหุ้นส่วนจากดั ตง้ั ตรงใจ แบง่ กาไรขาดทุน
ในอัตรา 50% 25% และ 25% ตามลาดับ งบแสดงฐานะการเงินของห้างหนุ้ ส่วน ณ วันเลิกกจิ การ
แสดงดงั น้ี
หา้ งหุ้นสว่ นจากัด ตง้ั ตรงใจ
งบแสดงฐานะการเงนิ
ณ วันที่ 1 มกราคม 2558
(หน่วย : บาท)
สนิ ทรัพย์ หนส้ี นิ และส่วนของผเู้ ปน็ หุ้นสว่ น
เงนิ สด 51,000 เจา้ หนก้ี ารค้า 105,000
สนิ ทรพั ยอ์ น่ื
1,029,000 เงนิ ก-ู้ ใจ 75,000
ทนุ -ตง้ั 450,000
ทนุ -ตรง 150,000
ทุน-ใจ 300,000
รวมสินทรัพย์ 1,080,000 รวมหนสี้ ินและส่วนของผูเ้ ป็นหุ้นส่วน 1,080,000
หา้ งหนุ้ สว่ นตกลงจ่ายค่าชาระบัญชี 45,000 บาท หลงั จากจาหน่ายสินทรพั ยท์ ้งั หมดได้แลว้
ข้อมลู การจาหน่ายสินทรพั ย์ เปน็ ดงั น้ี
คร้งั ที่ เดือน ราคาตามบญั ชสี ินทรพั ย์ท่ขี าย เงนิ สดทีข่ ายได้
1 มกราคม 360,000 บาท 285,000 บาท
2 มีนาคม 262,500 บาท 210,000 บาท
3 เมษายน 225,000 บาท 180,000 บาท
4 พฤษภาคม 181,500 บาท 120,000 บาท
1,029,000 บาท 795,000 บาท
หุ้นส่วนตกลงให้มีการจ่ายคืนทุนทุกคร้ังท่ีมีการจาหน่ายสิ นทรัพย์ได้หากมีเงินสดเหลือพอ
งบชาระบัญชีและการบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไป รวมทั้งงบคานวณการจ่ายคืนทุนหุ้นส่วน
จะเปน็ ดังนี้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การเลกิ หา้ งหุ้นส่วนและการชาระบญั ชี 336
ห้างหุ้นสว่ นจากดั ตั้งตรงใจ
งบชาระบญั ชี
วันท่ี 1 มกราคม – 31 พฤษภาคม 2558
(หนว่ ย : บาท)
รายการ สินทรัพย์ หนส้ี นิ เงนิ กู้-ใจ ตง้ั ทุน ใจ
อัตราส่วนแบ่งกาไรขาดทุน เงนิ สด สนิ ทรัพย์อ่ืน ตรง
ยอดคงเหลือก่อนชาระบัญชี
มกราคม : จาหนา่ ยสินทรพั ย์ครงั้ ที่ 1 50% 25% 25%
บันทึกค่าใช้จา่ ยชาระบัญชีและแบ่งขาดทุน
51,000 1,029,000 105,000 75,000 450,000 150,000 300,000
จา่ ยชาระหนสี้ ินบุคคลภายนอก
285,000 (360,000) 45,000 (60,000) (30,000) (30,000)
จา่ ยคืนทุนครงั้ ท่ี 1 (งบ 1) 336,000 120,000 270,000
(105,000) 669,000 150,000 75,000 390,000
มีนาคม : จาหนา่ ยสินทรพั ย์ครง้ั ท่ี 2 231,000 120,000 270,000
และแบ่งขาดทุน (105,000) (87,000)
(186,000)
จา่ ยคืนทุนครง้ั ท่ี 2 (งบ 2) 669,000 45,000 75,000 390,000 120,000 183,000
45,000
เมษายน : จาหนา่ ยสินทรพั ย์ครงั้ ที่ 3 (75,000) (24,000)
และแบ่งขาดทุน
669,000 45,000 366,000
จา่ ยคืนทุนครง้ั ท่ี 3
210,000 (262,500) 45,000 (26,250) (13,125) (13,125)
พฤษภาคม : จาหนา่ ยสินทรพั ย์ครง้ั สุดท้าย 255,000 406,500 45,000 339,750 106,875 169,875
และแบ่งขาดทุน (210,000) (136,500) (5,250) (68,250)
406,500
จา่ ยค่าใช้จา่ ยชาระบัญชี 45,000 203,250 101,625 101,625
จา่ ยคืนทุนงวดสุดท้าย 180,000 (225,000) 45,000 (22,500) (11,250) (11,250)
181,500 45,000
225,000 180,750 90,375 90,375
(180,000) 181,500 (90,000) (45,000) (45,000)
90,750 45,375 45,375
45,000
120,000 (181,500) (30,750) (15,375) (15,375)
165,000 60,000 30,000 30,000
(45,000) 45,000
120,000 (45,000) 60,000 30,000 30,000
(120,000) (60,000) (30,000) (30,000)
หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 6 การเลกิ ห้างหุ้นส่วนและการชาระบญั ชี 337
เดอื นมกราคมจาหน่ายสนิ ทรัพย์
ราคาตามบัญชขี องสนิ ทรพั ยท์ ีไ่ ม่ใชเ่ งินสด = 360,000 บาท
หัก จาหนา่ ยสินทรัพย์ไดเ้ งิน = 285,000 บาท
ขาดทนุ จากการจาหนา่ ยสินทรัพย์ = 75,000 บาท
บวก คา่ ใช้จา่ ยชาระบญั ชี = 45,000 บาท
รวมผลขาดทนุ จากการจาหนา่ ยสนิ ทรัพย์ = 120,000 บาท
การแบง่ ผลขาดทนุ ตามอัตราส่วน 50% 25% และ 25% ดังนี้
ทุน – ตงั้ (120,000 x 50%) = 60,000 บาท
ทนุ – ตรง (120,000 x 25%) = 30,000 บาท
ทนุ – ใจ (120,000 x 25%) = 30,000 บาท
หา้ งหุ้นสว่ นจากดั ตัง้ ตรงใจ
งบ 1 : คานวณการจ่ายคนื ทุนผเู้ ป็นหุ้นสว่ น
เดอื นมกราคม 2558
รายการ ตงั้ (หนว่ ย : บาท)
50% ตรง ใจ
ยอดคงเหลอื กอ่ นจ่ายคนื ทนุ 390,000 25% 25%
บวก เงนิ กู้ 120,000 270,000
สว่ นได้เสียของผเู้ ปน็ หุน้ ส่วน -
หกั ผลขาดทุนท่อี าจเกดิ จากสินทรัพย์ทเี่ หลอื 669,000 บาท 390,000 - 75,000
120,000 345,000
ขายไม่ได้ (1,029,000 - 360,000) (334,500)
คงเหลือ 55,500 (167,250) (167,250)
หัก ผลขาดทุนทอี่ าจเกิดหากตรงไม่สามารถจา่ ยคนื ทนุ ดา้ นเดบติ ได้ (31,500) (47,250) 177,750
จ่ายคนื ทนุ งวดท่ี 1 24,000 47,250 (15,750)
จ่ายคนื เงนิ กู้ - 162,000
จ่ายคืนทุน 24,000 -
75,000
- 87,000
-