The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชุดการเรียนเรื่องแร่และหิน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-03-13 03:37:12

ชุดการเรียนเรื่องแร่และหิน

ชุดการเรียนเรื่องแร่และหิน

เมนูหลกั ยนิ ดตี อนรบั เขา้ สู่
จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
บทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน
ทดสอบกอ่ นเรยี น รายวชิ า โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
เขา้ สบู่ ทเรยี น
เรื่อง แร่และหนิ
กิจกรรม
ทดสอบหลงั เรยี น

จดั ทำโดย

นำงอริศรำ กำฬมณี
ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐำนะชำนำญกำร
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์
โรงเรียนคณะรำษฎรบำรุง จงั หวดั ยะลำ

วธิ กี ารใชโ้ ปรแกรม



แบบทดสอบกอ่ นเรยี น คลกิ เพอื่ ทา
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
แร่
วัฏจกั รของหนิ ไดเ้ ลยคะ่ ...
หินอัคนี
หนิ ตะกอน
หนิ แปร

ยนิ ดตี อนรบั เขา้ สบู่ ทเรยี น
เรือ่ ง แรแ่ ละหนิ

แร่

วัฏจกั รของหนิ

หินอคั นี
หินตะกอน
หนิ แปร

แบบทดสอบหลงั เรยี น

แร่ คลกิ เพอ่ื ทา
วัฏจกั รของหนิ แบบทดสอบหลงั เรยี น

ไดเ้ ลยคะ่ ...

หนิ อคั นี

หนิ ตะกอน

หินแปร

กิจกรรมท้ายบท คลกิ เพอ่ื เขา้ ไปดู
กิจกรรมทา้ ยบทได้
แร่
วัฏจกั รของหนิ เลยคะ่

หนิ อัคนี
หนิ ตะกอน
หนิ แปร

ทดสอบก่อนเรียน

คำชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุด
1. ข้อใดคือข้อจำกัดควำมของแร่
ก. ธำตุหรือสำรประกอบอินทรีย์ที่เกิดขนึ้ เองตำมธรรมชำติ หรือมนุษย์สงเครำะห์ขนึ้
ข. สำรประกอบอนินทรีย์ที่เกิดขึน้ เองตำมธรรมชำติ อำจจะมีโครงสร้ำงที่แน่นอน
หรือไม่แน่นอนกไ็ ด้
ค. ธำตุหรือสำรประกอบอนินทรีย์ทเ่ี กดิ ขนึ้ เองตำมธรรมชำติ มโี ครงสร้ำงทเ่ี ป็ นระเบียบ
ง. ธำตุท่ีเป็ นของแข็งท่ีเกิดขึน้ มำในโลกท้ังหมด

ให้นักเรียนใช้เมำส์คลกิ ไปยังคำตอบที่ถูก
ที่สุด แล้วรอดูเฉลยได้เลยค่ะ

ทดสอบก่อนเรียน

2. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะสำคญั ท่ีใช้ในกำรตรวจสอบแร่
ก. ควำมแข็ง
ข. ควำมวำว
ค. ควำมสวยงำม
ง. ควำมละเอียดของสีผง
3. ข้อใดเรียงลำดบั แร่จำกค่ำควำมแข็งจำกน้อยไปหำมำก
ก. ทัลก์ แคลไซต์ โทแพช เพชร
ข. แคลไซต์ ยิปซัม คอรันดมั ควอตซ์
ค. เพชร คอรันดมั โทแพช แคลไซต์
ง. คอรันดัม ยปิ ซัม ทัลก์ ฟลูออไรต์

ทดสอบก่อนเรียน

4. เพชรเกิดจำกอะตอมท่ีมีพนั ธะเคมแี บบใด
ก. เกิดขึน้ เม่ืออะตอมข้ำงเคียงพร้อมท่ีจะให้อิเล็กตรอน แต่ขำดศักยภำพที่จะรับ
อิเล็กตรอนทำให้มีสภำพประจุบวกล้อมรอบด้วยอิเลก็ ตรอนท่ีพร้อมจะหลุดออกจำก
วงจร และมีอิสระเคล่ือนไปได้ทั่วโครงสร้ำง
ข. เกิดขึ้นระหว่ำงอะตอมที่ไม่สำมำรถให้อิเล็กตรอน แต่มีศักยภำพในกำรรับ
อิเล็กตรอน โดยใช้อิเล็กตรอนร่วมกับอะตอมข้ำงเคียง ทำให้วงโคจรวงนอกสุดมี
อเิ ลก็ ตรอนครบ
ค. เกดิ ขึน้ ระหว่ำงอะตอมหรือโมเลกุลที่มีประจุ บำงส่วนขำดดุลในโครงสร้ำง เกิด
ร่วมกับพนั ธะเคมีแบบอ่ืน
ง. เกดิ ขึน้ ระหว่ำงอะตอมท่ีพร้อมให้อเิ ล็กตรอน แต่มศี ักยภำพต่ำใน
กำรรับ กบั อะตอมที่มศี ักยภำพรับอิเล็กตรอน แต่ไม่พร้อมที่จะให้

ทดสอบก่อนเรียน

5. แร่ชนิดใดต่อไปนีม้ คี ่ำควำมถ่วงจำเพำะสูงที่สุด
ก. เพชร
ข. ทอง
ค. เหล็ก
ง. แพลตินัม
6. เม่ือนำแร่ชนิดหนึ่งมำตรวจสอบโดยกำรหยดกรดเกลือลงไปแล้วปรำกฏว่ำเกดิ
ฟองฟ่ ูขึน้ แร่ชนิดนีน้ ่ำจะอยู่ในหมู่แร่ใด
ก. หมู่แร่ธรรมชำติ
ข. หมู่แร่คำร์บอเนต
ค. หมู่แร่ซัลไฟด์
ง. หมู่แร่เฮไลด์

ทดสอบก่อนเรียน

7. แร่ชนิดใดต่อไปนีไ้ ม่ได้จดั อยู่ในวงศ์แร่ธรรมชำติ
ก. ทองคำ
ข. สำรหนู
ค. ควอตซ์
ง. แกรไฟต์
8. จงพจิ ำรณำว่ำข้อควำมใดไม่ถูกต้อง
ก. โคบอลต์ – 60 จัดเป็ นแร่ชนิดหนึ่ง
ข. แร่รัตนชำติจะพบในช้ันหิน
ค. ทองแดงและพลวงจดั เป็ นแร่โลหะ
ง. ถ่ำนหินไม่จัดเป็ นแร่

ทดสอบก่อนเรียน

9. แร่ชนิดหน่ึงเมื่อใช้เล็บขูดไม่เป็ นรอย แต่เม่ือใช้เหรียญขูดสำมำรถทำให้แร่เป็ นรอย
แร่ชนิดนีม้ คี ่ำควำมแขง็ เท่ำไร
ก. น้อยกว่ำ 2.5
ข. 2.5 - 3.5
ค. 3.5 - 5
ง. มำกกว่ำ 5
10. หินแกรนิตสีชมพูแสดงว่ำประกอบด้วยแร่เฟลด์สปำชนิดใด
ก. ออร์โทเคลส
ข. แพลจโิ อเคลส
ค.ออไจต์
ง. มัสโคไวต์

เฉลย

ถูกต้อง นะคะ

ยนิ ดดี ้วยค่ะ..

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

เฉลย

ผดิ ค่ะ

สู้ๆ นะคะT_T

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

แร่

1. โครงสรา้ งทางเคมขี องแร่
2. สมบตั แิ รท่ างกายภาพ

3. การตรวจสอบทางเคมี
3. วงศแ์ ร่

4. แร่ประกอบหนิ

แร่

ธำตุ (Element) คือ โครงสร้ำงพืน้ ฐำนของ
สสำร ที่ไม่สำมำรถแยกย่อยได้อกี ด้วยกระบวนกำร
ทำงเคมี ซ่ึงเรำอำจจะกล่ำวอกี อย่ำงว่ำ ธำตุ คอื เซต
โครงสร้ำงของอะตอม

ธำตุ แต่ ละ ชนิ ด ปร ะก อบ ขึ้นด้ วย อะ ตอ ม
จำนวนไม่เท่ำกนั องค์ประกอบของอะตอม

แร่

ธำตุแต่ละชนิดมีโครงสร้ำงอะตอมไม่เหมือนกัน จึงมีคุณสมบัติแตกต่ำงกัน เช่น ธำตุ
ไฮโดรเจนมีน้ำหนักเบำ สู ญเสียอีเล็กตรอนได้ง่ำยเม่ือได้ดูดกลืนรังสีคล่ืนส้ันจำกดวง
อำทิตย์ ธำตุออกซิเจนมีควำมว่องไวในกำรทำปฏิกิริยำกับธำตุอื่น จึงทำให้เกิดสำรประกอบ
จำนวนมำกบนเปลือกโลก

ปัจจุบันนักวิทยำศำสตร์ค้นพบธำตุท้ังหมดในจักรวำลจำนวน 112 ธำตุ เป็ นธำตุที่
เกดิ ขนึ้ เองในธรรมชำติ 88 ธำตุ ส่วนที่เหลือเป็ นธำตุท่ีมนุษย์สังเครำะห์ขึน้ ในห้องปฏิบัติกำร

แร่

แร่ (Mineral) หมำยถึง ธำตุหรื อ
สำรประกอบอนินทรีย์ (ไม่ เกี่ยวข้ องกับ
สิ่งมีชีวิต) ท่ีมีสถำนะเป็ นของแข็ง เกิดขึ้นเอง
ตำมธรรมชำติ และมีโครงสร้ ำงเป็ นผลึก มี
องค์ประกอบทำงเคมีท่ีชัดเจน

ตัวอย่ำงเช่น แร่เฮไลต์ (เกลือ) แร่โอ
ลีวนี แร่ไฟไรต์

แร่

แร่ท่ี แร่ แร่ทีเ่ ป็ น
ประกอบด้วย สำรประกอบ
ธำตุเพยี งชนิด เช่น กำลนี ำ
เดยี ว เช่น (galena-PbS)
ทองคำ (Au)
ควอตซ์
เงิน (Ag) (quartz-
ทองแดง (Cu) SiO2) ไพไรต์
กำมะถัน (S) (pyrite-FeS2)

เพชร (C)

แร่

1. โครงสร้ำงทำงเคมีของแร่

โครงสร้ ำงทำงเคมีของแร่ ลักษณะ
ทำงกำยภำพของแร่ ล้วนได้รับอิทธิพล
เบื้องต้นมำจำกสมบัติทำงเคมี ชนิดของ
พันธะทำงเคมีระหว่ำงอะตอม จะเป็ น
ตัวกำหนดสมบัติทำงกำยภำพ เช่น ควำม
แข็ง แนวแตกเรียบ ควำมสำมำรถในกำรนำ
ไฟฟ้ำและควำมร้อน

แร่

ประเภทของพนั ธะเคมี
พนั ธะเคมี แบ่งได้เป็ น 4 แบบ ดังนี้
1. พนั ธะเคมแี บบไอออน
2. พนั ธะเคมแี บบโควำเลนต์
3. พนั ธะเคมีแบบแวน เดอ วำลส์
4. พนั ธะเคมีแบบโลหะ

แร่
▪ พนั ธะไอออน (Ion bond)

– พนั ธะไอออน (Ion bond) เกดิ ขึน้ เมื่ออะตอมท่ีมีประจุบวกจับคู่กบั อะตอมที่มีปะจุ
ลบ เช่น เกลือโซเดยี มคลอไรด์ (NaCl) ประกอบด้วย โซเดยี มประจุบวก และคลอรีน
ประจุลบ ดงั ภำพ

ภำพที่ 2 โมเลกลุ ของโซเดยี มคลอไรด์

แร่

ธำตุที่เกิดจำกพันธะแบบไอออน จะมีควำมแข็งแรง แต่
เปรำะ มีควำมแข็งปำนกลำงถึงมำก จุดหลอมเหลวปำนกลำงถึง
สูง หำกเป็ นของแข็งจะเป็ นตัวนำควำมร้อนและไฟฟ้ำท่ีเลว แต่
ละลำยง่ำย หำกเป็ นสำรละลำยจะเป็ นตัวนำไฟฟ้ำ สัมประสิทธ์ิกำร
ขยำยตัวทำงควำมร้อนต่ำ เป็ นพันธะท่ีไร้ทิศทำง และมีสมมำตร
มำก เกิดขึ้นหมู่แร่ เฮไลด์ (halide) เช่น เฮไลต์ (NaCl) ซิลไวต์
(KCl) และฟลูออไรต์ (CaF2)

แร่

▪ พนั ธะโควำเลนต์ (Covalent bond)

เกิดขึ้นเมื่ออะตอมเช่ือมต่อโดยกำรใช้ อิเล็คตรอนร่วมกัน เช่น เพชร มี
โครงสร้ ำงท่ีเป็ นอะตอมของธำตุคำร์ บอนท่ีเช่ือมต่อกันเป็ นรูปผลึกโดยใช้
อิเล็กตรอนช้ันนอกร่วมกัน จึงมคี วำมแขง็ แรงมำก
- ถ้ำมีกำรใช้อเิ ล็กตรอนร่วมกนั 1 คู่
เรียกพนั ธะท่ีเกิดว่ำ พนั ธะเดยี่ ว
- ถ้ำมกี ำรใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน 2 คู่
เรียกพนั ธะที่เกิดว่ำ พนั ธะคู่
- ถ้ำมีกำรใช้อิเลก็ ตรอนร่วมกนั 3 คู่
เรียกพนั ธะท่ีเกิดว่ำ พนั ธะสำม

แร่

แร่ที่เกิดจำกพนั ธะเคมีแบบโควำ
เลนต์โครงผลึกร่ำงตำข่ำย ทำให้แร่มีควำม
แข็งมำก ละลำยยำก จุดหลอมเหลวและ
จุดเดือดสูง เป็ นตัวนำควำมร้ อนและ
ไฟฟ้ำท่ีเลว สัมประสิทธ์ิกำรขยำยตัวทำง
ควำมร้อนต่ำ และมสี มมำตรน้อยกว่ำแบบ
ไอออน เช่น เพชร (C) และ สฟำเลอไรต์
(sphalerite-ZnS)

แร่

▪ พนั ธะแวนเดอวำลส์ (Van der Waal's bond) เป็ นพันธะที่ยึด
แต่ละโมเลกลุ ไว้ด้วยกัน โดยมจี ุดต่อเช่ือมที่อะตอมเพยี งบำงตัว
ซ่ึงยึดเหนี่ยวกันด้วยประจุต่ำงข้ัว พันธะแบบนี้จึงมีควำม
แข็งแรงน้อย ยกตัวอย่ำงเช่น กรำไฟต์ หรือไมกำ ซ่ึงสำมำรถ
ดึงให้หลุดเป็ นแผ่นได้โดยง่ำย พันธะไฮโดรเจน เป็ นรูปแบบ
หน่ึงของพนั ธะแวนเดอวำลส์ ซึ่งทำให้เกิดผลกึ ของน้ำแข็ง

แร่

• แรงแวนเดอร์ วำลส์ คือ แรงดึงดูดแบบอ่อนๆที่ช่วยยึด
โมเลกลุ เข้ำด้วยกัน

• ส่วนใหญ่จะเกดิ ร่วมกับพนั ธะอ่ืน แร่ท่ีมีพันธะแบบนี้จะมี
ควำมแข็งน้อยและค่อนข้ำงเป็ นพลำสติก เป็ นฉนวนท้ัง
ของแข็งและของเหลว จุดหลอมเหลวต่ำ มีประสิทธ์ิกำร
ขยำยตัวทำงควำมร้อนต่ำ ละลำยในตัวทำละลำยที่เป็ น
สำรประกอบอินทรีย์ และมีสมมำตรน้อย พบในแร่บำง
ชนิด ทำให้มีสมบัติลอกเป็ นแผ่นได้ง่ำย เช่น แกรไฟต์ แร่
ดิน ไมกำ และทัลก์

แร่

▪ พนั ธะโลหะ (Metallic bond) เกิดขึน้ เม่ืออะตอมข้ำงเคียง
พร้อมท่ีจะให้อิเล็กตรอน แต่ขำดศักยภำพท่ีจะรับอิเล็กตรอน
ทำให้มีสภำพประจุบวก ล้อมรอบด้วยอิเล็กตรอนที่พร้อม
หลุดจำกวงจร และมีอิสระเคลื่อนที่ไปได้ท่ัวโครงสร้ำง ทำให้
โลหะมีควำมเหนียวมำก (tenacity) ดึงเป็ นเส้นลวดได้ดี เป็ น
ตัวนำไฟฟ้ำและควำมร้อน มีสภำพเป็ นพลำสติกมำก ควำม
แข็งน้อย จุดหลอมเหลวและจุดเดือดต่ำ พันธะชนิดนี้เกิดใน
แร่ โลหะได้แก่ ทองคำ เงิน ทองแดง แพลทินัม เป็ นต้น

แร่

2. สมบัตแิ ร่ทำงกำยภำพ

ส ม บั ติ ท ำ ง ก ำ ย ภ ำ พ ข อ ง
แร่ หมำยถึง สมบัติเฉพำะตัวของแร่แต่
ละชนิดที่สำมำรถมองเห็น สัมผัส และ
พิสู จน์ ตรวจสอบได้ โดยใช้ เครื่ องมือง่ ำย
ได้แก่

แร่

1. สี (Color) เป็ นคุณสมบัติที่เห็นได้ชัดเจนท่ีสุดแต่เช่ือถือไม่ได้ แร่บำงชนิด
เช่น แร่ควอตซ์ (SiO2) ปกติใสไม่มีสี แต่ที่พบเห็นส่วนมำกจะมีสีขำว เหลือง
ชมพู หรือดำ เนื่องมีสำรอ่ืนเจือปนทำให้ไม่บริสุทธ์ิ แร่คอรันดัม (Al2O3) โดย
ปกติมสี ีขำวอมน้ำตำลขุ่น แต่เม่ือมีธำตุโครเมียมจำนวนเล็กน้อยเจือปน ก็จะมี
สีแดงเรียกว่ำ “ทับทิม” (Ruby) หรือถ้ำมีธำตุเหล็กเจือปน ก็จะมีสีน้ำเงิน
เรียกว่ำ “ไพลิน” (Sapphire)

แร่
ภำพ แร่ควอตซ์ที่มสี ีแตกต่ำงกนั

แร่

2. สีผงละเอยี ด (Streak) เป็ นคุณสมบัติเฉพำะตัวของแร่แต่ละชนิด เมื่อนำแร่มำขีดบน
แผ่นกระเบื้อง (ท่ีไม่เคลือบ) จะเห็นสีของรอยขีดติดอยู่แผ่นกระเบื้อง ซึ่งอำจมีสีไม่
เหมือนกับชิ้นแร่ก็ได้ ตัวอย่ำงเช่น ทอง (gold) กับ ชำร์โคไพไรท์ (chalcopyrite) ซ่ึง
มสี ีของแร่เป็ นสีเหลืองเหมือนกนั แต่ทำให้เป็ นผงแล้วสีของแร่ท้ังสองนี้จะแตกต่ำงกัน
อย่ำงชัดเจน คือ ทองจะมีสีผงละเอียดเป็ นสีเหลืองแต่ชำร์โคไพไรท์จะมีสีผงละเอียด
เป็ นสีดำ

ทอง (gold) ชำร์โคไพไรท์

เปรียบเทียบควำมคล้ำยของสีแต่ถ้ำขดู สีผงละเอยี ดออกมำจะต่ำงกนั

แร่

3. ควำมวำว (Luster) หมำยถงึ คุณสมบัติในกำรสะท้อนแสงของผิวแร่ แบ่งได้ 3 พวก

คือ

3.1 ควำมวำวแบบโลหะ เช่น แมกนีไทต์ คำลโคไฟไรต์ เป็ นต้น

3.2 ควำมวำวแบบอโลหะ ควำมวำวจำแนกตำมลกั ษณะต่ำงๆ ดังนี้

- แบบยำงสน

- แบบมุก ไปศึกษาความวาวแบบตา่ งๆใน
หน้าถดั ไปนะคะ T_T
- แบบเพชร

- แบบน้ำมนั

- แบบแก้ว

- แบบใยไหม

3.3 ควำมวำวแบบกึง่ โลหะ เช่น อลิ เมไทต์ โครไมต์ เป็ นต้น

แร่

• วำวแบบโลหะ (Metallic lustre) แร่ที่มีควำมวำวแบบโลหะ หรือควำมวำว
แบบเงำวำว จะมีควำมวำวเหมือนโลหะ (และท่ีเป็ นอุดมคติ ผิวจะลักษณะคล้ำย
กับกระจกสะท้อน) ตัวอย่ำงเช่น แร่กำลีนำ (Galena) หรือแร่ไพไรต์ (Pyrite)
และแร่แมกนีไทต์ (Magnetite)

แร่

• วำวแบบเพชร (Adamantine lustre) จะพบได้มำกใน กลุ่มของอัญมณีเช่น
เพชร เนืองจำกควำมหนำแน่นของผลึกมีสูงจึงสำมำรถสะท้อนออกจำกผลึกได้
มำก มีควำมโปร่งใสหรือโปร่งแสง มีดัชนีหักเหสูง ประมำณ 1.9 หรือมำกกว่ำ
จำนวนนี้ ตัวอย่ำงแร่ท่ีมีควำมวำว

แร่

• วำวแบบด้ำน (Dull lustre) แร่ท่ีมีควำมวำวแบบด้ำน คือแร่น้ันจะไม่มีควำม
วำวเลย เกดิ จำกกำรที่แสงหักเหออกไปในทุกทิศทุกทำง มีลักษณะเหมือนเป็ น
ตัวสะท้อน ตัวอย่ำงเช่น แร่เคโอลิไนต์ (Kaolinite) โดยแร่จะมีควำมหยำบ
และมีควำมด้ำน

แร่

• วำวแบบน้ำมัน (Greasy lustre) ควำมวำวแบบน้ำมันจะมีลักษณะคล้ำย
กับไขหรือจำระบี ควำมวำวแบบน้ำมันส่วนใหญ่ที่พบมำกจะมีขนำด
เล็กๆ และอยู่รวมกัน ตัวอย่ำงเช่น แร่โอปอล (Opal) และแร่คอร์เดียไรต์
(Cordierite) โดยแร่แบบนีจ้ ะมคี วำมวำวแบบน้ำมนั เม่ือมีกำรขยบั

แร่

• วำวแบบไข่มุก (Pearly lustre) แร่ที่มีควำมวำวแบบไข่มุก จะเห็นเป็ นช้ัน
บำงๆ มลี ักษณะโปร่งใสเลก็ น้อย แสงจะสะท้อนจำกช้ันท่ีมีลักษณะของไข่มุก
ทำให้แร่สำมำรถเกิดเป็ นรอยแตกอย่ำงมีระบบได้ (Cleavage) ตัวอย่ำงเช่น
แร่กลีบหินขำวหรือแร่มัสโคไวต์ (Muscovite) และแร่สติลไบต์ (Stilbite)

แร่

• วำวแบบยำงสน (Resinous lustre) แร่ท่ีมีควำมวำวแบบยำงสนจะมี
ลักษณะคล้ำยกับยำงไม้ หมำกฝร่ัง หรือ (ด้ำนเรียบ) ของพลำสติก
ตัวอย่ำงเช่น แร่อำพนั หรือแร่แอมเบอร์ (Amber)

แร่

• วำวแบบไยไหม (Silky lustre) แร่ที่มีควำมวำวแบบไยไหมมีกำรเรียงตัวของ
เส้นใยขนำดเล็ก จะให้ควำมรู้สึกเหมือนเส้นไหม ตัวอย่ำงเช่น แร่ใยหินหรือแร่
แอสเบสตอส (Asbestos) แร่ยูลีไซต์ (Ulexite) และซำติน สปำร์ (Satin Spar)
ซึ่งเป็ นแร่ยิปซ่ัม (Gypsum)

แร่

• วำวแบบแก้ว (Vitreous lustre) แร่ท่ีมีควำมวำวแบบแก้วจะมีลักษณะคล้ำย
แก้ว เป็ นควำมวำวชนิดหนึ่งท่ีสำมำรถพบเห็นได้ท่ัวไป เกิดจำกกำรหักเห
หรือกำรสะท้อนของแร่ท่ีมีดัชนีหักเหต่ำ ตัวเอย่ำงเช่น แร่แคลไซต์ (Calcite)
แร่ควอตซ์ (Quartz) แร่โทพำซ (Topaz) แร่เบริล (Beryl) แร่ทัวร์มำลีน
(Tourmaline) แร่ฟลูออไรต์ (Fluorite) และแร่อ่ืนๆมำกมำย

แร่

• วำวแบบขี้ผึ้ง (Waxy lustre) เป็ นควำมวำวท่ีมีลักษณะคล้ำยกับขี้ผึ้ง
ตัวอย่ำงเช่น แร่หยก

แร่

• วำวแบบกึ่งโลหะ (Submetallic lustre) แร่ที่มีควำมวำวแบบกึ่งโลหะจะมี
ลกั ษณะควำมวำวแบบโลหะ แต่จะมีควำมวำวน้อยกว่ำ ส่วนใหญ่จะพบในแร่ ที่
เกือบทึบแสงและมีดัชนีหักเหสูง เช่น แร่สฟำเลอไรต์ (Sphalerite) แร่ซินนำ
บำร์ (Cinnabar) และแร่ควิ ไพรต์ (Cuprite)

แร่

4. ควำมโปร่ง (diaphaneity or transparency)
แสงดูจำกลักษณะที่แสงผ่ำนได้ จำแนกออกเป็ น 3 แบบ คือ
- โปร่งใส สำมำรถมองทะลุผ่ำนได้ เช่น หินเขีย้ วหนุมำน
- โปร่งแสง ยอมให้แสงทะลุผ่ำนได้ เช่น คำลซิโดนี
- ทึบแสง ไม่ยอมให้แสงและสำยตำมองผ่ำนได้ เช่น แมกนีไทต์

แร่

5. แนวแตกเรียบ (Cleavage) หมายถึง รอยท่ีแตกเป็นระนาบเรียบตามโครงสร้าง
อะตอมในผลึกแร่ โดยทั่วไปรอยแตกนี้จะขนานไปกับหน้าผลึกแร่ แนวแตกนี้อาจ
เปน็ ระนาบเดียวหรือหลายระนาบกไ็ ด้ ตัวอยา่ งในภาพ แสดงให้เหน็ ว่า

(ก) แร่ไมกา มรี อยแตกเรยี บระนาบเดียว
(ข) แร่เฟลดส์ ปาร์มีรอยแตกเรยี บ 2 ระนาบตง้ั ฉากกัน
(ค) แรเ่ ฮไลต์มรี อยแตกเรยี บ 3 ระนาบตง้ั ฉากกนั
(ง) แรแ่ คลไซต์มรี อยแตกเรยี บ 3 ระนาบเฉียงกัน

ไปดูรูปภำพประกอบในหน้ำถัดไปนะคะ…

แร่

รูปภำพประกอบตวั อย่ำงแนวแตก
เรียบของแร่ดงั กล่ำวค่ะ…

แร่

6. ผลึก (Crystal) หมำยถึง ของแข็งท่ีมีเนื้อเดียวกัน มีรูปทรงสำมมิติ ผิวหน้ำแต่
ด้ำนเป็ นระนำบ ซึ่งเป็ นผลมำจำกกำรจัดตัวของอะตอมหรือโมเลกุลของธำตุท่ี
ประกอบอยู่ในของแข็งน้ันอย่ำงมีแบบแผน ผลึกชุดหน่ึงจะประกอบด้วยระนำบ
ผลึกซ่ึงมสี มมำตรแบบเดยี วกัน ซ่ึงอำจประกอบด้วยรูปผลึก (Crystal shape) เพียง
รูปแบบเดยี ว หรือหลำยรูปผลึกติดกันกไ็ ด้แต่ต้องสมมำตรกัน

แร่บำงชนิดมีองค์ประกอบจำกธำตุเดียวกัน แต่มีรูปผลึกต่ำงกัน ก็มี
คุณสมบัติต่ำงกัน เช่น เพชร และกรำไฟต์ ประกอบด้วยอะตอมของธำตุคำร์บอน
ซึ่งมีโครงสร้ำงผลึกต่ำงกัน เพชรมีผลึกรูปพีระมิดประกบจึงมีควำมแข็งแรงมำก
ส่วนกรำฟไฟต์มผี ลึกเป็ นแผ่นบำงจงึ อ่อนและแตกหักได้ง่ำย

แร่

7. ควำมแข็ง (Hardness) ค่ำควำมแขง็ แร่ วสั ดทุ ใ่ี ช้ทดสอบ
ม ำ ต ร ำ ค ว ำ ม แ ข็ ง ข อ ง แ ร่
ตำมระบบสเกลของโมหส์ 1 ทลั ก์ ปลำยนวิ้
(Mohs’scale) ประกอบด้วย
แร่มำตรฐำน 10 ชนิด 2 ยปิ ซัม เลบ็
เ รี ย ง ล ำ ดั บ ต้ั ง แ ต่ แ ร่ ท่ี
ทนทำนต่ อกำรขูดขีดน้ อ ย 3 แคลไซต์ เหรียญบำท
ท่ีสุดไปถงึ มำกที่สุด
4 ฟลูออไรต์ มดี พก

5 อพำไทต์ กระจก

6 ออร์โทเคลส เหลก็ กล้ำ

7 ควอตซ์ กระเบื้อง

8 โทปำส -

9 คอรันดมั (พลอย) -

10 เพชร -


Click to View FlipBook Version