The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by stabundamrong KM, 2021-10-15 02:52:08

คู่มือปฏิบัติราชการของกระทรวงมหาดไทย

E-BookBook Ministry of Interior

- ๖๘๕ -

“ระหว่างเกาะปันหยีกับอุทยาน ใครเข้ามาอยู่ก่อนกัน และไฟฟ้าก็เป็นปัจจัยพื้นฐานสาหรับประชาชน ชุมชน
ตอ้ งมีไฟฟา้ ใช้ ผมจงึ พยายามทาทุกวิถีทางจนสามารถให้ชาวบ้านบนเกาะปันหยีมีไฟฟ้าใช้ ปัจจุบันเป็นแหล่งท่องเท่ียว
ทางทะเลท่สี วยงามของจงั หวัด

ส่วนความประทับใจที่จังหวัดภูเก็ตน้ัน เน่ืองจากภูเก็ตท่ีมีความสวยงามตามธรรมชาติอย่างมาก
โดยเฉพาะน้าทะเลสีเขียวอมฟ้า จึงเป็นที่ชื่นชอบของชาวต่างชาติและเน่ืองจากทรัพยากรธรรมชาติทางทะเล
ท่ีมีมากมายน้ัน รายได้จากการท่องเที่ยวในจังหวัดภูเก็ต ทารายได้ให้แก่ประเทศเป็นอย่างมาก ผมจึงเน้นในการป้องกัน
และรกั ษาทรัพยากรธรรมชาติดา้ นการท่องเท่ียว เพอื่ ให้มคี วามยง่ั ยืน โดยปัญหาทีส่ าคญั ทีผ่ มตง้ั ใจทามาโดยตลอด คอื

๑. ปอ้ งกันการบุกรุกทาลายทรพั ยากรธรรมชาติ ด้านการท่องเท่ยี วทง้ั บนบกและในทะเล
๒. การออกเอกสารสทิ ธิโดยไมช่ อบ ควบคุมเจา้ หนา้ ท่ีอยา่ งเครง่ ครัด
๓. การเปดิ บอ่ นการพนัน และสถานบรกิ ารท่ผี ิดกฎหมาย
๔. โครงการอานวยความสะดวกปลอดภยั ให้แก่นกั ทอ่ งเที่ยว
๕. การลกั ลอบจบั ปลาสวยงาม และการทาลายปะการงั

กรณีตวั อยา่ ง ผมเคยไปจับกุมผู้ลักลอบจับปลาสวยงามที่ท่าเรืออ่าวฉลอง ขณะจับกุมผู้ต้องหา
รับสารภาพว่าจบั ในพื้นท่ีทะเลภเู ก็ต ทะเบียนเรือก็เป็นของจังหวัดภูเก็ต การดาเนินขั้นต่อไป ผมทราบว่ามีการไม่ส่งฟ้อง
ตอ่ ศาล เนอ่ื งจากจาเลยกลับคาให้การวา่ จบั ทจ่ี งั หวดั พงั งา จงึ ไมส่ ามารถพสิ ูจน์ได้ชัดเจนว่าเป็นปลาที่จับได้ในท้องท่ี
ภูเก็ตหรือพังงา เพราะ “ปลา ไม่มีทะเบียนบ้าน” ทาให้ได้ข้อคิดว่าการทางานในระดับจังหวัด ถ้าหากส่วนราชการ
ทกุ สว่ นไมม่ แี นวคดิ ไปในทางเดียวกนั โอกาสจะประสบความสาเร็จได้ยาก

ส่วนการออกโฉนดท่ีดินโดยมิชอบ หลังจากท่ีผมได้เกษียณอายุราชการนั้น ผมก็ทราบข่าวว่า
มีเจ้าหน้าที่กรมที่ดินท่ีเคยทางานร่วมกับผมได้ทาการออกโฉนดโดยมิชอบด้วยกฎหมาย ถูกดาเนินคดีและติดคุก
หลายคน

จากภูเก็ตผมถูกย้ายไปจังหวัดปัตตานี เป็นจังหวัดที่มีปัญหาด้านความมั่งคง พื้นท่ีเส่ียงอันตรายมาก ผมเคยได้อยู่
ในเหตุการณ์ปิดล้อมมัสยิดกรือเซะ การวางระเบิดในเมืองปัตตานี ซึ่งผมได้อยู่ห่างจากจุดระเบิดเพียง ๘๐ เมตร
ส่วนเรื่องโครงการด้านอาชีพ ผมได้รับผิดชอบในเร่ืองของการส่งเสริมอาชีพ FARMING POLICY คือ นโยบาย
การเกษตรครบวงจร เปน็ สว่ นหนงึ่ ทาให้ผมได้รับการพิจารณาเป็นผวู้ ่าราชการจงั หวัด

ในปี ๒๕๔๗ ผมได้ก้าวมาสู่จุดมุ่งหมายสูงสุดของชีวิต คือ เป็นผู้ว่าราชการจังหวัดสตูล ที่บ้านเกิด เมื่อผมได้
ข้ึนมาเป็นผู้ว่าราชการจังหวัด ตามที่หวังเอาไว้ หากกล่าวถึงภารกิจในการบริหารงานของผู้ว่าราชการจังหวัด ผมจะ
จาแนกแบ่งออกได้เปน็ ๓ สว่ น คือ

๑. บรหิ ารตามนโยบายรัฐบาล นายกรฐั มนตรี คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม
๒. บริหารตามอานาจหน้าทีข่ องผ้วู า่ ราชการจงั หวดั ท่กี าหนดไวใ้ น พ.ร.บ. ต่าง ๆ
๓. บริหารตามความคดิ ริเร่มิ ของตนเอง หรือทป่ี ระชาชนต้องการ

- ๖๘๖ -

ในขณะที่ผมดารงตาแหน่งเป็นผู้ว่าราชการจังหวดั สตลู มีเรอ่ื งทป่ี ระทับใจ ๒ เรอื่ ง คอื
๑. โครงการท่าเรือน้าลึกปากบารา รัฐบาลมีนโยบายท่ีจะทา Land Bridge จากจังหวัดสตูล

ถึงจังหวัดสงขลา เพื่อเช่ือมการคมนาคมขนส่งระหว่างทะเลอันดามันกับทะเลอ่าวไทย ผลการดาเนินงานได้สาเร็จ
ไปหลายประการ แต่โครงการยตุ ลิ งเน่ืองจากมกี ารเปลี่ยนแปลงของรฐั บาล

๒. แกไ้ ขปญั หาคลื่นยกั ษส์ นึ ามิ ชว่ งวนั เกดิ เหตุ ผมตัดสินใจไดถ้ ูกต้อง คอื
๒.๑ ขอสนับสนุนเรือลาเลียงกาลังพล จากกองทัพเรือภาคท่ี ๓ เพื่ออพยพนักท่องเท่ียว

และชาวบ้านทีต่ ิดอยตู่ ามเกาะตา่ ง ๆ โดยเฉพาะเกาะหลีเป๊ะใหข้ นึ้ มาถงึ ฝั่งไดป้ ลอดภัยทกุ คน
๒.๒ จัดตง้ั ศูนย์ชว่ ยเหลอื ผู้อพยพอยา่ งเร่งดว่ นเพือ่ อพยพประชาชนริมทะเล และคร้ังนี้ผมใช้วิธี

คิดนอกกรอบรูปแบบราชการ คือ ประชาสัมพันธ์ให้ชาวบ้านท่ีมีรถยนต์ส่วนตัว และคนท่ีขับรถผ่านไปมาช่วยรับ
ชาวบา้ นเพอ่ื มายังศูนยอ์ พยพ โดยมีคา่ ตอบแทนให้เจา้ ของรถทกุ คนั ทาใหอ้ พยพขนย้ายไดเ้ ร็วมาก

ผมอยู่จังหวดั สตลู ได้ ๒ ปี กเ็ กิดอุบัติเหตุทางการเมืองถูกย้ายเข้ามาเป็นผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย
ผมอยู่กระทรวงมหาดไทยได้ ๑ ปี หลังจากน้ันก็ได้ย้ายมาเป็นผวู้ ่าราชการจงั หวัดชุมพร

ท่ีจังหวัดชุมพร ผมมองเห็นสนามบินที่สร้างมาตั้งแต่ ปี พ.ศ. ๒๕๓๑ ตอนเกิดพายุเกย์ แต่ถูกทิ้งไว้เป็นเวลานาน
ผมตั้งใจว่าสนามบินแห่งน้ีต้องเปิดใช้ให้ได้ ผมจึงได้ประสานผู้เกี่ยวข้อง ติดต่อสายการบินต่าง ๆ เพ่ือมาทาการบิน
แต่เนอื่ งจากเป็นการบินระยะใกล้ และผู้โดยสารน้อยไม่คุ้มทุน ผมจึงขอความร่วมมือข้าราชการ พ่อค้า และนักธุรกิจ
ที่จะเดินทางไปกรุงเทพมหานคร ให้ช่วยมาโดยสารเคร่ืองบิน และทุกฝ่ายก็ให้ความร่วมมือ ทาให้สายการบิน
ยอมมาทดลองบินจนเตบิ โตมาทุกวนั นี้

อีกโครงการหนึ่งที่น่าสนใจ คือ ผมได้มองเห็นพ้ืนท่ีเขาดินสอในอาเภอปะทิว เป็นพ้ืนที่ท่ีสวยมาก
เหมาะแก่การใช้เป็นพ้ืนที่ทาสวนสัตว์ และผมไปดาเนินการตั้งงบประมาณ เตรียมพ้ืนท่ีไว้ และองค์กรสวนสัตว์
ก็ไดด้ าเนินการอนมุ ัติแลว้ เน่ืองจากผมต้องยา้ ยไปเปน็ ผู้วา่ ราชการจงั หวดั ขอนแก่น โครงการจงึ ไม่ได้ดาเนินการตอ่
ผมยา้ ยมาที่จังหวัดขอนแก่น เปน็ การเปลย่ี นแปลงในชีวิตการรับราชการของผม จากภาคใต้สู่ภาคอีสาน ขอนแก่น
เป็นจังหวัดท่ีผู้คนน่ารักมาก เสียดายผมอยู่ได้แค่ ๕ เดอื น ได้ทาเรอื่ งทค่ี ิดวา่ นา่ จะมปี ระโยชน์ คอื

๑. การจัดหาน้าให้เกษตรกร โดยใช้การส่งน้าตามท่อทาให้เกิดการประหยัด และมีประสิทธิภาพ
ไดท้ าโครงการตัวอย่างท่อี าเภอภูผามา่ น

๒. โครงการกอ่ สรา้ งพทุ ธมณฑลภาคอสี าน ชาวบ้านต้องการเพื่อเป็นแหล่งยึดเหน่ียวจิตใจของชาวบ้าน
แตผ่ มสามารถทาได้เพยี งสร้าง Master Plan เสรจ็ กโ็ ดนย้าย ทุกวนั น้ีเวลาผมกลับไปทจ่ี ังหวัดขอนแก่นผมภมู ิใจทุกครัง้

๓. ช่วงท่ีผมไปดารงตาแหน่งเกิดภาวะนมโคล้นตลาด ชาวบ้านประท้วงโดยเอานมมาเทกลางถนน
เพ่ือกดดันรัฐบาลให้เข้ามาช่วยเหลือ ผมได้คิดแก้ปัญหาใช้วิธีเปิดจุดขายนมช่ัวคราวแทบทุกจุดในจังหวัดขอนแก่น
เพอ่ื ช่วยกระจายสนิ คา้ ของชาวบา้ น

๔. ด้วยช่วงเวลาในขณะน้ันได้เกิดวิกฤตทางเศรษฐกิจ ส่งผลให้ประชาชนตกงานไม่มีงานทาไม่มีรายได้
จึงเดินทางกลับมาอยู่บ้าน ผมจึงให้มีการเปิดให้ลงทะเบียนเพ่ือให้ทราบว่าใครตกงานและไม่มีรายได้ ซึ่งช่วยให้
สามารถจัดหางานให้ประชาชนทาไดเ้ ปน็ จานวนมาก

- ๖๘๗ -

จากขอนแก่นผมยา้ ยมาเป็นอธิบดที อ้ งถ่ิน
ขณะทีผ่ มดารงตาแหน่งอธบิ ดีกรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถ่นิ ผมคดิ ว่าสงิ่ ที่ควรผลกั ดนั ใหเ้ กดิ ข้ึน คอื
๑. ให้องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ินมีอสิ ระในการบริหารงาน ส่วนกลางควบคุมเท่าที่จาเปน็ เท่านัน้
๒. ภารกิจในเร่ืองใดที่ไม่สาคัญควรยกเลิก เช่น การขออนุญาตไปราชการของนายกองค์การ

บริหารสว่ นจงั หวดั นายกเทศมนตรี การแต่งตง้ั ผ้จู ดั การโรงรับจานา
๓. ผลักดันการกระจายอานาจด้านสาธารณสุข และการศึกษา รวมทั้งการศึกษาพิเศษ อาทิ

ผู้พิการ โรงเรียนคนหูหนวก ตาบอด
๔. ปรับปรุงองค์กรและหน่วยงานให้บุคลากรมีสมรรถนะสูง เพ่ือให้สามารถบริการประชาชนได้

อยา่ งรวดเรว็ และมีประสทิ ธิภาพ
๕. กรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถนิ่ คอยสนบั สนบั สนนุ เร่อื งวชิ าการ องค์ความรู้และข้อมูลข่าวสาร

ท่ีเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และการตรวจสอบสอบ กรณีที่มีปัญหาการทุจริต
ของหน่วยงานองคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่

๖. ควรยกเลิกงบประมาณอุดหนุนพิเศษขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพราะเป็นช่องทาง
ที่ใช้แสวงหาผลประโยชน์ทางการเมืองทุกอย่างที่คิดไว้ทาได้น้อยมาก เนื่องจากเมื่อเสนอผ่านคณะกรรมการ
การกระจายอานาจฯ หน่วยงานที่สูญเสยี อานาจจะตอ่ ตา้ นมาก

๓. ปัจจัยความสาเร็จทีส่ ่งผลใหด้ ารงตาแหนง่ ปลัดกระทรวงมหาดไทย
จากอธิบดกี รมการปกครองท้องถ่ิน ผมได้รับการแต่งต้ังเป็นปลัดกระทรวงมหาดไทย ทาให้ผมย้อนกลับ

ไปคิดถึงอดีตผู้บังคับบัญชาท่ีได้ให้ข้อคิดแก่ผมว่า ความสาเร็จในอาชีพรับราชการ ประกอบด้วยความรู้
ความสามารถ โอกาส วาสนา และฟา้ ลิขิต น่าจะเป็นจรงิ

สาหรับตาแหน่งปลัดกระทรวงมหาดไทยเป็นตาแหน่งสุดท้าย เมื่อผมได้เข้ามารับตาแหน่งได้กาหนด
แนวทางปฏิบัติงาน โดยมีความเห็นว่าบทบาทของตาแหน่งนี้เป็นข้อต่อระหว่างฝ่ายการเมืองกับข้าราชการประจา
ต้องพยายามทาให้เกิดผลดีแก่ท้ังสองฝ่าย แม้ว่ากฎหมายจะกาหนดให้ปลัดกระทรวงฯ จะต้องปฏิบัติตามนโยบาย
ของรัฐบาล และมตขิ องคณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม กฎหมาย และความต้องการของประชาชน แต่สาหรับ
ผมจะขีดวงจากดั เนน้ เฉพาะนโยบายของกระทรวงมหาดไทย และรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงมหาดไทยเป็นอนั ดบั แรก

ส่วนในระดับข้าราชการประจา ผมถือว่ามีฐานะเป็นเพ่ือนร่วมงานท่ีมีตาแหน่งต่ากว่า ผมจะคอย
สนบั สนุนใหเ้ ขาทางานสะดวก ควบคุมดูแลให้ยดึ ระเบยี บกฎหมายเป็นแนวทางทางาน

การบริหารในตาแหน่งปลดั กระทรวงมหาดไทย น่าจะเกีย่ วข้องกับ ๓ ส่วนหลัก ไดแ้ ก่
๑. รบั นโยบายจากรัฐบาลและรัฐมนตรวี า่ การนาแปลงส่กู ารปฏบิ ัตมิ าบรหิ ารให้บรรลุเป้าหมาย
๒. กากับดูแลกรมและรัฐวิสาหกิจในสังกัด ในการบริหารให้เป็นไปตามนโยบายกระทรวง

งานในส่วนน้ีบริหารได้ไม่ยากเพราะมีอธบิ ดรี ับผิดชอบโดยตรงแล้ว
๓. ส่วนท่ีผมเห็นว่าสาคัญที่สุด คือ การสนับสนุนให้ผู้ว่าราชการจังหวัดบริหารงานให้เกิด

ประสิทธภิ าพสงู สดุ

- ๖๘๘ -

ดังน้นั ผมจงึ ให้ความสาคัญในเร่อื งดังต่อไปน้ี
๑. การแต่งต้ังผู้ว่าราชการจังหวัด ต้องคัดเลือกบุคคลที่มีความเหมาะสม ทั้งวัยวุฒิ ความรู้

ความสามารถ ความซ่อื สัตย์สจุ รติ
๒. การแต่งตั้งผู้ว่าราชการจังหวัด ในปัจจุบัน ควรกาหนดเวลาในการบริหาร มีระยะเวลาพอสมควร

เพ่อื ให้การพฒั นาในพื้นทเี่ ป็นไปอย่างความต่อเนือ่ งและเห็นผลเปน็ รูปธรรม
๓. ปัจจบุ ันผู้วา่ ราชการจงั หวัด มหี นา้ ท่แี ละความรับผดิ ชอบ ไมส่ อดคลอ้ งกับปัจจยั บริหาร เชน่
๓.๑ เอกภาพในการบังคับบัญชาข้าราชการในจังหวัด เน่ืองจากข้าราชการส่วนใหญ่ในจังหวัด

จะเป็นบุคลากรของกระทรวง กรม ส่วนกลาง ที่ไปทางานกับผู้ว่าราชการจังหวัด หน่วยงานส่วนกลางจะสั่งการ
ผา่ นหน่วยงานตนเองไมผ่ ่านผ้วู า่ ราชการจังหวัด ทาใหบ้ ทบาทของผู้ว่าราชการจงั หวดั ถูกลดทอนลงไปมาก

๓.๒ ดา้ นงบประมาณ ผู้ว่าราชการจังหวัดมีงบประมาณในการบริหารงานของจังหวัดน้อยมาก
ส่วนใหญ่เป็นงบประมาณที่ต้ังที่กรมและหน่วยงาน ๆ เข้าทางานในจังหวัด มักเน้นงาน FUNCTION มากกว่างานพื้นท่ี
ทาให้ผู้ว่าราชการจังหวัดมีอานาจบริหารเพียงให้เป็นไปตามระเบียบพัสดุ แทนที่บริหารให้เป็นไปตามปัญหา
และความจาเป็นในพืน้ ทีห่ รอื ตามยทุ ธศาสตร์จงั หวดั

๔. จังหวัดหน่ึงควรมีแผนพัฒนาจังหวัดเพียงแผนเดียว งบประมาณที่ลงไปในจังหวัดควรรวมกัน
เป็นก้อนเดียวกัน และทาไปตามโครงการและแผนงานท่ีมีอยู่ในแผนพัฒนาจังหวัดก่อน ส่วนการจัดลาดับ
ความสาคญั ก่อนหลงั ของการใช้งบประมาณ ควรมีการต้ังคณะกรรมการพิจารณากลั่นกรอง โดยเน้นการมีส่วนร่วม
ของประชาชน และผู้ทรงคุณวุฒิ ตามสดั ส่วนทเ่ี หมาะสม

๕. ระเบียบกฎหมายที่ใช้ในการบริหารงานของจังหวัดมีมากมาย บางฉบับล้าหลังมาก ควรทา
การยกเลิก แก้ไข ปรับปรุงระเบียบกฎหมายที่ล้าหลังทาให้การบริหารยาก ไม่สามารถตอบสนองความต้องการ
ของประชาชนอย่างรวดเร็ว และการบริหารเชงิ กลยุทธเ์ พือ่ การพัฒนาตามวิสัยทัศน์ของผูว้ ่าราชการจงั หวัด

๖. ผมคดิ ว่าระบบการบริหารงานของผู้วา่ ราชการจังหวัดในปัจจุบัน ไม่ทันกับการเปลี่ยนแปลงของโลก
น่าจะทดลองเลือกจังหวัดตัวอย่างสักตัวอย่าง จัดการปกครองรูปแบบพิเศษให้ผู้ว่ามาจากการเลือกตั้งโดยตรง
ไม่มหี น่วยงานภูมิภาค มีหน่วยงานส่วนกลางเท่าที่จาเป็นจริง ๆ มอบอานาจให้ผู้ว่าราชการจังหวัด สามารถบริหาร
จัดการภายในจังหวัดในทุกเร่ือง เช่น ด้านงบประมาณ บริหารงานบุคคล การกาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนา
คิดวา่ จะเกดิ ประโยชนต์ ่อประเทศชาติและประชาชนมากกว่า

๔. ขอ้ คดิ สาหรับการปฏบิ ัตริ าชการในยุคปัจจุบันใหบ้ รรลผุ ลสัมฤทธิ์
ส่ิงสาคญั ที่จะขอฝากน้อง ๆ ทีย่ งั รบั ราชการอยู่ มีดงั น้ี
๔.๑ สังคมไทยเป็นสังคมเปิด ทุกคนมีโอกาสก้าวหน้าเท่าเทียมกัน และโอกาสเกิดขึ้นต่อหน้าทุก

คนเสมอ แลว้ แตใ่ ครจะไขว่คว้า
๔.๒ การทางานจะเจอ MEANS และ END ต้องวิเคราะห์ให้ชัดเจนว่าอะไร คือ MEANS อะไร คือ End

การบรหิ ารมงุ่ เป้าหมายเปน็ หลกั MANAGEMENT BY OBJECTIVE

- ๖๘๙ -

๔.๓ เมื่อผิดหวังอย่าท้อแท้ เปรียบเสมือนการเล่นฟุตบอล เวลาแค่นิดเดียวท่ีจะทาประตูได้
เพอ่ื ชยั ชนะ และเกิดขึ้นไดใ้ นทุกคนในทกุ ช่วงจังหวะเวลา

๔.๔ แม้จะมีเพื่อน ๆ ก้าวหน้าแซงหน้าเราไปมากน้อยเพียงใด ถ้าแซงไปด้วยความไม่ยุติธรรม
ก็ต้องตงั้ มนั่ วา่ ถา้ เราพยายามขยนั ทาดี เราจะมีโอกาสจงั หวะทจี่ ะก้าวหนา้ ได้เหมอื นกนั

๔.๕ ให้ยดึ ถอื กฎไตรลกั ษณ์ (อนิจจัง ทกุ ขัง และอนตั ตา) วา่ คือ ส่ิงสาคัญทีส่ ดุ ของชีวติ

********************

นายวิเชียร ชวลติ
ปลัดกระทรวงมหาดไทย

ระหว่างวนั ท่ี ๑๔ ธันวาคม ๒๕๕๓ - ๓๐ กนั ยายน ๒๕๕๔

- ๖๙๑ -

๑. ขอ้ มลู ประวัติ

ประวตั สิ ่วนตวั
- เกดิ ที่อำเภอบ้ำนแพ้ว จังหวดั สมุทรสำคร
- บิดำ นำยเจรญิ ชวลิต อำชีพทำสวน / มำรดำ นำงมณี ชวลิต อำชพี ทำสวน
- ภรรยำ นำงพัชรนิ ทร์ ชวลติ อำชีพรบั รำชกำร

ประวัตกิ ารศกึ ษา
- ประถมศึกษำ โรงเรียนวดั ใหม่รำษฎร์นกุ ูล อ.บ้ำนแพว้
- มัธยมศกึ ษำ โรงเรียนวัดธรรมจรยิ ำภริ มย์ อ.บ้ำนแพ้ว
- มธั ยมศึกษำตอนปลำย โรงเรียนดรุณำรำชบุรี อ.เมอื งรำชบรุ ี จ.รำชบรุ ี
- ปรญิ ญำตรี รฐั ศำสตร์ มหำวิทยำลัยธรรมศำสตร์
- ปรญิ ญำตรี นิตศิ ำสตร์ มหำวทิ ยำลยั รำมคำแหง
- ปรญิ ญำโท รฐั ศำสตร์ มหำวิทยำลยั ธรรมศำสตร์

การศึกษาอบรม
- หลักสตู รนำยอำเภอ วทิ ยำลยั กำรปกครอง กรมกำรปกครอง
- หลักสูตรนักปกครองระดบั สูง วิทยำลัยกำรปกครอง กรมกำรปกครอง
- หลกั สูตรผบู้ รหิ ำรกระบวนกำรยุตธิ รรมระดบั สูง (บ.ย.ส.๗) สถำบันพัฒนำข้ำรำชกำรฝ่ำยตุลำกำร ศำลยตุ ธิ รรม
- หลกั สตู รป้องกนั รำชอำณำจักร (วปอ.๔๘) วทิ ยำลยั ป้องกันรำชอำณำจักร
- หลักสูตรวทิ ยำกำรตลำดทนุ (วตท.๑๒) สถำบนั วิทยำกำรตลำดทุน
- หลกั สตู รวทิ ยำกำรประกนั ภัยระดับสูง (วปส.๑) สถำบนั วทิ ยำกำรประกันภยั ระดับสงู
- หลกั สูตรนกั บริหำรระดบั สงู "ธรรมศำสตรเ์ พอื่ สงั คม" (นมธ.๑) มหำวิทยำลยั ธรรมศำสตร์

ประวตั ิการรับราชการ ในตาแหนง่ สาคัญ
- นำยอำเภอคำชะอี จงั หวดั มกุ ดำหำร/ พนสั นคิ ม จงั หวัดชลบุรี/ บำงละมุง จังหวัดชลบรุ ี
- ผู้อำนวยกำรสำนักกำรสอบสวนและนิติกำร กรมกำรปกครอง
- ผวู้ ่ำรำชกำรจงั หวัดอำนำจเจรญิ
- ผวู้ ำ่ รำชกำรจังหวัดสรุ ินทร์
- อธิบดีกรมกำรพฒั นำชุมชน
- ปลดั กระทรวงมหำดไทย
- ปลดั กระทรวงกำรพัฒนำสังคมและควำมมั่นคงของมนุษย์

เกียรติคุณ :
- เคร่อื งรำชอิสรยิ ำภรณ์ มหำปรมำภรณ์ชำ้ งเผือก
- เคร่อื งรำชอสิ รยิ ำภรณ์ มหำวชริ มงกุฎ

- ๖๙๒ -

การดารงตาแหนง่ สาคัญ
- สมำชิกสภำขับเคล่อื นกำรปฏิรปู ประเทศ ปี พ.ศ. ๒๕๕๘
- กรรมกำรในคณะกรรมกำร กำรปฏิรปู ประเทศ ดำ้ นสงั คม ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
- ทีป่ รึกษำรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงพำณิชย์ ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
- สมำชิกสภำผแู้ ทนรำษฎรชุดท่ี ๒๕ ปี พ.ศ. ๒๕๖๒

๒. ผลงาน เทคนิคท่ีใชใ้ นการบริหารจัดการ และปจั จยั แห่งความสาเร็จ
ก้าวแรกของชีวิตราชการ
๘ มกรำคม ๒๕๒๒ วันแรกของกำรรับรำชกำรของผม ที่พกเอำควำมมุ่งมั่นอยำกทำงำนด้วยเจตนำ

เพือ่ เปน็ ปลดั อำเภอจะได้ทำงำนดูแลประชำชนในพื้นที่หำ่ งไกล ตำมอุดมกำรณ์ทส่ี ่ังสมมำตั้งแต่เรียนหนังสือในมหำวิทยำลัย
และอีกประกำรหนึ่งด้วยควำมที่ผมสอบบรรจุแต่งต้ังเข้ำรับรำชกำรเป็นปลัดอำเภอได้ลำดับที่ ๑ ซึ่งจะถูกปรำมำส
ว่ำจะไม่ประสบผลสำเร็จในชีวิตรำชกำร มีอำจำรย์ท่ำนหน่ึงชมเชยควำมสำมำรถของผมด้วยกำรบอกว่ำถ้ำแน่จริง
ต้องเป็นผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดให้ได้ ด้วยเหตุผลสองประกำรดังกล่ำวจึงเป็นแรงบันดำลใจในหลำย ๆ เรื่องในกำรทำงำน
ของผมในเวลำตอ่ ๆ มำ

เนื่องจำกเมอ่ื เรียนหนังสอื จบมำ ผมได้มโี อกำสทำงำนท้ังในบริษทั เอกชนและรัฐวิสำหกิจ จึงเป็นประสบกำรณ์
ในกำรทำงำนเร่ิมต้นของชีวิตท่ีต้องเลือก ระหว่ำงเพื่อตำมอุดมกำรณ์หรือเพ่ือควำมสำเร็จของตนเอง หรือเพื่อครอบครัว
และทำอย่ำงไรจึงจะให้เกิดควำมสมดุลระหว่ำงเป้ำหมำยต่ำงๆ เม่ือได้ทำงำนมีผู้ใหญ่ท่ำนหน่ึงแนะนำและผมเห็นว่ำ
เปน็ ประโยชน์อยำ่ งยงิ่ คอื ในชวี ิตเรำมตี ้นทุนท่แี ตกต่ำงกนั แต่สิง่ ที่เรำมเี ท่ำกันหมดไม่แตกต่ำงกัน คือ ทุกคนมีเวลำ
เท่ำกัน คอื วันละ ๒๔ ช่วั โมง จงึ อยทู่ ี่เรำจะใช้เวลำทำอะไรบำ้ ง บำงคนทุ่มเทเวลำทั้งหมดเพ่ือทำงำน บำงคนใช้เวลำท้ังหมด
เพ่อื ควำมสขุ สว่ นตน บำงคนใช้เวลำส่วนใหญ่กับครอบครัว ดังนั้นเรำต้องจัดแบ่งเวลำให้สมดุล จึงจะทำให้เรำทำงำน
อยำ่ งมีควำมสุข จงึ เป็นอกี หน่งึ ปรัชญำในกำรทำงำนของผมในเวลำต่อ ๆ มำ

เมื่อเป็นปลัดอำเภอหนุ่มคนหนึ่งของจังหวัดนครรำชสีมำ จึงอำสำทำงำนทุกอย่ำงที่มี ให้ทำได้ทั้งงำน
ในหน้ำท่ีรำชกำรของท่ีว่ำกำรอำเภอ และงำนอ่ืน ๆ ของนักปกครอง ในขณะนั้นงำนเลือกตั้งอยู่ในควำมรับผิดชอบ
ของกระทรวงมหำดไทย งำนอบรมประชุมชำวบ้ำน งำนพัฒนำท้องท่ีก็เป็นงำนสำคัญมำกเพรำะยังไม่มีท้องถ่ิน
รับผิดชอบงำนทะเบียนต่ำง ๆก็ได้ปลัดอำเภอรุ่นพ่ีและนำยอำเภอช่วยสอนงำนแนะนำ นับเป็นควำมรู้ใหม่ในกำรทำงำน
ที่น่ำศึกษำ และท้ำทำยอย่ำงมำก เป็นควำมสุขในกำรทำงำน ระหว่ำงนั้นอยู่อำเภอบ้ำง มำช่วย งำนจังหวัดบ้ำง
เม่อื มำทำงำนท่ีจังหวัดท่ำนผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดก็จะแนะนำส่ังสอน ทำให้ได้รับประสบกำรณ์ท่ีมีคุณค่ำและเป็นประโยชน์
ต่อกำรทำงำน แต่อยู่ได้ไม่ถึงสองปีก็ย้ำยเข้ำมำรับรำชกำรในส่วนกลำงที่กรมกำรปกครอง ชีวิตเปลี่ยนไปมำก
งำนก็แตกต่ำงไปอย่ำงส้ินเชิง ท้ังเน้ืองำนและสังคมกำรทำงำน ได้ลิ้มรสของกำรแข่งขันกันทำงำนระหว่ำงผู้มำกด้วยฝีมือ
ในกำรทำงำน งำนท่ีต้องมีคุณภำพต้องถูกต้องทั้งหลักกฎหมำยและกำรบริหำรจัดกำร นับว่ำได้ใช้ควำมรู้

- ๖๙๓ -

ควำมสำมำรถอย่ำงสูงทั้งงำนหนังสือและแนวคิดในกำรทำงำน วิชำกำรควำมรู้และประสบกำรณ์ในกำรทำงำน

ถกู นำมำใชอ้ ยำ่ งเต็มที่

จดุ เรมิ่ ตน้ ของโอกาสความก้าวหนา้ ขนั้ แรก
ปี พ.ศ. ๒๕๓๒ ผมได้รับกำรคัดเลือกให้เข้ำศึกษำอบรมในวิทยำลัยกำรปกครองหลักสูตรนำยอำเภอ

นับเป็นควำมภำคภูมิใจและกระตุ้นควำมเชื่อม่ันในกำรทำงำนของผมอีกคร้ังหนึ่ง เพรำะกำรรับรำชกำรใน
กรมกำรปกครองหำกไม่ได้ผ่ำนตำแหน่งนำยอำเภอแล้วโอกำสเติบโตเป็นผู้ใหญ่ในโอกำสต่อ ๆไปก็เป็นไปได้ยำก
ต้องขอขอบพระคุณท่ำนอดีตอธิบดีกรมกำรปกครอง คือ ท่ำนฉลอง กัลยำณมิตร ได้จัดให้มีกำรสอบคัดเลือก
และกำรคัดเลือกอย่ำงละกึ่งหน่ึง เพื่อให้ได้คนที่มีควำมรู้ ควำมสำมำรถ และผู้ที่มีประสบกำรณ์สูง (อำวุโส
ในรำชกำร) เขำ้ ศกึ ษำอบรม ผมจึงได้มีโอกำสเข้ำอบรม และเป็นกลุ่มอำยุน้อย ที่โรงเรียนนำยอำเภอที่ประกอบด้วย
ผู้ผ่ำนกำรสอบคัดเลือกส่วนใหญ่อำยุน้อยกับผู้ผ่ำนกำรคัดเลือกส่วนใหญ่อำยุมำก เมื่อประกอบกันแล้ว
จะช่วยส่งเสริมคุณภำพบุคลำกรท่ีสำคัญ คือ ผู้อำยุน้อยจะสุขุมและสนใจประสบกำรณ์มำกขึ้น ในขณะผู้อำวุโส
จะเพิ่มแรงบันดำลใจ กระฉับกระเฉงข้ึนโดยอัตโนมัติ นับเป็นภูมิปัญญำท่ีทรงคุณค่ำอย่ำงหนึ่ง โรงเรียนนำยอำเภอ
สอนในหลำยเรอ่ื งบ่มเพำะควำมเปน็ นกั ปกครอง ท่ีรู้จักรับผดิ ชอบตอ่ หนำ้ ท่ี เพรำะต้องดูแลโดยไม่มีขอบเขตว่ำเป็นภำรกิจ
ของสว่ นรำชกำรใด ไม่มขี อบเขตวำ่ เฉพำะในเวลำรำชกำร ทุกข์สุขของประชำชนในพื้นที่รับผิดชอบอยู่ท่ีนำยอำเภอ
เต็มเปี่ยม หลักกำรน้ีเป็นไปตำมกฎหมำยรองรับและเป็นพ้ืนฐำนของนักปกครอง คือ พระรำชบัญญัติลักษณะ
ปกครองทอ้ งที่ พ.ศ. ๒๔๕๗

จำกควำมรู้และหลักกำรดังกล่ำว เมื่อผมได้ไปเป็นนำยอำเภอ โดยเฉพำะคร้ังแรกนับเป็นประสบกำรณ์
ท่ีมีคุณค่ำของชีวิตนักปกครองอย่ำงแท้จริง ในปี พ.ศ. ๒๕๓๕ ผมไปเป็นนำยอำเภอครั้งแรกที่อำเภอคำชะอี
จังหวดั มุกดำหำร กำรไดท้ ำงำนกับชำวบ้ำนอย่ำงแท้จริง ควำมร่วมมือระหว่ำงชำวบ้ำนกับทำงรำชกำรเป็นไปอย่ำงดีย่ิง
โดยเฉพำะกำรพัฒนำท้องท่ีรวมทั้งขณะนั้นนำยอำเภอทำหน้ำท่ีเป็นผู้บริหำรท้องถิ่นในรูปสุขำภิบำลด้วย นับเป็น
ควำมประทับใจและเป็นของขวัญอันมีค่ำย่ิงกับกำรเป็นนำยอำเภอครั้งแรกของผม และอีกงำนที่สำคัญ คือ
นำยอำเภอไล่ปรำบปรำมบ่อนพนันว่ิงในงำนศพ ได้รับกำรตอบรับจนชำวบ้ำนร่วมมือสนับสนุนแจ้งเบำะแสอื่น ๆ
อีกมำกมำย โดยสรปุ แล้วอะไรที่เปน็ ปญั หำชำวบ้ำน หำกนำยอำเภอเข้ำดำเนินกำร ควำมร่วมมืออย่ำงเต็มเปี่ยมจำก
ส่วนรำชกำรและชำวบ้ำนเป็นไปอย่ำงดียิ่ง จำกอำเภอแรกต่อมำปี พ.ศ. ๒๕๓๙ ผมไปเป็นนำยอำเภอพนัสนิคม
จังหวัดชลบุรี ซ่ึงมีควำมอำวุโสและประสบกำรณ์ในส่วนกลำงมำช่วงหนึ่งแล้ว ที่พนัสนิคมผมได้มีโอกำสทำงำน
ในหลำย ๆ เร่ือง ได้สำนต่องำนสร้ำงที่ว่ำกำรอำเภอหลังใหม่ และทำพิธีเปิดท่ีว่ำกำรอำเภอโดยรัฐมนตรีว่ำกำร
กระทรวงมหำดไทย มงี ำนพัฒนำบรกิ ำรของทว่ี ำ่ กำรอำเภอ นำระบบคิวอัตโนมัติมำใช้ท่ีอำเภอเป็นแห่งแรก โดยอำเภอ
ทำเอง และต่อมำพัฒนำระบบโดยกำรริเริ่มของผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดชลบุรี (ขณะน้ันคือนำยสุจริต ปัจฉิมนันท์)
คือ กำรจัดทำระบบมำตรฐำน งำนบริกำรในระบบรับรองมำตรฐำน ISO ๙๐๐๐ (และผมได้พัฒนำต่อเน่ืองจนไป
ทำต่อเม่ือดำรงตำแหน่งนำยอำเภอบำงละมุง จังหวัดชลบุรี จนได้รับกำรรับรองมำตรฐำนเป็นอำเภอแรกของ
ส่วนรำชกำรต่ำง ๆ) ผมได้นำน้ำยำตรวจสำรเสพติดมำใช้เพ่ือตรวจผู้ติดยำบ้ำในกำรดำเนินกำรแก้ไขปัญหำ
ยำเสพติด ต่อเนื่องกันในปี พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้ย้ำยไปดำรงตำแหน่งนำยอำเภอที่สำม คือ นำยอำเภอบำงละมุง

- ๖๙๔ -

จังหวัดชลบุรี งำนก็เปลี่ยนโฉมหน้ำไปอีก ที่อำเภอบำงละมุงเป็นแหล่งท่องเที่ยว กำรดูแลสถำนบริกำรต่ำง ๆ
ตำมนโยบำยของกระทรวงมหำดไทยเป็นงำนทยี่ ำกท่ีตอ้ งท่มุ เทกำลงั กำยและควำมรู้ควำมสำมำรถในกำรกำกับดูแล
และเป็นประสบกำรณ์ท่ีเป็นพ้ืนฐำนนำไปใช้เม่ือไปรับผิดชอบในกำรอำนวยกำร งำนสถำนบริกำรเม่ือไปดำรง
ตำแหน่งผู้อำนวยกำรสำนักสอบสวนและนิติกำรในเวลำต่อมำเม่ือ ปี พ.ศ. ๒๕๔๖ จำกประสบกำรณ์ ๓ อำเภอ
ท่แี ตกตำ่ งกัน ไดส้ ะสมเป็นหลกั กำรทำงำนอันเปน็ พืน้ ฐำนของนกั ปกครองอย่ำงแท้จริง และช่วยเสริมสร้ำงควำมเช่ือม่ัน
ในกำรทำงำนตอ่ ไป

ด้วยประสบกำรณ์อันทรงคุณค่ำของกำรสลับกำรทำงำนในรำชกำรส่วนภูมิภำคท่ีจังหวัดและอำเภอ

กับรำชกำรส่วนกลำงในกรมกำรปกครอง นับเป็นภูมิปัญญำของกำรสร้ำงและพัฒนำควำมรู้ ควำมสำมำรถของ

บุคลำกรของกระทรวงมหำดไทย เพรำะทำให้เรำสำมำรถเรียนรู้ ทั้งกำรส่ังกำรและกำรอำนวยกำรที่มีประสิทธิภำพ

และบรรลุวัตถุประสงค์ได้ด้วย กำรท่ีเป็นผู้ปฏิบัติในภูมิภำคในตำแหน่งต่ำงท่ีต่ำงเวลำ หรือต่ำงลำดับช้ันไปด้วย

จำกประสบกำรณ์นี้เมื่อผมได้มีโอกำสไปทำงำนเป็นผู้บริหำรระดับสูงในกระทรวงในเวลำต่อมำ ก็ได้นำหลักกำร

และวธิ ีกำรอนั เปน็ ประโยชนข์ องกระทรวงมหำดไทยไปปรับใช้อย่ำงไดผ้ ลสัมฤทธิด์ ้วย

เมอ่ื เป็นรองผู้วา่ ราชการจงั หวดั และผ้วู ่าราชการจังหวดั
ในปี พ.ศ. ๒๕๔๗ ผมไปเป็นรองผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดบุรีรัมย์ นับเป็นประสบกำรณ์แรกของกำรทำงำน

ท่ีศำลำกลำงจังหวัด แต่ประสบกำรณ์กำรทำงำนในส่วนกลำงได้ช่วยให้กำรทำงำนท่ีต้องประสำนงำนต่ำงกระทรวง

เป็นไปได้รำบรื่น และประสบกำรณ์นักปกครองในฐำนะนำยอำเภอ งำนกฎหมำยที่รับผิดชอบในกรมกำรปกครอง

ช่วยให้กำรทำงำนไดป้ ระสบผลสำเร็จ และผมไดย้ ้ำยไปเปน็ ผู้ว่ำรำชกำรจงั หวัดอำนำจเจริญในเวลำตอ่ มำ

ในปี พ.ศ. ๒๕๕๑ ได้รับกำรแต่งตั้งเป็นผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดครั้งแรกท่ีจังหวัดอำนำจเจริญ เป็นไปตำม
เจตนำและข้อท้ำทำยเม่ือแรกบรรจุแต่งต้ังเป็นปลัดอำเภอ ประสบกำรณ์กำรเป็นรองผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด ๓ ปีเศษ
ประกอบกับ ระลึกถึงอุดมกำรณ์เม่ือเข้ำทำงำน จึงคิดถึงชำวบ้ำนในพื้นที่เป็นเป้ำหมำย ได้พำส่วนรำชกำรต่ำง ๆ
ออกเย่ียมเยียนดูแลทุกข์สุขด้วย ไปพักค้ำงแรมในพ้ืนท่ีเพ่ือรับฟังทุกข์สุขของชำวบ้ำน ในโอกำสจัดบริกำรจังหวัด
เคลอ่ื นที่ จงึ ไดร้ บั ทรำบขอ้ เท็จจรงิ และควำมต้องกำรของชำวบ้ำนอยำ่ งแทจ้ รงิ สง่ิ ที่ปรำกฏก็คอื ชำวบ้ำนมีควำมรู้สึก
ว่ำทำงรำชกำรไม่ทอดทิ้งชำวบ้ำน ปัญหำต่ำงๆถูกถ่ำยทอดถึงผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดและส่วนรำชกำรเจ้ำของเรื่อง
อนั นำไปสู่กำรบรกิ ำรทีต่ รงตำมควำมต้องกำรไม่เป็นภำระของชำวบ้ำน ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดได้ทรำบถึงข้อเท็จจริง ถึงชีวิต
ควำมเปน็ อยู่ กำรประกอบอำชพี อย่ำงแท้จรงิ อนั นำไปสู่กำรแก้ปัญหำได้ตรงจุด เป็นกำรรับข้อมูลตรง หลักกำรน้ี
ผมได้ดำเนินกำรต่อเนื่องมำจนเป็นผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดที่สอง คือ จังหวัดสุรินทร์ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ที่จังหวัด
สุรินทร์ ผมได้มีโอกำสทำงำนแก้ไขปัญหำ ซึ่งเป็นเฉพำะพื้นที่จังหวัด เช่น เรื่องช้ำง กำรส่งเสริมกำรท่องเที่ยว
กำรสง่ เสรมิ ผลิตภัณฑท์ ีส่ ำคัญ คือ ข้ำวหอมมะลอิ นิ ทรีย์ เป็นต้น

เปน็ อธิบดแี ละปลดั กระทรวง
ผมเป็นอธิบดีครั้งแรกที่กรมกำรพัฒนำชุมชน เป็นงำนท้ำทำยมำกเพรำะมีภำรกิจ กว้ำงขวำงแต่มีข้อจำกัด

มำกด้วยเช่นกัน ภำรกิจท่ีไม่มีบทบัญญัติกฎหมำย ตำมพระรำชบัญญัติท่ีต้องรับผิดชอบงำนหลำยอย่ำงท่ีทำอยู่เดิม

- ๖๙๕ -

ถ่ำยโอนไปเป็นภำรกิจของท้องถิ่น และกระทรวงกรมอ่ืน เช่นเร่ืองเด็กและสตรี เป็นต้น งำนท่ีปรำกฏและรับรู้กันมำก
คือ งำนสง่ เสริมหนึง่ ตำบลหนึ่งผลติ ภัณฑห์ รอื OTOP ระหว่ำงเปน็ อธบิ ดีฯผมได้มโี อกำสเป็นกรรมกำรในรัฐวิสำหกิจ
คือ กำรประปำส่วนภูมิภำค ได้สัมผัสมิติใหม่ของกำรเป็นผู้บริหำรเพื่ออำนวยประโยชน์สุขกับประชำชนอย่ำงกว้ำงขวำง
และซับซ้อนยิ่งขึ้น เป็นอธิบดีอยู่ได้ไม่นำนก็มีเหตุเปล่ียนแปลงตำแหน่ง คร้ังแรกกระทรวงมหำดไทยพิจำรณำเสนอ
ยำ้ ยผมไปดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมกำรปกครอง โดยมมี ติคณะรัฐมนตรี แต่ก็มเี หตขุ ัดข้องเพรำะมีปัญหำท่ีท่ำนอธิบดี
กรมกำรปกครองคนเดิมซึ่งได้รับกำรเสนอให้ไปเป็นปลัดกระทรวงมหำดไทยไม่สำมำรถไปดำรงตำแหน่งได้ จึงมีกำรปรับ
ย้ำยใหม่อีกครั้ง โดยมีมติคณะรัฐมนตรีให้ผมเล่ือนและแต่งตั้งจำกอธิบดีกรมกำรพัฒนำชุมชนไปเป็นปลัดกระทรวง
มหำดไทยตั้งแต่วันที่ ๑๔ ธันวำคม ๒๕๕๓ ผมอยู่ในตำแหน่งปลัดกระทรวงมหำดไทยจนถึงเดือนกันยำยน ๒๕๕๔
จึงมีมติคณะรัฐมนตรีย้ำยผมให้ไปดำรงตำแหน่งเป็นที่ปรึกษำนำยกรัฐมนตรีฝ่ำยข้ำรำชกำรประจำ (ปฏิบัติหน้ำที่
เลขำธิกำรคณะกรรมกำรยุทธศำสตร์เพ่ือวำงระบบกำรบริหำรทรัพยำกรน้ำ) และอยู่ปฏิบัติหน้ำที่ที่สำนัก
นำยกรัฐมนตรี จนถงึ เดือนพฤษภำคม ๒๕๕๕ ก็มีมติคณะรัฐมนตรีให้ผมไปดำรงตำแหน่งปลัดกระทรวงอีกครั้งหน่ึง
และอยู่ปฏิบัติหน้ำท่ีท่ีกระทรวงกำรพัฒนำสังคมและควำมม่ันคงของมนุษย์ จนถึง ๓๐กันยำยน ๒๕๕๘ ก็ครบ
เกษียณอำยุรำชกำร ระหว่ำงกำรดำรงตำแหน่งปลัดกระทรวงซ่ึงถือเป็นตำแหน่งสำคัญมำกในกำรบริหำรรำชกำร
นับเป็นช่วงเวลำของกำรใช้ประสบกำรณ์ท่ีส่ังสมมำ มำใช้ในกำรบริหำรงำนที่กระทรวงมหำดไทย ใช้หลักกำร
เป็นนักปกครองประกอบกับหลักบริหำรรำชกำร แต่เม่ือไปดำรงตำแหน่งท่ีกระทรวงกำรพัฒนำสังคมและควำมม่ันคง
ของมนุษย์ จะใชห้ ลักกำรบรหิ ำรรำชกำรมำกกว่ำ แต่ประสบกำรณ์ของกำรทำงำนในภูมิภำคมีคุณค่ำและภูมิปัญญำ
เปน็ ขอ้ มลู ทีส่ ำคญั ยง่ิ ชว่ งเวลำ ๑ ปี ในตำแหนง่ ปลัดกระทรวงมหำดไทยไม่มำกนักแต่เป็นปลัดกระทรวงกำรพัฒนำ
สังคมและควำมม่ันคงของมนษุ ยถ์ งึ ๓ ปี ๖ เดอื น หำกจะนำมำกล่ำวในสำระสำคัญคงไมเ่ หมำะสมนกั

สิ่งที่เขียนมำจึงเป็นประสบกำรณ์และหลักในกำรทำงำนท่ีสำคัญในระหว่ำงดำรงตำแหน่งและประมวล
เป็นหลักกำรทีใ่ ชต้ ่อเน่อื งในกำรเปน็ ผบู้ รหิ ำรระดับสูง

เทคนคิ การบรหิ ารจัดการ
จำกประสบกำรณ์และผลงำนในตำแหน่งต่ำง ๆ จะเห็นได้ว่ำชีวิตนักปกครองของผมในกระทรวงมหำดไทย

อนั นำไปสูห่ ลกั กำรหรือเทคนิคที่นำไปใช้ในกำรบริหำรในตำแหน่งผู้บริหำรระดับสูง ซึ่งประกอบด้วย ๔ ส่วน ที่สำคัญ คอื
๑. อุดมกำรณ์ อันเป็นเคร่ืองนำทำงหรือเป้ำหมำยหลัก เป็นเข็มทิศในกำรทำงำน น่ันก็คือ

ประชำชนหรือชำวบ้ำนต้องได้รับกำรดูแลทุกข์สุข อันเป็นปรัชญำของคนมหำดไทย คือ บำบัดทุกข์บำรุงสุข และจะเป็น
เป้ำหมำยในทุกกิจกรรมทุกระดับของกำรทำงำน หำกเกิดลังเลในเป้ำหมำยไม่มั่นใจ แล้วจะดำเนินกำรไปเพื่ออะไร
ต้องกำรผลสัมฤทธิ์อะไรก็ต้องกลับไปดูว่ำเป้ำหมำยสุดท้ำยท่ีต้องกำรได้รับกำรตอบสนองอย่ำงไร บำบัดทุกข์บำรุงสุข
หรอื ไม่

๒. ประสบกำรณ์ กำรมีประสบกำรณ์ในตำแหน่งงำนต่ำง ๆ ท่ีหลำกหลำยจำเป็นต้องมีและ
บคุ ลำกรท่ีดี ต้องพร้อมที่จะเลือกแสวงหำทั้งโดยองค์กรจัดกำรหรือเจ้ำตัวเองต้องจัดกำร หำกมีโอกำสแล้วไม่สั่งสม

- ๖๙๖ -

ประสบกำรณ์ก็จะไม่สร้ำงโอกำส ท้ังรำชกำรส่วนกลำงและภูมิภำค ท้ังงำนวิชำกำรและปฏิบัติกำร ท้ังภูมิภำค
ท่ีแตกต่ำงกัน ท้ังลักษณะงำนท่ีปฏิบัติล้วนเป็นส่ิงท่ีเกื้อกูลให้เกิดประสบกำรณ์ที่ครอบคลุมและต่อยอดเป็นพื้นฐำน
ทำงกำรบรหิ ำรจดั กำรเมอ่ื มตี ำแหน่งสงู ขน้ึ ตำมลำดับ

๓. องคก์ รและแนวทำง เปน็ เรอื่ งที่สำคัญและเปน็ ตวั อย่ำงของควำมสำเร็จของกระทรวงมหำดไทย
ซง่ึ มี ๒ เรอ่ื งที่สำคัญมำกและปจั จบุ นั กระทรวงยังใช้อยู่ ประกำรแรก คือ กำรโยกย้ำยข้ำรำชกำรเพ่ือสร้ำงควำมหลำกหลำย
ในประสบกำรณ์ของบุคลำกรทั้งในรำชกำรส่วนภูมิภำค และรำชกำรส่วนกลำงในตำแหน่งและระดับชั้นท่ีแตกต่ำงกัน
ทั้งในควำมแตกต่ำงของภูมิภำค ทั้งลักษณะงำนท่ีแตกต่ำง ประกำรท่ีสอง คือ กำรเปิดโอกำสให้คนที่มีควำมรู้
ควำมสำมำรถได้มีโอกำสก้ำวหน้ำคู่กันไปกับระบบอำวุโสเพรำะจะไม่ปิดโอกำสให้ผู้มีควำมรู้ควำมสำมำรถได้เป็น
ผู้บริหำรองค์กร แต่ประเด็นสำคัญต้องไม่เลือกปฏิบัติกับบุคคลกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง หรือสถำบันกำรศึกษำใดเป็นกำรเฉพำะ
และปิดก้ันโอกำสเฉพำะ ไม่เปิดโอกำสที่เท่ำเทียม ไม่โปร่งใสเป็นธรรมกับผู้มีควำมรู้ควำมสำมำรถอย่ำงแท้จริง
ซ่ึงจะเป็นกำรบัน่ ทอนกำลังใจและควำมเชอ่ื มั่นศรทั ธำในองค์กร

๔. ครูหรือต้นแบบของนักปกครองหรือผู้บริหำรกำรปกครอง นับเป็นส่วนสำคัญย่ิงที่บุคลำกรจะได้มี
โอกำสเรียนรู้กำรทำงำนจำกรุ่นพ่ีหรือผู้บังคับบัญชำท้ังผ่ำนงำน ทำงวิชำกำร กำรศึกษำอบรมหรือผ่ำนกำรเป็น
ผู้ใต้บังคับบัญชำ ตัวผมเองได้เรียนรู้ทั้งจำกรุ่นพี่ ผู้บังคับบัญชำ หรือวิทยำกรผู้สอนในกำรฝึกอบรม หรืองำนเขียน
ทำงวิชำกำร ซึ่งจะขอกล่ำวถึงในส่วนของผู้บังคับบัญชำซ่ึงมีคุณูปกำรแก่ตัวผมเอง ท่ำนแรกคือ นำยอำเภอคนแรก
(นำยสถิตย์ อินทะสอน นำยอำเภอพิมำย จังหวัดนครรำชสีมำ ปี พ.ศ. ๒๕๒๒) เป็นครูหรือต้นแบบในกำรออกเย่ียมเยียน
ชำวบ้ำนพบปะพูดคุยในยำมค่ำคืนกับชำวบ้ำนในพื้นท่ี ต่อมำเมื่อย้ำยมำดำรงตำแหน่งในส่วนกลำงท่ีกรมกำรปกครอง
ผู้อำนวยกำรกองท่ำนแรก (นำยสมบัติ สืบสมำน ผู้อำนวยกำรกองรำชกำรส่วนจังหวัดและตำบล ปี พ.ศ.๒๕๒๓)
ได้เรียนรู้งำนหนังสือและงำนอำนวยกำร เพ่ือสั่งกำรใปยังส่วนภูมิภำคจำกกรมกำรปกครอง ต่อมำได้รับกำรมอบหมำย
ให้ปฏบิ ัตหิ นำ้ ทเี่ ป็น เลขำนุกำรของท่ำนรองอธบิ ดีกรมกำรปกครอง (นำยพชิ ิต ลักษณะสมพงศ์ รองอธิบดีกรมกำรปกครอง
ฝ่ำยรำชกำรส่วนท้องถ่ิน) ได้เรียนรู้งำนหนังสือ ส่ังกำรเกี่ยวกับรำชกำรส่วนท้องถ่ิน นับเป็นห้วงเวลำที่ได้เรียนรู้
ศึกษำ งำนรำชกำรส่วนท้องถิ่นมำกที่สุดช่วงหนึ่ง ต่อมำได้ครูอีกท่ำน คือ ท่ำนรองอธิบดีกรมกำรปกครอง
(นำยชำญชยั สุนทรมัฏฐ์ ระหว่ำงดำรงตำแหน่งเป็นหวั หน้ำฝ่ำย ในกองวชิ ำกำรและแผนงำน เปน็ ผู้อำนวยกำรสำนัก
บรหิ ำรรำชกำรส่วนท้องถิ่น เป็นรองอธิบดกี รมกำรปกครอง) ได้เรียนรู้งำนที่หลำกหลำย นับเป็นครูในฐำนะนักปกครอง
ทเ่ี ป็นนักปฏบิ ตั ิกำรท่ีสมบูรณ์แบบท่ำนหนึ่ง ครูในเวลำต่อมำคือท่ำนรองอธิบดีกรมกำรปกครอง (นำยชูวงศ์ ฉำยะบุตร
อธิบดีกรมกำรปกครอง) ท่ำนเป็นต้นแบบของงำนหนังสือระเบียบกฎหมำยวิชำกำรและกำรบริหำรรำชกำรท่ีสมบูรณ์
ครบถ้วนท่ำนหน่ึง และอีกท่ำนหนึ่งซึ่งเป็นครูและผู้บังคับบัญชำที่ช่วยทำให้ผมประสบผลสำเร็จในตำแหน่งหน้ำท่ี
ระดับสูง คือ ท่ำนอธิบดีกรมกำรปกครอง (นำยสุจริต ปัจฉิมนันท์) ผมได้เรียนรู้งำนเป็นผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
งำนกำรเป็นอธิบดีท่ีมีคุณค่ำย่ิง บุคคลท่ีผมกล่ำวถึงล้วนเป็นครูที่ไม่เก็บควำมรู้ไว้แต่ถ่ำยทอดและสอนแนะแนว

- ๖๙๗ -

ทำงกำรทำงำนแก่นักปกครองรุ่นต่อ ๆ มำ และนับเป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่ขำดไม่ได้ เพรำะวิชำกำรเชิงปฏิบัติ
ไม่มีสอนในสถำบนั กำรศึกษำได้

กำรทำงำนที่มีอุดมกำรณ์ ทุ่มเท เสียสละ สร้ำงสมประสบกำรณ์ มีครูสอนแนะนำถ่ำยทอดองค์ควำมรู้
ย่อมยังประโยชน์ตอ่ สงั คมและชุมชนอย่ำงย่งั ยนื สมกับปรัชญำ “บำบดั ทกุ ข์ บำรงุ สขุ ” อย่ำงแท้จริง

********************

- ๖๙๘ -

นายพระนาย สวุ รรณรัฐ
ปลดั กระทรวงมหาดไทย
ระหว่างวันท่ี ๗ ตุลาคม ๒๕๕๔ – ๓๐ กันยายน ๒๕๕๕

นายพระนาย สวุ รรณรฐั
ปลัดกระทรวงมหาดไทย

ระหว่างวนั ที่ ๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๔ - ๓๐ กนั ยายน ๒๕๕๕

- ๖๙๙ -

๑. ข้อมูลประวัติ

การศกึ ษา
- พ.ศ. ๒๔๙๘ - ๒๔๙๙ เข้าเรียนชน้ั อนบุ าล ๑ - ๒ ทโ่ี รงเรียนอนบุ าลสงขลา
- พ.ศ. ๒๕๐๐ - ๒๕๐๔ เขา้ เรียนตอ่ ในกรงุ เทพฯ ระดับประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ - ๔ ที่โรงเรยี นราชินี
- พ.ศ. ๒๕๐๕ - ๒๕๑๒ เข้าเรียนตอ่ ประถมศึกษาปที ี่ ๕ - ม.ศ.๕ ทีว่ ชริ าวุธวทิ ยาลัย
- พ.ศ. ๒๕๑๓ - ๒๕๑๗ เข้าศึกษาตอ่ ระดบั ปรญิ ญาตรี นติ ศิ าสตรบณั ฑิต (น.บ.) มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
- พ.ศ. ๒๕๑๘ - ๒๕๑๙ ระดับปรญิ ญาโท หลักสตู รบรหิ ารรัฐกิจ M.P.A. (U.S.A.) มหาวทิ ยาลยั อนิ เดียน่า
ประเทศสหรัฐอเมริกา

การอบรม
- ดูงาน ณ ประเทศอติ าลี
- หลักสูตรปลัดอาวุโส รนุ่ ที่ ๔ ระหว่างวนั ที่ ๔ พฤศจิกายน - ๖ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๒๘
- หลกั สตู รนายอาเภอ รุ่นที่ ๒๘ ระหวา่ งวนั ที่ ๒๙ กุมภาพนั ธ์ - ๒๔ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๓๑
- หลักสตู รวทิ ยาลยั ปอ้ งกันราชอาณาจักร รนุ่ ๔๔๑๔

ประวัตกิ ารรับราชการในตาแหนง่ สาคัญ
- ดารงตาแหน่ง เจ้าหนา้ ทบี่ รหิ ารงานทั่วไป สานักงานจงั หวดั เชยี งราย ตาแหน่ง “อักษรเลข”
หรอื เลขานกุ ารผวู้ า่ ราชการจงั หวดั เชยี งราย
- ปี พ.ศ. ๒๕๒๒ ย้ายไปเป็นเจา้ หน้าท่ีวเิ ทศสมั พนั ธ์ ๔ สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยปฏบิ ัติงานในพ้ืนที่
ส่วนกลาง ฝ่ายตดิ ต่อตา่ งประเทศ สานักงานศนู ยด์ าเนนิ งานเกี่ยวกับผอู้ พยพ
- วันท่ี ๑๕ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๒๘ โอนมารับราชการสงั กัดกรมการปกครอง เลื่อนข้ึนเปน็ “ข้าราชการพลเรอื น
สามญั ระดับ ๖” และได้รบั แตง่ ตง้ั ให้ดารงตาแหนง่ ผชู้ ว่ ยนายทะเบยี นอาเภอ (จพง.ปค.๖) ฝ่ายทะเบียนและบัตร
อาเภอแมแ่ ตง จงั หวัดเชยี งใหม่
- วันที่ ๑๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๒๘ โอนย้ายไปดารงตาแหน่งปลัดอาเภอ เจ้าพนักงานปกครอง ๖ (จพง.ปค.๖)
ฝ่ายปกครองและพัฒนา อาเภอสายบรุ ี จังหวัดปัตตานี
- ดารงตาแหน่ง ปลดั อาวุโส พนื้ ทอี่ าเภอสายบุรี จงั หวดั ปตั ตานี
- ดารงตาแหน่ง ผู้ตรวจการสว่ นทอ้ งถิ่น (เจ้าพนกั งานปกครอง ๖) ฝา่ ยทอ้ งถ่ินจังหวดั ปัตตานี
- ยา้ ยไปเป็นปลดั อาเภอ (จพง.ปค.๖) ฝ่ายปกครองและพัฒนา อาเภอละงู จังหวัดสตลู
- วนั ที่ ๒๔ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๓๒ รักษาการในตาแหน่ง “นายอาเภอ” (เจ้าพนักงานปกครอง ๗) อาเภออมกอ๋ ย
จังหวดั เชียงใหม่ กอ่ นขยบั ขนึ้ เปน็ นายอาเภออมก๋อยเต็มตวั ในปีเดียวกนั คอื วันที่ ๒ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๓๒
- วนั ที่ ๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ เลือ่ นขึ้นเป็นข้าราชการพลเรือนสามญั ระดับ ๘ ไดร้ บั การแต่งตัง้ ให้ดารง
ตาแหนง่ นายอาเภอ (จพง.ปค.๘) อาเภออมก๋อย จงั หวัดเชียงใหม่

- ๗๐๐ -

- ปลายปี พ.ศ. ๒๕๓๕ โอนมาดารงตาแหน่ง หัวหน้าสานักงานจังหวัดเชียงใหม่ สังกัดสานักงาน
ปลัดกระทรวงมหาดไทย
- วันที่ ๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๗ ดารงตาแหน่ง ผอู้ านวยการกอง (เจ้าหนา้ ที่วิเทศสมั พนั ธ์ ๘)” กองการ
ต่างประเทศ สานกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย
- ปี พ.ศ. ๒๕๓๘ ดารงตาแหน่ง ปลดั จงั หวัด (เจ้าหน้าทีบ่ รหิ ารงานปกครอง ๙) จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา
- ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ รองผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และจังหวัดอ่ืน ๆ เป็นลาดับ ได้แก่ จังหวัด
บุรรี ัมย์ และจังหวัดกระบ่ี ดารงตาแหนง่ รองผู้วา่ ราชการจงั หวัดเปน็ เวลา ๖ ปี
- ปี พ.ศ. ๒๕๔๖ ดารงตาแหน่ง ผ้วู ่าราชการจงั หวดั โดยได้รับพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ใหด้ ารงตาแหน่ง
ผวู้ ่าราชการจังหวดั เป็นคร้งั แรกท่จี ังหวดั “สงิ ห์บรุ ี”
- ปี พ.ศ. ๒๕๔๗ ย้ายมาเป็นผู้ว่าราชการจงั หวดั นนทบรุ ี”
- วันท่ี ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให้ดารงตาแหน่งนักปกครอง ๑๐ สานักงาน
ปลัดกระทรวงมหาดไทย เพ่ือปฏิบัติหน้าท่ีผู้อานวยการศูนย์อานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้
(ผอ.ศอ.บต.)
- ดารงตาแหนง่ “รองปลดั กระทรวงมหาดไทย” เพยี งบทบาทเดยี ว ไดร้ ับมอบหมายใหด้ แู ลเรอื่ งความม่นั คง
- วนั ที่ ๗ ตลุ าคม ๒๕๕๔ ดารงตาแหนง่ ปลัดกระทรวงมหาดไทย

เกยี รตคิ ณุ :
- เคร่อื งราชอิสริยาภรณ์ มหาปรมาภรณ์ช้างเผอื ก
- เคร่ืองราชอิสรยิ าภรณ์ มหาวชริ มงกฎุ

ปณธิ าน “พระนาย สวุ รรณรัฐ”

“หลักสำคัญท่ีเรำไดจ้ ำกกำรเรยี นนิติศำสตรช์ ่วยในกำรทำงำนไดม้ ำก
ผมใช้หลกั กฎหมำยมำชว่ ยจับในกำรพินจิ วิเครำะหแ์ ยกแยะ ผดิ -ชอบ ช่ัว-ดี ถูก-ผิด
เพรำะฉะนัน้ วชิ ำควำมรจู้ ำกมหำวิทยำลยั ธรรมศำสตร์ ช่วยในกำรทำงำนมำโดยตลอด”

กรอบประวตั ิ พระนาย สุวรรณรฐั
หากถือเอาฤกษ์วันเกิดมาลืมตาดูโลกคือวันแรกของชีวิตบนโลกใบน้ี ชีวิต พระนาย สุวรรณรัฐ

คงเริ่มต้นเม่ือวันที่ ๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๙๔ ท่ีจังหวัดลาปาง ในฐานะลูกชาย “คุณพ่อพ่วง สุวรรณรัฐ”
ข้าราชการไทยคนหนึ่งที่ต้องโยกย้ายไปตามวาระหน้าท่ีการงาน และคุณแม่ “ม.ร.ว.ประสารสุวรรณ ทองแถม”
พระนาย สวุ รรณรฐั เป็นลกู คนสดุ ทอ้ งในบรรดาพ่นี อ้ ง ๕ คน ถือกาเนดิ ได้ไม่นาน บดิ าได้รับคาส่ังโยกย้ายหลังมาอยู่
ลาปางได้เพียง ๑ ปีคร่ึง เพ่ือไปดารงตาแหน่งข้าหลวงเมืองสงขลา ต้ังแต่วันท่ี ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๙๕ ทาให้
วัยเยาว์ พ.ศ. ๒๔๙๘ - ๒๔๙๙ ไดเ้ ข้าเรียนชั้นอนุบาล ๑ - ๒ ณ โรงเรียนอนุบาลสงขลา ก่อนจะย้ายเข้าเรียนต่อใน

- ๗๐๑ -

เมืองกรุงระดับประถมศึกษาปีท่ี ๑ - ๔ ที่โรงเรียนราชินี พ.ศ. ๒๕๐๐ - ๒๕๐๔ ต่อประถม ๕ - ม.ศ. ๕ วชิราวุธ
วิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๐๕ - ๒๕๑๒ เข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๑๓ - ๒๕๑๗ จนกระท่ังสาเร็จการศึกษา
นิติศาสตรบัณฑิต (น.บ.) จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และระดับปริญญาโท หลักสูตรบริหารรัฐกิจ M.P.A.
(U.S.A.) พ.ศ. ๒๕๑๘ - ๒๕๑๙ จากมหาวทิ ยาลยั อนิ เดียน่า ประเทศสหรฐั อเมรกิ า

ผ่านการทางานในฐานะข้าราชการเล็ก ๆ คนหน่ึง ไต่เต้าจนก้าวสู่จุดสูงสุดในชีวิตกับตาแหน่ง
ปลัดกระทรวงมหาดไทย และหลังเกษียณอายุราชการดารงตาแหน่งผู้อานวยการสานักงานบริหารกิจการ
เหลา่ กาชาด สภากาชาดไทย

ชีวิตครอบครัว : สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานน้าสังข์สมรสกับ ทิพวิภา กัมปนาทแสนยากร คู่ชีวิตที่คอยดูแลกันอย่างดียิ่ง
กระท่งั เป็นขวญั กาลงั ใจสาคญั ซึ่งกันและกันตลอดมา

ตลอดก้าวย่างชีวิต ผมผ่านอะไรมามากมาย ท้ังด้านการศึกษา การทางาน หรือการใช้ชีวิต แต่ละช่วง
ตอนล้วนมอบประสบการณ์ทรงคุณค่า โดยเฉพาะสถาบันการศึกษาหน่ึงที่จักไม่ลืมเลยคือ“มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์”
ท่ปี ระสทิ ธปิ์ ระสาทวชิ าความรู้ดา้ นกฎหมายและแนวทางการใชช้ วี ิตท่สี าคัญย่ิง

เริ่มบม่ เพาะจาก “วชิราวุธวิทยาลยั ”
ก่อนเข้าศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาท่ีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผมผ่านการศึกษาท่ีโรงเรียนวชิราวุธ

วทิ ยาลยั สถานทบ่ี ่มเพาะอทิ ธิพลทางความคิดและจิตวิญญาณให้เป่ียมล้นด้วยมนุษยธรรม โดยเฉพาะด้านการปกครอง
ที่เน้นระบบรุ่นพ่ีรุ่นน้อง ภายใต้ปรัชญา “กำรจะเป็นผู้นำที่ดีได้ ต้องเคยเป็นผู้ตำมท่ีดีมำก่อน” ดังน้ัน ก่อนท่ีนักเรียน
แต่ละคนจะมาเป็นหัวหน้าคณะปกครองรุ่นน้อง ก็จะเคยเป็นผู้ถูกปกครองโดยรุ่นพี่มาก่อนและเรียนรู้การปกครอง
นั้นมาปกครองรุ่นน้องถัดไป นอกจากน้ีผมยังมีโอกาสเป็นนักกีฬารักบ้ีฟุตบอล ทาให้เข้าใจเร่ืองของการมีน้าใจ
นกั กีฬาและหลักการทางานเป็นทีม ส่วนวิถีความเป็นวชิราวุธวิทยาลัย อีกประการหนึ่งท่ีซึมลึกในสานึกแบบแทบไม่รู้ตัว
คอื การสอนให้ทางานและฝกึ ฝนอย่างหนัก หนักจนกระท่ังเสมือนร่างกายแทบรับไม่ไหว แต่ในที่สุดจะฝืนลุกข้ึนมา
สไู้ ดอ้ ีกคร้ัง

นอกจากนี้ ขณะเป็นนักกีฬารักบ้ีฟุตบอลโรงเรียน ผมโชคดีได้โค้ชคนหน่ึงท่ีมากความสามารถทั้งด้านกีฬา
และด้านคุณธรรม เป็นถึงอดีตนักว่ิง ๑๐๐ เมตร ทีมชาติรุ่นแรก ๆ ของประเทศไทย ชื่อว่า “คุณครูอรุณ แสนโกสิก”
อดีตผู้กากับคณะจิตรลดา (พ.ศ. ๒๕๐๕ - ๒๕๐๘) และอดีตผู้ฝึกสอนรักบี้ฟุตบอลของวชิราวุธวิทยาลัย
(พ.ศ. ๒๔๙๕ - ๒๕๒๘) ท่านเป็นนักกีฬาที่มีจิตวิญญาณนักกีฬาสูง (Sporting spirits) คอยสอนเทคนิคแทคติก
ต่าง ๆ มาก ฝกึ หนกั เหนอ่ื ยสดุ ๆ แตท่ ่านจะแนะนาขอ้ เสนอดี ๆ ให้ ทาใหเ้ ราสามารถร่วมทาทีมกันได้อย่างมีศาสตร์
และมีศิลป์ สมาชิกร่วมทีมทุกวันน้ียังคบหากันเพราะเหน่ือยมาด้วยกันจนแทบตาย แต่ถึงเวลาก็ยังพอไหว
หายเหน่ือย กลายเป็นพูดกันรู้เรื่อง เหน่ือย เหนื่อยด้วยกัน หนัก หนักด้วยกัน หาย หายด้วยกัน สบาย ก็สบาย
ด้วยกนั ทาให้ผา่ นพ้นช่วงหนกั ๆ ได้หลายชว่ ง

- ๗๐๒ -

ผลสืบเนื่องอีกประการหนึง่ ทผ่ี มเห็นวา่ เปน็ เรอ่ื งสาคัญอย่างยิง่ คือ การเป็นชาวพุทธท่ีดี จากสถานะของ
การเป็นนกั เรียนโรงเรยี นประจา วยั เยาว์อายุ ๔-๕ ขวบ คุณพ่อซ่ึงขณะนั้นดารงตาแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา
มกั จูงมอื ผมเดนิ ไปวัดบอ่ ย ๆ เพราะมีวดั ต้ังอยหู่ า่ งจากบา้ นพักหรือจวนผูว้ ่าราชการจังหวัดสงขลา เพียง ๒๐๐ เมตร
พาไปน่ังพูดคุยสนทนากับพระสงฆ์ แม้ผมจะนั่งหลับเป็นส่วนใหญ่ แต่บางคราได้ฝึกนั่งสมาธิไปด้วย ถึงแม้ยังนั่ง
ไม่ค่อยเป็น เผลอหลับไปบ้าง แต่พระท่านค่อย ๆ สอนให้น่ังเงียบ ๆ ให้ฝึกหายใจเข้า-หายใจออก ทาให้ค่อย ๆ ซึมซับ
ไปเร่อื ยตอ่ เน่อื งมาจนถงึ ชว่ งเข้าเรียนวชิราวุธวิทยาลยั ซง่ึ เนน้ เรื่องการสวดมนต์ นักเรียนทั้งโรงเรียนกว่า ๗๐๐ คน
ต้องไปสวดมนต์พร้อมกันท่ีหอประชุมโรงเรียนวันละไม่ต่ากว่า ๓๐ นาทีทุกวันหลงั อาหารเช้า

“สมัยนั้นไม่ได้รู้สึกอะไรขึ้นมำเท่ำไหร่ แต่พอจบแล้วอย่ำงน้อย ๆ ก่อนนอนเรำสวดมนต์ ทุกวันนี้
ตอนเป็นผู้ใหญ่แล้ว ผมคิดว่ำหลำยคร้ังได้รับกำรศึกษำด้ำนพระธรรมคำสอน เห็นควำมสำคัญของระบบศำสนำท่ีดี
ทุกศำสนำท้ังพทุ ธ มุสลิม คริสต์ พรำหมณ์ ซิกข์ เหมือนกันหมด คือกำรมุ่งสั่งสอนทุกคนให้เป็นคนดี ขอเพียงให้ทุกคน
ใฝ่รู้ แล้วรู้จรงิ ในสิง่ ทีเ่ รำนับถอื ผมว่ำเป็นประโยชน์อย่ำงมำก”

นิตศิ าสตรบัณฑิต มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
หลังจบการศึกษาจากวชิราวุธวิทยาลัย ผมมีโอกาสศึกษาต่อคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ซึ่งให้ประสบการณ์ด้านการศึกษาอีกรูปแบบหน่ึง เมื่อเวลาผ่านไปกลายเป็นคุณประโยชน์ต่อชีวิตการทางานมากมาย
แม้ช่วงแรกต้ังใจว่าจะเรียนต่อคณะรัฐศาสตร์ เพราะเห็นเพ่ือนคนอื่นเลือกเรียนทางสายรัฐศาสตร์กันเป็นส่วนใหญ่
ไม่ว่าจะเป็นที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง หรือมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ แต่ในที่สุดเม่ือได้
ทางานจริง ผมรู้สึกว่าส่ิงท่ีเลือกนั้นเหมาะสมถูกต้องแล้ว เพราะหลักนิติศาสตร์หรือหลักกฎหมาย หัวใจสาคัญคือ
การใช้องคป์ ระกอบของกฎหมายทุกอยา่ ง หลักนติ ศิ าสตร์จงึ ชว่ ยในการทางานได้มาก

“ผมคิดว่ำกำรทำงำนทุกวันให้ได้ดี ส่วนหน่ึงเป็นเพรำะใช้หลักกฎหมำยท่ีได้เรียนรู้มำ ช่วยให้สำมำรถ
แยกแยะวิเครำะห์ตัดสินใจกำรบริหำรรำชกำรได้ค่อนข้ำงมีประสิทธิภำพ ผมไม่ได้เก่งเรื่องกฎหมำย ไม่ได้เรียน
อย่ำงจริงจังมำกมำย ชีวิตในมหำวิทยำลัยเป็นชีวิตท่ีสนุก ได้เล่นกีฬำ ได้พบปะผู้คนแปลก ๆ ใหม่ ๆ มีกิจกรรม
เยอะแยะ แต่เหนอื สงิ่ อืน่ ใด หลักสำคญั ทเ่ี รำไดจ้ ำกกำรเรยี นนิตศิ ำสตรช์ ว่ ยในกำรทำงำนได้มำก ผมใช้หลักกฎหมำย
มำช่วยจับในกำรพินิจวิเครำะห์แยกแยะ ผิด-ชอบ ชั่ว-ดี ถูก-ผิด เพรำะฉะน้ันวิชำควำมรู้จำกมหำวิทยำลัยธรรมศำสตร์
ช่วยในกำรทำงำนมำโดยตลอด”

อยา่ งไรก็ตาม ถงึ ที่สุดแลว้ ช่วงวัยเรยี น การเล่าเรียนหนังสืออย่างจริงจังครั้งแรกของผม คือช่วงเดินทาง
ข้ามฟ้าข้ามทะเลไปเป็นนักศึกษาระดับปริญญาโท ท่ี มหาวิทยาลัยอินเดียน่า ในเมืองเล็กๆ ช่ือ บลูมิงตัน รัฐอินเดียน่า
ประเทศสหรัฐอเมริกา (Indiana University - Bloomington : IU Bloomington) เน่ืองจากท่ีวชิราวุธวิทยาลัย
ชีวิตถูกแบ่งภาคเป็น ๒ ส่วน ภาคเช้าในห้องเรียนถูกเน้นด้านการเรียนให้เป็นคนดีและคนเก่ง ภาคบ่ายเป็นเร่ืองการ
สันทนาการ ส่วนเวลาเรียน ๔ ปีที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ต้องสารภาพเลยว่าใช้เวลาในห้องเรียนค่อนข้างน้อย
แตพ่ อต้องไปเรียนต่อระดบั ปริญญาโทท่ตี า่ งประเทศ กลายเป็นเร่ืองท่ีต้องวาง “เดิมพันสูง” ทั้งน้ีเพราะคะแนนช่วง

- ๗๐๓ -

ระดบั ปริญญาตรไี มส่ งู พอทจี่ ะเรยี นปริญญาโทได้แบบสบาย ๆ จึงต้องทุ่มเทด้านการเรียนมากเป็น ๒ เท่าจากระดับ
ปกติ จากทีไ่ มเ่ คยอา่ นหนงั สือจานวนมากก็ต้องกลบั มาอา่ น ต้องเรียนอยา่ งแขง็ ขันเอาจริงเอาจัง

“ที่นนั่ ชว่ ยผมมำกในกำรทไ่ี ดเ้ รียนจรงิ เหนอ่ื ยจริง แล้วได้รวู้ ่ำเรำมีอะไรที่ต้องศึกษำ ต้องเรียนรู้อีกเยอะ
มำกในโลกควำมเป็นจริง ต่อมำกลำยเป็นประโยชน์มหำศำลเม่ือทำงำนแล้ว ผมใช้เวลำสองปีเต็มตำมหลักสูตร
ปริญญำโท โดยเฉพำะอยำ่ งย่งิ กำรเรียนรโู้ ลกอีกดำ้ นผำ่ นประสบกำรณอ์ กี แบบ ทุกวันหยุดภำคฤดูร้อน ผมไม่ลงวิชำ
เรียนแต่จะทอ่ งเทย่ี วท่ัวอเมริกำประมำณส่ีสิบรัฐ ขับรถรวมแล้วประมำณแสนสองแสนกิโลเมตร ขับจนน้ำมันหมดแล้ว
เตมิ เตม็ ถงั วนั ละสองสำมคร้ัง ไปกันสำมสี่คนกับเพื่อนเรียนหนังสือด้วยกัน ทำให้ได้ประโยชน์ค่อนข้ำงมำกอีกแบบหน่ึง
ถือเปน็ กำรใช้ชวี ิตทัศนศึกษำชว่ งปิดฤดูร้อนสองหรอื สำมภำค เป็นจังหวะที่มโี อกำสได้พบได้เหน็ อะไรมำกมำย”

จากประสบการณ์ชีวิตวัยเยาว์ ที่ได้สัมผัสการทางานของคุณพ่อในฐานะนักปกครอง ผ่านการส่ังสม
ประสบการณ์วัยเรียนหลากสถาบันการศึกษา หลายรูปแบบและประสบการณ์ สิ่งเหล่าน้ีค่อย ๆ ถูกถักทอขึ้น จนในที่สุด
ถูกสะทอ้ นผา่ นเน้ือนยั งานเมอ่ื กา้ วสอู่ กี มติ หิ นง่ึ ของชีวิตในวันวานท่ผี มเติบโตเปน็ ผ้ใู หญ่ขึน้

เร่มิ ปฏบิ ตั ิหน้าท่ีในฐานะ “คนมหาดไทย”
หลังจบการศึกษา ผมเริ่มรับราชการครั้งแรกปี พ.ศ. ๒๕๒๐ ในพื้นที่เหนือสุดท่ามกลางขุนเขาและ

สายลมหนาว ได้รับบรรจุเป็นเจ้าหน้าท่ีบริหารงานทั่วไป สานักงานจังหวัดเชียงราย ตาแหน่ง “อักษรเลข” หรือ
“เลขานุการ” ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย นั่นเอง เวลานั้นคิดว่าเมืองไทยมีถึง ๗๖ จังหวัด ๘๗๘ อาเภอ
แต่ละท่ีก็น่าอยู่ท้ังน้ัน เราน่าจะมีโอกาสไปรับใช้ประชาชนให้ทั่วประเทศ เลยไม่แปลกใจว่าผมถูกส่งไปอยู่ท่ีจังหวัด
เชียงราย ท้ังท่ีตอนแรกขอไปแม่ฮ่องสอน ก็ไม่ว่ากัน เราพร้อมทางานเต็มที่อยู่แล้ว หลังจากน้ัน ๒ ปี คือ พ.ศ. ๒๕๒๒
จึงโยกย้ายไปเป็นเจ้าหน้าท่ีวิเทศสัมพันธ์ สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย และตาแหน่งในพื้นท่ีแตกต่างกัน
ออกไปตามวาระโอกาส

จุดเปลี่ยนสาคญั ของชวี ติ มาถงึ อกี ครงั้ เมือ่ คุณพ่อซ่ึงปกตเิ ปน็ คนแข็งแรงไมค่ ่อยเจ็บไข้ เสน้ โลหิตในสมองแตก
เมอื่ วันท่ี ๒๒ มกราคม พ.ศ. ๒๕๒๒ จาตอ้ งเร่งผ่าตัดเพ่อื เอาเลอื ดทคี่ ่ังออกและพักฟื้นนาน ประมาณ ๕ เดือนต่อมา
คือในเดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๒๒ ผมจึงตัดสินใจโยกย้ายกลับมาปฏิบัติงานในพื้นที่ส่วนกลางเพ่ือจะได้มาอยู่ดูแล
ใกลช้ ดิ ดว้ ยตาแหนง่ “เจา้ หน้าทีว่ ิเทศสมั พนั ธ์ ๔ ฝ่ายตดิ ต่อตา่ งประเทศ” สานกั งานศนู ยด์ าเนนิ งานเก่ียวกับผู้อพยพ
และปฏิบัติหน้าทีส่ ว่ นนี้เกือบ ๖ ปี พรอ้ มกบั มีโอกาสไปศกึ ษาอบรม ดูงาน ณ ประเทศอติ าลี

ต่อมา ผมมโี อกาสไดล้ งไปปฏบิ ัติงานในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ท่ี “อาเภอสายบุรี” จังหวัดปัตตานี
เป็นอีกหน่ึงช่วงชีวิตที่สนุกกับงานและการใช้ชีวิตมาก ผมมักข่ีมอเตอร์ไซค์ MTX คันเก่าเลาะเลียบไปตามเส้นทางต่าง ๆ
ผ่านสะพานไม้เก่า ๆ เพ่ือไปสัมผัสวิถีชีวิตผู้คน ซึมซับสภาพชุมชน พยายามหาแนวทางปฏิบัติงานให้สอดประสาน
กับความต้องการของชุมชนแถบ “ลุ่มน้าสายบุรี” อย่างแท้จริง ตอนนั้นผมตัดสินใจพ้นจากตาแหน่งหน้าที่และ
อัตราเงนิ เดือนทางสังกัดสานกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย ตงั้ แต่วนั ที่ ๑๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๒๘ ถัดมาอีกวันหนึ่ง
ได้โอนมารับราชการสังกัดกรมการปกครอง เลื่อนข้ึนเป็น “ข้าราชการพลเรือนสามัญ ระดับ ๖” และได้รับแต่งต้ัง
ให้ดารงตาแหน่งผู้ช่วยนายทะเบียนอาเภอ (จพง.ปค.๖) ฝ่ายทะเบียนและบัตร อาเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่

- ๗๐๔ -

อย่างไรก็ตาม วันท่ี ๑๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๒๘ ผมตัดสินใจโอนย้ายไปดารงตาแหน่งปลัดอาเภอ เจ้าพนักงาน
ปกครอง ๖ (จพง.ปค.๖) ฝา่ ยปกครองและพฒั นา อาเภอสายบรุ ี จังหวดั ปัตตานี

การตดั สนิ ใจมาดารงตาแหน่ง “ปลัดอาวุโส” พื้นที่อาเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี กลายเป็นสถานที่ให้ชีวิต
มุมมองและโลกทัศน์ มอบประสบการณ์อีกด้านให้ผม และพัฒนาจนกลายเป็นการก่อเกิดความผูกพันกับผู้คน
ต่างศาสนา ตราบกระท่ังวันหนึ่งได้ย้อนมาสัมผัสวิถีชีวิตผู้คนแถบนี้อีกครั้งเม่ือต้องรับภาระรับผิดชอบร่วม
“แก้ปัญหาไฟใต้” รอบใหม่ซึ่งปะทุข้ึนหลังเหตุปล้นปืนค่ายทหารพัฒนาบ้านปิเหล็ง จังหวัดนราธิวาส เมื่อวันท่ี
๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๗ ช่วงน้ันทุกปีหลังผ่านพ้นฤดูมรสุมจะเกิดสันทรายข้ึนที่ปากแม่น้าสายบุรี ทาให้เป็น
อปุ สรรคต่อการเดินเรือ เพราะเรือประมงไม่สามารถแลน่ ออกสูท่ ะเลได้ ต้องมีการใช้เรือดูดทรายออก แต่พอผ่านไป
สภาพเดิม ๆ ก็จะเกิดข้ึนซ้าอีก ผมจึงพยายามหาแนวทางแก้ไขปัญหาแบบย่ังยืน สนับสนุนและผลักดัน
ให้มีการสร้างเข่ือนโดยใช้หินใหญ่ทิ้งจนปัญหาเร่ืองเม็ดทรายปิดกั้นปากแม่น้าไม่เกิดข้ึนอีก โจทย์สาคัญเวลานั้นคือ
“ทำอย่ำงไรถึงจะทำให้ชำวประมงพ้ืนบ้ำนสำมำรถออกทะเลหำปูปลำได้ตลอดทั้ง ๑๒ เดือน โดยไม่ต้องรอให้คลื่น
ลมสงบหรือหมดฤดูมรสุม” มิฉะนั้นแล้วผลพวงจากการออกเรือหาปลาไม่ได้จะส่งผลให้ชาวประมงขาดรายได้
สมาชิกในครอบครัวจึงต้องตัดสินใจไปหางานทาหารายได้เลี้ยงชีพอยู่ในประเทศมาเลเซีย กระท่ังส่งผลกระทบเชิง
ความมั่นคงในพื้นที่ไปด้วย เพราะแม้มีรายได้เพ่ิมขึ้น แต่มีผลพ่วงถึงสานึกรักแผ่นดินเกิดและความอบอุ่น
ในครอบครวั จงึ ตัดสนิ ใจใหช้ าวประมงพื้นบา้ นนาเรอื ออกไปสารวจพื้นท่ีบริเวณปากแม่น้า พลอยอาศัยนั่งเรือไปกับ
เขาด้วย พร้อมกับครูธีรพจน์ หะยีอาแว ล่ามภาษามลายูประจาพระองค์ ทาการจดบันทึกรายละเอียด บันทึกภาพ
มุมต่าง ๆ ไว้เป็นหลักฐาน ในท่ีสุดเห็นทางแก้ปัญหาระยาว คือจาเป็นต้องสร้างแนวกาบังก้ันคลื่นบริเวณปากน้า
โดยใช้เขื่อนหินท้ิงความยาวประมาณ ๒ กิโลเมตร จึงจะปิดก้ันตะกอนทรายท่ีทับถมบริเวณปากแม่น้าได้ กระท่ัง
ประสบผลสาเรจ็ เป็นหนึ่งในโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริทีก่ ่อประโยชน์ให้ชาวบ้านได้มาก

ท้ังนี้ ระหว่างท่ีดารงตาแหน่งปลัดอาวุโสท่ีอาเภอสายบุรีน้ีเอง ผมได้ผ่านหลักสูตรปลัดอาวุโส รุ่นที่ ๔
วันท่ี ๔ พฤศจิกายน - ๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๒๘ อีก ๒ ปีต่อมาจึงได้เป็นผู้ตรวจการส่วนท้องถิ่น (เจ้าพนักงาน
ปกครอง ๖) ฝ่ายทอ้ งถนิ่ จังหวัดปตั ตานี ก่อนเข้าอบรมหลักสูตรนักเรียนนายอาเภอรุ่นที่ ๒๘ วันท่ี ๒๙ กุมภาพันธ์-
๒๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๑ เมื่อผ่านการอบรมแล้วจากน้ันอีก ๑ เดือนต่อมา ก็ย้ายไปเป็นปลัดอาเภอ (จพง.ปค.๖)
ฝ่ายปกครองและพัฒนา อาเภอละงู จังหวัดสตูล ช่วงนั้นนอกเหนือจากการทางานแล้ว เวลาพักผ่อนส่วนตัว
ผมมักอยู่แต่ในบ้านพักไม่ชอบไปเที่ยวไหน จะมีบ้างเพราะชอบทะเล ถ้ามีเวลาว่างจึงไปเท่ียวเกาะตะรุเตาบ้าง
โดยเฉพาะอย่างย่ิงกลางคา่ กลางคืน ไม่ค่อยชอบงานสังสรรค์ ไม่ด่ืมเหล้าเมายา แต่ใช้เวลาว่างอ่านหนังสือพิมพ์
ดูทีวี หลังจากนี้ผมข้ามฟากไปปฏิบัติงานอยู่ท่ี “อมก๋อย” อาเภอที่อยู่ใต้สุดของจังหวัดเชียงใหม่ ตั้งแต่วันท่ี
๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๒ ตาแหน่ง ณ เวลาน้ัน คือ “ประจาจังหวัดเชียงใหม่” และรักษาการในตาแหน่ง “นายอาเภอ”
(เจ้าพนกั งานปกครอง๗)อาเภออมกอ๋ ย จงั หวดั เชียงใหม่ ก่อนขยบั ขึน้ เปน็ นายอาเภออมกอ๋ ยเตม็ ตัวในปีเดียวกันน่ันเอง
คือ วันท่ี ๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๒ และเลื่อนข้ึนเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ ระดับ ๘ ได้รับการแต่งต้ังให้ดารง
ตาแหน่งนายอาเภอ (จพง.ปค.๘) อาเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ เม่ือวันที่ ๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๕
ตลอดระยะเวลาประมาณ ๓ ปีที่อาเภออมก๋อย ผมพยายามใช้ประสบการณ์ทางานกับมวลชนอย่างมาก ลุยลงพ้ืนท่ี

- ๗๐๕ -

แบบสมบุกสมบัน ส่วนใหญ่มักขับรถยนต์โฟร์วีลลุยไปได้ทุกที่หรือไม่ก็ขี่จักรยานยนต์ด้วยตัวเอง โดยเฉพาะมอเตอร์ไซค์
เอ็มทีเอ็กซ์ (MTX) ส่วนตัวเก่ามากขนาด ๑๒๕ ซีซี ตะลุยไปทั่ว ส่วนเวลาว่างมักน่ังหรือนอนอ่านหนังสือแบบสบาย ๆ
บริเวณโถงชั้นสองของบ้านพัก หนังสือที่ต้องมีติดบ้านประจาคือ นิตยสารเนช่ันแนลจีโอกราฟฟิค หรือไม่ก็เป็นหนังสือ
เก่ยี วกบั การตกแต่งบ้าน การบรหิ าร หรอื หนังสือเชงิ ปรัชญาชวี ิต

“วิธีกำรทำงำนของผมเวลำน้ันคือ จะทุ่มเททรัพยำกรทุกอย่ำงเพ่ือให้งำนสำเร็จ นอกจำกน้ีเน่ืองจำกอมก๋อย
เป็นพื้นท่ีเขำสูงชันสลับซับซ้อน ยำกลำบำก บำงแห่งนั่งรถเข้ำไป ๓-๔ ช่ัวโมงแล้ว ยังต้องเดินด้วยเท้ำอีก ๓-๔ ชั่วโมง
รถเข้ำไม่ถึงเพรำะเป็นพ้ืนที่ทุรกันดำร ด้วยควำมต้องกำรทำงำนที่เห็นผลได้ชัด ให้ควำมช่วยเหลือชำวบ้ำนท่ีเดือดร้อน
จริง ๆ รวมถงึ กำรใหค้ วำมสำคญั และเป็นกำรสร้ำงขวัญกำลังใจให้กับบุคลำกรท่ีร่วมปฏิบัติงำนดว้ ย”

หลังปฏิบตั ิหนา้ ทอี่ ยู่ในพื้นท่ีอมก๋อยในฐานะ “นายอาเภออมก๋อย” ไดป้ ระมาณ ๓ ปี ถึงปลายปี พ.ศ. ๒๕๓๕
ผมกร็ บั โอนมาดารงตาแหนง่ “หัวหนา้ สานักงานจังหวัดเชียงใหม่” สังกัดสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ซึ่งช่วงนี้
ผมเน้นวิธีการทางาน “แบบบูรณาการ” สร้างเครือข่ายการประสานงานทั้งภาครัฐเอกชนประชาชนในพ้ืนที่ ทาให้
การขับเคล่อื นงานของสานักงานจงั หวัดรุดหนา้ ไปมาก

“ทีว่ ่ำเป็นยุทธศำสตรง์ ำนในส่วนแรกคือเรื่องงำนวำงแผน เม่อื ก่อนเรยี กฝำ่ ยแผนและโครงกำร ผมจะให้
ควำมสำคัญค่อนข้ำงสูง ใช้หลักยุทธศำสตร์วำงแผนมำจับ หลำยแห่งใช้กำรทำงำนแบบมีแผนส่ังกำรจำกส่วนกลำง
แต่ผมใช้ระบบกำรวำงแผนที่ระเบิดจำกพื้นท่ี มีกำรวิเครำะห์ฐำนข้อมูลซ่ึงถือเป็นหัวใจสำคัญในกำรวำงแผนและ
พัฒนำ รวมถงึ ใหค้ วำมสำคญั มำกกบั กำรนำผังเมอื งรวมเชยี งใหม่มำใช้ในกำรวำงแผนเพือ่ ชีน้ ำกำรพัฒนำ สำมำรถใช้
ขอ้ มูลเชงิ กำยภำพวำงแผนพัฒนำเมอื งไดอ้ ยำ่ งเหมำะสม โดยเฉพำะกำรขยำยเมืองไปทำงทศิ ตะวนั ออก”

กลไกสาคัญสาหรับการร่วมวางแผนเพื่อชี้นาการพัฒนาเมืองเชียงใหม่ คือ กรรมการพัฒนาจังหวัด (กพจ.)
และคณะกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชนเพ่ือแก้ปัญหาทางเศรษฐกิจระดับจังหวัด (กรอ.จังหวัด) ซ่ึงตั้งข้ึนเพ่ือให้
เกดิ ระบบการปรกึ ษาหารอื ระหว่างภาครัฐและเอกชน ในการกาหนดแนวทางการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจและการนา
นโยบายการประสานความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนสู่การปฏิบัติ ควบคู่ไปกับการช่วยพัฒนา
สถาบันเอกชนให้มีความเข้มแข็ง รวมทั้งเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจในประโยชน์ท่ีส่วนรวมจะได้รับจากการร่วมมือกัน
แผนการช้ีนาการพัฒนาโครงการหนึ่ง คือ สง่ เสรมิ การทา “ถนนวงแหวน” และ “ถนนรศั ม”ี บริเวณหนา้ ศาลากลาง
จังหวัดเชียงใหม่ผ่านไปตามเส้นทางสาคัญ กลายเป็นวงจรเช่ือมโยงเครือข่ายกับเมืองบริวารเรียกว่าวงแหวนสายกลาง
และสายนอก ยุคสมัยนั้นยังไม่มีระบบการกาหนดตาแหน่งแบบ จีพีเอส (Global Positioning System : GPS)
ในห้องทางานจึงได้ติดตั้งแผนท่ีขนาดใหญ่เมืองเชียงใหม่ไว้แผ่นหนึ่ง สาหรับใช้เม่ือนาเสนอรายละเอียด
เพือ่ สือ่ ให้คนอ่นื ไดเ้ ข้าใจภาพรวมของเส้นทางคมนาคมทจ่ี ะกระจายความเจริญออกจากตัวเมืองเชียงใหม่ กลายเป็น
มิตกิ ารพัฒนาเชงิ กลมุ่ ทาใหเ้ หน็ ระบบการทางานแบบเมอื งแฝดระหว่าง เชยี งใหม่-ลาพนู

ประเด็นท่นี ่าสนใจอกี ประการหน่งึ ดว้ ยเชยี งใหม่เปน็ เมอื งทมี่ พี ระตาหนักท่ีประทับ เมืองที่เจ้าฟ้าเจ้าแผ่นดิน
ทุกพระองค์จะเสดจ็ โดยเฉพาะการแปรพระราชฐานมาประทับแรม ณ พระตาหนักภูพิงค์ราชนิเวศน์ ช่วงฤดูหนาว
เป็นเวลา ๑-๒ เดือน จึงจาเป็นต้องมีการเตรียมการรับเสด็จอย่างพร้อมพรั่ง ซ่ึงแน่นอนว่า สานักงานจังหวัดเชียงใหม่
เปรียบเสมือนแกนประสานการปฏิบัติ เพื่อให้การถวายการรับเสด็จเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและสมพระเกียรติ

- ๗๐๖ -

แนวทางดาเนินการเกี่ยวกับเร่ืองน้ี สานักงานจังหวัดเชียงใหม่ จะเน้นย้าเร่ืองของการจัดระบบการรับเสด็จให้สมบูรณ์
แบบทส่ี ุด และทางานกนั แบบบูรณาการอยา่ งสมบรู ณ์

อีกเรื่องท่ีสาคัญ คือ การบริหารบุคคล สมัยก่อนหน้ายังไม่มีฝ่ายบุคคล แต่ผมเป็นคนที่ให้ความสาคัญ
กับการพัฒนาบุคคลากรถึงข้ันจัดดาเนินการอบรมตามหลักสูตร เช่น การอบรมข้าราชการท่ีมาอยู่ใหม่หรือบรรจุใหม่
ซึง่ ถือเป็นเร่ืองสาคัญ เพราะหากเข้ามาเชียงใหม่แต่ไม่มีพื้นฐานความรู้ข้อมูลเกี่ยวกับจังหวัด ไม่รู้ทิศทางการพัฒนา
ยอ่ มสง่ ผลต่อการปฏิบตั ิงานใหไ้ ด้ผลดี ต้องมีการอบรมและเชิญวิทยากรที่เก่ียวข้องมาให้ความรู้จากทุกส่วนราชการ
หรือเรื่องการให้บริการ มีหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องหลายหน่วย เช่น ขนส่งจังหวัด ประกันสังคม ก็ให้มีกระบวนการ
ในการให้บรกิ ารที่สมบรู ณแ์ ละการพฒั นานกั บรหิ ารระดับต้น ซี ๖ ซี ๗ และการพฒั นานักบริหารระดับกลาง คือ ซี ๘
จึงใหค้ วามสาคญั กบั การพัฒนาบุคลากรซ่งึ เป็นตวั จกั รสาคัญในการขับเคลื่อนการพฒั นาต่าง ๆ

จากเชยี งใหม่ ในท่ีสุดถงึ เวลาของฤดกู ารโยกยา้ ยอีกคร้ัง คราวน้ีหวยออกมาสาหรับตาแหน่งใหม่ของผม
คอื “ผู้อานวยการกอง (เจ้าหน้าที่วิเทศสมั พนั ธ์ ๘)” กองการต่างประเทศ สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย (สป.)
การกลบั มารบั ตาแหนง่ ท่ีกองการตา่ งประเทศ สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ถือเป็นการได้หวนกลับมายังจุดท่ีเคย
ผ่านประสบการณ์ทางานในยุคแรกท่ีต้องเก่ียวข้องกับองค์กรต่างประเทศมากมาย เพียงแต่ระยะเวลาห่างกันถึง ๑๕ ปี
ผมเร่ิมรับตาแหน่งเม่ือ ๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๗ ก่อนก้าวสู่ตาแหน่ง “ปลัดจังหวัด” (เจ้าหน้าที่บริหารงาน
ปกครอง ๙) จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา ใน พ.ศ. ๒๕๓๘

“ประสบกำรณ์จำกท่ีได้ไปเรียนและพักอำศัยในต่ำงประเทศ ทำให้สำมำรถนำมำใช้กับกำรทำงำนได้มำก
โดยเฉพำะเรื่องภำษำ ควำมจริงผมเองเป็นคนท่ีเรียกว่ำไม่ค่อยอำย หรือภำษำชำวบ้ำนคือหน้ำด้ำน คือถ้ำขี้อำย
ภำษำจะไม่เร็ว ผมเป็นคนท่ีพูดผิดก็ช่ำง ไม่สนใจ ฉะน้ันจะพูดได้เร็ว ส่งภำษำกับคนได้เยอะถึงแม้พูดไม่เก่ง ใช่ว่ำมี
ไวยำกรณ์ดีมำกมำยอะไร แต่พอส่ือสำรกันได้แคล่วคล่อง ตรงน้ีมีประโยชน์กับกำรทำงำนให้กับฝ่ำยต่ำงประเทศ
ของกระทรวงมหำดไทยได้มำกพอควร ดังจะเหน็ ว่ำผมมโี อกำสไดท้ ำงำนในหนว่ ยงำนนี้รวมแลว้ หลำยปี”

สตู่ าแหน่งผูว้ า่ ราชการจังหวดั -ผอ.ศอ.บต.
หลงั ดารงตาแหน่งผู้อานวยการกอง (เจ้าหน้าที่วิเทศสัมพันธ์ ๘) กองการต่างประเทศ ได้ปีเดียว ชีวิตก็ต้อง

โยกยา้ ยอกี ครั้งหน่ึง ปี ๒๕๓๘ ผมได้รับแตง่ ตัง้ เป็น “ปลัดจังหวดั พระนครศรีอยุธยา” ซึ่งช่วงปลายปีนั้นเองได้เกิดน้าท่วม
อย่างรุนแรงในพ้ืนที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร
จึงมีพระราชกระแสรับสั่งให้ปล่อยน้าเข้าบริเวณพ้ืนที่ทุ่งมะขามหย่อง ตาบลบ้านใหม่ อาเภอพระนครศรีอยุธยา
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพ่ือบรรเทาความเดือดร้อนของราษฎร ทั้งยังสามารถเก็บกักน้าไว้ใช้เพ่ือการเกษตรในฤดูแล้ง
และในเดือนมกราคมปี ๒๕๓๙ ได้เสด็จพระราชดาเนนิ ไปทรงเย่ยี มเกษตรกร พร้อมทั้งทอดพระเนตรความก้าวหน้า
ของโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ กระท่ังถึงวันประวัติศาสตร์สาคัญ คือ เม่ือวันท่ี ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๓๙
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร และ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ
พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เสด็จพระราชดาเนินไปยังพระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระสุริโยทัย ทุ่งมะขามหย่อง
เป็นการส่วนพระองค์ เพ่ือทรงเก่ียวข้าวในนาที่ใช้น้าจากอ่างเก็บน้าในพื้นที่รอบพระราชานุสาวรีย์ฯ ตามโครงการ

- ๗๐๗ -

ส่งเสริมอาชีพปลูกข้าวนาปรัง ซ่ึงผมได้ทาหน้าท่ีถวายเคียวที่วางไว้ในพานให้พระองค์ท่านทรงเก่ียวข้าว นับเป็น
บุญวาสนาอย่างยิ่งในชีวิตที่มีโอกาสได้ถวายงานอย่างใกล้ชิด หลังจากนั้นต่อมาผมจึงได้รับแต่งต้ังเป็น
“รองผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา” และจังหวัดอื่นๆ เป็นลาดับ ได้แก่ จังหวัดบุรีรัมย์ และจังหวัดกระบ่ี
สรุประยะเวลาทดี่ ารงตาแหน่ง “รองผู้ว่าราชการจังหวัด” รวมกนั แล้วยาวนานถงึ ๖ ปี

ล่วงถงึ ปี พ.ศ. ๒๕๔๖ จึงสามารถก้าวสู่ตาแหน่ง “ผู้ว่าราชการจังหวัด” ได้ โดยได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
ใหด้ ารงตาแหนง่ ผู้ว่าราชการเปน็ ครัง้ แรกทีจ่ งั หวดั “สงิ ห์บุรี” และยังได้ปฏิบตั ิหน้าที่ในฐานะ “ผู้ว่าซีอีโอ” อย่างจริงจัง
เพราะเป็นช่วงเริ่มต้นการบริหารจังหวัดแบบบูรณาการ (CEO) ดารงตาแหน่งได้ปีเดียว ปีถัดมาคือ พ.ศ. ๒๕๔๗
ผมข้ามฟากมาเป็นผู้ว่าราชการจังหวัด “นนทบุรี” ส่ิงภูมิใจคือทาให้เกิด “การบูรณาการ” การทางานรวมหมู่
ภายใต้ความรู้สึกผูกพันต่อกันของผู้ปฏิบัติ ส่งผลถึงการทางานร่วมกันเพื่อก่อประโยชน์แก่ประชาชนอย่างแท้จริง
กระทง่ั สง่ิ ทเ่ี กิดขึ้นที่จงั หวดั นนทบุรี กลายเป็นต้นแบบทห่ี ลายๆ จงั หวดั นาไปประยกุ ต์ใช้จนกลายเป็นภาพลักษณ์ที่ดี
(Good view) จนเรียกกันติดปากว่า “นนทบุรีโมเดล” หน่ึงในปรากฏการณ์สาคัญเร่ืองการบูรณาการคนทางาน
ถูกสะท้อนผ่านการรวมกลุ่มของคนกลุ่มหนึ่งท่ีต้ังช่ือภายหลังว่า “กลุ่มมิตรเมืองนนท์” มีสมาชิกหลายสิบคน
จากหน่วยงานต่าง ๆ รวมกลุ่มกันอย่างเหนียวแน่น มีการจัดเล้ียงพบปะพูดคุยกันอย่างสม่าเสมอและยังคงมี
การทางานกันเป็นเครือข่ายความร่วมมือสานต่อเนื่องกันมา รวมถึงการส่งเสริมให้เกิดการทางานเป็นทีม
เกดิ ความคุ้นเคยต่อกนั ในที่สุดหลอมรวมเป็นความสามัคคีระหว่างหน่วยงานส่วนภูมิภาคกับส่วนกลาง เป็นที่มา
ของคา “นนทบุรีทีม” ถงึ ปัจจุบนั ก็ยังมีการรวมกนั เปน็ ทมี แมห้ ลายคนจะเกษียณไปอยูท่ ีอ่ ่ืนแล้วก็ตาม

“ปจั จยั สำคัญประกำรหน่ึงขณะดำรงตำแหน่งผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดนนทบุรี กำลังใจท่ีคอยดูแลช่วยเหลือ
ผมแทบทกุ อยำ่ งในชวี ิตไมว่ ่ำจะเผชิญภำวะใดกต็ ำม คือคณุ นชุ หรือ ทิพวภิ ำ กัมปนำทแสนยำกร ซึ่งเข้ำมำมีบทบำท
หนุนส่งสำคัญในฐำนะคู่ชีวิตคนสำคัญ ต้ังแต่ดำรงตำแหน่งหัวหน้ำสำนักงำนจังหวัดเชียงใหม่กับอีกหลำยหน้ำที่
ในกำรปฏิบัติภำรกิจช่วยเหลือประชำชน ให้สมบทบำทหน้ำท่ีเป็นสมำชิกสภำกำชำดไทยและคนมหำดไทย รวมถึง
กำรพยำยำมหำทำงระดมตงั้ กองทนุ สนบั สนุนกำรศกึ ษำข้ำรำชกำรสำยมหำดไทยอย่ำงต่อเนือ่ ง”

การเปลี่ยนแปลงครั้งสาคัญของชีวิตมาถึงอีกครั้ง หลังปฏิบัติหน้าท่ีในฐานะ “ผู้ว่าราชการจังหวัด
นนทบุรี” ได้ ๒ ปี คราวนี้ผมถือเป็นโอกาสสาคัญที่จะได้แสดงฝีมือในการบริหารจัดการและแก้ไขปัญหา เพราะเวลานั้น
“ปัญหาไฟใต้” กาลังปะทุข้ึนอย่างรุนแรงอีกครั้งหนึ่ง วันที่ ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ
ให้ผมดารงตาแหนง่ นกั ปกครอง ๑๐ สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย เพื่อปฏิบัติหน้าท่ี ผู้อานวยการศูนย์อานวยการ
บริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ผอ.ศอ.บต.) จนกว่ากระทรวงมหาดไทยจะได้รับอนุมัติตาแหน่งรองปลัดกระทรวง
มหาดไทย (นักปกครอง ๑๐) หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านการบริหารราชการจังหวัดชายแดนภาคใต้ เม่ือลงพ้ืนท่ี
ปฏิบัติงาน ผมจึงลุยงานเต็มท่ี วางแผนทางานเชิงยุทธศาสตร์และวางงานความคิดเพ่ือขับเคล่ือน ศอ.บต. หลังการฟื้น
องค์กรใหม่ภายใต้สถานการณ์รอบด้านรุมเร้า เกิดเหตุร้ายแทบจะรายวัน ก่อความสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สิน
ของประชาชนในพน้ื ที่ชายแดนใต้ กลายเปน็ “สงครามความคดิ ” และ “แย่งชงิ มวลชน”

“ในฐำนะ ผอ.ศอ.บต. สิง่ สำคัญเบือ้ งต้นเมื่อมำรับบทบำทหน้ำที่สำคัญ คือ กำรเร่งจัดโครงสร้ำงภำยใน
องคก์ ร ด้วยสังคมต้ังควำมคำดหวังไว้ท่ีหน่วยงำนนี้สูงมำก ขณะที่ ศอ.บต. ยุคใหม่เร่ิมต้นบนพ้ืนฐำนควำมไม่พร้อม

- ๗๐๘ -

แทบทุกด้ำน ทั้งเร่ืองอำคำรสถำนท่ี ต้องใช้สถำนที่เดิมซึ่งเป็นทรัพย์สินของกรมกำรปกครองและสำนักงำน
ปลัดกระทรวงมหำดไทย เป็นทที่ ำกำร มสี ภำพทรดุ โทรมมำกเนือ่ งจำกขำดกำรดูแลอย่ำงต่อเน่ือง มีหลำยหน่วยงำน
เข้ำมำใช้งำน อุปกรณ์เครื่องมือเคร่ืองใช้มีอย่ำงจำกัด งบประมำณยังไม่มี ในขณะบุคลำกรซึ่งมีผู้ปฏิบัติงำนอยู่เดิม
สังกดั กรมกำรปกครองและสำนักงำนปลัดกระทรวงมหำดไทยอยไู่ ม่ถึง ๒๐ คน จำเป็นตอ้ งเรมิ่ ต้นนับหน่ึงใหม่ ต้องมี
กำรกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศำสตร์ จัดทำโครงสร้ำง จัดทำกระบวนงำน กำหนดขั้นตอนกำรปฏิบัติงำน
จดั หำบคุ ลำกรมำปฏิบัติงำน และทุกอยำ่ งตอ้ งดำเนินกำรอย่ำงเร่งรีบ”

เวลานน้ั ผมยึดยทุ ธศาสตร์ในหลวง “เข้าใจ เข้าถึง พฒั นา” เปน็ เข็มทิศทางาน ผ่านคาพูดที่มักใช้บ่อย ๆ
ว่า “ภำพท่ีเห็นไม่เหมือนกับสิ่งที่เรำคิด ส่ิงท่ีคิดไม่เหมือนท่ีเรำเห็น” น่ันหมายถึงปัญหาภาคใต้มีความซับซ้อน
เวลาคิดจะแก้ต้องไม่ยึดหลักทฤษฎีท่ัวไป แต่ต้องยึดแบบ “เทเลอร์เมด” (tailer made) ไม่ใช่เสื้อโหล ต้องเป็นเส้ือตัด
เฉพาะปัญหาภาคใต้เวลาจะเสนอยุทธศาสตร์อะไรก็แล้วแต่ ต้องคิดรอบด้าน คิดให้ลึก ถึงผลกระทบท่ีจะตามมา
เพื่อให้เกิดแรงกระเพ่ือม ประการท่ีสอง การให้โอกาสคนทางาน ประการที่สาม ต้องติดตามงานอย่างใกล้ชิด
ประการทีส่ ี่ ยึดหลกั การบริหารอย่างทเ่ี รียกว่า Accountability คือการรับผิดชอบต่อผลที่ตัวเองคิดจะทา หมายถึง
เวลาสั่งให้ผู้ใต้บังคับบัญชาไปทาอะไรก็แล้วแต่ เกิดผลอะไร ผมเองต้องรับผิดชอบ ไม่ปัดความรับผิดชอบให้คนอื่น
และประการที่ห้า คือ ความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ รวมสรุปความแล้วสิ่งที่ผมทาคือ การเตรียมคน
เตรียมใจ และเตรียมงาน ให้ดีท่ีสุด ผมระดมทีมงานชุดบุกเบิกมาทางานร่วมกันเต็มที่ โจทย์สาคัญคือจะวางคน
ให้เหมาะสมกับงานอย่างไร ควรจะมีการเรียกใครที่มีคุณสมบัติพร้อมมาเสริมทีมเพ่ิมเติม พร้อมกันน้ันก็ต้องศึกษา
ว่า ศอ.บต. ยุคก่อนมีจุดอ่อนตรงไหน อย่างไร จนพบว่า เดิม ศอ.บต. มีจุดอ่อนตรงท่ีไม่มีกรอบอัตรากาลังของตัวเอง
คนท่ีมาอยู่กลับมีฐานะเป็นเพียงคนมาช่วยราชการ ส่วนงานหลัก ๆ จะส่งคนท่ีไม่มีประสิทธิภาพหรือไม่ต้องการ
ให้มาทางาน ขณะที่ ศอ.บต. ยุคใหม่ทาเช่นน้ันไม่ได้แน่นอน เน่ืองจากอยู่ในระยะหัวเลี้ยวหัวต่อสาคัญ โดยเฉพาะ
ใน พ.ศ. ๒๕๔๙ เปน็ ชว่ งวกิ ฤติ มีประชาชนไดร้ บั ผลกระทบจากเหตกุ ารณเ์ ป็นจานวนมาก ทั้งเสียชีวิตและทรัพย์สิน
เพราะฉะน้ันจึงตอ้ งการคนท่มี าแล้วสามารถช่วยกันทาให้ ศอ.บต. เดินหน้าทางานเพ่ือแก้ไขปัญหาได้ทันที หลังจากนั้น
จงึ มุ่งเขา้ สู่เนอื้ งานสาคัญที่ทุกคนทุกฝ่ายต้องลงมือทางานแข่งกับเวลาที่ต้องเสียไป ภายใต้สถานการณ์แวดล้อมรอบด้าน
ที่มีแต่ข่าวด้านลบ ไม่ว่าจะเป็นการทาร้ายชีวิตและทรัพย์สินหรือการข่มขู่ การปลุกกระแสม็อบต้านอานาจรัฐ
การปล่อยกระแสขา่ วลือขา่ วลวง ฯลฯ

เง่ือนไขหรือตัวแปรสาคัญที่จาต้องเร่งดาเนินการให้เร็วที่สุดท่ามกลางสถานการณ์รุมเร้ารอบด้าน คือ
การคิดวางแผนว่าจะทาอยา่ งไรทสี่ ามารถแย่งชิงตัวเยาวชนในพื้นท่ีมาเป็นฝ่ายรัฐให้ได้ เรียกว่าเป็นการ “ชิงคนชิงพื้นที่
ชิงเวลา และชิงมวลชน” โดยแท้ รวมถึงการสร้างบทบาทรุกทางการเมือง โดยเฉพาะการเอาชนะจิตและใจ
ประชาชน (Winning Hearts and Minds) ซ่ึงเป็นหัวใจและเงื่อนไขความสาเร็จท่ีแท้จริงของการต่อสู้เพื่อเอาชนะ
การก่อความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้อย่างย่ังยืน การสร้างสภาพแวดล้อมด้านเศรษฐกิจและสังคมที่ก้าวหน้า
เพือ่ ช่วยปรับเปล่ียนพฤติกรรม การขจัดเงื่อนไขความเป็นธรรม ทาให้ประชาชนรู้สึกมีท่ีพึ่ง และการให้ความสาคัญ
กับการสร้างความเขา้ ใจในประเดน็ คาสอนทางศาสนาทถี่ กู หยิบยกเปน็ เงอ่ื นไขการตอ่ ส้โู ดยใช้ความรุนแรง ด้วยการสง่ เสริม
บทบาทของ “ผู้รทู้ างศาสนา” สร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง มุ่งเน้นการสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน และป้องกันแก้ไข

- ๗๐๙ -

ปัญหาความหวาดระแวงแตกแยกระหว่างพี่น้องต่างศาสนิกและชุมชนพุทธกับชุมชนมุสลิม นอกจาก สนับสนุน
การจัดระบบชุมชนให้มีความเข้มแข็ง ดูแลความปลอดภัยของตนเอง ส่งเสริมบทบาทเครือข่ายยุติธรรมชุมชน
ไกล่เกลี่ยกรณีพิพาท ร่วมมือกับองค์กร/นักวิชาการด้านสันติวิธี ให้มีส่วนร่วมในการป้องกันแก้ไขปัญหา และยังส่ง
เจ้าหนา้ ทแ่ี ละงบประมาณลงไปชว่ ยเหลอื หน่วยพน้ื ทแ่ี กไ้ ขปัญหาดังกลา่ วหลายชมุ ชน

ท้ังนี้เช่ือว่าการสร้างความเข้าใจและส่งเสริมบทบาทผู้นาท้องถิ่น ผู้นาศาสนา ผู้นาชุมชน ปัญญาชน
มุสลมิ เยาวชน นักวิชาการ สื่อมวลชน องค์กรภาคประชาชนและทุกภาคส่วน แก้ปัญหาและพัฒนาบ้านเกิดเมืองนอน
ถือเป็น “หัวใจ” การทางานของ ศอ.บต. ภายใต้แนวคิด “คนในท้องถ่ินจะต้องมีบทบำทในกำรแก้ไขปัญหำของ
ตนเอง” ซ่ึงนอกจากจะมีการตั้งสภาท่ีปรึกษาเสริมสร้างสันติสุขทั้งระดับ ศอ.บต. จังหวัด และอาเภอแล้ว ศอ.บต.
ยังจัดให้มีการประชุมปรึกษาหารือ สภาชาวบ้าน เวทีประชาชน ระดมความคิดเห็นและส่งเสริมการมีส่วนร่วม
ของภาคสว่ นต่าง ๆ ทั้งยงั ส่งเสริมให้มีการรวมตัวกันเปน็ เครือขา่ ยขบวนการสันติภาพเพ่ือใหเ้ กิดพลังในการดาเนนิ งาน

จดุ สงู สดุ ในชวี ติ ราชการ
ผมทุ่มเททางานในฐานะรองปลัดกระทรวงมหาดไทย และผู้อานวยการ ศอ.บต. ตั้งแต่แรกเข้ารับ

ตาแหนง่ เม่ือวนั ที่ ๓๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๔๙ กระทงั่ ถงึ เวลาโยกย้ายอีกครัง้ ปลายปี พ.ศ. ๒๕๕๒ เมื่อได้รับพระกรุณา
โปรดเกล้าฯ แตง่ ต้ังเปน็ รองปลัดกระทรวงมหาดไทย รวมเวลาทป่ี ฏิบัติหนา้ ที่ในพ้ืนทชี่ ายแดนใต้ประมาณ ๓ ปี

คราวนน้ี ับว่าถงึ เวลาคืนกรุงม่งุ สศู่ นู ย์กลาง หลังผ่านการปฏิบัติหน้าท่ีท่ีเรียกได้ว่าบรรณาการแทบทุกรสชาติ
ของชีวิต ผมกลับคืนสู่เมืองกรุงยุครัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี และนายชวรัตน์ ชาญวีรกูล
เปน็ รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทย มาดารงตาแหน่ง “รองปลัดกระทรวงมหาดไทย” เพียงบทบาทเดียว ได้รับ
มอบหมายให้ดูแลเร่ืองความมั่นคง ๒ กรมสาคัญ คือ กรมที่ดิน และกรมการปกครอง แต่ผู้บังคับบัญชาโดยตรง
เวลานน้ั กลับให้รองปลดั ดา้ นความม่ันคงดแู ลเฉพาะ “กรมที่ดิน” เพียงหน่วยงานเดียว ตัดงาน “กรมการปกครอง”
ออกไปจากบทบาทหนา้ ที่ ซงึ่ ตามหลักปฏิบตั แิ ลว้ เปน็ เรอ่ื งไม่ถูกตอ้ ง ภายหลงั สานกั งาน ก.พ.ร. กย็ ืนยนั วา่ ทาไมไ่ ด้

ยิ่งไปกว่าน้ัน เมื่อเป็นรองปลัดกระทรวงมหาดไทย ฝ่ายบริหาร ดูแลงานสานักงานปลัดกระทรวง
มหาดไทยท้ังหมด กลับถูกยกเว้นในการดูแลงานกองการเจ้าหน้าที่และการคลังอีก เรียกว่าตัดบทบาทในหน่วย
สาคญั คอื “บคุ คลและการเงินการคลงั ” ถอื เป็นการเลอื กปฏิบตั แิ ละเป็นเรอ่ื งทไี่ มช่ อบธรรมเปน็ อยา่ งย่ิง

“โดยบทบำทผมต้องดูแลกรมที่ดินและกรมกำรปกครอง แต่เป็นท่ีประหลำด มีคำส่ังว่ำไม่ต้องดูแล
กรมกำรปกครอง ถือเป็นคำส่ังที่ไม่ชอบ ไม่ถูกต้องด้วยระบบ แต่ผมเฉย ๆ ยอมรับว่ำช่วงที่ผ่ำนมำ ๒-๓ ปี
กระทรวงฯ เหมอื นอยำกให้ผมได้พกั ผ่อนเหลอื เกนิ เลยทำงำนอะไรอย่ำงจริงจังไม่ได้มำก พอมำเป็นปลัดฯ แม้จะมี
เวลำแค่ปีเดียว แตก่ พ็ ยำยำมทำอะไรใหเ้ ขำ้ ทเี่ ขำ้ ทำง ให้เกดิ ควำมเป็นธรรมกับทุกคนทกุ ฝ่ำย”

อย่างไรก็ตาม แม้ได้รับการปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม แต่ผมยังคงมุ่งม่ันปฏิบัติงานด้วยความทุ่มเทไม่ย่อท้อ
ไม่ว่าจะในฐานะรองปลัดกระทรวงมหาดไทย ด้านความม่ันคง กับงานท่ีเก่ียวข้องกับกรมที่ดิน และรองปลัดกระทรวง
มหาดไทย ฝ่ายบริหาร ช่วงน้ีทาให้เป็นอีกคร้ังท่ีมีโอกาสนาประสบการณ์ความรู้ด้าน “นิติศาสตร์” มาใช้ให้เกิด
ประโยชนต์ ่อส่วนรวม โดยเฉพาะในฐานะ “ประธานคณะกรรมการร่างกฎหมายของกระทรวงมหาดไทย” ก่อนหน้าน้ี

- ๗๑๐ -

คณะกรรมการชุดน้ี ไมค่ ่อยได้รบั ความใสใ่ จจากผบู้ งั คับบัญชาท่ีได้รับมอบหมายให้มากากับดูแลงานตามท่ีควรจะเป็น
การประชุมแต่ละครั้งใช้เวลาไม่นาน แต่ผมกลับให้ความสาคัญกับเรื่องเหล่านี้ หากมีเวลาก็จะมาเป็นประธาน
การประชุมแทบทุกคร้ัง และหากมีการเสนอร่างกฎหมายหรือเสนอข้อหารือเพ่ือช้ีแจงข้อเท็จจริง จะซักถามข้อมูล
อย่างละเอียดด้วยตัวเอง พร้อมให้โอกาสช้ีแจงเต็มท่ีสาหรบั กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ กฤษฎีกา อัยการ หรืออดีตข้าราชการ
ชัน้ ผูใ้ หญข่ องกระทรวงมหาดไทย เพ่อื ร่วมตรวจพิจารณา ตีความ วินิจฉัยข้อกฎหมายต่าง ๆ ท่ีเสนอหลายร้อยฉบับ
ในแต่ละปี เพือ่ ใหเ้ กิดคณุ ประโยชน์จรงิ ๆ

นอกจากน้อี ีกประเดน็ สาคญั ผมใชว้ ธิ ีผสมผสานระหวา่ งข้อเท็จจริงกับความเห็นทางกฎหมาย ด้วยความเป็น
ทัง้ นักกฎหมายและนกั ปกครอง ผมเปน็ นักกฎหมายทย่ี ึดหลักการ ขณะเดียวกันพยายามใช้หลักนักปกครอง นักรัฐศาสตร์
เขา้ มาผสมผสาน เชน่ กรณหี ารอื เก่ียวกบั ปญั หาในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ทาให้ได้ผลสรุปเป็นองค์ความรู้ใหม่
กลายเป็นมติคณะกรรมการร่างกฎหมาย ให้หน่วยงานอ่ืนใช้เป็นหลักปฏิบัติทางกฎหมายได้ โดยกาชับให้สานัก
กฎหมาย กระทรวงมหาดไทย ฝา่ ยเลขานกุ าร รวบรวมหลักกฎหมายแจ้งเวยี นให้หน่วยงานต่าง ๆ ทราบ

“ทักษะกำรประชุมทำงำน ผมเปิดโอกำสให้ผู้ร่วมประชุมให้ข้อมูลเต็มที่ ปกติคนเป็นผู้บังคับบัญชำ
ระดับสูงมักไม่ค่อยฟังคนอื่น แต่ผมจะอดทนรับฟังทุกฝ่ำยอย่ำงรอบด้ำนเพื่อก่อประโยชน์ในกำรหำแนวทำงแก้ไข
ปญั หำ”

จุดหักเหสาคัญคร้ังหน่ึงของผมขณะดารงตาแหน่งรองปลัดกระทรวงมหาดไทย สมควรถูกจารึกเป็น
ลายลักษณ์อักษร ณ ท่ีนี้ คือช่วงมีประกาศว่าจะมีการสรรหา “ปลัดกระทรวงมหาดไทย” คนใหม่ มีข่าวปรากฏ
ตามหน้าหนังสือพิมพ์ว่าผมจะไม่สมัคร ไม่แสดงวิสัยทัศน์ ทาให้ผู้ติดตาม คนใกล้ชิด หรือข้าราชการสายมหาดไทย
ต่างเกิดอาการงงงนั ว่า “เกิดอะไรข้นึ ?”

“ตรงนี้คนยังคงงงว่ำทำไมผมไม่เอำด้วย ประเด็นคือ ทำงกำรเมืองคิดว่ำค่อนข้ำงไม่สบำยใจถ้ำผมเป็น
ปลัดกระทรวงฯ เพรำะผมเปน็ คนไมย่ อมให้มีกำรดำเนินกำรในส่ิงไม่ถูกต้อง เพรำะฉะน้ันจึงหำวิธีสร้ำงกระบวนกำร
ขนึ้ มำให้มกี ำรเขียนวสิ ัยทัศนห์ รอื กรอบเกณฑ์กติกำเพอื่ ใหม้ ีกำรสรรหำ เดิมมีกระบวนกำรเช่นน้ีอยู่แล้ว ผมในฐำนะ
รองปลัดอำวุโสสูงสุดย่อมมีสิทธิ์ แต่ผมไม่สมัคร ไม่ขอแสดงวิสัยทัศน์ เพรำะรู้ว่ำแสดงแล้วผู้มีอำนำจก็ไม่สนใจไม่เอำ
ผมเลยพูดหลำยคร้ัง หำกมีคนถำมว่ำทำไมไม่แสดงวิสัยทัศน์ ผมจะบอกกลับไปว่ำ ถ้ำผมแสดงวิสัยทัศน์แล้ว
เหมำะสม จะตง้ั ผมเป็นปลดั กระทรวงหรอื เปลำ่ ”

จะอยา่ งไรกต็ าม ถงึ ท่ีสุดแลว้ ทปี่ ระชมุ คณะรัฐมนตรเี มอื่ วนั ท่ี ๒๗ กันยายน ๒๕๕๔ ได้มีมติแต่งตั้งให้ผม
ดารงตาแหน่งปลัดกระทรวงมหาดไทย มีประกาศสานักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งต้ังข้าราชการพลเรือน ความว่ามี
พระบรมราชโองการโปรดเกลา้ ฯ ให้ นายพระนาย สวุ รรณรฐั ข้าราชการพลเรอื นสามัญ พ้นจากตาแหน่งรองปลัดกระทรวง
สานักงานปลดั กระทรวง และแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่ง ปลัดกระทรวง สานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงมหาดไทย
ตั้งแต่วันท่ี ๗ ตลุ าคม ๒๕๕๔ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ นางสาวยงิ่ ลักษณ์ ชนิ วัตร นายกรฐั มนตรี

ตลอดระยะท่ดี ารงตาแหนง่ ปลดั กระทรวงมหาดไทย เม่ือรู้ดีว่าเป็นช่วงท้ายใกล้เกษียณอายุราชการแล้ว
ผมย่ิงทุ่มเททางานอย่างเต็มความรู้ความสามารถแม้จะเผชิญปัญหาอุปสรรคหลายด้าน โดยเฉพาะแรงเสียดทาน
ทางการเมืองและแรงกดดันจากระบบงานราชการ ผมผ่านเหตุการณ์มากมาย เป็นปลัดกระทรวงมหาดไทยที่ได้รับ

- ๗๑๑ -

พระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ค่อนข้างเร็วในบรรดาช่วงเวลาท่ีมีการโปรดเกล้าฯ ที่ผ่านมา เหมือนผ่าน
คณะรัฐมนตรีได้ประมาณ ๓ - ๔ วันก็ทรงโปรดเกล้าฯ ให้เป็นปลัดกระทรวงมหาดไทยแล้ว หลังจากน้ันเกิดวิกฤตการณ์
ตอ่ เน่ืองมาตลอด ทั้งปญั หาน้าทว่ ม การเยียวยาฟ้ืนฟู หรือกระแสการแต่งตั้งโยกย้ายข้าราชการในกระทรวงมหาดไทย

แม้ต้องเผชิญกับเหตุการณ์เฉพาะหน้าเป็นระลอก แต่ในฐานะปลัดกระทรวงมหาดไทย ผมพยายาม
ทางานเต็มที่ เน้นสร้างผลงานเป็นหลักจนมีโครงการสาคัญที่เกิดขึ้นหลายโครงการ ประกอบด้วย ๑.การสร้าง
ความปรองดองสมานฉันท์ของคนในชาติในระดับพื้นท่ี ดาเนินการสร้างสังคมไทยให้มีความสมานฉันท์ ประชาชนในชาติ
มีความรักสามัคคีเป็นหนึ่งเดียวกัน มีความเชื่อมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเป็นประมุข มีการขับเคล่ือนแผนงานในระดับพื้นที่ เช่น ขยายผลพื้นที่ปิดทองหลังพระสืบสานแนวทาง
พระราชดาริโดยยึดหลักการทางาน “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” ใน ๑๐ จังหวัด การจัดประชุมการขับเคลื่อนแผนงาน
ส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตยฯ จัดโครงสร้างสร้างเสริมความสัมพันธ์ชุมชนและทาง สังคม ฯลฯ
๒.การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดโดยพลังแผ่นดิน ๓.การบูรณาการแก้ไขปัญหาภัยธรรมชาติและการเร่งรัด
ช่วยเหลือ ฟ้ืนฟูผู้ประสบภัย ๔.สนับสนุนการนาสันติสุขและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
กลับมาสู่พ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ ๕.ดาเนินการจ่ายเบ้ียยังชีพผู้สูงอายุอย่างมีประสิทธิภาพ ๖.ส่งเสริมให้
ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุน สนับสนุนการดาเนินโครงการพัฒนาศักยภาพของหมู่บ้านชุมชน (SML) ตามแนว
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในพ้ืนที่ ๗.ยกระดับสินค้าหนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) เพ่ิมช่องทางตลาดเชิงรุก
ทั้งภายในประเทศและประเทศเพื่อนบ้าน ๘.เพ่ิมขีดความสามารถและบทบาทฝ่ายปกครองในการรักษาความสงบ
เรียบร้อยความม่ันคงภายใน และการอานวยความเป็นธรรมในสังคม ๙.เร่งรัดออกเอกสารสิทธิที่ดินให้ครอบคลุม
ท่ัวประเทศและสร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้าในการใช้ประโยชน์ที่ดินของรัฐ ๑๐.เสริมสร้างระบบ
คุณธรรมและนาบริการที่ดีสู่ประชาชน ด้วยการปรับปรุงระบบบริการประชาชนให้เป็นเชิงรุกมากข้ึนโดยใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑.สนับสนุนการดาเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีระบบที่มีประสิทธิภาพ
โปรง่ ใส ๑๒.สง่ เสริมให้ประชาชนมสี ว่ นร่วมในการบริหารราชการแผน่ ดนิ ทุกระดบั

“ส่งิ หน่งึ ที่ต้องยึดไว้เป็นสรณะสำหรับกำรทำงำนบริหำรรำชกำรแผ่นดิน คือ ต้องเป็นคนหนักแน่น ที่สำคัญ
ท่ีสดุ ต้องปล่อยวำงให้เป็น มนุษย์มีสองมือ สองเทำ้ สองตำ สองหู ยอ่ มทำให้มีขีดควำมสำมำรถในกำรรับรู้เท่ำกันทุกคน
เพรำะฉะนั้นสำหรับผม หลำยเรื่องทำได้ หลำยเร่ืองทำไม่ได้ ถ้ำทำไม่ได้แล้วไม่ยอม ไปตีโพยตีพำย เสียอกเสียใจ
แสดงว่ำปล่อยวำงไม่เป็น บำงเรื่องเรำสำมำรถทำได้ดี แต่บำงเร่ืองเกินควำมสำมำรถ หรือถึงขั้นเสียใจด้วยซ้ำ
ก็ตอ้ งว่ำตำมนน้ั เพรำะเปน็ เรื่องจรงิ กำรบรหิ ำรควำมร้สู กึ ของคนไม่ใช่เรอ่ื งง่ำย เป็นทั้งศำสตร์และศิลป์ ในหลักกำร
บรหิ ำร หำกทกุ คนพยำยำมบริหำรและใชห้ ลักกำรทถ่ี ูกต้อง ทุกอยำ่ งจะง่ำยข้นึ ”

ท้ายที่สุด นอกจากวิชาความรู้ท่ีได้รับจากการศึกษาหรืออบรมในสถาบันการศึกษาต่างๆ โดยเฉพาะ
ด้านนิติศาสตร์จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รวมถึงโรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย หลักสูตรบริหารรัฐกิจ M.P.A.
จากมหาวิทยาลัยอินเดยี น่า ประเทศสหรฐั อเมรกิ า รวมถงึ หลักสตู รอื่นๆ บวกรวมกับการต้ัง “ปณิธาน” ในการปฏิบัติงาน
เพือ่ ประเทศชาตแิ ละสถาบันพระมหากษัตริย์ บทสรุปของผมสาหรับชีวิตการทางานเหมือนได้อุทิศทางานให้ราชการ
มาพอสมควร และราชการก็ให้เรามาพอสมควร ส่ิงท่ีหวังจะให้อยู่คู่กับมหาดไทยไปอีกนาน เป็นเร่ืองของการทาให้

- ๗๑๒ -

กระทรวงมหาดไทยยงั เปน็ ทพ่ี งึ่ ของชาวบ้านได้ เรื่องใหญ่คือการบาบดั ทุกข์ บารุงสขุ ซึ่งกอ่ นที่จะทาได้ทุกคนต้องอยู่
ภายใตร้ ะบบท่ไี ดช้ ่ือวา่ เป็น “ระบบคณุ ธรรม”

เหล่านี้คอื สงิ่ ท่ีผมพยายามลงมือทาอยู่ตลอดมาทั้งชีวิต เพราะฉะน้ันหากทุกคนพยายามส่งเสริม เชิดชูคนดี
คนเก่งให้มีส่วนในการก้าวข้ึนมาเป็นผู้นา พร้อมดูแลทุกข์สุขพ่ีน้องรับใช้ประชาชนได้ นี่คือส่ิงท่ีอยากเห็นอยากให้
ดารงอยู่เคียงคู่กับมหาดไทยตลอดไป ประการสาคัญคือขอให้ระบบคุณธรรมดารงอยู่ในใจทุกผู้คนตราบนานเท่านาน
ตลอดช่ัวชีวิตของคนคนหนงึ่ ทพี่ งึ ควรได้ลงมือกระทาเพ่ือก่อประโยชน์แก่สังคมและประเทศชาติ

********************

- ๗๑๓ -

นายปกลนัดฤากยษรกะฤทฎษรฎวาางมบบหุญารุญดาไชทรยาช
ระหวป่างวลนั ัดที่ ก๑ ตรุละาคทมร๒ว๕๕ง๘ม–ห๓๐าดกันไยทายยน ๒๕๖๐

ระหว่างวนั ที่ ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๘ - ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๐

- ๗๑๔ -

๑. ข้อมูลประวัติ
ภมู ลิ าเนา จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา
ประวัตดิ ้านการศกึ ษา
- ศลิ ปศาสตรบณั ฑติ (รฐั ศาสตร)์ มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง
- นติ ิศาสตรบณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่
- รฐั ศาสตรมหาบัณฑติ (รฐั ศาสตร์) มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
การอบรมหลักสูตร
- ปี พ.ศ. ๒๕๔๔ ประกาศนียบตั รหลกั สตู ร “การบริหารการพัฒนาโดยการมีส่วนร่วม” มหาวิทยาลัย
เบอรม์ ิงแฮม ประเทศองั กฤษ (ทนุ การศกึ ษาจากสถานทูตองั กฤษ กรุงเทพฯ)
- ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ ประกาศนียบัตรหลักสตู ร “การบริหารจัดการความมนั่ คงอย่างมีเสถียรภาพ”
ศนู ยก์ ารศกึ ษาความม่งั คงในภมู ภิ าคเอเชยี แปซิฟกิ Center for Security Studies (APCSS)
(ทนุ การศึกษาสถานทตู สหรัฐอเมริกา กรงุ เทพฯ)
- ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ประกาศนียบตั รหลักสตู ร “การบริหารงานภาครฐั และท้องถ่ิน” Kennedy School
of Government, Harvard University, ๒๐๐๙ (ทนุ การศกึ ษาจากสานักงานคณะกรรมการขา้ ราชการ
พลเรือน)
- ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ หลกั สูตร “การปอ้ งกันราชอาณาจักรรนุ่ ที่ ๕๓” วิทยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร
(หลักสูตรร่วมภาครฐั – เอกชน รนุ่ ที่ ๒๓)
ประวัติการรับราชการในตาแหน่งสาคัญ
- ปี ๒๕๒๒ – ๒๕๒๙ ดารงตาแหน่งเจ้าหน้าท่ีบรหิ ารงานท่ัวไป ๓ ศนู ย์รบั ผู้อพยพอาเภอเชียงของ
จังหวัดเชยี งราย และชว่ ยราชการสานักงานจงั หวดั เชยี งราย
- ปี ๒๕๓๐ – ๒๕๓๔ ดารงตาแหนง่ เลขานุการรองปลดั กระทรวงมหาดไทย (นายเจริญจิตต์ ณ สงขลา)
- ปี ๒๕๓๔ – ๒๕๓๕ ดารงตาแหนง่ เลขานกุ ารปลัดกระทรวงมหาดไทย (นายเจริญจติ ต์ ณ สงขลา)
- ปี ๒๕๓๕ – ๒๕๓๗ ดารงตาแหนง่ หัวหนา้ ฝา่ ยแผน สานักงานจงั หวัดปตั ตานี
- ปี ๒๕๓๗ – ๒๕๔๗ ดารงตาแหนง่ นายอาเภอดอยเต่า นายอาเภอแมอ่ าย นายอาเภอฝาง
จงั หวดั เชยี งใหม่ ดารงตาแหน่ง นายอาเภอเมืองอา่ งทอง จงั หวัดอา่ งทอง
ดารงตาแหน่ง นายอาเภอเมืองปทุมธานี จงั หวัดปทมุ ธานี
- ปี ๒๕๔๗ – ๒๕๔๙ ดารงตาแหน่ง ผู้ตรวจราชการกรมการปกครอง
- ปี ๒๕๔๙ – ๒๕๕๒ ดารงตาแหน่ง รองผู้วา่ ราชการจังหวัดยะลา
- ปี ๒๕๕๒ – ๒๕๕๔ ดารงตาแหนง่ ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
- ปี ๒๕๕๔ – ๒๕๕๗ ดารงตาแหนง่ ผู้วา่ ราชการจังหวดั สงขลา
- ปี ๒๕๕๗ – ๒๕๕๘ ดารงตาแหนง่ อธิบดีกรมการปกครอง
- ปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐ ดารงตาแหนง่ ปลดั กระทรวงมหาดไทย
เกยี รตคิ ุณ :
- เคร่ืองราชอสิ รยิ าภรณ์ มหาปรมาภรณ์ชา้ งเผอื ก
- เครอ่ื งราชอสิ ริยาภรณ์ มหาวชิรมงกฎุ

- ๗๑๕ -

คต/ิ หลกั ปรัชญาสาคญั ในการปฏิบตั ิราชการ
- คณุ ธรรม ยดึ มน่ั ในความถูกต้อง ชอบธรรม
- จรยิ ธรรม มจี ิตใจม่งุ มั่นในการรักษาสิง่ ที่ถกู ต้อง คอื กล้าคดิ กลา้ พดู กล้าทาในสง่ิ ท่ีถูกต้อง

๒. ผลงานทภี่ าคภมู ิใจในชว่ งปฏิบัตริ าชการ

๒.๑ นายอาเภอแมอ่ าย จงั หวดั เชยี งใหม่
“ชีวิตใหม่ของนักเรียนราชประชานุเคราะห์” เมื่อวันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๓๙ พระบาทสมเด็จ

พระเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๙) ได้โปรดเกล้าฯ ให้ประธานกรรมการมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ (นายขวัญแก้ว วัชโรทัย)
นาผ้าห่มกันหนาวพระราชทานมาแจกจ่ายให้แก่ราษฎรผู้ยากไร้ในพ้ืนที่อาเภอแม่อาย นายกฤษฎา บุญราช
นายอาเภอแม่อายได้รายงานปัญหาเรื่องเด็กกาพร้าซ่ึงบิดามารดาเสียชีวิตจากโรคเอดส์ โดยแสดงความห่วงใยว่า
หากเด็กกาพร้าเหลา่ นั้นเตบิ โตไปโดยไมม่ ผี ปู้ กครองเล้ยี งดู และไม่ได้รบั การศึกษาทเ่ี หมาะสมพวกเขาอาจเติบโต
ไปในทางผิดและก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ในสังคมได้ นายกฤษฎาได้เสนอว่า ควรมีองค์กรใดองค์กรหน่ึงเข้ามา
รบั ผดิ ชอบเล้ยี งดูและให้การศกึ ษาแกเ่ ด็กเหล่านี้

ประธานกรรมการมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ฯ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้นาความเรื่องปัญหาเด็ก
กาพรา้ ดังกล่าวขน้ึ กราบบงั คมทูลพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
ทรงทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท ด้วยความห่วงใยอนาคตเยาวชนของประเทศที่ขาดโอกาสในชีวิต ตามที่พระองค์
ทรงมพี ระราชดารสั แก่คณะกรรมการมลู นธิ ิราชประชาสมาสยั ความตอนหนง่ึ ว่า

“ผู้ท่ีเป็นโรคเรื้อนและผู้ท่ีเป็นบุตรหลานของโรคเรื้อนก็ได้จัดการเรียบร้อย โรคเอดส์ ก็มีผู้ที่ป่วย
เปน็ โรคเอดส์และมลี ูกหลานของผ้ปู ่วยเปน็ โรคเอดสท์ ีย่ ังไม่เป็น กค็ วรจะไดช้ ว่ ยให้เด็กเหล่าน้ีไดร้ ับการศกึ ษาและอมุ้ ช”ู

พระองค์ได้พระราชทานพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ร่วมกับ
กระทรวงศึกษาธิการและจังหวัดเชียงใหม่ จัดตั้งโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๐ ขึ้นท่ีอาเภอแม่อาย โดยผู้ว่า-
ราชการจังหวัดเชียงใหม่ (นายพลากร สุวรรณรัฐ) ได้มอบหมายให้นายอาเภอแม่อาย (นายกฤษฎา บุญราช) เป็นผู้จัดหา
ท่ีดินในการก่อสร้างอาคารโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๐ โดยนายอาเภอแม่อายได้ขอความเห็นชอบจาก
คณะกรรมการหมู่บ้านตามกฎหมายลักษณะปกครองท้องท่ี เพ่ือขอใช้ที่ดินสาธารณประโยชน์บริเวณบ้านแม่แหลง
หม่ทู ี่ ๒ ตาบลแมอ่ ายอาเภอแมอ่ ายจานวน๒๐๐ ไร่ เปน็ ที่ตัง้ ของโรงเรียนฯ โดยมี นายเฉลิมชัย รัตนประยูร ผู้อานวยการสามัญ
ศึกษาจังหวัดเชียงใหม่เป็นผู้ประสานงานการจัดต้ังโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๐ ขึ้น เพ่ือเป็นสถานศึกษา
และรับอุปการะเล้ียงดูเด็กกาพร้าและเยาวชนผู้ด้อยโอกาสในสังคมของพ้ืนที่อาเภอแม่อาย และพ้ืนท่ีใกล้เคียง
พิธีวางศิลาฤกษ์จัดขึ้นในวันอังคารท่ี ๑๔ ตุลาคม ๒๕๔๐ และประกาศจัดตั้งโรงเรียน เมื่อวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๔๑
โดยผู้บริหารโรงเรียนคนแรก คือนายสมพงษ์ ศรีขา ผู้ช่วยผู้อานวยการโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แม่จัน ได้รับแต่งตั้ง
โดยกรมสามัญศึกษาให้ปฏิบัติหน้าที่ผู้บริหารโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๐ ในปัจจุบันนายมงคล สุวรรณะ
รบั ตาแหน่งเป็นผู้อานวยการโรงเรยี นฯ ต้งั แตว่ นั ท่ี ๑๒ ตุลาคม ๒๕๖๓ จนถงึ ปัจจบุ นั

- ๗๑๖ -

กา้ วแรกของโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๐ กับบทบาทนายอาเภอทไี่ มท่ ิง้ ผใู้ ดไว้ข้างหลงั
ในปีการศึกษา ๒๕๔๐ เป็นปีแรกที่โรงเรียนเปิดดาเนินการเรียนการสอน เพื่อช่วยเหลือเยาวชนจาก
ครอบครัวกลมุ่ เปราะบางทพ่ี ่อหรอื แม่เสียชีวิตจากโรคเอดส์ เป็นเด็กกาพร้า ครอบครัวมีฐานะยากจนขาดแคลนทุน
ทรัพย์ในการเรียน แม้ว่ากระทรวงศึกษาธิการจะอนุมัติให้โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๐ เปิดทาการได้แล้ว
แต่ความไม่พร้อมของสถานท่ีแรกรับนักเรียน ประกอบกับงบประมาณต่างๆ ท่ียังไม่ได้ขออนุมัติไว้ ส่งผลทาให้
โรงเรียนยังไม่สามารถเปิดดาเนินการได้ นายอาเภอแม่อาย (นายกฤษฎา บุญราช) ในฐานะหัวหน้าส่วนราชการ
ภูมิภาคตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ที่กาหนดอานาจหน้าที่นายอาเภอ
ให้รับผิดชอบงานและภารกิจท่ีไม่มีหน่วยงานใดรับผิดชอบโดยตรง รวมท้ังในฐานะท่ีเป็นประธานคณะกรรมการ
สุขาภิบาลตาบลแม่อายอีกตาแหน่งหน่ึง โดยได้ดาเนินการแก้ปัญหาดังกล่าว ด้วยการประสานงานและอานวยการ
ใหห้ นว่ ยงานต่าง ๆ เชน่ สานกั ศกึ ษาธิการอาเภอแม่อาย โรงเรียนแม่อายวิทยาคม สานักงานสาธารณสุขอาเภอแม่อาย
สานกั งานเกษตรอาเภอแม่อาย โรงพยาบาลแม่อาย กลุ่มกานนั และผใู้ หญ่บ้าน ฯลฯ เข้ามาช่วยสนับสนุน ตลอดจน
ยงั ไดร้ ะดมประชาชนผูม้ ีจติ ศรัทธา เข้ามาชว่ ยบริจาคเงนิ และทรัพยากรต่าง ๆ ทั้งแรงงานชาวบ้านแม่อาย เครื่องมือ
เครื่องจักรในการปรับพื้นท่กี ่อสรา้ งโรงเรยี น การสร้างทพี่ กั ช่ัวคราวสาหรับนักเรียน การก่อสร้างถังน้า รวมทั้งระบบ
นา้ อปุ โภคบรโิ ภคในบริเวณทีต่ ้งั โรงเรียนด้วย
ในขณะเดียวกันระหว่างการรอก่อสร้างอาคารหลังแรกของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๐
นายอาเภอแม่อายได้ประสานโรงเรียนแม่อายวิทยาคมซ่ึงเป็นโรงเรียนประจาอาเภอเพื่อขอใช้ห้องเรียนบางส่วน
ในการรับเลี้ยงเด็กนักเรียนกาพร้าในเทอมแรกของปีการศึกษา ๒๕๔๑ รวมทั้งนายอาเภอแม่อายได้มอบหมาย
เจ้าหน้าที่สุขาภิบาลตาบลแม่อาย และปลัดอาเภอแม่อายผลัดเปลี่ยนกันนาสมาชิกกองร้อยอาสารักษาดินแดน
อาเภอแม่อายนารถของท่ีทาการปกครองอาเภอแม่อายและสุขาภิบาลตาบลแม่อายไปรับ -ส่งนักเรียนจากหมู่บ้าน
ท่ีอยู่ห่างไกลและไม่มีกาลังทรพั ย์ในการเดินทางมาโรงเรยี นให้สามารถเรม่ิ ตน้ เรียนในภาคเรยี นแรกได้

ด้วยพระบารมพี ระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัว จงึ ผ่านพน้ ปญั หาอปุ สรรคไดอ้ ยา่ งราบรื่น
ปัญหาสาคัญอีกประการของการเริ่มต้นโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๐ คือ มีประชาชนบางกลุ่ม
คิดว่านักเรียนของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๐ เป็นโรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง (AIDS) จึงไม่อยากส่งบุตรหลานมาเรียน
ท่ีโรงเรียนแห่งนี้ เพราะเกรงว่าจะมีปัญหาด้านสุขภาพกลับไป ซ่ึงข้อเท็จจริงน้ัน แม้ว่าเด็กนักเรียนบางคนมาจาก
ครอบครวั ที่มีผปู้ ว่ ยโรคภูมคิ ุ้มกนั บกพรอ่ ง แต่ตวั นกั เรียนไมไ่ ด้เปน็ โรคภูมิคุ้มกันบกพร่องแต่อย่างใด นายอาเภอแม่อาย
จึงได้ร่วมกับผู้นาท้องที่และหัวหน้าส่วนราชการต่างๆ เดินทางไปประชุมช้ีแจงกับชาวบ้านในบริเวณรอบโรงเรียน
ให้เกิดความเข้าใจท่ีถูกต้อง ประกอบกับสานักงานสาธารณสุขอาเภอแม่อายและโรงพยาบาลแม่อาย ได้ส่งแพทย์
และพยาบาลไปช่วยตรวจสขุ ภาพเดก็ นกั เรียนอย่างสมา่ เสมอ ขณะเดียวกันข่าวการท่ีพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ได้พระราชทานพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้มีการก่อตั้ง
โรงเรียนสาหรับครอบครัวกลุ่มเปราะบางหรือบางส่วนมาจากครอบครัวเด็กกาพร้าได้เผยแพร่ออกไป ด้วยความสานึก
ในพระมหากรุณาธิคุณและความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ จึงทาให้มีท้ังส่วนราชการ องค์กรระหว่าง
ประเทศ องค์กรการกุศล เอกชน และประชาชน ได้ร่วมกันระดมทรัพยากรและความช่วยเหลือต่าง ๆ ตั้งแต่เส้ือผ้า

- ๗๑๗ -

เครื่องนุ่งห่ม อุปกรณ์การเรียน ตลอดจนอาหารไปมอบให้แก่เด็กนักเรียนเหล่านั้น รวมทั้งมีการสร้างความเชื่อม่ัน
วา่ โรงเรยี นแห่งน้ีมีความปลอดภยั จากโรค โดยนายอาเภอแม่อายได้นาผู้ที่มาช่วยเหลือโรงเรียนไปร่วมรับประทานอาหาร
กับนักเรียนอย่างใกล้ชิด จึงทาให้ความกลัวเร่ืองโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องหมดไป ระหว่างน้ัน ได้มีหน่วยงานระดับ
นานาชาติ เช่น องค์การทุนเพ่ือเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) สานักงานประเทศไทย และองค์กรการกุศล
หรือองค์กรทางสงั คม เช่น สโมสรไลออนส์ เขตต่าง ๆ และสโมสรซอนต้า รวมท้ังสโมสรโรตารี กรุงเทพฯ ได้เข้ามาร่วม
กับนายอาเภอแม่อายและผู้บริหารโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๐ ในการสนับสนุนทุนการศึกษาและอาหาร
ให้แก่เด็กนักเรียน จนทาให้โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๐ สามารถเปิดให้การศึกษาได้ตามแผนการศึกษา
ของกระทรวงศกึ ษาธิการตอ่ ไปไดด้ ว้ ยดี

เหตผุ ลในการจดั ต้งั โรงเรียน
๑. เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๙) เน่ืองในวโรกาสเสด็จเถลิงถวัลย์ราชสมบัติ
ครบ ๕๐ พรรษา
๒. เพอื่ เป็นการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ของประชาชนให้ไดร้ ับการพัฒนาความรู้ความสามารถทักษะวิชาชีพ
ท่ีเหมาะสม เชน่ การเกษตร การอตุ สาหกรรม และการพาณิชยกรรมและวิชาชพี ทอ้ งถนิ่
๓. เพือ่ ยกระดับคุณภาพชวี ติ ทดี่ ีของประชาชน ผ้ยู ากไรต้ ามแนวชายแดน ตลอดจนเพ่ือความม่ันคงของชาติ
๔. เพ่ือดาเนินการตามนโยบายของรัฐบาลในการขจัดปัญหาความยากไร้ทางเศรษฐกิจ สังคมและ
เสริมสร้างความม่นั คงของชาติ
๕. เพ่ือสนองนโยบายการขยายโอกาสทางการศกึ ษา ตามแผนพฒั นาการศึกษาแห่งชาติ
นักเรียนราชประชานุเคราะห์เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพในสังคมเช่นกัน นักเรียนรุ่นแรก ๆ
ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๐ เช่น นายกฤษณะ ยาวิชัย ซึ่งมาจากครอบครัวเด็กกาพร้าฐานะยากจน
ปัจจุบันจบการศึกษาแล้ว และมีอาชีพการงานที่มั่นคง ได้กล่าวความรู้สึกถึงการเป็นนั กเรียนของโรงเรียน
ราชประชานเุ คราะห์ ๓๐ วา่ “พวกเราไมใ่ ชน่ กั เรียนดอ้ ยโอกาส แตพ่ วกเรา คือ นกั เรยี นท่ีไดโ้ อกาสจากพ่อ ร.๙”
เป็นประโยคทีย่ ิง่ ใหญ่ และทกุ ครง้ั ท่ีใครถามว่านกั เรียนจบท่ีไหน จะตอบด้วยความภาคภูมิใจว่า “จบจากโรงเรียน-
ราชประชานเุ คราะห์ ๓๐ โรงเรียนของในหลวงครบั ” ดังน้ัน จึงเห็นได้ว่าการที่เยาวชนจากกลุ่มผู้เปราะบางทางสังคม
เหล่านี้มีชีวติ และความเป็นอยทู่ ่ดี ขี ึ้นนัน้ เป็นผลจากการได้รับโอกาสศึกษาเล่าเรียนจากโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๐
อันก่อกาเนดิ จากพระมหากรุณาธิคณุ อันหาที่สดุ มไิ ดข้ องพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช
มหาราช บรมนาถบพติ ร ท่ไี ดท้ รงหว่ งใยเด็กเยาวชนกลุ่มผู้เปราะบางทางสังคม ทรงมีพระเมตตาและสายพระเนตร
อันยาวไกลในการป้องกันปัญหาของเยาวชน และการสร้างโอกาสในชีวิตให้แก่เยาวชนเหล่าน้ี จากจุดเร่ิมต้นเล็กๆ
กวา่ สองทศวรรษจากนา้ พระทัยของพระองค์ที่ทรงดูแลทุกข์สุขของราษฎรมาโดยตลอดทาให้เยาวชนหลายพันชีวิต
สามารถมีชีวิตทม่ี ่นั คงและความเป็นอยทู่ ดี่ ขี น้ึ อย่างยั่งยืน

- ๗๑๘ -

๒.๒ ผวู้ า่ ราชการจงั หวัดยะลา
การใชม้ าตรการทางพลเรือนควบคกู่ บั มาตรการทางทหาร เพือ่ ยตุ ิความรนุ แรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้
ความขัดแย้งในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ มีความเป็นมายาวนาน และมีความสลับซับซ้อน ท้ังมิติ

การเมืองการปกครอง มิติทางศาสนาวัฒนธรรม และมิติทางประวัติศาสตร์ ขณะทกี่ ารแกป้ ญั หาของรัฐบาลแต่ละชุด
ที่ผ่านมา บางคร้ังก็ทาให้สถานการณ์ดีขึ้นบ้าง แต่บางคร้ังก็ดูคล้ายจะทวีความรุนแรงมากขึ้น แล้วแต่นโยบายและ
วิธีดาเนินการของรัฐบาลแต่ละยุคสมัย เช่น ในสมัยรัฐบาลปี ๒๕๒๔ ได้ใช้แนวทางการเมือง ควบคู่กับการทหาร
โดยด้านการเมือง ได้ตั้งศูนย์อานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต) ข้ึนมาแก้ไขปัญหาและเน้นในเรื่อง
ความยุติธรรม ส่วนด้านการทหารได้จัดต้ังกองบัญชาการผสมพลเรือนตารวจทหารที่ ๔๓ (พตท.๔๓) ข้ึนมา
เนน้ ปราบปรามการก่อการร้ายทกุ รปู แบบ

การใช้แนวทาง “การเมือง” คู่ “การทหาร” ด้วยการผนึกกาลังระหว่างพลเรือน ตารวจ ทหาร ทาให้
เหตกุ ารณใ์ นพน้ื ท่ีลดความรุนแรงลงมาก

ความขัดแย้งหรือความรุนแรงที่เกิดข้ึนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ มีหลายลักษณะตั้งแต่การต่อต้านขัดขืน
เงียบ ๆ ไปจนถึงก่อการไม่สงบขึ้นในพื้นที่ต่าง ๆ ด้วยการลอบทาร้ายเจ้าหน้าท่ี ประชาชนทั่วไปและเผาทาลายสถานท่ี
ราชการ สาเหตุ เงื่อนไขและเป้าหมายของกลุ่มก่อการ แม้จะยังคงเป็นบริบททางการเมืองเหมือนเดิม แต่วิธีการและ
รูปแบบของการก่อความไม่สงบ ได้กลายพันธ์ไปเป็นแบบผสม (Hybrid Insurgency/Hybrid War) การแก้ไขปัญหา
จึงต้องมีการวิเคราะห์ แยกแยะว่า ความขัดแย้งหรือความรุนแรงท่ีเกิดขึ้นเป็นเร่ืองความไม่เป็นธรรมหรือ
อาชญากรรมทั่วไป หรอื เรื่องขบวนการแบ่งแยกดนิ แดนจรงิ ๆ และไม่สามารถใช้ทฤษฎีทางการเมือง หรือหลักนิยม
ทางทหารอย่างใดอย่างหนง่ึ มาแก้ไขปญั หาเหมือนทเี่ คยใช้มาก่อนอีกต่อไป

เหตุผลทต่ี ้องใชก้ ารปฏิบัตกิ ารรว่ มระหว่างพลเรือน (Civic Action) กบั ทหาร (Military Action)
การน้อมนายุทธศาสตร์พระราชทาน “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” มาเป็นแนวทางในการแก้ไข “ปัญหา
ความขัดแย้งเก่า บนวิธีการต่อสู้ใหม่” หรืออาจเรียกว่า “สงครามในท่ามกลางประชาชน” น้ัน เราจึงควรเร่ิมทา
ความเข้าใจ (To Understand) กาหนดหนทางเข้าถึง (To Approach) ราก/แก่นของปัญหาและพัฒนา (To Develop)
การปฏิบัติจากเหล่ียมมุมในมิติใด ๆ ก่อน หรือพร้อมกันก็ได้ แต่สิ่งสาคัญที่สุด คือไม่ว่าจะเริ่มจากเหลี่ยมมุมใด
ตอ้ งทาให้เกิดความเชือ่ มโยงไปส่กู ารคลคี่ ลายทกุ เงอื่ นปมของปญั หา โดยใหป้ ระชาชนมสี ่วนรว่ ม ด้วยพลวัตของการเรียนรู้
และปรับเปลี่ยนกระบวนการคิดและการปฏิบัติให้มีความเหนือช้ันกว่ากลุ่มผู้ก่อความไม่สงบ และต้องมุ่งให้เกิดผล
สัมฤทธิ์ทางการเมือง คือ การเอาชนะทางความคิดและจิตใจ “Win Hearts and Minds” ของประชาชน
ตลอดเวลา ดงั น้นั จาเปน็ อย่างยงิ่ ทกี่ ารป้องกนั และปราบปรามการก่อความไม่สงบในยุคใหม่ จึงต้องเป็นปฏิบัติการ
ร่วมระหว่างองค์กร เพราะการก่อความไม่สงบ เป็นผลของสภาวะกดดันที่ไร้ทางออกจนกระทั่ง “เหลืออด”
คลา้ ยลกั ษณะการระเบิดของภูเขาไฟท่ี Magma ปฏิเสธการทนอยู่ในสภาพเดิมของตัวเอง และระเบิดออกมาเป็น Lava
ดงั นั้น การก่อความไมส่ งบจึงเป็นการปฏิเสธอานาจรฐั ทง้ั หมดหรือบางส่วน และไม่ยอมให้อานาจนั้นคงอยู่อย่างเดิม
อีกต่อไป และได้ระเบิดออกมาในรูปแบบของการต่อสู้ที่หลากหลาย ท้ังการบ่อนทาลาย การโฆษณาชวนเช่ือ
อาชญากรรม การก่อการร้าย สงครามกองโจร สงครามประชาชน สงครามกลางเมือง จนถึงสงครามตามแบบ

- ๗๑๙ -

และเกิด “ผลกระทบ” รอบด้านอย่างไม่จากัดขอบเขต โดยเป้าหมายท้ังหมดของการก่อความไม่สงบนั้น จะอยู่ที่
“การเมือง” นั่นเอง เพียงแต่ว่าเป้าหมายทาง “การเมือง” ดังกล่าว จะอยู่ในระดับใดเท่านั้น อาจจะเริ่มตั้งแต่
เรียกร้องความสนใจทางการเมือง ท้าทาย ปฏิเสธ หรือมุ่งล้มล้างอานาจรัฐในพื้นท่ี ดังนั้น คาว่า “การเมือง
นาการทหารหรอื นาทกุ อย่าง” จึงถือเป็นเร่อื งท่ถี ูกตอ้ ง เน่ืองจากการก่อความไม่สงบตอ้ งต่อสู้กนั ในทุกมิติ

เปรียบเสมือนการรักษาผู้ป่วยต้องใช้หลักคิด “ความเจ็บป่วย” นา “การแพทย์” คือ แพทย์จะทา
อย่างไร ต้องข้ึนอยู่กับเช้ือโรคและอาการเจ็บป่วยของคนไข้เป็นหลัก ไม่ใช่ไปทาตามใจคนไข้ เพราะวัตถุประสงค์ของ
การรักษาท่ีดี คือ คนไข้ต้องหายจากความเจ็บป่วย แม้ต้องขัดใจคนไข้บ้างก็ตาม ขณะท่ีวัตถุประสงค์ทางการเมือง
(Political Objective) ท่ีดี คือ บูรณภาพแห่งดินแดนและประโยชน์สุขของประชาชน ดังนั้น “ทหาร”
ซึ่งเปรียบเสมอื นแพทย์กต็ อ้ งยดึ ถอื เอา “วัตถุประสงคท์ างการเมือง” ทถ่ี กู ตอ้ งชอบธรรมเป็นหลกั เช่นกนั

เมื่อฝ่ายก่อความไม่สงบมุ่งผลลัพธ์ในมิติการเมือง แต่กลับไปต่อสู้อย่างไม่ชอบธรรมในมิติอ่ืน ๆ ดังนั้น
ฝ่ายพลเรือนและฝ่ายทหารต้องเป็นฝ่ายยืดหยุ่นในการแก้ไขและเปิดโอกาสแก่ผู้ก่อความไม่สงบด้วยแนวทาง
ท่ีเหมาะสม เพื่อใหส้ ามารถ “นาเรือ่ ง” ของตวั เอง กลับเข้าสู่กระบวนการแกไ้ ขทถี่ กู ต้องทางการเมือง ขณะเดียวกัน
ฝ่ายรัฐต้องยืนหยัดในการดารงความถูกต้อง/ชอบธรรมภายใต้หลักกฎหมาย หลักการ และค่านิยมประชาธิปไตย
เพื่อยุติการกระทาท่ีอามหิตและขัดขวางการกระทาใด ๆ ที่จะทาให้ชาติต้องสูญเสียบูรณภาพแห่งดินแดนน้ันให้ได้
ตรงกนั ข้าม หากฝ่ายรัฐไมท่ าการในสว่ นทีค่ วรยดื หยุ่น ก็เทา่ กับย่งิ เพิ่มสภาวะ “ไร้ทางออก” ให้ฝ่ายก่อความไม่สงบ
มากขึ้น และฝ่ายน้ันจะย่ิงเพ่ิม “แรงกระทาคล้ายแรงดันออกจากปล่องภูเขาไฟ” ในมิติอ่ืนหนักข้ึนและวันหน่ึง
ประชาชนท่ีหวาดกลวั หมดทพ่ี ึง่ สิน้ หวังและหลงผดิ อาจร่วมกันกดดนั รัฐบาลให้จาเป็นต้องยอมในสิ่งที่ควรยืนหยัด
ในท่ีสุด ร้ายยิ่งไปกว่าน้ัน หากยอมยืดหยุ่นในส่วนที่ควรยืนหยัดจะเป็นด้วยเสียรู้ เห็นผิด ยึดติดลัทธิยอมจานน
หรอื เพอื่ คะแนนเสียงหรือเพอื่ ประชานิยมกจ็ ะยง่ิ พา่ ยแพ้อย่างเฉียบพลนั

ความสาเรจ็ ในการปฏิบตั กิ ารรว่ มระหวา่ งองค์กร (Interagency Operations)
จังหวัดยะลาได้กาหนดกลไก (Mechanism) พันธกิจ (Mission) และกระบวนการ (Process) ในการ
ทางานรว่ มกันระหวา่ งพลเรอื นกบั ทหารอย่างใกล้ชิดทุกระดับ ตั้งแต่จังหวัดลงไปจนถึงหมู่บ้าน ส่วนหนึ่งกาหนดขึ้น
โดยหน่วยเหนือของแต่ละฝ่าย คือ ศูนย์อานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) และ กองอานวยการ
รักษาความมั่นคงภายใน ภาค ๔ ส่วนหน้า (กอ.รมน.ภาค ๔ ส่วนหน้า) อีกส่วนหน่ึงเกิดจากการประสานงานและ
ริเริ่มขึ้น โดยความเห็นชอบร่วมกันระหว่างผวู้ ่าราชการจังหวดั ยะลา (ผ้นู าฝ่ายพลเรอื น) และผูบ้ ังคบั หนว่ ยเฉพาะกิจ
ยะลา (ผู้นาฝ่ายทหาร) และหมายรวมถงึ ผ้บู งั คบั การตารวจภูธรจงั หวดั ยะลา และภาคส่วนอนื่ ๆ
ส่วนระดับอาเภอ จะเน้นการปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างหัวหน้าหน่วยงาน ๓ ฝ่าย ได้แก่ นายอาเภอ
ผู้บงั คับหน่วยเฉพาะกจิ ระดับอาเภอ (ผู้บงั คบั กองพนั ) และผูก้ ากับการสถานีตารวจในพื้นที่
การแก้ปญั หาความไมส่ งบในจงั หวดั ยะลา จึงถูกกาหนดใหด้ าเนนิ การภายใต้แผนปฏิบัติการร่วมระหว่าง
หน่วยเฉพาะกิจยะลา กองบังคับการตารวจภูธรจังหวัดยะลา และจังหวัดยะลา โดยมอบหมายให้ผู้บังคับหน่วย ๓ ฝ่าย
ทง้ั ในระดบั อาเภอและจังหวัด (ปกครอง ตารวจ ทหาร) ร่วมกันตรวจสอบ/คัดกรองบัญชีกลุ่มผู้ก่อเหตุรุนแรง/แนวร่วม
ในพื้นที่ให้เป็นปัจจุบันและมีข้อมูลตรงกันเพื่อนาไปกาหนดมาตรการในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความไม่สงบ

- ๗๒๐ -

ในพื้นท่ี ส่วนการเข้าดาเนินการกับกลุ่มผู้ก่อเหตุรุนแรง ให้นายอาเภอ ผู้บังคับหน่วยเฉพาะกิจยะลา และผู้กากับการ
สถานีตารวจภูธรอาเภอ จัดชุดเจรจาในพ้ืนที่ไปเจรจากับญาติหรือบุคคลท่ีเป็นกลุ่มเป้าหมายเพื่อชักจูงโน้มน้าว
ให้มอบตัวกบั ทางราชการ โดยทางราชการจะช่วยเหลือตามข้ันตอนของกฎหมายในการขอประกันตัวหรือการปล่อยตัว
ชวั่ คราวจากศาลหรือชั้นพนักงานสอบสวนพร้อมทั้งการชว่ ยเหลือบุคคลในครอบครวั เรื่องอาชีพและการศึกษา เป็นต้น

นอกจากน้ี จังหวัดยะลายังได้ตกลงร่วมกับผู้บังคับหน่วยเฉพาะกิจยะลา และผู้บังคับการตารวจภูธร
จังหวัดยะลาในการแก้ไขปัญหากลุ่มผู้ก่อเหตุรุนแรงท่ีไม่ยอมมอบตัวและยังคงมีความเคล่ือนไหวในการก่อเหตุ
รุนแรงให้จัดตั้งชุดปฏิบัติการร่วม เร่งรัด และติดตามบุคคลเป้าหมายในคดีความมั่นคง หรือผู้ต้องหาท่ีหลบหนี
หมายจับคดีอาญา หมายจับตาม พรก. ฉุกเฉิน (ชุดจรยุทธ์ร่วม พตท.) โดยมอบหมายให้นายอาเภอ ผู้บังคับหน่วย
เฉพาะกิจระดับอาเภอ ผู้กากับการสถานีตารวจภูธรอาเภอ คัดเลือกบุคคลจากฝ่ายพลเรือน ตารวจ และทหาร
ในพ้ืนท่ี เข้าทาหน้าท่ีในชุดปฏิบัติการร่วมดังกล่าวและให้คัดเลือกสมาชิกกองอาสารักษาดินแดนอาเภอ (อส.)
ซึ่งเป็นราษฎรในท้องท่ีที่ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรการปฏิบัติการพิเศษและได้รับการทดสอบความไว้วางใจแล้ว
เข้าร่วมงานด้วย ขณะท่ีระดับตาบลและหมู่บ้านได้เน้นการเพิ่มบทบาท (Empowerment) ของผู้นา ๔ เสาหลัก
(ผู้ใหญ่บ้าน อิหม่าม สมาชิก อบต. และผู้อาวุโสในหมู่บ้าน) และกาลังประชาชน ซึ่งได้แก่ ชุดรักษาความปลอดภัย
หมบู่ า้ น (ชรบ.) และมวลชนจัดต้ังตา่ ง ๆ ไดเ้ ข้ามามีส่วนรว่ ม (Participation) ในการแกไ้ ขปัญหาและพัฒนาหมู่บ้าน
ของตนเอง เชน่ การจัดทากฎกติกาหมูบ่ ้าน (ภาษามาลายถู ิ่นเรยี กว่า ฮูกมปากะ๊ ) เพ่อื ใช้ในการบริหารจัดการปัญหาต่าง ๆ
ในหมู่บ้านให้ประชาชนรู้สึกว่าตนเองเป็นเจ้าของหมู่บ้านหรือชุมชนอย่างแท้จริง (Ownership) โดยมีคณะทางาน
ตาบล จากส่วนราชการพลเรือน ตารวจ ทหาร (พตท.) ทาหน้าที่เป็นผู้สนับสนุนและอานวยความสะดวก
(Facilitator) ให้แก่ผู้นา ๔ เสาหลัก ทั้งนี้ ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา (พลเรือน) ได้ตกลงร่วมกับผู้บังคับหน่วยเฉพาะกิจ
ยะลา (ทหาร) และผู้บังคับการตารวจภูธรจังหวัดยะลา (ตารวจ) ว่าหมู่บ้านหรือชุมชนใดที่ผู้นา ๔ เสาหลัก
สามารถดูแลแก้ไขปัญหาของหมู่บ้านได้ตามหลักการข้างต้น ทางราชการจะเริ่มลดการปฏิบัติการทางยุทธการลง
โดยถอื วา่ หมบู่ ้านหรอื ชมุ ชนนัน้ มีความเขม้ แข็ง สามารถดแู ลจัดการแก้ไขปัญหาภายในหม่บู ้านและคุ้มครองตนเองได้

เมื่อไดพ้ ิจารณาถงึ สาเหตุ ปจั จัย ตลอดจนรูปแบบในการก่อความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ท่ีมีมา
อย่างต่อเนื่องและมีการปรับเปลี่ยนไปตามปัจจัยสิ่งแวดล้อมทั้งในประเทศและต่างประเทศดังที่กล่าวมาแล้ว
ขา้ งต้น ดงั นั้น ในการป้องกันและปราบปรามการก่อความไม่สงบยุคใหม่ (Modern Insurgency) การใช้กาลังทหาร
เข้าปราบปรามกองกาลังติดอาวุธ กระทาได้ยากมาก เพราะกองกาลังติดอาวุธ ก็คือ “ประชาชน” ที่ปะปนอยู่ใน
ท่ามกลาง “ประชาชน” นั่นเอง ส่วนการใช้กาลังทหารในงานพัฒนาและงานในมิติของสังคมอ่ืน ๆ ตามลาพัง
ก็ย่ิงเพ่ิมความยากลาบากมากข้ึนเพราะทหารไม่มีทักษะในงานเหล่าน้ันเหมือนกับพลเรือน จึงเปรียบเสมือนการ
“พยายามรับประทานซุปด้วยมีด” ซ่ึงนอกจากเป็นไปด้วยความยากลาบากแล้ว ยังอาจเกิดความเสียหายได้มาก
เช่น ซุปอาจจะเปรอะเปื้อนเสื้อผ้าผู้รับประทาน ดังนั้น จึงควรร่วมมือกับฝ่ายพลเรือน ซึ่งมีช้อนตักซุป (ทักษะของ
งานในบริบทสังคมและพัฒนา) อยใู่ นมอื กจ็ ะทาให้สามารถรับประทานไดท้ ง้ั สเตก็ และซุป ซ่ึงเป็นอาหารชุดเดียวกัน
อย่างไรก็ตาม หากนาการป้องกันและปราบปรามการก่อความไม่สงบยุคใหม่ไปเปรียบเทียบกับการต่อสู้คดีในศาล
เจ้าหน้าท่ีทหารและพลเรือน จะเป็นเพียง “ทนายฝ่ายจาเลย” เท่าน้ัน ในขณะที่รัฐคือ “จาเลย” และประชาชน

- ๗๒๑ -

คือ “ผู้พิพากษา” ดังนั้น เจ้าหน้าท่ีรัฐทั้งพลเรือนและทหารต้องทางานร่วมกันอย่างใกล้ชิดในบทบาทท่ีเหมาะสม
จงึ จะประสบความสาเรจ็ และประชาชนหรอื ผพู้ พิ ากษากจ็ ะพิพากษาได้ว่าฝ่ายใดผิดหรือฝ่ายใดถูกนั่นเอง

๓. เทคนคิ ทีใ่ ชใ้ นการบรหิ ารจดั การและแก้ไขปัญหาทป่ี ระสบความสาเร็จ

เทคนคิ หลากหลายที่ปรบั ใช้ตามสถานการณ์
สถานการณ์การเปลี่ยนผ่านท้ังการเมือง การปกครอง สังคม เศรษฐกิจ และส่ิงแวดล้อม เป็นปัจจัย

แวดล้อมที่มีผลต่อการปฏิบัติราชการของคนมหาดไทย ซึ่งมีผลกระทบหลายประการ สาหรับการเปลี่ยนผ่านน้ี
มีความแตกต่างกันไปในแต่ละจังหวัด และผลกระทบก็แตกต่างด้วยเช่นกัน แล้วประเทศไทยจะอยู่ตรงไหนและอยู่
อย่างไรในการเปลี่ยนแปลงนี้ เป็นคาถามสาคัญซ่ึงคนท่ีจะให้คาตอบได้ดีท่ีสุด คือ คนมหาดไทยท่ีทาหน้าที่บาบัดทุกข์
บารุงสุขอยู่ท่ัวประเทศ ดังน้นั คนมหาดไทยจึงมสี ว่ นทาให้ประเทศขับเคลื่อนไปได้ด้วย และพวกเราถือว่าเป็นส่วนหนึ่ง
ท่ีอยู่ในช่วงสาคัญของประวัติศาสตร์ประเทศไทย ซ่ึงในสถานการณ์เช่นนี้มีความสาคัญมากท่ีพวกเราจะได้ใช้
ประสบการณ์ท่ีสั่งสมมาหลายสิบปีในการดูแลประชาชน และเป็นช่วงเวลาสาคัญที่พวกเราจะได้ใช้ความรู้
ความสามารถ เพ่ือสรา้ งการเปล่ียนแปลงในพนื้ ที่ต่าง ๆ เพือ่ ใหป้ ระเทศไทยได้ประโยชนส์ ูงสุดในการเปล่ียนแปลงนี้

พอ่ เมอื งทาหน้าทบ่ี าบัดทุกข์ บารงุ สุข : นักบรหิ ารการเปลีย่ นแปลงเพื่อการพฒั นาจังหวัด

การสร้างความสมดลุ ของการพัฒนา ผู้วา่ ราชการจงั หวดั เปน็ หน่ึงในไม่กี่คนท่ีสามารถเห็นภาพรวมของ
ทง้ั จงั หวดั เห็นจุดแข็ง/จุดอ่อน/โอกาส และความเส่ียง เราข้าราชการมหาดไทย จึงเป็นผู้ที่จะเห็นได้ว่า การพัฒนา
ในจังหวัด มีความสมดุลมากน้อยเพียงใด เร่ืองท่ีขาดสมดุลย่อมสะท้อนออกมาผ่านเป็นปัญหาของจังหวัดและเรื่อง
ไหนท่ีจงั หวดั ยังขาดความ “มน่ั คง ม่งั ค่งั ย่ังยืน”

สิ่งสาคัญประการแรก : พัฒนาจังหวัดอย่างมียุทธศาสตร์ (be strategic) และจุดเน้นที่ชัดเจน
นักบริหารท่ีมีกลยุทธ์ จะรู้ว่าน้าหนักความสาคัญของเร่ืองต่าง ๆ อยู่ตรงไหน ผู้ว่าราชการจังหวัดต้องกาหนดให้
ชัดเจนว่า ในจังหวัดมีอะไรเป็นสิ่งท้าทายสาคัญ ๆ ในช่วง ๒ - ๓ ปีข้างหน้า (Key challenges) มีเรื่องสาคัญ ๆ
ท่ีต้องแก้ไขเป็นลาดับต้น ๆ (Priority) เพ่ือตอบโจทย์ความท้าทายเหล่านี้ ประกอบกับมองให้ทะลุ หาให้เจอว่า
เร่ืองไหนที่ทาแล้วจะช่วยสร้างการเปลี่ยนแปลงดี ๆ ไม่ใช่ทุกเรื่อง กระจัดกระจาย ต้องมีเรื่องสาคัญที่เน้นหนัก
ซ่ึงโดยรวมแล้วกุญแจสาคัญ คือ การจัดลาดับความสาคัญของปัญหาและอะไรคืองานที่ต้องทาก่อน/หลัง เราต้อง
ทราบก่อนว่า อะไรเป็นเรื่องสาคัญ ๆ ที่พวกเราจะให้น้าหนักในการพัฒนาในจังหวัด และอะไรเป็นวาระการพัฒนา
หลักของจังหวัดโดยมีเหตุผล/ข้อสนับสนุนอย่างชัดเจนว่าทาไมจึงเป็นเรื่องเหล่านี้ ในการพิจารณาประเด็นเหล่าน้ี
จงอยา่ ลืมนกึ ถึงโอกาสท่จี ะเกดิ ข้นึ ในอนาคตดว้ ย

ประการท่สี อง : การสรา้ งคุณค่าและความเข้มแข็งใหก้ บั ผลติ ภณั ฑ์ สนิ ค้าหรอื บริการท้องถิ่น ในการ
สร้างคุณค่าเพ่ิม (Value added) ให้กับสินค้าหรือบริการในจังหวัด ผลท่ีตามมา คือ การเพ่ิมรายได้ ขยายตลาด
สรา้ งความเขม้ แขง็ ใหก้ บั เศรษฐกจิ ชมุ ชน เป็นการมองหาอะไรท่เี ปน็ จุดแข็ง จุดขายของจังหวัด ซึ่งสิ่งเหล่าน้ีอาจมี
อยู่แล้วหรืออาจเป็นส่ิงที่เราอยากพัฒนาข้ึนมาใหม่ก็ได้ ควรเน้นว่าอะไร คือ คุณค่าเพิ่ม (Value added) ที่เราจะ
เพ่ิมเติมเข้าไปใน Product/Service champion อันเป็นส่ิงจาเป็นสนับสนุนต่อห่วงโซ่คุณค่าของสินค้าหรือบริการน้ัน

- ๗๒๒ -

ต่อเนื่องได้ ที่เป็นสินค้าท้องถิ่นท่ีตอบโจทย์ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ขายได้ท้ังคนไทยและคนต่างชาติ ส่ิงที่ต้องทา
คือ ต้องทราบว่าอะไรเป็นจะ Product/Service champion ของจังหวัด อะไรเป็น “คุณค่า” ท่ีควรเพ่ิมเข้าไป
แล้วพวกเรามีแนวทางอย่างไรในการสร้างคุณค่าเพิ่มเหล่าน้ี มีเหตุผลข้อมูลสนับสนุนอย่างชัดเจนว่าทาไมจึงเป็น
เรือ่ งเหล่าน้ี

ประการที่สาม : การให้หมู่บ้าน/ชุมชนเป็นฐานรากของการพัฒนาและการแก้ไขปัญหาร่วมกัน
รัฐบาลมีนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจระดับฐานรากลงไปที่หมู่บ้านที่ชุมชน ซึ่งเป็นระดับพื้นฐานที่สุดของระบบ
เศรษฐกิจและสังคมไทย โดยหมู่บ้าน/ชุมชน ต้องเป็นศูนย์กลางของการพัฒนาตนเอง ในทางเศรษฐกิจ หมู่บ้าน/
ชุมชน เป็นได้ทั้งฐานการผลิต การแปรรูป การจัดทาวัตถุดิบ และการท่องเที่ยว สาหรับทางสังคมเป็นหน่วยสังคม
ท่ีช่วยเสริมครอบครัว การดูแลชีวิต ความเป็นอยู่ การแลกเปลี่ยนแบ่งปัน ช่วยเหลือดูแลกันได้ ซ่ึงผู้ว่าราชการจังหวัด
เปน็ กลไกทีส่ าคญั ในการจุดประกาย และจดุ ประเด็นเพื่อให้เกิดการพัฒนาในระดับหมู่บ้านและชุมชนร่วมกับองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นรวมถึงร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ ร่วมคิดหาความจาเป็นท่ีสาคัญของการพัฒนาและวางแผน
การปรับปรุง และพฒั นาความเจรญิ มาส่ทู ้องถิน่

ประการที่สี่ : คิดถึงการเชื่อมโยงอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ระดับแรก : การเช่ือมภายในจังหวัด
เป็นการทางานต้องร่วมมือกับภาคส่วนอื่น ๆ ให้ได้ เพื่อสร้างให้เกิดการมีส่วนร่วมที่ไกลกว่าการร่วมรับฟัง
ความเห็นเปน็ ความรว่ มมือทงั้ การคิดและการลงมือทา ร่วมมือกับหอการค้าหรือสภาอุตสาหกรรมจังหวัดในการพัฒนา
สินค้าหรือบริการที่เป็น Champion ร่วมมือกับภาคสังคมในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ระดับท่ีสอง :
การเชื่อมโยงภายในประเทศ เป็นการเชื่อมโยงกับจังหวัดอ่ืน ๆ ท่ีต่างมีจุดแข็งท่ีจะเสริมกันได้ อาจหมายถึง
จังหวดั รอบขา้ งทีอ่ าจร่วมมือในเร่ืองของการผลิตสินคา้ และบริการ หรือการท่องเท่ียว ระดับท่ีสาม : การเช่ือมโยงกับ
ชายแดนเพื่อนบ้านหรอื ตา่ งประเทศต้องคิดถึงการเชื่อมโยงกบั ประเทศเพื่อนบ้านด้วย จังหวดั ในประเทศเพื่อนบ้าน
ท่ีมีบางอย่างท่ีเชื่อมโยงกัน สองฝ่ายจะได้ประโยชน์ร่วมกัน ขอให้เป็นการเช่ือมโยงที่มีรูปธรรมของการแลกเปลี่ยน
หรือความร่วมมอื ในเร่ืองทสี่ อดคลอ้ งกับจุดเนน้ ของจงั หวดั อย่าแคเ่ ซน็ MOU แล้วกไ็ มม่ ีอะไรตอ่ จากนัน้

ประการทหี่ ้า : ปรบั กลยทุ ธ์และโครงสร้างการบรหิ ารงานให้เหมาะสมกับภาวะการขาดแคลน ปัจจัย
ทางการบรหิ ารและสถานการณใ์ นพนื้ ท่ี

กลไกการทางานในพ้ืนที่ (ศูนย์ดารงธรรมจังหวัด/อาเภอ, ศูนย์ปฏิบัติการอาเภอ และชุดปฏิบัติการ
ตาบล) ต่างมีความสัมพันธ์ ร่วมบูรณาการและเชื่อมโยงกนั

ศูนย์ดารงธรรมจังหวัด/อาเภอบูรณาการราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น และภาคประชาชน
ในพนื้ ทีม่ าทางานร่วมกัน เพือ่ ทาหน้าท่ีแก้ไขปัญหาในกรอบอานาจหน้าท่ีโดยตรงแบบเบ็ดเสร็จ (one stop service)
รับเร่ืองร้องเรียนร้องทุกข์ และแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน การให้บริการข้อมูลข่าวสาร รวมท้ัง
ใหค้ าปรกึ ษาแกป่ ระชาชนในการติดตอ่ ส่วนราชการต่าง ๆ

ศูนย์ปฏิบัติการอาเภอ นายอาเภอทาหน้าที่บูรณาการร่วมกับส่วนราชการพลเรือน ตารวจ ทหาร และ
ภาคประชาชนในพื้นที่ เพอื่ ทาหนา้ ที่แก้ไขปัญหาความสงบเรียบร้อยในพืน้ ที่และปัญหาความมัน่ คงภายในต่าง ๆ

- ๗๒๓ -

ชดุ ปฏบิ ตั กิ ารตาบล การบูรณาการราชการสว่ นกลาง ส่วนภมู ิภาค ส่วนทอ้ งถนิ่ ผนู้ าทอ้ งท่ี และภาคประชาชน
ในตาบลมาทางานร่วมกันทาหน้าที่ตรวจสอบข้อเท็จจริง ปัญหาความต้องการหรือข้อเรียกร้องของประชาชน
ในตาบล หมบู่ า้ น เพือ่ ดาเนินการไกล่เกลย่ี แก้ไขปญั หาหรือให้ความชว่ ยเหลือให้ไดข้ ้อยุติ

ผวู้ า่ ราชการจงั หวัด ท่ีเปน็ มากกว่า “นกั ปกครอง”
พอ่ เมอื ง เป็นนกั บรหิ ารการเปลี่ยนแปลงทมี่ ุง่ ผลสมั ฤทธิ์ “การพฒั นาจงั หวัด” อยา่ งสมดลุ โดยการพัฒนา
จงั หวัดอย่างมียุทธศาสตร์ และจุดเน้นท่ีชัดเจน การสร้างคุณค่าและความเข้มแข็งให้กับสินค้าหรือบริการในจังหวัด
การให้ชุมชนเป็นฐานรากของการพฒั นา ให้ความสาคัญคิดถึงการเช่ือมโยงอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องดังจะเห็นได้
จากการพัฒนาจังหวัดสงขลาให้เป็นประตูสู่การค้า Asean Economic Community (AEC) ได้แก่ โครงการ
ขยายเพ่ิมช่องทางรถบรรทุกขนสินค้าและอานวยความสะดวกแก่นักท่องเที่ยว การเร่งรัดแก้ไขปัญหาที่ดิน
โครงการปรับปรงุ ด่านพรมแดนสะเดา การแก้ไขปญั หาท่ีดินโครงการก่อสร้างด่านศุลกากรสะเดาแห่งใหม่ โครงการ
ก่อสร้างสถานีรถไฟปาดังเบซาร์ (สถานี ๒) ฝั่งประเทศไทย การพัฒนาระบบขนส่งในจังหวัดสงขลา
เพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตผลจังหวัด ได้แก่ โครงการศึกษาความเหมาะสมทางด้านเศรษฐกิจ วิศวกรรม และผลกระทบ
สง่ิ แวดล้อม และแผนการลงทนุ ทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองแนวใหม่ สายอาเภอหาดใหญ่ - ชายแดนไทย - มาเลเซีย
โครงการขยายท่าเทียบเรือน้าลึกสงขลา - สิงหนคร (พัฒนาคมนาคมขนส่งทางน้า) ข้อเสนอระบบรถไฟรางคู่
(พัฒนาคมนาคมขนส่งทางราง) เพิ่มศักยภาพจังหวัดสงขลาเป็นเมืองหลวงของ AEC คือ การพัฒนาคมนาคม
ขนส่งทางอากาศ การเพิ่มเส้นทางเดินอากาศในประเทศและต่างประเทศรวมถึงการแก้ไขปัญหาน้าท่วมซ้าซาก
โครงการแก้ไขปัญหาอทุ กภัยหาดใหญต่ ามพระราชดาริ
นอกจากนี้ระหว่างดารงตาแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลาได้ลงไปเจรจาต่อรองกับเครือข่าย
เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งภาคใต้ และนาตัวแทนเครือข่ายเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งไปเจรจากับรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง
พาณิชย์ท่ีกรุงเทพมหานคร จนได้ข้อยุติและผู้ชุมนุมยอมสลายการชุมนุม ซึ่งในภาวะวิกฤต คนมหาดไทยต้องแสดง
ความจริงจงั ในการเผชิญปัญหาและลงพ้ืนทบ่ี ญั ชาการเหตุการณด์ ว้ ยตวั เอง

๔. ขอ้ คดิ สาหรับการปฏิบัตริ าชการของคนมหาดไทยในยุคปจั จบุ นั ใหบ้ รรลุผลสัมฤทธิ์
เน่ืองจากคนของกระทรวงมหาดไทยต้องทาหน้าท่ีทั้งในฐานะข้าราชการสังกัดกระทรวงมหาดไทยและ

ในฐานะผู้แทนของรัฐบาลที่มีหน้าที่นานโยบายของรัฐบาล กระทรวง และหน่วยงานต่าง ๆ ในส่วนกลางไปปฏิบัติ
ในพ้ืนท่ีร่วมกับข้าราชการจากกระทรวงต่าง ๆ ในพ้ืนที่จังหวัด และอาเภอ ตามที่พระราชบัญญัติระเบียบบริหาร
ราชการแผ่นดินกาหนดไว้ ดังน้ัน คนมหาดไทยจะทาหน้าท่ีทั้งสองประการให้ประสบความสาเร็จได้น้ัน จึงต้องมี
ประสบการณ์ในการทางานทั้งในพื้นที่ชนบท ส่วนภูมิภาค และส่วนกลาง ไม่ใช่เพียงมีประสบการณ์ทางานในพื้นท่ีใด
เพยี งพ้ืนท่เี ดียวเทา่ นั้น เพอื่ จะได้พฒั นาตนเองให้สามารถทาหน้าที่บาบัดทุกข์ บารุงสุข ให้แก่ประชาชนได้อย่างแท้จริง
สามารถมองเห็นทัง้ ภาพรวมของปญั หา และรายละเอียดในวธิ กี ารแก้ไขปัญหาให้กับประชาชน รวมท้ังสามารถ
นานโยบาย ระเบียบกฎหมาย และประสบการณ์ของการทางานจริงมาเชื่อมโยงในการแก้ไขปัญหาให้กับพ่ีน้อง
ประชาชนได้ คนมหาดไทยจงึ เป็นคนที่มีความสาคัญอย่างยิ่งต่อความสาเร็จของการพัฒนาประเทศ เปรียบเสมือน
"ลมใต้ปีก" ของการพัฒนาประเทศ ให้ประสบความสาเร็จ มีความม่ันคง ม่ังคั่ง ย่ังยืนได้ จึงขอให้คนมหาดไทย

- ๗๒๔ -

ทุกคนมีจิตสานึกในความรับผิดชอบต่อหน้าที่ รู้จักการเสียสละความสุขส่วนตัว มุ่งมั่นทางานให้กับประชาชน
ดว้ ยความซอ่ื สัตย์ สุจรติ ไมแ่ สวงหาผลประโยชนส์ ่วนตนที่ผิดกฎหมาย

คนมหาดไทย...ลมใต้ปีก...ของการพัฒนาประเทศ
ไม่บ่อยคร้ังที่ชีวิตคนเราจะมีโอกาสสร้างคุณประโยชน์ให้กับประเทศชาติและประชาชน ดังนั้น ผมจึง
ขอใหพ้ วกเราได้ต้ังใจและท่มุ เทกาลงั ความสามารถ เพอ่ื ตอบแทนคณุ แผ่นดินเกดิ ของพวกเรา
ถ้าพวกเราทาสาเร็จในครั้งนี้ เราจะเป็นบุคคลสาคัญของประเทศในยุคสาคัญที่สุดยุคหนึ่ง
ในประวัติศาสตร์ชาติไทย แม้ว่าจะมีปัญหาอุปสรรคหลายอย่างในปัจจุบัน แต่ผมเช่ือมั่นในพลังของคนไทย
และเชื่อมั่นในพลังของพวกเราชาวมหาดไทยทุกคน
ผมขอเป็นกาลังใจให้แก่พวกเราทุกคน ให้สามารถทางานผ่านพ้นอุปสรรคต่าง ๆ ไปได้ โดยพวกเรา
จะต้องไม่ทุจริต คิดไม่ชอบ หรืออาศัยอานาจหน้าท่ีไปแสวงหาผลประโยชน์ท่ีไม่ชอบด้วยกฎหมายมาเป็น
ประโยชน์สว่ นตน
เมื่อตอนเด็ก ๆ ผมเคยสงสัยว่าทาไมเครื่องบินท่ีเป็นเหล็กท้ังลาถึงบินขึ้นสูงได้ จนโตขึ้นถึงเข้าใจเรื่อง
หลักพลศาสตร์ ปัจจัยสาคัญประการหนึ่ง คือ แรงลมใต้ปีกท่ีพยุงให้เครื่องบินลอยขึ้นฟ้าได้ ลมใต้ปีก คือ แรงหนุน
เสรมิ ใหเ้ คร่อื งบินทะยานสู่จดุ หมายได้ ผมยินดีและยืนยันว่าจะเป็น “ลมใต้ปีก” ท่ีช่วยสนับสนุนให้พวกเราทุกคน
ได้ก้าวไปสู่ความสาเร็จร่วมกัน เพราะความสาเร็จในการพัฒนาประเทศ จะไม่ใช่ความสาเร็จของใครผู้ใด ผู้หนึ่ง
แต่เพียงผู้เดียวแต่เป็นความสาเร็จของประชาชนชาวไทยทุกคนใต้ร่มพระบรมโพธิสมภารพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยหู่ วั

********************

นายฉัตรชัย พรหมเลิศ
ปลดั กระทรวงมหาดไทย

ระหวา่ งวนั ที่ ๑ ตลุ าคม ๒๕๖๑ - ๓๐ กันยายน ๒๕๖๔

- ๗๒๖ -

๑. ข้อมูลประวตั ิ

วนั เดือน ปีเกดิ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๐๔

ประวตั ิการศึกษา
- รัฐศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย
- รฐั ประศาสนศาตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย

การอบรมหลักสูตร
- หลักสตู รนายอาเภอ รุน่ ที่ ๓๘ พ.ศ. ๒๕๓๘
- หลกั สตู รนักปกครองระดบั สูง (นปส.) รนุ่ ท่ี ๔๑ พ.ศ. ๒๕๔๓
- หลกั สูตรนกั บรหิ ารระดับสูง (นบส.) สานกั งาน ก.พ. รุ่นที่ ๔๒ พ.ศ. ๒๕๔๖
- หลักสตู รการบรหิ ารเศรษฐกิจสาธารณะ สาหรับนกั บรหิ ารระดับสงู รุ่นท่ี ๓ สถาบนั พระปกเกลา้ พ.ศ. ๒๕๔๖
- หลกั สูตรการป้องกนั ราชอาณาจักร (วปอ.) วทิ ยาลัยปอ้ งกันราชอาณาจกั ร รุ่นปี พ.ศ. ๒๕๔๙
- หลักสูตรนักบรหิ ารยุทธศาสตรก์ ารป้องกันและปราบปรามการทุจรติ ระดับสงู (นยปส.) รุ่นท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๕๓
- หลักสตู รการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสาหรับนกั บรหิ ารระดบั สงู (ปปร.) รนุ่ ที่ ๑๖
สถาบนั พระปกเกลา้ พ.ศ. ๒๕๕๖
- หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านการบริหารพัฒนาเมือง (มหานคร รุ่นที่ ๒) กรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๖
- หลกั สูตรผบู้ รหิ ารระดับสูงอาเซียน สานกั งาน ก.พ. รนุ่ ที่ ๒ ปี ๒๕๕๖
- หลกั สตู รผ้บู ริหารระดบั สูง สถาบันวทิ ยาการตลาดทนุ (วตท.) รุ่นที่ ๑๗ พ.ศ. ๒๕๕๗
- หลกั สตู รผูบ้ ริหารกระบวนการพัฒนายุติธรรมระดับสงู (บ.ย.ส.) รนุ่ ที่ ๑๙ พ.ศ. ๒๕๕๗
- หลักสูตรการพฒั นาการเมืองและการเลือกตงั้ ระดับสงู (พตส. ๗) รุ่นท่ี ๗ พ.ศ. ๒๕๕๙
- หลักสูตรหลักนิตธิ รรมเพื่อประชาธิปไตย (นธป.) รุน่ ที่ ๕ สานกั งานศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๖๐

ตาแหน่งหนา้ ทีป่ จั จุบนั
๑ ตุลาคม ๒๕๖๐ ปลัดกระทรวงมหาดไทย

ตาแหนง่ หนา้ ทส่ี าคญั ในอดตี
๑๕ กรกฎาคม ๒๕๓๙ ปลดั อาเภอผู้เปน็ หวั หน้าประจากง่ิ อาเภอแม่เปนิ จังหวดั นครสวรรค์
๙ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๓ เร่งรัดพัฒนาชนบทจงั หวดั สงิ หบ์ รุ ี
๓ ตลุ าคม ๒๕๔๔ เร่งรดั พฒั นาชนบทจังหวัดนครสวรรค์
๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๖ ผู้อานวยการกองการเจ้าหนา้ ท่ี กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั
๒ เมษายน ๒๕๔๗ ผู้อานวยการสานกั ชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภยั กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั
๑ ธนั วาคม ๒๕๔๘ รองอธิบดีกรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั
๑ ตุลาคม ๒๕๕๒ ผู้วา่ ราชการจังหวัดลพบรุ ี
๑ ตลุ าคม ๒๕๕๕ อธิบดีกรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย

- ๗๒๗ -

เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ์ช้ันสงู สุดที่ได้รับ
๕ ธนั วาคม ๒๕๕๗ มหาปรมาภรณช์ า้ งเผอื ก
๕ ธนั วาคม ๒๕๕๒ มหาวชิรมงกุฎ

ผลงาน/กิจกรรม/การปฏบิ ตั ิท่ีโดดเดน่ หรอื ได้รับการยกย่องเปน็ ทีป่ ระจกั ษ์
- รองประธานกรรมการบริหารมูลนธิ ิราชประชานเุ คราะห์ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๖๐)
- กรรมการบรหิ ารมลู นิธิราชประชานุเคราะห์ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ปจั จบุ ัน)
- คณะกรรมการมูลนธิ ิอาสาเพื่อนพ่งึ (ภาฯ) ยามยาก สภากาชาดไทย (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ปจั จบุ นั )
- คณะกรรมการการไฟฟา้ ส่วนภูมภิ าค (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๗)
- ประธานกรรมการกจิ การสัมพันธ์ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๕๗)
- ประธานกรรมการการประปาสว่ นภูมิภาค (พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๓)
- คณะกรรมการบรหิ ารกิจการขององค์การสวนยาง (พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๕๗)
- คณะกรรมการการประปาส่วนภูมภิ าค (พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๓)
- นายกสมาคมนสิ ติ เกา่ รัฐศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ประจาปี พ.ศ. ๒๕๕๘ – ปัจจบุ ัน
- กรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ิของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเทพสตรี (พ.ศ. ๒๕๕๔ – ๒๕๕๘)
- กรรมการในคณะกรรมการสลากกนิ แบ่งรัฐบาล (พ.ศ. ๒๕๕๘ – ปจั จบุ นั )
- ประธานกรรมการคณะกรรมการกากับดูแลกิจการท่ีดีและความรับผิดชอบต่อสังคม ในคณะกรรมการ
สลากกนิ แบง่ รฐั บาล (พ.ศ. ๒๕๕๘ – ปัจจบุ นั )
- ประธานคณะกรรมการการไฟฟา้ นครหลวง (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ปัจจบุ นั )
- ประธานคณะกรรมการการไฟฟ้าภูมภิ าค (พ.ศ. ๒๕๖๓ – ปัจจุบัน)

รางวลั ที่ไดร้ ับการยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รติ
- โลเ่ กยี รตยิ ศ พร้อมประกาศเกยี รตคิ ณุ “๑๐ เมืองต้นแบบเศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์” (Creative City)
โครงการ ลพบรุ ี “เมอื งแห่งนวัตกรรมแหง่ พลงั งานทดแทน (Lopburi : Creative City For Sustainable Energy)
จากกรมทรัพย์สินทางปัญญา
- รางวัลพระราชทานอาสาสมัครดีเดน่ จากมลู นธิ ิอาสาเพอ่ื นพ่งึ พา (ภาฯ) ยามยาก สภากาชาดไทย
- รางวัลพระราชทานเทพทอง จากสมาคมวิทยแุ ละโทรทัศน์แหง่ ประเทศไทย
- รางวลั ดาวจรสั ฟา้ ราตรแี ห่งเกียรตยิ ศ จากสมาคมแหง่ สถาบันพระปกเกล้า
- รางวลั นสิ ติ เกา่ รัฐศาสตร์ จฬุ าฯ ดีเดน่ ประจาปี ๒๕๕๕ สาขาขา้ ราชการประจา
- รางวลั “พระกนิ รี” บคุ คลแบบอย่าง “คนดี คิดดี สังคมดี ตามรอยพระยุคลบาท” ประจาปี ๒๕๕๖
จากสมัชชานักจดั รายการข่าววิทยุโทรทัศน์หนังสือพมิ พแ์ หง่ ประเทศไทย
- รางวัล “ระฆังทอง” (บุคคลแห่งปี) คร้ังท่ี ๗ ประจาปี ๒๕๕๗ จากสมัชชานักจัดรายการข่าววิทยุ
หนังสือพมิ พ์โทรทศั น์แหง่ ประเทศไทย
- รางวลั “บคุ คลคณุ ธรรมแหง่ ปี” ประจาปี ๒๕๕๗ จากมูลนธิ ิธรรมลักษณ์ศิลา

- ๗๒๘ -

หลกั คดิ นักบริหาร
- มิตรภาพ เรยี บง่าย ได้สาระ
- สรา้ งเครอื ขา่ ย กระจายความรบั ผิดชอบ
- สร้างความเช่ือมนั่ จากผู้บงั คบั บญั ชา
- สรา้ งศรัทธาจากประชาชนและเพือ่ นข้าราชการ
- บรหิ ารสถานการณ์ บริหารความคาดหวงั
- ถูกกฎหมาย ไมย่ ึดตดิ รูปแบบ
- รกั ษาองคก์ ร สะท้อนความเปน็ คนมหาดไทย
- Self Disruption

๒. กา้ วเข้าส่อู าชพี ราชการ
คนมหาดไทยเกือบทุกคน.ส่วนใหญ่เร่ิมต้นด้วยการสอบเข้าไปเรียนในทางสังคมศาสตร์ เช่น คณะรัฐศาสตร์

คณะนิติศาสตร์ จะมีไม่มากนักท่ีจบการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ หรือสาขาอ่ืน ๆ ผมเองก็มีความมุ่งมั่นเช่นเดียวกับ
ชาวสิงห์มหาดไทยทุกคน ผมสอบเขา้ มหาวิทยาลยั ได้เข้าเรยี นท่คี ณะรฐั ศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ในปี พ.ศ. ๒๕๒๒
จนสาเร็จการศึกษาในปี พ.ศ. ๒๕๒๕

ก้าวแรก ทก่ี รมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย
เมื่อจบปรญิ ญาตรรี ฐั ศาสตร์ จากจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั แล้ว กร็ อสอบเข้าเป็นปลัดอาเภอ และสอบบรรจุได้
ในปี พ.ศ. ๒๕๒๗ ใช้เวลาเรียนรู้การเป็นนักปกครอง ในช่วงแรกนี้ ๑๓ ปี เริ่มตั้งแต่การเป็นปลัดอาเภอ ที่กิ่งอาเภอ
ดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร เม่ือปี พ.ศ. ๒๕๒๗ ตั้งใจฝึกฝนเรียนรู้ลักษณะงานการเป็นผู้ปฏิบัติ ได้มีโอกาสรับราชการ
ในสังกัดสานกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย ในตาแหนง่ เจา้ หน้าที่วเิ คราะหน์ โยบายและแผน สานักงานจังหวัด ซ่ึงได้
เรียนรู้การจดั ทาแผนพัฒนาจังหวัด และได้ผ่านตาแหน่งต่าง ๆ ในทุก ๆ มิติ ท้ังในพ้ืนที่ในส่วนภูมิภาคและราชการ
ในส่วนกลาง จนกระทั่งจบโรงเรียนนายอาเภอแล้วได้ไปปฏิบัติหน้าท่ีในตาแหน่งผู้ตรวจการส่วนท้องถิ่น และปลัดอาเภอ
ผเู้ ปน็ หวั หนา้ ประจาก่งิ อาเภอที่กิง่ อาเภอแมเ่ ปิน จังหวัดนครสวรรค์ ในปี พ.ศ. ๒๕๓๙
ก้าวทสี่ อง ในสานกั งานเร่งรดั พฒั นาชนบท (รพช.)
จากชีวิตนักปกครอง ก้าวเดินสู่ชีวิตของนักพัฒนาชนบทในสานักงานเร่งรัดพัฒนาชนบท (รพช.)
เป็นอีกช่วงเวลาหนึ่งท่ีทาให้ผมได้เรียนรู้มุมมองของการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะในชนบท และสามารถนามา
ประกอบแนวคิดวิเคราะห์การบริหารงานท่ีสร้างดุลยภาพของการปกครองควบคู่ไปกับมิติของการพัฒนาได้เป็น
อยา่ งดี เมื่อก้าวสู่ตาแหนง่ ที่สูงขึ้นในวันข้างหน้า ด้วยการส่ังสมประสบการณ์ ผ่านตาแหน่งสาคัญท่ีสานักงานเร่งรัด
พัฒนาชนบท (รพช.) ในตาแหน่ง รพช.จังหวัดสิงหบ์ รุ ี และ รพช.จงั หวัดนครสวรรค์
ก้าวที่สาม ในกรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย
จากชวี ติ นกั พัฒนา เดินหน้าสชู่ ีวติ ของนกั บรหิ ารสถานการณฉ์ ุกเฉนิ ในกรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย
(ปภ.) ซ่ึงต้ังข้ึนใหม่ในปี พ.ศ. ๒๕๔๕ ตามนโยบายรัฐบาลขณะนั้น ด้วยการเป็นส่วนหนึ่งที่สาคัญในยุคก่อตั้ง

- ๗๒๙ -

ปภ. ที่เร่ิมต้นจากความไม่พร้อมสาหรับปัจจัยการบริหาร ทั้งด้านของ คน เงิน และงาน... แต่ก็เป็นช่วงเวลาหนึ่ง
ของชีวิตท่ีทาให้ผมได้เรียนรู้การทางานในสภาวะที่ขาดแคลน รวมไปถึงงานในภารกิจของ ปภ. ที่ส่วนใหญ่จะเป็น
การบริหารจัดการในสถานการณ์ฉกุ เฉนิ ใหล้ ุล่วงผ่านพน้ ไปได้ดว้ ยดี ผา่ นตาแหน่งสาคญั ๆ ทั้งตาแหน่งผู้อานวยการ
กองการเจ้าหน้าท่ี ผู้อานวยการสานักช่วยเหลือผู้ประสบภัย และรองอธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
จนถึงปี พ.ศ. ๒๕๕๒ นับได้ว่าเป็นช่วงเวลาท่ีมีประโยชน์อย่างมากในการมีส่วนร่วมวางรากฐานการจัดการภัยพิบัติ
ของชาติ พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ และแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แหง่ ชาติ

ก้าวท่สี ี่ ชวี ติ การเป็นพอ่ เมอื ง
ผวู้ า่ ราชการจงั หวัด เป็นตาแหน่งท่นี ักปกครองทกุ คนใฝฝ่ นั วา่ จะตอ้ งก้าวไปให้ถึงให้ได้ ผมได้มีโอกาสก้าวไปถึง
ชีวิตการเป็นพ่อเมืองในตาแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดลพบุรี เม่ือปี พ.ศ. ๒๕๕๒ และได้อยู่ทาหน้าที่น้ีถึง ๓ ปี
การเปน็ พอ่ เมอื งลพบรุ ี เป็นชว่ งเวลาทผี่ มต้องบริหารคน เงิน และงาน จากทุกกระทรวง บริหารปัญหาและความต้องการ
ของพื้นที่ให้ลงตัว เกิดประโยชน์แก่ประชาชน และทาให้คนลพบุรีทุกภาคส่วนมีความสุขให้ได้ ซ่ึงผลงานท่ีออกมา
ก็เป็นไปตามที่ตั้งเป้าหมายไว้ โดยในช่วงของการเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดลพบุรีนี้ มีสถานการณ์น้าท่วม
ภาคกลางคร้ังใหญ่ที่สุด เม่ือปี พ.ศ. ๒๕๕๓ และ พ.ศ. ๒๕๕๔ ซ่ึงลพบุรีก็เป็นพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงมาก
ผมไดท้ าหน้าท่ีผู้ว่าราชการจังหวัดลพบุรีโดยใช้ท้ังประสบการณ์ความเป็นฝ่ายปกครอง ประสบการณ์การพัฒนา
ชนบท และท่ีสาคัญคือ ประสบการณ์ในการบริหารสถานการณ์ฉุกเฉินมาปรับใช้ร่วมกับทุกองคาพยพในพ้ืนท่ีจังหวัด
ลพบุรี.เพื่อแก้ไขสถานการณ์น้าท่วมครั้งใหญ่ให้คนลพบุรีเดือดร้อนน้อยที่สุด เกิดความสูญเสียน้อยที่สุด
และคล่ีคลายกลบั สูส่ ภาวะปกตไิ ดเ้ รว็ ท่สี ดุ จนสถานการณ์ผ่านพ้นไปได้ด้วยดี หลักคิดที่นามาใช้ในช่วงของการเป็น
ผู้ว่าราชการจังหวัดลพบุรีท่ีช่วยให้ผมสามารถรวบรวมสรรพกาลังจากทุกภาคส่วน ทั้งฝ่ายราชการภูมิภาค
ฝ่ายการเมืองในพ้ืนท่ี ฝ่ายท้องที่ และฝ่ายท้องถิ่น ฝ่ายกาลังคือทหารและตารวจ และท่ีสาคัญคือฝ่ายเอกชน
และประชาชน ผมจะเข้าหาทุกคนทุกฝ่าย ด้วยหลักคิดของการเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดที่เปี่ยมไปด้วย
“มิตรภาพ เรียบง่าย ได้สาระ” ทุกคน คือ มิตร ทุกคนคือเพื่อน ทุกคนสามารถเข้าถึงเราได้ด้วยความเรียบง่ายของเรา
และทุกการเข้าถึง ทุกการปรึกษาหารือจะต้องได้สาระเสมอว่าใครมีความสามารถอะไร ใครมีศักยภาพด้านไหน ใครหรือ
พื้นที่ไหนต้องการอะไร ปัญหาของพ้ืนท่ีคืออะไร และจาเป็นต้องแก้ไขด้วยวิธีการใด ทาให้การทางานสาเร็จลุล่วงไปได้
ทั้งตามนโยบายข้อส่งั การของรฐั บาลและกระทรวงมหาดไทย และเกิดความพึงพอใจจากทุกฝ่ายในพืน้ ที่จังหวดั ลพบรุ ี
กา้ วทห่ี า้ กลบั สกู่ รมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั
จากผลงานการบริหารสถานการณ์น้าท่วม ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ – พ.ศ. ๒๕๕๔ ในช่วงเวลาของการเป็น
ผู้วา่ ราชการจังหวดั ลพบรุ ี ทส่ี ามารถบรหิ ารจัดการสถานการณใ์ หค้ ลี่คลายไดอ้ ย่างรวดเร็ว เป็นผลงานที่ถูกพูดถึงกัน
มากว่าทาให้ผมได้รับเลือกให้มาทาหน้าที่บริหารภารกิจแก้ไขสถานการณ์ภัยพิบัติฉุกเฉินในภาพรวมของประเทศ
ในตาแหน่งอธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ การกลับมา ปภ. ในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ นี้
ต้องไม่เหมือนเม่ือคร้งั ตง้ั ปภ. ในปี พ.ศ. ๒๕๔๕ เวลาผ่านไป ๑๐ ปี ปภ. จะต้องก้าวเดินไปให้เร็วกว่าเดิม ต้องเป็น
ก้าวเดินที่มีพลัง มีศักยภาพมากขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ เพื่อจะได้ช่วยเหลือสนับสนุนทุกหน่วยงานให้มีความพร้อม

- ๗๓๐ -

ท่ีจะรองรับสถานการณ์ภัยพิบัติท่ีสามารถเกิดข้ึนได้ตลอดปี ผมได้ระดมสมองจากทุกภาคส่วน เพื่อให้ได้ข้อเสนอ
และแนวทางที่จะปรับปรุงหน่วยงานกลางด้านการจัดการภัยพิบัติของประเทศนี้ให้พร้อมท่ีจะทางานให้รัฐบาล
และกระทรวงมหาดไทย หลักคิดที่ผมนามาใช้ในขณะเป็นอธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยที่สาคัญ
คือ.“การสร้างเครือข่าย กระจายความรับผิดชอบ” เพราะการบริหารจัดการสถานการณ์ภัยพิบัติน้ัน เป็นที่ยอมรับกัน
ในระดับสากลว่าไม่มีหน่วยงานใดท่ีจะรับผิดชอบภารกิจน้ีได้อย่างเบ็ดเสร็จเด็ดขาดได้เพียงหน่วยงานเดียว
ด้วยลักษณะของภัยพิบัติที่หลากหลาย ท้ังภัยธรรมชาติ ภัยจากมนุษย์ ภัยจากเทคโนโลยี และที่รุนแรงมากข้ึนเรื่อย ๆ
คือภยั จากการเปล่ียนแปลงสภาวะอากาศของโลก

การเปลี่ยนแปลงท่ีเห็นได้ชัดใน ปภ..ทั้งในเรื่องการจัดหาอัตรากาลังและจัดวางกาลังคน การปรับปรุง
ประสิทธิภาพความพร้อมของ ปภ. ซ่ึงเป็นหน่วยงานกลางการสร้างความเข้มแข็งและความพร้อมให้หน่วยงาน
เครือข่าย ด้วยการแก้ไขระเบียบหลักเกณฑ์ให้หน่วยปฏิบัติทุกระดับ สามารถมีงบประมาณที่ใช้ได้จริงยามเกิด
สถานการณ์ฉุกเฉิน การกระจายความรับผิดชอบท่ีเหมาะสมและเกิดประสิทธิภาพในภาพรวมของประเทศ
ด้วยการสร้างความชัดเจนในการปฏิบัติภารกิจการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยระหว่างหน่วยงานกลาง คือ ปภ.
หน่วยสนับสนุน เช่น ทหาร ตารวจ หน่วยงานวิชาการ เช่น สาธารณสุข มหาวิทยาลัย องค์กรระหว่างประเทศ
และหน่วยปฏิบัติในพื้นท่ี เช่น จังหวัด อาเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินทุกระดับ อาสาสมัคร หน่วยกู้ภัยต่าง ๆ
การเปลีย่ นแปลงท่ีชัดเจนเป็นรูปธรรมจับต้องได้ และน่าจะถูกใจ ตรงใจผู้ปฏิบัติงานท่ัวประเทศ ก็คือการจัดหาเคร่ืองมือ
เครื่องใช้ในการกู้ภัยที่ใช้งานได้จริงและทันกับสถานการณ์ภัยพิบัติที่มีแนวโน้มรุนแรงขึ้นทุกปี ที่เห็นใช้งานกัน
และเป็นข่าวทางสื่อมวลชนบ่อย ๆ ได้แก่ เฮลิคอปเตอร์กู้ภัยที่ใช้ดับไฟป่าและดับไฟจากที่สูง ผลงานที่เกิดขึ้นเหล่าน้ี
สามารถสร้างความชัดเจนในภาพรวมของการบริหารจัดการภัยพิบัติให้เกิดขึ้นได้ท้ังประเทศ การแก้ไขสถานการณ์
ภัยพิบัติเป็นไปอย่างมีระบบมากขึ้นตามหลักวิชาการและตามมาตรฐานสากล ที่เราเรียกกันในหมู่ผู้ปฏิบัติงานทุกระดับ
ท่ัวโลกว่า “ระบบบัญชาการเหตุการณ์” หรือ Incident Command System ผลงานทั้งหมดท้ังมวลน้ี
ช่วยยกระดบั การบริหารจดั การสาธารณภัยของประเทศไทยใหเ้ ป็นท่ียอมรบั และเป็นไปตามมาตรฐานของนานาชาติ
ได้อยา่ งมีนยั สาคัญ

๓. สตู่ าแหนง่ ปลดั กระทรวงมหาดไทย
หลังจากเป็นอธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยนานถึง ๕ ปี ก็ได้รับความไว้วางใจจากท่าน

รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทย เสนอชื่อต่อคณะรัฐมนตรี ให้ดารงตาแหน่งปลัดกระทรวงมหาดไทย ในวันที่ ๑
ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ปลัดกระทรวงมหาดไทย เป็นตาแหน่งสูงท่ีสุดของข้าราชการประจา เป็นความมุ่งหวังของนักปกครอง
มาทุกยุคทุกสมัยที่จะก้าวมาให้ถึงตาแหน่งสาคัญนี้ เมื่อมาถึงตาแหน่งสาคัญท่ีสุด ภาระหน้าที่ความรับผิดชอบ
ความคาดหวัง ก็ย่อมมีมากทส่ี ดุ ตามไปด้วย ซึ่งผมคิดอยู่เสมอวา่ จะทาหนา้ ทปี่ ลัดกระทรวงมหาดไทยให้ดีที่สุด ทาให้
กระทรวงมหาดไทยเป็นองค์กรที่ทันสมัย ได้รับการยอมรับจากทุกภาคส่วน ทาให้คนมหาดไทยมีความสุข
และจะสร้างความเข้มแข็งในการรักษาองค์กรได้อย่างไร ในช่วงเวลาที่เหลืออยู่อีก ๔ ปี ก่อนเกษียณอายุราชการ
ในปี พ.ศ. ๒๕๖๔

- ๗๓๑ -

๔. บริหารงานอยา่ งไรในโลกแหง่ การเปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็ว
“สร้างความเชื่อมั่นจากผบู้ งั คับบัญชา

สร้างศรัทธาจากเพือ่ นขา้ ราชการและประชาชน
บริหารสถานการณ์ บริหารความคาดหวัง”

ผมบรหิ ารคนด้วยการใชห้ ลกั คิด “สร้างความเช่ือม่ันจากผู้บังคับบัญชา สร้างศรัทธาจากเพื่อนข้าราชการ
และประชาชน ”

๔.๑ สร้างความเช่ือม่ันจากผู้บงั คบั บญั ชา
แม้ปลัดกระทรวงมหาดไทยจะเป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุดของข้าราชการประจาทั้งมวล แต่เราก็ต้องอยู่

ภายใต้การบงั คับบญั ชาของรัฐมนตรีและรัฐบาล โดยเฉพาะอย่างย่ิงความคาดหวังและความต้องการของประชาชน
โจทย์แรกของการเป็นปลัดกระทรวงมหาดไทย คือ การสรา้ งความเช่ือม่ันให้เกิดขึ้นจากผู้บังคับบัญชาของเรา ทั้งใน
ระดับรัฐมนตรีและระดับรัฐบาล หากเราทาได้ เราก็จะเป็นปลัดกระทรวงที่มีคุณค่า มีคุณภาพ และทาให้เกิด
ประโยชน์ต่อการบริหารราชการในกระทรวงมหาดไทยได้ ก่อนที่ผู้บังคับบัญชาจะเชื่อมั่นเรา เราต้องเชื่อมั่น
ในผู้บังคับบัญชาเสียก่อน ผมจะเรียนท่านรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยในทุก ๆ ครั้ง ว่าจะรับนโยบาย
ของท่านรฐั มนตรีฯ ไปปฏบิ ตั ิให้เกิดประโยชน์ตอ่ ประเทศชาติ ตอ่ ประชาชน จะทาให้ทกุ องคาพยพของกระทรวงมหาดไทย
ตอบสนองนโยบายของท่านรัฐมนตรีฯ และนโยบายรัฐบาลให้ได้ ผมจะนาพาข้าราชการประจาทางานอย่างสุดกาลัง
หากติดปัญหาอุปสรรคข้อขัดข้องใดที่เกินความสามารถของผม ผมจะนาเรียนปรึกษาท่านรัฐมนตรีฯ ในทันที
โดยไม่มีปิดบังซ่อนเร้นใด ๆ ผมทางานกับผู้บังคับบัญชา ด้วยการแสดงความต้ังใจ ความจริงใจ ความมุ่งม่ัน ในแนวทางนี้
มาตลอด จากครั้งท่ีหน่ึงสู่คร้ังที่สองและสู่ทุก ๆ ครั้ง จนเกิดความเช่ือม่ันจากผู้บังคับบัญชาเหนือจากผมขึ้นไป
ทุกระดับ และนั่นคือความเชื่อม่ันที่เกิดขึ้นต่อกระทรวงมหาดไทยในภาพรวม มิใช่เป็นความเช่ือมั่นต่อตัว
ปลัดกระทรวงมหาดไทยแต่เพียงผู้เดียว น่ีคือสิ่งสาคัญที่คนเป็นปลัดกระทรวงมหาดไทยต้องทาให้เกิดข้ึนให้ได้
การทางานในตาแหน่งปลัดกระทรวงมหาดไทยถึงจะราบร่ืน กระทรวงมหาดไทยถึงจะอยู่ในสภาวะที่พร้อมทางาน
มากทส่ี ุด

๔.๒ สร้างศรทั ธาจากเพ่ือนข้าราชการและประชาชน
ผมบอกกับบรรดาข้าราชการกระทรวงมหาดไทยทุกสังกัดว่า ผมเป็นปลัดกระทรวงมหาดไทย

ของคนมหาดไทยทุกคน ผมไม่มองคนเพียงแค่ว่า ใครจบมาจากไหน สถาบันใด สิงห์สีอะไร ผมจะให้โอกาส
คนมหาดไทยทกุ คน ทกุ คนสามารถเดนิ เข้ามาพบผมได้ มาปรกึ ษาได้ มาแสดงความประสงค์ได้ว่าใครมีความสามารถ
อะไร ถนัดอะไร อยากไปทางานท่ีไหน อยากสอบอยากเลื่อนข้ึนตาแหน่งอะไร ที่ผ่านมามีความคับข้องใจอะไร มีปัญหา
อะไร ทาไมถึงไม่ได้เลื่อน ทาไมถึงสอบไม่ได้สักที ผมรับฟังคนมหาดไทยทุกคนท่ีตั้งใจมาพบ ผมเชื่อว่าเขาเหล่าน้ัน
ต้องมีความตั้งใจจริงหรือไม่ก็ต้องคาดหวังว่าผมจะช่วยไขข้อข้องใจให้เขาได้ ไม่อย่างน้ันคงไม่เสียเวลามาน่ังรอพบ
ผมอย่างแน่นอน การให้โอกาสคนมหาดไทยทุกคนให้สามารถเข้าถึงปลัดกระทรวงมหาดไทยเพื่อให้เขาได้ระบายได้
แสดงความประสงค์ในสิ่งที่เขาอยากได้ อยากเป็น ผมต้องรับฟัง เมื่อผมรับฟังแล้ว ผมจะให้โอกาสทุกคนได้พิสูจน์
ฝีมือของตนเอง ถ้าใครไม่ได้มีความบกพร่องเฉพาะตัว หรือเคยมีเรื่องมาก่อน ทุกคนก็จะได้รับการพิจารณา

- ๗๓๒ -

ไดร้ ับโอกาสให้เจรญิ กา้ วหนา้ ในเสน้ ทางของตนเองอย่างถว้ นหนา้ ทกุ คน สงิ่ ที่ปรากฏในการแตง่ ตั้งโยกย้ายข้าราชการ
กระทรวงมหาดไทยตลอด ๔ ปี ที่ผมเป็นปลัดกระทรวงมหาดไทย พวกเราจะเห็นได้ว่า ถ้าคนไหนเป็นคนทางานดี
มีฝีมือ มนุษยสัมพันธ์ดี บุคลิกภาพไม่ได้มีปัญหาจนเกินกว่าจะรับได้ ทุกคนจะได้เติบโตในเส้นทางท่ีตนตั้งใจไว้
เพราะผมเชื่อม่ันในการสร้างคนมหาดไทยท่ีมีคุณภาพ ซ่ึงจะเป็นส่วนสาคัญท่ีสุดในการรักษากระทรวงมหาดไทย
ที่พวกเราชาวสิงห์รัก ให้ดารงความเป็นสถาบันที่เข้มแข็ง สามารถทาประโยชน์ให้ประเทศชาติ แก้ปัญหา
ความเดือดรอ้ นของประชาชนได้ในระยะยาว

๔.๓ การบริหารสถานการณ์และบริหารความคาดหวัง ด้วยหลักคิด “บริหารให้ถูกกฎหมายไม่ยึดติด
รปู แบบ”

กระทรวงมหาดไทย เป็นกระทรวงสาคัญท่ีมีบทบาทในการรับนโยบายจากรัฐบาลมาปฏิบัติให้บรรลุผล
ในทุกพื้นที่ท่ัวประเทศ เราเป็นแบบน้ีมานานแล้ว หากแต่ในห้วงเวลา ๑๐ ปีหลังที่ผ่านมาน้ี เป็นยุคท่ีการรับรู้ข้อมูล
การรับส่งข่าวสารต่าง ๆ เป็นไปอย่างรวดเร็ว ทุกพ้ืนท่ีสามารถรับรู้ความเป็นไป หรือสิ่งที่เกิดข้ึนของพื้นที่อ่ืน ๆ
ได้ในแบบ “ทันทีทันใด” เป็นปัจจุบันเท่าเทียมกัน การนาเสนอปัญหาความเดือดร้อน สามารถส่งผ่านเครือข่าย
การส่ือสารที่หลากหลายและเข้าถึงง่าย โดยเฉพาะในสื่อสังคมออนไลน์ต่าง ๆ ทาให้สามารถสะท้อนปัญหา
และความตอ้ งการไปสกู่ ารรับรขู้ องรัฐบาลและสังคมได้ตลอดเวลา สถานการณ์เช่นนี้ กระทรวงมหาดไทยย่อมต้องดารง
สถานะความเป็นหน่วยงานท่ีมีความตื่นตัวอยู่ตลอดเวลา พร้อมท่ีจะเข้าไปแก้ไขปัญหาความต้องการท่ีเกิดขึ้นใหม่ ๆ
ในทุก ๆ วัน ได้อย่างทันท่วงที นี่คือภารกิจสาคัญที่รัฐบาลคาดหวังการตอบสนองจากกระทรวงมหาดไทย
และผมจะใหค้ าจากดั ความของบทบาทน้ีในทุกคร้ังท่ีมีการประชุมผู้ว่าราชการจังหวัดและผู้บริหารกระทรวงมหาดไทย
ว่าภารกิจสาคัญนี้คือ “การบริหารสถานการณ์และการบริหารความคาดหวัง” มันคือสถานการณ์ท่ีไม่ได้ระบุไว้
ในแผนปฏิบัติราชการกระทรวงมหาดไทยหรือแผนพัฒนาจังหวัดหรือแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจาปีแต่อย่างใด
หากเป็นกระทรวงอื่น เราอาจได้ยินคาตอบว่า ยังไม่มีแผนงานที่จะดาเนินการแก้ไขให้ในขณะน้ี หรือไม่มีงบประมาณ
ปีน้ีทจ่ี ะกระทาได้ แตก่ ระทรวงมหาดไทยจะคิดและตอบแบบน้ันไม่ได้ เราจาเป็นต้องเข้ามา “บริหารสถานการณ์”
และ “บริหารความคาดหวัง” เหล่าน้ีอย่างไม่อาจปฏิเสธได้ ผมให้แนวทางปฏิบัติแก่ผู้บริหารกระทรวงมหาดไทย
และผู้ว่าราชการจังหวัดทุกท่านท่ีจะต้องตอบสนองความคาดหวังเหล่านี้ด้วยการเข้าไปบริหารสถานการณ์ในโอกาสแรก
อย่างน้อยเราต้องเข้าถึงพื้นที่ เราต้องเข้าถึงปัญหา เราต้องเข้าไปรับฟังว่ามันเกิดอะไรข้ึน สาเหตุของปัญหา
ท่ีทาให้เกิดสถานการณ์คืออะไร ประชาชนคาดหวังอะไรจากรัฐบาลแล้วทาไมสถานการณ์นั้น ๆ ถึงไม่ได้รับการแก้ไข
มาก่อน น่ีคือบทบาทที่สาคัญที่สุดของกระทรวงมหาดไทย ซ่ึงแท้ท่ีจริงแล้วนั่นก็คือ “มิติของการบริการประชาชน”
อีกมติ หิ น่ึงนัน่ เอง เปน็ มิตใิ นด้านการตอบสนองความต้องการโดยการเขา้ ไปรบั รู้ปญั หาและความคาดหวังของสถานการณ์
ซ่ึงส่วนใหญ่เราจะพบคาอ้างท่ีว่า “ยังไม่เคยมีหน่วยงานใดเข้ามาดูแลแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนให้ประชาชน...”
สถานการณ์และความคาดหวังทั้งหลายเหล่านั้น ไม่ใช่ว่าสามารถแก้ไขได้สาเร็จเสร็จสิ้นด้วยหน่วยงาน
ของกระทรวงมหาดไทยเพียงหน่วยงานเดียว แต่เราสามารถรักษาสถานะของการเป็น “ต้นทางของการแก้ไขปัญหา
ความเดือดร้อน” ให้กับพ่ีน้องประชาชนได้ทุกพ้ืนท่ีทั่วประเทศ เรามีผู้ว่าราชการจังหวัด หัวหน้าส่วนราชการ
ประจาจังหวัด นายอาเภอ กานัน ผู้ใหญ่บ้าน นายกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อาสาสมัครครอบคลุมทุกพื้นท่ี

- ๗๓๓ -

ของประเทศ เราปฏิเสธความคาดหวังที่เกิดขึ้นไม่ได้เลย นี่คือความท้าทายของกระทรวงมหาดไทยในช่วงกระแส
ของการปฏิรูป กระแสของการเปลยี่ นแปลง คาถามต่าง ๆ ท่ีถาโถมเข้ามาสามารถจับนัยสาคัญของความท้าทายเหล่าน้ี
ได้ว่า “กระทรวงมหาดไทยมีไว้ทาไม” หรือ “ยังจาเป็นต้องมีกระทรวงมหาดไทยอยู่ต่อไปอีกหรือไม่” ในฐานะ
ปลัดกระทรวงมหาดไทย จึงตอบสนองความทา้ ทายทถ่ี าโถมเข้ามาส่กู ระทรวงมหาดไทยน้ี มองเห็นวิกฤติเป็นโอกาส
ด้วยการขยายผลจากกรอบแนวคิดไปสู่การกาหนดนโยบายและข้อส่ังการให้หน่วยปฏิบัติทั้งส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค
ทางานในเชิงรุกให้มากขึ้น ทุกหน่วยต้องรู้คน รู้พ้ืนท่ี รู้ว่าอะไรเป็นศักยภาพ รู้ว่าอะไรเป็นจุดอ่อน และเมื่อเห็น
ปัญหาแล้วผู้ว่าราชการจังหวัดต้องนาปัญหานั้นเข้าสู่กระบวนการแก้ไขปัญหาให้ประชาชนรู้สึกว่าได้รับการดูแลให้เขา
มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โดยไม่ต้องรอให้มีการร้องเรียนเสียก่อนถึงค่อยแก้ไข การทางานเชิงรุกด้วยการรู้คน รู้พื้นที่ช่วย
ให้กระทรวงมหาดไทยสามารถบริหารสถานการณ์ได้ในทันทีที่มีสถานการณ์ไม่ปกติเกิดขึ้น เกิดการร้องเรียน
เกิดกระแสข่าวท่ีเป็นประเด็นทางสังคมต่าง ๆ หรือเม่ือมีข้อสั่งการจากรัฐบาล เราสามารถหาคาตอบได้ในเวลาไม่นาน
วา่ สถานการณ์นน้ั ๆ เกิดขึน้ ที่ไหน ขอ้ เท็จจริงคืออะไร สาเหตุของปัญหาท่ีต้องแก้ไขคืออะไร ความคาดหวังจากพ่ีน้อง
ประชาชนคืออะไร แล้วนาเข้าสู่กระบวนการแก้ไขปัญหาที่เราต้องลดข้ออ้าง ลดข้อจากัดทั้งหลาย โดยไม่ยึดติด
รูปแบบขั้นตอนมาเป็นข้ออ้างเพ่ือให้ประเด็นนั้นจบ ๆ ไป เพราะการยึดติดรูปแบบที่ทาให้แก้ไขสถานการณ์ไม่ได้
คาตอบแบบนั้นไม่ได้ทาให้สถานการณ์ดีขึ้น ไม่ได้ทาให้ประช าช นสมความคาดหวังแม้แต่น้อย
ปัญหาหรือสถานการณ์หลาย ๆ คร้ัง ไม่จาเป็นต้องรอการเขียนแผน หรือรอการตั้งงบประมาณในอีกก่ีปีต่อ ๆ ไป
ถึงจะเริ่มแก้ไขปัญหานั้น ๆ โดยให้พี่น้องประชาชนรอความหวังต่อไปได้ อานาจหน้าที่และบทบาท
ของกระทรวงมหาดไทย โดยเฉพาะของผู้ว่าราชการจังหวัดในภูมิภาคนั้น สามารถเชื่อมโยงศักยภาพของหน่วยงาน
ทุกประเภทในพื้นท่ีเข้าแก้ไขสถานการณ์ให้พี่น้องประชาชนได้ โดยไม่ต้องรอให้มีงบประมาณ มีโครงการพร้อมเสียก่อน
เท่านั้น หลาย ๆ สถานการณ์สามารถแก้ไขได้ด้วยกาลังคน กาลังเคร่ืองจักรกล ยานพาหนะ หรือการเช่ือมโยง
งบดาเนินงานหรือการปรับเปลี่ยนงบประมาณที่มีอยู่ของบางหน่วยเข้าแก้ไขสถานการณ์เร่งด่วนที่เกิดข้ึนก่อนได้
ความคาดหวังของประชาชนก็จะได้รับการตอบสนองจากภาครัฐ โดยมีหน่วยงานของกระทรวงมหาดไทย เป็นกลไก
สาคัญ ทั้งหมดนี้ก็คือ การบริการประชาชน บริการให้เขาเหล่าน้ันหมดทุกข์ ให้เขาเหล่านั้นมีความสุข หรือก็คือ
การบาบัดทุกข์ บารุงสุข ตามปณิธานเมื่อครั้งแรกก่อตั้งกระทรวงมหาดไทย ที่ผมได้นามาเป็นแนวทางในการ
บริหารงานด้วยการเพิ่มน้าหนักการทางานให้ทุกหน่วยทางานเชิงรุกมากขึ้น ในบทบาทการเป็นเจ้าภาพ
ของผ้วู า่ ราชการจังหวดั ท่จี ะรบั ความคาดหวังของประชาชนในพ้ืนที่ท่ีมีสถานการณ์ ก่อนท่ีจะส่งต่อให้หน่วยงานที่มี
ภารกิจตรงกับสถานการณ์นั้นรับไปดาเนินการตามแผนและงบประมาณในลาดับต่อไป เม่ือทุกหน่วยงาน
ของกระทรวงมหาดไทยสามารถบริหารสถานการณ์ได้ บริหารความคาดหวังของประชาชนที่ประสบความทุกข์
ได้ผลสาเรจ็ ทเี่ ป็นรูปธรรม ที่เกิดข้ึนเหล่านี้ คือคาตอบของความท้าทายที่เข้ามาสู่กระทรวงมหาดไทย กับคาถาม
ทว่ี ่า “กระทรวงมหาดไทยมีไว้ทาไม” หรือ “ยังจาเป็นตอ้ งมกี ระทรวงมหาดไทยอยู่อีกหรือเปล่า” ได้อย่างชดั เจนท่สี ดุ

๔.๔ การรักษาองค์กรสะท้อนความเป็นคนมหาดไทย
กระทรวงมหาดไทยก่อต้ังมาเป็นเวลายาวนาน ผ่านการปรับเปลี่ยนโครงสร้างอานาจหน้าท่ีตามการปฏิรูป

ระบบราชการมาก็หลายคร้ัง มีการยุบ การต้ัง การโยกหน่วยงาน ท้ังปรับออกและรวมเข้ามาเป็นส่วนหน่ึง

- ๗๓๔ -

ของกระทรวงมหาดไทยก็หลายคร้ัง โลกทุกวันนี้เป็นโลกท่ีเปลี่ยนแปลงเร็ว การส่ือสารระหว่างประชาชนกลุ่มต่าง ๆ
ในทุกพื้นที่เป็นไปได้โดยง่าย กระแสเรียกร้องให้มีการปรับเปล่ียนโครงสร้างอานาจหน้าท่ีของกระทรวงต่าง ๆ
มีบ่อยคร้ังข้ึนถ่ีขึ้น ตามกระแสการเปล่ียนแปลงของโลกไม่เฉพาะแต่กระทรวงมหาดไทยเท่าน้ัน กระทรวงมหาดไทย
จึงจาเป็นต้องคิดทบทวนบทบาทหน้าท่ี กระบวนงาน โครงสร้างที่เป็นอยู่ในปัจจุบันว่ามีความเหมาะสมเพียงพอ
มีความจาเป็นหรือต้องปรับเปล่ียนในส่วนใดหรือไม่อย่างไร แล้วระดมสมองกัน พร้อมรับฟังเสียงจากภายนอก
มาประกอบให้ได้ข้อสรุปท่ีเหมาะสมลงตัว เป็นประโยชน์ และเป็นปัจจุบันมากท่ีสุด เพื่อนาไปสู่การปฏิรูป
กระทรวงมหาดไทยด้วยการตื่นตัวของเราเอง (Self Disruption) อันจะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ทันสมัย
เหมาะสมกับโลกปัจจุบันและเป็นการรักษาองค์กรกระทรวงมหาดไทยด้วยความต่ืนตัวของคนมหาดไทยเอง สะท้อน
หลักคิดการบริหารองค์กรของผมที่ข้าราชการทุกหน่วยจะได้ยินเสมอในการประชุมสั่งราชการต่าง ๆ ผมปรารถนา
ให้คนมหาดไทยเป็นคนท่ีทันสมัย เป็นข้าราชการท่ีมีความคล่องตัวหรือ Smart ท่ีต้องรู้จักปรับตัวเอง ปรับองค์กร
ของตัวเองให้มีความทันสมัยเหมาะสมกับกาลปัจจุบัน อันจะทาให้เกิดผลดีต่อการรักษาองค์กรกระทรวงมหาดไทย
ให้สามารถดารงคงอยู่ได้ตราบนานเท่านาน และเป็นองค์กรท่ีมีประโยชน์ ต่อประเทศชาติ และประชาชน
คนมหาดไทยต้องต่ืนตัวท่ีจะปรับปรุงองค์กรของเราเองให้เป็นองค์กรที่มีโครงสร้าง อานาจ หน้าท่ี มีกระบวนงาน
ที่เหมาะสมกับความต้องการรับบริการของประชาชนในโลกปัจจุบัน เราไม่สามารถปฏิเสธกระแสแห่ง
การปรับเปลี่ยนให้เกิดความทันสมัยได้ทุกองค์กร ท้ังองค์กรภาครัฐและภาคเอกชนล้วนต้องพบเจอกระแส
การปรับเปลี่ยน หากองค์กรใดไม่ปรับเปลี่ยนตัวเองก็จะถูกบังคับจากภายนอกให้ปรับเปล่ียน ซ่ึงจะเป็นการ
ปรับเปลี่ยนแบบที่เราอาจไม่สามารถรักษาองค์กร รักษาความภูมิใจของความเป็นคนมหาดไทย เอาไว้ได้เลย ดังน้ัน
การปรับเปล่ียนกระทรวงมหาดไทยด้วยคนมหาดไทยเอง (Self Disruption) เป็นวิธีการเดียวที่เราจะสามารถรักษา
องค์กรกระทรวงมหาดไทยของเราให้ดารงคงอยู่ในโลกแห่งการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วนี้ได้ คนมหาดไทย
ที่เกษียณอายุไปแล้วหันกลับมามองกระทรวงมหาดไทยเม่ือไรก็จะเกิดความภาคภูมิใจ คนมหาดไทยรุ่นต่อ ๆ ไป
ก็จะก้าวเดินต่อไปแบบภาคภูมิใจในความเป็นคนมหาดไทย เป็นส่วนหน่ึงขององค์กรที่ทันสมัย มีประโยชน์
มีประสิทธิภาพ มีความจาเป็นต้องมีอยู่คู่กับการบริหารราชการแผ่นดินของประเทศไทยไดต้ ลอดไป

๔.๕ สร้างศูนยร์ าชการกระทรวงมหาดไทยแห่งใหม่
นอกจากการปรับปรุงองค์กรกระทรวงมหาดไทยในเรื่องโครงสร้าง อานาจ หน้าที่ วิธีปฏิบัติราชการ

ให้ทันกับการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วของสังคมไทยแล้ว โจทย์ท่ีสาคัญอีกประการหนึ่งของกระทรวงมหาดไทย
ที่รอคาตอบมานานหลายสิบปี ก็คือการหาที่ต้ังกระทรวงมหาดไทยแห่งใหม่ เพ่ือก่อสร้างศูนย์ราชการ
กระทรวงมหาดไทยที่สามารถให้กรมทุกกรมในสังกัดกระทรวงมหาดไทยมาอยู่ร่วมกัน ณ ท่ีต้ังเดียวกันให้ได้
กระทรวงมหาดไทย ปัจจุบันก่อต้ังมาย่างเข้าสู่ปีท่ี ๑๓๐ แล้ว เรามีอาคารศาลาว่าการกระทรวงมหาดไทยที่โดดเด่น
เปน็ สงา่ ทรงคณุ ค่าทางจติ ใจ และมีศลิ ปะร่วมสมัยท่ีงดงาม แต่ ณ วันนี้ ก็ถึงคราวที่ต้องขยับขยายเพื่อสร้างอนาคต
ของคนมหาดไทยในยุคต่อไปให้มีผลความคืบหน้าให้ได้ ผมได้รับความกรุณาจากท่านรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงมหาดไทย พลเอก อนุพงษ์ เผา่ จินดา ใหก้ ารสนับสนนุ การจัดหาทดี่ นิ ผืนใหม่ในกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นส่ิงที่
หาได้ยากลาบากยิ่งนักในยุคปัจจุบัน แต่ความสาเร็จก็เกิดข้ึนได้ เมื่อรัฐบาลอนุญาตให้กระทรวงมหาดไทยใช้พื้นท่ี


Click to View FlipBook Version