The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by stabundamrong KM, 2021-10-15 02:52:08

คู่มือปฏิบัติราชการของกระทรวงมหาดไทย

E-BookBook Ministry of Interior

- 35 -

(๔) การดาเนินการของกระทรวงมหาดไทย
๑) กระทรวงมหาดไทยมีคาสั่งที่ ๑๑๔๕/๒๕๕๘ งวันท่ี ๒๑ ธันวาคม ๒๕๕๘

เร่อื ง แต่งตง้ั คณะทางานเชื่อมโยงแ ะบรณาการแผน นระดบั พ้นื ท่ี กระทรวงมหาดไทย โดยมีรองปลัดกระทรวง
มหาดไทย ดา้ นบริหารเป็นประธาน ซง่ึ มอี านาจหนา้ ที่กาหนดนโยบาย หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดทาแผนในแต่ละระดับ
ต้งั แตแ่ ผนชมุ ชน/หมบู่ า้ น แผนพัฒนาทอ้ งถน่ิ แผนพฒั นาอาเภอ และแผนพฒั นาจังหวดั /กล่มุ จงั หวดั ให้มคี วามสอดคล้อง
เช่ือมโยง และมีเอกภาพในการดาเนินการร่วมกัน รวมทั้งกากับ ให้คาแนะนา และติดตามการดาเนินการเช่ือมโยง
และบูรณาการแผนงาน/โครงการและงบประมาณในระดบั พ้ืนทีใ่ ห้เกิดประสทิ ธภิ าพ

๒) กาหนดแนวทางปฏิบัติรองรับการดาเนินการตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ว่าด้วยการจัดทาแผนแ ะประสานแผนพัฒนาพ้ืนที่ นระดับอาเภอแ ะตาบ พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยสานักงาน
ปลดั กระทรวงมหาดไทยมีหนงั สอื แจง้ จังหวัดเกย่ี วกบั แนวทางปฏิบัติรองรับการดาเนินการตามระเบียบฯ โดยขอให้
จังหวัดโดยสานักงานจังหวัด ที่ทาการปกครองจังหวัด สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด และสานักงานส่งเสริม
การปกครองท้องถ่ินจังหวัดถือเป็นแนวทางปฏิบัติในการจัดทาแผนและประสานแผนพัฒนาพ้ืนที่ ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ เป็นต้นไป และได้มีหนังสือแจ้งจังหวัดเกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติฯ ฉบับปรับปรุง ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ถือเป็นแนวทางปฏิบัติในการจัดทาแผนและประสานแผนพัฒนาพ้ืนท่ี ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ รวมท้ังให้สานักงานจังหวัดรายงานผลการเชื่อมโยงและประสานแผนพัฒนาพื้นที่
เข้าสู่แผนปฏิบตั ริ าชการประจาปขี องจังหวัดใหส้ านักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยทราบด้วย

๓) การสร้างความร้ความเข้า จ สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยจัดทาโครงการ
เพมิ่ ประสทิ ธิภาพการจดั ทาแผนและประสานแผนพัฒนาพื้นท่ี (One Plan) ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้และภาคใต้ชายแดน เม่ือปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ
เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงมหาดไทยฯ และแนวทางปฏิบัติฯ รวมท้ังยกระดับศักยภาพในการจัดทาแผน
และประสานแผนพัฒนาพน้ื ที่อยา่ งเป็นระบบ

๔) การถอดบทเรียนการจัดทาแผนแ ะประสานแผนพัฒนาพ้ืนที่ ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ภายใต้โครงการขับเคลือ่ นการจัดทาแผนและประสานแผนพัฒนาพ้ืนที่ ประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๔ โดยถอดบทเรียนในจังหวัดนาร่อง ๖ จังหวัด ได้แก่ จังหวัดชัยนาท จังหวัดลาพูน จังหวัดหนองคาย
จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดสตูล และจังหวัดนราธิวาส เพื่อวิเคราะห์การจัดทาแผนพัฒนาอาเ ภอตามระเบียบฯ
ความสอดคล้องเชื่อมโยงระหว่างโครงการตามแผนความต้องการของอาเภอกับปัญหาความต้องการที่มาจาก
ระดับตาบล ศักยภาพการพฒั นาระดับอาเภอ และความจาเป็นเร่งด่วนของพื้นท่ี และความสอดคล้องเชื่อมโยงระหว่าง
โครงการตามแผนความต้องการของอาเภอกับประเด็นยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาจังหวัดและเป้าหมายการพัฒนา
จังหวดั

- 36 -

๕) ประโยชน์ทท่ี างราชการแ ะ/หรือประชาชนไดร้ ับ
- ประชาชน ภาคประชาสังคม ภาคเอกชน ได้มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการพัฒนา

พน้ื ท่ไี ด้อย่างเป็นรปู ธรรม และเกิดกระบวนการเรียนรู้การใชส้ ิทธิที่ถูกต้องภายใต้ระบบประชาธิปไตยแบบมีสว่ นรว่ ม
- การแก้ไขปัญหาและการพัฒนาพ้ืนที่เกิดข้ึนภายใต้กระบวนการมีส่วนร่วม

ของทกุ ภาคสว่ นสามารถตอบสนองปญั หาและความต้องการของพนื้ ท่แี ละสอดรับกับทิศทางการพัฒนาตามนโยบาย
ของรัฐบาล เปน็ แผนทีม่ ีคณุ ภาพมีความเช่ือมโยงกันระหวา่ งนโยบายของรัฐท่ีลงไปดาเนินการในพื้นที่ (Top Down)
และสอดคล้องกับปัญหาที่ประชาชนต้องการให้แก้ไข (Bottom Up) เกิดความเช่ือมโยงการพัฒนาต้ังแต่ระดับ
ชุมชน หมู่บ้านตาบล ท้องถิ่น อาเภอ ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทาแ ผนและประสาน
แผนพัฒนาพ้ืนที่ในระดับอาเภอและตาบล พ.ศ. ๒๕๖๒ ไปสู่ระดับจังหวัด และกลุ่มจังหวัด จนถึงระดับภาค
ประเทศ ภมู ิภาค และกา้ วส่เู วทกี ารแข่งขนั ในระดบั โลก

- การดาเนินแผนงาน/โครงการของภาครัฐเป็นไปตามเป้าหมายที่กาหนด
ลดความซ้าซ้อนของงบประมาณ สามารถกระจายรายได้ลงสู่ระดับพ้ืนท่ีและลดปัญหาความเหลื่อมล้า
ทางดา้ นเศรษฐกจิ และสังคมโดยรวม

หน่วยงานรับผิดชอบ : กลุ่มงานประสานยุทธศาสตร์การพัฒนาพืน้ ท่ี สานักพฒั นาและสง่ เสริมการบรหิ ารราชการจังหวดั สป.
โทร. ๐ ๒๒๒๑ ๙๒๐๐ (มท.) ๕๐๕๘๔

๒. การสนบั สนนุ การดาเนนิ งานโครงการอนั เนอ่ื งจากพระราชดาริ
๒.๑ โครงการพฒั นาพ้ืนที่ตามแนวพระราชดาริแ ะห ักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
สานักนโยบายและแผน สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ได้จัดทาโครงการพัฒนาพื้นท่ีตามแนว

พระราชดาริและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือให้จังหวัดน้อมนาแนวพระราชดาริและหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้เป็นหลักในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนในพื้นที่
และสามารถพงึ่ พาตนเองไดอ้ ยา่ งยง่ั ยืน โดยมีขนั้ ตอนการดาเนินงาน ดงั นี้

๒.๑.๑ เสนอโครงการพัฒนาพ้ืนท่ีตามแนวพระราชดาริและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ต่อปลดั กระทรวงมหาดไทยเพอื่ พิจารณาใหค้ วามเหน็ ชอบในภาพรวม

๒.๑.๒ เสนอคาสั่งแต่งต้ังคณะทางานโครงการพัฒนาพ้ืนท่ีตามแนวพระราชดาริและหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง และจดั ประชุมคณะทางานฯ เพอื่ กาหนดแนวทางและหลักเกณฑ์การดาเนินโครงการ รวมท้ัง
แจ้งจงั หวดั ใหด้ าเนินการเสนอโครงการตามแนวทางและหลักเกณฑ์ที่สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยกาหนด

๒.๑.๓ ดาเนินการจัดประชุมคณะทางานโครงการพัฒนาพ้ืนที่ตามแนวพระราชดาริและหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือพิจารณากล่ันกรองโครงการที่จังหวัดเสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณ
ภายในกรอบวงเงินทีก่ าหนด

๒.๑.๔ จัดทารายงานการประชุมคณะทางานโครงการพัฒนาพื้นท่ีตามแนวพระราชดาริ
และหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เพ่อื ใหค้ ณะทางานฯ รับรองรายงานการประชุม

- 37 -

๒.๑.๕ เสนอโครงการพัฒนาพื้นที่ตามแนวพระราชดาริและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ของจังหวัด ท่ีผ่านการพิจารณากลั่นกรองจากคณะทางานฯ แล้ว ให้ปลัดกระทรวงมหาดไทยเห็นชอบอนุมัติ
และแจง้ จดั สรรงบประมาณให้จงั หวดั ดาเนินโครงการต่อไป

๒.๑.๖ แจ้งกองคลัง สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ดาเนินการจัดสรรงบประมาณให้จังหวัด
ดาเนนิ โครงการพฒั นาพืน้ ทตี่ ามแนวพระราชดาริและหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

๒.๑.๗ เมื่อจังหวัดดาเนินโครงการแล้วเสร็จ ให้รายงานผลการดาเนินโครงการพัฒนาพ้ืนที่
ตามพระราชดาริและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ให้สานักนโยบายและแผน สานักงานปลัดกระทรวง
มหาดไทยทราบ เพ่อื รวบรวมข้อมูลรายงานปลัดกระทรวงมหาดไทยต่อไป

๒.๒ การขอรบั การสนบั สนุนงบประมาณโครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริ
สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ได้รับการจัดสรรงบประมาณโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ

จากสานักงานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ (สานักงาน กปร.)
โดยมีเป้าหมาย คือ สนับสนุนให้จังหวัดได้น้อมนาแนวพระราชดาริและหลักปรัชญาของเ ศรษฐกิจพอเพียง
เพื่อนาไปใช้แก้ไขปัญหาอุปสรรคในการดาเนินงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ ในพระบาทสมเด็จ
พระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รวมทั้งการบูรณาการการทางานร่วมกับ
หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการใช้ประโยชน์ในโครงการให้เกิดประโยชน์สูงสุด และการให้คาแนะนาในการปฏิบัติงาน
แก่หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นการสนับสนุนการดาเนินโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริในพื้นที่จังหวัด
โดยมีขัน้ ตอนในการดาเนนิ การ ดังนี้

๒.๒.๑ สานักงาน กปร. เสนอคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดาริ (กปร.) โดยมีนายกรัฐมนตรี เป็นประธานกรรมการ กปร. พิจารณาอนุมัติแผนงาน/งบประมาณ
โครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดารใิ นพน้ื ทจ่ี งั หวัด

๒.๒.๒ สานกั งาน กปร. แจ้งผลการอนุมัตติ ามขอ้ ๒.๒.๑ ใหก้ ระทรวงมหาดไทยทราบ
๒.๒.๓ กระทรวงมหาดไทย แจง้ จงั หวัดให้จัดส่งรายละเอียดแผนงาน/งบประมาณโครงการที่ได้รับ
การอนมุ ัติ เพ่อื ขอรับการจดั สรรงบประมาณจากสานักงบประมาณ
๒.๒.๔ กระทรวงมหาดไทย รวบรวมรายละเอยี ดแผนงานและงบประมาณโครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดารจิ ากจงั หวัด จดั สง่ ใหส้ านักงบประมาณเพ่อื ขอรบั การจดั สรรงบประมาณ
๒.๒.๕ สานักงบประมาณแจ้งผลอนุมัติงบประมาณโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริในพื้นท่ี
จงั หวดั ให้สานักงานปลดั กระทรวงมหาดไทยทราบ
๒.๒.๖ กระทรวงมหาดไทย แจ้งจังหวัดให้ดาเนินงานตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ
ในพ้ืนที่ พร้อมท้ังแจ้งกองคลัง สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ดาเนินการจัดสรรงบประมาณให้จังหวัด
ดาเนินงานตามโครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดารใิ นพ้นื ท่ี
๒.๒.๗ จังหวัดรายงานผลการดาเนินโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ เพ่ือติดตาม
ความก้าวหน้าของโครงการและการใช้จ่ายงบประมาณ เป็นรายไตรมาส พร้อมทั้งจัดทาแบบรายงานผล

- 38 -

การดาเนินงานโครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริ ใหส้ านักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย ภายใน ๑๐ วัน หลังจาก
ส้ินสุดรอบการรายงานแต่ละไตรมาส เพ่ือรายงานผลการดาเนนิ งานลงในระบบงบประมาณโครงการอันเน่ืองมาจาก
พระราชดาริ (e-Project) ใหส้ านักงาน กปร. ทราบต่อไป

หน่วยงานรับผิดชอบ : กลุ่มงานประสานการพัฒนาพื้นท่ีตามพระราชดาริ สานักนโยบายและแผน สป.
โทร. ๐ ๒๒๒๖ ๖๐๒๙ (มท.) ๕๐๕๐๗

๓. การสนับสนนุ การปฏิบตั ริ าชการส่วนก างแ ะส่วนภมภิ าค
๓.๑ การสนับสนนุ ด้านการอานวยการ
๓.๑.๑ การสนับสนนุ ภารกิจการตรวจราชการนอกสถานท่ีของนายกรัฐมนตรีแ ะคณะรัฐมนตรี
การตรวจราชการเป็นมาตรการสาคัญประการหนึ่งในการบริหารราชการแผ่นดินท่ีทาให้

การปฏิบัติราชการหรือการจัดทาภารกิจของหน่วยงานของรัฐเป็นไปตามเป้าหมาย สามารถแก้ไขปัญหาและ
อุปสรรคต่าง ๆ อันเกิดจากการดาเนินการดังกล่าวเพ่ือก่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่ประชาชน และเกิดความคุ้มค่าใน
การปฏิบัติราชการ รวมทั้งเป็นไปตามหลักการการบริหารงานแบบบูรณาการและการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
โดยสามารถสรปุ ข้นั ตอนการดาเนนิ การโดยสังเขป ได้ดังน้ี

(๑) นายกรัฐมนตรีกาหนดตรวจราชการและประชมุ คณะรฐั มนตรีอยา่ งเปน็ ทางการนอกสถานที่
(๒) กระทรวงมหาดไทยร่วมกับสานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีลงพ้ืนที่จังหวัดเพื่อสารวจ
ความพร้อมในการดาเนินงานโดยประชุมร่วมกับหน่วยงานที่เก่ียวข้อง เพื่อแจ้งวิธีการดาเนินงาน และจัดตั้ง
ศูนย์ดารงธรรมสว่ นหนา้ เพอื่ รับเรอ่ื งร้องเรยี นร้องทุกขจ์ ากประชาชน
(๓) สานักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติแจ้ง กระทรวงมหาดไทยเข้าร่วม
ประชุมเตรียมการบูรณาการประเด็นด้านสารัตถะเพ่ือเตรียมการจัดประชุม ครม. อย่างเป็นทางการนอกสถานท่ี
โดย สานักตรวจราชการและเร่ืองราวร้องทุกข์ สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ได้ประสานสานักพัฒนาและ
ส่งเสริมการบริหารราชการจังหวัด สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย และสานักนโยบายและแผน สานักงาน
ปลัดกระทรวงมหาดไทย เขา้ ร่วมประชมุ รับทราบภารกจิ
(๔) ประชุมร่วมกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดาเนินงาน และลงพื้นท่ีจังหวัด
เพื่อตรวจสอบความพร้อมของพื้นท่ีและร่วมประชุมกับหน่วยงานด้านความม่ันคง การข่าวในพื้นท่ี และจังหวัด
ใกล้เคียงผ่านระบบ VCS เพ่ือรับทราบปัญหา วางแผนเพื่อบริหารจัดการในการแก้ไขปัญหาและอานวย
ความสะดวกให้แก่ประชาชนท่ีมายื่นเร่ืองร้องเรียนร้องทุกข์และตรวจความพร้อมของศูนย์ดารงธรรมส่วนหน้า
รวบรวมขอ้ มูลนาเรียนผู้บรหิ ารกระทรวงมหาดไทยทราบ
(๕) สนับสนนุ ข้อมูลในการปฏิบัติภารกิจ/อานวยความสะดวกผู้บริหารกระทรวงมหาดไทย
และจดบนั ทกึ ประเดน็ นโยบายที่นายกรฐั มนตรมี อบให้กบั สว่ นราชการ และประชาชนในพื้นที่
(๖) ประมวลผลการดาเนนิ งานในภาพรวมของการตรวจราชการ/การประชุมคณะรัฐมนตรี
การจัดต้ังศูนย์ดารงธรรมส่วนหน้าในการรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์จากประชาชนรายงานผู้บริหารกระทรวงมหาดไทย

- 39 -

และแจ้งหนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวข้องทราบ พร้อมทั้งเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ลงในเว็บไซต์สานักตรวจราชการและเรื่องราว
รอ้ งทกุ ข์ สานกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย www.ins.moi.go.th

(๗) สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ดาเนนิ การสรปุ ข้อสั่งการของนายกรัฐมนตรีและแจ้งให้
หนว่ ยงานที่เกย่ี วข้องดาเนินการ

(๘) วิเคราะห์รายละเอียดข้อสั่งการของนายกรัฐมนตรีท่ีเก่ียวข้องกับกระทรวงมหาดไทย
และแจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องพิจารณาดาเนินการตามข้อส่ังการฯ จัดทาสรุปประมวลผลการดาเนินงานตามข้อส่ังการ
ของนายกรัฐมนตรีในการเดินทางไปตรวจราชการในพื้นที่จังหวัดนาเรียนให้ผู้บริหารกระทรวงมหาดไทยทราบ
และรายงานผลการดาเนินงานตามขอ้ ส่ังการฯ ให้สานกั เลขาธกิ ารนายกรฐั มนตรี เพอื่ กราบเรียนนายกรฐั มนตรีทราบ

หนว่ ยงานรบั ผิดชอบ : กลุ่มงานสนับสนุนและประสานการตรวจราชการ สานักตรวจราชการและเรอื่ งราวร้องทุกข์ สป.
โทร. ๐ ๒๒๒๑ ๑๑๒๖ (มท.) ๕๐๔๕๗

๓.๑.๒ การสนับสนุนภารกจิ ของรัฐมนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทย
(๑) การวิเคราะห์ ก ั่นกรอง ตรวจสอบเรอ่ื งเสนอรัฐมนตรี
การวิเคราะห์ กลั่นกรอง ตรวจสอบเร่ืองเพ่ือเสนอต่อรัฐมนตรี และผู้บริหารระดับสูง

การปฏิบัตินี้ครอบคลุมข้ันตอนการสรุปงานด้านการสนับสนุนวิชาการ ตั้งแต่หน่วยงานเจ้าของเรื่องส่งเร่ืองไปยัง
สานักงานรฐั มนตรี กระทรวงมหาดไทย รับเรื่องลงทะเบียนในระบบงานสารบรรณ และเข้าสู่กระบวนการสรุปงาน
ตรวจสอบความถูกตอ้ งของเอกสาร การแยกประเภทตามลาดับความสาคัญ ความเร่งด่วน แยกประเภทตามหน้าท่ี
และอานาจการสง่ั การและการกากับดแู ลของรัฐมนตรี และผู้บริหารระดับสูง การวิเคราะห์ กล่ันกรอง ค้นหาข้อมูล
ประกอบการสรุปงาน การจัดทาบันทึกสรุปงาน เสนอบันทึกข้อความตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย
งานสารบรรณให้หัวหน้าสานักงานรัฐมนตรีพิจารณา จนถึงเลขานุการรัฐมนตรีลงนามในบันทึกข้อความเพื่อเสนอ
ต่อรฐั มนตรแี ละผ้บู รหิ ารระดับสูงพจิ ารณาวินจิ ฉยั สัง่ การตอ่ ไป โดยมีขั้นตอนการปฏบิ ัติงาน ดังน้ี

๑) หน่วยงานเจ้าของเร่อื งเสนอเร่ืองไปยงั สานกั งานรฐั มนตรี กระทรวงมหาดไทย
๒) สานักงานรัฐมนตรีฯ รับเร่ืองเพ่ือลงทะเบียนเข้าสู่ระบบสารบรรณ และส่งเร่ืองให้
เจา้ หนา้ ทีผ่ ้รู บั ผิดชอบดาเนนิ การ
๓) แยกประเภทของเร่ือง ตามลาดับความสาคัญของช้ันความลับและความเร่งด่วน
ของช้ันความเร็ว โดยดาเนนิ การในเร่ืองลับ และดว่ นทส่ี ุด ดว่ นมาก ด่วน และเร่ืองปกติ ตามลาดับ

- 40 -

๔) แยกประเภทเรื่องที่จะนาเสนอตามหน้าที่และอานาจในการพิจารณาวินิจฉัยสั่งการ
ของรัฐมนตรีและผู้บริหารระดับสูง ปัจจุบันอาศัยคาสั่งกระทรวงมหาดไทย ที่ ๑๕๓๕/๒๕๖๒ ลงวันท่ี ๒ สิงหาคม ๒๕๖๒
เร่ือง การมอบหมายอานาจหน้าที่ให้รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ปฏิบัติราชการแทนรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงมหาดไทย ดังน้ี

- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย สั่งและปฏิบัติราชการ กากับดูแล สานักงาน
รัฐมนตรี กระทรวงมหาดไทย สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย กรมการปกครอง กรมสง่ เสรมิ การปกครองท้องถ่ิน
กรุงเทพมหานคร การประสานงานส่วนราชการในสังกัดกระทรวงมหาดไทย ตาม พ.ร.บ. การบริหารราชการ
จงั หวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. ๒๕๕๓ การไฟฟ้านครหลวง และการไฟฟา้ ส่วนภมู ภิ าค

- รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย สั่งและปฏิบัติราชการ กากับดูแล
กรมท่ดี นิ กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั การประปานครหลวง และองคก์ ารจดั การนา้ เสีย

- รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย สั่งและปฏิบัติราชการ กากับดูแล
กรมการพฒั นาชมุ ชน กรมโยธาธิการและผังเมือง การประปาสว่ นภมู ภิ าค และองคก์ ารตลาด

๕) ตรวจสอบรูปแบบของเรื่องให้ตรงตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย
งานสารบรรณและตรวจสอบความถูกต้องของเรื่อง เช่น ข้อมูลตัวเลข การพิมพ์ รายละเอียดของเอกสาร
ประกอบการนาเสนอให้ครบถ้วนสมบูรณ์ หากพบว่ามีข้อผิดพลาดหรือเอกสารประกอบไม่ครบถ้วน ให้ติดต่อ
หน่วยงานเจ้าของเร่ือง เพ่ือดาเนนิ การแก้ไขหรือเพม่ิ เติมเอกสาร

๖) ประสานงาน ศึกษา และวิเคราะห์ กลั่นกรอง สืบค้นและรวบรวมข้อมูล โดยการอ่าน
จากเอกสารที่เกี่ยวข้องท้ังหมด เพื่อจับใจความสาคัญของเร่ือง หาวัตถุประสงค์ของการนาเสนอเรื่อง แยกประเด็น
ที่เกี่ยวข้อง ศึกษาท่ีมาหรือเรื่องเดิมที่มีการดาเนินการอย่างต่อเนื่อง รวมท้ังศึกษาระเบียบ กฎหมายต่าง ๆ ค้นหา
ข้อมูลเพ่ิมเติมท่ีเป็นประโยชน์ต่อการนาเสนอเรื่อง และสรุปประมวลผล เพ่ือเสนอความเห็นท่ีเป็นประโยชน์
ต่อการพิจารณาวินิจฉยั สั่งการของรัฐมนตรี และผู้บริหารระดับสงู

๗) สรุปเร่ืองโดยการจัดทาบันทึกข้อความโดยใช้รูปแบบตามระเบียบสานัก
นายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ โดยเรื่องที่เสนอประกอบด้วย ที่มาของเรื่อง ข้อเท็จจริงท่ีเป็นใจความสาคัญ
หรือวัตถุประสงค์หลัก ระเบียบกฎหมายท่ีเก่ียวข้อง (ถ้ามี) การดาเนินงานและความเห็นของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง
ความเห็นของสานักงานรัฐมนตรีฯ ที่เป็นประโยชน์ต่อการพิจารณาวินิจฉัยสั่งการ โดยจัดทาเป็นบัญชีเรื่องเสนอ
ตอ่ รฐั มนตรี จานวน ๓ ชดุ (ฉบบั จรงิ คู่ฉบบั และสาเนา)

๘) เสนอบันทึกข้อความให้หัวหน้าสานักงานรัฐมนตรีฯ พิจารณา เพ่ือเสนอ
ให้เลขานุการรัฐมนตรีพิจารณาลงนาม และเสนอต่อรัฐมนตรี และผู้บริหารระดับสูง พิจารณาวินิจฉัยสั่งการ
กรณที ีม่ ีการแกไ้ ขต่าง ๆ ให้นาบันทึกขอ้ ความกลับไปแก้ไขแล้วเสนอใหม่ตามลาดับ

หนว่ ยงานรับผิดชอบ : งานตรวจสอบและกลน่ั กรองเรื่อง สานักงานรฐั มนตรี กระทรวงมหาดไทย
โทร. ๐ ๒๒๒๒ ๗๑๗๔ (มท.) ๕๐๐๐๓

- 41 -

แผนภาพแสดงขน้ั ตอนการปฏบิ ัติงาน

ขนั้ ตอนการปฏิบัติงาน ผงั งาน ระยะเว า
-
๑. หน่วยงานเจ้าของเร่ืองเสนอเร่ืองไปยัง หนว่ ยงานเจา้ ของเรอ่ื ง
สานกั งานรัฐมนตรี เสนอเรือ่ งถึง สร. ๕ นาที
๕ นาที
๒. ลงทะเบียนรบั เร่ืองเขา้ ระบบสารบรรณ รับเร่อื งเพ่ือลงทะเบยี น
๓. แยกประเภทของเรือ่ งทจี่ ะสรปุ เข้าระบบสารบรรณ ๕ – ๑๐ นาที

ลับทสี่ ดุ ดว่ นทสี่ ุด ๑ ชว่ั โมง
ลบั มาก ดว่ นมาก ๑ – ๒ ชวั่ โมง
๒ – ๓ ชวั่ โมง
ลับ ด่วน ๑ วนั ทาการ
เรื่องปกติ

๔. แยกประเภทเร่ืองท่ีจะนาเสนอตาม แยกตามอานาจการสั่งการ
หน้าท่ีและอานาจในการพิจารณาวินิจฉัย และการกากบั ดแู ล
สั่งการของ รมต.

๕. ตรวจสอบรูปแบบของเร่ืองให้ตรง ตรวจสอบความถูกตอ้ ง
ตามระเบียบ ครบถว้ นของเรือ่ ง

๖. ประสานงาน ศึกษา และวิเคราะห์ ประสานศกึ ษา วเิ คราะห์
กล่ันกรอง กลน่ั กรอง เสนอความเห็น

๗. สรุปเร่ืองโดยการจัดทาบนั ทึกขอ้ ความ สรุปเรื่อง

๘. เสนอบันทึกข้อความให้หัวหน้า แก้ไข
สานักงานรัฐมนตรีพิจารณาเห็นชอบ
เพ่ือเสนอเลขานุการรัฐมนตรีพิจารณา หน. สร.มท.
ลงนามเสนอต่อรัฐมนตรีและผู้บริหาร พจิ ารณา
ระดับสูง

ลข.รมต.
ลงนาม

- 42 -

(๒) การประสานการตรวจราชการของรฐั มนตรี
การตรวจราชการเป็นเคร่ืองมือสาคัญในการติดตาม ผลักดัน ลดความเส่ียง ลดภาระ

ท่ีไม่จาเป็น ตลอดจนการขจัดปัญหาการดาเนินงาน เพ่ือให้นโยบายถูกนาไปปฏิบัติให้เป็นไปตามเป้าหมายท่ีกาหนด
การประสานการตรวจราชการของรัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทย เป็นรูปแบบการตรวจราชการแบบผสมผสาน
เพ่ือติดตามความก้าวหน้าและผลักดันนโยบายของกระทรวงมหาดไทยและนโยบายของรัฐบาลไปสู่การปฏิบัติ
ซึ่งการปฏิบัติน้ีครอบคลุมขั้นตอนก่อนการออกตรวจราชการ โดยการศึกษาข้อมูล วิเคราะห์และจัดทาแผน
การตรวจราชการ การประสานงานกับส่วนราชการ การขออนุมัติเดินทางไปราชการ ระหว่างการตรวจราชการ
โดยการรับฟังผลการดาเนินงาน ข้อคิดเห็น ปัญหาอุปสรรคจากหน่วยงานรับตรวจ ตลอดจนการให้คาแนะนา
หรือข้อสั่งการเพ่ิมเติม และหลังการตรวจราชการ โดยการรวบรวมประมวลผลการตรวจราชการ รายงานผล
การเดินทางไปราชการ ตลอดจนการวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือกาหนดมาตรการ/แนวทางสาหรับแก้ไขปัญหาที่ได้จาก
การตรวจราชการเพ่ือให้การขับเคล่ือนนโยบายต่าง ๆ เกิดประสิทธิภาพบรรลุตามวิสัยทัศน์ของกระทรวงมหาดไทย
โดยมขี ัน้ ตอนการปฏิบัติงาน ดงั น้ี

๑) ก่อนการตรวจราชการ
- รัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแผนการตรวจราชการหรือมีนโยบายกาหนด

ออกตรวจราชการ
- หวั หน้าสานกั งานรฐั มนตรี และกลุ่มงานบริหารร่วมกาหนดแนวทางการตรวจราชการ

โดยประสานกับหน่วยงานท่ีรับผิดชอบหรือเก่ียวข้องกับแผนงาน/โครงการ หรือประเด็นที่จะตรวจราชการ
เพื่อศึกษารวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ จัดทาประเด็น สรุปสาระสาคัญที่จะใช้ในการตรวจราชการ เสร็จแล้วให้เสนอ
ต่อรฐั มนตรเี พื่อขอความเห็นชอบหรือพิจารณาวนิ ิจฉยั ส่ังการเพ่ิมเตมิ

- ประสานหนว่ ยงานท่รี ับการตรวจ เพื่อทาการสารวจสภาพพ้ืนที่เตรียมความพร้อม
ในด้านต่าง ๆ และร่วมประชุมเพื่อจัดทากาหนดการตรวจราชการ การแจ้งการเตรียมข้อมูลและประเด็นที่จะใช้
ในการตรวจราชการ

- ขออนุมัติงบประมาณและการเดินทางตรวจราชการ ประสานขออนุมัติใช้รถยนต์
ราชการหรือประสานการจองตั๋วเครือ่ งบนิ โดยสาร (กรณเี ดินทางโดยเครื่องบินโดยสารหรอื การเช่าเหมาลาเคร่ืองบิน
ของหน่วยงานราชการอื่น) ประสานจองที่พักสาหรับคณะที่ออกตรวจราชการ (กรณีไปตรวจราชการหลายวัน)
และประสานเช่ารถยนต์หรือขอความอนุเคราะห์ขอใช้รถยนต์ราชการของหน่วยงานที่รับการตรวจราชการ
สาหรับใชเ้ ป็นพาหนะในการเดนิ ทางไปยังจดุ ต่าง ๆ ในการตรวจราชการ

- แจ้งหน่วยงานที่เก่ียวข้องเพ่ือเข้าร่วมการตรวจราชการ และส่งหนังสือแจ้งหน่วยงาน
ทีร่ ับการตรวจเพ่ือทราบกาหนดการ และเตรียมความพร้อมในส่วนที่เกี่ยวข้องสาหรับการรับการตรวจราชการ

๒) ระหวา่ งการตรวจราชการ
- ประสาน อานวยการ บริหารจดั การ และปฏิบัติหน้าที่เพื่อสนับสนุนให้การตรวจราชการ

เปน็ ไปด้วยความเรยี บรอ้ ย มีประสทิ ธภิ าพสูงสดุ

- 43 -
- จดบันทึก รวบรวมข้อมูล เอกสารผลการดาเนินงาน ปัญหาอุปสรรค
และข้อเสนอแนะท่ีเกี่ยวกับแผนงาน/โครงการ หรือประเด็นของการตรวจราชการ ซึ่งอาจจะดาเนินการร่วมกับ
หนว่ ยงานที่รับผดิ ชอบหรือเกยี่ วขอ้ งกบั แผนงาน/โครงการหรอื ไม่ก็ได้
๓) ห ังการตรวจราชการ
- รวบรวม สรุปผลการตรวจราชการและรายงานเสนอรัฐมนตรีเพื่อโปรดทราบ
หรือพิจารณาวินิจฉัยสั่งการเพ่ิมเติม กรณีที่มีข้อส่ังการเพิ่มเติมให้จัดทาเป็นหนังสือแจ้งไปยังหน่วยงานที่เก่ียวข้อง
เพ่อื ดาเนินการตอ่ ไป
- สรุปผลและรายงานการเดินทางไปราชการเพื่อส่งใช้เงินยืมหรือการขออนุมัติ
เบิกค่าใชจ้ า่ ยในการเดนิ ทางไปราชการตามระเบยี บ กฎหมายทีก่ าหนด

หน่วยงานรับผิดชอบ : สานกั งานรัฐมนตรี กระทรวงมหาดไทย โทร. ๐ ๒๒๒๒ ๗๑๗๔ (มท.) ๕๐๐๐๓

- 44 -

แผนภาพแสดงข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิงาน

ขน้ั ตอนการปฏิบตั งิ าน ผังงาน ระยะเว า

ก่อนการตรวจราชการ -
๑ – ๒ วนั
๑. รัฐมนตรีเห็นชอบและกาหนด รมต. เห็นชอบ/ ๒ – ๓ วนั
ออกตรวจราชการ
๒ – ๓ วนั
๒. หั วห น้า สา นัก งา นรั ฐม นต รี กาหนดแนวทาง รายงาน ๑ – ๒ วัน
กาหนดแนวทางการตรวจราชการ การตรวจราชการ รมต.ทราบ
-
๓. จัดทากาหนดการตรวจราชการ สารวจพืน้ ที่ จัดทากาหนดการ -
และประเดน็ การตรวจราชการ และประเด็นการตรวจราชการ
๒ – ๓ วนั
๔ . ข ออ นุ มั ติ ง บ ป ร ะ ม า ณ แ ล ะ ขออนุมตั งิ บประมาณ/
การเดินทางตรวจราชการ ขออนมุ ตั เิ ดนิ ทาง ๓ – ๕ วัน

ประสานรถยนต์/ทีพ่ กั

๕ . แ จ้ ง ห น่ ว ย ง า น ท่ี เ กี่ ย ว ข้ อ ง สง่ หนงั สอื แจ้งหน่วยงาน
เตรียมความพรอ้ ม
ระหวา่ งการตรวจราชการ สนบั สนนุ การตรวจ
๑. ปฏบิ ตั ิหนา้ ทเ่ี พอื่ สนบั สนุน
การตรวจราชการ จดบนั ทึก
รวบรวมข้อมลู
๒. จดบนั ทึก รวบรวมข้อมูล
สรปุ ผลการตรวจ แจ้งให้
ห งั การตรวจราชการ ราชการ หน่วยงาน
๑. สรุปผลการตรวจราชการเสนอ ดาเนนิ การ
รฐั มนตรีทราบ/พิจารณา รายงาน รมต.
กรณีทม่ี ีขอ้ สงั่ การเพ่ิมเติม ทราบ/พิจารณา
แจง้ ไปยงั หน่วยงาน

๒. รายงานการเดินทางไปราชการ

รายงานการเดินทาง/
สง่ ใช้เงินยืม

- 45 -

(๓) การประสานการประชุมคณะรัฐมนตรี
สานักงานรัฐมนตรี กระทรวงมหาดไทย มีหน้าที่และภารกิจเกี่ยวกับราชการ

ทางการเมือง โดยมีเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นผู้บังคับบัญชา มีภารกิจเกี่ยวกับราชการ
ทางการเมอื ง ในการสนบั สนุนภารกจิ ของรฐั มนตรี ประสานนโยบายระหว่างกระทรวง รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์
กล่ันกรอง รวมทั้งเสนอความเห็นประกอบการวินิจฉัยส่ังการของรัฐมนตรี สนับสนุนงานการประชุมคณะรัฐมนตรี
การประชุมสภาผู้แทนราษฎร และการประชุมสมาชิกวุฒิสภา ประสานงานการตอบกระทู้และชี้แจงญัตติ
หรือร่างพระราชบัญญัติ สานักงานรัฐมนตรีฯ เน้นบทบาทหลักในการประสานงานและอานวยการสนับสนุน
การปฏิบัติงานของรัฐมนตรี ท้ังในมิติของการประสานงาน การบูรณาการ อานวยการ และเป็นแกนกลาง
ประสานงานกับส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงมหาดไทย และหน่วยงานภายนอก โดยมีขั้นตอน
การปฏบิ ตั งิ าน ดังนี้

๑) กระบวนการในการนาเสนอเรอื่ งต่อคณะรฐั มนตรี
- ตรวจสอบเร่ืองของส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ ที่เสนอเรื่องผ่านข้ันตอน

ของกรม/สานักงานปลัดกระทรวง และปลัดกระทรวงมายังสานักงานรัฐมนตรีฯ เจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบ
เร่ืองตรวจสอบสาระสาคัญของเร่ืองตามแนวทางปฏิบัติในการเสนอเร่ืองต่อคณะรัฐมนตรี (หนังสือเลขาธิการ
คณะรัฐมนตรี ด่วนที่สุด ที่ นร ๐๕๐๒/ว ๑๑ ลงวันท่ี ๘ มกราคม ๒๕๖๓ และหนังสือสานักงานเลขาธิการ
คณะรัฐมนตรี ด่วนท่ีสุด ท่ี นร ๐๕๐๒/ว ๓๕๗ ลงวันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ถูกต้องครบถ้วนหรือไม่ หากไม่ครบถ้วน
ให้ประสานแจง้ เจ้าของเร่ืองเพอ่ื ขอข้อมูลหรอื นากลับไปแก้ไข

- สรุปประเด็นเป็นบันทึกข้อความนาเรียนรัฐมนตรี เพื่อพิจารณาลงนาม
เมือ่ รฐั มนตรลี งนามและส่งเรื่องคืนแล้ว สานกั งานรัฐมนตรีฯ จะส่งเรื่องคืนหนว่ ยงานเจา้ ของเรอ่ื ง

๒) การดาเนินการเม่ือมีการบรรจุเรื่องของกระทรวงมหาดไทยเข้าสู่ระเบียบวาระ
การประชุมคณะรฐั มนตรี

- ตรวจสอบและพิจารณาระเบียบวาระการประชุม (เรื่องเพื่อทราบ/เร่ืองเพื่อ
พิจารณา) ที่เกี่ยวข้องกับกระทรวงมหาดไทย (เป็นเรื่องของกรมหรือหน่วยงานอ่ืนในสังกัดกระทรวงมหาดไทย
เสนอเอง/เสนอความเห็น) ซ่ึงใน ๑ สัปดาห์จะมีการจัดทา จานวน ๒ ครั้ง คือ วันศุกร์ซ่ึงเป็นวาระการประชุมปกติ
และ วนั จนั ทร์ เป็นวาระการประชมุ เพม่ิ เติม

- ประสานหน่วยงานเจ้าของเร่ือง (เรื่องเสนอเอง/เสนอความเห็น) ที่เข้าสู่วาระ
การประชุม โดยให้จัดทาคาเสนอหรือคาชี้แจง ส่งให้สานักงานรัฐมนตรีฯ พร้อมท้ังประสานขอให้ผู้บริหารระดับสูง
ของหน่วยงานท่ีมีเรื่องเข้าสู่วาระการประชุมคณะรัฐมนตรี ต้ังแต่ระดับผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร อธิบดี
หรือผู้ว่าการฯ เว้นกรณีจาเป็นอาจมอบหมายให้รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร รองอธิบดี หรือรองผู้ว่าการฯ
แล้วแต่กรณี ไปรอชี้แจงหรือให้ข้อมูลเพ่ิมเติมแก่รัฐมนตรี และขอให้ติดตามผลการประชุมคณะรัฐมนตรี
ตามระเบยี บวาระการประชมุ จนกวา่ เรื่องของหนว่ ยงานจะผ่านการพิจารณาของทีป่ ระชมุ คณะรัฐมนตรีแล้ว

- 46 -
๓) จดั เตรียมข้อมลู เอกสารประกอบการประชมุ คณะรัฐมนตรี ดาเนินการดังน้ี

- วิเคราะห์และสรุปเรื่องท่ีเสนอต่อคณะรัฐมนตรี โดยประกอบไปด้วยหัวข้อ
ดังต่อไปน้ี คือ ช่ือเร่ือง ส่วนราชการท่ีเก่ียวข้อง สาระสาคัญของเรื่อง ความเห็นของสานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
ความเห็นของส่วนราชการที่เกยี่ วข้อง และความเห็นของกระทรวงมหาดไทย

- จัดทาหนังสือบันทึกแสดงวาระการประชุม ซึ่งประกอบไปด้วย เรื่องเพ่ือทราบ
เรือ่ งเพ่อื พิจารณา เรอ่ื งเพอ่ื ทราบเปน็ ข้อมลู และสรปุ บญั ชเี รือ่ งทเ่ี สนอคณะรฐั มนตรี

- เสนอหัวหน้าสานักงานรัฐมนตรี กระทรวงมหาดไทย เพื่อลงนามในหนังสือ
เพื่อแจ้งให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย เลขานุการรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงมหาดไทย ที่ปรกึ ษารฐั มนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทยทราบ ตอ่ ไป

- จดั ทาแฟ้มประชมุ คณะรฐั มนตรี โดยมีสาระสาคัญประกอบด้วย บันทึกแสดงวาระ
การประชุม สรุปวาระ สรุปบัญชีเร่ืองที่เสนอคณะรัฐมนตรี สาเนาเร่ืองท่ีเก่ียวข้อง และคาชี้แจงเร่ืองท่ีเสนอ
คณะรฐั มนตรี

หนว่ ยงานรับผิดชอบ : สานกั งานรฐั มนตรี กระทรวงมหาดไทย โทร. ๐ ๒๒๒๒ ๗๑๗๔ (มท.) ๕๐๐๐๓

- 47 -

กระบวนการเสนอเรื่องตอ่ คณะรฐั มนตรี
ของสานกั งานรัฐมนตรี กระทรวงมหาดไทย

งานเสนอเร่ือง งานประชุม ครม.

เจ้าของเรอื่ ง เสนอ สลค.

ความเ วาระปกติ วาระเพม่ิ เติม
ทุกวันศกุ ร์ ทกุ วนั จนั ทร์
ส่วนราชการ/รัฐวสิ าหกิจ
เสนอเรอ่ื งผ่านขัน้ ตอน
กรม - สป. ปลดั กระทรวง

สร.มท.  ตรวจสอบ สป.มท.  จดั จนท.
 สรุปประเด็น สร.มท. รับวาระ
รมต.  เสนอลงนาม
 ขอรหสั ลบั
เสนอเพอ่ื ลงนาม รมต.
บรรจุเขา้
ระเบียบ สลค.  พิจารณาระเบียบวาระการประชมุ
(เร่ืองเพือ่ ทราบ/เรื่องเพอ่ื พิจารณา)
วาระ แจ้งให้
ส่วนราชการ  แจง้ สป./กรม/รัฐวิสาหกจิ จดั ทาคาช้แี จง
เสนอความเห็น ตามฟอร์มที่ สลค. กาหนด

นรม.  สง่ คาชแี้ จงพรอ้ มระบชุ อ่ื ตาแหนง่ ผูช้ ี้แจง
ของส่วนราชการให้ สร. ทราบ
หอ้ งช้ีแจงดว้ ยระบบ
สอื่ สารทางไกล  จัดทาแฟม้ สรุปวาระประชุม ครม. โดยมีสาระสาคญั
ประกอบดว้ ย บันทกึ แสดงวาระ สรปุ วาระ สรปุ
(VDO CONFERENCE) บัญชี เรือ่ งทเ่ี สนอ ครม. สาเนาเรอื่ งทเี่ กี่ยวข้อง
และคาช้แี จงเรอื่ งเสนอ ครม.

ทุกวนั องั คาร รมต.
เวลา 09.00 น. ครม.

- 48 -
๓.๑.๓ การสนบั สนุนการตรวจราชการของผต้ รวจราชการกระทรวงมหาดไทย

วงจรการตรวจราชการ
การจดั ทาแผนการตรวจราชการ

การปฏบิ ตั ิการตรวจราชการ

การรายงานผ แ ะติดตามผ การตรวจราชการ

การตรวจราชการเป็นเครื่องมือสาคัญในการบริหารของกระทรวงมหาดไทย โดยการตรวจติดตาม
ของผู้ตรวจราชการและคณะจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานมีความรู้ความเข้าใจในแนวนโยบายที่ได้รับจากส่วนกลาง
และนาสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ดังนั้น หากการตรวจราชการเปรียบเสมือนฟันเฟือง

- 49 -

การทางานแล้ว การสนบั สนุนการตรวจราชการจึงเปรียบเสมือนเคร่ืองมือท่ีช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการตรวจราชการ
ของผ้ตู รวจราชการกระทรวงมหาดไทย ซึง่ การสนับสนุนการตรวจราชการมีกระบวนงาน ๓ กระบวนงาน ดงั นี้

(๑) การจัดทาแผนการตรวจราชการ
๑) ศึกษาวิเคราะห์นโยบายรัฐบาล แผนปฏิบัติราชการกระทรวงมหาดไทยประจาปี

และนโยบายสาคัญของกระทรวงมหาดไทย เพ่ือเป็นแผนการปฏิบัติงานของผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย
ประจาปีใหเ้ ป็นไปตามนโยบายรัฐบาลและกระทรวงมหาดไทย

๒) จัดทาเสนอร่างแผนการตรวจราชการฯ ต่อคณะกรรมการกาหนดแผนและติดตาม
ผลการตรวจราชการของกระทรวงมหาดไทยพจิ ารณาใหค้ วามเห็นชอบ

๓) จัดทาคาส่ังกระทรวงมหาดไทย เร่ือง แผนการตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. .... เสนอรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยพิจารณาให้ความเห็นชอบและลงนาม
ในคาสงั่ แผนการตรวจราชการฯ

๔) แจ้งคาส่ังกระทรวงมหาดไทย เร่ืองแผนการตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. .... ให้กระทรวงทุกกระทรวง ผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย กรม/หน่วยงาน
ในสังกัดกระทรวงมหาดไทย หัวหน้าหน่วยงานในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย และจังหวัดทราบ
เพือ่ สนับสนุนการปฏิบัตงิ านตรวจราชการในสว่ นท่ีเก่ยี วขอ้ ง

(๒) การปฏิบัตกิ ารตรวจราชการ
๑) การจัดทาประเด็นการตรวจราชการประจาเดือนโดยการจัดประชุมผู้ตรวจราชการ

กระทรวงมหาดไทย เป็นประจาทุกเดือน เพ่ือให้ผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย ผู้ตรวจราชการกรม/หัวหน้า
หน่วยงานรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงมหาดไทย และหน่วยงานในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย
ร่วมกนั พิจารณาขอ้ มลู ประเด็นการตรวจราชการ เสนอผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทยให้ความเห็นชอบกาหนด
เปน็ ประเดน็ การตรวจราชการประจาเดือน

๒) กลุ่มงานสนับสนุนผู้ตรวจราชการจัดทาประเด็นการตรวจราชการประจาเดือน
และข้อมูลประกอบการตรวจราชการพร้อมบันทึกในระบบการตรวจราชการด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์
(E – inspection) แจง้ ผูต้ รวจราชการกระทรวงมหาดไทย จงั หวัด และหน่วยงานที่เกีย่ วข้องดาเนินการ

๓) ผู้ช่วยผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทยวิเคราะห์งาน/โครงการตามประเด็น
การตรวจราชการ จัดทาข้อมูลประกอบการตรวจราชการ พร้อมท้ังจัดทาปฏิทินการออกตรวจราชการแจ้งจังหวัด
และหน่วยงานที่เก่ียวข้อง เพื่อเตรียมความพร้อมในการสนับสนุนการตรวจราชการในพ้ืนท่ี รวมท้ังการขออนุ มัติ
เดินทางไปราชการของผ้ตู รวจราชการกระทรวงมหาดไทย

๔) ผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทยออกตรวจราชการในเขตตรวจราชการ
ทร่ี ับผดิ ชอบ โดยมผี ูช้ ว่ ยผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทยเป็นฝา่ ยเลขานุการในการบันทกึ ข้อมูลการตรวจราชการ
ในพ้ืนท่ี และบันทกึ ผลการตรวจราชการ ข้อเสนอแนะ ตลอดจนปญั หา/อุปสรรคลงในสมดุ ตรวจราชการ (ปค. ๒)

- 50 -

(๓) การรายงานผ แ ะตดิ ตามผ การตรวจราชการ
๑) หน่วยงานรับตรวจ (จังหวัด) จัดส่งรายงานผลการดาเนินงาน ปัญหา อุปสรรค

เบื้องต้นตามประเด็นการตรวจราชการประจาเดือน พร้อมบันทึกในระบบการตรวจราชการแบบอิเล็กทรอนิกส์
(E - Inspection)

๒) กลุ่มงานสนับสนุนและประสานการตรวจราชการตรวจสอบรายงานผล
การดาเนินการตามประเด็นการตรวจราชการประจาเดือนของหน่วยรับตรวจให้ถูกต้อง และครบถ้วนตามประเด็น
การตรวจราชการประจาเดือน

๓) จัดสง่ รายงานผลการดาเนินการตามประเด็นการตรวจราชการประจาเดือนเบ้ืองต้น
ใหผ้ ตู้ รวจราชการกระทรวงมหาดไทย เพื่อประกอบการตรวจราชการ

๔) จัดทารายงานผลการตรวจราชการ และข้อเสนอแนะของผู้ตรวจราชการ
กระทรวงมหาดไทยเป็นรายเขตตรวจราชการ เสนอผู้บริหารระดับสูง และสาเนาให้กลุ่มงานสนับสนุนและประสาน
การตรวจราชการ สานักตรวจราชการและเร่อื งราวรอ้ งทกุ ข์ สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย

๕) กลุ่มงานสนับสนุนและประสานการตรวจราชการรวบรวมประมวลผล
การตรวจราชการ และข้อเสนอแนะของผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทยเป็นรายภูมิภาค เสนอผู้บริหาร
กระทรวงมหาดไทย และจัดทา/แจ้งข้อเสนอแนะของผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทยให้หน่วยรับตรวจ
ดาเนนิ การในสว่ นทเ่ี ก่ียวข้อง

๖) กลุ่มงานสนับสนุนและประสานการตรวจราชการรายงานผลการดาเนินงาน
ตามข้อเสนอแนะของผตู้ รวจราชการกระทรวงมหาดไทย และรายงานจนกวา่ ประเดน็ น้ันจะแลว้ เสรจ็

๗) กลุ่มงานสนับสนุนและประสานการตรวจราชการสรุป/จัดทารายงานผล
การตรวจราชการเสนอผู้บริหารกระทรวงมหาดไทย รายงานผลการตรวจราชการรอบ ๖ เดือนและรายงานผล
การตรวจราชการประจาปี

หน่วยงานรับผิดชอบ : กลุ่มงานสนบั สนุนและประสานการตรวจราชการ สานักตรวจราชการและเรอื่ งราวรอ้ งทุกข์ สป.
โทร. ๐ ๒๒๒๑ ๑๑๒๖ (มท.) ๕๐๔๕๗

๓.๑.๔ การสนับสนนุ ผบ้ ริหารระดับสงของกระทรวงมหาดไทย
กลุม่ งานสนบั สนนุ ปลัดกระทรวง สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย เป็นหน่วยงานภายใน

ที่จดั ตงั้ ข้นึ และให้รายงานตรงตอ่ ปลดั กระทรวงมหาดไทย โดยมภี ารกจิ สาคญั ดังนี้
(๑) การปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีเ ขานุการของผบ้ ริหารระดบั สงสานกั งานป ัดกระทรวงมหาดไทย
๑) งานสนบั สนุนผบ้ รหิ าร นการเดนิ ทางไปราชการ
- การขออนุมัติรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทย เพ่ือเดินทางไปราชการ กลุ่มงาน

สนับสนนุ ปลดั กระทรวง เป็นผทู้ าหนังสอื ขออนุมัตเิ ดินทางไปราชการของผู้บริหารระดับสูงสานักงานปลัดกระทรวง
มหาดไทย ต่อรฐั มนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

- 51 -

- การสนับสนุนด้านการเงิน ได้แก่ การดาเนินการยืมเงินทดรองราชการ การส่งใช้
เงินยมื ฯ และการขออนมุ ัติเบกิ คา่ ใช้จ่ายในการไปราชการ

๒) งานจดั ทาขอ้ ม ประกอบการเดินทางไปราชการของผ้บริหารระดับสงสานักงาน
ป ัดกระทรวงมหาดไทย ในการเดินทางไปราชการในแต่ละครั้ง กลุ่มงานสนับสนุนปลัดกระทรวง จะดาเนินการ
จดั ทาข้อมูลประกอบการเดินทางไปราชการ เพ่ืออานวยความสะดวกด้านข้อมูลแก่ผู้บริหารระดับสูงของสานักงาน
ปลัดกระทรวงมหาดไทย

๓) งานชุดส่วน ่วงหน้า ในการเรียนเชิญผู้บริหารระดับสูงของสานักงานปลัดกระทรวง
มหาดไทย กลุ่มงานสนับสนุนปลัดกระทรวง จะมีการจัดชุดส่วนล่วงหน้า เพื่อเตรียมความพร้อมด้านสถานท่ี
และอานวยความสะดวกในพ้นื ที่แกผ่ ู้บริหาร

(๒) การวิเคราะห์สรุป ประสานงาน ติดตาม แ ะเสนอแนะ นงานสาคัญเร่งด่วน
แกผ่ ้บรหิ ารกระทรวงมหาดไทย แ ะงานคณะกรรมการผ้บรหิ าร

สนับสนุนการปฏิบัติงานของปลัดกระทรวงมหาดไทย ทั้งการวิเคราะห์ ประสานงาน
ติดตาม และเสนอแนะ และงานคณะกรรมการต่าง ๆ ที่ปลัดกระทรวงมหาดไทยร่วมเป็นกรรมการ เช่น
คณะกรรมการบรหิ ารมลู นธิ ิสวนสมเดจ็ พระศรีนครินทร์ ซง่ึ ปลัดกระทรวงมหาดไทย มีฐานะเปน็ ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์
ของคณะกรรมการฯ ท้ังการกากับ ดูแล และติดตามผลการดาเนินงานของสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ในแต่ละ
จังหวัดทุกปี สรุปการประชุมคณะกรรมการฯ ใช้กลไกท่ีมีอยู่ ส่ังการ ประสานงานหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง
เพ่ือสนับสนุนการดาเนินงานของสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ในแต่ละจังหวัดให้การดาเนินงานดูแลรักษาสวนสมเด็จฯ
เปน็ ไปดว้ ยความเรียบร้อย

หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ : กล่มุ งานสนับสนุนปลดั กระทรวงมหาดไทย โทร. ๐ ๒๒๒๓ ๖๐๙๖ (มท.) ๕๐๒๔๗

๓.๑.๕ การอานวยการแ ะประสานราชการของกระทรวงมหาดไทย
กองกลาง สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบเก่ียวกับภารกิจ

ด้านการอานวยการและประสานราชการของกระทรวงมหาดไทย โดยมีภารกิจสาคญั ดงั น้ี
(๑) งานอานวยการ
๑) งานสารบรรณกลางของสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยและกระทรวงมหาดไทย

โดยการรับหนังสือจากส่วนราชการและหน่วยงานต่าง ๆ พร้อมจัดส่งหนังสือให้แก่ส่วนราชการ หน่วยงาน
รัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงมหาดไทย และหน่วยงานในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ไปดาเนินการ
ตามภารกิจที่รับผิดชอบ รวมท้ังดาเนินการเสนอหนังสือ
ของส่วนราชการ หน่วยงานรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวง
มหาดไทย และหนว่ ยงานในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวง
มหาดไทยนาเรียนผู้บริหารเพ่ือโปรดพิจารณาและส่งคืน
หนังสือท่ีผู้บริหารพิจารณาลงนามแล้วให้หน่วยงาน

- 52 -

เจ้าของเร่ืองไปดาเนินการต่อไป ตลอดจนการออกเลขท่ีหนังสือ เลขท่ีคาส่ัง ของกระทรวงมหาดไทยและสานักงาน
ปลัดกระทรวงมหาดไทยให้แก่ส่วนราชการ หน่วยงานรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงมหาดไทย และหน่วยงานใน
สงั กัดสานักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย ท้ังน้ี ในปัจจุบันได้มีการปรับปรุงงานระบบงานสารบรรณจากเดิมให้เป็น
ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ตามนโยบายรัฐบาล “ไทยแลนด์ 4.0” โดยการใช้ระบบเทคโนโลยีในภาคการบริการ
เพื่อเป็นการลดการใชก้ ระดาษ ระยะเวลา และทรัพยากรบุคคล

๒) อานวยการจัดงานพระราชพิธีที่สาคัญตามท่ีกระทรวงมหาดไทยได้รับมอบหมาย
อาทิ งานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุยเดช บรมนาถบพิตร
งานพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒ การจัดทาน้าอภิเษกในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก
พุทธศักราช ๒๕๖๒ โดยดาเนินการจัดงานพระราชพิธีในส่วนท่ีได้รับมอบหมายให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย
สวยงาม และสมพระเกยี รติยศ

๓) อานวยความสะดวกแก่ผู้บรหิ ารกระทรวงมหาดไทย ในการเข้ารว่ มงานพระราชพธิ ี รฐั พิธี
งานพิธี และงานเรียนเชญิ จากหนว่ ยงานตา่ ง ๆ อาทิ เฝ้ารบั เสดจ็ ฯ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ วั ในการพระราชพธิ สี าคัญ
ต่าง ๆ พิธีลงนามถวายพระพรชัยมงคล พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ
พระบรมราชนนีพันปีหลวง สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี และพระบรมวงศานุวงศ์ เน่ืองในโอกาสวันเฉลิม
พระชนมพรรษา/วันประสูติ พิธีวางพวงมาลาและพานพุ่มถวายราชสักการะ เนื่องในโอกาสวันสาคัญต่าง ๆ
ของสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชเจ้าทุกพระองค์และงานพิธีสาคัญทางศาสนา โดยดาเนินการจัดการเตรียม
ความพร้อมให้แก่ผู้บริหาร อาทิ หมายกาหนดการ กาหนดการ เครื่องประกอบพิธี การแต่งกาย การประสานงาน
กับเจ้าหน้าท่ีท่ีเกี่ยวข้องเกี่ยวกับท่ีน่ังและภารกิจของผู้บริหารในงาน ตลอดจนการจัดรถรับ - ส่ง ผู้บริหาร
ในการเขา้ รว่ มงานจนเสรจ็ สิ้นภารกิจ

๔) อานวยการจัดงานพิธีท่ีสาคัญของกระทรวงมหาดไทย อาทิ งานวันคล้าย
วันสถาปนากระทรวงมหาดไทย วันท่ี ๑ เมษายน ของทุกปี งานวันคล้ายวันสิ้นพระชนม์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ
กรมพระยาดารงราชานุภาพ วันที่ ๑ ธันวาคม ของทุกปี งานพิธีถวายผ้าพระกฐินพระราชทานของกระทรวงมหาดไทย
ประจาปี โดยเปน็ หน่วยงานดาเนนิ การจัดงานพิธีและอานวยความสะดวกให้แกผ่ ู้บรหิ ารเข้ารว่ มงานพธิ ี

๕) ปฏิบัติหน้าท่ีเลขานุการผู้บริหารกระทรวงมหาดไทย ในการเข้าร่วมประชุม
กับหน่วยงานต่าง ๆ (กรณีท่ีไม่มีหน่วยงานรับผิดชอบ) โดยการเตรียมความพร้อมให้แก่ผู้บริหาร อาทิ
การประสานงานกับเจ้าหน้าที่ท่ีเกี่ยวข้องในการจัดประชุมเพ่ือจัดเตรียมข้อมูลสาหรับผู้บริหารประกอบ
การประชุม การจดบนั ทึกและสรุปการประชมุ นาเรียนผูบ้ ริหารเพือ่ โปรดพจิ ารณาส่ังการ

- 53 -

(๒) งานประสานราชการ
๑) ประสานงานกับส่วนราชการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงมหาดไทย

และจังหวัด ในการดาเนินการเก่ียวกับงานพระราชพิธี งานรัฐพิธี และงานพิธีต่าง ๆ ตามท่ีกระทรวงมหาดไทย
ได้รับมอบหมาย โดยให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย สวยงาม และสมพระเกียรติยศ ตามท่ีกาหนด รวมทั้งประสาน
การดาเนินการตามข้อสั่งการของสานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีเกี่ยวกับการลดธงครึ่งเสา เพื่อเป็นการไว้อาลัย
แก่ผูน้ าประเทศต่าง ๆ

๒) ประสานงานส่วนราชการ/หน่วยงานรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงมหาดไทย
และจังหวัด ในการดาเนินการเกี่ยวกับรายงานของคณะกรรมาธิการสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา รวมทั้งการตอบ
กระทู้ถาม/ข้อหารือ ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภา ภายในระยะเวลาที่กาหนด เพื่อนา
เรียนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยโปรดพิจารณาให้ความเห็นชอบและลงนามในหนังสือนาเรียนประธาน
กรรมาธิการสภาผู้แทนราษฎร ประธานกรรมาธิการวุฒิสภา เลขาธิการนายกรัฐมนตรี เลขาธิการคณะรัฐมนตรี
และเลขาธิการวุฒสิ ภา เพื่อโปรดทราบ

๓) ประสานส่วนราชการ หน่วยงานรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงมหาดไทย และจังหวัด
ดาเนินการตามระเบียบ/กฎหมายท่ีเก่ียวกับเรื่อง ข้อมูลข่าวสารของราชการ งานสารบรรณ การรักษาความปลอดภัย
และการใชธ้ ง เพอื่ ใหก้ ารดาเนินการในเรื่องดงั กลา่ วเป็นไปด้วยความถูกต้องตามระเบยี บ/กฎหมาย ท่กี าหนด

๔) ประสานหน่วยงานรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงมหาดไทย จานวน ๖ หน่วยงาน
ได้แก่ (๑) การไฟฟ้านครหลวง (๒) การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (๓) การประปานครหลวง (๔) การประปาส่วนภูมิภาค
(๕) องค์การตลาด และ (๖) องค์การจัดการน้าเสีย เพ่ือดาเนินการแต่งตั้งประธานกรรมการ กรรมการรัฐวิสาหกิจ
ของหน่วยงาน และผวู้ ่าการ/ผอู้ านวยการ รวมทั้งการดาเนนิ การเก่ียวกับสิทธิประโยชน์ต่าง ๆ ของพนักงานรัฐวิสาหกิจ
ตามที่คณะกรรมการรัฐวิสาหกิจหรือสหภาพรัฐวิสาหกิจร้องขอ เพ่ือให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยตามลาดับขั้นตอน
และถูกต้องตามระเบียบ/กฎหมายที่กาหนด พร้อมนาเรียนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเพ่ือโปรดทราบ
และพิจารณาหรือนาเสนอคณะรัฐมนตรีเพ่ือพิจารณาให้ความเห็นชอบตามขั้นตอนของระเบียบ/กฎหมายที่เก่ียวข้อง
ตอ่ ไป

๕) ประสานงานกับจังหวัดเกี่ยวกับการขอพระราชทานทูลเชิญเสด็จพระราชดาเนิน
ไปในการพิธีต่าง ๆ ในพื้นที่ของจังหวัด รวมทั้งการขอใช้เคร่ืองหมายทางราชการและการเปลี่ยนเคร่ืองหมาย
ราชการของจงั หวัด เพอ่ื ให้การดาเนนิ การของจงั หวดั เปน็ ไปด้วยความถูกต้องตามระเบยี บ/กฎหมายท่ีกาหนด

๖) ประสานการดาเนินงานกับมูลนิธิในพระบรมราชูปถัมภ์และในพระบรม -
ราชินูปถัมภ์ ซ่ึงผู้บริหารกระทรวงมหาดไทยได้รับการแต่งตั้งเป็นที่ปรึกษา หรือเป็นกรรมการในมูลนิธิ
เพ่ือดาเนนิ การตามภารกจิ ท่ีได้รับมอบหมายให้สาเร็จลุล่วงตามเป้าหมายที่กาหนด รวมท้ังประสานงานกับมูลนิธิอ่ืน ๆ
ท่ีมีความประสงค์ขอรับการสนับสนุนในด้านต่าง ๆ จากกระทรวงมหาดไทย เพ่ือสรุปเป็นข้อมูลนาเรียนผู้บริหาร
ประกอบการพิจารณา

หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ : กองกลาง สป. โทร. ๐ ๒๒๒๑ ๓๘๒๒ (มท.) ๕๐๓๐๔

- 54 -
๓.๒ การสนับสนุนดา้ นการสอื่ สาร

๓.๒.๑ การเช่ือมโยงเครอื ข่าย ICT มหาดไทย

ผู้ขอรบั บริการ (หน่วยงาน/สว่ นราชการ) มหี นงั สอื ถงึ ปมท.

ศสส. ลงทะเบยี นรบั หนังสอื ศสส. ส่งหนงั สือถงึ ฝา่ ยเช่อื มโยง
(20 นาที) เครือข่ายสารสนเทศลการสื่อสาร

(30 นาที)

ศสส.กาหนดรปู แบบ ศสส.ขออนุมัติ ปมท.
ด้านวศิ วกรรมเชื่อมโยง (ปมท.มอบอานาจให้ ผอ.ศสส.)

(7 วนั ) (2 วัน)

ผ้ขู อรับบริการ (หนว่ ยงาน/สว่ นราชการ) ศสส.แจ้งผู้ขอรบั บริการทราบ
จัดหาอุปกรณเ์ ชอ่ื มโยง (ภายหลังไดร้ ับอนุมัต)ิ
(10 นาท)ี

ผู้ขอรับบรกิ าร (หน่วยงาน/สว่ นราชการ) ศสส.ดาเนนิ การติดตงั้ อปุ กรณ์/
แจ้งความพร้อมเพ่ือตดิ ตงั้ เช่ือมโยงอุปกรณ์ ทดสอบ/เชอ่ื มโยงระบบ/รายงานผล

(2 วนั ) (5 วนั )

รวมระยะเวลา 17 วนั
* ไมน่ ับเมอ่ื อุปกรณ์ (อะไหล)่ พรอ้ ม (ไม่ตอ้ งรออะไหล)่
* ไมน่ ับวันเดนิ ทาง / ไมน่ ับช่วงรออปุ กรณ์
* เร่มิ นบั ระยะเวลาเมอื่ เรมิ่ ติดต้ัง ณ จุดตดิ ตัง้
* ผขู้ อรบั บรกิ าร (หนว่ ยงาน/สว่ นราชการ) เปน็ ผจู้ ดั หาอุปกรณ์เช่อื มโยง

- 55 -
๓.๒.๒ การตดิ ตัง้ ระบบส่ือสารดาวเทยี มเคลื่อนท่ี

ผู้ขอรบั บรกิ าร (หน่วยงาน/ส่วนราชการ) มีหนังสือถึง ปมท.

ศสส. ลงทะเบียนรับหนงั สือ ศสส. ส่งหนงั สือถึงฝ่ายระบบวทิ ยุ
(20 นาท)ี และดาวเทยี ม
(40 นาที)

ศสส. ขออนมุ ตั ิ ปมท. ศสส. แจ้งผขู้ อรับบรกิ ารทราบ
(1 ชั่วโมง) (ภายหลังไดร้ ับอนุมัติ)
(10 นาที)
ศสส. เตรยี มอุปกรณ/์ รถยนต์
สื่อสารดาวเทียม มหี นงั สือถงึ กองกากับการตารวจทางหลวง
(3 ชัว่ โมง) ขอรับการสนบั สนนุ รถยนต์นาขบวน
(20 นาท)ี

ศสส.ดาเนนิ การติดตัง้ /ทดสอบ/
เชอื่ มโยงระบบ/วางเครือขา่ ยสอ่ื สาร

รวมระยะเวลา 8.30 ชัว่ โมง
* ไม่นับวันเดินทาง / ไมน่ บั ช่วงรออุปกรณ์
* เริ่มนับระยะเวลาเมื่อเรม่ิ ติดตงั้ ณ จุดตดิ ต้งั

- 56 -
๓.๒.๓ การติดตอ่ ราชการงานตดิ ตัง้ ระบบประชมุ วดี ิทศั น์ทางไกล (VCS)

ผขู้ อรับบริการ (หน่วยงาน/สว่ นราชการ) มหี นงั สอื ถงึ ปมท.

ศสส. ลงทะเบียนรับหนังสอื ศสส. สง่ หนังสือถงึ ฝา่ ยระบบวดี ิทัศน์
(20 นาที) ทางไกลและการประชมุ (VCS)
(หน่วยงานรับผิดชอบ)
(40 นาที)

ศสส. ขออนุมตั ิ ปมท. ศสส. แจง้ ผู้ขอรบั บรกิ ารทราบ
(1 ชัว่ โมง) (ภายหลังได้รับอนุมัต)ิ
(10 นาท)ี

ศสส. เตรยี มอุปกรณ์ฯ ผู้ขอรับบรกิ าร (หน่วยงาน/ ส่วนราชการ)
(50 นาที) ประสานงานกับสานักงานจังหวัดทราบเร่ือง

ขอใช้ระบบ VCS (ในส่วนภูมภิ าค)

ศสส.ดาเนินการติดตัง้ /ทดสอบ/เชื่อมโยง
ระบบเพ่ือใชง้ าน/รายงานผล
(4 ชั่วโมง)

รวมระยะเวลา 7 ชว่ั โมง
* ไม่นบั วนั เดนิ ทาง
* เรม่ิ นับระยะเวลาเม่ือเรมิ่ ติดตง้ั ณ จดุ ตดิ ตัง้

- 57 -
๓.๒.๔ การตรวจซอ่ มอุปกรณเ์ ครอื ข่ายโทรคมนาคมและอุปกรณส์ ื่อสาร

ผ้ใู ช้บรกิ ารแจ้งการขดั ข้อง/ศสส.พบการขดั ข้อง

ศสส.แก้ปัญหาเบ้อื งต้น
(30 นาที)

ศสส.แกป้ ญั หาได้ทนั ที ศสส.แกป้ ญั หาไมไ่ ด้

รายงานผบู้ งั คับบญั ชา (๓๐ นาท)ี
ทราบ
ศสส.ขออนุมัติ ปมท.ตรวจซอ่ ม
(ปมท.มอบอานาจให้ ผอ.ศสส.)

(๒ ชว่ั โมง)*

ศสส.ตรวจซ่อมอปุ กรณ์
และรายงานผล (๔ ช่ัวโมง)

รวมระยะเวลา 7 ชัว่ โมง
* นับเมอื่ อุปกรณ์ (อะไหล่) พรอ้ ม (ไม่ตอ้ งรออะไหล)่
* ไม่นบั วันเดนิ ทาง
* ไมน่ ับเวลาหาก ปมท./ผอ.ศสส. ตดิ ราชการ

หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ : ศูนยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร สป. โทร. ๐ ๒๒๘๒ ๖๕๘๔ (มท.) ๕๑๔๑๐

- 58 -

๓.๒.๕ การประชาสัมพนั ธข์ องกระทรวงมหาดไทย
(๑) ขา่ วมหาดไทย
“ข่าวมหาดไทย” เป็นสื่อประชาสัมพันธ์หลัก ประเภทสื่อสิ่งพิมพ์ของกระทรวงมหาดไทย

มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการแจกจ่ายและเผยแพร่ข่าวสาร ข้อมูลหรือข้อเท็จจริงของกระทรวงมหาดไทย
เช่น ผลการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ พันธกิจ กลยุทธ์ เป้าหมาย เป้าประสงค์ และแผนปฏิบัติการ
ของกระทรวงมหาดไทย การดาเนินงานตามข้อสั่งการหรือนโยบายของผู้บริหารระดับสูงกระทรวงมหาดไทย
การดาเนินงานภารกิจสาคัญของส่วนราชการในสังกัดกระทรวงมหาดไทย ตลอดจนใช้เพ่ือการประชาสัมพันธ์
สร้างการรับรู้และความเข้าใจในนโยบายสาคัญของรัฐบาลและกระทรวงมหาดไทยสู่ประชาชน สาธารณชน
หน่วยงานท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสงั คม และสือ่ สารมวลชนทุกแขนง

ข่าวมหาดไทยเป็นส่ือประชาสัมพันธ์ที่มีบทบาทสาคัญต่องานท่ีเก่ียวข้องกับการบริหาร
ราชการแผน่ ดินท้ังราชการบริหารสว่ นกลาง และราชการบริหารส่วนภมู ิภาค ส่งผลใหเ้ กดิ การสร้างศรัทธา และสร้าง
ภาพลักษณ์ท่ีดีของกระทรวงมหาดไทย ซ่ึงการประชาสัมพันธ์เป็นเครื่องมือสาคัญในการเช่ือมโยงความสัมพันธ์
ระหว่างกระทรวงมหาดไทยและประชาชนทุกระดับ สามารถอานวยประโยชน์ในภารกิจที่จาเป็นต้องได้รับความร่วมมือ
จากประชาชนก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประเทศชาติ กระทรวงมหาดไทย และประชาชนอย่างกว้างขวางโดยมี
ข้นั ตอนการดาเนนิ การ ดงั น้ี

๑) ศึกษากฎหมายท่ีเก่ียวข้อง โครงสร้างและอานาจหน้าที่ของส่วนราชการในสังกัด
กระทรวงมหาดไทย รวมทั้งนโยบายผู้บริหารระดับสูงฝ่ายการเมือง และฝ่ายข้าราชการประจา ยุทธศาสตร์
วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ กลยุทธ์ ตลอดจนแผนปฏบิ ัติการ โครงการ และภารกจิ สาคญั ของกระทรวงมหาดไทย

๒) ติดตามผลการปฏิบัติงานตามภารกิจสาคัญ นโยบายสาคัญ หรือโครงการสาคัญ
ของส่วนราชการสังกัดกระทรวงมหาดไทย และติดต่อประสานงานผู้รับผิดชอบโครงการเพ่ือขอรับการสนับสนุน
ข้อมลู เก่ียวกบั รายละเอยี ดของแผนการดาเนนิ งาน หรือผลสาเรจ็ ของการปฏบิ ัตงิ าน

๓) วิเคราะห์และประมวลข้อมูลผลการปฏิบัติงาน หรือภารกิจสาคัญ นโยบายสาคัญ
เพ่อื ยกร่างข่าวมหาดไทย

๔) จัดทา (ร่าง) ข่าวมหาดไทย โดยนาข้อมูลที่ได้ประมวลเรียบร้อยแล้ว มาเรียบเรียง
ในลักษณะข่าวประชาสมั พนั ธ์เชิงนโยบาย

๕) นาเสนอผู้อานวยการกองสารนิเทศ สป. ในฐานะบรรณาธิการข่าวมหาดไทย
เพือ่ พจิ ารณาให้ความเห็นชอบเผยแพร่

๖) ในกรณีเป็นประเด็นท่ีได้รับความสนใจของสังคมจะนาเสนอผู้บริหารระดับสูง
เพ่อื ใหค้ วามเห็นชอบ

๗) ดาเนินการจัดพิมพ์ข่าวมหาดไทย เพื่อนาเรียนผู้บริหารระดับสูงฝ่ายการเมือง
ฝ่ายข้าราชการประจา สานัก/กอง/ศูนย์/กลุ่ม และแจ้งเวียนส่ือมวลชนประจากระทรวงมหาดไทย รวมท้ังจัดส่ง
ผ่านไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ไปยังเครือข่ายสื่อสารมวลชนที่เกี่ยวข้อง และเผยแพร่ผ่านสื่อสังคมออนไลน์

- 59 -

ในความรบั ผดิ ชอบของกระทรวงมหาดไทย ได้แก่ เฟซบ๊กุ แฟนเพจ (Facebook Fanpage) กระทรวงมหาดไทย PR
และ At มหาดไทย แอปพลิเคชั่นไลน์ออฟฟีเชียล (LINE Official) @มหาดไทย แอปพลิเคชันไลน์กลุ่มต่าง ๆ
ที่เกี่ยวข้อง อินสตาแกรม (Instagram) กระทรวงมหาดไทย PR (prmahadthai) ทวิตเตอร์ (Twitter)
กระทรวงมหาดไทย PR (@moinews2016) เพอ่ื เผยแพร่ข่าวประชาสัมพันธ์

๘) ตดิ ตาม วเิ คราะห์ การนาเสนอขา่ วของสื่อสารมวลชน รายงานผบู้ งั คบั บัญชาทราบ
(๒) ขา่ วสือ่ มว ชน

การตรวจติดตามข่าวส่ือมวลชนที่เสนอทางหนังสือพิมพ์ประจาวัน และข่าวท่ีเสนอ
ทางเว็บไซต์ของสานักข่าวต่าง ๆ ประมวล เพื่อคัดเลือกข่าวท่ีเกี่ยวข้องกับกระทรวงมหาดไทย ทั้งในแง่บุคคล
และหน่วยงาน รวมท้ังข่าวสาคัญอ่ืน ๆ เสนอผู้บังคับบัญชาระดับสูงในรูปแบบของ Clippingnews (ข่าวตัดหนังสือพิมพ์
หรือกฤตภาคข่าว) และ Breakingnews ข่าวออนไลน์ พร้อมอัพโหลดข้อมูลข้ึนเผยแพร่บนหน้าเว็บไซต์
กองสารนิเทศ สป. ทาง www.pr.moi.go.th ทุกวันทาการ รวมทั้งเผยแพร่ผ่านทางกลุ่มไลน์คลองหลอด_ผลงาน
ปชส. สาหรับผู้บริหารระดับสูง ผู้ว่าราชการจังหวัด กลุ่ม PR Team สาหรับหน่วยงานประชาสัมพันธ์
ของกระทรวงมหาดไทย โดยนาเสนอใน ๓ หัวข้อ คอื

๑) ข่าวเช้า เป็นการประมวลและคัดเลือกข่าวจากหนังสือพิมพ์กรอบเช้า นาเสนอ
ผู้บงั คบั บัญชา ภายในเวลาประมาณ ๐๙.๓๐ น.

๒) ขา่ วรอบบ่าย เป็นการประมวลและคัดเลอื กขา่ วจากหนังสือพิมพ์กรอบบา่ ย
๓) Breakingnews เป็นการประมวลและคัดเลือกขา่ วท่ีเสนอทางเว็บไซต์ของสานักข่าว
ตา่ ง ๆ โดยตรวจตดิ ตามการเสนอขา่ วระหวา่ งวนั จนถึงเวลาประมาณ ๑๔.๓๐ น.
ทั้งน้ี ข่าวรอบบ่าย และ Breaking news จะนาเสนอผู้บังคับบัญชา พร้อมอัพโหลด
ข้อมลู ขน้ึ หนา้ เวบ็ ไซตภ์ ายในเวลาประมาณ ๑๖.๐๐ น.
(๓) ขนั้ ตอนการเปดิ ดข้อม บนเว็บไซตก์ องสารนิเทศ
๑) เปิดเว็บไซต์กองสารนิเทศ จาก URL: www.pr.moi.go.th หรือ ค้นหา
“กองสารนเิ ทศ สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย” จาก Google หรือ web browser อ่ืน ๆ
๒) เม่ือเข้าสู่หน้าเว็บไซต์กองสารนิเทศแล้ว ให้เลือกท่ีหัวข้อ “ข่าวส่ือมวลชน”
จากคอลมั น์ดา้ นซ้ายมือของเว็บไซต์

- 60 -

๓) เมื่อกดเลอื กทหี่ ัวขอ้ “ข่าวสอ่ื มวลชน” แล้ว หน้าจอจะแสดงหน้า “ข่าวประจาวัน”
พรอ้ มตารางปฏทิ ินของเดอื นปัจจุบนั ส่วนวันทที่ ี่เป็นแถบสีคอื วันที่ ณ ปัจจุบันขณะเปดิ ดู

๔) ผคู้ ้นหาขอ้ มูลสามารถเลอื กดขู ้อมลู ข่าวของวนั ท่ีต้องการดูได้ โดยกดท่ีแถบ
“ขา่ วประจาวนั ” สเี ขยี วที่อย่ใู นชอ่ งวันทีท่ ี่ต้องการเปิดดู จากนั้นจะมปี ๊อบอัพหัวข้อข่าว
ให้เลอื กเปดิ ได้แก่

- ข่าวเชา้
- ข่าวรอบบ่าย
- Breaking news

เมอื่ กดเลอื กหัวขอ้ แล้ว หน้าจอจะแสดงหนา้ ข่าวในรูปของไฟล์ PDF ทง้ั น้ี ผู้ค้นหา
สามารถดาวน์โหลดหรอื สงั่ พิมพ์ไฟล์ข้อมูลไดจ้ ากหนา้ ทปี่ รากฏ

- 61 -

ข่าวเชา้ ข่าว รอบบ่าย

Breaking news

หมายเหตุ : หากระบบสารสนเทศขัดข้องหรอื ไม่สามารถเปิดดูขอ้ มลู ได้ สามารถสอบถามขอ้ มูลได้ท่ี ๕๐๕๓๒
งานจดั เกบ็ และประมวลขา่ วสาร กองสารนิเทศ สป.

หน่วยงานรับผดิ ชอบ : กองสารนเิ ทศ สป. โทร. ๐ ๒๒๒๒ ๔๑๓๑ (มท.) ๕๐๕๓๖

๓.๓ การสนับสนนุ ด้านทรัพยากรการบรหิ าร
๓.๓.๑ การพฒั นาระบบบริหารของกระทรวงมหาดไทย แ ะสานักงานป ัดกระทรวงมหาดไทย
(๑) การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ นการปฏิบัติราชการ

ของส่วนราชการแ ะจงั หวดั
การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ

ของสว่ นราชการเริ่มดาเนนิ การต้ังแต่ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ เป็นไปตามคาส่ังคณะหัวหน้ารักษาความสงบแห่งชาติ
ท่ี ๕/๒๕๕๙ ลงวันที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ และได้ยกเลิกการประเมินตามคารับรองการปฏิบัติราชการ

- 62 -

ของส่วนราชการ ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ และใช้การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุง
ประสิทธิภาพในการปฏบิ ัตริ าชการของสว่ นราชการจนถึงปจั จบุ นั ตามอานาจหนา้ ที่ตามระเบียบ

พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๓/๑
กาหนดว่า “การบริหารราชการต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนเกิดผลสัมฤทธ์ิ ต่อภารกิจของรัฐ
ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่า ในเชิงภารกิจแห่งรัฐ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิก
หน่วยงานที่ไม่จาเป็นการกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น การกระจายอานาจตัดสินใจ การอานวย
ความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน ท้ังน้ี โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผลของงานในการปฏิบัติ
หน้าท่ีของส่วนราชการต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดยเฉพาะอย่างย่ิงให้คานึงถึงความรับผิดชอบ
ของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของประชาชน การเปิดเผยข้อมูล การติดตามตรวจสอบและประเมินผล
การปฏิบัติงาน ทัง้ น้ี ตามความเหมาะสมของแตล่ ะภารกจิ ”

พระราชกฤษฎีกาวา่ ด้วยหลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารบรหิ ารกจิ การบา้ นเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖
มาตรา ๙ (๓) กาหนดว่า การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธ์ิต่อภารกิจของรัฐ ให้ส่วนราชการต้องจัดให้มี
การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติราชการ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ส่วนราชการกาหนดข้ึน
ซึ่งต้องสอดคล้องกับมาตรฐานที่ ก.พ.ร. กาหนด มาตรา ๑๒ กาหนดว่าเพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติราชการให้เกิด
ผลสัมฤทธ์ิ ก.พ.ร. อาจเสนอต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อกาหนดมาตรการกากับการปฏิบัติราชการ โดยวิธีการจัดทา
ความตกลงเปน็ ลายลักษณอ์ กั ษร หรอื โดยวธิ กี ารอ่ืนใด เพ่ือแสดงความรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ และมาตรา
๔๕ กาหนดให้ส่วนราชการจัดให้มีคณะผู้ประเมินอิสระดาเนินการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ
เก่ียวกบั ผลสัมฤทธ์ิของภารกจิ คณุ ภาพการให้บรกิ ารความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการ ความคุ้มค่าในภารกิจ
ทั้งน้ี ตามหลักเกณฑ์ วธิ ีการ และระยะเวลาที่ ก.พ.ร. กาหนด

มตคิ ณะรฐั มนตรีวันท่ี ๕ เมษายน ๒๕๕๙ เห็นชอบกับมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ
ในการปฏิบัติราชการ กาหนดให้มีการประเมินส่วนราชการ ใน ๕ องค์ประกอบ และให้นาแบบประเมินฯ น้ีไปใช้
ในการประเมินส่วนราชการ โดยให้นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรี
รัฐมนตรีว่าการกระทรวง และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเป็นผู้ประเมิน และมีเลขาธิการ ก.พ.ร. เป็นผู้ประเมิน
เบ้ืองตน้

มติคณะรัฐมนตรีวันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ ให้ความเห็นชอบกับกรอบ กลไก
และแนวทางในการประเมินส่วนราชการและจังหวัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ
โดยการประเมินมี ๕ องค์ประกอบ ได้แก่ ๑) Function Base ๒) Agenda Base ๓) Area Base ๔) Innovation
Base และ ๕) Potential Base และแบ่งเกณฑ์การประเมิน เป็น ๓ ระดับ ได้แก่ ระดับคุณภาพ ระดับมาตรฐาน
(มาตรฐานข้ันสูงและมาตรฐานขั้นต้น) และระดับต้องปรับปรุง โดยพิจารณาจากคะแนนเฉลี่ยในภาพรวม
ทุกองคป์ ระกอบ รวมทัง้ กาหนดให้มีการประเมนิ ส่วนราชการ ปีละ ๑ ครั้ง (รอบการประเมินตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม
ถึง ๓๐ กนั ยายน ของทกุ ปี)

- 63 -

ต่อมา มติคณะรัฐมนตรีวันท่ี ๑๕ กันยายน ๒๕๖๓ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ
กับการประเมินสว่ นราชการตามมาตรการปรบั ปรงุ ประสทิ ธภิ าพในการปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
โดยมีกรอบการประเมิน ๒ องค์ประกอบ ได้แก่ (๑) การประเมินประสิทธิผลการดาเนินงาน (Performance Base)
(๒) การประเมินศักยภาพในการดาเนินงาน (Potential Base) และแบ่งเกณฑ์การประเมิน ๓ ระดับ ได้แก่
ระดับคุณภาพ ระดับมาตรฐาน (มาตรฐานขั้นสูง และมาตรฐานข้ันต้น) และระดับต้องปรับปรุง โดยพิจารณา
จากคะแนนในภาพรวมทุกองค์ประกอบ และมีรอบระยะเวลาการประเมินปีละ ๑ คร้ัง (ต้ังแต่วันท่ี ๑ ตุลาคม
ถึงวันที่ ๓๐ กันยายน ของทุกปี)

๑) กรอบการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ นการปฏิบัติ
ราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ มี ๒ องค์ประกอบ ได้แก่ ๑. การประเมินประสิทธิผลการดาเนินงาน
(Performance Base) น้าหนักร้อยละ ๗๐ จานวน ๓ - ๕ ตัวชี้วัด ๒. การประเมินศักยภาพในการ
ดาเนินงาน (Potential Base) น้าหนักร้อยละ ๓๐ จานวน ๑ ตัวช้ีวัด น้าหนักรวมทุกตัวช้ีวัดร้อยละ ๑๐๐ สรุปได้
ดงั น้ี

- 64 -
ห ักการ นการประเมนิ

๒) ก ุม่ เป้าหมาย แบ่งเป็น ๒ กล่มุ ได้แก่
- ส่วนราชการในสังกัดฝา่ ยบริหาร
- จงั หวัด
สาหรับการประเมินส่วนราชการสังกัดกระทรวงกลาโหม กองอานวยการรักษา

ความมั่นคงภายในราชอาณาจักร และสานักงานตารวจแห่งชาติ ให้นาแนวทางการประเมินประสิทธิภาพ
ในการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในสังกัดฝ่ายบริหารไปประยุกต์ใช้ และส่งผลการประเมินให้สานักงาน ก.พ.ร.
เพื่อรายงานต่อนายกรัฐมนตรีพร้อมกับส่วนราชการ ตามมติของ ก.พ.ร. ในการประชุมครั้งท่ี ๒/๒๕๕๙ เม่ือวันที่
๒๕ ตลุ าคม ๒๕๕๙

๓) ก ไกการประเมิน
กลไกการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพฯ ประจาปี

งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
- อ.ก.พ.ร. เก่ียวกับการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพ

ในการปฏบิ ัตริ าชการ แตง่ ตั้งคณะทางานเพอื่ ทาหนา้ ที่พจิ ารณาตวั ชวี้ ัดของสว่ นราชการและจงั หวดั จานวน ๒ คณะ

๑.๑) คณะทางานเพ่อื พิจารณาตัวชี้วัด ๑) ประธาน อ.ก.พ.ร.ฯ ประธาน
๒) ผทู้ รงคณุ วุฒิ ๕ - ๗ คน คณะทางาน
ของสว่ นราชการ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ๓) เลขาธิการ ก.พ.ร. คณะทางาน
ของแต่ละคณะ ๔) เจ้าหนา้ ทสี่ านักงาน ก.พ.ร. คณะทางานและเลขานกุ าร
๑.๒) คณะทางานเพ่ือพิจารณาตวั ช้วี ดั
ของจงั หวดั ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย

- คณะทางานฯ พจิ ารณาความเหมาะสมของตัวช้ีวัด น้าหนัก และค่าเป้าหมาย เพ่ือใช้
ประเมินส่วนราชการและจงั หวดั โดยพิจารณาจากประเด็นสาคัญท่ีต้องเร่งขับเคลื่อนตามยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทฯ
แผนพฒั นาฯ ฉบับท่ี ๑๒ แผนยทุ ธศาสตรข์ องสว่ นราชการ/แผนพัฒนาจงั หวดั

- 65 -
๔) ก ไกการพิจารณา ห้ความเห็น/ข้อเสนอแนะต่อตัวชี้วัดของส่วนราชการแ ะจังหวัด

- ไม่มีการเจรจาต่อรองกับส่วนราชการ โดยให้ส่วนราชการกาหนดตัวช้ีวัด
ตามแนวทางท่ี ก.พ.ร. กาหนด แล้วส่งใหส้ านกั งาน ก.พ.ร.

- สานักงาน ก.พ.ร. พิจารณาโดยใช้กลไกของคณะทางานพิจารณาตัวชี้วัดฯ
ซึ่งประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิด้านต่าง ๆ เพ่ือพิจารณาให้ความเห็น/ข้อเสนอแนะต่อตัวชี้วัดท่ีส่วนราชการเสนอ
และแจง้ ผลการพิจารณาไปยังรัฐมนตรที ี่กากับดูแล

๕) ขัน้ ตอนวธิ กี ารรายงาน / ประเมินผ

(๒) การปรบั ปรงุ โครงสรา้ งการแบ่งสว่ นราชการ
การปรับปรุงโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ เป็นการวางรูปแบบโครงสร้างองค์กร

ให้มีความเหมาะสมกับสภาวการณ์ต่างๆ ที่เปล่ียนแปลงไป เพื่อยกระดับขีดความสามารถและสร้างประสิทธิภาพ
โดยรวมของส่วนราชการ เพื่อให้เกิดการปฏิบัติราชการท่ีมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล เกิดผลสัมฤทธ์ิ คุ้มค่า
และสามารถตอบสนองต่อความต้องการท่ีหลากหลายของส่วนรวมตามภารกิจท่ีกาหนด รวมถึงการสร้างความเช่ือมั่น
ของประชาชนและสังคมต่อระบบราชการ การเสนอขอปรับปรุงบทบาท ภารกิจ และโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ
ในสภาวการณ์ต่าง ๆ ท่ีเปลี่ยนแปลงไป ประกอบกับการปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย/ระเบียบท่ีเกี่ยวข้องกับการบริหาร
ราชการแผน่ ดนิ แผนยุทธศาสตร์ชาติ และแผนระดับต่าง ๆ รวมท้ังนโยบายของรัฐบาล และนโยบายกระทรวงมหาดไทย
ทาให้ส่วนราชการมีความจาเป็นที่จะต้องทบทวน/ปรับปรุงบริหารจัดการโดยแบ่งส่วนราชการ และแบ่งภารกิจ
ตามหน้าที่ภายใน เพ่ือให้สามารถตอบสนองต่ออานาจหน้าที่ และบทบาทภารกิจได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ในฐานะท่ีเป็นหน่วยงานดาเนินการในการเสนอ
ขอปรับปรุงการแบ่งส่วนราชการของสานักงานปลัดกระทรวง และกรมในสังกัด โดยการวิเคราะห์บทบาท ภารกิจ
โครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ และนาไปสู่การเสนอขอแก้ไขกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ โดยหลังการปฏิรูป

- 66 -

ระบบราชการ พ.ศ. ๒๕๔๕ สานักงานปลัดกระทรวง รวมท้ังกรมในสังกัดกระทรวงมหาดไทยได้มีการเสนอขอปรับปรุง
อานาจหน้าท่ีและการแบ่งส่วนราชการเพื่อให้มีความเหมาะสม สามารถรองรับระเบียบกฎหมาย และนโยบายต่าง ๆ
ท่ีเกีย่ วข้องเพือ่ ให้การปฏบิ ัตริ าชการเป็นไปอย่างมีประสิทธภิ าพ

๑) ความจาเป็น นการขอปรับปรุงโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ กาหนดแนวนโยบาย

ในการบริหารราชการแผ่นดิน โดยเฉพาะการพัฒนาระบบราชการไว้ในหมวด ๖ แนวนโยบายแห่งรัฐ และกาหนด
เร่ืองการปฏิรูปประเทศด้านการบริหารราชการแผ่นดินไว้ในหมวด ๑๖ การปฏิรูปประเทศ มาตรา ๒๕๘ ข
ด้านการบริหารราชการ (๓) โดยกาหนดให้มีการปรับปรุงและพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานของรัฐ
และแผนกาลังคนภาครัฐให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงและความท้าทายใหม่ ๆ โดยต้องดาเนินการให้เหมาะสม
กับภารกจิ ของหน่วยงานของรฐั แตล่ ะหน่วยทีแ่ ตกต่างกนั

ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) ยุทธศาสตร์ที่ ๖ การปรับสมดุล
และพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ กาหนดให้องค์การภาครัฐมีความยืดหยุ่นเหมาะสมกับบริบทการพัฒนา
ประเทศ โดยปรับโครงสร้าง และระบบบริหารราชการใหม่ในรูปแบบท่ีมีความหลากหลาย มีการดาเนินงานที่มี
ความยดื หยุ่น สามารถปรบั ตัวเข้าสกู่ ารเป็นสานกั งานสมยั ใหม่ นาไปสูก่ ารเป็นองคก์ รทมี่ ขี ดี สมรรถนะสงู ปฏิบัติงาน
เทียบได้กับมาตรฐานสากล มีความคล่องตัว ไม่ยึดติดกับการจัดโครงสร้างองค์กรแบบราชการ สามารถยุบ เลิก
ปรับเปลยี่ นโครงสร้างองค์กร กฎ ระเบียบไดต้ ามสถานการณ์

แผนการปฏิรูปประเทศด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ได้กาหนดเรื่องและประเด็น
ปฏิรูปท่ี ๓ โครงสร้างภาครัฐกะทัดรัด ปรับตัวได้เร็วและระบบงานมีผลสัมฤทธิ์สูง โดยมีเป้าหมายหรือผล
อันพึงประสงค์และผลสัมฤทธิ์ประการหนึ่งว่า “มุ่งสู่การเป็นรัฐบาลท่ีคล่องตัว (Agile government transformation)
โดยเนน้ การปรับปรุงบทบาทภารกิจและโครงสร้างองค์การที่มีความทันสมัย กะทัดรัด มีรูปแบบเรียบง่าย (Simplicity)
มีระบบการทางานที่คล่องตัว รวดเร็ว ปรับเปล่ียนกระบวนทัศน์ในการทางานเน้นการคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ (Creativity)
และสามารถยุบเลิก ปรับเปล่ียนองค์กรได้ตามสถานการณ์ของการพัฒนา โดยศึกษาผลกระทบจากการเปล่ียนแปลง
ที่ฉับพลันของเทคโนโลยี (Disruptive technology) และรูปแบบการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการ
ในส่วนราชการที่มคี วามสาคญั ต่อการขับเคล่ือนเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศ

คณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันท่ี ๓ ธันวาคม ๒๕๖๑ ได้มีมติเห็นชอบ
ในหลักการการมอบอานาจการแบ่งส่วนราชการภายในกรมตามที่สานักงาน ก.พ.ร. เสนอ เพื่อให้การบริหาร
ราชการภายในส่วนราชการของหวั หนา้ ส่วนราชการมีความคล่องตัว รวดเรว็ สามารถจดั ตงั้ ยุบเลกิ และปรับเปล่ียน
ส่วนราชการได้ ตอบสนองต่อประชาชน การพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตร์ นโยบาย และภารกิจที่มีความสาคัญเร่งด่วน
ของรฐั บาล ตลอดจนบรบิ ทการเปลย่ี นแปลงของโลกและแนวโนม้ ที่สาคัญในอนาคต

๒) ระเบียบ กฎหมายท่ีเก่ียวข้อง
- หนังสือสานักงาน ก.พ.ร. ท่ี นร ๑๒๐๔.๑/ว๔ ลงวันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๔๗

เรอ่ื ง การแบ่งส่วนราชการภายในกรม

- 67 -

- หนังสือสานักงาน ก.พ.ร. ที่ นร ๑๒๐๔/ว๖ ลงวันที่ ๘ ธันวาคม ๒๕๔๗
เร่ือง การแบ่งสวนราชการภายในกรม

- หนังสือสานักงาน ก.พ.ร. ที่ นร ๑๒๐๐/ว๓ ลงวันท่ี ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙
เรอ่ื ง การแบ่งสว่ นราชการภายในกรม

- หนังสือสานักงาน ก.พ.ร. ท่ี นร ๑๒๐๐/ว๑๘ ลงวันท่ี ๒๗ ธันวาคม ๒๕๔๙
เรอ่ื ง การปรับปรุง มติคณะรฐั มนตรี เรื่อง กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ

- หนังสือสานักงาน ก.พ.ร. ที่ นร ๑๒๐๐/ว๑๓ ลงวันท่ี ๒๘ สิงหาคม ๒๕๕๐
เรือ่ ง การซักซอมความเขาใจเกย่ี วกบั ขัน้ ตอนการจดั ตง้ั หนวยงานของรัฐ

- หนังสือสานักงาน ก.พ.ร. ที่ นร ๑๒๐๐/๑ ลงวันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๖๒
เรื่อง การซักซ้อมความเข้าใจเก่ียวกับมติคณะรัฐมนตรี เรื่อง การทบทวนข้อเสนอให้จัดตั้งหน่วยงานของรัฐ
ตามแผนปฏิรูปประเทศ

- หนังสือสานักงาน ก.พ.ร. ท่ี นร ๑๒๐๐/ว ๓ ลงวันที่ ๘ มีนาคม ๒๕๖๒
เรอ่ื ง การมอบอานาจการแบง่ ส่วนราชการภายในกรม

๓) ห ักเกณฑ์ ข้อเสนอ แ ะขนั้ ตอน นการเสนอขอปรบั ปรงุ โครงสรา้ ง
หลกั เกณฑใ์ นการพิจารณาการเป็นหน่วยงานของรัฐ และหลักการจาแนกประเภท

หน่วยงานของรัฐในกากบั ของฝ่ายบริหาร เพอื่ สร้างรูปแบบองคก์ รประเภทตา่ งๆ ให้เหมาะสมกับการดาเนินบทบาท
ภารกิจของภาครัฐท่ีมีความแตกต่างกันหลากหลายตามภารกิจแต่ละประเภทได้ และสามารถกาหนดกระบวนการ
บริหารงานภายในให้สอดคลอ้ งกับประเภท ภารกจิ เพ่ือให้เกิดการทางานอย่างมีประสิทธิภาพ และมีความคล่องตัว
ในการบริหารงานมากกว่ารูปแบบที่เป็นหน่วยราชการ (ตามหนังสือสานักงาน ก.พ.ร.ท่ี นร ๑๒๐๐/ว ๑ ลงวันที่
๔ มกราคม ๒๕๕๓ เรอื่ งการปรับปรุงการจาแนกประเภทหน่วยงานของรัฐในกากับของฝา่ ยบริหาร)

ข้อเสนอการปรับปรุงโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการภายในกรม มีสาระสาคัญ
ทสี่ ่วนราชการจะตอ้ งจดั ทา ไดแ้ ก่ (๑) ระบคุ วามสอดคล้องของภารกิจกับเป้าหมายตามแผนและนโยบายระดับชาติ
และ (๒) นาเสนอสาเหตุที่ต้องขอปรับปรุงส่วนราชการ โดยวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก
ปญั หาการดาเนินงานอันเนื่องมาจากโครงสร้างเดิมไม่เหมาะสม หน้าที่ความรับผิดชอบที่เปลี่ยนแปลงไป โดยกรณี
ที่ขอเพ่ิมจานวนกองในภาพรวมของส่วนราชการ ต้องระบุข้อเสนอให้ยุบเลิก หรือยุบรวมหน่วยงานที่มีอยู่เดิม
(One-In, X-Out) และการใช้เทคโนโลยีเพ่ือใช้ในการปฏิบัติงาน รวมถึงประโยชน์ท่ีจะได้รับทั้งต่อประเทศชาติ
และประชาชน

ข้ันตอน นการดาเนินการ สานักงาน ก.พ.ร. เห็นควรให้ปรับปรุงคณะทางาน
แบ่งส่วนราชการภายในกรม และปรับปรุงข้ันตอนการแบ่งส่วนราชการภายในกรม ตามหนังสือสานักงาน ก.พ.ร.
ที่ นร ๑๒๐๐/ว ๑๘ ลงวันท่ี ๒๗ ธันวาคม ๒๕๔๙ ใหม่ โดยแบ่งเป็น ๒ กรณี คือ ๑) การแบ่งส่วนราชการภายในกรม
ตามหลักการมอบอานาจ และ ๒) การแบ่งส่วนราชการภายในกรมที่ส่วนราชการต้องเสนอให้ ก.พ.ร. พิจารณา
โดยมีข้ันตอนการแบง่ สว่ นราชการภายในกรม และต้องจดั ทารายละเอียดคาชแี้ จง ซง่ึ ประกอบดว้ ย

- 68 -

- การทบทวนบทบาท ภารกจิ ภาพรวมของสว่ นราชการ
- เหตุผลความจาเป็นในการขอจัดตัง้
- ภารกิจของส่วนราชการทจี่ ะมกี ารแบ่งสว่ นราชการใหม่
- อัตรากาลงั เจา้ หนา้ ที่
- ปรมิ าณงาน
- แสดงตัวช้ีวัดและค่าเป้าหมายท่ีเป็นผลจากการดาเนินงานปรับปรุงโครงสร้าง
และภารกิจของสว่ นราชการระดบั ตา่ กว่ากรม (ใหม)่
- ค่าใชจ้ า่ ย
- ร่างกฎกระทรวงแบง่ สว่ นราชการ
- รายละเอยี ดอืน่ ๆ
๔) องค์ประกอบของคณะกรรมการพัฒนาโครงสร้างระบบราชการของกระทรวง
แ ะคณะทางานแบ่งส่วนราชการภาย นกรม
คาสั่งกระทรวงมหาดไทย ที่ ๖๔๘/๒๕๖๒ ลงวันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๖๒
เร่ือง แต่งตั้ง คณะกรรมการพัฒนาโครงสร้างระบบราชการของกระทรวงมหาดไทย โดยมีรัฐ มนตรีว่าการ
กระทรวงมหาดไทยเปน็ ประธาน ปลัดกระทรวงมหาดไทย เป็นรองประธาน และมีหัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย และเจ้าหน้าท่ีสานักงาน ก.พ.ร. ท่ีเลขาธิการ ก.พ.ร. มอบหมาย เป็นกรรมการ
และเลขานุการร่วม มีอานาจหน้าที่ พิจารณาปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม การจัดและพัฒนาส่วนราชการ
และวิธีการปฏิบัติงาน ตลอดจนระบบบุคคลให้ทันสมัย กาหนดหน้าที่และอานาจรวมถึงขอบเขตความรับผิดชอบ
ของส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐอืน่ ในสังกดั กระทรวงมหาดไทย
คาส่ังสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ที่ ๖๔๘/๒๕๖๒ ลงวันที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๖๒
เร่ือง แต่งต้ัง คณะทางานแบ่งส่วนราชการภายในของสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย โดยมีปลัดกระทรวง
มหาดไทย เป็นประธาน รองปลดั กระทรวงมหาดไทย ด้านบรหิ าร เปน็ รองประธาน และมีหัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย เป็นคณะทางานและเลขานุการ มีอานาจหน้าท่ีพิจารณาข้อเสนอ การปรับปรุง
โครงสร้างการแบ่งส่วนราชการภายในสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย กาหนดหน้าที่และอานาจ ขอบเขต
ความรบั ผิดชอบของสว่ นราชการ รวมถงึ กรอบอตั รากาลังและหนา้ ที่ความรับผดิ ชอบของตาแหนง่
๕) หน่วยงาน นสังกัดกระทรวงมหาดไทยที่ขอเสนอปรับปรุงโครงสร้างการแบ่ง
ส่วนราชการ
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เสนอขอจัดตั้งสานักงานส่งเสริมการปกครอง
ท้องถิ่นอาเภอให้เป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาคระดับอาเภอ เป็นการเสนอขอปรับปรุงการแบ่งส่วนราชการภายในกรม
ที่ต้องเสนอให้ ก.พ.ร. พิจารณา ซึ่งปัจจุบันได้จัดส่งคาชี้แจงประกอบการแบ่งส่วนราชการภายในกรม (การจัดต้ัง
สานักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นอาเภอให้เป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาคระดับอาเภอ) ก่อนนาเสนอ

- 69 -
ตอ่ คณะทางานแบง่ ส่วนราชการภายในกรม เพื่อพจิ ารณาข้อเสนอฯ และนาเสนอตอ่ คณะกรรมการพัฒนาโครงสร้าง
ระบบราชการของกระทรวงมหาดไทยและ ก.พ.ร. ตามลาดบั ต่อไป

การแบง่ สว่ นราชการภาย นกรมตามห กั การมอบอานาจ
การแบง่ สว่ นราชการภาย นกรมทตี่ ้องเสนอ ห้ ก.พ.ร. พจิ ารณา

หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ : กล่มุ พัฒนาระบบบริหาร โทร. ๐ ๒๖๒๒ ๐๙๖๐ (มท.) ๕๐๒๕๑

๓.๓.๒ การพจิ ารณาโครงการจดั หาระบบคอมพิวเตอร์ของหน่วยงาน นสังกดั กระทรวงมหาดไทย
กระทรวงมหาดไทย มีคาส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารและจัดหาระบบคอมพิวเตอร์

ของกระทรวงมหาดไทยขึ้น โดยมีรองปลัดกระทรวงมหาดไทย ด้านบริหาร เป็นประธาน หัวหน้าส่วนราชการ
ที่เก่ียวข้อง เป็นกรรมการ และมีผู้อานวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานปลัดกระทรวง
มหาดไทย เป็นกรรมการและเลขานุการ โดยมีการกระบวนการพิจารณาโครงการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์
และข้นั ตอนและวธิ กี ารในการจัดหาระบบคอมพวิ เตอร์ของหนว่ ยงานในสังกัดกระทรวงมหาดไทย ดงั น้ี

หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ : ศนู ย์เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร สป. โทร. ๐ ๒๒๘๒ ๖๕๘๔ (มท.) ๕๑๔๑๐

- 70 -

- 71 -

- 72 -

๓.๓.๓ การดาเนนิ การเก่ยี วกับกฎหมายของกระทรวงมหาดไทย มีภารกิจทสี่ าคัญ ดงั น้ี
(๑) งานสนับสนุนแ ะประสานงาน ห้คาปรึกษา ตอบข้อหารือ ข้อกฎหมายเก่ียวกับ

คดีปกครอง คดีอาญา คดีแพ่งของหน่วยงาน นสังกัดกระทรวงมหาดไทย ที่เกี่ยวข้องแ ะอย่ นอานาจ
ของรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย หรือป ัดกระทรวงมหาดไทย หรือรองป ดั กระทรวงมหาดไทย

สนับสนุน ให้คาปรึกษา ตอบข้อหารือ ข้อกฎหมายเก่ียวกับคดีปกครอง คดีอาญา
คดีแพ่ง ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงมหาดไทยที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งการตรวจสอบข้อเท็จจริงข้อกฎหมาย
รวบรวมข้อมูล ประสานงาน ในการดาเนินคดีปกครอง คดีอาญา คดีแพ่งท่ีอยู่ในอานาจของรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงมหาดไทย หรอื ปลดั กระทรวงมหาดไทย หรอื รองปลัดกระทรวงมหาดไทย

(๒) งานตรวจสอบแ ะก ั่นกรอง ห้คาปรึกษา ตอบข้อหารือ อุทธรณ์คาส่ัง
ทางปกครองตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองท่ีอย่ นอานาจการวินิจฉัยของรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงมหาดไทย หรือป ัดกระทรวงมหาดไทย หรือรองป ัดกระทรวงมหาดไทย

ตรวจสอบข้อเท็จจริง ศึกษาวิเคราะห์ และสรุปประเด็นข้อเท็จจริงตามท่ีได้รับรายงาน
โดยนาข้อเท็จจริงในส่วนท่ีเป็นสาระสาคัญมาปรับเข้ากับข้อกฎหมาย และตรวจสอบกฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับกรณี
ดังกล่าว ศึกษาค้นคว้ากฎหมาย ความเห็นของคณะกรรมการกฤษฎีกา คาวินิจฉัยคาพิพากษาของศาลปกครอง
ตลอดจนความเหน็ ทางกฎหมายท่เี ก่ียวข้องมาประกอบการพิจารณาเพอื่ เสนอความเห็น

(๓) งานความรับผิดทาง ะเมิด การตรวจสอบการปฏิบัติงานด้านความรับผิดทางละเมิด
ของเจา้ หนา้ ที่ มีกระบวนงาน ดังนี้

๑) รับเรอ่ื งและตรวจสอบเอกสาร
๒) ตรวจสอบเรอื่ งตามกรณีต่อไปน้ี

- ตรวจสอบข้อเทจ็ จรงิ
- ตรวจสอบเอกสารในเรื่องว่าสอดคล้องกับข้อเท็จจริงหรือไม่ และมีเอกสารใด
ทจ่ี าเปน็ ต้องใชป้ ระกอบการพจิ ารณาหรอื ไม่
- ตรวจสอบว่าไดร้ บั ความเสยี หายเป็นจานวนเท่าใด
- ตรวจสอบเปน็ กรณีบคุ คลภายนอกกระทาละเมิด หรอื เจา้ หน้าที่กระทาละเมดิ
- ตรวจสอบข้อเท็จจรงิ และความเหน็ เบ้ืองตน้ ของหนว่ ยงานว่าแจง้ ชัดหรอื ไม่
- ตรวจสอบอายคุ วาม
๓) ตรวจสอบและพิจารณา ข้อกฎหมาย ระเบียบ คาส่ัง และหนังสือเวียนที่เกี่ยวข้อง
ดงั ต่อไปนี้
- ตรวจสอบความถกู ต้องของคาสงั่ แตง่ ตัง้ คณะกรรมการ และเอกสารท่ีเกีย่ วขอ้ งท้ังหมด
- ตรวจสอบความถูกต้องของแบบบันทึกถ้อยคา (สล.๑) แบบรายงานผล
การสอบสวน (สล.๒)

- 73 -

- ตรวจสอบว่าผู้กระทาละเมิดเป็นเจ้าหน้าที่หรือไม่ และเจ้าหน้าท่ีกระทาละเมิด
ในขณะปฏิบตั ิหน้าทีห่ รอื ไม่

- ตรวจสอบความเสยี หายที่หนว่ ยงานไดร้ ับ หรือความเสียหายตอ่ บุคคลภายนอก
- พิจารณาคาขอหรือคาฟอ้ งของผู้เสยี หาย และพิจารณาจานวนคา่ สินไหมทดแทน
- พิจารณาว่าการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่น้ัน กระทาโดยจงใจหรือประมาท
เลินเล่ออย่างรา้ ยแรงหรอื ไม่
- ตรวจสอบการพิจารณาไล่เบย้ี และสดั ส่วนความรบั ผิดทางละเมิดของเจ้าหนา้ ท่ี
๔) พจิ ารณาข้อเท็จจริงและใหค้ วามเห็นทางกฎหมายตามเรอ่ื งตอ่ ไปนี้
- พิจารณาการกระทาละเมิดทีเ่ ก่ียวเนื่องกับการฟ้องคดี
- พิจารณาว่าเป็นกรณีท่ีไม่ต้องมีการแต่งต้ังคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริง
ความรบั ผดิ ทางละเมดิ
- พิจารณากรณีทีต่ ้องแต่งตงั้ คณะกรรมการสอบข้อเทจ็ จรงิ ความรบั ผดิ ทางละเมิด
- พิจารณาผลการตรวจสอบจากหน่วยงานเจ้าของเร่ือง
- พิจารณาคาขอทีบ่ ุคคลภายนอกเรยี กให้กระทรวงมหาดไทยชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
- การตรวจสอบรายงานผลการสอบสวนข้อเทจ็ จรงิ
๕) พิจารณาว่าข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายแจ้งชัดหรือไม่ มีเอกสารใดท่ีจาเป็นต้องใช้
ประกอบการพิจารณาหรือไม่ หรือมีการดาเนินการถูกต้องตามท่ีกฎหมายกาหนดหรือไม่ และจัดทาหนังสือเสนอ
ความเห็นต่อผบู้ ังคับบญั ชา ดงั น้ี
- กรณีมีการดาเนินการถูกต้อง เสนอให้หน่วยงานดาเนินการตามกฎหมาย
ที่เกย่ี วขอ้ งแล้วแต่กรณี
- กรณีมกี ารดาเนนิ การไมถ่ กู ต้อง ใหค้ วามเห็นทางกฎหมายตามข้อเท็จจริงท่ีเกิดข้ึน
ว่าจักต้องดาเนินการอย่างไร กฎหมายที่เก่ียวข้องมีว่าอย่างไร หน่วยงานดาเนินการไม่ถูกต้องอย่างไร พร้อมกับ
เสนอแนะใหห้ น่วยงานดาเนินการตามกฎหมายหรอื สอบสวนเพ่มิ เตมิ
- กรณีมีการดาเนินการไม่ถูกต้อง แต่ไม่มีผลกระทบกับขั้นตอนเก่ียวกับการปฏิบัติ
ราชการทางปกครองหรือการออกคาสั่งทางปกครอง และมีเหตุจาเป็นเร่งด่วนเพราะใกล้ครบกาหนดอายุความ
จะพจิ ารณาเสนอรายงานผล
- กรณมี ขี อ้ กฎหมายทีส่ าคญั และยงั ไม่มีแนวทางปฏิบัติท่ีชัดเจน เห็นควรให้หารือไป
ยังคณะกรรมการรา่ งกฎหมายกระทรวงมหาดไทย หรอื กรมบัญชีกลาง หรอื สานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า
- ปลัดกระทรวงมหาดไทยหรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย พิจารณาและ
วนิ ิจฉยั สง่ั การ
๖) เมือ่ ส่งั การหรือให้ความเห็นชอบแลว้ ดาเนินการดังนี้
- รับเรื่องคนื และสง่ เรอ่ื งให้นติ ิกรเจา้ ของสานวน

- 74 -

- จัดทาหนังสือเสนอผู้อานวยการสานักกฎหมาย สป. ลงนามแจ้งหัวหน้าหน่วยงาน
เจา้ ของเรื่องทราบและดาเนนิ การตามทปี่ ลัดกระทรวงมหาดไทยหรือรฐั มนตรวี ่าการกระทรวง มหาดไทยสงั่ การ

- ตรวจสอบเอกสารและส่งเรื่องไปยังหน่วยงานท่เี กยี่ วข้องดาเนนิ การตอ่ ไป
(๔) การพิจารณาร่างกฎหมาย ตรวจสอบ ก ่ันกรอง ห้คาปรึกษาแ ะตอบข้อหารือ
เก่ียวกับร่างกฎหมายร่างระเบียบ ร่างข้อบังคับ ร่างประกาศ หรือร่างคาสั่งต่างๆของหน่วยงาน นสังกัด
กระทรวงมหาดไทย มขี น้ั ตอนการดาเนินการ ดังน้ี

๑) รับเรื่องจากหน่วยงานในสังกัดกระทรวงมหาดไทยเพ่ือเสนอความเห็นประกอบ
การพิจารณาของผบู้ งั คบั บญั ชา

๒) เสนอรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยหรือปลัดกระทรวงมหาดไทยเห็นชอบ
ในหลกั การ และเมอื่ ไดร้ บั ความเห็นชอบแลว้ จัดลาดับเรื่องเข้าสูว่ าระการประชมุ

๓) จัดเตรียมเอกสารทเ่ี กยี่ วข้อง เพอื่ ประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการพิจารณา
รา่ งกฎหมายของกระทรวงมหาดไทยพร้อมท้ังจัดทาหนงั สือเชญิ ประชมุ

๔) จดั ประชุมพิจารณาร่างกฎหมายและหรือข้อหารือทางกฎหมาย และจัดทารายงาน
การประชุม

๕) รบั รองรายงานการประชุมและแจ้งผลการพิจารณาให้หน่วยงานทราบ เพ่ือดาเนินการ
ต่อไป

- 75 -
การพิจารณาร่างกฎหมาย ตรวจสอบ กล่นั กรอง ใหค้ าปรึกษาและตอบขอ้ หารอื เกี่ยวกับร่างกฎหมาย
รา่ งระเบียบ ร่างขอ้ บังคบั รา่ งประกาศ หรือรา่ งคาส่ังต่าง ๆ ของหน่วยงานในสงั กดั กระทรวงมหาดไทย

Flow รายละเอยี ด ผรู้ บั ระยะเวลา มาตรฐาน/วธิ กี ารควบคุมคุณภาพงาน แบบฟอรม์ ที่ใช้ เอกสาร
ผดิ ชอบ 1. เรื่องเร่งด่วน คือ เรื่องท่ีจะต้องดาเนินการ ตามระเบียบงานสารบรรณ อา้ งองิ
โดยเร่งด่วนตามนโยบายของคณะรัฐมนตรีหรือ และตามกฎหมายและระเบียบ คู่ มื อ ก า ร เ ส น อ ร่ า ง
1. รับเร่ืองจากหน่วยงานในสังกัด ธุรการกลุ่มงานร่างกฎหมายลงรับเร่ือง เจ้าหน้าที่ ภายใน 1 วัน ผู้บริหาร กลุ่มงานร่างกฎหมายรักษามาตรฐาน ท่ีเกี่ยวข้องกับการเสนอร่าง กฎหมายของ สานกั งาน
มท.เพื่อเสนอความเห็นประกอบการ เข้าสู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์เพ่ือแจ้ง รับเรือ่ ง ระยะเวลาการใหบ้ ริการประมาณ 4 วัน กฎหมาย คณะกรรมการกฤษฎีกา
พิจารณาของผู้บงั คบั บญั ชา เจา้ หนา้ ทีน่ ติ กิ รรับเร่อื ง 2. เร่ืองรูปแบบ คือ ร่างกฎหมายท่ีเป็นรูปแบบ
ท่ัวไปซึ่งเคยมีการเสนอในรูปแบบน้ีมาแล้ว ตามระเบียบงานสารบรรณ คู่ มื อ ก า ร เ ส น อ ร่ า ง
2. เสนอ รมว.มท./ปมท.เห็นชอบ สรปุ เรือ่ ง และเนือ้ หาของรา่ งกฎหมาย/ นติ กิ ร ภายใน 7 วนั หลายคร้ัง ที่มีข้อเท็จจริงในลักษณะทานอง และตามกฎหมายและระเบียบ กฎหมายของ สานักงาน
ในหลักการและเมื่อได้รับความ ข้อหารอื วา่ มีขอ้ เทจ็ จริงอย่างไร มีประเด็น เดียวกันหรือข้อเท็จจริงไม่แตกต่างไปจากเดิม ที่เกี่ยวข้องกับการเสนอร่าง คณะกรรมการกฤษฎกี า
เห็นชอบแล้วจัดลาดับเร่ืองเข้าสู่ ข้อกฎหมายหรือร่างกฎหมายใดท่ีจะ กล่มุ งานร่างกฎหมายรักษามาตรฐานระยะเวลา กฎหมาย
วาระการประชมุ หารือ เสนอ ปมท. เพ่ือขออนุมัตินาเข้า ในการใหบ้ ริการประมาณ 4 วัน
วาระการประชุมฯ กรณที ่เี ป็นร่างกฎหมาย 3. เร่ืองทั่วไป คือ ร่างกฎหมายหรือข้อหารือ
ที่มีความสาคัญอันส่งผลกระทบต่อ นอกเหนือจาก ข้อ 1. และ 2. กลุ่มงานร่าง
ภารกิจของ มท. รา่ งกฎหมายเกี่ยวด้วย กฎหมายรักษามาตรฐานระยะเวลาในการ
ก า ร เ งิ น ร่ า ง ก ฎ ห ม า ย ท่ี แ ก้ ไ ข ใหบ้ รกิ ารประมาณ 15 วัน
สาระสาคัญของกฎหมายนั้น ๆ จะต้อง 1. เร่ืองเร่งด่วน คือ เร่ืองท่ีจะต้องดาเนินการ
นาเสนอ รมว.มท. ให้ความเห็นชอบใน โดยเร่งด่วนตามนโยบายของคณะรัฐมนตรีหรือ
หลักการเบ้ืองต้น เพื่อคณะกรรมการ ผู้บริหาร กลุ่มงานร่างกฎหมายรักษามาตรฐาน
พิจารณาร่างกฎหมายของ มท. จะได้ ระยะเวลาการให้บริการประมาณ 4 วนั
พิจารณาในรายละเอียดต่อไป หรือ 2. เร่ืองรูปแบบ คือร่างกฎหมายที่เป็นรูปแบบ
ท่ัวไปซึ่งเคยมีการเสนอในรูปแบบนี้มาแล้ว
หลายครั้ง ท่ีมีข้อเท็จจริงในลักษณะทานอง
เดียวกันหรือข้อเท็จจริงไม่แตกต่างไปจากเดิม
กลุ่มงานรา่ งกฎหมายรักษามาตรฐานระยะเวลา
ในการใหบ้ รกิ ารประมาณ 4 วนั
3. เร่ืองท่ัวไป คือ ร่างกฎหมายหรือข้อหารือ
นอกเหนือจาก ข้อ 1. และ 2. กลุ่มงานร่าง
กฎหมายรักษามาตรฐานระยะเวลาในการ

- 76 -

Flow รายละเอียด ผรู้ ับ ระยะเวลา มาตรฐาน/วธิ ีการควบคมุ คุณภาพงาน แบบฟอรม์ ทใ่ี ช้ เอกสาร
ผดิ ชอบ ใหบ้ ริการประมาณ 15 วัน อ้างอิง

ดาเนินการตามท่ีหน่วยงานในสังกัด 1. เร่ืองเร่งด่วน คือ เร่ืองท่ีจะต้องดาเนินการ ตามระเบียบงานสารบรรณ คู่ มื อ ก า ร เ ส น อ ร่ า ง
มท. เสนอมา โดยเร่งด่วนตามนโยบายของคณะรัฐมนตรีหรือ และตามกฎหมายและระเบียบ กฎหมายของ สานักงาน
3. จัดเตรียมเอกสารท่ีเกี่ยวข้อง เมือ ปมท. หรือ รมว.มท. อนุมัติใน นิติกรและ ภายใน 7 วนั ผู้บริหาร กลุ่มงานร่างกฎหมายรักษามาตรฐาน ท่ีเก่ียวข้องกับการเสนอร่าง คณะกรรมการกฤษฎีกา
เพื่อประกอบการพิจารณาของ หลักการและเห็นชอบให้นาเรื่องเข้าท่ี เจ้าหน้าที่ ระยะเวลาการใหบ้ รกิ ารประมาณ 4 วนั กฎหมาย คู่ มื อ ก า ร เ ส น อ ร่ า ง
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร พิ จ า ร ณ า ร่ า ง ประชุมฯ แล้ว สกม.สป. จะแจ้งให้ ทเี่ กี่ยวข้อง 2. เรื่องรูปแบบ คือร่างกฎหมายที่เป็นรูปแบบ ตามระเบียบงานสารบรรณ กฎหมายของ สานักงาน
กฎหมาย/จดั ทาหนังสือเชญิ ประชมุ หน่วยงานเจ้าของเร่ืองจัดเตรียม ท่ัวไปซึ่งเคยมีการเสนอในรูปแบบน้ีมาแล้ว และตามกฎหมายและระเบียบ คณะกรรมการกฤษฎีกา
เอกสารที่เก่ียวข้อง จัดส่งให้ฝ่าย หลายคร้ัง ท่ีมีข้อเท็จจริงในลักษณะทานอง ท่ีเกี่ยวข้องกับการเสนอร่าง
เลขานกุ ารคณะกรรมการฯ จานวน 20 เดียวกันหรือข้อเท็จจริงไม่แตกต่างไปจากเดิม กฎหมาย
ชุด พร้อมส่งข้อมูลทางไปรษณี ย์ กล่มุ งานรา่ งกฎหมายรักษามาตรฐานระยะเวลา
อิเล็กทรอนิกส์ เพ่ือใช้ในการประชุมฯ ในการใหบ้ ริการประมาณ 4 วนั
ตอ่ ไป 3. เร่ืองทั่วไป คือ ร่างกฎหมายหรือข้อหารือ
นอกเหนือจาก ข้อ 1. และ 2. กลุ่มงานร่าง
4. จัดประชุมพิจารณาร่างกฎหมาย - ฝ่า ย เ ลข านุ ก าร คณ ะ ก ร ร มก าร นิติกรและ ภายใน 1 วนั กฎหมายรักษามาตรฐานระยะเวลาในการ
และข้อหารือทางกฎหมายและจัดทา พิจ าร ณ าร่ าง ก ฎ ห ม าย ข อ ง ม ท . เจ้าหน้าที่ ใหบ้ รกิ ารประมาณ 15 วัน
รายงานการประชมุ ดาเนินการจัดประชุม เพื่อตรวจสอบ ที่เกยี่ วข้อง 1. เรื่องเร่งด่วน คือ เร่ืองที่จะต้องดาเนินการ
กลั่นกรองพิจารณาร่างกฎหมายเป็น โดยเร่งด่วนตามนโยบายของคณะรัฐมนตรีหรือ
ร า ย ฉ บั บ แ ล ะ เ ปิ ด โ อ ก า ส ใ ห้ ผู้ แ ท น ผู้บริหาร กลุ่มงานร่างกฎหมายรักษามาตรฐาน
หน่วยงานที่เสนอร่างกฎหมายได้มี ระยะเวลาการให้บรกิ ารประมาณ 4 วนั
โอกาสชแ้ี จงและใหค้ วามเห็นเพมิ่ เติม 2. เรื่องรูปแบบ คือร่างกฎหมายที่เป็นรูปแบบ
- เมอ่ื เสรจ็ สนิ้ การประชมุ เพอ่ื ตรวจสอบ ภายใน 7 วัน ท่ัวไปซึ่งเคยมีการเสนอในรูปแบบนี้มาแล้ว
ก ลั่ น ก ร อ ง พิ จ า ร ณ า ร่ า ง ก ฎ ห ม า ย หลายคร้ัง ท่ีมีข้อเท็จจริงในลักษณะทานอง
เป็นรายฉบับแล้ว ฝ่ายเลขานุการฯ เดียวกันหรือข้อเท็จจริงไม่แตกต่างไปจากเดิม
จะดาเนินการจัดทารายงานการประชุม กลุ่มงานรา่ งกฎหมายรักษามาตรฐานระยะเวลา
เพอ่ื พิจารณารับรองตอ่ ไป ในการใหบ้ ริการประมาณ 4 วนั
3. เรื่องท่ัวไป คือ ร่างกฎหมายหรือข้อหารือ
นอกเหนือจาก ข้อ 1. และ 2. กลุ่มงาน
ร่างกฎหมายรักษามาตรฐานระยะเวลาในการ
ใหบ้ ริการประมาณ 15 วัน

- 77 -

Flow รายละเอยี ด ผรู้ ับ ระยะเวลา มาตรฐาน/วธิ ีการควบคุมคณุ ภาพงาน แบบฟอร์มทใี่ ช้ เอกสาร
ผดิ ชอบ ภายใน 7 วัน 1. เร่ืองเร่งด่วน คือ เร่ืองที่จะต้องดาเนินการ ตามระเบียบงานสารบรรณ อ้างอิง
โดยเร่งด่วนตามนโยบายของคณะรัฐมนตรีหรือ และตามกฎหมายและระเบียบ คู่ มื อ ก า ร เ ส น อ ร่ า ง
5. รับร อง ราย งานการปร ะชุ ม - เม่ือฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการฯ ภายใน 7 วัน ผู้บริหาร กลุ่มงานร่างกฎหมายรักษามาตรฐาน ท่ีเกี่ยวข้องกับการเสนอร่าง กฎหมายของ สานักงาน
และแจง้ ผลการพจิ ารณาใหห้ นว่ ยงาน จัดทารายงานการประชุมเสร็จแล้ว จึง ระยะเวลาการใหบ้ ริการประมาณ 4 วนั กฎหมาย คณะกรรมการกฤษฎกี า
ทราบเพอื่ ดาเนินการตอ่ ไป แจ้งเวียนมติรายงานการประชุมเพ่ือ 2. เร่ืองรูปแบบ คือร่างกฎหมายที่เป็นรูปแบบ
รับรองรายงานการประชุมในคราว ทั่วไปซึ่งเคยมีการเสนอในรูปแบบน้ีมาแล้ว
ประชุมครั้งถดั ไป หลายคร้ัง ที่มีข้อเท็จจริงในลักษณะทานอง
- เม่ือที่ประชุมรับรองรายงานการ เดียวกันหรือข้อเท็จจริงไม่แตกต่างไปจากเดิม
ประชุมเรียบร้อยแล้ว จึงแจ้งมติท่ี กลุม่ งานรา่ งกฎหมายรักษามาตรฐานระยะเวลา
ประชุมให้กับหน่วยงานเจ้าของเร่ือง ในการให้บริการประมาณ 4 วัน
เพือ่ ดาเนินการในส่วนทเี่ ก่ยี วขอ้ งตอ่ ไป 3. เร่ืองทั่วไป คือ ร่างกฎหมายหรือข้อหารือ
นอกเหนือจาก ข้อ 1. และ 2. กลุ่มงานร่าง
กฎหมายรักษามาตรฐานระยะเวลาในการ
ใหบ้ รกิ ารประมาณ 15 วัน

- 78 -
การพิจารณาร่างกฎหมาย ตรวจสอบ กลนั่ กรอง ให้คาปรึกษาและตอบขอ้ หารอื เก่ียวกับร่างกฎหมาย
รา่ งระเบยี บ ร่างข้อบงั คบั ร่างประกาศ หรือร่างคาส่งั ตา่ ง ๆ ของหน่วยงานในสังกดั กระทรวงมหาดไทย

(Flowchart)

เรม่ิ ต้น คืนเร่อื งใหห้ นว่ ยงาน
เจ้าของเรอ่ื ง
รับเรอ่ื งจากหนว่ ยงานในสังกดั
กระทรวงมหาดไทยเพอ่ื เสนอความเหน็
ประกอบการพจิ ารณาของผบู้ งั คับบญั ชา

ไม่อนมุ ตั ิ

เสนอ รมว.มท./ปมท.
เห็นชอบอนมุ ตั หิ ลกั การ

อนมุ ตั ิ
จัดเตรยี มเอกสารทเ่ี ก่ียวข้อง เพือ่ ประกอบการ

พจิ ารณาของคณะกรรมการพจิ ารณาร่าง
กฎหมายกระทรวงมหาดไทย/จดั ทาหนังสอื

เชิญประชมุ

จดั ประชุมพิจารณารา่ งกฎหมายหรือ
ขอ้ หารอื ทางกฎหมายและ
จดั ทารายงานการประชุม

รับรองรายงานการประชุมและแจง้ ผลการ
พิจารณาให้หน่วยงานทราบเพ่อื ดาเนินการตอ่ ไป

ส้ินสุด

- 79 -
(๕) การตรวจสอบ ก ั่นกรอง แ ะทาความเห็นเก่ียวกับการขออนุญาตตามกฎหมาย
วา่ ดว้ ยอาวธุ ปนื เครื่องกระสุนปนื วัตถรุ ะเบิด ดอกไมเ้ พ งิ แ ะส่งิ เทียมอาวุธปนื มีข้นั ตอนการดาเนนิ งาน ดังนี้

๑) การตรวจสอบ กลั่นกรอง และทาความเห็นเก่ียวกับการขออนุญาตดาเนินการ
เกี่ยวกับใบอนุญาตค้าอาวุธปืนฯ และใบอนุญาตให้มีอาวุธปืนฯ สาหรับการค้าตาม ม. ๒๕ แห่ง พ.ร.บ. อาวุธปืนฯ
พ.ศ. ๒๔๙๐ ประกอบมาตรา ๒๖ มาตรา ๑๓ แห่ง พ.ร.บ. อาวุธปืนฯ พ.ศ. ๒๔๙๐ และคาส่ังกระทรวงมหาดไทย
ท่ี ๒๘๙/๒๕๕๒ ลงวันที่ ๘ กันยายน ๒๕๕๒

๒) การตรวจสอบ กลั่นกรอง และทาความเห็นเกี่ยวกับการพิจารณาอุทธรณ์คาขอ
อนญุ าตมีอาวุธปนื ตามมาตรา ๖๓ แหง่ พ.ร.บ. อาวธุ ปืนฯ พ.ศ. ๒๔๙๐

๓) การตรวจสอบ กล่ันกรอง และทาความเห็นเกย่ี วกับการขออนญุ าตวตั ถุระเบดิ
๔) การตรวจสอบ กล่ันกรอง และทาความเห็นเกี่ยวกับการพิจารณาอุทธรณ์
คาขออนุญาตวัตถุระเบดิ

หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ : สานกั งานกฎหมาย โทร. ๐ ๒๒๒๒ ๒๘๔๙ (มท.) ๕๐๔๙๖

- 80 -
การตรวจสอบ ก นั่ กรอง แ ะทาความเห็นเก่ียวกับการขออนญุ าตตามกฎหมายวา่ ด้วยอาวธุ ปืน เคร่อื งกระสุนปืน วตั ถุระเบดิ ดอกไม้เพ ิง แ ะสง่ิ เทียมอาวุธปืน

ที่ ผงั กระบวนงาน ระยะ รายละเอยี ดของงาน มาตรฐาน ระบบตดิ ตาม/ ผรู้ บั ผดิ ชอบ แบบฟอร์ม เอกสารอา้ งองิ
เวลา คณุ ภาพงาน ประเมนิ ผล

๑ ๑ วัน ๑.รับเร่ืองท่ีจังหวัด/ปค. เสนอ ปมท.พิจารณา หลักฐานเอกสาร บุคคล เจ้าหน้าท่ีธรุ การ - - รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ แ ห่ ง

รับเรอ่ื งที่ส่งมาจาก และมอบหมายแก่นติ กิ ร ครบถ้วนถูกต้องตาม และเอกสาร หัวหน้ากลุ่มงาน ราชอาณาจกั รไทย
หนว่ ยงานและสง่ ระเบยี บงานสารบรรณ - พ.ร.บ. อาวุธปืนฯ
เรอื่ งให้นิติกร พ.ศ. ๒๔๙๐ และ

๒ ๕ วัน ๒. ศึกษา ตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลและ - ข้อเท็จจริงและ บุคคล นติ ิกร - กฎหมายลาดับรองที่
ศกึ ษา วิเคราะหป์ ญั หาและรวบรวม เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ เ รื่ อ ง ท่ี
ขอ้ มลู และข้อเทจ็ จริงและขอ้ กฎหมาย ขอ้ เท็จจรงิ และขอ้ กฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เ อ ก ส า ร ห ลั ก ฐ า น และเอกสาร
ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง เสนอ
- ศึ ก ษา วิ เ ค ร า ะ ห์ ข้อ ก ฎ ห ม า ย แ ล ะ มี ค ว า ม ค ร บ ถ้ ว น
-ตรวจสอบ - คาวินิจฉัยขององค์กร
ข้อเท็จจริงตามประเด็นท่ีเสนอหรือขอหารือ เพียงพอที่จะวินิจฉัย
๓ -กลัน่ กรอง ท่ี มี อ า น า จ ห น้ า ที่ ใ น
รวมท้ังค้นคว้าคาวินิจฉัยหรือคาพิพากษา ได้
-ให้ขอ้ เสนอแนะ เร่ืองทเ่ี กี่ยวข้อง เช่น
ที่เก่ียวข้อง และปรับบทกฎหมายตาม - ปรับข้อเท็จจริง
- ค า วิ นิ จ ฉั ย ข อ ง
ข้อเท็จจริงท่ีปรากฏแล้วพิจารณาเสนอ เข้ากับข้อกฎหมาย
คณะกรรมการ
ความเห็น ใ ห้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ
กฤษฎกี า
เ จ ต น า ร ม ณ์ ข อ ง
- คาวินิจฉัยของศาล
กฎหมาย
เ ช่ น ศ า ล ป กค ร อ ง
๒ วัน ๓. พิจารณากล่ันกรองข้อพิจารณาของนิติกร - ให้ความเห็นทาง
ศาลยตุ ิธรรม
และเสนอความเห็นต่อผู้บงั คบั บัญชา กฎหมายโดยมีเหตุผล
- ค า วิ นิ จ ฉั ย ข อ ง
ข้นั ที่ ๑ ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของ ที่ชัดเจนท่ีหน่วยงาน
คณะกรรมการ
(๑) ข้อเท็จจริงครบถ้วนสมบูรณ์พอที่จะ สามารถนาไปปฏิบัติ
พิจารณาร่างกฎหมาย
วนิ จิ ฉยั ได้ ได้
ของ มท. เป็นตน้
(๒) ข้อกฎหมายมกี ารตคี วามข้อกฎหมายให้
- หนังสือสั่งการท่ี
เป็นไปตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย
เกย่ี วข้อง
ถกู ตอ้ งชดั เจน

- 81 -

การตรวจสอบ ก ่นั กรอง แ ะทาความเหน็ เก่ียวกับการขออนญุ าตตามกฎหมายวา่ ด้วยอาวุธปนื เครือ่ งกระสุนปืน วัตถุระเบิด ดอกไมเ้ พ งิ แ ะสง่ิ เทียมอาวธุ ปนื (ต่อ)

ที่ ผงั กระบวนงาน ระยะ ราย ะเอียดของงาน มาตรฐาน ระบบติดตาม/ ผร้ บั ผดิ ชอบ แบบฟอรม์ เอกสารอา้ งอิง
เว า คณุ ภาพงาน ประเมนิ ผ

๑ วนั ข้ันท่ี ๒ นาข้อเท็จจริงมาปรับกบั ขอ้

เหน็ ชอบ ไม่เห็นชอบสง่ กฎหมาย
เสนอเรยี น เร่อื งคืนนติ ิกร ข้นั ที่ ๓ นาเสนอผบู้ งั คับบญั ชา
ผอ.สกม.สป. เจ้าของเรอ่ื ง
พจิ ารณา ดาเนินการแกไ้ ข พิจารณา
ขัน้ ท่ี ๔ แจ้งผลการพิจารณาให้

หน่วยงานทข่ี อหารือทราบ

ปมท.
พิจารณา

เห็นชอบ มีข้อเสนอแนะ
เพม่ิ เตมิ
สง่ เรอ่ื งทเี่ สร็จ
แลว้ ให้ ดาเนินการ
หน่วยงาน แก้ไข

เจ้าของเรอื่ ง
และสาเนาเกบ็

๑ ชดุ

- 82 -

๓.๓.๔ การป้องกันปราบปรามการทุจริตแ ะสง่ เสรมิ คุณธรรมจริยธรรม
(๑) งานการปอ้ งกันแ ะปราบปรามการทุจรติ
๑) จัดทาแผนปฏิบัติการป้องกันแ ะปราบปรามการทุจริตแ ะประพฤติมิชอบของ

กระทรวงมหาดไทย ขึ้นตามกรอบดาเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
ระยะท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) นโยบายรัฐบาล และนโยบายกระทรวงมหาดไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือเป็นกรอบ
แนวทางการบรหิ ารจัดการ การกากับ การติดตามประเมินผลการดาเนินงานและประสิทธิภาพ การใช้จ่ายงบประมาณ
ของส่วนราชการในสงั กัดกระทรวงมหาดไทยและจงั หวัด โดยแผนปฏิบัตริ าชการฯ แบ่งออกเป็น ๒ สว่ น ไดแ้ ก่

- แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม และงบประมาณตามแผนงานบูรณาการป้องกัน
ปราบปรามการทุจรติ

- แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม และงบประมาณของส่วนราชการ ตามแผนปฏิบัติ
ราชการประจาปี

๒) จัดทาสรุปผ การดาเนินงานเกี่ยวกับการป้องกันแ ะปราบปรามการทุจริต
ของกระทรวงมหาดไทย รอบ ๖ เดือน แ ะ ๑๒ เดือน แ ะสรุปผ การดาเนินงานประจาปีด้านการป้องกัน
ปราบปรามการทุจริตแ ะประพฤตมิ ชิ อบ แ ะการสง่ เสริมคุณธรรมจริยธรรม กระทรวงมหาดไทย ส่งสานักงาน
ป.ป.ท. และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง และมีการติดตามผลการดาเนินงาน โดยกาหนดให้ทุกหน่วยงานในสังกัด
และจังหวัดรายงานผลความก้าวหน้าการดาเนินงานตามแผนงานบูรณาการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตฯ พ.ศ. ๒๕๖๓
เป็นประจา ทุกวันท่ี ๕ ของเดือน และเน้นย้าหน่วยงานและจังหวัดเร่งรัดการดาเนินโครงการทุกไตรมาส
รวมท้ังกากับตดิ ตามผลการดาเนนิ งานตามแผนปฏบิ ตั ริ าชการฯ ในรอบ ๖ เดอื นและรอบ ๑๒ เดอื น

๓) รายงานผ การดาเนนิ การกรณขี ้อร้องเรียนเจ้าหนา้ ท่ีของรัฐกระทาการทุจริตหรือ
ประพฤติมิชอบ นระบบรายงานข้อร้องเรียนเจ้าหน้าท่ีรัฐกระทาการทุจริตหรือประพฤติมิชอบของสานักงาน
ป.ป.ท. นภาพรวมของกระทรวงมหาดไทย โดยศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริตกระทรวงมหาดไทย กาหนด
ให้หน่วยงานในสังกัดกระทรวงมหาดไทยรายงานข้อมูลภายในวันที่ ๕ ทุกของเดือน เพื่อรวบรวมผลการดาเนินงาน
ในภาพรวมให้สานกั งาน ป.ป.ท. ภายในวันท่ี ๑๐ ของทกุ เดอื น

๔) วางระบบการประเมนิ ความเสย่ี งตอ่ การทจุ รติ แ ะประพฤติมิชอบของหน่วยงาน
นสังกัดกระทรวงมหาดไทย แ ะจัดทามาตรการ ระบบ หรือแนวทาง นการบริหารจัดการความเสี่ยงของการ
ดาเนินงานท่ีอาจก่อ ห้เกิดการทุจริต โดยรายงานผลการดาเนินการให้สานักงาน ป.ป.ท. โดยสานักงาน ป.ป.ท.
จะจัดสง่ ผลการวิเคราะห์การประเมนิ ตามแผนบริหารความเสี่ยงการทุจริตของกระทรวงมหาดไทย ในกระบวนงาน
ของหน่วยงานในสงั กดั กระทรวงมหาดไทยรวมถึงข้อสังเกต หรือข้อเสนอของสานักงาน ป.ป.ท. เพ่ือนาข้อคิดเห็นฯ
ดังกลา่ ว ไปประยกุ ต์ใชเ้ พื่อเป็นแนวทางในการจัดทาแผนบริหารความเสีย่ งการทุจริตให้มคี วามเหมาะสมย่ิงขึ้นต่อไป

๕) เผยแพร่ รณรงค์ แ ะ ห้ความร้เก่ียวกับการป้องกันแ ะปราบปรามการทุจริต
โดยการจัดโครงการเพื่อเสริมสร้างความรู้ การสร้างเครือข่าย การปลูกฝังเสริมสร้างค่านิยมจิตสานึก ด้านการต่อต้าน

- 83 -

การทุจริต ประพฤติมิชอบ รวมถึงการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม หรือค่านิยม ท่ีพึงประสงค์ให้เกิดขึ้น รวมถึง
การผลติ ส่อื เพอ่ื เผยแพรภ่ ารกจิ ดา้ นการตอ่ ต้านการทุจริตหรือการส่งเสรมิ คุณธรรม จริยธรรม

(๒) งานดา้ นสง่ เสริมแ ะคุ้มครองจรยิ ธรรม
๑) ขบั เค อ่ื นภารกจิ ดา้ นการสง่ เสริมคุณธรรม จริยธรรม โดยคณะกรรมการจริยธรรม

ประจาสานกั งานป ัดกระทรวงมหาดไทย ศนู ยป์ ฏบิ ัตกิ ารต่อต้านการทุจริต กระทรวงมหาดไทยในฐานะฝ่ายเลขานุการ
คณะกรรมการจริยธรรมประจาสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ได้ดาเนินการจัดประชุมคณะกรรมการจริยธรรมฯ
อย่างต่อเน่ือง เพื่อขับเคลื่อนภารกิจที่เก่ียวข้องตามหน้าที่ของคณะกรรมการฯ ตามประมวลจริยธรรมข้าราชการ
พลเรือน เช่น จัดทาแนวทางการดาเนินงานส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ในสังกัด
สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย พิจารณาหลักเกณฑ์และแนวทางในการจัดฝึกอบรม และปลูกจิตสานึก
จริยธรรมที่ดีให้แก่ ข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้างประเภทต่าง ๆ ในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวง
มหาดไทยส่วนกลางกาหนดแนวทางการคัดเลือกบุคลากรในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย เพ่ือยกย่อง
เป็นผูม้ ีจรยิ ธรรมดีเด่น กาหนดแนวทางการดาเนินการประชาสมั พนั ธ์เกย่ี วกบั งานด้านจริยธรรมอยา่ งต่อเนื่อง เป็นต้น

๒) ยกระดับการประเมินคุณธรรมแ ะความโปร่ง ส นการดาเนินงานของหน่วยงาน
ภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment - ITA) ของหน่วยงาน นสังกัดกระทรวงมหาดไทย
โดยดาเนนิ การ ดังน้ี

- ให้ความรู้ ให้คาปรึกษาแนะนา โดยการจัดประชุมมอบนโยบาย การประกาศ
เจตจานงของผู้บริหาร ชี้แจงแนวทางการประเมิน ITA ให้กับหน่วยงานในสังกัด เพื่อเข้าใจแบบการประเมิน/
ขั้นตอนในการจัดเก็บขอ้ มูล/การจัดสง่ ขอ้ มูลให้กบั ผู้ประเมนิ เปน็ ไปตามกรอบเวลาท่ีกาหนด

- ติดตามผลการประเมิน ITA ของหน่วยงานในสังกัดทั้งหมด เพื่อทราบจุดแข็ง
จุดอ่อนของแต่ละหน่วย พร้อมทั้งติดตามผลการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของผู้ประเมิน เพื่อทาการประมวลผล
ในภาพรวมตอ่ ไป

๓) สร้างการรับร้แ ะการเผยแพร่พระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. ๒๕๖๒
ด้วยวิธีการ ช่องทางและส่ือประเภทต่าง ๆ อย่างต่อเน่ือง และเตรียมการจัดทาข้อกาหนดจริยธรรมเพื่อใช้บังคับ
กับเจ้าหน้าท่ีของรัฐของกระทรวงมหาดไทยตามพระราชบัญญัติดังกลา่ ว

๔) ขับเค ื่อนการส่งเสริมคุณธรรมตามแผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรมกระทรวง
มหาดไทย ตามแผนแม่บทส่งเสริมคุณธรรมกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔ เพ่ือให้เป็นไปตามกรอบ
แนวทางดาเนนิ การของแผนแม่บทส่งเสรมิ คุณธรรมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๔)

๕) จัดทาแผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรมกระทรวงมหาดไทย เพื่อเป็นการกระตุ้น
และส่งเสรมิ คณุ ธรรมใหก้ ับบุคลากรในหน่วยงานระดับกรม รัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงมหาดไทยและหน่วยงาน
ในสังกัดสานักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย ให้มีส่วนร่วมในการสร้างสังคมไทยเป็นสังคมคุณธรรมเพ่ือประโยชน์สุข
ของประชาชน

หนว่ ยงานรบั ผิดชอบ : ศูนย์ปฏิบัตกิ ารต่อตา้ นการทจุ รติ กระทรวงมหาดไทย โทร. ๐ ๒๒๒๕ ๕๕๒๑ (มท.) ๕๐๑๕๐

- 84 -

๓.๓.๕ การสง่ เสรมิ แ ะพฒั นาประสิทธิภาพระบบการบริหารงานจังหวดั
สานักพัฒนาและส่งเสริมการบริหารราชการจังหวัดได้พัฒนาองค์ความรู้ กฎหมาย ระเบียบ

หลกั เกณฑ์ และแนวทางปฏิบัตทิ เี่ อื้อต่อการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ อาทิ แนวทางการปฏิบัติงานรองรับระเบียบ
กระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทาแผนและประสานแผนพัฒนาพื้นท่ีในระดับอาเภอและตาบล พ.ศ. ๒๕๖๒
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจดั ทาแผนและประสานแผนพัฒนาพนื้ ท่ี (One Plan) โครงการฝกึ อบรมเพิ่มประสิทธิภาพ
การโอนสินทรัพย์ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด โครงการฝึกอบรมการใช้งานโปรแกรมระบบติดตามและประเมินผล
แห่งชาติ (eMENSCR).เคร่ืองมือวัดระดับการพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด (Benchmarking) การจัดทาคู่มือการโอน
สินทรัพย์ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด คู่มือการปฏิบัติงานของสานักงานจังหวัดในฐานะฝ่ายเลขานุการ
คณะกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชนเพ่ือพัฒนาและแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจ กรอ.จังหวัด และ กรอ.กลุ่มจังหวัด
รวมท้ังถ่ายทอดองค์ความรู้ดังกล่าวโดยการฝึกอบรม สัมมนาให้ผู้บริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัด รวมถึง
เจ้าหน้าท่ีที่เกี่ยวข้องกับการจัดทาแผน การบริหารงบประมาณของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด เพ่ือใช้เป็นแนวทาง
การปฏบิ ัติงานให้กับเจา้ หนา้ ทที่ ้ังในระดับจังหวดั /กลุ่มจังหวดั และส่วนกลางท่ีมีประสทิ ธิภาพ โดยมีการดาเนินงาน ดงั น้ี

(๑) การจัดอบรมให้ความรู้ในโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดทาแผนและประสาน
แผนพัฒนาพื้นท่ี (One Plan) และแจ้งแนวทางการปฏิบัติงานรองรับระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทาแผน
และประสานแผนพัฒนาพื้นท่ีในระดับอาเภอและตาบล พ.ศ. ๒๕๖๒ ให้กับจังหวัด กลุ่มจังหวัด และส่วนราชการ
ในระดับพื้นท่ี

(๒) การปรับปรุงและพฒั นาเครื่องมอื วดั ระดับการพัฒนาจงั หวัดและกลุ่มจังหวัด (Benchmarking)
เปน็ การปรบั ปรุงฐานข้อมลู เพอ่ื การวางแผนเชิงยุทธศาสตรใ์ ห้เป็นเครอ่ื งมือในการเปรียบเทยี บระดบั การพัฒนาระหว่างจังหวัด
กลุ่มจังหวัดและภาค (Comparative Benchmarking) ตามกรอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเปรียบเทียบระดับ
การพัฒนาศักยภาพภายในจังหวัด กลุ่มจังหวัดและภาค (Competitive Benchmarking) และเปรียบเทียบระดับ
การพฒั นาจงั หวัด กลมุ่ จังหวดั และภาคตอ่ ประเดน็ สาคัญ (Agenda Benchmarking) ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด

(๓) การจัดทาคู่มือเก่ียวกับกระบวนการจัดทาแผน การบริหารโครงการ การบริหาร
งบประมาณ ฯลฯ ให้กับจังหวัดและกลุ่มจังหวัด เช่น คู่มือความรู้พื้นฐานสาหรับการจัดทาแผน พัฒนาจังหวัด
และกลมุ่ จงั หวัด รวมกฎหมาย ระเบียบทเ่ี กีย่ วข้องกับการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัด คู่มือการโอนสินทรัพย์
ของจังหวัดและกลุ่มจงั หวัด ค่มู ือการปฏบิ ัตงิ านของสานักงานจังหวัดในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการร่วมภาครัฐ
และเอกชนเพื่อพฒั นาและแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจ กรอ.จงั หวดั และ กรอ.กลมุ่ จังหวัด เปน็ ตน้

(๔) การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร
ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด เช่น โครงการฝึกอบรมเพ่ิมประสิทธิภาพการโอนสินทรัพย์ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการใช้งานโปรแกรมระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ (eMENSCR) สาหรับ
จังหวัดและกลุ่มจังหวัด เป็นต้น

หน่วยงานรับผิดชอบ : กลมุ่ งานสง่ เสรมิ การบรหิ ารราชการจังหวดั สานกั พัฒนาและสง่ เสรมิ การบรหิ ารราชการจังหวัด สป.
โทร. ๐ ๒๒๒๒ ๗๘๒๑ (มท.) ๕๐๔๓๑


Click to View FlipBook Version