- 85 -
๓.๓.๖ การขับเค อื่ นความร่วมมือภาครัฐแ ะเอกชนเพื่อการพัฒนาแ ะแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ
จงั หวดั /ก มุ่ จังหวดั
ตามท่ีคณะรัฐมนตรีมีมติเม่ือวันท่ี ๒๘ มกราคม ๒๕๕๒ แต่งตั้งคณะกรรมการร่วมภาครัฐ
และเอกชนเพื่อแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ (กรอ.) ซึ่งมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธานกรรมการ และมีกรรมการ
ประกอบด้วย รัฐมนตรี หัวหน้าส่วนราชการ และผู้แทนภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง ทาหน้าท่ีพิจารณาและเสนอแนะ
แนวทางและมาตรการต่อคณะรัฐมนตรีในการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคทางเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน
ของภาคเอกชน รวมทั้งให้ภาคเอกชนรว่ มกับภาครัฐในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ และในการประชุม กรอ. ครั้งที่ ๑/๒๕๕๒
ได้มีมติจัดต้ังคณะกรรมการ กรอ.จังหวัด และ กรอ.กลุ่มจังหวัด ซึ่งได้มอบหมายกระทรวงมหาดไทยดาเนินก าร
แต่งต้ังคณะกรรมการดังกล่าว โดยให้มีการจัดสรรงบประมาณจากจังหวัดและกลุ่มจังหวัดมาสนับสนุน
การดาเนินงานของคณะกรรมการฯ ท้ังนี้ คณะกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชนเพ่ือพัฒนาและแก้ไขปัญหา
ทางเศรษฐกิจ (กรอ.) จังหวัดและกลุ่มจังหวัด มีคณะกรรมการประกอบด้วยผู้แทนจากภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น สถาบันการศึกษา และผู้ทรงคุณวุฒิด้านเศรษฐกิจและสังคมในพ้ืนที่ ซึ่งกาหนดให้มีการจัด
ประชุมอย่างสมา่ เสมออย่างน้อย ๒ เดอื น ตอ่ ๑ คร้งั โดยมีขั้นตอนการดาเนินงาน ดังนี้
(๑) จังหวัด/กล่มุ จังหวัด จัดการประชุม กรอ.จงั หวัด/กลมุ่ จังหวดั
(๒) จังหวัด/กลุ่มจังหวัด รายงานผลการประชุม กรอ. จังหวัด/กลุ่มจังหวัด
ใหก้ ระทรวงมหาดไทยทราบ
(๓) กรณีท่ีประชุมฯ มีการพิจารณาให้การสนับสนุนแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม
ที่ส่งผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจในพ้ืนที่แต่ไม่สามารถดาเนินการได้ด้วยข้อจากัดด้านอานาจหน้าที่ งบประมาณ
หรือเกินกว่าท่ีศักยภาพของจังหวัดหรือกลุ่มจังหวัดจะดาเนินการ จะส่งเรื่องขอรับการสนับสนุนการดาเนินการ
มายังกระทรวงมหาดไทย
(๔) กระทรวงมหาดไทยประสานหน่วยงานเจ้าของเร่ืองเพ่ือขอรับการสนับสนุน/เสนอเรื่อง
เขา้ กรอ. สว่ นกลางเพือ่ ใหก้ ารสนับสนุนกรณีเป็นเร่ืองเชิงนโยบาย
(๕) กระทรวงมหาดไทยรับทราบผลการพิจารณาจากหน่วยงานเจ้าของเร่ืองและแจ้ง กรอ.
จงั หวดั /กลุ่มจังหวัดทราบผลการพิจารณา
(๖) กรอ.จังหวัด/กลุม่ จงั หวัด แจ้งผลการพจิ ารณาจากหนว่ ยงานเจา้ ของเรื่องใหท้ ป่ี ระชุมฯ ทราบ
(๗) ระเบยี บ/กฎหมายท่เี กยี่ วขอ้ ง
๑) มติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี ๓๐ มิถุนายน ๒๕๒๔ ให้จัดตั้งคณะกรรมการ
รว่ มภาครฐั และเอกชน (กรอ.)
๒) มติคณะกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชนเพื่อแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจ (กรอ.)
คร้ังที่ ๑/๒๕๕๗ เม่ือวันที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๗ กาหนดให้ กรอ.จังหวัด/กลุ่มจังหวัดจัดให้มีการประชุม อย่างน้อย
๒ เดือน/คร้งั
- 86 -
๓) มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๘ ผลการประชุมร่วมระหว่าง
นายกรฐั มนตรีกับภาคเอกชน
แผนภาพประกอบ Infographic
INPUT PROCESS OUTPUT OUTCOME IMPACT
/ /
/
/ /1 / /
/ /
2
/
3 1
31 2
/ 311 /
/ / 312 / •
/ / /
/ 32
•
IMPACT /
•
•[ ]
[]
หน่วยงานรับผิดชอบ : กลมุ่ งานพฒั นาความร่วมมอื ภาคเอกชน สานกั พฒั นาและส่งเสรมิ การบรหิ ารราชการจงั หวดั สป.
โทร. ๐ ๒๒๒๒ ๔๑๕๙ (มท.) ๕๐๕๑๓
๓.๔ การติดตามประเมินผ
๓.๔.๑ การติดตามแ ะรายงานผ การดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติแ ะแผนการปฏิรป
ประเทศ นระบบติดตามแ ะประเมินผ แห่งชาติ (eMENSCR) ของกระทรวงมหาดไทย/สานักงาน
ป ัดกระทรวงมหาดไทย/จงั หวัดแ ะก ุ่มจงั หวดั
(๑) การรายงานผ การดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติแ ะแผนการปฏิรปประเทศ
นระบบติดตามแ ะประเมินผ แห่งชาติ (eMENSCR) ของกระทรวงมหาดไทย โดยมีการดาเนนิ การ ดงั น้ี
ระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ (eMENSCR) เป็นระบบสาหรับการรายงานผล
การดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนการปฏิรูปประเทศ จัดทาข้ึนรองรับมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันท่ี
๔ ธันวาคม ๒๕๖๐ และกฎหมายฉบับอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยมติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันท่ี ๔ ธันวาคม ๒๕๖๐
กาหนดให้มีแผน ๓ ระดับ ซึ่งแผนระดับที่ ๓ คือแผนที่จัดทาขึ้นโดยหน่วยงานของรัฐ ส่วนราชการ และหน่วยงานอ่ืน ๆ
เพื่อสนับสนุนการดาเนินงานของแผนระดับท่ี ๑ และแผนระดับท่ี ๒ สู่การปฏิบัติให้บรรลุเป้าหมายท่ีกาหนดไว้
หรือจัดทาขึ้นตามท่ีกฎหมายกาหนด หรือจัดทาข้ึนตามพันธกรณี หรืออนุสัญญาระหว่างประเทศ ซ่ึงมติ
คณะรัฐมนตรีดงั กล่าว กาหนดใหใ้ ชช้ อื่ แผนระดบั ที่ ๓ ว่า “แผนปฏบิ ัตกิ ารดา้ น...ระยะที่... (พ.ศ. .... - ....)” เว้นแต่
ได้มีการระบุชื่อแผนไว้ในกฎหมายก่อนที่จะมีมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๖๐ ระบบติดตาม
และประเมินผลแห่งชาติ (eMENSCR) จึงเป็นเคร่ืองมือท่ีใช้ในการตรวจสอบผลการดาเนินการขับเคล่ือน
- 87 -
ตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนการปฏิรูปประเทศของส่วนราชการ/หน่วยงานภาครัฐว่าบรรลุผลสัมฤทธ์ิ
ตามเปา้ หมายหรือไม่
๑) การกาหนดหน่วยงาน/ก ไก นการดาเนินการรายงานผ การดาเนินการ
ตามยุทธศาสตร์ชาติแ ะแผนการปฏิรปประเทศ นระบบติดตามแ ะประเมินผ แห่งชาติ (eMENSCR)
ของกระทรวงมหาดไทย
ส า นั ก ง า น ส ภ า พั ฒ น า ก า ร เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม แ ห่ ง ช า ติ ไ ด้ ก า ห น ด รู ป แ บ บ
การรายงานผลการดาเนินการในระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ ( eMENSCR) ของส่วนราชการ
และหน่วยงานภาครัฐประเภทต่าง ๆ โดยให้ส่วนราชการระดับกระทรวงรับผิดชอบการรายงานผลการดาเนินการ
ของส่วนราชการระดับกรมหรือเทียบเท่า รวมท้ังหน่วยงานภายในหรือหน่วยงานอ่ืน ๆ ที่สังกัดส่วนราชการระดับกรม
หรือเทียบเท่า เว้นแต่หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ซ่ึงกาหนดให้หน่วยงานรัฐวิสาหกิจรายงานผลการดาเนินการ
ตรงต่อสานักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ โดยไมต่ ้องผ่านการอนุมัติของปลัดกระทรวง
กระทรวงมหาดไทยรบั ผิดชอบการรายงานผลการดาเนนิ การของหน่วยงานในสังกัด
ประกอบด้วย ส่วนราชการระดับกรม และหน่วยงานในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย นอกจากนี้
ยังไดร้ ับการขอความอนเุ คราะห์จากสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติให้รับผิดชอบการรายงาน
ผลการดาเนินงานของจังหวัด ๗๖ จังหวัด และกลุ่มจังหวัด ๑๘ กลุ่มจังหวัด เนื่องจากแผนพัฒนาจังหวัด
และแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดไม่อยู่ภายใต้การพิจารณาอนุมัติของกระทร วงมหาดไทย แต่เป็นอานาจของ
คณะกรรมการบูรณาการนโยบายพัฒนาภาค (ก.บ.ภ.) ซ่ึงมีเลขาธิการสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
เป็นกรรมการและเลขานุการ ตามที่กาหนดไว้ในระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารงานเชิงพ้ืนที่
แบบบรู ณาการ พ.ศ. ๒๕๖๐
ทั้งน้ี สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเป็นผู้สร้างบัญชีผู้ใช้
(Username) และรหัสผ่าน (Password) สาหรับเข้าใช้งานระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ (eMENSCR)
ให้กับสว่ นราชการและหนว่ ยงานภาครัฐระดบั กระทรวง โดยกาหนดให้หน่วยงานระดับสานัก/กองของส่วนราชการ
ระดับกรมหรือเทียบเท่า ซ่ึงเป็นผู้จัดทาแผนงาน/โครงการเป็นผู้บันทึกและรายงานข้อมูลผลการดาเนินการ
ตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนการปฏิรูปประเทศ กรณีจังหวัด/กลุ่มจังหวัด หน่วยงานที่มีโครงการบรรจุใน
แผนพัฒนาจังหวัด/กลมุ่ จงั หวดั ใหร้ ับบญั ชผี ูใ้ ชแ้ ละรหสั ผ่านจากหน่วยงานต้นสังกดั ทส่ี ่วนกลาง
๒) กระบวนการรายงานผ การดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติแ ะแผนการปฏิรป
ประเทศ นระบบตดิ ตามแ ะประเมินผ แหง่ ชาติ (eMENSCR) ของกระทรวงมหาดไทย
กระทรวงมหาดไทยได้กาหนดกระบวนการรายงานผลการดาเนินตามยุทธศาสตร์ชาติ
และแผนการปฏิรูปประเทศในระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ (eMENSCR) ให้มีกรอบระยะเวลาสอดคล้อง
กับหนงั สือสานักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ท่ี นร ๑๑๑๒/ว ๒๗๗๒ เร่ือง ระเบียบว่าด้วยการ
ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนการปฏิรูปประเทศ พ.ศ. ๒๕๖๒
ลงวันท่ี ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ซ่ึงกาหนดระยะเวลาในการรายงานผลการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติ
- 88 -
และแผนการปฏิรูปประเทศในระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ (eMENSCR) รายงานภายใน ๓๐ วัน นับถัดจาก
วนั ส้ินสุดแต่ละไตรมาสตามปงี บประมาณ โดยกระทรวงมหาดไทยได้จัดการประชุมร่วมฝ่ายเลขานุการคณะทางาน
กระทรวงมหาดไทยเพ่อื สนบั สนุนการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติและการปฏิรูปประเทศ เม่ือวันท่ี ๓๐ พฤษภาคม
๒๕๖๒ ณ ห้องประชมุ ราชสีห์ ศาลาว่าการกระทรวงมหาดไทย และที่ประชุมได้มีมติเห็นชอบตามที่กลุ่มขับเคลื่อน
การปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง กระทรวงมหาดไทย (ป.ย.ป.มท.)
เสนอ โดยกาหนดให้หัวหน้าส่วนราชการและผู้บริหารอนุมัติข้อมูลการรายงานในแต่ละระดับ ภายใน ๓๐ วัน
นบั ถดั จากวันสนิ้ สุดแต่ละไตรมาสตามปีงบประมาณ ดงั น้ี
- ผู้อานวยการสานัก/กอง วันท่ี ๕ นับถดั จากวนั ส้นิ สุดแต่ละไตรมาสตามปงี บประมาณ
- อธิบดี วนั ที่ ๑๐ นับถดั จากวันสน้ิ สดุ แต่ละไตรมาสตามปงี บประมาณ
- รองปลัดกระทรวงมหาดไทยท่ีกากับดูแล วันที่ ๑๕ นับถัดจากวันสิ้นสุดแต่ละ
ไตรมาสตามปงี บประมาณ
- ปลัดกระทรวงมหาดไทย วันที่ ๒๐ – ๓๐ นับถัดจากวันสิ้นสุดแต่ละไตรมาส
ตามปีงบประมาณ
โดยกาหนดให้หน่วยงานในสังกัดสานักนโยบายและแผน และสานักพัฒน า
และส่งเสริมการบริหารราชการจังหวัด สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย และกลุ่มขับเคล่ือนการปฏิรูปประเทศ
ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง กระทรวงมหาดไทย (ป.ย.ป.มท.)1 เป็นหน่วยงานกล่ันกรอง
การอนุมตั ขิ อ้ มูลในระบบตดิ ตามและประเมนิ ผลแหง่ ชาติ (eMENSCR) สรุปได้ ดังน้ี
ระดบั การอนมุ ตั ิขอ้ มลู ผกู้ ลนั่ กรอง หนว่ ยงานสนบั สนนุ ระยะเวลาในการดาเนนิ การ
1. ระดบั ผู้อานวยการสานกั /กอง ผู้ทีผ่ ้อู านวยการสานัก/กอง ทกุ สานัก/กอง วนั ท่ี ๕ นับถัดจากวันสน้ิ สุดแต่ละ
มอบหมาย ไตรมาสตามปีงบประมาณ
2. ระดบั อธบิ ดี ผู้ท่ีอธบิ ดมี อบหมาย กรมทกุ กรม วันที่ 10 นับถัดจากวนั ส้ินสุดแต่
ละไตรมาสตามปี งบประมาณ
1 คาสัง่ สานกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทยที่ ๖๕๓/๒๕๖๑ เรื่อง การจัดตัง้ กลมุ่ ขบั เคลือ่ นการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคี
ปรองดอง กระทรวงมหาดไทย สัง่ ณ วันท่ี ๑๑ เมษายน ๒๕๖๑ มีผลตั้งแต่วันท่ี ๒๓ เมษายน ๒๕๖๑ ให้ข้าราชการสังกดั กล่มุ งานวจิ ัยและพฒั นา (กวพ.)
สถาบนั ดารงราชานุภาพ สานกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย ปฏิบัติหน้าที่ ป.ย.ป.มท. อีกหน้าที่หน่ึง โดยไม่ขาดจากตาแหน่งหน้าที่เดิม และให้ ป.ย.ป.
มท. รายงานตรงต่อปลัดกระทรวงมหาดไทย ต่อมา คาสัง่ สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยท่ี ๗๖๕/๒๕๖๓ เรื่อง แก้ไขคาสง่ั การจัดต้ังกลุ่มขับเคล่ือนการ
ปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตรช์ าติ และการสร้างความสามคั คปี รองดอง กระทรวงมหาดไทย สั่ง ณ วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๖๓ มีผลต้ังแต่วันที่ ๗ เมษายน ๒๕๖๓
ใหข้ า้ ราชการสงั กดั สานกั นโยบายและแผน (สนผ.) สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ปฏิบัติหน้าท่ี ป.ย.ป.มท. อีกหน้าท่ีหนึ่ง โดยไม่ขาดจากตาแหน่ง
หนา้ ที่เดมิ ประกอบกับคาสัง่ สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยที่ ๘๐๘/๒๕๖๓ เรื่อง มอบหมายให้ขา้ ราชการปฏิบัติราชการในการขับเคล่ือนการปฏิรูป
ประเทศ ยุทธศาสตรช์ าติ และการสรา้ งความสามคั คปี รองดอง กระทรวงมหาดไทย ส่ัง ณ วันท่ี ๗ เมษายน ๒๕๖๓ มีผลต้ังแต่วันที่ ๗ เมษายน ๒๕๖๓
โดยในดา้ นโครงสรา้ งอตั รากาลงั มอบหมายให้ผ้อู านวยการกลมุ่ งานนโยบายและแผนรวม สานักนโยบายและแผน เป็นผู้อานวยการ กลุ่มขับเคล่ือนการ
ปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ การสร้างความสามัคคีปรองดองกระทรวงมหาดไทย และมอบหมายให้ข้าราชการในสังกัดกลุ่มงานนโยบายและแผนรวม
สานักนโยบายและแผนปฏิบัตหิ น้าท่ี ป.ย.ป.มท. อีกหน้าทหี่ นงึ่ โดยไมข่ าดจากตาแหนง่ หนา้ ที่เดิม
- 89 -
ระดับการอนมุ ตั ขิ อ้ มลู ผกู้ ลนั่ กรอง หน่วยงานสนบั สนนุ ระยะเวลาในการดาเนนิ การ
3. ระดบั รองปลดั กระทรวง สานักนโยบายและแผน วันท่ี ๑๕ นบั ถัดจาก
มหาดไทย (รองปลดั กระทรวง สานกั งานปลัดกระทรวง วันส้ินสุดแต่ละไตรมาส
มหาดไทย) ที่กากบั ดูแล มหาดไทย (สนผ.สป.) ตามปีงบประมาณ
1) รองปลัดกระทรวงมหาดไทย สานักนโยบายและแผน กรมการปกครอง (ปค.)
(ดา้ นกิจการความมัน่ คงภายใน) สานกั งานปลัดกระทรวง และกรมท่ดี ิน (ทด.)
มหาดไทย (กลมุ่ งาน
ยุทธศาสตร์ด้านความมนั่ คง
ภายใน (กมน.))
2) รองปลดั กระทรวงมหาดไทย สานักนโยบายและแผน สานกั นโยบายและแผน
(ด้านบริหาร) สานกั งานปลัดกระทรวง สานกั งานปลัดกระทรวง
มหาดไทย (กลมุ่ งานติดตาม มหาดไทย (กลมุ่ งาน
และประเมนิ ผล (กตป.)) นโยบายและแผนรวม
(กผร.)) และกล่มุ พฒั นา
ระบบบริหาร สานักงาน
ปลัดกระทรวงมหาดไทย
(กพร.สป.)
3) รองปลดั กระทรวงมหาดไทย สานกั นโยบายและแผน กรมปอ้ งกันและบรรเทา
(ด้านสาธารณภัยและพฒั นาเมอื ง) สานกั งานปลัดกระทรวง สาธารณภยั (ปภ.) และ
มหาดไทย (กลมุ่ งาน กรมโยธาธิการและผังเมอื ง
ยุทธศาสตร์ดา้ นสาธารณภยั (ยผ.)
และพฒั นาเมอื ง (กสม.))
4) รองปลดั กระทรวงมหาดไทย สานกั นโยบายและแผน กรมการพฒั นาชุมชน (พช.)
(ด้านพัฒนาชุมชนและส่งเสรมิ สานกั งานปลัดกระทรวง และกรมส่งเสริมการ
การปกครองท้องถ่ิน) มหาดไทย (กลุ่มงาน ปกครองท้องถนิ่ (สถ.)
4. ระดบั ปลดั กระทรวงมหาดไทย ยุทธศาสตรด์ า้ นการพัฒนา
(สว่ นกลาง) ชมุ ชนและสง่ เสริมการ สานักนโยบายและแผน วนั ที่ ๒๐ – ๓๐ นบั ถัดจากวนั
ปกครองทอ้ งถน่ิ (กพถ.)) สานกั งานปลดั กระทรวง สน้ิ สุดแต่ละไตรมาส
กล่มุ ขบั เคลอื่ นการปฏริ ูป มหาดไทย (กล่มุ งาน ตามปงี บประมาณ
ประเทศ ยุทธศาสตรช์ าติ นโยบายและแผนรวม วันที่ ๑๕ นบั ถัดจากวนั สน้ิ สุด
และการสรา้ งความสามัคคี (กผร.) และกลมุ่ งานติดตาม แตล่ ะไตรมาสตามปีงบประมาณ
ปรองดอง กระทรวง และประเมินผล (กตป.))
มหาดไทย (ป.ย.ป.มท.) -
๕. ระดบั ปลดั กระทรวงมหาดไทย สานกั พัฒนาและส่งเสรมิ
(จงั หวดั และกลุ่มจังหวดั ) การบริหารราชการจังหวัด
สมาหนาักดงไทานยป(ลสดับกจร.สะปท.ร)2วง
กล่มุ ขบั เคลื่อนการปฏริ ูป - วนั ที่ ๒๐ – ๓๐ นบั ถัดจากวัน
ประเทศ ยุทธศาสตรช์ าติ สิน้ สดุ แตล่ ะไตรมาสตาม
และการสรา้ งความสามัคคี ปีงบประมาณ
ปรองดอง กระทรวง
มหาดไทย (ป.ย.ป.มท.)
2 ในระยะแรก ดาเนินการโดยทกุ กลมุ่ งานของสานักพัฒนาและส่งเสริมการบริหารราชการจังหวัด สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ต่อมาดาเนินการ
โดยกล่มุ งานส่งเสรมิ การบริหารราชการจังหวดั (กสจ.)
- 90 -
โครงสร้างของระบบติดตามแ ะประเมนิ ผ แห่งชาติ (eMENSCR)
ระบบตดิ ตามและประเมนิ ผลแหง่ ชาติ (eMENSCR) ประกอบด้วย Moduleg(M)kต่าง ๆ
ที่กาหนดข้ึนให้สอดคล้องกับข้อ ๖ แห่งระเบียบว่าด้วยการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดาเนินการ
ตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนการปฏิรูปประเทศ พ.ศ. ๒๕๖๒ ประกอบด้วย (๑) M1 ความเชื่อมโยงกับแผน
ในระดับต่าง ๆ (๒) M2 ข้อมูลท่ัวไป (๓) M3 รายละเอียดแผนงาน/โครงการ/การดาเนินการ (๔) M4 แนวทาง
การดาเนินการ (๕) M5 งบประมาณ (๖) M6 ผลการดาเนินงาน ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ และ (๗) M7 การอนุมัติ
ตามลาดับการบังคับบัญชา มีรายละเอยี ด ดงั น้ี
M1 ความเชื่อมโยงกับแผน นระดับต่าง ๆ ได้แก่ แผนระดับที่ ๑ (ยุทธศาสตร์ชาติ)
แผนระดบั ท่ี ๒ แผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ แผนการปฏิรปู ระเทศ แผนระดับชาติว่าด้วยความม่ันคงแห่งชาติ
และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนระดับท่ี ๓ ได้แก่ แผนปฏิบัติราชการของหน่วยงาน แผนปฏิบัติการ
ด้านต่าง ๆ นโยบายรฐั บาล และกฎหมายทเี่ กีย่ วขอ้ ง
M2 ขอ้ ม ทวั่ ไป ประกอบด้วย ช่ือโครงการ/การดาเนินงาน ลักษณะของโครงการ
(ท้ังที่ใช้และไม่ใช้งบประมาณ) วิธีการดาเนินการ (ท้ังท่ีดาเนินการเองหรือโดยการจัดซื้อจัดจ้าง) สถานการดาเนิน
โครงการ
M3 ราย ะเอียดแผนงาน/โครงการ/การดาเนินการ ประกอบด้วย หลักการ
และเหตผุ ล วัตถุประสงค์ เป้าหมายเชงิ ผลผลติ และผลลัพธ์ ตัวชวี้ ัด ประโยชนท์ ีค่ าดว่าจะได้รบั กลมุ่ เป้าหมาย
M4 แนวทางการดาเนินการ ประกอบด้วย กิจกรรม/วิธีการดาเนินการ (ระบุ
รายไตรมาส) ระยะเวลาการดาเนินการของแตล่ ะกิจกรรม
M5 งบประมาณ ประกอบด้วย วงเงินงบประมาณ (วงเงินงบประมาณท้ังหมด
และแหลง่ เงนิ ) และแผนการใช้จา่ ยงบประมาณรายไตรมาส
M6 ผ การดาเนินงาน ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ ประกอบด้วย
การดาเนินงานรายไตรมาส (การเบิกจ่ายงบประมาณและผลการดาเนินงาน) ปัญหา/อุปสรรคในการดาเนินงาน
และขอ้ เสนอแนะ
M7 การอนุมัติตาม าดับการบังคับบัญชา คือการอนุมัติของผู้อนุมัติ โดย M7
ถูกพัฒนาขึ้นในเดือนกันยายน ๒๕๖๒ การอนุมัติข้อมูลในระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ (eMENSCR)
จึงเร่มิ ดาเนินการเป็นครง้ั แรกในไตรมาสท่ี ๓ ของปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑
- 91 -
๓) าดับการอนมุ ัตขิ ้อม
กรณสี ว่ นก าง
อนุมัติ รองป ดั กระทรวง อนมุ ัติ ป ัดกระทรวง อนุมัติ สานกั งานสภา
และสง่ ข้อมลู ทไี่ ด้รบั มอบหมาย และสง่ ข้อมลู (อนมุ ัตขิ ้อม จาก และสง่ ขอ้ มลู พฒั นาการเศรษฐกิจ
รองป ดั กระทรวง) แ ะสงั คมแหง่ ชาติ
ผ้อานวยการกอง อธิบดหี รอื เทยี บเท่า (อนมุ ัติขอ้ ม
(ผก้ รอกข้อม ) (อนมุ ัติขอ้ ม จากระดับกรม) รบั ขอ้ มลู ทไี่ ด้รับการอนมุ ัติ
จากระดับกอง) เพอ่ื จัดทารายงาน
ท่ีมา : สานักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ
กรณจี ังหวดั /ก มุ่ จังหวัด
อธิบดหี รอื เทยี บเท่า อนุมตั ิ รองป ัดกระทรวง อนุมัติ ป ัดกระทรวง
(อนมุ ัตขิ ้อม จากระดบั กอง) ท่ไี ด้รบั มอบหมาย (อนุมัติข้อม จาก
รองป ัดกระทรวง)
เฉพาะกรณที ม่ี กี ารมอบหมายภายในกระทรวง
สง่ ข้อมลู อนุมตั ิและสง่ ข้อมลู มอบหมาย อนมุ ัตแิ ละสง่ ขอ้ มลู
หัวหน้า หวั หนา้ สานกั งาน รองผว้ ่าราชการ ผ้วา่ ราชการจงั หวัด ป ดั กระทรวง สานกั งานสภา
ส่วนราชการ จงั หวัด จังหวัด มหาดไทย อนมุ ตั ิ พัฒนาการ
นจังหวดั เศรษฐกจิ แ ะ
สงั คมแหง่ ชาติ
ผ้กู รอกขอ้ มูลและเลอื ก อนมุ ตั แิ ละส่งขอ้ มลู
เสน้ ทางเอกสาร รบั ขอ้ มูลที่ไดร้ ับการอนมุ ัติ
เพื่อจดั ทารายงาน
ผ้อานวยการก ่มุ งาน อนมุ ตั ิ ผว้ ่าราชการจงั หวัด อนุมตั ิ ป ดั กระทรวงมหาดไทย
บริหารยุทธศาสตร์ (หวั หนา้ ก มุ่ จังหวดั )
ก ุ่มจงั หวดั (OSM)
Accountability
ที่มา : สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ
๔) แนวทางการรายงานผ การดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติแ ะแผนการปฏิรป
ประเทศ นระบบตดิ ตามแ ะประเมนิ ผ แห่งชาติ (eMENSCR) ของสานกั งานป ดั กระทรวงมหาดไทย
- การรายงานผ การดาเนินการ การรายงานผลการดาเนินงาน หมายถึง การใช้
ฟังก์ชัน “รายงานความก้าวหน้า” ในระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ (eMENSCR) หรือ M6 รายงาน
ความกา้ วหน้าในการดาเนินงาน ตลอดจนปญั หา อุปสรรค และขอ้ เสนอแนะ และ “ส่งโครงการ” ในระบบติดตาม
และประเมินผลแห่งชาติให้กับผู้อนุมัติข้อมูล ผู้อนุมัติข้อมูลแต่ละลาดับจะต้องตรวจสอบข้อมูล และอนุมัติข้อมูล
ตามลาดับ ซ่ึงกระบวนการรายงานผลการดาเนินงานต่อสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
จะตอ้ งดาเนินการภายใน ๓๐ วัน นับถัดจากวนั สน้ิ สุดแต่ละไตรมาส
- 92 -
- กระทรวงมหาดไทยกาหนดให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องรายงานผลการดาเนินการ
ตามยุทธศาสตร์ชาติและแผน การปฏิรูปประเทศในระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ (eMENSCR) ซึ่งเป็น
ระบบอิเล็กทรอนิกส์ ควบคู่ไปกับการส่งแบบรับรองการอนุมัติข้อมูลในระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ
(eMENSCR) และผลการดาเนินงานที่สาคัญประจาไตรมาส ซ่ึงกระทรวงมหาดไทยได้กาหนดไว้ ๔ แบบ สาหรับ
สว่ นกลาง ๓ แบบ ได้แก่ สาหรับกรม สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย และสาหรับรองปลัดกระทรวงมหาดไทย
ดา้ นบริหาร ออกแบบโดยกลุ่มขับเคล่ือนการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง
กระทรวงมหาดไทย (ป.ย.ป.มท.) และสาหรับจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ออกแบบโดยสานักพัฒนา และส่งเสริม
การบริหารราชการจงั หวดั สานักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย (กลมุ่ งานสง่ เสริมการบรหิ ารราชการจงั หวัด (กสจ.))
กรณีส่วนก าง แบบรับรองการอนุมัติข้อมูลในระบบติดตามและประเมินผล
แหง่ ชาติ (eMENSCR) และผลการดาเนินงานท่ีสาคัญประจาไตรมาสทัง้ สามแบบ ประกอบด้วย ๑) จานวนโครงการ
ทั้งหมด ๒) จานวนโครงการที่ได้รายงานผลการดาเนินงานในระบบ eMENSCR แล้ว ๓) งบประมาณรวม
๔) ผลการเบิกจ่ายคิดสะสมจนถึงไตรมาสที่รายงาน ๕) ปัญหา/อุปสรรคที่สาคัญ (ในภาพรวม) ๖) แนวทางแก้ไข
และ ๗) ผลการดาเนินงานท่ีสาคัญประจาไตรมาสแบบรับรองการอนุมัติข้อมูลสาหรับส่วนกลางท้ัง ๓ แบบ
มีความแตกต่างกนั ที่ผอู้ นุมตั ิขอ้ มลู ในแต่ละระดบั แล้วแต่กรณี
นับตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็นต้นมา ได้มีการปรับปรุงแบบรับรอง
การอนุมัติข้อมูลในระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ (eMENSCR) ให้มีความเหมาะสมมากขึ้นเป็นระยะ
โดยกาหนดให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดทาเอกสารแนบซึ่งระบุรหัสแผนงาน/โครงการ ช่ือแผนงาน/โค รงการ
และงบประมาณที่ไดร้ บั และงบประมาณเหลือจา่ ยในการดาเนินการแต่ละโครงการ หรือปรับปรุงแบบรับรองการอนุมัติ
ข้อมูลในระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ ( eMENSCR) ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ในแต่ละปี
เช่น ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ เกิดการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 รัฐบาลจึงมีภารกิจเร่งด่วน
ในการแก้ไขปัญหา บรรเทา และเยียวยาความเสียหายท่ีเกิดขึ้นกับประชาชน สังคม และระบบเศรษฐกิจ
จึงมีความจาเป็นต้องโอนงบประมาณรายจ่ายที่หน่วยรับงบประมาณต่าง ๆ ได้รับจัดสรรตามพระราชบั ญญัติ
งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ไปตั้งเป็นงบประมาณรายจ่ายงบกลาง รายการเงินสารองจ่าย
เพ่ือกรณีฉุกเฉินหรือจาเป็น เพ่ือนาไปใช้จ่ายสนับสนุนในการแก้ไขปัญหาและเยียวยาผู้ที่ได้รับผลกระทบ
จากการระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 รวมท้ังกรณีท่ีมีเหตุฉุกเฉินหรือจาเป็นอ่ืน โดยกาหนดให้ระบุ
งบประมาณก่อนและหลังการประกาศใช้พระราชบัญญัติโอนงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ในเอกสารแนบ เป็นต้น
สาหรับหน่วยงานส่วนกลาง หากผู้อนุมัติ ไม่อนุมัติข้อมูลในระบบ ข้อมูลจะถูกส่งคืนให้กับผู้อนุมัติข้อมูล
ตามสายการบังคับบัญชาท่ีลดหล่ันลงไป เพ่ือให้หน่วยงานเจ้าของโครงการแก้ไขข้อมูลในระบบและส่งข้อมูล
ใหก้ ับผู้อนุมตั ขิ ้อมลู ตามสายการบังคบั บัญชา โดยไมต่ อ้ งสง่ แบบรับรองการอนุมัตขิ ้อมลู ในการแก้ไขขอ้ มูลน้นั
กรณีจงั หวดั /ก ุม่ จังหวดั ปัจจุบนั กาหนดใหแ้ บบรับรองการอนุมัติข้อมูลในระบบ
ติดตามและประเมินผลแห่งชาติ (eMENSCR) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. .... ประกอบด้วย (๑) ท่ี (ลาดับที่)
(๒) เลขที่โครงการในระบบ (๓) ชื่อโครงการ/โครงการย่อย/กิจกรรม (๔) วงเงินงบประมาณ (๕) หน่วยดาเนินการ
- 93 -
(๖) แผนการดาเนินงาน (รายไตรมาส) (๗) สถานการณ์รายงานในระบบ (๘) คาช้ีแจงของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด
(๙) ความเห็นผู้ตรวจสอบ (๑๐) สถานการณ์แก้ไขตามข้อ (๙) สาหรับจังหวัด/กลุ่มจังหวัด หากผู้อนุมัติไม่อนุมัติ
ข้อมูลในระบบ ข้อมูลจะถูกส่งคืนให้กับผู้อนุมัติข้อมูลตามสายการบังคับบัญชาที่ลดหลั่นลงไป เพื่อให้จังหวัด/
กล่มุ จงั หวัดแก้ไขข้อมูลในระบบ โดยส่งแบบรับรองการอนุมัติข้อมูลในการแก้ไขข้อมูลนั้นให้กับกระทรวงมหาดไทย
ตามสายการบงั คบั บัญชา
ท้ังนี้ การดาเนินการตามแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด หน่วยงานเจ้าของ
โครงการอาจเปล่ียนแปลงโครงการจากที่ ปรากฏในพระราชบัญญัติงบประมาณร่ายจ่ายประจาปี
หรือโอนเปลย่ี นแปลงโครงการ หรือใช้เงินเหลอื จ่ายจดั ทาโครงการใหม่ หรอื เปลี่ยนแปลงโครงการด้วยเหตุผลอื่นใด
ซึ่งพบการดาเนินการในลักษณะดังกล่าวได้มากกว่ากรณีของหน่วยงานส่วนกลางที่อาจไม่มีการเปล่ียนแปลง
โครงการ แบบรับรองการอนุมัติข้อมูลของจังหวัด/กลุ่มจังหวัดจึงถูกออกแบบเพ่ือให้ผู้กลั่นกรองข้อมูลตรวจสอบ
ข้อมูล และให้หน่วยงานเจ้าของโครงการหรือหน่วยงานท่ีบันทึกข้อมูลยืนยันข้อมูล (แบบรับรองการอนุมัติข้อมูล
ขอ้ (๙) และ (๑๐)) ควบคู่ไปกับการตรวจสอบและการรายงานขอ้ มูลในระบบอิเล็กทรอนกิ ส์
ข้ อ มู ล ที่ ส า นั ก ง า น ส ภ า พั ฒ น า ก า ร เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม แ ห่ ง ช า ติ ร า ย ง า น
ให้คณะรัฐมนตรีและรัฐสภาทราบคือข้อมูลที่ส่วนราชการและหน่วยงานภาครัฐรายงานภายในระยะเวลา ๓๐ วัน
นับถัดจากวันส้ินสุดแต่ละไตรมาส และให้ถือว่าความถูกต้องเช่ือถือได้ของการรายงานผลการดาเนินการ
ตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนการปฏิรูปประเทศในระบบติดตามและประมวลผลแห่งชาติ ( eMENSCR)
เปน็ ความรับผดิ ชอบ (Accountability) ของหน่วยงานเจ้าของโครงการ
- การแกไ้ ขข้อม
ก่อนส่งโครงการ เม่ือบันทึกข้อมูลแผนงาน/โครงการในระบบติดตามและ
ประเมินผลแห่งชาติ โดยท่ียังไม่ได้ส่งโครงการให้กับผู้อนุมัติข้อมูล การบันทึกข้อมูลดังกล่าวจะมีสถานะเป็น
“ร่างโครงการ” หน่วยงานเจ้าของโครงการ หรือหน่วยงานที่บันทึกข้อมูลสามารถแก้ไขข้อมูลแผนงาน/โครงการ
(M1 – M5) ได้
ห ังได้รับการอนุมัติข้อม แต่ ะ าดับแ ้ว เม่ือหน่วยงานเจ้าของโครงการ
หรือหน่วยงานที่บันทึกข้อมูลส่งโครงการให้กับผู้อนุมัติข้อมูลแต่ละลาดับแล้ว ผู้อนุมัติข้อมูลแต่ละลาดับจะทาการ
ตรวจสอบความถกู ตอ้ งเรยี บรอ้ ยของข้อมูล หากผู้อนมุ ตั ขิ อ้ มลู ลาดับใดเห็นว่าจาเป็นต้องแก้ไขข้อมูล ผู้อนุมัติข้อมูลนั้น
จะต้องคืนโครงการในระบบตามลาดับกลับไปยังหน่วยงานเจ้าของโครงการหรือหน่วยงานท่ีบันทึกข้อมูล
จงึ จะสามารถแกไ้ ขข้อมลู ได้ ซ่งึ ระบบติดตามและประเมนิ ผลแห่งชาติ (eMENSCR) ได้ถูกออกแบบให้ผู้อนุมัติข้อมูล
ตั้งแต่ระดับอธิบดี ระดับรองปลัดกระทรวง และระดับปลัดกระทรวงสามารถระบุเหตุผลในการขอให้หน่วยงาน
เจ้าของโครงการหรือหน่วยงานท่ีบันทึกข้อมูลแก้ไขข้อมูล ทั้งนี้ ผู้อนุมัติข้อมูลทุกลาดับจะไม่สามารถแก้ไขข้อมูล
ได้ดว้ ยตนเอง เนอื่ งจากเป็นผูอ้ นมุ ัตขิ อ้ มูล (M7)
การเปลี่ยนแปลงงบประมาณจากที่ปรากฏในพระราชบัญญัติงบประมาณร่ายจ่าย
ประจาปี การโอนเปลี่ยนแปลงโครงการ การใช้เงินเหลือจ่ายจัดทาโครงการใหม่ หรือการเปลี่ยนแปลงโครงการ
- 94 -
ด้วยเหตุอ่ืนใดให้ดาเนินการในช่วงระยะเวลา ๓๐ วัน นับถัดจากวันส้ินสุดแต่ละไตรมาสของปีงบประมาณนั้น
หรือตามกรอบระยะเวลาทส่ี านกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติกาหนด
เมื่อปลัดกระทรวงอนุมัติข้อมูลแผนงาน/โครงการในระบบติดตามและประเมินผล
แห่งชาติ (eMENSCR) แล้ว ข้อมูลในระบบจะถูกส่งถึงสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
และจะไม่สามารถส่งคืนโครงการในระบบตามลาดับให้กับหน่วยงานเจ้าของโครงการหรือหน่วยงานท่ีบันทึกข้อมูลได้อีก
การแก้ไขข้อมูลในกรณีนี้ ส่วนราชการระดับกระทรวงจะต้องมีหนังสือถึงสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ
และสงั คมแห่งชาติเพอ่ื ขอแกไ้ ขข้อมูลเทา่ นน้ั
เมือ่ ผา่ นพน้ ระยะเวลา ๓๐ วัน นับถัดจากวันส้ินสุดแต่ละไตรมาสแล้ว การรายงาน
ผลการดาเนินงานของไตรมาสน้ันจะสิ้นสุดลง การย้อนกลับไปรายงานผลการดาเนินงานของไตรมาสที่ล่วงมาแล้ว
จะไม่สามารถดาเนินการได้ เว้นแต่กรณีที่สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเปิดระบบ
ใหด้ าเนนิ การได้
- ปฏิทนิ การรายงานผลการดาเนนิ งาน
หน่วยงานรายงาน หนว่ ยงานรายงาน หนว่ ยงานรายงาน หนว่ ยงานรายงาน
ความก้าวหนา้ Q4 ความกา้ วหน้า Q1 ความก้าวหน้า Q2 ความก้าวหน้า Q3
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
สศช. ครม. รายงาน สศช. ครม. รายงาน สศช. ครม. รายงาน สศช. ครม. รายงาน
รายงาน พิจารณา รฐั สภา รายงาน พิจารณา รฐั สภา รายงาน พิจารณา รัฐสภา รายงาน พิจารณา รัฐสภา
ราผยลงานความกา้ วหนา้ Q4 ราผลยงานความก้าวหน้า Q1 ราผยลงานความกา้ วหนา้ Q2 ราผยลงานความก้าวหนา้ Q3
ที่มา : สานักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ
หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ : กลุ่มขับเคล่ือนการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง
กระทรวงมหาดไทย (ป.ย.ป.) โทร. ๐ ๒๒๓ ๔๘๗๐ (มท.) ๕๐๕๗๗
(๒) การติดตามผ การดาเนนิ การตามยุทธศาสตรช์ าติแ ะแผนการปฏิรปประเทศ นระบบ
ติดตามแ ะประเมนิ ผ แห่งชาติ (eMENSCR) ของสานกั งานป ัดกระทรวงมหาดไทย
ระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ (eMENSCR) เป็นระบบท่ีจัดต้ังข้ึนตามระเบียบ
ว่าด้วยการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ และแผนการปฏิรูปประเทศ
พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยใช้สาหรบั เป็นกลไกในรายงานผลการดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ และแผนการปฏิรูปประเทศ
เพ่ือเป้าหมายในการเป็นระบบฐานข้อมูลกลางท่ีสามารถเช่ือมโยงข้อมูลที่เกี่ยวข้องได้อย่างบูรณาการ
โดยกาหนดให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐทุกแห่งดาเนินการให้มีการรายงานผลการดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ
และแผนการปฏิรูปประเทศ ตามรายการและระยะเวลาท่ีสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติกาหนด
- 95 -
ซ่ึงได้กาหนดให้รายงานผลการดาเนินการแผนงาน/โครงการเป็นรายไตรมาส โดยให้รายงานภายใน ๓๐ วัน
นับถัดจากวนั สิ้นสุดแตล่ ะไตรมาสตามปีงบประมาณ
๑) โครงสรา้ งข้อม ระบบตดิ ตามแ ะประเมนิ ผ แห่งชาติ (eMENSCR)
ระบบตดิ ตามและประเมินผลแห่งชาติจะจาแนกประเภทของผู้ใช้งานระบบ (user)
ตามบทบาทหนา้ ท่ีออกเปน็ ทง้ั หมด ๕ ประเภท ดงั น้ี
- ผู้นาเข้าข้อมูลโครงการ คือ ส่วนราชการระดับกองโดยความรับผิดชอบ
ของผู้อานวยการกองหรอื เทยี บเทา่ ทาหน้าทใี่ นการนาเข้าขอ้ มูลโครงการหรือการดาเนินงาน ตลอดจนการรายงาน
ความกา้ วหน้าเปน็ รายไตรมาส และส่งข้อมลู เพื่อขอรบั การอนมุ ตั ิจาก “ผู้อนมุ ตั ”ิ
- ผนู้ าเขา้ ข้อมลู แผน คอื ส่วนราชการระดบั กองทไี่ ด้รบั มอบหมายในการนาเข้าแผน
ระดับ ๓ ของหน่วยงานเข้าสู่ระบบฯ เช่น กองยุทธศาสตร์, กองนโยบายและแผน โดยหน่วยงานระดับกรม
หรอื เทยี บเท่า และระดับกระทรวงจะได้รบั เพยี ง Username เดียวต่อหน่งึ หน่วยงาน
- ผอู้ นุมตั ิ คือ ผู้ใช้งานระบบฯ ท่ีสามารถพิจารณาให้ความเห็นชอบข้อมูลโครงการ
ที่ส่วนราชการระดับกองนาเข้ามาในระบบฯ เพื่อเป็นการยืนยันความถูกต้องก่อนจะนาข้อมูลดังกล่าวมาใช้
ประกอบการจัดทารายงานเสนอต่อคณะรฐั มนตรแี ละรัฐสภาต่อไป
- ผปู้ ระสานงานระดับกระทรวง (ป.ย.ป.) คือ กลุ่มงาน ป.ย.ป. หรือ ผู้ที่ได้รับมอบหมาย
ให้ทาหน้าที่ ป.ย.ป. ของหน่วยงาน ซึ่งเป็นผู้ใช้งานระบบฯ ท่ีสามารถดูภาพรวมของทุกโครงการในทุกสถานะ
ภายในกระทรวงได้ เพื่อเปน็ ประโยชนใ์ นการประสานงานและตดิ ตามความคบื หน้าในการนาข้อมูลเขา้ สรู่ ะบบฯ
- ผู้ติดตามและตรวจสอบ คือ ผู้ใช้งานระบบฯ ที่มีอานาจหน้าท่ีในการติดตาม
และตรวจสอบการดาเนินการตามยทุ ธศาสตรช์ าตแิ ละแผนการปฏริ ูปประเทศตามกฎหมายหรือระเบียบท่ีเก่ียวข้อง
เช่น คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ, คณะกรรมการปฏิรูปประเทศ, คณะรัฐมนตรี, สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร,
สมาชกิ วฒุ ิสภา เป็นต้น
- 96 -
ระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาตินั้นจะมีลาดับข้ันตอนในการบันทึกข้อมูล
ทั้งหมด ๗ ลาดบั ดังนี้
๒) ขั้นตอนการรายงานผ การดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติแ ะแผนการปฏิรป
ประเทศ นระบบติดตามแ ะประเมินผ แหง่ ชาติ (eMENSCR) ของสานักงานป ัดกระทรวงมหาดไทย
กลุ่มขับเคล่ือนการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคี
ปรองดอง กระทรวงมหาดไทย (ป.ย.ป. มท.) แจ้งแนวทางการบันทึกและการรายงานข้อมูลในระบบติดตาม
และประเมินผลแห่งชาติ (eMENSCR) ให้หน่วยงานในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยทราบ โดยให้รายงาน
ขอ้ มูลในระบบฯ ตามแนวทางและระยะเวลาท่ีกระทรวงมหาดไทยกาหนด ดงั น้ี
- ระดับผู้อานวยการกอง/สานัก ภายในวันที่ ๕ นับถัดจากวันสิ้นสุดแต่ละไตรมาส
ตามปีงบประมาณ
- รองปลัดกระทรวงมหาดไทยท่ีกากับดูแล ภายในวันท่ี ๑๕ นับถัดจากวันสิ้นสุด
แต่ละไตรมาสตามปงี บประมาณ
- ปลัดกระทรวงมหาดไทย ภายในวันที่ ๒๐ - ๓๐ นับถัดจากวันส้ินสุดแต่ละไตรมาส
ตามปีงบประมาณ
หน่วยงานในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยท้ังหมด ๑๙ หน่วยงาน
รายงานขอ้ มลู ในระบบฯ ตามแนวทางและระยะเวลาทกี่ ระทรวงมหาดไทยกาหนด
กลุ่มงานติดตามและประเมินผล สานักนโยบายและแผน สานักงานปลัดกระทรวง
มหาดไทย ในฐานะผู้กล่ันกรองในระดับการอนุมัติข้อมูลของรองปลัดกระทรวงมหาดไทย ด้านบริหาร ตรวจสอบ
และกลน่ั กรองขอ้ มลู เพือ่ เสนอรองปลัดกระทรวงมหาดไทย ดา้ นบริหาร
รองปลัดกระทรวงมหาดไทย ด้านบริหาร พิจารณาให้ความเห็นชอบในแบบรับรอง
การอนมุ ัติขอ้ มลู ที่รายงานในระบบฯ
แจ้ง ป.ย.ป. มท. เพ่ือเสนอปลัดกระทรวงมหาดไทยพิจารณาอนุมัติ และส่งข้อมูล
ในระบบใหส้ านักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ตอ่ ไป
หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ : กล่มุ งานติดตามประเมนิ ผล สานักนโยบายและแผน สป. โทร. ๐ ๒๒๒๓ ๕๒๔๖ (มท.) ๕๐๔๗๓
- 97 -
แผนภาพแสดงกระบวนการรายงานผ การดาเนินการตามยทุ ธศาสตร์ชาติแ ะแผนการปฏิรปประเทศ นระบบ
ตดิ ตามแ ะประเมนิ ผ แหง่ ชาติ (eMENSCR) ของกระทรวงมหาดไทย
ข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิงานในแต่ละปีงบประมาณ ผทู้ ีเ่ กี่ยวข้อง
๑. การนาเขา้ ขอ้ มลู แผนงาน/ กรณีท่มี กี าร - สานกั /กอง
โครงการ (M1 – M5) ของ ปรับปรงุ แกไ้ ข - สานกั งานจังหวัดหรอื ส่วนราชการ
ท่เี กี่ยวข้องกับแผนพฒั นาจงั หวัด/แผนพฒั นากลมุ่
ปีงบประมาณ พ.ศ. .... ภายใน จังหวดั ทไี่ ดร้ ับมอบบัญชีผ้ใู ชแ้ ละรหัสผา่ นเพ่อื บนั ทกึ
๓๐ วนั นบั ถดั จากวนั ส้ินสดุ ข้อมลู ในระบบตดิ ตามและประเมนิ ผลแห่งชาติ
ไตรมาสท่ี ๓ ของปีงบประมาณ (eMENSCR)
กอ่ นหน้า และภายใน ๓๐ วัน
นบั ถัดจากวนั สน้ิ สุดแตล่ ะไตรมาส ส่วนกลาง
กรณเี พ่ิมโครงการในระบบ - ผูอ้ านวยการสานกั /กอง
- อธิบดี
๒. การอนมุ ตั ิข้อมูลแผนงาน/ กรณที ี่มีการ - รองปลดั กระทรวงมหาดไทย
โครงการ (M1 – M5) ๓ ปรบั ปรงุ แก้ไข - ปลดั กระทรวงมหาดไทย
จงั หวดั /กลมุ่ จังหวดั
ตามลาดับช้นั พรอ้ มแบบรับรอง กรณที ่ี ๑
- หวั หนา้ สว่ นราชการ
๓. การรายงานความกา้ วหนา้ - หวั หน้าสานักงานจงั หวดั
ของโครงการ/การดาเนินงาน - รองผวู้ ่าราชการจงั หวดั
- ผู้ว่าราชการจงั หวัด
(M6) - ปลดั กระทรวงมหาดไทย
กรณที ่ี ๒
๔. การอนมุ ตั กิ ารรายงาน - ผอู้ านวยการกลมุ่ งานบรหิ ารยุทธศาสตรก์ ล่มุ จงั หวัด
ความกา้ วหนา้ ของโครงการ/ (OSM)
- ผู้ว่าราชการจงั หวดั (หวั หน้ากลมุ่ จังหวดั )
การดาเนนิ งาน (M6) - ปลัดกระทรวงมหาดไทย
ตามลาดับชน้ั พร้อมแบบ
- สานกั /กอง
รับรอง - กรม
- จงั หวดั /กลมุ่ จังหวดั
๕. การรบั ขอ้ มูลทไ่ี ด้รบั การ
อนุมัตแิ ละการจดั ทารายงาน สว่ นกลาง
ตอ่ คณะรฐั มนตรแี ละรัฐสภา - ผอู้ านวยการสานกั /กอง
- อธิบดี
- รองปลดั กระทรวงมหาดไทย
- ปลัดกระทรวงมหาดไทย
จงั หวดั /กลมุ่ จงั หวัด
กรณที ่ี ๑
- หัวหน้าส่วนราชการ
- หวั หนา้ สานักงานจงั หวัด
- รองผวู้ ่าราชการจังหวัด
- ผวู้ า่ ราชการจังหวดั
- ปลัดกระทรวงมหาดไทย
กรณที ี่ ๒
- ผู้อานวยการกลมุ่ งานบรหิ ารยุทธศาสตรก์ ลมุ่ จังหวัด
(OSM)
- ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั (หวั หน้ากลมุ่ จงั หวดั )
- ปลดั กระทรวงมหาดไทย
รายรมาส สานกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ
๓ กรณจี งั หวัด/กลมุ่ จงั หวดั หากมีการแกไ้ ขขอ้ มลู ให้ส่งแบบรับรองการอนุมัตขิ ้อมลู (M1 – M5 หรอื M6) ซา้ และให้ประสานงานกับสานกั พัฒนาและ
สง่ เสรมิ การบริหารราชการจังหวดั สานกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย
- 98 -
(๓) การติดตามผ การดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติแ ะแผนการปฏิรปประเทศ
นระบบตดิ ตามแ ะประเมนิ ผ แห่งชาติ (eMENSCR) ของจังหวัดแ ะก ุ่มจังหวดั
กระทรวงมหาดไทยในฐานะหน่วยงานกลางของรัฐบาลท่ีมีหน้าท่ีควบคุม กากับ ดูแล
ประสานการปฏิบัติงานของราชการส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น ได้มอบหมายให้สานักพัฒนาและส่งเสริมการบริหาร
ราชการจังหวัดดาเนินการประมวลแบบรับรองการอนุมัติข้อมูลในระบบติดตาม และประเมินผลแห่งชาติในระดับ
จังหวัดและกล่มุ จังหวดั สง่ ให้กล่มุ ขบั เคลื่อนการปฏริ ูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง
กระทรวงมหาดไทย (ป.ย.ป.มท.) เป็นผู้อนุมัติในระดับปลัดกระทรวง โดยมีแนวทางการตรวจสอบโครงการ
และผลการดาเนนิ งานในระบบ eMENSCR ดังนี้
๑) การตรวจสอบข้อมูลโครงการในระบบ eMENSCR.เน้นความถูกต้องของข้อมูล
รายละเอยี ดโครงการ (M1 – M5) และผลการดาเนนิ งาน (M6)
M1 คอื ความสอดคล้องของโครงการกับยทุ ธศาสตร์ชาติ
M2 คอื ข้อมลู ทัว่ ไปของโครงการ (วิธีการดาเนนิ งาน ผูร้ ับผดิ ชอบ ผู้ประสานงานหลัก)
M3 คอื รายละเอียดโครงการ (การดาเนินงาน เปา้ หมาย พ้ืนที่ดาเนนิ การ ระยะเวลา)
M4 คอื กิจกรรมของโครงการ
M5 คือ งบประมาณ (แหลง่ เงนิ แผนการใชจ้ า่ ย)
M6 คอื ผลการดาเนนิ งาน ประจาไตรมาส
M7 คอื สายการบงั คบั บญั ชา (สศช. เปน็ ผ้ผู กู เส้นทางการอนมุ ตั ิ M1 - M5)
๒) จังหวัดและกลุ่มจังหวัดดาเนินการลงข้อมูล M1 – M5 และรายงานผล M6
ในระบบและจัดสง่ แบบรบั รองการอนุมตั โิ ครงการในระบบมายงั สานกั พัฒนาและสง่ เสริมการบริหารราชการจังหวัด
ให้แล้วเสร็จภายในวันท่ี ๑๐ นับจากวันส้ินสุดแต่ละไตรมาส (๑๐ มกราคม/๑๐ เมษายน/๑๐ กรกฎาคม/
๑๐ ตุลาคม) และสานักพัฒนาและส่งเสริมการบริหารราชการจังหวัดจะดาเนินการตรวจสอบภายใน ๑๕ วัน
นับถัดจากวันสิ้นสุดแต่ละไตรมาสของปีงบประมาณ เพ่ือรายงานต่อ ป.ย.ป.มท. พิจารณาอนุมัติในระดับ
ปลัดกระทรวง
๓) ดาเนินการฝึกอบรมการใช้งานโปรแกรมระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ
(eMENSCR) สาหรับจังหวัดและกลุ่มจังหวัด และอานวยความสะดวกในการแนะนาการใช้งานระบบเบื้องต้น
ผา่ นช่องทาง ไลน์กลุม่ (Line ID : eMENSCR_pad62) หรอื โทร ๐๒ ๒๒๒ ๗๘๒๑ สือ่ สาร มท. ๕๐๔๓๖, ๕๐๔๓๑
หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ : กลุม่ งานสง่ เสรมิ การบริหารราชการจงั หวัด สานกั พัฒนาและส่งเสริมการบริหารราชการจังหวัด สป.
โทร. ๐ ๒๒๒๒ ๗๘๒๑ (มท.) ๕๐๔๓๑
๓.๔.๒ การติดตามผ การดาเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการประจาปีของสานักงาน
ป ัดกระทรวงมหาดไทย (e - Monitoring)
การตดิ ตามผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบตั ิราชการประจาปีของสานักงานปลัดกระทรวง
มหาดไทย (e - Monitoring) เป็นระบบสารสนเทศที่ใช้ในการติดตามความสาเร็จของการดาเนินงาน
- 99 -
ตามตัวชี้วัดของหน่วยงานสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย โดยออกแบบข้ึนมาเพื่อรองรับการทางานให้มี
ความทันสมัย สะดวก รวดเร็ว ผ่าน Web Browser ซ่ึงสามารถติดตามผลการดาเนินงานได้ทุกท่ี ทุกเวลา ท้ังนี้
ในแต่ละไตรมาสจะติดตามความก้าวหน้าโดยเปรียบเทียบผลการดาเนินงานกับแผนปฏิบัติราชการท่ีกาหนดไว้
วา่ มีผลการดาเนนิ งานเปน็ อย่างไร ดงั น้ี
ผลการดาเนินงานตา่ กวา่ เปา้ หมาย แสดงออกเปน็ สีแดง
ผลการดาเนนิ งานเปน็ ไปตามเป้าหมาย แสดงออกเปน็ สเี ขียว
ผลการดาเนินงานสูงกวา่ เปา้ หมาย แสดงออกเปน็ ฟา้
ไม่กาหนดแผน/ผล แสดงออกเปน็ สีเทา
ในกรณีที่ตัวช้ีวัดมีผลการดาเนินงานต่ากว่าเป้าหมายที่กาหนดหน่วยงานต้องระบุปัญหา
และอปุ สรรคทเ่ี กิดขึ้นระหวา่ งการดาเนินโครงการ เพ่อื ใหก้ ารแกไ้ ขปญั หาเปน็ ไปอยา่ งทันท่วงที
การรายงานผลของระบบการติดตามผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการฯ
ผ่าน Web Browser สามารถเลอื กรูปแบบรายงานได้ ๓ รูปแบบคือ
(๑) การรายงานผลการดาเนินงานภาพรวมตามปีงบประมาณ สามารถเลือกปีงบประมาณ
ที่ต้องการทราบข้อมูลภาพรวม โดยจะแสดงผลการดาเนินงานแผนงาน/โครงการ ทั้งหมดของหน่วยงานสังกัด
สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ว่ามีตัวชี้วัดใดบ้าง ที่มีผลการดาเนินงานต่ากว่าเป้าหมาย เป็นไปตามเป้าหมาย
สงู กวา่ เป้าหมาย และไมก่ าหนดแผน/ผล
(๒) การรายงานผลการดาเนนิ งานตามประเดน็ ยุทธศาสตร์ ๓ ประเดน็ ได้แก่ (๑) การบูรณาการ
และแปลงนโยบาย/ยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติในระดับพ้ืนที่ (๒) การส่งเสริม สนับสนุนการบริหารงานจังหวัด/
กลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ และ (๓) การบริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพภายใต้หลักธรรมาภิบาล โดยจะแสดงผล
ตัวช้วี ดั ตามรายประเดน็ ยุทธศาสตร์ โดยไมแ่ ยกรายหนว่ ยงาน
(๓) การรายงานผลการดาเนินงานตามหน่วยงานสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย
ทั้งหมด ๑๙ หน่วยงาน สามารถเลือกรายหน่วยงานที่ต้องการ โดยจะแสดงตัวช้ีวัดท้ังหมดที่หน่วยงานนั้น ๆ ได้มีการ
ดาเนนิ งานภายในปีงบประมาณทต่ี อ้ งการทราบข้อมลู
ด้วยเหตุน้ี ระบบการติดตามผลการดาเนินงานฯ ข้างต้น จึงสามารถใช้เป็นเคร่ืองมือ
ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในการติดตามผลการดาเนินงาน ตลอดจนเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบแผนงาน/โครงการ
มีแนวทางในการติดตามผลการดาเนินงานร่วมกัน ซ่ึงจะเป็นประโยชน์ต่อการวางแผน ปรับแผนการดาเนินงาน
และทบทวนแผนสาหรับการจัดทาแผนงาน/งบประมาณในปีต่อไป อีกท้ังผู้บริหารระดับสูงสามารถติดตาม
ความก้าวหน้าในการดาเนินงานตามแผน เพื่อประโยชน์ต่อการบริหารราชการ และการกากับ/ติดตามงานให้เกิด
ผลสัมฤทธิ์สูงสดุ
- 100 -
ภาพแสดงระบบการตดิ ตามผ การดาเนนิ งานตามแผนปฏบิ ัติราชการประจาปี (e – Monitoring)
หน่วยงานรบั ผิดชอบ : กลมุ่ งานตดิ ตามและประเมินผล สานกั นโยบายและแผน สป.
โทร. ๐ ๒๒๒๓ ๕๒๔๖ (มท.) ๕๐๔๗๓
- 101 -
๓.๔.๓ การตดิ ตามผ การตรวจราชการของผ้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย
- 102 -
๓.๔.๔ การตรวจสอบภาย นระดับกระทรวง
ภารกิจของงานตรวจสอบภายใน แบ่งเป็น ๒ ลักษณะ คือ (๑) การให้ความเชื่อมั่น
(Assurance Service) เป็นการตรวจสอบเพื่อนามาประเมินกระบวนการบริหารความเสี่ยง การควบคุมภายใน
และการกากบั ดแู ล ด้วยความเปน็ อสิ ระและเทย่ี งธรรม หลกี เลี่ยงความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยต้องปฏิบัติงาน
ด้วยความระมัดระวังรอบคอบและใช้ทักษะเย่ียงผู้ประกอบวิชาชีพ (๒) การให้คาปรึกษา (Consulting Service)
เป็นกิจกรรมการให้คาแนะนาและคาปรึกษาโดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือเพ่ิมคุณค่า ปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติงาน
การบริหารความเสีย่ ง การควบคมุ ภายใน การกากับดแู ลและสนบั สนุนใหห้ น่วยรับตรวจสามารถบรรลุวัตถุประสงค์
ทีก่ าหนดไว้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
(๑) ขอบเขตการปฏิบัติงานของหน่วยงานตรวจสอบภาย น เพ่ือ ห้ผ้บริหาร
หรือผท้ ่เี ก่ยี วขอ้ งม่ัน จไดว้ ่าการปฏิบตั งิ านของหน่วยรบั ตรวจบรร วุ ตั ถุประสงค์ที่กาหนดไวห้ รือไม่ ไดแ้ ก่
๑) ให้ม่ันใจว่าการปฏิบัติงานของหน่วยงานต่าง ๆ สามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์
และเปา้ หมายท่กี าหนดไวอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ ประสทิ ธผิ ล ประหยดั และคุม้ ค่า
๒) ประเมินความเพียงพอ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของการควบคุมภายใน
การบรหิ ารความเส่ียง การกากับดูแลในทุกกิจกรรมการดาเนินงาน ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ การควบคุมความ
เสี่ยงจากการทจุ รติ และมาตรการในการบรหิ ารจดั การ
๓) ให้ความมั่นใจได้ว่าข้อมูลทางการเงินและมิใช่การเงิน มีความครบถ้วน ถูกต้อง
และเชื่อถือได้
๔) ให้มีการดูแลรักษาทรัพย์สิน และการใช้ทรัพยากรว่าเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ประสทิ ธผิ ลและประหยัด รวมทงั้ ลดโอกาสในการนาไปส่กู ารทุจรติ
๕) ใหเ้ กดิ การปฏิบัติที่ถูกต้องตามนโยบาย มาตรฐาน วิธีปฏิบัติงาน ระเบียบข้อบังคับ
และกฎหมายทเ่ี ก่ียวข้อง
๖) ใหค้ าแนะนาแก่ผู้บริหาร และหน่วยงานต่าง ๆ เกี่ยวกับการกากับดูแล การบริหาร
ความเสี่ยงและการควบคุมภายใน
๗) ประเมินความเพียงพอของการควบคุมภายใน การบริหารความเส่ียง การกากับ
ดูแล ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการควบคุมความเสี่ยงจากการทจุ ริตในหนว่ ยงาน
ทั้งนี้ การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในตามมาตรฐานวิชาชีพไม่สามารถรับประกันได้ว่า
จะค้นพบการทุจริต แต่เป็นเพียงการประเมินความเพียงพอของมาตรการควบคุมภายในท่ีฝ่ายบริหารกาหนด
เพ่อื ปอ้ งกันหรอื ลดโอกาสการเกดิ ทุจรติ เท่านั้น
(๒) กระบวนการปฏบิ ัติงานตรวจสอบภาย น
๑) การประเมนิ ความเส่ียงเพอ่ื วางแผนการตรวจสอบ
๒) การวางแนวและการปฏิบตั ิงานตรวจสอบ
๓) การสรุปประเดน็ ข้อตรวจพบและจัดทารายงาน
๔) การตดิ ตามผลการแก้ไขตามขอ้ เสนอแนะ
- 103 -
Flow Chart แสดงขน้ั ตอนการปฏบิ ัตงิ านตรวจสอบภายใน (โดยละเอียด)
แผนการตรวจสอบประจาปี
แจ้งตรวจลว่ งหนา้
- ประชุมเปิดตรวจ
- ขอเอกสารหลักฐาน
สอบทานเอกสารหลกั ฐาน
เหน็ ด้วย ประเด็นทค่ี าดวา่ จะเป็นข้อตรวจพบ กระดาษ
ทาการ
ขอ้ ตรวจพบทเี่ ปน็ สาระสาคัญ
สรุปข้อตรวจพบกบั หนว่ ยรบั ตรวจ ไม่เห็นดว้ ย
รา่ งรายงานผลการตรวจสอบ
หนว่ ยรบั ตรวจสอบทาน
รายงานผลการตรวจสอบฉบับสมบูรณ์
การติดตามผลการแก้ไขตาม
ขอ้ เสนอแนะ
- 104 -
(๓) จัดทาแนวทางการปฏิบัติงานตรวจสอบภาย นประจาปีแก่หน่วยงานตรวจสอบ
ภาย นสงั กดั กระทรวงมหาดไทย แ ะสอบทานการปฏบิ ัติงานตามแนวทางที่กาหนด
เพื่อให้การปฏิบัติงานด้านการตรวจสอบภายในของหน่วยงานตรวจสอบภายในสังกัด
กระทรวงมหาดไทยเป็นไปตามหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและ หลักเกณฑ์ปฏิบัติการตรวจสอบ
ภายในสาหรับหน่วยงานภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑ และ หลักเกณฑ์การประกันคุณภาพงานตรวจสอบภายในภาครัฐ
พ.ศ. ๒๕๕๙ และเป็นไปในแนวทางเดียวกัน อย่างมีประสิทธิภาพ กลุ่มงานตรวจสอบภายในระดับกระทรวงจึงได้
กาหนดขอบเขตและแนวทางการปฏบิ ตั ิงานให้แก่ผูต้ รวจสอบภายในระดับกรมและผู้ตรวจสอบภายในระดับจังหวัด
ประกอบด้วยหน่วยตรวจสอบภายในจังหวัด จานวน ๗๖ จังหวัด และหน่วยตรวจสอบภายในระดับกรม จานวน
๗ กรม รวมท้งั ส้ิน ๘๓ หนว่ ยงาน ซึ่งมรี ายละเอียดในแต่ละขัน้ ตอนการปฏบิ ตั ิงาน ดังน้ี
กาหนดแนวทางการปฏิบัตงิ านตรวจสอบภาย น ประจาปี
๑) ให้ผู้ตรวจสอบภายในดาเนินการประเมินความเสี่ยงหน่วยรับตรวจ/โครงการ
เพอื่ จัดทาแผนการตรวจสอบประจาปีและแผนการตรวจสอบระยะยาว ตามปริมาณหน่วยรับตรวจ/โครงการทีก่ าหนด
๒) กาหนดเรอ่ื งการตรวจสอบ ประกอบดว้ ย
- การตรวจสอบด้านการเงิน การบญั ชี (Financial Audit)
- การตรวจสอบการปฏบิ ัตติ ามขอ้ กาหนด (Compliance Audit)
- การตรวจสอบดา้ นการดาเนนิ งาน (Performance Audit)
- การตรวจสอบดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology Audit)
- การตรวจสอบด้านการปฏิบตั งิ าน (Operational Audit)
- การตรวจสอบด้านการบริหาร (Management Audit)
๓) เสนอปลดั กระทรวงมหาดไทยอนุมตั ิแนวทางการปฏบิ ตั งิ านตรวจสอบภายใน
๔) แจ้งแนวทางการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน ประจาปีงบประมาณ แก่หน่วยงาน
ในสงั กดั กระทรวงมหาดไทย เพอื่ ใหด้ าเนินการตามแนวทางทก่ี าหนด
๕) สรุปผลการตรวจสอบเปรียบเทียบกับแนวทางที่กาหนดของหน่วยงานตรวจสอบ
ภายใน เสนอปลดั กระทรวงมหาดไทย เพ่อื ทราบ
๖) รวบรวมข้อมูล เร่งรัด ติดตาม หน่วยงานที่มีผลการตรวจสอบไม่เป็นไปตาม
แนวทางทกี่ าหนด
๗) สรุปผลการตรวจสอบในภาพรวมเสนอปลัดกระทรวงมหาดไทยเพื่อทราบ
- 105 -
Flowchart แสดงข้ันตอนการจดั ทาแนวทางการปฏิบตั งิ านตรวจสอบภายในประจาปี
แก่หน่วยงานตรวจสอบภายในสังกัดกระทรวงมหาดไทย
และสอบทานการปฏบิ ตั งิ านตามแนวทางท่ีกาหนด (โดยละเอียด)
กาหนดแนวทางการปฏิบตั งิ าน
ตรวจสอบภายใน ประจาปี
งบประมาณ
เสนอ ปมท. ไม่อนุมัติ
อนมุ ัติ
แจง้ แนวทางฯ แก่หนว่ ยงานในสังกัด
กระทรวงมหาดไทย
สรปุ แผนการตรวจสอบในภาพรวม
เสนอ ปมท. เพ่ือทราบ
รวบรวมข้อมลู เร่งรัด ตดิ ตาม
หน่วยงานทม่ี ผี ลการตรวจสอบไม่
เปน็ ไปตามแผน
สรปุ ผลการตรวจสอบในภาพรวม
เสนอ ปมท. เพ่ือทราบเป็นไปตามแผน
(๔) จัดอบรม หค้ วามร้แกผ่ ต้ รวจสอบภาย นสงั กดั กระทรวงมหาดไทย
เพ่ือเป็นการเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ ด้านการตรวจสอบและกฎ ระเบียบ ให้แก่
ผู้ตรวจสอบภายในสงั กัดกระทรวงมหาดไทยให้มปี ระสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น กลุ่มงานตรวจสอบภายในระดับกระทรวง
จงึ ได้จดั อบรมให้ความรูแ้ ก่ผตู้ รวจสอบภายในสงั กดั กระทรวงมหาดไทยอยา่ งน้อยปลี ะ ๑ ครงั้
หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ : หน่วยตรวจสอบภายในระดบั กระทรวง โทร. ๐ ๒๖๒๒ ๒๕๔๑ - ๒ (มท.) ๕๐๖๒๗ - ๘
- 106 -
๓.๔.๕ การตรวจสอบภาย นระดบั กรม
กลุ่มงานตรวจสอบภายในระดับกรม สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย สายการบังคับบัญชา
ข้ึนตรงต่อปลัดกระทรวงมหาดไทย ปฏิบัติหน้าที่หลัก คือ การให้ความเชื่อม่ัน และให้คาปรึกษา โดยมีอานาจหน้าที่
ดาเนินการเกี่ยวกับการตรวจสอบด้านการบริหาร การเงิน และการบัญชีของสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย
และปฏิบัตงิ านรว่ มกับหรือสนบั สนนุ การปฏิบตั งิ านของหน่วยงานอน่ื ทเี่ ก่ยี วข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย เพ่ือให้ผู้บริหาร
เกิดความม่ันใจว่า หน่วยรับตรวจสามารถบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายของหน่วยงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และประสิทธิผล ภายใต้ค่าใช้จ่ายและการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสม ป้องปรามมิให้เกิดความเสียหาย การทุจริต
รั่วไหลทางการเงินหรือทรัพย์สินต่าง ๆ ของทางราชการ โดยมภี ารกจิ ท่สี าคัญ ดังนี้
(๑) งานบริการ ห้ความเชื่อมั่น (Assurance Services) หมายถึง การตรวจสอบ
หลักฐานต่าง ๆ อย่างเท่ียงธรรม เพื่อให้ได้มาซึ่งการประเมินผลอย่างอิสระในกระบวนการกากับดูแล การบริหาร
ความเสี่ยง และการควบคุมของหน่วยงานของรฐั โดยงานบรกิ ารใหค้ วามเชอื่ ม่นั ประกอบด้วย
๑) การตรวจสอบด้านการเงิน (Financial Audit) หมายถึง การตรวจสอบ
ความถกู ตอ้ ง ความครบถ้วน และความเช่ือถือได้ของข้อมูลการเงิน และรายงานการเงิน การตรวจสอบการปฏิบัติ
ตามมาตรฐานการบัญชี นโยบายการบัญชี กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หลักเกณฑ์ ประกาศที่เกี่ยวข้อง รวมถึง
การประเมินความเส่ียง ระบบการควบคุมภายใน และความเป็นไปได้ที่จะเกิดข้อผิดพลาดและการทุจริต
ด้านการเงนิ การบัญชี
๒) การตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎระเบียบ (Compliance Audit) หมายถึง
การตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หลักเกณฑ์ ประกาศ มติคณะรัฐมนตรี รวมถึงมาตรฐาน
แนวปฏบิ ัติ และนโยบายทก่ี าหนดไว้
๓) การตรวจสอบการดาเนินงาน (Performance Audit) หมายถึง การตรวจสอบ
ความประหยดั ความมีประสทิ ธผิ ล ความมปี ระสทิ ธิภาพ และความคุ้มคา่ ของกจิ กรรมทตี่ รวจสอบ
๔) การตรวจสอบอ่ืน ๆ หมายถึง การตรวจสอบอื่นนอกเหนือจากข้อ (๑) – (๒) เช่น
การตรวจสอบด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information technology) เป็นการตรวจสอบความมั่นคงปลอดภัย
ของเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยการประเมินความเส่ียงและการควบคุมภายในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการตรวจสอบพเิ ศษ (การตรวจสอบตามทไี่ ดร้ ับมอบหมายเปน็ กรณพี เิ ศษ) เป็นตน้
ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั งิ านตรวจสอบ
กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในเพ่ือให้ผู้ตรวจสอบภายในสามารถปฏิบัติงาน
ตรวจสอบดว้ ยความม่ันใจและมีคุณภาพ ประกอบดว้ ย
ขั้นตอนที่ ๑ การวางแผนการตรวจสอบ
๑) สารวจข้อมูลเบื้องต้นเพ่ือจัดทาแผนการตรวจสอบภายใน รวบรวมข้อมูล เอกสาร
ตา่ ง ๆ และประเมนิ การควบคมุ ภายใน
- 107 -
๒) ประเมินความเส่ียงเพื่อวางแผนการตรวจสอบ โดยระบุความเสี่ยงระดับกิจกรรม
และระดับหน่วยรับตรวจ โดยการระบุปัจจยั เสีย่ ง การวิเคราะห์ความเส่ยี ง และจัดลาดบั ความเสี่ยง
๓) จัดทาแผนการตรวจสอบประจาปี และแผนการตรวจสอบระยะยาว ตามผล
การประเมนิ ความเสยี่ ง
๔) สาเนาแผน และประสานแผนกับหน่วยรับตรวจ
ขน้ั ตอนที่ ๒ การปฏบิ ตั ิงานตรวจสอบ
๑) จัดทาแผนปฏิบัติงานตรวจสอบ (Engagement Plan) เสนอผู้ตรวจสอบภายใน
ระดบั กรม ให้ความเห็นชอบ
๒) วางแผนการปฏิบัติงานก่อนเข้าตรวจสอบ โดยการจัดเตรียมข้อมูลการตรวจสอบ
กระดาษทาการต่าง ๆ และศึกษาข้อมูลหน่วยรับตรวจ กาหนดวันเวลาที่จะตรวจสอบ เตรียมการเดินทางไป
ราชการ
๓) แจ้งหน่วยรับตรวจให้ทราบถึงวัตถุประสงค์ของการตรวจสอบพร้อมกาหนดการ
ตรวจสอบ
๔) ปฏิบัติงานตรวจสอบ ทาการเปิดตรวจโดยประชุมช้ีแจงการตรวจสอบระหว่าง
ผรู้ ับผดิ ชอบในการตรวจสอบกบั ผรู้ บั ตรวจที่เก่ียวข้อง ถึงวัตถุประสงค์ ขอบเขต และวิธีการตรวจสอบให้ผู้รับตรวจ
ทราบและยืนยนั ความเหมาะสม
๕) ดาเนินการตรวจสอบ รวบรวมเอกสารและจัดทากระดาษทาการ บันทึก
รายละเอียดข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้จากการตรวจสอบ และรวบรวมเอกสารหลักฐานต่าง ๆ เพ่ือสรุปผลการตรวจสอบ
ข้อตรวจพบ และใหข้ ้อเสนอแนะ
๖) ประชุมปิดตรวจแจ้งประเด็นข้อตรวจพบ และข้อเสนอแนะ ร่วมพิจารณากับ
หนว่ ยรบั ตรวจและรับฟงั คาช้แี จงเพิม่ เติม เพ่อื หาแนวทางในการดาเนนิ การแก้ไขปรับปรุงการปฏบิ ัตงิ าน หรือจัดทา
ร่างรายงานผลการตรวจสอบจากหลักฐานเอกสาร กระดาษทาการ ประเด็นข้อตรวจพบและข้อเสนอแนะ
และสอบทานผลการตรวจสอบโดยผู้ตรวจสอบภายในระดับกรม นาร่างรายงานหารือกับหน่วยรับตรวจ รับฟังคา
ชแี้ จงเพม่ิ เติม เพอ่ื สรุปจดั ทาเป็นรายงานผลการตรวจสอบ
ขน้ั ตอนที่ ๓ การจัดทารายงานผ แ ะการติดตามผ
๑) จัดทารายงานผล เป็นการรายงานผลการตรวจสอบเพ่ือให้ทราบถึงวัตถุประสงค์
ขอบเขต วิธีปฏิบัติงาน และผลการตรวจสอบข้อมูลท้ังหมด ข้อบกพร่องท่ีตรวจสอบ ประเด็นความเส่ียงที่สาคัญ
และการควบคุม รวมถงึ ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปรับปรงุ เพอ่ื เสนอปลดั กระทรวงมหาดไทยสั่งการ
๒) จดั สง่ รายงานผลการตรวจสอบให้กับหนว่ ยรับตรวจ และกระทรวงมหาดไทย
๓) ติดตามผลการตรวจสอบเพื่อให้ทราบว่าหน่วยรับตรวจได้มีการดาเนินการ
ตามขอ้ เสนอแนะหรอื ไม่ เพียงใด โดยมีระบบ/เกณฑ์การติดตามผลการตรวจสอบ ดังนี้
- 108 -
กรณีหน่วยรบั ตรวจแจ้งผ การดาเนินการตามขอ้ เสนอแนะ ให้ผู้รับผิดชอบสอบทาน
ความครบถ้วนถูกต้องของการดาเนินการ และเสนอรายงานผลการดาเนินการตามข้อเสนอแนะให้ปลัดกระทรวง
มหาดไทยทราบ
กรณที ่หี น่วยรับตรวจไม่รายงานผ หรอื รายงานผ ไม่ครบถ้วน ภายใน ๔๕ วัน นับจาก
วันที่ได้รบั รายงาน จะติดต่อสอบถามหน่วยรับตรวจถึงความก้าวหน้า ปัญหา อุปสรรคในการดาเนินการปรับปรุงแก้ไข
และชี้แจงทาความเข้าใจเพ่ือให้หน่วยรับตรวจสามารถปรับปรุงแก้ไขการปฏิบัติงานและตกลงระยะเวลาในการส่ง
รายงานการปรับปรุงแก้ไขต่อไป หรืออาจจะส่งเป็นหนังสือจนกว่าจะได้รับรายงานผลการดาเนินการตามข้อเสนอแนะ
และเมอ่ื ได้รับรายงานแล้วจะสรุปผลการดาเนินการตามข้อเสนอแนะให้ปลัดกระทรวงมหาดไทยทราบ
(๒) งานบรกิ าร ห้คาปรึกษา (Consulting Services) หมายถึง การบริการให้คาปรึกษา
แนะนา และบริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ซ่ึงลักษณะงานและขอบเขตของงานจะเป็นไปตามข้อตกลงท่ีทาขึ้นร่วมกับ
ผู้รับบริการ โดยมีจุดประสงค์เพ่ือเพิ่มคุณค่าให้กับหน่วยงานของรัฐ และปรับปรุงกระบวนการการกากับดูแล
การบริหารความเสี่ยง และการควบคุมของหน่วยงานของรัฐให้ดีข้ึน เช่น การให้คาปรึกษาแนะนาในเรื่อง
ความคล่องตวั ในการดาเนนิ งาน การออกแบบระบบงาน วธิ ีการตา่ ง ๆ ในการปฏิบตั งิ าน เปน็ ตน้
ผู้ตรวจสอบภายในจะให้บริการการให้คาปรึกษาภายใต้ขอบเขต หลักเกณฑ์ของ
กฎหมาย ระเบียบ มติคณะรัฐมนตรี ข้อบังคับท่ีเก่ียวข้องกับลักษณะงานของผู้รับบริการ ข้อสรุปของคาปรึกษา
จะอยู่บนพ้ืนฐานของการวิเคราะห์และการประเมินผลท่ีเหมาะสมตามขอบเขตของข้อมูลท่ีบันทึกไว้ในกระดาษ
ทาการตามทีผ่ รู้ บั บริการไดใ้ หข้ ้อมลู ไว้
๑) ขั้นตอนแ ะรปแบบการปฏบิ ัตงิ าน ห้คาปรึกษา
กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในเพื่อให้ผู้ตรวจสอบภายในสามารถ
ปฏิบัตงิ านตรวจสอบดว้ ยความมน่ั ใจและมคี ุณภาพ ประกอบดว้ ย
- การขอรบั บรกิ ารปรึกษา
- การวิเคราะหป์ ระเด็นขอ้ หารือ
- การปฏิบัติงานให้คาปรกึ ษา
- 109 -
- ตอบคาถาม/ตอบขอ้ หารอื แกผ่ รู้ ับบริการ
๒) การ หค้ าปรกึ ษาแบบเปน็ ทางการ
- งานธรุ การลงรบั หนงั สือในทะเบียนคมุ
- เสนอผู้ตรวจสอบภายในระดับกรม สป. พิจารณาสั่งการ มอบหมายให้ผู้ตรวจสอบ
ภายใน ในหนว่ ยงานตรวจสอบ
- ผูต้ รวจสอบภายในทไี่ ดร้ บั มอบหมายวิเคราะห์ข้อหารือ/คาถาม
กรณีท่ี ๑ : ข้อหารือ/คาถาม ไม่ซับซ้อน มีระเบียบฯ หรือห ักเกณฑ์กาหนดไว้
อย่างชัดเจน จัดทาหนังสือตอบข้อหารือ/คาถาม เสนอผู้ตรวจสอบภายในระดับกรม สป. พิจารณาและลงนามใน
บนั ทกึ ตอบขอ้ หารือถึงหน่วยงานนน้ั ๆ
กรณีท่ี ๒ : ข้อหารือ/คาถาม มีความซับซ้อน ไม่มีระเบียบฯ หรือห ักเกณฑ์กาหนด
ไว้อยา่ งชัดเจน วิเคราะห์ข้อหารือ/คาถาม และหาข้อสรุปร่วมกัน ในกลุ่มงานตรวจสอบภายในระดับกรม สป. กรณียังหา
ข้อสรปุ ไม่ไดจ้ ะประสานไปยังหน่วยงานเจ้าของระเบียบ และหนว่ ยงานทเี่ กี่ยวข้อง และตอบขอ้ หารอื ให้ผู้ขอรับบริการ
๓) การ ห้คาปรกึ ษาแบบไม่เปน็ ทางการ
- ผู้ตรวจสอบภายในรบั ข้อหาหรือผ่านทางโทรศัพท์ อเี มล์ และทางแอพพลิเคช่ันต่าง ๆ
- สอบถามข้อมลู ของผขู้ อรบั บรกิ ารคาปรึกษา
- ผ้ตู รวจสอบภายในวเิ คราะหข์ อ้ หารอื /คาถาม
กรณีท่ี ๑ : ข้อหารือ/คาถาม ไม่ซับซ้อน มีระเบียบฯ หรือห ักเกณฑ์กาหนดไว้อย่าง
ชัดเจน ผู้ตรวจสอบภายในวเิ คราะห์ คน้ หาระเบยี บฯ แจง้ คาตอบใหผ้ ูข้ อรบั บรกิ ารในทันที หรอื แจง้ กลบั ภายหลงั
กรณีท่ี ๒ : ข้อหารือ/คาถาม มีความซับซ้อน ไม่มีระเบียบฯ หรือห ักเกณฑ์กาหนด
ไวอ้ ย่างชัดเจน วิเคราะห์ข้อหารือ/คาถาม และหาข้อสรปุ รว่ มกนั ในกลุ่มงานตรวจสอบภายในระดับกรม สป. และตอบ
ข้อหารือให้ผู้ขอรับบริการ กรณียังหาข้อสรุปไม่ได้จะประสานไปยังหน่วยงานเจ้าของระเบียบ และหน่วยงาน
ท่ีเก่ียวขอ้ งและตอบข้อหารือใหผ้ ูข้ อรับบริการ
หน่วยงานรับผิดชอบ : หนว่ ยตรวจสอบภายในระดับกรม โทร. ๐ ๒๒๒๓ ๑๑๙๖ (มท.) ๕๐๖๓๑
- 110 -
ดา้ นระบบงบประมาณ การเงิน การบญั ชี และการพัสดุ
๑. การจดั ทาคาของบประมาณ
การจัดทาคาของบประมาณรายจ่ายประจาปี ถือเป็นหน่ึงในหัวใจสาคัญของการบริหารงานขององค์กร
เนื่องจากงบประมาณเป็นทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัด การจัดทาคาของบประมาณจึงต้องมีการวิเคราะห์
การวางแผนที่ดี การดาเนินการต้องเป็นไปตามกระบวนการ ข้ันตอน และแนวทางท่ีสานักงบประมาณกาหนดภายใต้
อานาจหน้าท่ีตามกฎหมาย และสอดคล้องยุทธศาสตร์ชาติ และนโยบายระดับชาติ อันจะก่อให้เกิดประโยชน์
ตอ่ ประชาชนสงู สดุ
กระบวนการจัดทาคาของบประมาณ
๑.๑ ศึกษานโยบาย ยุทธศาสตร์ระดบั ชาติ แผนปฏิบตั ริ าชการกระทรวง/หนว่ ยงาน
ก่อนการจัดทาคาของบประมาณ ต้องศึกษาเจตนารมณ์ของนโยบาย และยุทธศาสตร์การบริหาร
ประเทศ หรือนโยบายของรัฐบาล เพื่อให้ทราบว่ามีแนวนโยบายฯ ใดท่ีเกี่ยวข้อง กับอานาจหน้าที่ของหน่วยงาน
โดยจัดทาคาของบประมาณให้สอดคล้อง และสนับสนุนแนวนโยบายระดับชาติ เช่น ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บท
ภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ แผนการปฏริ ปู ประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายและแผนระดับชาติ
ว่าด้วยความม่ันคงแห่งชาติ เป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) นโยบาย
ของคณะรัฐมนตรี ยุทธศาสตร์การจดั สรรงบประมาณ และแผนปฏบิ ัตริ าชการกระทรวง/หน่วยงาน
๑.๒ ทบทวนและปรับปรุงผลสัมฤทธ์ิและประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการใช้จ่ายงบประมาณ
เป้าหมายการให้บริการกระทรวง และตัวช้ีวัดระดับกระทรวง โดยหารือร่วมกันระหว่างหน่วยงานในสังกัด
กระทรวง และสานักงบประมาณ ดังนี้
๑.๒.๑ ทบทวนผลสัมฤทธิ์และประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการใช้จ่ายงบประมาณ
โดยกาหนดค่าเป้าหมายและตัวชี้วัด ที่ชัดเจน สอดคล้องโดยตรงกับยุทธศาสตร์ชาติแผนแม่บทภายใต้
ยุทธศาสตร์ขาติ และแผนพัฒนาต่าง ๆ
๑.๒.๒ เป้าหมายการให้บริการกระทรวง และตัวชี้วัด โดยกาหนดให้สอดคล้องและเชื่อมโยง
กับเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ ตามยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่าย ประจาปี ซึ่งผลลัพธ์ดังกล่าว
จะเกิดขึ้นได้จากผลสาเร็จของผลผลิตหรือโครงการของหน่วยรับงบประมาณในสังกัดอย่างสอดคล้อง
และเช่ือมโยงกัน โดยกระทรวงต้องปรับปรุงค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด และประมาณการล่วงหน้าให้สอดคล้อง
กับงบประมาณในปีที่ผ่านมาท่ีได้รับจัดสรรจริง
๑.๒.๓ กระทรวงถ่ายทอดวิสัยทัศน์ พันธกิจของกระทรวง ผลสัมฤทธิ์ฯ เป้าหมาย
การให้บริการกระทรวง และตัวชี้วัด ให้หน่วยงานในสังกัดทราบเพื่อนา ไปประกอบการพิจารณาทบทวน
และปรับปรุงเป้าหมาย กลยุทธ์ ผลผลิต/โครงการ กิจกรรม ตัวช้ีวัดผลสาเร็จ ผลสัมฤทธิ์ และประโยชน์ท่ีคาด ว่า
จะได้รับระดับหน่วยงาน
๑.๓ เสนอรายการงบประมาณซ่ึงจะต้องก่อหน้ีผูกพันมากกว่าหนึ่งปีงบประมาณ และมีวงเงินตั้งแต่
๑,๐๐๐ ล้านบาทข้ึนไป ต่อคณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติ ก่อนเสนอรายละเอียดคาของบประมาณ
- 111 -
กระทรวงรวบรวม วิเคราะห์รายการงบประมาณซึ่งจะต้องก่อหนี้ผูกพันฯ ท่ีหน่วยงานเสนอว่ามีความพร้อมในการ
ดาเนินงาน เช่น สถานท่ี แบบรูปรายการ และผลการพิจารณาจากคณะกรรมการต่าง ๆ ตามท่ีกฎหมายกาหนด
เป็นต้น รวมทั้งการปฏิบัติตามมาตรา ๒๗ แห่งพระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑ เพ่ือเสนอ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยให้ความเห็นชอบ และเสนอรองนายกรัฐมนตรีที่กากับดูแลการบริหารราชการ
ให้ความเห็นชอบก่อนนาเร่ืองเสนอคณะรัฐมนตรี โดยเป็นไปตามพระราชกฤษฎีกาว าดวยการเสนอเร่ือง
และการประชมุ คณะรัฐมนตรี พ.ศ. ๒๕๔๘
๑.๔ การมอบนโยบายการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปี ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวง
มหาดไทย โดยภายหลังจากท่ีนายกรัฐมนตรีได้มอบนโยบายการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปีให้แก่ทุกส่วน
ราชการแล้ว กระทรวงจะดาเนินการจัดประชุมมอบนโยบายการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปี
ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยแก่หน่วยงานในสังกัด ซ่ึงสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้
ยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความม่ันคงแห่งชาติ
แผนย่อยของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ นโยบายสาคัญของรัฐบาล ยุทธศาสตร์
การจัดสรรงบประมาณ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน แผนปฏิบัติราชการของกระทรวง รวมท้ังการน้อมนาหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางในการจัดทาคาขอตั้งงบประมาณ โดยคานึงถึงความจาเป็นและภารกิจ
ของหน่วยงานในสังกัด ความต้องการในพ้ืนที่และแผนพัฒนาพื้นที่เพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในการใช้จ่าย
งบประมาณและผลสัมฤทธิ์ในการบรหิ ารจดั การภาครัฐ
๑.๕ การเสนอคาของบประมาณรายจ่ายประจาปีต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และส่ง
สานักงบประมาณ
๑.๕.๑ หน่วยงานจัดทารายละเอียดคาของบประมาณรายจ่ายประจาปี ในรูปแบบเอกสาร
และบันทึกข้อมูลในระบบสารสนเทศ E- Budgeting ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่สานักงบประมาณกาหนด
ประกอบดว้ ย
(๑) ข้อมูลพืน้ ฐานระดบั ผลลพั ธ์ ไดแ้ ก่ วิสยั ทัศน์ พันธกิจ ผลสัมฤทธ์ิและประโยชน์ที่คาดว่า
จะไดร้ บั จากการใชจ้ ่ายงบประมาณ
(๒) ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ เป้าหมายการให้บริการกระทรวง
เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน และผลผลิต/โครงการ ความเช่ือมโยงยุทธศาสตร์กระทรวง กลยุทธ์หน่วยงาน
กจิ กรรม และนโยบายการจดั สรรงบประมาณฯ
(๓) ข้อมูลงบประมาณจาแนกตามกลุ่มแผนงาน ได้แก่ แผนงานพ้ืนฐาน แผนงาน
ยุทธศาสตร์ แผนงานบูรณาการ แผนงานบคุ ลากรภาครัฐ และรายการคา่ ดาเนินการภาครัฐ
(๔) ข้อมูลงบประมาณจาแนกตามงบรายจ่าย ได้แก่ งบบุคลากร งบดาเนินงาน งบลงทุน
งบอุดหนนุ และงบรายจา่ ยอืน่
(๕) ข้อมูลพน้ื ฐานระดบั ผลผลิต/โครงการ เช่น วัตถุประสงคข์ องผลผลิต/โครงการ ลักษณะ
โครงการ การดาเนินงาน ระยะเวลา สถานที่ สภาพปัญหา/ความต้องการ ความเร่งด่วน กลุ่มเป้าหมายผู้มีส่วนได้
สว่ นเสีย ผลลัพธ/์ ผลกระทบของโครงการ และวงเงนิ งบประมาณ เปน็ ต้น รวมทั้งขอ้ มูลระดับกิจกรรม – รายการ
- 112 -
(๖) ทาแผน/รายงานผลการปฏิบัติงานและการใช้จา่ ยงบประมาณประจาปี กรอบประมาณ
การรายจ่ายลว่ งหนา้ ระยะปานกลาง (MTEF) รายงานเกีย่ วกับสถานะและแผนการใชจ้ ่ายเงินนอกงบประมาณ
๑.๕.๒ กระทรวงรวบรวม วิเคราะห์ รายละเอียดคาของบประมาณของหน่วยงานในสังกัดเสนอ
รฐั มนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยพิจารณาให้ความเห็นชอบ และส่งสานักงบประมาณภายในระยะเวลาท่ีกาหนด
พร้อมท้งั บนั ทกึ ขอ้ มูลระดับกระทรวงในระบบสารสนเทศ E- Budgeting ของสานักงบประมาณ
ภาพแสดงข้นั ตอนการจดั ทาคาของบประมาณรายจ่ายประจาปขี องกระทรวงมหาดไทย
ขน้ั ตอนการปฏบิ ัตงิ าน (Process) ผู้ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง
๑ ศึกษานโยบาย ยทุ ธศาสตรร์ ะดับชาติ แผนปฏิบัตริ าชการกระทรวง/ หนว่ ยงานในสงั กัด มท.
สนผ.สป.
หนว่ ยงาน
๒ ทบทวนและปรับปรุงผลสัมฤทธ์ิ เป้าหมายการให้บริการ หนว่ ยงานในสังกัด มท.
สนผ.สป.
ผลสัมฤทธิ์ เปา้ หมายการใหบ้ รกิ าร และตัวชี้วดั สานกั งบประมาณ
ระดับกระทรวง หน่วยงานสังกดั มท.
สนผ.สป.
ผลสมั ฤทธิ์ เปา้ หมายการใหบ้ รกิ ารหนว่ ยงานและตวั ช้วี ดั
เป้าหมาย กลยุทธ์ ผลผลิต/โครงการ กิจกรรม ระดับ
หน่วยงาน
3 รายการงบประมาณซ่ึงจะต้องกอ่ หนี้ผูกพนั มากกวา่ หน่ึง
ปงี บประมาณ และมวี งเงินตงั้ แต่ 1,000 ลา้ นบาทข้ึนไป
เสนอรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทยพิจารณาใหค้ วามเห็นชอบฯ
เสนอคณะรัฐมนตรพี จิ ารณาอนุมตั ิ
4 รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทยมอบนโยบายการจดั ทางบประมาณรายจา่ ย สนผ.สป.
ประจาปแี กห่ นว่ ยงานในสังกดั
5 หน่วยงานจัดทารายละเอียดคาของบประมาณรายจ่าย หน่วยงานในสงั กัด มท.
สนผ.สป.
ประจาปี
6 เสนอรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงมหาดไทยใหค้ วามเหน็ ชอบ
7 สานกั งบประมาณพจิ ารณา สานกั งบประมาณ
หนว่ ยงานรบั ผิดชอบ : ฝา่ ยประสานงบประมาณ กลมุ่ งานนโยบายและแผนรวม สานักนโยบายและแผน สป.
โทร. ๐ ๒๒๒๑ ๔๒๐๓ (มท.) ๕๐๕๗๗
- 113 -
๒. การบริหารงบประมาณ
การบริหารงบประมาณ คือ การใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ เป้าหมาย แผนงาน
ตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี และเอกสารงบประมาณท่ีเก่ียวข้อง การบริหารงบประมาณ
ประกอบดว้ ย
- 114 -
๒.๑ การจดั ทาแผนการปฏิบัตงิ านและแผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ มกี ระบวนการดาเนนิ งาน ดังนี้
๒.๑.๑ กระทรวงมหาดไทยต้องจัดทาแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณเพ่ือเป็น
กรอบแนวทางในการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายที่ได้รับจัดสรร และเพ่ือใช้ในการกับ ดูแล ติดตามประเมินผล
การปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณ โดยแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณจะต้องแสดงถึง
ความเชื่อมโยงเป้าหมายการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน และแสดงถึงผลสัมฤทธ์ิหรือประโยชน์ท่ีได้รับ
จากการใชจ้ า่ ยงบประมาณ
๒.๑.๒ จัดส่งแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณให้สานักงบประมาณไม่น้อยกว่า
๑๕ วันก่อนวันเริ่มต้นปีงบประมาณ (ภายในวันที่ ๑๖ กันยายนของทุกปี) โดยจัดส่งด้วยระบบฐานข้อมูล
แผน/ผลการปฏบิ ตั งิ านและการใชจ้ ่ายงบประมาณ (BB EvMis)
๒.๑.๓ สานักงบประมาณให้ความเห็นชอบแผนการปฏิบัตงิ านและแผนการใช้จ่ายงบประมาณแล้ว
ต้องเสนอแผนดังกล่าวให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยทราบ เพ่ือใช้ในการกากับ ดูแล และติดตาม
การปฏิบัตงิ านและการใช้จ่ายงบประมาณ
๒.๒ การปรับแผนการปฏบิ ัตงิ านและแผนการใช้จา่ ยงบประมาณ
๒.๒.๑ การปรับแผนการปฏบิ ตั งิ านและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ สามารถดาเนินการได้ในกรณี
ดงั น้ี
(๑) มีความจาเป็นต้องเปลี่ยนแปลงเป้าหมายหรือตัวช้ีวัดของแผนงาน ผลผลิต
หรือโครงการใหแ้ ตกต่างไปจากที่สานกั งบประมาณให้ความเห็นชอบแล้ว
(๒) มีการโอนงบประมาณรายจ่ายใหห้ น่วยรับงบประมาณอ่นื ตามวธิ กี ารที่กฎหมายกาหนด
(๓) คณะรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมีนโยบายใหม่ และมีความจาเป็น
ต้องปรับปรงุ เปา้ หมายของแผนงาน ผลผลติ หรอื โครงการใหส้ อดคล้องกบั นโยบายทกี่ าหนดขึ้นใหมน่ ัน้
๒.๒.๒ การปรบั แผนการปฏิบัตงิ านและแผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ มกี ระบวนการ ดังน้ี
(๑) เสนอขอปรับแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณให้รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงมหาดไทยพิจารณาใหค้ วามเห็นชอบในหลักการ
(๒) ส่งแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณที่ได้รับความเห็นชอบ แล้วให้
สานักงบประมาณพิจารณาให้ความเหน็ ชอบ
๒.๓ การจัดสรรงบประมาณรายจ่าย งบประมาณท่ีจัดสรร ให้มีผลนับต้ังแต่วันที่พระราชบัญญัติ
งบประมาณรายจ่ายประจาปีประกาศบังคับใช้ และให้ส่วนราชการใช้จ่ายหรือก่อหนี้ได้ถัดจากวันประกาศใช้
พระราชบญั ญตั ิงบประมาณรายจ่ายประจาปี แตใ่ ห้มีผลตง้ั แตว่ นั เริ่มตน้ ปีงบประมาณ (๑ ตุลาคม) หรือวันท่ีกาหนด
เป็นวันเร่ิมต้นการบังคับใช้กฎหมาย งบประมาณรายจ่ายท่ีได้รับจัดสรรแล้ว กระทรวงมหาดไทยต้องโอนจัดสรร
ไปยงั จงั หวดั โดยไมช่ ักช้า (๑๕ วัน)
- 115 -
การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปี ประเภทงบส่วนราชการงบเบิกแทน งบกลาง ดาเนินการ
ภายใตร้ ะเบียบวา่ ดว้ ยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
- 116 -
๒.๔ การใช้จ่ายงบประมาณ ต้องเป็นไปเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายตามที่กาหนดไว้ใน
แผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ ต้องดาเนินการด้วยความโปร่งใส คุ้มค่า และประหยัด
โดยคานงึ ถึงประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั ผลสัมฤทธิ์ และประสทิ ธภิ าพในการดาเนนิ การด้วย งบประมาณรายจ่าย จาแนกเป็น
ประเภทรายจา่ ย ดังนี้
- 117 -
๒.๔.๑ งบบุคลากร ได้แก่ เงินเดือน ค่าจ้างประจา ค่าจ้างชั่วคราว ค่าตอบแทนพนักงาน
ข้าราชการ สามารถถัวจ่ายกันได้ภายในงบนี้ ยกเว้น เงินเดือน/ค่าจ้างประจาอัตราตั้งใหม่ ให้จ่ายได้ตามท่ีกาหนด
ในใบยนื ยันยอด หรือตามที่ไดร้ ับความตกลงกบั สานักงบประมาณ
๒.๔.๒ งบดาเนนิ งาน ไดแ้ ก่ คา่ ตอบแทน คา่ ใช้สอย ค่าวัสดุ ค่าสาธารณูปโภค สามารถถัวจ่ายกัน
ได้ภายในงบน้ี ยกเว้น รายจ่ายประเภทค่าสาธารณูปโภคจะนาไปใช้จ่ายในประเภทอื่นได้ ก็ต่อเมื่อไม่มีหนี้
ค่าสาธารณปู โภคค้างชาระ
๒.๔.๓ งบลงทุน ได้แก่ ค่าครุภัณฑ์ ค่าท่ีดิน และส่ิงก่อสร้าง ไม่สามารถถัวจ่ายได้ ให้ใช้จ่าย
ตามรายการและวงเงนิ ท่ีไดร้ บั จดั สรร
๒.๔.๔ งบเงนิ อดุ หนนุ ไดแ้ ก่
(๑) เงินอุดหนุนทั่วไป อุดหนุนให้นิติบุคคล เอกชน กิจการอันเป็นสาธารณประโยชน์
หรือองค์กรต่าง ๆ ท่ีไม่ใช่ส่วนราชการ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ในการขอรับเงินอุดหนุนอุดหนุนให้หน่วยงาน
ลักษณะพิเศษของรัฐ เช่น องค์การมหาชน มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ เป็นต้น ให้ใช้จ่ายในลักษณะค่าใช้จ่าย
ต่าง ๆ (คา่ ใช้จา่ ยดาเนินงาน คา่ ใช้จ่ายลงทนุ ) ไม่สามารถถวั จ่ายได้ ใหใ้ ชจ้ ่ายตามรายการและจานวนเงนิ ท่ีกาหนด
(๒) เงินอุดหนุนเฉพาะกิจให้ใช้จ่ายในลักษณะค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ตามรายละเอียดที่กาหนด
เช่น ค่าใช้จ่ายลงทุนในรายการครุภัณฑ์ รายการค่าที่ดิน หรือรายการค่าสิ่งก่อสร้าง ให้ใช้จ่ายตามรายการ
และจานวนเงินท่ีกาหนด และหากเบิกจ่ายในลักษณะงบรายจ่ายใด (งบบุคลากร/งบดาเนินงาน/งบลงทุน) ก็ถือ
ปฏิบัตเิ หมอื นงบรายจ่ายน้นั
๒.๔.๕ งบรายจา่ ยอนื่ ได้แก่ คา่ จา้ งทป่ี รึกษา เพ่ือศกึ ษา วิจัย ประเมินผล หรือพัฒนาระบบต่าง ๆ
เงินราชการลับ ค่าใช้จ่ายในการเดินทางราชการต่างประเทศช่ัวคราว ค่าใช้จ่ายสาหรับกองทุน หรือเงินทุน
หมนุ เวียน ให้ใชจ้ า่ ยตามรายการและจานวนเงินที่กาหนด และหากเบิกจ่ายในลักษณะงบรายจ่ายใด (งบบุคลากร/
งบดาเนินงาน/งบลงทุน) กถ็ อื ปฏิบตั เิ หมือนงบรายจ่ายนน้ั
๒.๕ การโอนงบประมาณรายจา่ ย โอนเงินจัดสรร หรอื เปล่ยี นแปลงเงนิ จัดสรร ให้ดาเนินการเพื่อแก้ไข
ปญั หาการปฏบิ ัตงิ าน เพ่มิ ประสทิ ธิภาพการใหบ้ ริการ เพ่ิมคุณภาพการให้บริการ พัฒนาบุคลากร พัฒนาเทคโนโลยี
เพ่ือสนับสนุนการบริหารงานตามแผนยุทธศาสตร์พัฒนาจังหวัด และจะต้องแสดงเหตุผลความจาเป็น
หรือความเหมาะสมได้ โดยคานึงถึงประโยชน์ต่อประชาชน ความประหยัด ความคุ้มค่า ความโปร่งใส รวมทงั้ ัััััััั
ค ว า ม ส อ ด ค ล้ อ ง ก บ ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ั แ ผ น แ ม่ บ ท ั แ ผ น ป ฏิ รู ป ป ร ะ เ ท ศ ั แ ล ะ เ ป้ า ห ม า ย ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร ััััััััััััััััััั
ของกระทรวงมหาดไทยด้วยัและต้องไม่ทาให้เป้าหมายผลผลิต/โครงการตามแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่าย
งบประมาณเปลี่ยนแปลงลดลงในทางทีเ่ ป็นสาระสาคัญ และคา่ สาธารณูปโภคค้างชาระเมอื่ ส้นิ ปีงบประมาณ
๒.๕.๑ การโอนเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณรายจ่าย ตามอานาจของหัวหน้าส่วนราชการ
เจ้าของงบประมาณ มี ๓ ลักษณะ (การโอนทง้ั ๓ ลกั ษณะ ใหเ้ ลอื กใชใ้ หย้ ดื หยนุ่ คล่องตัวและถกู ตอ้ ง) คือ
(๑) การโอนเปลี่ยนแปลงระหว่างงบรายจ่าย และระหว่างผลผลิต/โครงการ ภายใต้
แผนงานเดยี วกนั หัวหนา้ สว่ นราชการฯ มอี านาจโอน/เปลยี่ นแปลงรายการ ได้ด้วยตนเอง ยกเวน้
- 118 -
- รายการกอ่ หนี้ผกู พันข้ามปงี บประมาณ
- การกาหนดอัตราบุคลากรทตี่ ั้งใหม่
- ตอ้ งไม่เปน็ การจดั หาครภุ ณั ฑย์ านพาหนะ/ค่าทีด่ นิ
- ค่าเดินทางไปตา่ งประเทศที่ไม่ได้กาหนดไว้ในแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่าย
งบประมาณ
- ค่าครุภัณฑ์ ราคาต่อหนว่ ยตง้ั แต่ ๑ ล้านบาทขึน้ ไป
- คา่ สง่ิ ก่อสรา้ ง ราคาต่อหน่วยตงั้ แต่ ๑๐ ลา้ นบาทข้นึ ไป
(๒) การโอนเปลีย่ นแปลงงบประมาณเหลอื จ่าย ภายใต้แผนงานเดียวกนั ได้แก่
- การกาหนดอัตราบุคลากรต้งั ใหม่
- คา่ ทด่ี นิ หรือ รายการก่อหน้ีผกู พนั ขา้ มปีงบประมาณ
- ค่าเดนิ ทางไปตา่ งประเทศทีไ่ ม่ได้กาหนดไว้ในแผน
- คา่ ครภุ ัณฑ์ ราคาตอ่ หนว่ ยตั้งแต่ ๑ ลา้ นบาท ข้นึ ไป
- ค่าส่ิงกอ่ สร้าง ราคาตอ่ หน่วยตั้งแต่ ๑๐ ลา้ นบาท ขึ้นไป
- ครภุ ณั ฑ์ยานพาหนะใหม่ (ยกเว้นทดแทน)
(๓) การโอนเปล่ียนแปลงงบประมาณรายจ่ายเพ่ือเพิ่มวงเงินค่าครุภัณฑ์และส่ิงก่อสร้าง
ภายใต้แผนงานเดียวกัน ต้องเป็นกรณีจัดหาแล้วไม่ได้ ราคาเกินวงเงินไม่เกิน ๑๐% หัวหน้าส่วนราชการ สามารถ
โอนเปล่ียนแปลงงบประมาณรายจ่าย จากงบรายจ่ายใด ๆ หรือนาเงินนอกงบประมาณมาสมทบได้ด้วยตนเอง
ยกเวน้
- ต้องเป็นรายการทไ่ี ด้จัดสรร หรืออนุมัติโอนเปลีย่ นแปลงแลว้
- ต้องไมเ่ ป็นรายก่อหนีผ้ กู พันขา้ มปีงบประมาณ
- ราคาต่อหน่วย หมายถงึ หนง่ึ หน่วยเปน็ หนึ่งรายการ
๒.๕.๒ การโอนเปล่ียนแปลงรายการงบประมาณรายจ่ายท่ีต้องตกลงกับสานักงบประมาณ
การโอนนอกเหนือจากท่ีได้มอบอานาจไว้ กระทรวงมหาดไทยต้องพิจารณาและขอทาความตกลงกับสานัก
งบประมาณ ดงั น้ี
(๑) วิเคราะหค์ วามจาเป็น
(๒) หากตอ้ งปรบั ปรุงแผนการปฏบิ ตั ิงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ ให้ทาความตกลง
มาพรอ้ มกัน
(๓) ให้จัดทาและส่งด้วยระบบ GFMIS และจัดทาหนังสือขอตกลงกับสานักงบประมาณ
และสานกั งบประมาณจะตอบเป็นหนังสือและสง่ ดว้ ยระบบ GFMIS
(๔) สานักงบประมาณจะต้องวิเคราะห์ความจาเป็นการโอนเปล่ียนแปลงงบประมาณ
รายจา่ ยตามระเบยี บและกฎหมายท่เี กยี่ วขอ้ ง
- 119 -
การนาเงนิ งบประมาณรายจ่ายประจาปีปัจจุบันไปสมทบเงินกันเหล่ือมปี ตามวัตถุประสงค์เดิม
ให้ขอทาความตกลงกบั สานักงบประมาณดว้ ย
๒.๕.๓ การโอนเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณรายจ่ายท่ีต้องขออนุมัติจากคณะรัฐมนตรีก่อน
ตามพระราชบัญญัติวิธกี ารงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ หวั หนา้ สว่ นราชการต้องพิจารณา ดงั นี้
(๑) การโอนงบประมาณรายจา่ ยบรู ณาการภายใตแ้ ผนงานบรู ณาการเดยี วกัน
(๒) การโอนงบประมาณรายจ่ายบุคลากรภายใตแ้ ผนงานแผนงานบคุ ลากรภาครฐั
(๓) การโอนงบประมาณรายจา่ ยท่ีเปน็ ผลทาใหเ้ กดิ รายจา่ ยประเภทเงนิ ราชการลับ
(๔) การโอนงบประมาณรายจา่ ยข้าม“แผนงาน”หรอื “ประเด็นยุทธศาสตรห์ ลัก”
(๕) ต้องตรวจสอบตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
บา้ นเมอื งทด่ี ี พ.ศ.๒๕๔๖ ดว้ ยวา่
- ไม่อาจดาเนินการตามวตั ถุประสงค์ต่อไปได้
- หมดความจาเปน็ ไม่เปน็ ประโยชน์
- หากดาเนินการตอ่ ไปจะต้องเสยี ค่าใชจ้ า่ ยเกินความจาเป็น
- มีความจาเป็นอย่างหลีกเลยี่ งไม่ได้ท่ีจะต้องเปลย่ี นแปลง
๒.๖ การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายงบกลาง ส่วนราชการท่ีมีความจาเป็นต้องใช้งบกลาง ให้ขอทา
ความตกลงกับสานักงบประมาณ โดยแสดงรายละเอียด แผนงาน ผลผลิต/โครงการ รายการ ที่จะเบิกจ่าย
ในงบรายจ่าย จานวน และชี้แจงเหตุผลความจาเป็นของการขอใช้ โดยส่วนราชการขอเบิกจ่ายงบกลาง
จากกรมบัญชกี ลางได้ตามรายการ ดงั นี้
(๑) เงนิ เบยี้ หวัด บาเหน็จ บานาญ
(๒) เงินชว่ ยเหลือขา้ ราชการ ลูกจา้ ง และพนกั งานของรฐั
(๓) เงนิ เลอื่ นเงินเดอื น และเงินปรับวฒุ ิขา้ ราชการ
(๔) เงินสารอง เงนิ สมทบ และเงนิ ชดเชยของขา้ ราชการ
(๕) เงินสมทบของลกู จา้ งประจา
(๖) คา่ ใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล
(๗) คา่ ใช้จ่ายการปรบั เงินค่าตอบแทนบุคลากรภาครัฐ
กรณีส่วนราชการได้รับการจัดสรรงบประมาณงบกลาง และนาไปใช้จ่ายจนบรรลุวัตถุประสงค์
และเป้าหมายผลผลิต/โครงการ แล้วมีเงินเหลือจ่าย ให้นาส่งคืนคลัง ยกเว้นกรณีจาเป็น ต้องขอทาความตกลงกับ
สานักงบประมาณกอ่ น
๒.๗ การรายงานผล สว่ นราชการต้องมีระบบรายงานผลการใชจ้ า่ ยงบประมาณ ดงั นี้
(๑) รายงานผลการปฏิบัติงานและผลการใชจ้ ่ายงบประมาณ ภายใน ๑๕ วันนับแตว่ นั ส้ินไตรมาส
(๒) รายงานประจาปีที่แสดงถึงความสาเร็จในการปฏิบัติงานท่ีเช่ือมโยงกับเป้าหมาย การให้บริการ
โดยมีตวั ชีว้ ัดท่ีชดั เจน ภายใน ๑๕ วนั นับแตว่ ันส้ินปงี บประมาณ
- 120 -
กรณีท่ีไม่จัดส่งรายงานตามระยะเวลาที่กาหนด โดยไม่มีเหตุอันสมควร ต้องแสดงเหตุผล
ความจาเป็นต่อผู้อานวยการสานักงบประมาณ กรณีที่ส่วนราชการไม่ปฏิบัติให้เป็นไปตามแผนการปฏิบัติงาน
และแผนการใช้จา่ ยงบประมาณ สานักงบประมาณจะรายงานผลตอ่ นายกรฐั มนตรี
๒.๘ การกนั เงินไว้เบกิ เหล่ือมปี
มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๑ กาหนดให้กันเงินไว้เบิกเหล่ือมปีได้เฉพาะ
กรณีมีหนี้ผูกพันไว้ก่อนสิ้นปีงบประมาณ โดยกระทรวงการคลังพิจารณาอนุมัติการกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี/
ขยายเวลาเบิกจ่ายเงิน ได้ไม่เกิน ๖ เดือน เว้นแต่มีความจาเป็นต้องเบิกจ่ายเกิน ๖ เดือน ต้องขอทาความตกลงกับ
กระทรวงการคลัง ได้อีกไม่เกิน ๖ เดือน โดยต้องดาเนินการให้แล้วเสร็จภายในวันสุดท้ายของปีงบประมาณ
ตามหลกั เกณฑแ์ ละแนวทางปฏิบตั ิ ดงั น้ี
๒.๘.๑ กรณีมีสัญญาหรือข้อตกลงซ้ือหรือจ้าง ให้บันทึก PO ในระบบ GFMIS ผ่านระบบ GFMIS
Web Online
๒.๘.๒ กรณที ไ่ี ด้ดาเนินการจดั ซอ้ื จัดจา้ งพัสดแุ ละอยู่ระหว่างกระบวนการ ให้บันทึกเอกสารสารอง
เงินประเภท CX ผ่านระบบ GFMIS Web Online ตามแนวทางปฏิบัติในการกันเงินไว้เบิกเหล่ือมปีกรณีมีหนี้
ผูกพัน
๒.๘.๓ กรณีรายการเงินชดเชยค่างานก่อสร้างตามสัญญาแบบปรับราคาได้ (ค่า K) รายการ
ค่าทดแทนเวนคืนที่ดิน รายการชดเชยเยียวยาท่ีจะต้องจ่ายให้กับประชาชน รายการค่าดอกเบ้ียเงินกู้ ค่าชดเชย
ดอกเบ้ีย รายการเงินอุดหนุนให้บริการสาธารณะ รายการเงินชดเชยช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน
รายการค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับทุนการศึกษา ทุนวิจัย ให้บันทึกเป็นเอกสารสารองประเภท CK ผ่านระบบ GFMIS Web
Online
หน่วยงานรับผิดชอบ : กลุ่มงานบริหารงบประมาณ กองคลงั สป. โทร. ๐ ๒๒๒๑ ๐๑๒๔๑ (มท.) ๕๐๓๒๑
๒.๙ การเงิน : การศึกษา วิเคราะห์กฎหมาย ระเบียบที่เกี่ยวกับการรับและเบิกจ่ายเงินจากคลัง
เพ่ือวางแผนและจัดทาแนวทางการปฏิบัติงาน รวมท้ังพัฒนาระบบ งานด้านการเงินของสานักงานปลัดกระทรวง
มหาดไทย ภายใตพ้ ระราชบัญญัติการกาหนดหลกั เกณฑ์เก่ียวกับการจ่ายเงินบางประเภทตาม งบประมาณรายจ่าย
พ.ศ. ๒๕๑๘ พระราชกฤษฎีกาค่าเช่าบ้านข้าราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ พระราชกฤษฎีกา ระเบียบกระทรวง การคลัง
ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายประเภทต่างๆ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน
การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการนาเงินส่งคลัง พ.ศ. ๒๕๖๒ และระเบียบสานักนายก รัฐมนตรีว่าด้วย
การอนมุ ัตใิ ห้เดินทางไปราชการ และการจดั การประชุมของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๒๔
๒.๙.๑ การเบิก จ่ายเงินค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ในการปฏิบัติงานของข้าราชการในสังกัดสานักงาน
ปลัดกระทรวงมหาดไทย การเบิกจ่ายเงินให้แก่เจ้าหนี้บุคคลภายนอก ทั้งเงินงบประมาณ เงินนอกงบประมาณ
ได้แก่ ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ค่าใช้จ่ายในการประชุม ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การเบิกจ่ายค่าวัสดุ
ครุภัณฑ์ให้แก่เจ้าหนี้บุคคลภายนอก การเบิกจ่ายค่าสาธารณูปโภค การเบิกจ่ายงบลงทุน การเบิกจ่ายค่าเช่าบ้าน
- 121 -
ขา้ ราชการ การเบิกจ่ายค่าจ้างเหมาบริการ การรับ-นาส่งเงินเบิกเกินส่งคืน เงินรายได้แผ่นดิน การหารือ ตกลงข้อ
ปฏิบตั ิงานทน่ี อกเหนือจากฎหมาย ระเบียบ ข้อบงั คบั กับกระทรวงการคลงั
๒.๙.๒ การเบิกจ่ายเงินเดือนและค่าจ้าง ได้แก่ การตรวจสอบข้อมูลการจ่ายเงินเดือน เงินประจา
ตาแหนง่ คา่ ตอบแทน เงนิ เพ่ิมอน่ื ๆ ของขา้ ราชการในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย การเบิกจ่ายค่าจ้าง
ลูกจ้างประจา ค่าตอบแทนพนักงานราชการ การหักหนี้ข้าราชการ ลูกจ้างประจา พนักงานราชการ ให้หน่วยงาน
ภายนอกและเจ้าหนี้บุคคลภายนอก การเบิกจ่ายเงินสวัสดิการให้ข้าราชการ ลูกจ้างประจา เช่น ค่ารักษาพยาบาล
ค่าการศกึ ษาบตุ ร การเบกิ จ่ายเงนิ เดอื นข้าราชการการเมือง
๒.๙.๓ การเบิกเงินบาเหน็จบานาญ ตรวจสอบ จัดทาข้อมูลผู้เกษียณ ลาออก ตาม ก.พ. ๗
จากกองการเจ้าหน้าที่ และส่งแบบขอเบิกไปยังกรมบัญชีกลางเพ่ือขอเบิกเงินบาเหน็จบานาญให้แก่ข้าราชการ
และลูกจา้ งประจา บนั ทึกการลงทะเบียนแบบขอรับเงินบาเหน็จ บานาญ บาเหน็จตกทอด และเงินอื่น ๆ ในระบบ
บาเหน็จบานาญ (E-Pension) และระบบ E-fileing ในส่วนราชการผู้ขอรบั บาเหน็จบานาญ การขอเบกิ เงินบาเหน็จ
ดารงชพี การเบกิ บาเหน็จตกทอด การเบกิ สวสั ดิการให้ขา้ ราชการเกษียณ ได้แก่ ค่ารักษาพยาบาล ค่าการศกึ ษาบตุ ร
หน่วยงานรับผดิ ชอบ : กลมุ่ งานการเงิน กองคลงั สป. โทร. ๐ ๒๒๒๒ ๘๘๕๒ (มท.) ๕๐๓๕๑
๒.๑๐ การบัญชี : การวิเคราะห์ความถูกต้องของข้อมูลทางบัญชีของสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย
ความถูกต้องข้อมูลทางบัญชีในระบบ GFMIS เป็นการประเมินผลการปฏิบัติงานด้านบัญชี
ในเร่ืองของความถูกต้อง (Accuracy) ของยอดคงเหลือในช่อง “ยอดยกไป” จากงบทดลองในระบบ GFMIS
ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ของทุกปี เปรียบเทียบกับเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวข้องโดยพิจารณาข้อมูลทางบัญชี
จานวน ๘ รายการ ได้แก่ (๑) บัญชีเงินสดในมือ (๒) บัญชีเงินฝากธนาคาร (ทุกบัญชี) (๓) บัญชีเงินฝากอื่น/
เงินประกันอ่ืน (๔) บัญชีลูกหน้ีเงินยืมในงบประมาณ/นอกงบประมาณ (๕) บัญชีใบสาคัญค้างจ่าย/บัญชีเจ้าหนี้
(๖) งบทดลองแสดงข้อมูลทางบัญชีที่ถูกต้องตามดุลบัญชีปกติ (๗) บัญชีเบิกเกินส่งคืนรอนาส่งไม่มียอดคงค้าง
(๘) บัญชีพักต้องไม่มียอดคงเหลือ ซ่ึงเป็นไปตามเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงานด้านบัญชีของส่วนราชการ
ประจาปี ท่ีกรมบัญชีกลางกาหนดไว้ในเรื่องของความถูกต้อง (Accuracy) เพ่ือให้การบริหารงบประมาณ
ของหน่วยงานมีประสิทธิภาพ และเร่งรัดการใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไปตามแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่าย
งบประมาณ ประจาปงี บประมาณ
หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ : กลมุ่ งานบญั ชี กองคลงั สป. โทร. ๐ ๒๖๒๒ ๓๔๐๘ (มท.) ๕๐๓๒๒
- 122 -
๓. การบริหารพัสดุ : การบรหิ ารงานพสั ดุ อาคารสถานทีแ่ ละยานพาหนะ จัดระบบจราจรและบัตรอนุญาต
ใหย้ านพาหนะผา่ นเข้าออกภายในบรเิ วณกระทรวงมหาดไทย มีกระบวนการทางานทสี่ าคัญ ดงั น้ี
๓.๑ การบริหารงานพัสดุ ประเภทการจัดซ้ือจัดจ้างโดยวิธีเฉพาะเจาะจง ดาเนินการภายใต้ระเบียบ
กระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ และพระราชบัญญัติการจัดซ้ือ
จดั จา้ งและการบรหิ ารพัสดภุ าครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
- 123 -
๓.๒ การบริหารงานพัสดุ ประเภทการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีคัดเลือก ดาเนินการภายใต้ระเบียบ
กระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.๒๕๖๐ และพระราชบัญญัติการจัดซ้ือ
จัดจ้างและการบรหิ ารพัสดภุ าครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
- 124 -
๓.๓ การบริหารงานพัสดุ ประเภทการจัดซ้ือจัดจ้างโดยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding)
ดาเนินการภายใต้ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.๒๕๖๐ และ
พระราชบัญญตั ิการจัดซ้ือจัดจ้างและการบรหิ ารพัสดภุ าครฐั พ.ศ. ๒๕๖๐
- 125 -
๓.๓ การบริหารงานพัสดุ ประเภทการตรวจสอบพัสดุประจาปี ดาเนินการภายใต้ระเบียบ
กระทรวงการคลงั วา่ ดว้ ยการจัดซ้ือจดั จา้ งและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ และพระราชบัญญัติการจัดซื้อ
จดั จา้ งและการบรหิ ารพัสดุภาครฐั พ.ศ. ๒๕๖๐
- 126 -
๓.๕ อาคารสถานท่ีและยานพาหนะ จัดระบบจราจรประเภทการขอมีบัตรอนุญาตนายานพาหนะ
ผ่านเขา้ - ออก บริเวณกระทรวงมหาดไทย ดาเนนิ การตามแนวทางปฏิบตั ิการรกั ษาความปลอดภยั
หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ : กลุ่มงานบริหารพัสดุ กองคลงั สป. โทร. ๐ ๒๒๒๕ ๖๒๑๑ (มท.) ๕๐๓๕๓
- 127 -
๔. การกากับตดิ ตามการใช้จา่ ยงบประมาณ
๔.๑ การกากบั ตดิ ตามการใชจ้ ่ายงบประมาณประจาปีของกระทรวงมหาดไทย
สานักนโยบายและแผน สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย เร่งรัดติดตามการใช้จ่ายงบประมาณ
ของกระทรวงมหาดไทย รวมท้ังการดาเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี หรือมาตรการต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับการเร่งรัด
ติดตามการใช้จ่ายงบประมาณ เช่น มาตรการเพ่ิมประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปี มาตรการ
สนับสนุนการเบกิ จา่ ยงบประมาณตา่ ง ๆ ที่เกยี่ วข้อง และการเร่งรดั การเบิกจา่ ยงบประมาณ ดงั น้ี
๔.๑.๑ การเร่งรัดติดตามการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปีของกระทรวงมหาดไทย
โดยดาเนนิ การ ดงั น้ี
(๑) แจ้งเวียนมติคณะรัฐมนตรี หรือมาตรการต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องให้หน่วยงานในสังกัด
กระทรวงมหาดไทยทราบและถอื ปฏบิ ตั ิ
(๒) จัดทาแบบรายงานและรวบรวมประมวลผลการดาเนินงานในภาพรวมของกระทรวง
มหาดไทย กรณีหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เช่น สานักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง ให้จัดทาข้อมูลผลการใช้จ่าย
งบประมาณตามมติคณะรัฐมนตรี
(๓) จัดทาขอ้ มลู ผลการบริหารงบประมาณของกระทรวงมหาดไทยเพื่อประกอบการประชุม
ท่ีเก่ียวข้องหรอื ตามทีผ่ บู้ รหิ ารมอบหมาย
๔.๑.๒ การแต่งตั้งคณะกรรมการติดตามเร่งรัดการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปี
ของกระทรวงมหาดไทย มีการดาเนินการ ดงั นี้
(๑) จัดทาคาสั่งแต่งต้ังคณะกรรมการฯ โดนมีรองปลัดกระทรวงมหาดไทย ด้านบริหาร
เป็นประธาน หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย เป็นรองประธาน หัวหน้าส่วนราชการระดับกรม/
รัฐวิสาหกิจ (ท่ีได้รับงบประมาณ) เป็นกรรมการ ผู้อานวยการสานักนโยบายและแผน สานักงานปลัดกระทรวง
มหาดไทย เป็นกรรมการและเลขานุการ ผู้อานวยการกองคลัง/ผู้อานวยการกลุ่มงานนโยบายและแผนรวม
เป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานกุ าร
(๒) คณะกรรมการฯ มีอานาจหน้าท่ีในการเร่งรัดติดตามการใช้จ่ายงบประมาณ
ของกระทรวงมหาดไทย โดยมีการประชุมเป็นประจาทุกเดือน หรือตามท่ีประธานส่ังการ และมีการ Video
Conference System ไปยงั จงั หวัดและกล่มุ จงั หวดั ด้วย
(๓) ส รุ ป ข้ อ ส่ั ง ก า ร จ า ก
การประชุมฯ แจ้งเวียนให้หน่วยงานในสังกัด
กระทรวง มหาดไทยเร่งรัดการดาเนินการ และ
ติดตามผลงานเพือ่ สรุปเขา้ ทป่ี ระชมุ ในครงั้ ต่อไป
๔.๑.๓ งานจัดทารายงานผลการ
เ บิ ก จ่ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ข อ ง ก ร ะ ท ร ว ง ม ห า ด ไ ท ย
จากระบบบริหารการเงนิ การคลงั ภาครัฐ (GFMIS) โดยดาเนนิ การ ดังนี้
- 128 -
(๑) จัดทารายงานผลการเบิกจ่ายงบประมาณของกระทรวงมหาดไทยจากระบบบริหาร
การเงนิ การคลงั ภาครฐั (GFMIS เสนอผูบ้ รหิ ารทกุ สัปดาห์ และแจ้งเวียนทกุ หนว่ ยงานทราบ
(๒) นาเข้าข้อมูล GFMIS ในระบบศูนย์บัญชาการกระทรวงมหาดไทย เป็นประจา
ทุกสปั ดาห์
๔.๑.๔ งานรายงานผลการปฏบิ ัตงิ านและการใช้จา่ ยงบประมาณประจาปี ในระบบฐานข้อมูลแผน/
ผลการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณ (BB EviMis) ของสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย และจัดทา
รายงานผลการดาเนนิ งานตามแผนปฏบิ ตั งิ านและแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจาปีของสานักงานปลัดกระทรวง
มหาดไทย (สงผ.๓๐๑/๓๐๒) โดยดาเนินการ ดงั นี้
(๑) บันทึกข้อมูล ซ่ึงเป็นการนาเข้าข้อมูลผลการดาเนินงานตามแผนการปฏิบัติงานและ
การใช้จ่ายงบประมาณประจาปีของสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย โดยในเบื้องต้นกลุ่มงานนโยบายและแผน
รวม สานักนโยบายและแผน จะบันทึกข้อมูลในข้ันตอนการเสนอคาของบประมาณก่อน และส่วนทีเหลือจะเป็น
การติดตามผลการดาเนินงานจากทุกหน่วยงานในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยเพ่ือรายงานผลให้สานัก
งบประมาณทราบ
(๒) แจ้งเวียนทุกหน่วยงานในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย รายงานผล
การปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณทุกวันท่ี ๕ ของเดือน ตามแบบรายงาน สงป. ๓๐๑ (ตัวชี้วัดระดับ
เป้าหมายและกิจกรรม) สงป. ๓๐๒ (ผลการใช้จ่ายงบประมาณ) และ สงป.๓๐๒/๑ (ผลการจัดซ้ือจัดจ้างฯ
ซ่ึงปีที่ผ่านมาได้มอบหมายให้กองคลัง สป. ดาเนินการ (เพ่ือบันทึกข้อมูลในระบบฯ เป็นรายเดือนและรายไตรมาส
และ Prinout จากระบบเพอ่ื นาเสนอผบู้ รหิ ารพจิ ารณาลงนามรายงานสานักงบประมาณทกุ สนิ้ ไตรมาส
ทมี่ า : คู่มอื การจัดทาคาของบประมาณรายจ่ายประจาปี ดว้ ยระบบสารสนเทศด้านการงบประมาณ สานกั งบประมาณ
หน่วยงานรับผดิ ชอบ : กลุ่มงานนโยบายและแผนรวม สานกั นโยบายและแผน สป. โทร. ๐ ๒๒๒๑ ๔๒๐๓ (มท.) ๕๐๕๗๗
- 129 -
๔.๒ การกากบั ตดิ ตามการใชจ้ า่ ยงบประมาณตามแผนปฏิบตั ริ าชการประจาปีของจงั หวัด/กลุ่มจงั หวัด
สานักพัฒนาและส่งเสริมการบริหารราชการจังหวัดได้รวบรวมข้อมูลผลการใช้จ่ายงบประมาณ
ปัญหา/อุปสรรคการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด เพ่ือเป็นข้อมูลประกอบ
การตดั สนิ ใจ สาหรับการกากบั ตดิ ตาม และสงั่ การในระดบั นโยบาย
เนือ่ งจากในแต่ละปี พระราชบญั ญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณได้จัดสรรงบประมาณ
ให้จังหวดั และกลุม่ จงั หวดั โดยจงั หวัดและกลุ่มจังหวัดต้องจดั ทาแผนการปฏิบตั งิ านและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ
เพื่อเป็นกรอบแนวทางในการใช้จ่ายหรือก่อหน้ีผูกพันงบประมาณรายจ่ายที่ได้รับตามกฎหมายว่าด้วยงบประมาณ
รายจ่าย และเพ่ือใช้ในการกากับดูแลและติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณ
ตามมาตรการเรง่ รัดการใช้จา่ ยงบประมาณหรือมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณซ่ึงสานักงบประมาณ
สานักนายกรัฐมนตรี ได้กาหนดให้ส่วนราชการรายงานผลการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณเป็นรายเดือน
และรายไตรมาส เพ่ือให้สามารถติดตามความก้าวหน้าของการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไป
อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ รัฐบาลได้กาหนด
เป้าหมายการเบิกจ่ายงบประมาณไว้ทุกปีงบประมาณ
อาทิ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ เป้าหมายการเบิกจ่าย
ภาพรวมร้อยละ ๙๖ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑
เป้าหมายการเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวมร้อยละ ๙๖
โดยปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ เปน็ ต้นมาได้กาหนดเปา้ หมายการใช้จา่ ยงบประมาณไว้ที่ร้อยละ ๑๐๐
สานักพัฒนาและส่งเสริมการบริหารราชการจังหวัดได้รวบรวมข้อมูลผลการใช้จ่ายงบประมาณ
ปญั หา/อปุ สรรคการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการของจังหวัดและกลุ่มจังหวัดมาอย่างต่อเน่ือง เพื่อเป็นข้อมูล
ประกอบการตัดสินใจ สาหรบั การกากบั ติดตาม และส่งั การในระดับนโยบาย โดยมแี นวทางการดาเนินงาน ดังน้ี
๔.๒.๑ ขอให้ผู้ว่าราชการจังหวัด เร่งรัด ติดตามกากับดูแลหน่วยงานในสังกัด ดาเนินการตาม
แผนปฏบิ ัติราชการประจาปงี บประมาณของจงั หวดั /กลมุ่ จงั หวดั ใหเ้ ปน็ ไปตามท่ีคณะรฐั มนตรีกาหนดอยา่ งเครง่ ครดั
๔.๒.๒ การติดตามผลการบริหารงบประมาณของจังหวัดและกลุ่มจังหวัดประจาปีงบประมาณ
โดยใช้รูปแบบการทางานผ่านไฟล์เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อติดตามความก้าวหน้าการใช้จ่ายงบประมาณ
การดาเนินงานโครงการตามแผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ ปัญหา/อุปสรรคการดาเนินงานในพื้นที่
ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ตามแบบรายงานที่สานักพัฒนา
และส่งเสรมิ การบริหารราชการจังหวดั ออกแบบ ท้ังน้ี แบบรายงาน
จะมี ๒ ลักษณะคือ (๑) รายงานรายรอบปกติ รายงานทุกวันท่ี ๕
ของทุกเดือน และ (๒) แบบรายงานเพิ่มเติมตามสถานการณ์
ตามความจาเปน็
หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ : กลุ่มงานส่งเสรมิ การบรหิ ารราชการจงั หวัด สานกั พฒั นาและส่งเสริมการบริหารราชการจงั หวดั สป.
โทร. ๐ ๒๒๒๒ ๗๘๒๑ (มท.) ๕๐๔๓๑
- 130 -
ดา้ นระบบคน
๑. การสรรหา
๑.๑ การสรรหาและคัดเลอื ก
การสรรหาและคัดเลือกบุคคลเป็นภารกิจท่ีมีความสาคัญในกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล
ของทุกส่วนราชการ เน่ืองจากเป็นภารกิจที่ทาให้ส่วนราชการได้บุคลากรท่ีมีความรู้ ความสามารถ ทักษะ
และคุณลักษณะอื่น ๆ ที่เหมาะสมเข้ามาปฏิบัติงานในตาแหน่งต่าง ๆ ซ่ึงจะช่วยให้ส่วนราชการบรรลุเป้าหมาย
การปฏิบัติราชการได้อย่างมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ ทั้งน้ี การสรรหาและคัดเลือกเป็นกระบวนการที่มี
ความต่อเนื่องกัน โดยการสรรหาเป็นกระบวนการค้นหาและจูงใจให้บุคคลท่ีมีความรู้ ความสามารถ ทักษะ
และคุณลักษณะอ่ืน ๆ ที่จาเป็นต่อการปฏิบัติงานใดงานหนึ่งเข้ามาสมัครงานกับส่วนราชการ ซึ่งเป็นกระบวนการ
ท่ีสาคัญและต้องมีการวางแผนอย่างรอบคอบ รวมทั้ง ต้องกาหนดคุณสมบัติของบุคคลท่ีต้องการและการเข้าถึง
กลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจน สาหรับการคัดเลือกบุคคลจะเป็นกระบวนการพิจารณาบุคคลที่ได้สรรหามาแล้ว นามา
คดั กรองเพ่ือให้ได้บคุ คลทเี่ หมาะสมท่ีสุด โดยยึดหลักการแยกความแตกต่างระหว่างบุคคลบนสมมติฐานที่ว่าบุคคล
ท่ไี ดร้ ับการคัดเลอื กเข้ามาปฏบิ ตั ิงานในหนว่ ยงานจะสามารถปฏิบัติงานไดด้ ีกว่าผ้ทู ี่ไม่ได้รับการคัดเลือก
ทั้งนี้ ในการปฏิบัติภารกิจการสรรหาและคัดเลือก จะต้องดาเนินการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติ
ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๔๒ (๑) ท่ีกาหนดว่า การรับบุคคลเพื่อบรรจุเข้ารับราชการ
และแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งต้องคานึงถึงความรู้ ความสามารถของบุคคล ความเสมอภาค ความเป็นธรรม
และประโยชน์ของทางราชการ และมาตรา ๕๒ ที่กาหนดว่า การสรรหาให้ได้บุคคลมาบรรจุเข้ารับราชการ
เป็นข้าราชการพลเรือนสามัญและแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งต้องเป็นไปตามระบบคุณธรรม และคานึงถึงพฤติกรรม
ทางจริยธรรมของบุคคล ตลอดจนประโยชน์ของทางราชการ รวมถึงต้องดาเนินการให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ
และขั้นตอนการสรรหาและคดั เลือกท่ี ก.พ. กาหนด
๑.๒ การประเมินบุคคล
การประเมินบุคคลเป็นภารกิจท่ีมคี วามสาคัญในกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคลของทุกส่วนราชการ
เนือ่ งจากเป็นกระบวนการในการวดั ความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ ผลการปฏิบัติงาน หรือสมรรถนะของข้าราชการ
ว่ามีความเหมาะสมกับตาแหน่งท่ีจะแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งนั้น ๆ หรือสิทธิประโยชน์ต่าง ๆ หรือไม่ อย่างไร
เพ่ือให้ผู้ดารงตาแหน่งดังกล่าวไปขับเคล่ือนภารกิจของส่วนราชการให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุผล
สัมฤทธ์ิ ซึ่งภารกิจในส่วนของการประเมินบุคคลในความรับผิดชอบของกลุ่มงานสรรหาและประเมินบุคคล
ได้แก่ การประเมินผลการทดลองปฏิบัติหน้าท่ีราชการ การประเมินบุคคล/ผลงานเพื่อแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่ง
ในระดบั ที่สงู ข้นึ หรอื การรับโอนมารบั ราชการในสังกัด การประเมินบคุ คล/ผลงานเพือ่ ขอรับเงินเพ่ิมสาหรับตาแหน่ง
ทีม่ ีเหตุพิเศษ ตาแหน่งนิติกร (พ.ต.ก.) และเงินประจาตาแหนง่ นักวชิ าการคอมพวิ เตอร์
ท้ังน้ี ในการปฏิบัติภารกิจการประเมินบุคคลดังกล่าว จะต้องดาเนินการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติ
ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๔๒ (๒) และ (๕) ท่ีกาหนดว่าการบริหารทรัพยากรบุคคลต้อง
คานึงถึงผลสัมฤทธิ์และประสิทธิภาพขององค์กรและลักษณะของงาน โดยไมเลือกปฏิบัติอย่างไมเป็นธรรม
- 131 -
และการเลื่อนตาแหน่งัและการให้ประโยชน์อื่นแก่ข้าราชการต้องเป็นไปอย่างเป็นธรรมัโดยพิจารณาจากผลงาน
ศักยภาพ และความประพฤติ และจะนาความคิดเห็นทางการเมืองหรือสังกัดพรรคการเมืองมาประกอบ
การพิจารณามิได้ รวมถึง กฎ ก.พ. ว่าด้วยการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการและการพัฒนาข้าราชการที่อยู่ระหว่าง
ทดลองปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ราชการ พ.ศ. ๒๕๕๓
หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ : กล่มุ งานสรรหาและประเมินบคุ คล กองการเจา้ หน้าท่ี สป. โทร. ๐ ๒๒๒๓ ๙๓๕๓ (มท.) ๕๐๓๘๑
๒. การรกั ษาไว้
๒.๑ การปรบั ปรุงโครงสรา้ งและการบรหิ ารอัตรากาลัง
๒.๑.๑ การปรับปรุงโครงสร้างและอัตรากาลังของสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย
และกระทรวงมหาดไทย (กรณีตำแหน่งประเภทวิชำกำร ระดับชำนำญกำรพิเศษ และตำแหน่งประเภททั่วไป
ระดับอำวโุ ส ลงมำ)
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๔๗ บัญญัติให้ อ.ก.พ.
กระทรวง มอี านาจกาหนดตาแหน่ง ท้ังจานวน ประเภท สายงาน และระดับ ภายใต้หลักเกณฑ์และเงื่อนไขท่ี ก.พ.
กาหนด โดยต้องคานึงถึงเหตุผลความจาเป็น ลักษณะหน้าท่ีความรับผิดชอบและคุณภาพของงาน ประกอบกับ
กลุ่มงานวางแผนอัตรากาลัง มีหน้าท่ีในการศึกษา วิเคราะห์ และพิจารณากลั่นกรองเพื่อจัดระบบโครงสร้าง
และอตั รากาลงั ของสว่ นราชการตา่ ง ๆ ในสังกัดสานักงาน
ปลัดกระทรวงมหาดไทยและกระทรวงมหาดไทย
ท่ีอยู่ในอานาจของ อ.ก.พ. กระทรวงมหาดไทย
ใหม้ คี วามเหมาะสมกับสภาพแวดลอ้ มทเ่ี ปล่ียนแปลงไป
ปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลง
สภาพแวดล้อมทางการบริหาร อันเน่ืองมาจา ก
ยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูป
ประเทศ และนโยบายสาคัญของรัฐบาล ซึ่งส่งผล
กระทบทาให้ส่วนราชการมีภาระงานเพ่ิมข้ึนทั้งใน
เชิงปริมาณและคุณภาพ จึงจาเป็นต้องมีการปรับปรุง
โครงสร้างและอัตรากาลัง เพื่อให้มีความเหมาะสม
สามารถขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ชาติ นโยบายสาคัญต่าง ๆ
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนแก้ไขปัญหา
ความเดือดร้อน และตอบสนองความต้องการ
ของประชาชนได้อยา่ งมปี ระสิทธิผล
- 132 -
อ.ก.พ. กระทรวงมหาดไทยได้มีคาส่ังแต่งต้ังคณะทางานกล่ันกรองการกาหนดตาแหน่ง
ประเภทวิชาการและประเภททัว่ ไปของกระทรวงมหาดไทย เพื่อพิจารณากลั่นกรองการกาหนดตาแหน่งข้าราชการ
พลเรือนสามัญตามความนัยมาตรา ๔๗ แห่งพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ตาแหน่ง
ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ ชานาญการและชานาญการพิเศษ และประเภทท่ัวไป ระดับปฏิบัติงาน ชานาญงาน
และอาวุโส) รวมทั้งพิจารณากลั่นกรองการจัดโครงสร้างและอัตรากาลัง ก่อนนาเสนอ อ.ก.พ. กระทรวงมหาดไทย
พิจารณา
๒.๑.๒ การปรับปรุงการกาหนดตาแหน่งระดับสูงของสานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย
และกระทรวงมหาดไทย (กรณีตำแหน่งประเภทบริหำร ระดับต้น และระดับสูง ประเภทอำนวยกำร ระดับสูง
ประเภทวิชำกำร ระดบั เชย่ี วชำญ และระดบั ทรงคณุ วุฒิ และประเภทท่วั ไป ระดบั ทกั ษะพิเศษ)
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๔๗ บัญญัติให้ อ.ก.พ.
กระทรวง มอี านาจกาหนดตาแหน่ง ท้ังจานวน ประเภท สายงาน และระดับ ภายใต้หลักเกณฑ์และเงื่อนไขท่ี ก.พ.
กาหนด โดยต้องคานึงถึงเหตุผลความจาเป็น ลักษณะหน้าท่ีความรับผิดชอบและคุณภาพของงาน ประกอบกับ
กลุ่มงานวางแผนอัตรากาลัง มีหน้าท่ีในการศึกษา วิเคราะห์ และพิจารณากล่ันกรองเพ่ือจัดระบบโครงสร้าง
และอัตรากาลังของส่วนราชการต่าง ๆ ในสังกัด
ส า นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ม ห า ด ไ ท ย แ ล ะ
กระทรวงมหาดไทยท่ีอยู่ในอานาจของ อ.ก.พ.
ก ร ะ ท ร ว ง ม ห า ด ไ ท ย ใ ห้ มี ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม กั บ
สภาพแวดลอ้ มที่เปล่ียนแปลงไป
ปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลง สภาพ
แว ดล้อมทางการบริหาร อันเนื่องมาจาก
ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ แ ผ น พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม
แห่งชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
แผนการปฏิรูปประเทศ และนโยบายสาคัญของ
รัฐบาล ซึ่งส่งผลกระทบทาให้ส่วนราชการมีภาระ
งานเพิ่มขึ้นทั้งในเชิงปริม าณและคุณภ าพ
จึงจาเป็นต้องมีการกาหนดตาแหน่ง เพ่ือให้มี
ความเหมาะสม สามารถขับเคลอื่ นยุทธศาสตร์ชาติ
นโยบายสาคัญต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตลอดจนสามารถแก้ไขปัญหาความเดือดร้อน
และตอบสนองความต้องการของประชาชนได้
อย่างมปี ระสทิ ธผิ ล
- 133 -
อ.ก.พ.กระทรวงมหาดไทย ได้มีคาส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการการกาหนดตาแหน่งระดับสูง
ของกระทรวงมหาดไทย เพ่ือพิจารณารายละเอียดการกาหนดตาแหน่งประเภทบริหาร ระดับต้น และระดับสูง
ประเภทอานวยการ ระดับสูง ประเภทวิชาการ ระดับเช่ียวชาญ และระดับทรงคุณวุฒิ และประเภทท่ัวไป ระดับ
ทักษะพิเศษ ตามมาตรา ๔๗ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ ก่อนนาเสนอ อ.ก.พ.
กระทรวงมหาดไทยพิจารณา
๒.๑.๓ การบริหารอัตรากาลังจากผลการเกษียณอายุราชการของสานักงานปลัดกระทรวง
มหาดไทยและกระทรวงมหาดไทย
ม ติ ค ณ ะ รั ฐ ม น ต รี ใ น ก า ร
ประชุมเม่ือวันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๖๒ เห็นชอบ
มาตรการบริหารจัดการกาลังคนภาครัฐ (พ.ศ.
๒๕๖๒ – ๒๕๖๕) ตามที่คณะกรรมการกาหนด
เป้าหมายและนโยบายกาลังคนภาครัฐ (คปร.) เสนอ
โดยให้อานาจ อ.ก.พ.กระทรวงในมติคณะรัฐมนตรี
ในการประชุมเมื่อวันท่ี ๑๙ มนี าคม ๒๕๖๒ เห็นชอบ
มาตรการบริหารจัดการกาลังคนภาครัฐ (พ.ศ.
๒๕๖๒ – ๒๕๖๕) ตามท่ีคณะกรรมการกาหนด
เป้าหมายและนโยบายกาลังคนภาครัฐ (คปร.) เสนอ
โดยให้อานาจ อ.ก.พ.กระทรวงใน
ม ติ ค ณ ะ รั ฐ ม น ต รี ใ น ก า ร
ประชุมเมื่อวันท่ี ๑๙ มีนาคม ๒๕๖๒ เห็นชอบ
มาตรการบริหารจัดการกาลังคนภาครัฐ (พ.ศ.
๒๕๖๒ – ๒๕๖๕) ตามท่ีคณะกรรมการกาหนด
เป้าหมายและนโยบายกาลังคนภาครัฐ (คปร.) เสนอ
โดยใหอ้ านาจ อ.ก.พ.กระทรวงใน
สานักงาน ก.พ. ในฐานะฝ่ายเลขานุการร่วม คปร. ได้จัดทาแนวทางปฏิบัติตามมาตรการฯ
เพ่ือใหส้ ว่ นราชการใชด้ าเนนิ การตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขที่ คปร. กาหนด โดยมีหลกั เกณฑ์ ดังน้ี
(๑) หลกั เกณฑก์ ารจดั สรรอตั ราว่างจากผลการเกษยี ณอายุของขา้ ราชการ
๑) ตาแหน่งประเภทบริหารและตาแหน่งประเภทอานวยการ ให้จัดสรรอัตรา
ข้าราชการท่ีว่างจากผลการเกษียณอายุคืนส่วนราชการเดิมท้ังหมด เพื่อให้ส่วนราชการสามารถบริหารอัตรากาลัง
ไดอ้ ย่างต่อเนอ่ื งทนั ที
๒) ตาแหน่งประเภทวิชาการและตาแหน่งประเภทท่ัวไป ให้จัดสรรอัตราข้าราชการ
ท่วี ่างจากผลการเกษยี ณอายุตามหลักเกณฑ์ ดงั น้ี
- 134 -
ขนาด จานวนอตั รา บริหารและ คืนสว่ นราชการ วชิ าการและทวั่ ไป อ.ก.พ. กระทรวง
สว่ นราชการ อานวยการ เดมิ ทนั ที จัดสรร
ไมเ่ กิน ๓๐๐ คืนส่วนราชการ ทดแทนด้วย
ขนาดเลก็ ๓๐๑ – ๑,๐๐๐ เดมิ ทันที ๑๐๐ % พนักงานราชการ -
ขนาดกลาง ๑,๐๐๑ – ๕,๐๐๐
ขนาดใหญ่ ๕,๐๐๑ ขึ้นไป ๑๐๐ % ๙๕ % - -
๕%
๑๐๐ % ๗๐ % ๑๐ % ๒๐ %
๑๕ %
๑๐๐ % ๖๐ % ๒๕ %
๑๐๐ %
(๒) หลักเกณฑ์การบริหารอตั รากาลังลกู จ้างประจา
ให้ยุบเลิกอัตราลูกจ้างประจาท่ีว่างจากผลการเกษียณอายุ และว่างโดยเหตุอ่ืน
ในระหวา่ งปีของทกุ ส่วนราชการ เวน้ แต่มีเหตผุ ลความจาเป็นให้เสนอ คปร. พจิ ารณาเปน็ กรณี ๆ ไป
แนวทางปฏิบัติตามมาตรการบริหารจัดการกาลังคนภาครัฐ (พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๖๕)
ได้กาหนดให้ส่วนราชการสามารถใช้เป็นแนวทางบริหารอัตรากาลังได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถขับเคล่ือน
ภารกิจให้เปน็ ไปตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ในแผนการปฏิรูปประเทศและยุทธศาสตร์ชาติ โดยการจัดสรรอัตราว่าง
จากผลการเกษยี ณอายขุ องขา้ ราชการ การปรับลดอัตรากาลังข้าราชการโดยการทดแทนอัตราว่างด้วยการจ้างงาน
รปู แบบอ่ืน การบรหิ ารอตั รากาลงั ลูกจา้ งประจา และการจัดสรร
อัตราข้าราชการต้ังใหม่ เพื่อให้ส่วนราชการบริหารจัดการ
อัตรากาลังให้เกิดประโยชน์และคุ้มค่า ท้ังน้ี เป็นอานาจของ
อ.ก.พ. กระทรวง ในการพิจารณา ซ่ึงข้ึนอยู่กับความจาเป็น
ตามภารกิจของส่วนราชการ และไม่เป็นการเพ่ิมอัตรา
ข้าราชการต้ังใหม่ในภาพรวมยกเว้นกรณีท่ีมีความจาเป็น
อย่างย่ิงและหากไม่ดาเนินการจะส่งผลกระทบต่อการ
ดาเนินการภารกิจของภาครัฐตามแผนการปฏิรูปประเทศ
และยทุ ธศาสตร์ชาติโดยสรปุ ขนั้ ตอนการปฏิบตั งิ านได้
๒.๑.๔ การบริหารจัดการกรอบอัตรากาลัง
พนกั งานราชการของสานกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย
ภายหลังการปฏิรูประบบราชการ
เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๕ สานักงาน ก.พ. ได้นาระบบลูกจ้าง
สัญญาจ้างเดิมมาปรับปรุงรูปแบบการจ้างงานในหน่วยงาน
ภาครัฐ ให้มีความหลากหลายและยืดหยุ่นมากขึ้น โดยได้
เปล่ียนชื่อจาก “ลูกจ้างสัญญาจ้าง” เป็น “พนักงาน
ราชการ” เพื่อดงึ ดูดใจและแสดงสถานะที่ชัดเจนตลอดจนการวางระบบบริหารงานบุคคลท่ีเกี่ยวข้อง โดยพนักงาน
ราชการตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ หมายความถึงบุคคลซึ่งได้รับการ