- ๓๘๕ -
รวมห้องสอบห้องสุดท้าย ในการจัดส่งกระดาษคาตอบให้บรรจุซองกระดาษคาตอบตามเกณฑ์ห้องละ ๒๐ คน
สาหรับนกั เรียนทีถ่ ูกยุบรวมห้องสอบ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานกาหนดให้แยกกระดาษคาตอบ
บรรจแุ ยกออกมาอีก ๑ ซอง เพื่อป้องกนั ปญั หาในการตรวจขอ้ สอบ
๓) กรณีสถานศึกษามีนักเรียนสอบไม่ถึง ๕ คน อนุโลมให้รวมสนามสอบกับสถานศึกษา
ใกล้เคียงได้ ท้ังน้ี ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการอานวยการสอบพิจารณาตามเหตุผลความจาเป็น และต้อง
คานงึ ถึงความโปร่งใสและยตุ ธิ รรมในการสอบ
๔) แต่งตงั้ กรรมการคมุ สอบ ห้องละ ๒ คน และตอ้ งมาจากต่างสถานศกึ ษาทีเ่ ปน็ สนามสอบ
๕) แต่งต้ังกรรมการตรวจข้อสอบแบบเขียนตอบ โดยมีกรรมการตรวจข้อสอบ
อย่างนอ้ ย ๒ คน ต่อหน่งึ ฉบบั และต้องมาจากตา่ งสถานศกึ ษาทเ่ี ปน็ สนามสอบ
๖) กาหนดแนวทางการตรวจข้อสอบแบบเขียนตอบว่าจะให้ดาเนินการตรวจข้อสอบ
ที่สนามสอบ หรอื ตรวจข้อสอบในสถานที่ท่ศี นู ย์สอบกาหนด
การดาเนินการกรณีท่ีไม่สามารถดาเนินการสอบได้ กรณีสถานศึกษาแห่งใดอยู่ใน
พืน้ ทค่ี วบคมุ สงู สดุ และเข้มงวด (สีแดงเข้ม) และพ้ืนที่ควบคุมสูงสุด (สีแดง) หรือสถานศึกษาต้ังอยู่ในพื้นที่มีการ
แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) รุนแรงเสี่ยงต่อการติดเชื้อและสถานศึกษาไม่สามารถ
ดาเนินการสอบได้ หรอื เหตุสุดวสิ ัยให้สถานศกึ ษารายงานนายกองคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อเสนอคณะกรรมการ
อานวยการสอบทราบ ทั้งนี้ ให้เป็นดุลพินิจของคณะกรรมการอานวยการสอบท่ีจะพิจารณาเหตุผลความจาเป็น
เป็นกรณี ๆ ไป และให้บันทึกมติของที่ประชุมคณะกรรมการอานวยการสอบเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ในรายงาน
การประชมุ พร้อมทั้งรายงานใหก้ รมส่งเสรมิ การปกครองทอ้ งถน่ิ ทราบ
การตรวจข้อสอบ การประเมินคุณภาพผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ปีการศึกษา ๒๕๖๓
กาหนดรูปแบบของข้อสอบในการทดสอบเป็น ๒ แบบ ได้แก่ ข้อสอบแบบเลือกตอบ และข้อสอบแบบเขียนตอบ
โดยจาแนกการตรวจข้อสอบ ดังน้ี
๑) ข้อสอบแบบเลือกตอบ ดาเนินการตรวจให้คะแนนโดยสานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ตรวจให้คะแนนด้วยระบบคอมพิวเตอร์ การอ่านแผ่นกระดาษคาตอบผ่านเคร่ืองอ่าน
สญั ลกั ษณ์ดว้ ยแสง (Optical Mark Reader : OMR)
๒) ขอ้ สอบแบบเขียนตอบ ดาเนินการตรวจให้คะแนนโดยคณะกรรมการตรวจข้อสอบ
แบบเขียนตอบท่ีศูนย์สอบแต่งต้ัง โดยสามารถดาเนินการได้ ๒ แนวทาง คือ การตรวจข้อสอบท่ีสนามสอบ หรือ
ตรวจข้อสอบในสถานท่ที ศี่ ูนยส์ อบกาหนด
การตดิ ตามการบรหิ ารการทดสอบ
๑) กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินร่วมมือกับศูนย์สอบในการติดตามการบริหาร
การทดสอบตามมาตรฐานการทดสอบ โดยคณะกรรมการจากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจะสุ่มตรวจเยี่ยม
ศูนยส์ อบและสนามสอบในชว่ งก่อนวันสอบ วนั สอบ และหลังวันสอบ
๒) ศนู ยส์ อบตรวจเยี่ยมสนามสอบในช่วงก่อนและหลงั วนั สอบ
- ๓๘๖ -
การรับแจ้งเรื่องร้องเรียนความโปร่งใสในการสอบ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน
เปิดช่องทางการรบั แจ้งเรื่องราวร้องเรียนในความโปร่งใสในการสอบสาหรับโรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
ดังนี้
๑) โทรศัพท์หมายเลข ๐-๒๒๔๑-๙๐๒๒-๓ ต่อ ๒๐๒ – ๒๐๓ และ ๐-๒๒๔๑-๙๐๐๐
ต่อ ๕๓๑๒ - ๕๓๑๓
๒) E-mail : dla๐๘๙๓_๒@dla.go.th
- ๓๘๗ -
(๔) ผลการดาเนนิ งานปีที่ผ่านมา
๑) ปีการศึกษา ๒๕๖๒ การประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ในสถานศึกษาสังกัดองค์กร
ปกครองสว่ นท้องถิ่น ดาเนินการทดสอบเม่ือวนั ที่ ๔ มนี าคม ๒๕๖๓ มีนักเรยี นชน้ั ป.๓ เขา้ สอบ จานวน ๔๙,๗๕๙ คน
๒) ปีการศึกษา ๒๕๖๓ การประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ในสถานศึกษาสังกัดองค์กร
ปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ดาเนินการทดสอบเมอ่ื วันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๖๔ มนี กั เรยี นช้ัน ป.๓ เขา้ สอบ จานวน ๕๑,๖๙๐ คน
หนว่ ยงานรบั ผิดชอบ : กลุ่มงานส่งเสริมการจัดการศึกษาท้องถ่ิน กองส่งเสริมและพัฒนาการจัดการศึกษาท้องถิ่น
กรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถิ่น โทร. ๐ ๒๒๔๑ ๙๐๒๑ - ๖ ต่อ ๒๐๓
๓.๔.๕ การประเมินความสามารถด้านการอ่าน (Reading Test : RT) ในสถานศึกษาสังกัด
องค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ
(๑) ที่มาและความสาคญั โดยสังเขป
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน ร่วมกับสานัก
ทดสอบทางการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน กาหนดดาเนินการประเมินความสามารถด้าน
การอ่านของผู้เรียน ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ ปีการศึกษา
๒๕๖๓ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้สถานศึกษามีเครื่องมือท่ีมี
คุณภาพได้มาตรฐานในการประเมินความสามารถด้านการ
อ่านของผู้เรียน ท้ังในเรื่องการอ่านออกเสียง และการอ่านรู้
เรื่อง รวมท้ัง เพื่อทาให้ครูผู้สอนมีข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับ
ความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียนเป็นรายบุคคลนาไปสู่การปรับปรุงและพัฒนาความสามารถด้านการอ่านของ
ผู้เรียนแต่ละคนให้เต็มตามศักยภาพ โดยใช้ข้อสอบกลางท่ีสานักทดสอบทางการศึกษา สานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐานได้สร้างเป็นเครื่องมือประเมินการอ่าน ตามมาตรฐานและตัวชี้วัดในกลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทยตามระดับช้ันของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ เป็นการดาเนินการประเมิน
ความสามารถด้านการอา่ นของผูเ้ รยี น ๒ ดา้ น คือ อา่ นออกเสยี ง และอ่านรู้เรอื่ ง
อา่ นออกเสียง หมายถงึ การอ่านคา ประโยค หรือข้อความสั้น ๆ ทเี่ ป็นคาในวงคาศัพท์
ในระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ ท้ังที่เป็นคาที่มีความหมายโดยตรงหรือคาที่มีความหมายโดยนัย ท่ีใช้ใน
ชวี ิตประจาวัน โดยวธิ กี ารอา่ นออกเสยี ง
อ่านรู้เรื่อง หมายถึง การอ่านคา ประโยค หรือข้อความสั้น ๆ ที่เป็นคาในวงคาศัพท์
ในระดับชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑ ท้ังท่ีเป็นคาท่ีมีความหมายโดยตรงหรือคาที่มีความหมายโดยนัย ที่ใช้ในชีวิตประจาวัน
โดยสามารถบอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านร้อยแก้ว ร้อยกรอง สาหรับเด็ก (เป็นข้อความง่าย ๆ) จับใจความจากเรื่องท่ีอ่าน
ตอบคาถามจากเรื่องที่อ่าน บอกความหมายของเครื่องหมายสัญลักษณ์ท่ีสาคัญที่พบเห็นในชีวิตประจาวัน
คาดคะเนจากเรื่องท่ีอ่าน สรปุ ความรขู้ ้อคิดจากเรื่องทอ่ี า่ นไดอ้ ยา่ งสมเหตสุ มผล แปลความและสร้างสรรคจ์ ากภาพ
- ๓๘๘ -
ผลการประเมินจะเป็นข้อมูลสาหรับครูผู้สอนสามารถนาไปใช้วินิจฉั ยข้อบกพร่อง
ดา้ นการอ่านของนกั เรียน และการวางแผน ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพนักเรียนเป็นรายบุคคลได้ตรงประเด็นและ
สามารถแกป้ ัญหาได้ตรงตามความเปน็ จรงิ ต่อไป
(๒) ขอ้ มูลท่วั ไปเกีย่ วกับการดาเนนิ งาน
๑) กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน กาหนดให้สานักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
จังหวัด ทุกจังหวัด เป็นศูนย์สอบประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ของ
สถานศกึ ษาในสังกดั องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ และในปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ การประเมนิ ความสามารถด้านการอ่าน
(Reading Test : RT) ในสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เม่ือวันท่ี ๑๐ มีนาคม ๒๕๖๔ มีนักเรียน
ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๑ เข้าสอบ จานวน ๕๒,๕๐๙ คน
๒) กฎหมายท่เี กย่ี วข้อง ไดแ้ ก่ ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการปฏิบัติของผู้กากับ
การสอบ พ.ศ. ๒๕๔๘ และทแ่ี กไ้ ขเพิม่ เตมิ ฉบบั ที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๕
(๓) กระบวนการหรือขัน้ ตอนการดาเนินงานทีเ่ กยี่ วขอ้ ง
แนวทางปฏิบัติในการดาเนินการสอบ ให้สานักงานส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินจังหวัด
ทุกจงั หวดั เปน็ ศูนยส์ อบประเมนิ ความสามารถดา้ นการอ่านของผู้เรียน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓
ของสถานศกึ ษาในสังกดั องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ โดยใหม้ หี น้าท่ี ดงั นี้
๑) วางแผน กาหนดแนวทางการบริหารจัดการสอบของศูนย์สอบให้สอดคล้องกับ
นโยบายท่ีคณะกรรมการอานวยการประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับชาติกาหนด ให้คาแนะนา กากับ ดูแล ติดตาม
ประเมินผลการดาเนินงานของสถานศึกษาที่อยู่ในความรับผิดชอบ และการตัดสินใจเก่ียวกับการบริหารจัดการสอบ
ทีเ่ ป็นเรอ่ื งเร่งด่วนของศูนย์สอบ
๒) กากับ ติดตามให้สถานศึกษาบันทึกข้อมูลผู้เรียนท่ีเข้าสอบประเมินในระบบ
NT Access ภายในระยะเวลาทีก่ าหนด
๓) แต่งตั้งคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องกับการจัดสอบ เช่น คณะกรรมการอานวยการสอบ
คณะกรรมการรับส่งแบบทดสอบ คณะกรรมการตรวจเย่ียมสนามสอบ คณะกรรมการประจาสนามสอบหรือ
คณะทางานเฉพาะเรื่อง ตามความจาเป็นและเห็นควร เพ่ือปฏิบัติตามหน้าที่ที่คณะกรรมการมอบหมาย ทั้งน้ี
การตัดสินใจแก้ไขปัญหาในการดาเนินการสอบที่เป็นเรื่องเร่งด่วนให้อยู่ในดุลพินิจของคณะกรรมการอานวยการสอบ
โดยให้เป็นมตขิ องคณะกรรมการอานวยการสอบ
๔) แต่งตงั้ คณะกรรมการระดับสนามสอบ ประกอบด้วย ประธานสนามสอบ กรรมการ
รบั – ส่งขอ้ สอบ/แบบทดสอบและกระดาษคาตอบ กรรมการคุมสอบและตรวจให้คะแนน กรรมการบันทึกคะแนน
นักการภารโรง และกรรมการอื่น ๆ ตามความเหมาะสม
- ๓๘๙ -
การจัดสนามสอบและการแต่งตั้งคณะกรรมการ ให้สานักงานส่งเสริมการปกครอง
ทอ้ งถิน่ จังหวดั ในฐานะคณะกรรมการอานวยการสอบ ดาเนนิ การ ดังนี้
๑) ให้สถานศึกษาทุกแห่ง ในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินท่ีมีนักเรียนเข้าสอบ
เปน็ สนามสอบ
๒) จัดห้องสอบของแต่ละสนามสอบโดยมีจานวนผู้สอบ ห้องละ ๒๐ คน ยกเว้น
กรณีท่ีหอ้ งสดุ ท้ายมีผู้สอบไม่เกิน ๓ คน อาจยบุ รวมห้องสอบได้
๓) ให้แต่งตง้ั กรรมการคุมสอบและตรวจให้คะแนนห้องละ ๒ คน โดยเป็นครูผู้สอนภายใน
สถานศกึ ษาเดยี วกันหรือสถานศึกษาอน่ื ไดต้ ามความเหมาะสมโดยให้อยู่ในดุลพินจิ ของคณะกรรมการระดบั ศูนยส์ อบ
๔) แต่งต้ังกรรมการบันทึกคะแนน โดยนาแบบบันทึกคะแนนการอ่านออกเสียง
(แบบบันทึกคะแนน ๑) และแบบบันทึกคะแนนการอ่านรู้เรื่อง (แบบบันทึกคะแนน ๒) ฉบับสาเนา ไปบันทึก
คะแนนในแบบฟอร์มบันทึกคะแนนตามที่ดาวน์โหลดมาจากระบบ NT Access และให้กรรมการตรวจสอบความถูกต้อง
กอ่ นนาเข้าระบบอีกคร้ัง
การบริการการทดสอบ สานักทดสอบทางการศึกษา สานักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน จะมีการขนส่งเอกสารและแบบทดสอบ ไปยังศนู ย์สอบ
๑) การรับแบบทดสอบ ศูนย์สอบจะต้องมีผู้ประสานงานเป็นผู้ลงนามทุกคร้ัง และ
ศนู ย์สอบตอ้ งเกบ็ รักษากลอ่ งแบบทดสอบไว้ในห้องมัน่ คงหรอื ห้องท่ีปิดมดิ ชิด มผี ู้ท่รี บั ผิดชอบคอยดูแล
๒) ศูนย์สอบส่งมอบกล่องแบบทดสอบ พร้อมเอกสารประกอบการสอบ ให้กับสนามสอบ
ในตอนเชา้ ของวันสอบ
๓) หลังจากเสร็จส้ินการสอบ ให้แต่ละสนามสอบเก็บรักษาแบบทดสอบไว้ที่
สถานศกึ ษาเพื่อนาไปใชป้ ระโยชนต์ ่อไป
- ๓๙๐ -
การดาเนินการกรณีท่ีไม่สามารถดาเนินการสอบได้ กรณีสถานศึกษาแห่งใดอยู่ใน
พื้นท่ีควบคุมสูงสุดและเข้มงวด (สีแดงเข้ม) และพื้นท่ีควบคุมสูงสุด (สีแดง) หรือสถานศึกษาตั้งอยู่ในพ้ืนท่ี
มีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) รุนแรงเสี่ยงต่อการติดเช้ือและสถานศึกษาไม่สามารถ
ดาเนินการสอบได้ ให้สถานศึกษารายงานนายกองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเพื่อเสนอคณะกรรมการอานวยการสอบ
ทราบ ท้ังนี้ ให้เป็นดุลพินิจของคณะกรรมการอานวยการสอบท่ีจะพิจารณาเหตุผลความจาเป็นเป็นกรณี ๆ ไป
และให้บันทึกมติของท่ีประชุมคณะกรรมการอานวยการสอบเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ในรายงานการประชุม
พร้อมท้ังรายงานให้กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ ทราบ
การติดตามการบรหิ ารการทดสอบ
๑) กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินร่วมมือกับศูนย์สอบในการติดตามการบริหาร
การทดสอบตามมาตรฐานการทดสอบ โดยคณะกรรมการจากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินจะสุ่มตรวจเยี่ยม
ศูนยส์ อบและสนามสอบในช่วงก่อนวันสอบ วนั สอบ และหลงั วนั สอบ
๒) ศูนยส์ อบตรวจเยีย่ มสนามสอบในชว่ งก่อนและหลังวนั สอบ
การติดตามการบริหารการทดสอบ
๑) กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นร่วมมือกับศูนย์สอบในการติดตามการบริหาร
การทดสอบตามมาตรฐานการทดสอบ โดยคณะกรรมการจากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินจะสุ่มตรวจเยี่ยม
ศูนย์สอบและสนามสอบในช่วงกอ่ นวนั สอบ วันสอบ และหลังวนั สอบ
๒) ศนู ยส์ อบตรวจเย่ยี มสนามสอบในชว่ งกอ่ นและหลงั วันสอบ
การรับแจ้งเรื่องร้องเรียนความโปร่งใสในการสอบ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน
เปิดช่องทางการรับแจ้งเร่ืองราวร้องเรียนในความโปร่งใสในการสอบสาหรับโรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครอง
สว่ นท้องถิ่น ดังนี้
๑) โทรศัพท์หมายเลข ๐-๒๒๔๑-๙๐๒๒-๓ ต่อ ๒๐๒ – ๒๐๓ และ ๐-๒๒๔๑-๙๐๐๐
ตอ่ ๕๓๑๒ หรือ๕๓๑๓
๒) E-mail : dla๐๘๙๓_๒@dla.go.th
(๔) ผลการดาเนนิ งานปที ผ่ี า่ นมา
๑) ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ การประเมินความสามารถด้านการอา่ น (Reading Test : RT)
ในสถานศึกษาสงั กดั องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น มีนักเรียนชน้ั ป.๑ เขา้ สอบ จานวน ๕๖,๗๐๘ คน
๒) ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ การประเมินความสามารถด้านการอา่ น (Reading Test : RT)
ในสถานศึกษาสงั กดั องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ มีนักเรยี นช้ัน ป.๑ เขา้ สอบ จานวน ๕๒,๕๐๙ คน
หน่วยงานรับผดิ ชอบ : กลุ่มงานส่งเสริมการจัดการศึกษาท้องถ่ิน กองส่งเสริมและพัฒนาการจัดการศึกษาท้องถ่ิน
กรมส่งเสรมิ การปกครองทอ้ งถน่ิ โทร. ๐ ๒๒๔๑ ๙๐๒๑ - ๖ ตอ่ ๒๐๓
- ๓๙๑ -
๓.๔.๖ การรายงานผลการเรียนเฉลี่ยสะสม (GPAX) เพื่อใช้ในการคัดเลือกกลางบุคคลเข้า
ศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา (Thai University Central Admission System : TCAS) ของนักเรียนช้ัน ม.๖
หรอื เทียบเทา่ (ปวช.๓)
(๑) ท่มี าและความสาคัญ โดยสังเขป
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นมีหน้าที่ในส่งเสริม สนับสนุน และประสานการจัดการ
บริการสาธารณะและการศึกษาในอานาจหน้าท่ีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และในฐานะหน่วยงานท่ีกากับดูแล
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นท่ีจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (มัธยมศึกษาตอนปลาย) หรือเทียบเท่า (ปวช.) ได้ทาหน้าที่
ในการจัดส่งข้อมูลผลการเรียนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า (GPAX) และค่า
เปอร์เซ็นต์ไทล์ของสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินให้สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ซง่ึ ทาหน้าที่รวบรวมข้อมูลจดั ส่งใหก้ ับที่ประชมุ อธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) เพ่ือใช้ในการดาเนินการคัดเลือก
กลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา (Thai University Central Admission System : TCAS) ปีการศึกษา
ละ ๒ ครงั้ ดงั นี้
๑) ผลการเรียนเฉลยี่ สะสม ๕ ภาคเรยี น (รายงานผลการเรียนทุกคนทีก่ าลงั ศึกษาอยู่)
๒) ผลการเรียนเฉลี่ยสะสม ๖ ภาคเรียน และค่าเปอร์เซ็นต์ไทล์ (รายงานผลการเรียน
เฉพาะนักเรยี นทีจ่ บการศึกษาในปีการศึกษา น้นั ๆ)
การดาเนินการดังกล่าวเป็น
เรื่องที่สาคัญและมีผลต่อโอกาสทางเข้าศึกษาต่อในระดับ
ระดับปริญญาตรีของนักเรียน จึงได้ดาเนินการจัดทา
ปฏิทินการส่งข้อมูลนักเรียนและตรวจสอบความถูกต้อง
ของข้อมูลในระบบ GPAX OBEC (ระบบรายงานผล
คะแนนการเรียนเฉลี่ยสะสมของสานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน) เพ่ือให้สถานศึกษาในสังกัดองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นที่จัดการศึกษาระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลาย (ม.๖) หรือเทียบเท่า (ปวช.๓) สามารถนาเข้า
ข้อมลู ผลการเรยี นของนักเรยี นในระบบ GPAX OBEC ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง รวดเรว็ โดยกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน
จะเป็นผู้ตรวจสอบข้อมูลในระบบพร้อมท้ังรับรองข้อมูลที่สถานศึกษารายงานภายในระยะเวลาท่ีกาหนดในปฏิทิน
การดาเนนิ งาน และนาส่งขอ้ มูลไปยงั สพฐ.ตามกาหนดตอ่ ไป
(๒) ข้อมูลท่ัวไปเก่ยี วกับการดาเนนิ งาน
๑) สถิติท่ีเก่ียวข้อง ข้อมูลสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่จัดการศึกษา
ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หรอื เทยี บเทา่ จานวน ๓๖๒ แห่ง (ข้อมูล ณ วันท่ี ๑๐ มิถุนายน ๒๕๖๔ ท่ีมา : ระบบ
สารสนเทศทางการศกึ ษาท้องถิ่น (LEC))
- ๓๙๒ -
๒) กฎหมายท่ีเก่ยี วขอ้ ง ไดแ้ ก่
- หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และฉบับปรับปรุง
พทุ ธศักราช ๒๕๖๒
- แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
(๓) กระบวนการหรือขน้ั ตอนการดาเนินงานทเ่ี ก่ียวข้อง
ขัน้ ตอนการรายงานขอ้ มลู
๑) กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นแจ้งแนวทางการดาเนินการให้องค์กรปกครอง
สว่ นทอ้ งถน่ิ และสถานศกึ ษาทราบ
๒) สถานศึกษาลงทะเบียนเข้าระบบ GPAX OBEC เพ่ือขอรหัสในการเข้าระบบและ
รายงานขอ้ มูลในระบบ
๓) สถานศึกษาดาเนินการจัดทาขอ้ มลู ตาราง Excel ตามทก่ี าหนด สามารถดาวน์โหลด
ตาราง Excel ไดท้ ี่ https://gpa.obec.go.th
๔) เม่ือระบบ GPAX OBEC เปิด ให้สถานศึกษาอับโหลดไฟล์ข้อมูลตาราง Excel เข้า
ระบบ
๕) กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นตรวจสอบความถูกต้องข้อมูลท้ังหมดท่ีสถานศึกษา
อับโหลดในระบบ GPAX OBEC
กรณขี อ้ มูลถกู ต้อง กรมสง่ เสริมการปกครองท้องถิ่นรับรองข้อมูล
กรณีข้อมลู ไมถ่ ูกตอ้ ง ส่งกลับให้สถานศึกษาแก้ไขและอับโหลดข้อมูลใหม่และ
ตอ้ งตรวจสอบจนกว่าจะได้ขอ้ มลู ที่ถกู ต้อง
๖) กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน ติดตาม เร่งรัดให้สถานศึกษาให้รายงานข้อมูล
ภายในระยะเวลาทกี่ าหนด
- ๓๙๓ -
(๔) ผลการดาเนนิ งานปที ่ีผ่านมา
๑) ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ (ปีการศึกษา ๒๕๖๒) กรมส่งเสริมการปกครอง
ท้องถิน่ ได้รายงานผลการเรียนเฉล่ียสะสม (GPAX) ดงั น้ี
- รอบที่ ๑ ผลการเฉลี่ยสะสม (GPAX) ๕ ภาคเรียน ๓๖๐ โรงเรียน นักเรียน
๒๔,๑๕๙ คน
- รอบที่ ๒ ผลการเฉลี่ยสะสม (GPAX) ๖ ภาคเรียน ๓๖๐ โรงเรียน นักเรียน
๒๒,๘๗๒ คน
๒) ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ (ปีการศึกษา ๒๕๖๓) กรมส่งเสริมการปกครอง
ท้องถิน่ ได้รายงานผลการเรยี นเฉล่ยี สะสม (GPAX) ดังนี้
- รอบท่ี ๑ ผลการเฉลี่ยสะสม (GPAX) ๕ ภาคเรียน ๓๕๙ โรงเรียน นักเรียน
๒๓,๓๗๕ คน
- รอบที่ ๒ ผลการเฉล่ียสะสม (GPAX) ๖ ภาคเรียน ๓๖๑ โรงเรียน นักเรียน
๒๑,๖๑๖ คน
หน่วยงานรับผดิ ชอบ : กลุ่มงานส่งเสริมการจัดการศึกษาท้องถ่ิน กองส่งเสริมและพัฒนาการจัดการศึกษาท้องถ่ิน
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถนิ่ โทร. ๐ ๒๒๔๑ ๙๐๐๐ ต่อ ๕๓๑๓
๓.๔.๗ แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัยในช่วง
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ของสถานศึกษาระดับปฐมวัย
สังกัดองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่
(๑) ทมี่ าและความสาคัญ โดยสังเขป
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)
กระทรวงมหาดไทย ได้ขอความร่วมมือจังหวัดแจ้งให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัด
ดาเนินการส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง กรณีสถานศึกษาระดับปฐมวัยสังกัดองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถ่ินปิดเรียนกรณีเหตุพิเศษ ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)
โดยให้สถานศึกษาระดับปฐมวัยสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินจัดการเรียนการสอนรูปแบบส่ือสารทางไกล
รปู แบบอิเล็กทรอนิกส์ หรอื รปู แบบอื่นตามความเหมาะสม รวมถึงขอความร่วมมือให้พ่อแม่ ผู้ปกครองมีส่วนร่วมใน
การส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัย ตลอดจนการดาเนินการเตรียมความ
พร้อมรองรับการเปิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ปีการศึกษา ๒๕๖๔ และมาตรการ
ระหว่างการเปดิ การเรยี นการสอน ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔
เนื่องจากในห้วงปีการศึกษา ๒๕๖๔ สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID – 19) ทาให้สถานศึกษาระดับปฐมวัยสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ยังไม่สามารถเปิด
- ๓๙๔ -
การเรียนการสอน ณ สถานท่ีต้ัง (On-Site) ได้ แต่เด็กปฐมวัยยังต้องมีการทากิจกรรมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
เพือ่ ให้มพี ฒั นาการสมวัยรอบด้านกรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถน่ิ ได้กาหนดแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และ
ส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัยในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)
ของสถานศกึ ษาระดับปฐมวยั สงั กดั องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่
(๒) ขอ้ มูลท่ัวไปเก่ียวกับการดาเนินงาน
๑) จานวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นท่ีจัดการศึกษาระดับปฐมวัย (ข้อมูล ณ วันที่
๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔) โรงเรยี น (แห่ง) จานวนเด็กปฐมวยั ศพด. (แหง่ ) จานวนเด็กปฐมวยั
(คน) (คน)
องคก์ รปกครอง ๙๙ ๑๑ ๑๕๑
สว่ นทอ้ งถิน่ ๑๖๙ ๑๓,๐๐๐ ๑๔๗ ๘,๙๕๕
อบจ. ๓๗๙ ๒๓,๘๔๒ ๔๗๙
เทศบาลนคร ๕๒๔ ๕๒,๗๒๙ ๔๗๕๕ ๒๗,๒๐๖
เทศบาลเมือง ๑๙๑ ๕๗,๔๙๒ ๑๓,๑๔๘ ๑๘๕,๒๒๐
เทศบาลตาบล ๑๘,๕๔๐
อบต. ๑,๓๖๒ ๑๕,๔๙๐ ๔๓๘,๗๘๖
รวม ๑๖๒,๕๕๓ ๖๖๐,๓๑๘
๒) กฎหมาย/หนังสือสั่งการท่ีเกี่ยวข้อง ได้แก่ หนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุด
ที่ มท ๐๘๑๖.๔/ว ๔๐๑๓ ลงวันท่ี ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๖๔
- ๓๙๕ -
(๓) กระบวนการหรือข้ันตอนการดาเนินงานทีเ่ กีย่ วขอ้ ง
ข้ันตอนการดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัย
ในช่วงสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ของสถานศึกษาระดับปฐมวัย
สังกดั องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน ประกอบด้วย
๑) องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินสารวจข้อมูลพ้ืนฐานของสถานศึกษาและความพร้อม
ด้านการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สาหรับเด็กปฐมวัยในภาวะวิกฤต COVID – 19 ของครู และสถานศึกษาระดับ
ปฐมวัยสารวจความพร้อมของผู้ปกครองในการใช้เคร่ืองมือ/ส่ือออนไลน์ และความพร้อมที่จะเรียนรู้ร่วมกันกับ
เด็กปฐมวยั
๒) แนวทางการออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีบ้าน (Home-Based Learning)
อย่างเหมาะสมตามความพรอ้ มและความแตกต่างของแต่ละครอบครัว โดยอาศัยการมีส่วนร่วมระหว่างสถานศึกษา
ครูและผปู้ กครอง ซง่ึ สามารถดาเนินการไดใ้ น ๓ ลักษณะ ดงั น้ี
- การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Online) กรณีสาหรับ
ครอบครัวที่มีความพร้อมด้านคอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์สมาร์ทโฟนและสัญญาณอินเทอร์เน็ต โดยครูจัดทาคู่มือ
หรือแนวทางการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ตารางการจดั กจิ กรรมแต่ละวนั รายละเอยี ดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ หรือ
เล่านทิ านผ่านคลปิ ส่งให้กับผู้ปกครองเป็นระยะแต่ละสัปดาห์ หรือตามระยะเวลาท่ีเหมาะสม โดยมีการติดตามผล
ให้ผู้ปกครองถ่ายรูปภาพช้ินงานหรือบันทึกวิดีโอการทากิจกรรมของเด็กส่งให้ครูทางแอปพลิเคชัน Line และอาจ
มีการกาหนดวันพบปะครูและเพื่อนร่วมห้องผ่านระบบแอปพลิเคชัน Zoom, Microsoft Teams, Google
Hangouts , Line ฯลฯ เพือ่ สง่ เสรมิ พฒั นาการดา้ นสังคมของเดก็ ปฐมวยั
- การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านระบบโทรทัศน์/ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ (On-AIR/On–
Demand) กรณีผู้ปกครองที่มีความพร้อมด้านโทรทัศน์สามารถรับส่ืออิเล็กทรอนิกส์ได้ โดยให้สถานศึกษาจัดการ
เรียนการสอนผ่านดาวเทียม (DLTV) จัดหาสื่อวัสดุอุปกรณ์การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ คู่มือหรือแนวทางการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ที่บ้าน หรือคู่มือการเรียนรู้ผ่านดาวเทียม (DLTV) ส่งไปให้ผู้ปกครองท่ีบ้าน หรือผู้ปกครองมารับท่ี
สถานศึกษาเพ่ือใหเ้ ด็กนาไปใชท้ ากิจกรรมการเรยี นรทู้ บี่ ้านเปน็ ระยะ แต่ละสัปดาห์ หรือตามระยะเวลาทเ่ี หมาะสม
- การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการนาส่งเอกสารที่บ้าน (On-Hand) กรณี
ครอบครัวที่ไม่มีความพร้อมด้านเทคโนโลยีหรือสัญญาณอินเทอร์เน็ต โดยสถานศึกษาให้ครูออกเย่ียมบ้านของเด็ก
เพ่ือจัดส่งคู่มือหรือแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตารางการจัดกิจกรรมแต่ละวัน รายละเอียดการจัดกิจกรรม
จัดชุดส่ือวัสดุอุปกรณ์การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และสร้างความเข้าใจหรือช้ีแจงให้กับผู้ปกครองในการใช้คู่มือ หรือ
แนวทางการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ท่ีบ้าน เพื่อให้ผู้ปกครองสามารถจัดกิจกรรมให้กับเด็กได้อย่างถูกต้อง และบรรลุ
ตามวตั ถปุ ระสงค์
๓) สถานศึกษาดาเนินการออกแบบกิจกรรมให้สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
พุทธศักราช ๒๕๖๐ โดยมกี ารส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัยด้วยการลงมือกระทาบูรณาการผ่านการเล่นการจัด
กิจกรรมการเรียนรูข้ องเด็กปฐมวัยด้วยการส่งเอกสารที่บ้าน (On-Hand) จึงมีความเหมาะสมที่สุด แต่บางกิจกรรม
- ๓๙๖ -
สามารถใช้หรือบูรณาการร่วมกันในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Online) หรือผ่าน
ระบบโทรทัศน์/สือ่ อิเล็กทรอนิกส์ (On-AIR/On–Demand) ตามความเหมาะสมและความพร้อมของผปู้ กครอง
๔) สถานศึกษาติดตามผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีบ้านของผู้ปกครองจากแอปพลิเคชัน
Line ของผู้ปกครอง หรือจากการออกเย่ียมบ้านเด็ก เพ่ือแลกเปล่ียนเรียนรู้ รับฟังปัญหาอุปสรรคจากผู้ปกครอง
และปรับปรุงการดาเนินงานให้มีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน และติดตามพัฒนาการของเด็กปฐมวัยตามคู่มือเฝ้าระวังและ
สง่ เสริมพฒั นาการเด็กปฐมวยั (DSPM) หรือแอปพลเิ คชนั KhunLook และแอปพลเิ คชนั อ่ืน
๕) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้นสังกัด กากับดูแลให้สถานศึกษา (โรงเรียนที่จัด
การศึกษาระดับปฐมวัยและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก) ดาเนินการตามแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และส่งเสริม
พัฒนาการของเด็กปฐมวัยในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)
เพื่อส่งเสริมและประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัย และรายงานให้กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ภายในวันท่ี
๑๕ ของทุกเดือน เพ่ือติดตามผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัย ในสถานศึกษา
ระดบั ปฐมวัยสงั กัดองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ เรมิ่ ต้งั แตเ่ ดือนสิงหาคม ๒๕๖๔ เป็นตน้ ไป
(๔) ผลการดาเนนิ งานปีท่ีผา่ นมา
๑) ในปีการศึกษา ๒๕๖๓ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินแจ้งให้องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นท่ีมีสถานศึกษาระดับปฐมวัยในสังกัด กรณีปิดเรียนกรณีเหตุพิเศษ ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) โดยให้สถานศึกษาระดับปฐมวัยสังกัดองค์กรปกครอง
สว่ นท้องถ่นิ จัดการเรียนการสอนรปู แบบสอ่ื สารทางไกล รปู แบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ หรอื รปู แบบอืน่ ตามความเหมาะสม
- ๓๙๗ -
๒) ในปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ส่งเสริมให้องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นที่มีสถานศึกษาระดับปฐมวัยในสังกัด สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้และส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก
ปฐมวัยในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ตามแนวทาง
การออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่บ้าน (Home-Based Learning) อย่างเหมาะสมตามความพร้อมและ
ความแตกต่างของแต่ละครอบครัว โดยอาศัยการมีส่วนร่วมระหว่างสถานศึกษา ครู และผู้ปกครอง ซ่ึงสามารถ
ดาเนินการได้ใน ๓ ลักษณะ ดังน้ี ๑) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Online)
๒) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านระบบโทรทัศน์/สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (On-AIR/On–Demand) และ ๓) การจัดกิจกรรม
การเรยี นรู้ดว้ ยการนาสง่ เอกสารทบี่ า้ น (On-Hand) เพือ่ ใหเ้ ดก็ ปฐมวัยมพี ัฒนาการสมวยั รอบดา้ น
หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ : กลุ่มงานส่งเสริมการจัดการศึกษาปฐมวัยและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก กองส่งเสริมและพัฒนา
การจดั การศึกษาท้องถิ่น กรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถิ่น
โทร. ๐ ๒๒๔๑ ๙๐๒๑ - ๓ ต่อ ๔๐๔, ๔๑๔, ๔๑๖
๓.๔.๘ การสง่ เสริมความเท่าเทียมทางการศกึ ษา
(๑) ทม่ี าและความสาคัญ โดยสังเขป
ปัจจุบันประเทศไทยยังมีเด็กและเยาวชน
ที่หลุดออกจากระบบการศึกษามาจากหลากหลายสาเหตุ เช่น สภาพ
บริบทของของสังคมท่ีเปล่ียนไป ปัญหาเศรษฐกิจ ปัญหาครอบครัว
ส่งผลให้เด็กและเยาวชนไม่สามารถเข้าสู่ระบบการศึกษา บางส่วนต้อง
ออกกลางคัน นอกจากนี้เด็กและเยาวชนนอกระบบการศึกษาจานวน
มากเมือ่ กลบั เข้ามาเรียนใหม่ไม่สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้
ทาใหต้ อ้ งยตุ กิ ารศึกษาลง อกี ทง้ั โรงเรยี นและครยู งั ขาดความพร้อม ขาดองค์ความรู้ความเข้าใจตลอดจนสิ่งแวดล้อม
ทางการศึกษาที่เหมาะสมทาให้เด็กไม่สามารถเรียนต่อไปได้ ด้วยสาเหตุดังกล่าว ทาให้ปัญหาเด็กและเยาวชน
นอกระบบการศึกษายงั มอี ยูแ่ ละเพ่ิมข้ึนทุกปี
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินได้ร่วมกับกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา
ดาเนินโครงการสนับสนุนการพัฒนาครูและเด็กนอกระบบการศึกษาโดยเครือข่ายเชิงพ้ืนท่ี : ภาคกลาง (กลุ่มเด็ก
ด้อยโอกาสสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เด็กและเยาวชนนอกระบบการศึกษา
กลุ่มเด็กด้อยโอกาสได้รับการช่วยเหลือดูแลอย่างเหมาะสมในสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
(โควิด-19) และมีโอกาสเข้ารับการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะอาชีพได้ตามความศักยภาพและความต้องการ รวมถึง
เพอ่ื เพมิ่ ศักยภาพครูและบุคลากรทางการศกึ ษาผดู้ ูแลเดก็ และเยาวชนนอกระบบการศกึ ษาให้มีความรู้ความสามารถ
ในการจดั กจิ กรรมการเรียนรไู้ ดอ้ ยา่ งมคี ุณภาพและเหมาะสม โดยบูรณาการกับโครงการจัดการศึกษาให้แก่เด็กด้อย
โอกาส ซง่ึ โครงการดังกล่าวสง่ ผลให้เดก็ และเยาวชนนอกระบบการศึกษาได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิตในด้านทักษะ
วิชาการ ทักษะชีวิตและทักษะอาชีพที่สอดคล้องกับความต้องการและศักยภาพของแต่ละบุคคล พร้อมท้ังส่งเสริม
ให้เด็กและเยาวชนนอกระบบการศึกษากลับเข้าสู่ระบบการศึกษาและต่อยอดสู่การสร้างอาชีพ และสร้างรายได้
- ๓๙๘ -
ในครัวเรือนให้สูงขน้ี รวมทั้งการป้องกันการกระทาผิดซ้า ซึ่งจะนาไปสู่การลดความเหล่ือมล้า และสร้างความเสมอ
ภาคทางการศึกษาให้แก่เด็กและเยาวชนนอกระบบการศึกษาต่อไป รวมท้ังการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาให้ได้รับ
การพัฒนาความรู้ทกั ษะ เจตคติ และคุณลักษณะท่ีเหมาะสมในการปฏิบัติงานและเสริมสร้างกลไกความเข้มแข็งใน
ด้านการดแู ลชว่ ยเหลือเด็กและเยาวชนนอกระบบการศึกษาด้วยเครือข่ายความร่วมมือในพน้ื ทตี่ ่อไป
(๒) ข้อมูลท่ัวไปเกยี่ วกบั การดาเนนิ งาน
๑) สถิติท่ีเก่ียวข้องข้อมูลเด็กและเยาวชนนอกระบบ
การศกึ ษา ๑,๒๗๖,๔๗๓ คน หรอื คดิ เป็นรอ้ ยละ ๑๖.๒๔ ของเด็กและ
เยาวชนในประเทศไทยที่มีอายุตั้งแต่ ๑๒ ถึง ๒๑ ปี จานวน
๗,๘๕๘,๘๓๙ คน (ข้อมูลที่ได้จากการบูรณาการฐานข้อมูลประชากร
จากกรมการปกครอง และฐานข้อมูลทะเบียนนักเรียน ท่ีลงทะเบียนกับ
สถานศึกษาในสังกัดต่าง ๆ ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๑ (ณ วันที่ ๑๐
พฤศจิกายน ๒๕๖๑) จากสานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ)
๒) กฎหมายท่ีเก่ียวข้อง ได้แก่ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่
แก้ไขเพ่มิ เติม
(๓) กระบวนการหรือขน้ั ตอนการดาเนนิ งานท่ีเกี่ยวข้อง
บุคลากรทางการศึกษาผู้รับผิดชอบงานเด็กและเยาวชนนอกระบบการศึกษา จะต้อง
ปฏิบัติหน้าที่ ให้บริการทางการศึกษาแก่เด็กและเยาวชนนอกระบบการศึกษาเพื่อให้ความรู้ ปรับพฤติกรรมและ
พฒั นาไปในทางทีถ่ ูกตอ้ งเหมาะสมกบั ชว่ งวยั ผา่ นการจดั กจิ กรรมทส่ี ง่ เสริมและพัฒนาทักษะวิชาการ ทักษะวิชาชีพ
และทักษะชวี ติ ตามศกั ยภาพของแตล่ ะบคุ คล ดงั นี้
๑) ศึกษา รวบรวม วิเคราะห์ จาแนกเด็กและเยาวชนนอกระบบการศึกษา เพ่ือเข้า
สูก่ ารสง่ เสริมและพฒั นาตามศักยภาพของแตล่ ะบคุ คล
๒) จัดทาแผนการช่วยเหลือดูแล ออกแบบการจัดกิจกรรม แนะนา ให้คาปรึกษา
ทงั้ ทักษะวชิ าการ ทักษะวชิ าชีพ และทกั ษะชวี ติ ตามศักยภาพของแตล่ ะบุคคล โดยแบง่ กล่มุ เด็กดังน้ี
- กลุ่มเดก็ และเยาวชนทีอ่ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ สามารถดาเนินการส่งเสริมและ
พัฒนาได้ให้ดาเนินการออกแบบการส่งเสริมและพัฒนาเป็นรายบุคคลเพ่ือให้เกิดทักษะวิชาการ ทักษะวิชาชีพและ
ทกั ษะชีวติ โดยพิจารณาความสาคญั จาเป็นของเด็กวา่ ควรไดร้ ับการพฒั นาในทักษะใดกอ่ นเป็นลาดบั แรก
- กลุ่มเด็กและเยาวชนท่ีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินไม่สามารถดาเนินการส่งเสริม
และพัฒนาได้ เนื่องจากมีความต้องการการช่วยเหลือดูแลลักษณะจาเพาะ เช่น เด็กท่ีได้รับผลกระทบจากโรคเอดส์
หรือโรคติดต่อร้ายแรงท่ีสังคมรังเกียจ เด็กถูกล่วงละเมิดทางเพศ เด็กถูกทาร้าย หรือเด็กที่มีความพิการซ้าซ้อน
หรือมีต้องการดูแลเป็นพิเศษ ให้บุคลากรทางการศึกษาผู้รับผิดชอบงานแจ้งผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
เพ่ือดาเนนิ การส่งตอ่ เด็กใหก้ ับหน่วยงานทเี่ กย่ี วข้องต่อไป
- ๓๙๙ -
๓) จัดหาส่ือ วัสดุและอุปกรณ์ท่ีจาเป็นในการส่งเสริมและพัฒนาทักษะวิชาการ ทักษะ
วิชาชีพ และทกั ษะชีวิต ให้มีความสอดคลอ้ งเหมาะสมกบั เพศและวยั ของเด็กและเยาวชนนอกระบบการศกึ ษา
๔) จดั กิจกรรมและประเมนิ ผลการสง่ เสรมิ และพฒั นาทักษะวชิ าการ ทักษะวิชาชีพและ
ทกั ษะชวี ิต ตามศกั ยภาพของแต่ละบุคคล
๕) รายงานข้อมูลและผลการส่งเสริมและการพัฒนาเด็กและเยาวชนนอกระบบ
การศกึ ษาให้กบั องค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ และกรมสง่ เสรมิ การปกครองท้องถ่นิ ทราบ
(๔) ผลการดาเนนิ งานปีที่ผ่านมา
๑) ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินได้จัดสรร
งบประมาณให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเพ่ือดาเนินการโครงการจัดการศึกษาให้แก่เด็กด้อยโอกาส
จานวน ๗๖๑ คน คนละ ๔,๐๐๐ บาท เป็นจานวนเงิน ๓,๐๔๔,๐๐๐ บาท
๒) ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นได้จัดสรร
งบประมาณให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพ่ือดาเนินการโครงการจัดการศึกษาให้แก่เด็กด้อยโอกาส
จานวน ๑,๐๐๐ คน คนละ ๔,๐๐๐ บาท เป็นจานวนเงิน ๔,๐๐๐,๐๐๐ บาท
หน่วยงานรบั ผิดชอบ : กลุ่มงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ ศิลปะ วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น กองส่งเสริมและ
พฒั นาการจดั การศึกษาทอ้ งถน่ิ กรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถิ่น โทร. ๐๒๒๔๑ ๙๐๒๑-๒๓
- ๔๐๐ -
๓.๕ ดา้ นพัฒนาโครงสรา้ งพ้นื ฐาน
๓.๕.๑ การก่อสร้างถนนทางหลวงท้องถ่ินเพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนและ
กระตุน้ เศรษฐกิจในชมุ ชน
(๑) ที่มาและความสาคญั โดยสังเขป
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีหน้าท่ีในการให้บริการสาธารณะ และแก้ไขปัญหา
ความเดือดร้อนของประชาชนท่ีกระทบความเป็นอยู่ของประชาชนโดยตรง โดยเฉพาะด้านโครงสร้างพ้ืนฐานการก่อสร้าง
ถนนทางหลวงท้องถ่ินเป็นการแก้ไขปัญหาเข้าพื้นท่ีการเกษตร ทาให้เดินทางสัญจรไปมาสะดวกรวดเร็วและรองรับ
การเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจของชุมชนในอนาคต องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่นจึงต้องมกี ารจัดการอย่างเปน็ ระบบ
(๒) ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับการดาเนินงาน
ถนนที่อยู่ในความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีท้ังหมด ๗๘๑,๒๙๖ สาย
ความยาวรวม ๕๙๗,๖๖๗ กิโลเมตร เป็นถนนคอนกรีต ๑๘๐,๔๔๔ กิโลเมตร เป็นถนนลาดยาง ๑๒๓,๘๓๑ กิโลเมตร
และเป็นถนนลกู รงั ๒๙๓,๓๙๒ กิโลเมตร โดยจาแนกได้ ดงั น้ี
ถนนที่ องคก์ ร
ประเภท ปกครองส่วน ความยาวถนน คอนกรตี ลาดยาง ลกู รงั
ท้องถนิ่ รวม (กม.) (กม.) (กม.) (กม.)
รบั ผดิ ชอบ
(จานวนสาย)
๑. องค์การบรหิ าร ๗,๖๓๑ ๓๗,๑๗๙ ๒,๙๑๐ ๓๐,๕๘๘ ๓,๖๘๑
ส่วนจังหวดั
๒. เทศบาล ๒๗๐,๕๐๒ ๑๕๕,๑๙๐ ๖๑,๓๐๔ ๓๐,๕๔๐ ๖๓,๓๔๖
- เทศบาลนคร ๑๓,๐๒๘ ๕,๐๓๑ ๓,๐๘๘ ๑,๘๐๙ ๑๓๔
- เทศบาลเมือง ๓๐,๑๕๕ ๑๒,๒๙๘ ๖,๙๘๕ ๔,๐๖๑ ๑,๒๕๒
- เทศบาลตาบล ๒๒๗,๓๑๙ ๑๓๗,๘๖๑ ๕๑,๒๓๑ ๒๔,๖๗๐ ๖๑,๙๖๐
๓. องคก์ ารบริหาร ๕๐๓,๑๖๓ ๔๐๕,๒๙๘ ๑๑๖,๒๓๐ ๖๒,๗๐๓ ๒๒๖,๓๖๕
ส่วนตาบล
- ๔๐๑ -
(๓) กระบวนการหรือขน้ั ตอนการดาเนนิ งานที่เก่ียวข้อง
๑) จัดทาคาขอรับการสนับสนุนงบประมาณและเอกสารประกอบให้ครบถ้วน
ตามหลักเกณฑ์ และแนวทางการเสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณเงินอุดหนุนเฉพาะกิจรายการก่อสร้าง/
ปรบั ปรงุ ซอ่ มแซมถนนทางหลวงทอ้ งถนิ่ (ถนนถา่ ยโอนภารกิจและถนนขององค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ )
๒) บันทึกคาของบประมาณลงในระบบสารสนเทศ เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ
เงินอุดหนุนเฉพาะกิจรายการก่อสร้าง/ปรับปรุงซ่อมแซมถนนทางหลวงท้องถ่ิน (ถนนถ่ายโอนภารกิจและถนน
ขององคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ ) ตามระยะเวลาทกี่ รมสง่ เสริมการปกครองท้องถิ่นกาหนด
๓) จัดส่งคาขอรับการสนับสนุนงบประมาณและรายละเอียดประกอบคาขอรับ
การสนับสนุนงบประมาณที่มีเอกสารครบถ้วน โดยจัดทาเอกสารตามหลักเกณฑ์การเสนอคาขอต้ังงบประมาณ
ให้จังหวัดพิจารณากลั่นกรองและให้จังหวัดรวบรวมคาขอรับการสนับสนุนงบประมาณดังกล่าวส่งถึงกรมส่งเสริม
การปกครองท้องถิ่น ตามระยะเวลาท่กี าหนด
หลกั เกณฑ์/เง่อื นไข
๑) เป็นความตอ้ งการของประชาชนและบรรจโุ ครงการดงั กลา่ วอยู่ในแผนพัฒนาท้องถิน่
๒) เอกสารโครงการท่ีขอรับงบประมาณไปเปน็ ตามหลักเกณฑ์และเอกสารถูกต้องครบถว้ น
๓) ใชห้ ลักการกระจายงบประมาณโดยพิจารณาให้อย่างน้อย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
หน่วยงานละ ๑ โครงการ
๔) หากวงเงินมากกว่า ๑๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น จะต้องสมทบ
งบประมาณจานวน ๑๐% ของวงเงินทงั้ หมด
(๔) ผลการดาเนินงานปีท่ีผา่ นมา
๑) ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ มีการ
จัดสรรงบเงินอุดหนุนเฉพาะกิจรายการก่อสร้าง/ปรับปรุง
ซ่อมแซมถนนทางหลวงท้องถ่ิน (ถนนถ่ายโอนภารกิจ
และถนนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น) จานวน ๕,๕๒๘
โครงการ รวมงบประมาณทั้งสิ้น ๒๙,๓๖๙,๕๗๑,๘๐๐ บาท
๒) ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ มีการ
จัดสรรงบเงินอุดหนุนเฉพาะกิจรายการก่อสร้าง/ปรับปรุง
ซ่อมแซมถนนทางหลวงท้องถ่ิน (ถนนถ่ายโอนภารกิจ
และถนนขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน) จานวน ๗,๐๐๑
โครงการ รวมงบประมาณทั้งส้ิน ๓๑,๒๘๒,๓๔๗,๙๐๐ บาท
หน่วยงานรับผิดชอบ : กลุ่มงานส่งเสริมการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน กองพัฒนาและส่งเสริมการบริหารงานท้องถิ่น
กรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถ่ิน โทร. ๐ ๒๒๔๑ ๙๐๐๐ ตอ่ ๔๑๑๖
- ๔๐๒ -
๓.๖ การสง่ เสรมิ การจัดบริการสาธารณะตามมาตรฐานบรกิ ารสาธารณะ
๓.๖.๑ ท่มี าและความสาคัญ โดยสังเขป
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นส่วนราชการที่เป็นกลไกสาคัญ
ในการขับเคล่ือนภารกิจของรัฐบาลท้ังในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคสู่การปฏิบัติตาม
ภารกิจหน้าที่ท่ีกฎหมายระบุให้เป็นอานาจหน้าท่ีโดยตรงขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถ่ินหรือภารกิจหน้าท่ีท่ีได้รับการถ่ายโอนจากหน่วยงานต่าง ๆ ซึ่งสามารถ
จาแนกภารกิจขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินออกเป็น ๒ ประเภท คือ ภารกิจหน้าท่ี
เกี่ยวกับการบริหารจัดการและการดาเนินการภายในขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
และภารกิจหน้าที่ในการจัดบริการสาธารณะให้กับประชาชน ซ่ึงภารกิจทั้ง ๒ ประเภทนี้
มคี วามเกี่ยวขอ้ งสมั พันธก์ ัน
ด้วยเหตุนี้ เพื่อให้การบริหารจัดการและการจัดบริการสาธารณะขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถ่ินสามารถดาเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อเกิดประสิทธิผล กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน จึงได้
จดั ทามาตรฐานบรกิ ารสาธารณะขึน้ โดยมเี จตารมณ์ในการเป็นแนวทางการจัดบรกิ ารสาธารณะขององค์กรปกครอง
สว่ นทอ้ งถิ่นขึ้น
มาตรฐานบริการสาธารณะขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินดังกล่าว เป็นเคร่ืองมือสาคัญ
ในการปฏบิ ัติงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ซ่ึงระบุถึง มาตรฐานการจัดบริการสาธารณะขั้นพ้ืนฐานที่องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นพึงจะต้องดาเนินการได้ รวมถึงแนวทางการปฏิบัติท่ีเป็นเลิศเพ่ือเป็นแนวทางในการยกระดับ
และพัฒนาการดาเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินอีกด้วย นอกจากนี้มาตรฐานบริการสาธารณะน้ี ยังเป็น
เครื่องมือท่ีนาไปสู่การกากับ ติดตาม ประเมินผลการดาเนินงานตามภารกิจขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของ
กรมสง่ เสริมการปกครองทอ้ งถนิ่ และหนว่ ยงานท่เี กี่ยวขอ้ งอกี ดว้ ย
๓.๖.๒ ผลการดาเนนิ งานปที ผ่ี ่านมา
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น จัดทามาตรฐานบริการ
สาธารณะจานวนทง้ั สิน้ ๔๘ มาตรฐาน จาแนกเป็น ๔ ดา้ น ได้แก่ ด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน
จานวน ๑๓ มาตรฐาน ด้านคุณภาพชีวิต จานวน ๑๓ มาตรฐาน ด้านการจัดระเบียบ
ชุมชน สังคม และรักษาความสงบเรียบร้อย จานวน ๑๑ มาตรฐาน และด้านการลงทุน
ทรพั ยากร สง่ิ แวดลอ้ ม และศลิ ปวฒั นธรรม จานวน ๑๑ มาตรฐาน
ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ประกอบด้วย มาตรฐานถนน ทางเดิน ทางเท้า, มาตรฐานทาง
ระบายน้า, มาตรฐานไฟฟ้าสาธารณะ, มาตรฐานอ่างเก็บน้าและเขื่อนขนาดเล็ก, มาตรฐานระบบน้าสะอาด,
มาตรฐานการก่อสร้าง บูรณะ และบารุงรักษาแหล่งน้า, มาตรฐานการควบคุมอาคาร, มาตรฐานการวางผังเมือง,
มาตรฐานสะพาน, มาตรฐานการบริหารระบบไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์, มาตรฐานสถานีขนส่งทางบก, มาตรฐาน
สถานีขนส่งทางนา้ , มาตรฐานการบรหิ ารจัดการแหล่งนา้ เพือ่ การเกษตร
- ๔๐๓ -
ด้านคุณภาพชีวิต ประกอบด้วย มาตรฐานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก, มาตรฐานการพัฒนาเด็ก
และเยาวชน, มาตรฐานการสงเคราะหผ์ ู้สงู อายุ, มาตรฐานศูนยก์ ารเรยี นรชู้ มุ ชน, มาตรฐานสถานทพ่ี กั ผอ่ นหยอ่ นใจ,
มาตรฐานการพัฒนาและสงเคราะห์พิการ, มาตรฐานงานสาธารณสุขมูลฐาน, มาตรฐานการจัดการจัดการศึกษา
ท้องถ่ิน, มาตรฐานการส่งเสริมการพัฒนาสตรี, มาตรฐานการพัฒนาการดาเนินงานด้านเอดส์, มาตรฐานส่งเสริม
การกฬี า, มาตรฐานการจัดการท่ีอยูอ่ าศัยผูม้ ีรายไดน้ อ้ ย, มาตรฐานการคุ้มครองผ้บู ริโภค
ด้านการจัดระเบียบชุมชน สังคม และรักษาความสงบเรียบร้อย ประกอบด้วย มาตรฐาน
การป้องกันอุบัติภัยทางถนน มาตรฐานการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย, มาตรฐานการประกอบกิจการน้ามัน
เชื้อเพลิง, มาตรฐานการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย, มาตรฐานด้านการทะเบียนและอนุญาต, มาตรฐาน
ด้านการเปรียบเทียบปรับ, มาตรฐานหอกระจายข่าว, มาตรฐานห้องน้าสาธารณะ, มาตรฐานหอพัก, มาตรฐาน
สุสานและฌาปนสถาน, มาตรฐานโรงฆา่ สตั ว์
ด้านการลงทุน ทรัพยากร สิ่งแวดลอ้ ม และศิลปวัฒนธรรม ประกอบด้วย มาตรฐานการกับ
ดแู ลโรงงาน มาตรฐานการส่งเสรมิ การทอ่ งเท่ียว, มาตรฐานตลาด, มาตรฐานการส่งเสริมอาชีพ, มาตรฐานการดูแล
โบราณสถาน, มาตรฐานการส่งเสริมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และจารีตประเพณีท้องถิ่น, มาตรฐานการจัดการ
ส่ิงแวดล้อม, มาตรฐานการพัฒนาชุมชน, มาตรฐานการดูแลที่สาธารณประโยชน์, มาตรฐานการกาจัดขยะมูลฝอย
และสง่ิ ปฏิกลู , มาตรฐานบาบัดนา้ เสยี
จานวนมาตรฐานการบรกิ ารสาธารณะ
13 ดา้ นคณุ ภาพชีวติ ด้านการจัดระเบียบ ดา้ นการลงทุน
12.5 13 ชมุ ชน สังคม และ ทรพั ยากร
รักษาความสงบ
12 สง่ิ แวดล้อม และ
11.5 เรียบร้อย ศิลปวัฒนธรรม
11
11 11
10.5
10
ดา้ นโครงสร้าง
พื้นฐาน
Series 1 13
หน่วยงานรบั ผิดชอบ : กลุ่มงานส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดีท้องถิ่น กองพัฒนาและส่งเสริมการบริหารงานท้องถ่ิน
กรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถน่ิ โทร. ๐ ๒๒๔๑ ๙๐๐๐ ต่อ ๒๓๑๒, ๒๓๒๒
- ๔๐๔ -
๔. ระบบการตรวจสอบและติดตาม
๔.๑ การตรวจสอบการเงิน บัญชี พสั ดขุ ององคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น
(๑) ท่มี าและความสาคัญ โดยสังเขป
กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๕๑
กาหนดให้กองตรวจสอบระบบการเงินบัญชีท้องถิ่น มีอานาจหน้าท่ีในการวางระบบการตรวจสอบ ระบบการเงิน
การบัญชี และการพัสดุของท้องถิ่น ตรวจสอบ วิเคราะห์ และประเมินผลการปฏิบัติงานด้านการคลัง การบัญชี
การเงิน และการพัสดุขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน รวมทั้งติดตามผลการดาเนินงานขององค์กรปกครอง
สว่ นท้องถิน่ ตามขอ้ เสนอแนะของสานกั งานการตรวจเงนิ แผ่นดนิ
(๒) ขอ้ มูลทั่วไปเกยี่ วกบั การดาเนนิ งาน
๑) ขอ้ มูลขององค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ จานวน ๗,๘๕๐ แห่ง
๒) ข้อมูลของสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน จานวน
๒๐,๕๖๐ แหง่
๓) กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และหนังสือส่ังการท่ีเก่ียวข้องกับ
การบริหารงานและการปฏิบัติงานด้านการคลัง การเงิน การบัญชี และการพัสดุของ
องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่
๔) กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และหนังสือสั่งการที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานด้านการเงิน
การบัญชี และการพัสดุของสถานศึกษาสงั กัดองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน
(๓) กระบวนการหรือขัน้ ตอนการดาเนินงานทเ่ี กยี่ วข้อง
๑) จดั ทาแผนการตรวจสอบ เสนอปลดั กระทรวงมหาดไทยอนมุ ตั ิ
๒) แจง้ จังหวดั ตามแผนการตรวจสอบฯ เพอ่ื แจ้งองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่
๓) ปฏิบตั งิ านตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบท่ีได้รบั อนมุ ตั ิ
๔) จัดส่งรายงานการตรวจสอบให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินดาเนินการตามข้อสังเกต
และข้อเสนอแนะ
๕) จัดทารายงานผลการตรวจสอบ เสนออธบิ ดีกรมส่งเสริมการปกครองทอ้ งถ่ินทราบ
๖) ติดตามผลการดาเนนิ การตามข้อสงั เกตและเสนอแนะ
๗) สรปุ ผลการตรวจสอบฯ และผลการดาเนินการตามข้อสังเกตและข้อเสนอแนะรายงาน
ปลดั กระทรวงมหาดไทยทราบ
- ๔๐๕ -
(๔) ผลการดาเนินงานปที ีผ่ ่านมา
๑) ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ กองตรวจสอบระบบการเงินบัญชีท้องถ่ินได้ปฏิบัติงาน
การตรวจสอบระบบการเงิน บัญชี
และการพัสดุขององค์กรปกครอง
สว่ นทอ้ งถ่นิ ดงั นี้
- ตรวจสอบ
การบริหารงานและการปฏิบัติงาน
ด้านการคลัง การเงิน การบัญชี และ
การพัสดุขององค์กรปกครองส่วน
ท้องถิน่ จานวน ๒๙๖ แห่ง
- ตรวจสอบ
การดาเนินงานด้านการเงิน การบัญชี
และการพัสดุของสถานศึกษาองค์กร
ป ก ค ร อ ง ส่ ว น ท้ อ ง ถิ่ น จ า น ว น
๗๐ แหง่
- นิเทศการ
บริหารงานและการปฏิบัติงานจากผล
การตรวจสอบด้านการเงิน การบัญชี
และการพัสดุองค์กรปกครองส่วน
ท้องถ่ิน จาวน ๑๑ จังหวัด องค์กร
ปกครองส่วนท้องถ่ิน ๑,๘๕๓ แห่ง
ผู้เขา้ รับการนเิ ทศ ๓,๖๑๙ คน
๒) ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
- ตรวจสอบการบริหารงานและการปฏิบัติงานด้านการคลัง การเงิน การบัญชี และการพัสดุ
ขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น จานวน ๑๔๒ แหง่
- ตรวจสอบการดาเนินงานด้านการเงิน การบัญชี และการพัสดุของสถานศึกษาองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิน่ จานวน ๒๒๒ แห่ง
หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ : กองตรวจสอบระบบการเงินบญั ชที ้องถ่ิน กรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถนิ่
โทร. ๐ ๒๒๔๑ ๙๐๒๖ (มท.) ๑๓๐๑, มอื ถอื ๐๘๕ ๔๘๐ ๒๓๙๕
- ๔๐๖ -
๔.๒ การประเมนิ ประสิทธิภาพขององค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน (Local Performance Assessment: LPA)
(๑) ท่มี าและความสาคัญ โดยสังเขป
จากบทบาทภารกิจของ สถ. ท่ีมีหน้าท่ีส่งเสริมให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีความเข็มแข็ง
อย่างย่ังยืน อันจะส่งผลให้ประชาชนในพื้นที่ได้รับบริการท่ีดีและมีส่วนร่วมในการบริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
ตามหลักธรรมาภิบาลน้ัน จึงได้กาหนดระบบติดตามประเมินผลการดาเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ในรูปแบบของการประเมินมาตรฐานการปฏิบัติราชการและนิเทศองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต้ังแต่ปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๔๙ เป็นต้นมา และพัฒนาวิธีการ รูปแบบ หลักเกณฑ์และมาตรฐานการประเมิน องค์กรปกครองส่วน
ท้องถ่ิน มาอย่างต่อเนื่องในช่วงระยะเวลา ๑๕ ปีท่ีผ่านมา โดยในปัจจุบันใช้ชื่อว่า “การประเมินประสิทธิภาพ
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Local Performance Assessment: LPA)” เพ่ือติดตามและยกระดับ
ประสิทธิภ าพการดาเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และเพ่ือใช้เป็นข้อมูล ในการพัฒนาแล ะส่งเสริ ม
ศกั ยภาพขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่นได้ตามความเหมาะสม
(๒) ข้อมูลท่ัวไปเกยี่ วกับการดาเนนิ งาน
การประเมินประสิทธิภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Local Performance Assessment
: LPA) มีกลุ่มเป้าหมายการประเมินองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถ่ินทุกแห่ง ยกเว้นกรุงเทพมหานคร
(องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การ
บริหารส่วนตาบล และเมืองพัทยา) โดยเกณฑ์การ
ประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถ่ิน แบ่งเป็น ๕ ด้าน ประกอบด้วย
๑) ด้านการบริหารจัดการ ๒) ด้านการบริหารงาน
บุคคลและกิจการสภา ๓) ด้านการบริหารงานการเงิน
และการคลัง ๔) ด้านการบริการสาธารณะและ
๕) ดา้ นธรรมาภิบาล
ได้กาหนดให้องค์กรปกครอง
ส่ ว น ท้ อ ง ถ่ิ น แ ต่ ล ะ แ ห่ ง ต้ อ ง ผ่ า น เ ก ณ ฑ์ ป ร ะ เ มิ น
ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ข อ ง อ ง ค์ ก ร ป ก ค ร อ ง ส่ ว น ท้ อ ง ถิ่ น
(Local Performance Assessment : LPA) เฉลี่ยรวม
๕ ด้าน ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ จึงจะถือว่าผ่านเกณฑ์
การประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครอง
ส่วนทอ้ งถนิ่
- ๔๐๗ -
(๓) กระบวนการหรือข้ันตอนการดาเนินงานที่เกยี่ วข้อง
๑) สถ. ปรบั ปรงุ ตัวช้ีวัดการประเมินประสทิ ธภิ าพขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่
๒) จังหวัดแต่งต้ังทีมประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ทีมละ ๔ คน
ประกอบด้วย ๑. ข้าราชการ สถจ. ๒. ทอ้ งถ่นิ อาเภอ ๓. ปลดั องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน
๓) จงั หวดั ถ่ายทอดเกณฑ์และรปู แบบการประเมนิ ให้องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น ทราบ
๔) ทีมประเมนิ ดาเนินการตรวจประเมินองคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ ในพนื้ ที่
๕) สถจ. บนั ทกึ ข้อมูลผลการประเมินประสทิ ธิภาพขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ ในระบบ
๖) จังหวัดนาผลการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน แจ้งที่ประชุม
คณะกรรมการข้าราชการ อบจ. หรือพนักงานเทศบาลจังหวัด หรือพนักงานเมืองพัทยา หรือพนักงานส่วนตาบล
จังหวดั ทราบแล้วแตก่ รณี
(๔) ผลการดาเนนิ งานปีทีผ่ ่านมา
การประเมินประสิทธิภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (Local Performance Assessment
: LPA) ประจาปี ๒๕๖๓ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน จานวน ๗,๘๕๑ แห่ง (องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล
องค์การบริหารส่วนตาบล และเมืองพัทยา) โดยเกณฑ์การประเมินประสิทธิภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แบ่งเป็น ๕ ด้าน ประกอบด้วย ๑) ด้านการบริหารจัดการ ๒) ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
๓) ด้านการบริหารงานการเงินและการคลงั ๔) ดา้ นการบริการสาธารณะ และ ๕) ด้านธรรมาภิบาล
ผลการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจาปี ๒๕๖๓ พบว่ามี
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผ่านเกณฑ์การประเมินประสิทธิภาพ (Local Performance Assessment: LPA)
เฉล่ยี ๕ ดา้ น ไมต่ ่ากวา่ ร้อยละ ๗๐ จานวน ๗,๕๓๐ แห่ง คดิ เป็นรอ้ ยละ ๙๕.๙๑
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ การประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(Local Performance Assessment : LPA) ประจาปี ๒๕๖๔ มีกลุ่มเป้าหมายการประเมินองค์กรปกครอง
ส่วนทอ้ งถนิ่ จานวน ๗,๘๔๙ แห่ง (องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวัด เทศบาล องค์การบรหิ ารส่วนตาบล และเมืองพัทยา)
โดยเกณฑ์การประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แบ่งเป็น ๕ ด้าน ประกอบด้วย
๑) ด้านการบริหารจัดการ ๒) ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา ๓) ด้านการบริหารงานการเงินและการคลัง
๔) ด้านการบริการสาธารณะ ๕) ด้านธรรมาภิบาล โดยกาหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินแต่ละแห่ง
ต้องผ่านเกณฑ์ประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Local Performance Assessment: LPA)
เฉล่ียรวม ๕ ด้าน ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ จึงจะถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิน่ ประจาปี ๒๕๖๔
หน่วยงานรบั ผิดชอบ : กลุ่มงานส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดีท้องถิ่น กองพัฒนาและส่งเสริมการบริหารงานท้องถ่ิน
กรมสง่ เสรมิ การปกครองท้องถิ่น โทร. ๐ ๒๒๔๑ ๙๐๐๐ ต่อ ๒๓๒๒
- ๔๐๘ -
๔.๓ การกากบั ดแู ลองคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน
(๑) ท่ีมาและความสาคญั โดยสังเขป
ผู้ว่าราชการจังหวัดและนายอาเภอมีหน้าท่ีกากับดูแลองค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล
องค์การบริหารส่วนตาบล และเมืองพัทยา ให้ปฏิบัติหน้าที่ให้ถูกต้องตามกฎหมาย และมีอานาจส่ังหรือวินิจฉัย
ให้ผู้บริหารท้องถิ่น รองผู้บริหารท้องถิ่น เลขานุการผู้บริหารท้องถิ่น ที่ปรึกษาผู้บริหารท้องถิ่น และสมาชิก
สภาท้องถ่ิน พ้นจากตาแหน่ง เนื่องจากขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้าม กระทาการอันต้องห้ามหรือฝ่าฝืน
หรือมีเหตุอื่นตามท่ีกฎหมายกาหนด ซึ่งจะต้องดาเนินการให้ถูกต้องตามกฎหมายและกฎกระทรวงว่าด้วยการ
สอบสวนผู้ดารงตาแหน่งดังกล่าว กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินได้ตระหนักถึงบทบาทอานาจหน้าที่ของผู้กากับ
ดแู ลดังกล่าวที่จะต้องสนับสนุน สง่ เสริม ให้เจา้ หน้าทีผ่ ู้ปฏิบัติงานมีความรู้ความเข้าใจในกฎหมาย กฎ และระเบียบ
ท่เี กี่ยวข้องเพือ่ ให้ในการสอบสวนเกดิ ความถูกต้องและเปน็ ธรรม
(๒) ขอ้ มูลท่ัวไปเก่ยี วกบั การดาเนินงาน
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นได้ดาเนินการให้คาปรึกษา แนะนา ตอบข้อหารือ แจ้งเวียน
แนวทางปฏิบัติแก่ผู้ว่าราชการจังหวัดและนายอาเภอเพ่ือให้ปฏิบัติหน้าท่ีตามที่กฎหมายและระเบียบกาหนดไว้
ได้อย่างถูกต้อง นอกจากน้ี ยังมีหน้าท่ีตรวจสอบเอกสารหลักฐานและความเห็นของผู้ว่าราชการจังหวัด กรณีที่
ผู้ว่าราชการจังหวัดเสนอเร่ืองให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยส่ังให้ผู้บริหารท้องถ่ิน รองผู้บริหารท้องถ่ิน
ประธานสภาทอ้ งถ่นิ หรอื รองประธานสภาทอ้ งถนิ่ พ้นจากตาแหน่ง
(๓) กระบวนการหรือข้ันตอนการดาเนินงานท่ีเกี่ยวข้อง
๑) การพิจารณาและใหค้ วามเหน็ ทางกฎหมาย ซึง่ มีขนั้ ตอนการดาเนินงาน กลา่ วคอื
- เมือ่ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีปญั หาและข้อสงสยั เก่ยี วกับการสอบสวนหรือการปฏิบัติ
ตามกฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง ต้องส่งเรื่องดังกล่าวโดยรวบรวมข้อเท็จจริงและทาความเห็นในเรื่องน้ัน เสนอให้
นายอาเภอและผูว้ า่ ราชการจงั หวัด ในฐานะผูก้ ากับดูแลเพ่ือพจิ ารณา
- เมื่อผู้ว่าราชการจังหวัดเห็นสมควรที่จะให้กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินหรือ
กระทรวงมหาดไทยได้พิจารณาให้ความเห็นในเรื่องดังกล่าว ก็จะต้องรายงานข้อเท็จจริง มายังกรมส่งเสริม
การปกครองทอ้ งถ่นิ
- กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นต้องตรวจสอบข้อมูลอย่างละเอียด เพ่ือจัดทาความเห็น
เพ่อื ให้ผู้กากับดแู ลและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตา่ ง ๆ นาไปปฏบิ ัตไิ ดอ้ ย่างถกู ตอ้ งตอ่ ไป
๒) การดาเนินการเพื่อสอบสวนผ้บู ริหารทอ้ งถ่นิ สรุปไดด้ ังน้ี
- ผูก้ ากบั ดแู ลแต่งตงั้ คณะกรรมการสอบสวน
- คณะกรรมการสอบสวนดาเนินการตามข้ันตอน กล่าวคือ ๑) รวบรวมข้อเท็จจริง
ข้อกฎหมาย และพยานหลักฐานท่ีเกี่ยวข้อง ๒) แจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานที่เก่ียวข้องกับข้อกล่าวหา
ให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ ๓) ให้โอกาสผู้ถูกกล่าวหาได้ช้ีแจงแสดงพยานหลักเพื่อแก้ข้อกล่าวหา ๔) พิจารณาทา
ความเหน็ เก่ยี วกับเร่อื งท่สี อบสวน และ ๕) ทารายงานการสอบสวนพรอ้ มความเหน็ เสนอต่อผสู้ ่ังแตง่ ต้งั
- ๔๐๙ -
- ผกู้ ากับดูแลพิจารณารายงานการสอบสวน และวินิจฉัย หรือเสนอความเห็นให้ผู้มีอานาจ
ใช้ดลุ พนิ ิจสั่งใหพ้ น้ จากตาแหน่ง
ท้ังน้ี หากเป็นกรณีที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ชี้มูลความผิด ผู้กากับดูแลสามารถพิจารณา
ตามฐานความผิดของคณะกรรมการ ป.ป.ช. โดยไม่ต้องแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวน แล้วทาความเห็นและ
รายงานให้ผมู้ ีอานาจพิจารณาและสง่ั ให้พน้ จากตาแหนง่ ต่อไป
(๔) ผลการดาเนินงานปีที่ผ่านมา
๑) ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินได้ดาเนินการส่งเสริมสนับสนุน
การปฏบิ ตั หิ น้าทรี่ าชการของผกู้ ากับดูแลและกระทรวงมหาดไทย ดังนี้
- ให้คาปรึกษา แนะนา ตอบข้อหารือ แจ้งเวียนแนวทางปฏิบัติแก่ผู้ว่าราชการจังหวัดและ
นายอาเภอเพื่อใหป้ ฏิบัตหิ น้าทตี่ ามทกี่ ฎหมายและระเบียบกาหนดไว้ได้อย่างถูกต้อง จานวน ๑๑ เรอ่ื ง
- ตรวจสอบรายงานและความเห็นของผู้ว่าราชการจังหวัดที่ขอให้รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงมหาดไทยใช้ดุลพินิจส่ังให้ผู้บริหารท้องถิ่น รองผู้บริหารท้องถ่ิน ประธานสภาท้องถ่ิน หรือรอง
ประธานสภาท้องถ่ิน พ้นจากตาแหน่งตามพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. ๒๕๔๐ และ
พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ และจัดทาความเห็นเสนอรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเพ่ือส่ังให้
ผู้บริหารท้องถิ่นพ้นจากตาแหน่ง ดังน้ี ๑) กรณีที่เกิดจากการร้องเรียนกล่าวหาและถูกตั้งคณะกรรมการสอบสวน
จานวน ๖ ราย ๒) กรณีทีผ่ ถู้ ูกกลา่ วหาถกู คณะกรรมการ ป.ป.ช. ช้ีมูลความผดิ จานวน ๖ ราย
๒) ในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินมีเป้าหมายจะดาเนินการสนับสนุน
ส่งเสริม ความรคู้ วามเข้าใจเก่ียวกับการสอบสวนแก่ผู้กากับดูแลและผู้ที่เก่ียวข้อง เพ่ือให้กระบวนการสอบสวนของ
ผู้กากับดูแลได้ดาเนินการอย่างถูกต้อง ครบถ้วน ตามท่ีกฎหมายและกฎกระทรวงกาหนดไว้ ได้แก่ การจัดทา
ตัวอย่างเอกสารท่ีเก่ียวข้องกับการสอบสวนตามกฎกระทรวง พร้อมคาแนะนา เพื่อเจ้าหน้าที่นาไปใช้ปฏิบัติ
ในการสอบสวน การจัดทา Video Conference บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับหลักเกณฑ์ ขั้นตอน และวิธีการ
สอบสวนแก่เจา้ หน้าที่ผู้เกย่ี วข้อง
หน่วยงานรับผิดชอบ : กลมุ่ งานวนิ จิ ฉยั และกากับดูแล กองกฎหมายและระเบยี บทอ้ งถนิ่ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิน่
โทร. ๐ ๒๒๔๑ ๙๐๓๖
- ๔๑๐ -
- ๔๑๑ -
๔.๔ การตรวจสอบเรื่องร้องเรียนเก่ยี วกบั องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น
(๑) ทม่ี าและความสาคัญ โดยสังเขป
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นหน่วยงานที่ใกล้ชิดประชาชน มีอานาจและหน้าท่ีในการจัดทา
บรกิ ารสาธารณะและกจิ กรรมสาธารณะเพอื่ ประโยชน์ของประชาชนในเขตพื้นท่ี โดยการปฏิบัติหน้าท่ีดังกล่าวอาจ
ทาให้เกิดข้อร้องเรียนได้ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจึงได้ให้ความสาคัญกับการตรวจสอบเรื่องร้องเรียน
ท่ีเก่ียวกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซ่ึงเป็นการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน และทาหน้าท่ีเป็น
หน่วยงานสนับสนุนและประสานงานกับผู้ว่าราชการจังหวัด ในฐานะที่มีอานาจและหน้าที่ในการกากับดูแล
การบริหารราชการส่วนท้องถ่ินตามกฎหมาย
(๒) ข้อมูลท่ัวไปเก่ียวกบั การดาเนินงาน
๑) กรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถน่ิ มีเรอ่ื งร้องเรยี นเก่ียวกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นท้ังหมด
จานวน ๙,๙๔๘ เรื่อง มีการดาเนินการจนได้ข้อยุติแล้ว จานวน ๘,๔๐๐ เรื่อง และมีเรื่องร้องเรียนท่ีอยู่ระหว่าง
ดาเนินการ จานวน ๑,๕๔๘ เร่ือง
จานวนเร่อื งรอ้ งเรยี นเก่ยี วกับองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน ๙,๙๔๘ เรอื่ ง
16% ดาเนินการจนได้ขอ้ ยตุ แิ ลว้
84% 8,400 เรื่อง
อยู่ระหวา่ งดาเนินการ
1,548 เรือ่ ง
๒) กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้อง
- พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และท่แี ก้ไขเพิม่ เติม
- พระราชบัญญตั ิเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ และทีแ่ ก้ไขเพิ่มเติม
- พระราชบัญญตั ริ ะเบยี บบริหารราชการเมอื งพทั ยา พ.ศ. ๒๕๔๒ และทแี่ ก้ไขเพ่มิ เติม
- พระราชบญั ญัติองค์การบริหารส่วนจงั หวัด พ.ศ. ๒๕๔๐ และทแี่ กไ้ ขเพิ่มเตมิ
- พระราชบัญญัติสภาตาบลและองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล พ.ศ. ๒๕๓๗ และทีแ่ ก้ไขเพม่ิ เตมิ
(๓) กระบวนการหรือข้นั ตอนการดาเนนิ งานท่ีเก่ียวขอ้ ง
๑) เมื่อกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นได้รับเร่ืองร้องเรียนจากประชาชนและหน่วยงานต่าง ๆ
จะส่งเร่อื งให้จังหวดั ตรวจสอบและดาเนินการตามอานาจหน้าทต่ี ามทีก่ ฎหมายกาหนด
๒) จงั หวดั ดาเนนิ การตรวจสอบเรื่องร้องเรียน หรือส่งเรอ่ื งดังกล่าวใหอ้ าเภอดาเนินการตรวจสอบ
๓) เมื่อจังหวัดหรืออาเภอได้ตรวจสอบข้อเท็จจริงและพิจารณาตามอานาจหน้าที่ในเรื่อง
รอ้ งเรยี นดงั กลา่ วแลว้ ปรากฏผลดังนี้
- ๔๑๒ -
- ไม่มีมลู หรอื ไม่พบการกระทาความผดิ ให้พิจารณายตุ เิ รอ่ื งรอ้ งเรยี น
- หากพบว่ามมี ูลหรอื มกี ารกระทาความผิด ให้พิจารณาดาเนินการตามอานาจหน้าที่ในเรื่อง
รอ้ งเรยี น พร้อมท้ังดาเนินการทางวนิ ัย ทางแพ่ง ทางอาญา และทางปกครองกบั ผู้กระทาความผิดตามข้อร้องเรียน
๓) แจ้งผลให้ผู้ร้องทราบและรายงานผลการดาเนินการเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียนให้กรมส่งเสริม
การปกครองท้องถ่นิ ทราบ
๔) กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นพิจารณาผลการดาเนินการของจังหวัด หากเห็นว่า
การดาเนินการถูกต้องครบถ้วนก็รายงานผู้บังคับบัญชาตามลาดับช้ัน เพื่อพิจารณายุติเรื่องร้องเรียนและแจ้ง
หน่วยงานทเี่ ก่ียวขอ้ ง
- ๔๑๓ -
(๔) ผลการดาเนินงานปที ีผ่ า่ นมา
ผลการดาเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ มีเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นที่ส่งเข้ามาที่กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น จานวน ๒๕๙ เรื่อง ซึ่งกรมส่งเสริมการปกครอง
ท้องถิ่นได้ส่งเร่ืองให้จังหวัดตรวจสอบข้อเท็จจริงและพิจารณาดาเนินการตามอานาจหน้าที่ทั้งหมด ๒๕๙ เร่ือง
และจังหวัดได้รายงานผลการดาเนินการในเรื่องดังกล่าวจนได้ข้อยุติ จานวน ๑๘๔ เรื่อง คิดเป็นร้อยละ ๗๑.๐๔
ของจานวนเร่ืองรอ้ งเรียนเก่ียวกับองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน ในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
หนว่ ยงานรบั ผิดชอบ : กองกฎหมายและระเบียบทอ้ งถ่ิน กรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถิ่น
โทร. ๐ ๒๒๔๑ ๙๐๓๖ (มท.) ๕๒๑๔
๔.๕ การสอบสวนผู้ดารงตาแหน่งบางตาแหน่งในองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ
(๑) ที่มาและความสาคญั โดยสังเขป
การกากับดูแลเป็นกลไกสาคัญในการตรวจสอบการปฏิบัติงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
ให้เปน็ ไปด้วยความสจุ รติ และโปร่งใส โดยเป็นกระบวนการหนง่ึ ทนี่ ามาใช้ในการกากับดูแลให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์
อย่างมีประสิทธิภาพ โดยในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายจัดต้ังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ซึ่งรวมถึงการสอบสวนผู้ดารงตาแหน่งบางตาแหน่งในองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน โดยได้กาหนดให้มีการออก
กฎกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน การดาเนินการสอบสวนและ
วินิจฉัย เพ่ือให้ชัดเจนและสอดคล้องกับระยะเวลาที่กฎหมายกาหนด กรณีการส้ินสุดสมาชิกภาพของสมาชิก
สภาท้องถิ่น รวมทั้งกรณีการพ้นจากตาแหน่ง เพราะกระทาความผิดหรือเพราะเหตุอื่นของผู้บริหารท้องถิ่น
รองผู้บริหารท้องถ่ิน ประธานสภาท้องถิ่น รองประธานสภาท้องถิ่น ที่ปรึกษาผู้บริหารท้องถ่ิน และเลขานุการ
ผ้บู ริหารท้องถ่ิน กรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถนิ่ จงึ ได้ดาเนนิ การออกกฎกระทรวงดังกล่าว
(๒) ข้อมูลท่ัวไปเกี่ยวกบั การดาเนนิ งาน
๑) ในการสอบสวนตามกฎหมายจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นก่อนที่มีการแก้ไขเพ่ิมเติม
ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ผู้กากับดูแลแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนเพื่อการดาเนินการตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ว่าด้วยการสอบสวนผู้บริหารท้องถิ่น รองผู้บริหารท้องถิ่น ประธานสภาท้องถิ่น รองประธานสภาท้องถิ่น สมาชิก
สภาท้องถ่ิน เลขานุการผู้บริหารท้องถ่ิน และที่ปรึกษาผู้บริหารท้องถ่ิน พ.ศ. ๒๕๕๔ ต่อมาเมื่อมีการแก้ไขเพ่ิมเติม
กฎหมายจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดังกล่าว ได้มีการกาหนดให้มีออกกฎกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์
และวิธีการในเรื่องดังกล่าวให้มีความชัดเจนและสอดคล้องกับระยะเวลาตามกฎหมายท่ีมีการแก้ไขเพิ่มเติม
มากยิ่งข้ึน การสอบสวนที่อยู่ระหว่างการสอบสวนก่อนกฎกระทรวงนี้จะมีผลใช้บังคับ จึงต้องดาเนินการตาม
บทเฉพาะกาลทา้ ยกฎกระทรวงดังกลา่ ว
๒) กฎหมายท่ีเกีย่ วข้อง
- พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวดั พ.ศ. ๒๕๔๐ และที่แก้ไขเพิ่มเตมิ
- พระราชบญั ญตั ิเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ และท่แี กไ้ ขเพ่ิมเติม
- ๔๑๔ -
- พระราชบัญญตั ิองค์การบริหารสว่ นตาบล พ.ศ. ๒๕๓๗
- พระราชบญั ญัตริ ะเบียบบริหารราชการเมอื งพทั ยา พ.ศ. ๒๕๔๒ และทแี่ ก้ไขเพิม่ เติม
- พระราชบัญญตั ิระเบียบบริหารกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๒๘ และทีแ่ ก้ไขเพมิ่ เติม
(๓) กระบวนการหรือข้ันตอนการดาเนินงานที่เก่ียวข้อง (เฉพาะกรณี อบจ. เทศบาล อบต.
และเมืองพัทยา)
๑) กรณีการส้ินสุดสมาชิกภาพของสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือการพ้นจากตาแหน่งของผู้บริหาร
ท้องถิ่น รองผู้บริหารท้องถ่ิน ประธานสภาท้องถิ่น รองประธานสภาท้องถ่ิน ที่ปรึกษาผู้บริหารท้องถ่ิน และ
เลขานุการผู้บรหิ ารท้องถิ่น เน่ืองจากขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามหรือกระทาการต้องห้าม ให้ผู้ว่าราชการ
จังหวัดหรือนายอาเภอ แล้วแต่กรณี ดาเนินการรวบรวมพยานหลักฐานและพิจารณาวินิจฉัย โดยจะแต่งตั้ง
คณะกรรมการสอบสวนเพื่อทาการสอบสวนหรือไม่ก็ได้ ทั้งนี้ กรณีแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวน ต้องสอบสวนให้
แลว้ เสรจ็ ภายใน ๖๐ วนั ขยายไดไ้ มเ่ กนิ ๓๐ วัน และวนิ ิจฉยั ภายใน ๓๐ วันนบั แตท่ ไ่ี ด้รับรายงานการสอบสวน
๒) กรณีการพ้นจากตาแหน่งเนื่องจากปฏิบัติหน้าที่เข้าข่ายพฤติการณ์ตามท่ีกฎหมายกาหนด
ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือนายอาเภอ แล้วแต่กรณี แต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนข้ึนมาเพื่อสอบสวนให้แล้วเสร็จ
ภายใน ๖๐ วัน (กรณีเมืองพัทยาภายใน ๙๐ วัน) ขยายได้อีกไม่เกิน ๓๐ วัน (การขยายเวลาไม่รวมถึงเมืองพัทยา)
วินิจฉัยให้แล้วเสร็จภายใน ๑๕ วันนับแต่วันที่ได้รับรายงานผลการสอบสวน กรณีท่ีผลการสอบสวนปรากฏว่า
ผู้ถกู กลา่ วหาไม่ไดก้ ระทาความผดิ ใหส้ ง่ั ยุติเรือ่ ง หากผู้ถูกกล่าวหากระทาความผิดตามท่ีถูกสอบสวน ให้รายงานผล
การสอบสวนและความเห็นใหผ้ ู้ว่าราชการจังหวัดหรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย แล้วแต่กรณี พิจารณาสั่ง
ให้ผู้ถูกสอบสวนพ้นจากตาแหน่งภายใน ๓๐ วัน กรณีให้สอบสวนเพ่ิมเติม ต้องดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๓๐ วัน
และผูว้ ่าราชการจังหวัดหรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยต้องส่ังการภายใน ๓๐ วันนับแต่วันท่ีได้รับรายงาน
ผลการสอบสวนเพิม่ เตมิ นน้ั (กรณเี มืองพัทยา ต้องดาเนินการสอบสวนเพิ่มเติมและรัฐมนตรีต้องสั่งการให้แล้วเสร็จ
ภายใน ๓๐ วันนับแตว่ นั ท่ไี ดร้ บั รายงานผ้วู ่าราชการจังหวดั )
(๔) ผลการดาเนนิ งานปที ีผ่ ่านมา
ผลการดาเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ได้ออกกฎกระทรวงว่าด้วยการสอบสวน
ผู้ดารงตาแหน่งบางตาแหน่งในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งสิ้น ๕ ฉบับ ได้แก่ กฎกระทรวงสอบสวนผู้ดารง
ตาแหนง่ บางตาแหน่งในองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. ๒๕๖๓ กฎกระทรวงสอบสวนผดู้ ารงตาแหน่งบางตาแหน่ง
ในเทศบาล พ.ศ. ๒๕๖๓ กฎกระทรวงสอบสวนผดู้ ารงตาแหนง่ บางตาแหนง่ ในองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. ๒๕๖๓
กฎกระทรวงสอบสวนผู้ดารงตาแหน่งบางตาแหน่งในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๖๓ กฎกระทรวงสอบสวน
ผู้ดารงตาแหน่งบางตาแหน่งในเมืองพัทยา พ.ศ. ๒๕๖๓ โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา และมีผลใช้บังคับนับแต่วัน
ประกาศราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป โดยกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินได้มีหนังสือแจ้งเวียนจังหวัดทุกจังหวัด
ตามหนังสือกระทรวงมหาดไทยที่ ๐๘๐๔.๕/ว ๖๑๗๔ ลงวันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๖๓ และได้เผยแพร่กฎกระทรวง
ดังกล่าวทางเวบ็ ไซตก์ รมสง่ เสริมการปกครองท้องถิ่นด้วยแลว้
- ๔๑๕ -
หน่วยงานรบั ผิดชอบ : กองกฎหมายและระเบียบท้องถนิ่ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
โทร. ๐ ๒๒๔๑ ๙๐๓๖ ภายใน ๕๒๑๔
๔.๖ การส่งเสริม กากับ ติดตามการดาเนินงานของกิจการสภาท้องถิ่น
(๑) ที่มาและความสาคญั โดยสังเขป
การดาเนินงานกิจการต่าง ๆ ของสภาท้องถิ่นจะต้องดาเนินการให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์
ข้ันตอน และวิธีการที่กฎหมายและระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยข้อบังคับการประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๗
แกไ้ ขเพิม่ เติมถงึ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔ กาหนด
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นมีภารกิจสาคัญในการส่งเสริม สนับสนุนและแนะนาแนวทาง
ปฏิบัติแก่สภาท้องถิ่น เพ่ือให้การปฏิบัติงานด้านกิจการสภาท้องถิ่นเป็นไปโดยถูกต้อง มีประสิทธิภาพและ
เกิดประโยชน์แก่ประชาชน ได้แก่ การแนะนาแนวทางปฏิบัติ การให้ความเห็นทางกฎหมายหรือระเบียบกระทรวงมหาดไทย
วา่ ดว้ ยขอ้ บังคับการประชุมสภาท้องถน่ิ พ.ศ. ๒๕๔๗ แกไ้ ขเพ่ิมเติมถึง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔
(๒) ข้อมูลท่ัวไปเก่ยี วกับการดาเนนิ งาน
๑) การดาเนินงานด้านกิจการสภา ได้แก่ การดาเนินการตามกฎหมายและระเบียบเกี่ยวกับ
การพิจารณาเรื่องต่าง ๆ อันอยู่ในอานาจหน้าท่ีของสภาท้องถิ่น และการดาเนินการประชุมสภาท้องถิ่น ตลอดจน
การจดั ทาเอกสารทเี่ ก่ยี วข้อง
๒) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย ประกอบด้วย กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา
องค์การบริหารส่วนจังหวัด จานวน ๗๖ แห่ง เทศบาล จานวน ๒,๔๗๒ แห่ง และองค์การบริหารส่วนตาบล
จานวน ๕,๓๐๐ แห่ง รวมทั้งส้ินจานวน ๗,๘๕๐ แห่ง โดยกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินมีหน้าที่ส่งเสริม กากับ
ติ ด ต า ม ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ด้ า น กิ จ ก า ร ส ภ า ข อ ง อ ง ค์ ก ร ป ก ค ร อ ง ส่ ว น ท้ อ ง ถ่ิ น ดั ง ก ล่ า ว ใ ห้ เ ป็ น ไ ป โ ด ย ถู ก ต้ อ ง
(ไม่รวมกรงุ เทพมหานคร)
- ๔๑๖ -
(๓) กระบวนการหรือขนั้ ตอนการดาเนนิ งานท่เี กยี่ วข้อง
๑) การพิจารณาและใหค้ วามเหน็ ทางกฎหมาย ซ่ึงมขี ้นั ตอนการดาเนินงาน กลา่ วคอื
- เม่ือองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีปัญหาและข้อสงสัยเกี่ยวกับงานด้านกิจการสภาหรือ
การปฏิบัติตามกฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง ต้องส่งเรื่องดังกล่าวโดยรวบรวมข้อเท็จจริงและทาความเห็นในเรื่องนั้น
เสนอให้นายอาเภอและผวู้ ่าราชการจงั หวดั ในฐานะผู้กากบั ดแู ลเพอื่ พิจารณา
- เม่ือผู้ว่าราชการจังหวัดเห็นสมควรที่จะให้กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นหรือ
กระทรวงมหาดไทยได้พิจารณาให้ความเห็นในเร่ืองดังกล่าว ก็จะต้องรายงานข้อเท็จจริง มายังกรมส่งเสริม
การปกครองทอ้ งถิน่
- กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินต้องตรวจสอบข้อมูลอย่างละเอียด เพื่อจัดทาความเห็น
เพื่อให้ผ้กู ากบั ดแู ลและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตา่ ง ๆ นาไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องต่อไป
๒) การวินิจฉัยปัญหาโต้แย้งเก่ียวกับการปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วย
ขอ้ บงั คับการประชมุ สภาทอ้ งถนิ่ พ.ศ. ๒๕๔๗ ซึง่ ตามข้อ ๕ ของระเบียบดังกล่าว ได้กาหนดขั้นตอนการดาเนินการไว้
กลา่ วคือ
- ประธานสภาท้องถิ่นจะต้องทาการวินิจฉัยปัญหาโต้แย้งหรือกรณีท่ีระเบียบมิได้กาหนดไว้นั้น
เพื่อใชบ้ ังคับไปพลางก่อน
- ประธานสภาท้องถิ่นนาข้อโต้แย้งท่ีเกิดข้ึนเสนอต่อผู้ว่าราชการจังหวัด (กรณีองค์การ
บรหิ ารสว่ นตาบล ใหเ้ สนอตอ่ นายอาเภอเพอ่ื พจิ ารณาวินจิ ฉัย)
- ผู้ว่าราชการจังหวัดจะทาการวินิจฉัยและคาวินิจฉัยนั้นให้ใช้บังคับได้เฉพาะในการประชุม
คราวน้ัน (กรณีองค์การบริหารส่วนตาบล คาวินิจฉัยของนายอาเภอให้ใช้บังคับได้เฉพาะในการประชุมคราวน้ัน
แลว้ รายงานพฤตกิ ารณด์ ังกลา่ วต่อผู้วา่ ราชการจงั หวัด)
- ผู้วา่ ราชการจังหวดั รายงานพฤติการณ์ดงั กล่าวต่อปลดั กระทรวงมหาดไทยเพื่อพิจารณา
- กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นต้องตรวจสอบพิจารณาข้อมูล ข้อเท็จจริงอย่างละเอียด
เพื่อจัดทาความเห็นให้เกิดความถูกต้องและสามารถนาไปใช้ปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้กากับดูแ ล
และองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ ตา่ ง ๆ นาไปปฏบิ ัตไิ ดอ้ ยา่ งถูกต้องต่อไป
(๔) ผลการดาเนินงานปที ี่ผา่ นมา
ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ กรมส่งเสริมการปกครองทอ้ งถ่ินมผี ลการดาเนินการงาน ดงั นี้
๑) การใหค้ วามเห็นทางกฎหมายหรือตอบขอ้ หารือในเรอ่ื งตา่ ง ๆ เก่ียวกับกิจการสภาท้องถ่ินที่
ผ้วู ่าราชการจังหวัดหารือมา จานวน ๖ เร่ือง
- ๔๑๗ -
๒) การแนะนาแนวทางปฏิบัติงานแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้แก่ แนวทางการให้
ประชาชนเข้าฟังการประชุมสภาองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน การมีส่วนร่วมของประชาชนในการดาเนินกิจการ
สภาท้องถน่ิ
หนว่ ยงานรบั ผิดชอบ : กล่มุ งานวนิ ิจฉยั และกากับดูแล กองกฎหมายและระเบยี บทอ้ งถิ่น กรมสง่ เสริมการปกครองท้องถ่นิ
โทร. ๐ ๒๒๔๑ ๙๐๓๖
- ๔๑๘ -
๕. ระบบบริหารงานบุคคล
๕.๑ ยุทธศาสตรก์ ารบริหารทรพั ยากรบคุ คลส่วนทอ้ งถนิ่ พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๖๕
เพ่ือให้ทันต่อการการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น รวมท้ังแนวคิดการเป็นหน่วยงานสมัยใหม่ท่ีกะทัดรัด มีประสิทธิภาพ และเพ่ือเป็นกรอบให้องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถบริหารทรัพยากรบุคคลให้เป็นไปตามแนวนโยบายภาครัฐ คณะกรรมการมาตรฐาน
การบริหารงานบุคคลส่วนท้องถ่ิน จึงอาศัยอานาจตามความในมาตรา ๓๓ (๒) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ
บรหิ ารงานบคุ คลส่วนทอ้ งถน่ิ พ.ศ. ๒๕๔๒ ในการประชุมคร้ังที่ ๕/๒๕๖๑ เม่อื วนั ท่ี ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๑ มีมติให้
ประกาศคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถ่ิน เรื่อง ยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคล
ส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕ เพื่อเป็นแนวทางให้คณะกรรมการกลางข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น
นาไปจัดทา ปรับปรุงหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่เกี่ยวข้อง รวมท้ังเพ่ือให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนาไป
พฒั นาการบริหารทรพั ยากรบุคคลตามอานาจหนา้ ที่ต่อไป โดยมี ๗ ประเดน็ ยุทธศาสตร์ ไดแ้ ก่
๑) ปรับปรุงโครงสร้างและอตั รากาลังให้เหมาะสมกบั ประเภทองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ
๒) พฒั นาประสทิ ธิภาพระบบทรพั ยากรบุคคลสว่ นทอ้ งถ่นิ
๓) ส่งเสริมการพฒั นาบคุ ลากรและผบู้ รหิ ารใหม้ ีศักยภาพทส่ี อดคลอ้ งกบั การบริหารทรัพยากรบุคคล
ตามแนวทาง Thailand ๔.o
๔) เน้นความโปร่งใสในระบบบริหารทรัพยากรบุคคลส่วนท้องถ่ินท่ียึดหลักสมรรถนะและการสร้าง
เสรมิ หลกั ธรรมาภิบาล
๕) ตอ่ ยอดการเสรมิ สร้างคณุ ภาพชีวติ ทีด่ แี กท่ รพั ยากรบุคคลสว่ นท้องถ่ิน
๖) ขับเคล่อื นระบบทรพั ยากรบุคคลส่วนท้องถิ่นด้วยนวตั กรรมและเทคโนโลยี
๗) การกากบั ติดตาม และประเมินผล
หนว่ ยงานรบั ผิดชอบ : กลุ่มงานวิจัยและพัฒนาระบบบริหารงานบุคคลท้องถ่ิน สานักงานคณะกรรมการมาตรฐาน
การบริหารงานบคุ คลสว่ นทอ้ งถิน่ สป. โทร. ๐ ๒๒๒๕ ๔๗๕๒ (มท.) ๕๐๕๙๘
๕.๒ การจดั ทามาตรฐานกลางการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถ่ิน
ตามบทบัญญัติของพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๓๓
(๑) ได้บญั ญัติให้คณะกรรมการมาตรฐานการบรหิ ารงานบุคคลสว่ นท้องถนิ่ หรือ ก.ถ. มีอานาจหน้าที่ในการกาหนด
มาตรฐานกลางและแนวทางในการรกั ษาระบบคณุ ธรรมเกยี่ วกับการ บริหารงานบุคคลโดยเฉพาะในเรื่องการแต่งตั้ง
และการให้พ้นจากตาแหน่งของพนักงานส่วนท้องถิ่น รวมตลอดถึงการกาหนดโครงสร้างอัตราเงินเดือนและ
ประโยชน์ตอบแทนอน่ื ให้มีสดั สว่ นทีเ่ หมาะสมแกร่ ายได้และการพฒั นาทอ้ งถ่ินตามอานาจหน้าท่ีขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น ทั้งนี้ การกาหนด มาตรฐานกลางและแนวทางจะต้องไม่มีลักษณะเป็นการกาหนดหลักเกณฑ์
การบริหารงานบุคคล โดยเฉพาะเจาะจงที่ทาให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไม่สามารถบริหารงานบุคคลตาม
ความตอ้ งการและความเหมาะสมของแตล่ ะองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่นได้
- ๔๑๙ -
สาระสาคัญ ความในมาตราน้ีเป็นการกาหนดหน้าที่ของคณะกรรมการฯ (ก.ถ.) ไว้ ๘ เรื่องซึ่งเป็น
อานาจเพียงกาหนดมาตรฐานกลางในการบริหารงานบุคคลและเร่ืองที่เก่ียวข้องเท่านั้นเพ่ือให้คณะกรรมการกลาง
และคณะกรรมการท้องถิ่นดาเนินการซึ่งเป็นการดาเนินการในเชิงวิชาการมิได้มีอานาจในการให้คุณให้โทษแก่
ข้าราชการหรอื พนกั งานส่วนทอ้ งถ่ินแตอ่ ย่างใด
สาหรับการดาเนินการของ ก.ถ. ดังกล่าวข้างต้นพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคล
ส่วนทอ้ งถ่ิน มาตรา ๓๖ บญั ญตั ิให้จัดต้ังสานักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่นข้ึนใน
สานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงมหาดไทย มีหน้าที่รับผิดชอบงานในราชการของคณะกรรมการมาตรฐานการ
บรหิ ารงานบุคคลส่วนท้องถนิ่ และมอี านาจหนา้ ท่ี ดังต่อไปน้ี
๑) รับผดิ ชอบในงานธรุ การของคณะกรรมการมาตรฐานการบรหิ ารงานบุคคลส่วนท้องถ่ิน
๒) ศึกษา วิเคราะห์ และรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวกับงานของคณะกรรมการมาตรฐาน
การบรหิ ารงานบุคคลส่วนท้องถิน่
๓) ประสานงาน ติดตาม และประเมินผลการบริหารงานบคุ คลขององค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ
๔) ชว่ ยเหลือ และให้คาปรึกษาและแนะนาเก่ียวกับการบรหิ ารงานบุคคลส่วนทอ้ งถน่ิ
๕) จัดประชุม สัมมนา ฝึกอบรม รวมทั้งการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับ
การบรหิ ารงานบคุ คลส่วนท้องถ่นิ
๖) จัดทารายงานประจาปีเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ ผลงาน และอุปสรรคในการปฏิบัติหน้าท่ี และ
ในการดาเนินงานของคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถ่ินและสานักงานคณะกรรมการ
มาตรฐานการบริหารงานบคุ คลสว่ นท้องถน่ิ
๗) ปฏิบัตงิ านอ่นื ๆ ตามท่คี ณะกรรมการมาตรฐานการบรหิ ารงานบุคคลสว่ นท้องถน่ิ มอบหมาย
สาระสาคัญ เม่ือมี ก.ถ. ก็จาเป็นต้องมี สานักงานใดสานักงานหน่ึงเพ่ือทาหน้าที่รับผิดชอบงาน
ราชการของ ก.ถ.ข้างต้น กฎหมายฉบับน้ีจึงกาหนดให้มีการจัดต้ังสานักงานเพื่อทาหน้าที่ดังกล่าวขึ้น ในสานักงาน
ปลัดกระทรวงมหาดไทย สานักงาน ก.ถ. จึงต้องทาหน้าที่ใน ๒ บทบาท กล่าวคือ ทาหน้าที่ในบทบาทงานราชการ
ของ ก.ถ. บทบาทหนึง่ และบทบาทในฐานะหนว่ ยงานราชการในสงั กัดสานกั งานปลดั กระทรวงอีกบทบาทหนง่ึ
สาหรับหน้าท่ีในความรับผิดชอบเก่ียวกับงานธุรการของ ก.ถ. นั้น มีกระบวนการทางานโดยแบ่ง
โครงสร้างและอานาจหน้าท่ีออกเป็น ๔ กลุ่มงาน กับ ๑ ฝ่าย ประกอบด้วย (๑) กลุ่มงานวิจัยและพัฒนาระบบ
บริหารงานบุคคลท้องถ่ิน (๒) กลุ่มงานมาตรฐานการบริหารงานบุคคล (๓) กลุ่มงานกฎหมาย (๔) กลุ่มงาน
สารสนเทศและตดิ ตามประเมนิ ผล (๕) ฝ่ายบริหารงานท่ัวไป
- ๔๒๐ -
สานกั งานคณะกรรมการมาตรฐานการบรหิ ารงานบุคคลสว่ นทอ้ งถน่ิ
พระราชบญั ญัติระเบียบบรหิ ารงานบุคคลส่วน กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสานักงานปลัดกระทรวง
ทอ้ งถนิ่ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๓๐ มาตรา ๓๓ มาตรา มหาดไทย พ.ศ. ๒๕๕๓ ขอ้ ๓ (๙) ข้อ ๑๔
๓๖
กลุ่มงานมาตรฐานการบรหิ ารงานบุคคล
- ศึกษา วิเคราะห์ รวบรวมข้อมูล ประสานงาน ช่วยเหลือ ให้คาปรึกษา และแนะนาในด้านมาตรฐานกลาง
และวธิ ปี ฏบิ ตั เิ ก่ยี วกบั การบริหารงานบุคคลสว่ นทอ้ งถิ่น
- จัดประชุม สัมมนา ฝึกอบรม รวมท้ังประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานกลางและวิธีปฏิบัติ
เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถ่ิน ตลอดจนเป็นศูนย์กลางและศูนย์ข้อมูลเกี่ยวกับมาตรฐานกลางและวิธีปฏิบัติ
เกย่ี วกบั การบรหิ ารงานบคุ คลสว่ นท้องถ่นิ
- กลั่นกรองมาตรฐานทั่วไปการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถ่ินก่อนเสนอรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ลงนาม
- งานผู้ช่วยเลขานุการ ก.ถ. และงานเลขานุการคณะอนกุ รรมการใน ก.ถ.
- ปฏบิ ตั งิ านอ่ืนๆ ตามทไี่ ดร้ บั มอบหมาย
ทั้งน้ีในการกาหนดมาตรฐานกลางการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถ่ิน มีกระบวนการและข้ันตอนใน
การดาเนินงานดังนี้
(๑) ศึกษาวิเคราะห์ วิจัย เกี่ยวกับระบบการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น โดยเปรียบเทียบกับ
การบรหิ ารงานบคุ คลภาครัฐเพ่อื นามากาหนดเป็นมาตรฐานกลางท่ีจะนาไปใช้สาหรับการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถ่ิน
ได้แก่ ข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด พนักงานเทศบาล และพนักงานส่วนตาบล และต้องเป็นแนวทางท่ีจะ
สามารถนาไปใช้กับการบริหารงานบุคคลของข้าราชการกรุงเทพมหานครและเมืองพัทยาได้ด้วย แล้วนาเสนอ
ทางเลือกเพ่ือใหค้ ณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบคุ คลสว่ นทอ้ งถิน่ พิจารณา
(๒) จัดทามาตรฐานกลางการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น เมื่อคณะกรรมการมาตรฐาน
การบรหิ ารงานบุคคลสว่ นทอ้ งถิน่ พจิ ารณาทางเลือกท่ีเหมาะสม จงึ นาทางเลือกท่ีได้ไปกาหนดเป็นระบบบริหารงาน
บคุ คลของข้าราชการและพนกั งานส่วนทอ้ งถิ่น โดยจดั ทาเป็นหมวดหมู่เพ่ือให้เป็นไปตามหลักการบริหารงานบุคคล
สอดคลอ้ งกับทิศทางและนโยบายการบรหิ ารงานบคุ คลภาครัฐ โดยจาแนกออกเป็นหมวดหมู่ ซ่ึงประกอบดว้ ย
๑) บททว่ั ไป
๒) การกาหนดโครงสรา้ งการแบง่ สว่ นราชการการกาหนดตาแหนง่ และมาตรฐานของตาแหนง่
๓) โครงสร้างอตั ราเงนิ เดือนและประโยชนต์ อบแทนอนื่
๔) การสรรหาบุคคล
๕) การแต่งตง้ั และการใหพ้ ้นจากตาแหน่ง
- ๔๒๑ -
๖) การเพ่ิมพูนประสิทธิภาพ และการเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติราชการ และการเล่ือนข้ัน
เงนิ เดือน
๗) วินัย การรักษาวินัย และการดาเนนิ การทางวนิ ยั
๘) การอทุ ธรณ์
๙) การร้องทุกข์
๑๐) การบรหิ ารงานบคุ คลของพนกั งานครูส่วนทอ้ งถ่นิ
๑๑) การบรหิ ารงานบุคคลของลูกจา้ ง
๑๒) บทเฉพาะกาล
(๓) จัดทาประกาศคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบคุ คลส่วนท้องถิน่
เม่ือคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พิจารณาสาระสาคัญของ
ระบบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่นแล้วจึงออกเป็นประกาศคณะกรรมการมาตรฐานกลางการบริหารงานบุคคล
ส่วนท้องถิ่น และประกาศในราชกิจจานุเบกษาเพื่อให้มีผลบังคับใช้ตามเวลาที่กาหนด เพื่อให้คณะกรรมการ
กลางข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นนาไปจัดทามาตรฐานทั่วไปเพื่อใช้เป็นการเฉพาะกับองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภท คือ มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของข้าราชการองค์การบริหาร
ส่วนจังหวัด มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล พนักงานเทศบาล มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับ
การบรหิ ารงานบุคคลพนกั งานสว่ นตาบล
(๔) การพัฒนาเพอื่ ปรบั ปรุงระบบการบริหารงานบคุ คลสว่ นท้องถิน่
เม่ือมีการนามาตรฐานกลางการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่นไปสู่การปฏิบัติ สานักงาน ก.ถ.
มีหน้าท่ีในการติดตามประเมินผลระบบการบริหารงานบุคคลอย่างต่อเนื่องเพ่ือให้ทราบข้อดีข้อเสียของมาตรฐาน
กลางการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถ่ินรวมทั้งเพื่อนามาพัฒนาและปรับปรุงเพ่ือให้ระบบการบริหารงานบุคคล
สว่ นท้องถน่ิ มีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน
หนว่ ยงานรับผิดชอบ : กลุ่มงานมาตรฐานการบริหารงานบุคคล สานักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
โทร.๐ ๒๒๒๒ ๔๑๕๘
- ๔๒๒ -
๕.๓ การส่งเสริมและสนับสนนุ การบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
(๑) ทม่ี าและความสาคญั โดยสังเขป
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พ.ศ. ๒๕๖๐ กาหนดให้การบริหารงานบุคคลขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ ซ่ึง
ตอ้ งใช้ระบบคุณธรรมและต้องคานึงถึงความเหมาะสมและ
ความจาเป็นของแต่ละท้องถ่ินและองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิน่ แตล่ ะรปู แบบ การจัดให้มีมาตรฐานที่สอดคล้องกัน
เพื่อให้สามารถพัฒนาร่วมกันหรือการสับเปล่ียนบุคลากร
ระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินด้วยกันได้ รวมไปถึงคาสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๘/๒๕๖๐
ลงวนั ท่ี ๒๑ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๐เพื่อขับเคลือ่ นการปฏิรปู การบริหารงานส่วนบุคคลท้องถิ่น กาหนดให้คณะกรรมการ
กลางข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. ๒๕๔๒
ทาหน้าท่เี กีย่ วกับการสอบแขง่ ขัน การสอบคัดเลือก การคัดเลือก และการโอนข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถ่ิน
ให้เปน็ ไปตามระบบคุณธรรม เพือ่ เป็นไปตามความต้องการและความเหมาะสมของแต่ละองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ได้กาหนดแนวทาง
จัดทา และปรับปรุงมาตรฐานทั่วไปเก่ียวกับการบริหารงาน
บคุ คลขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ตามกฎหมายว่าด้วยการ
บริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น ให้สอดคล้องกับการปฏิรูปการ
บริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น ให้มีมาตรฐานและเป็นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพบนพ้ืนฐานของระบบคุณธรรม ตลอดจนสามารถ
เยียวยาแก้ไขปัญหาการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถ่ินที่เกิดขึ้น
ได้อยา่ งทันท่วงที
(๒) ข้อมลู ท่ัวไปเกี่ยวกับการดาเนนิ งาน
๑) สถิตที่เก่ียวข้อง ข้อมูลบุคลากรท้องถ่ิน ประกอบด้วย ข้าราชการและพนักงานส่วนท้องถิ่น
จานวน ๑๕๘,๓๐๑ คน, ลูกจ้างประจา จานวน ๑๒,๑๘๔ คน, พนักงานจ้าง จานวน ๒๒๖,๖๔๒ คน รวมทั้งหมด
๓๙๗,๑๒๗ คน (ข้อมูลระบบ LHR ณ วนั ท่ี ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๖๔)
๒) กฎหมายและระเบียบท่ีเกี่ยวข้อง ได้แก่ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
พ.ศ. ๒๕๔๒ และคาสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๘/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐
เร่อื ง การขับเคลือ่ นการปฏิรูปการบริหารงานส่วนบคุ คลทอ้ งถน่ิ
(๓) กระบวนการหรือขั้นตอนการดาเนินงานทเ่ี ก่ียวขอ้ ง
๑) จัดทา พัฒนา ปรับปรุงมาตรฐานทั่วไป หลักเกณฑ์เก่ียวกับการสอบแข่งขันการสอบ
คัดเลือกการคดั เลอื ก และการโอนข้าราชการหรอื พนักงานส่วนทอ้ งถ่ินของขา้ ราชการและพนกั งานสว่ นท้องถิ่น
- ๔๒๓ -
๒) ดาเนินการตามมาตรฐานท่ัวไป หลักเกณฑ์เกี่ยวกับ
การสอบแข่งขันการสอบคัดเลือกการคัดเลือก และการโอน
ข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นของข้าราชการและพนักงาน
สว่ นทอ้ งถิ่น
๓) การให้คาปรกึ ษาและแนะนาตอบขอ้ หารือแกไ้ ขปญั หาต่าง ๆ
ในการปฏิบัติงานด้านการบริหารงานบุคคลขององค์กรปกครอง
สว่ นทอ้ งถนิ่
(๔) ผลการดาเนนิ งานปีท่ีผา่ นมา
๑) ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ได้ดาเนินการปรับปรุง
มาตรฐานท่ัวไปในการบริหารงานบุคคลสว่ นทอ้ งถ่นิ ดังน้ี
- ประกาศคณะกรรมการกลางข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถ่ิน เร่ือง มาตรฐานท่ัวไป
เกี่ยวกับการคัดเลอื กกรณที ่มี ีเหตุพิเศษท่ีไม่จาเป็นต้องสอบแขง่ ขัน พ.ศ. ๒๕๖๓
- ประกาศคณะกรรมการกลางข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น เรื่อง มาตรฐานทั่วไป
เกี่ยวกับการบรรจผุ ู้ออกจากราชการไปแลว้ กลับเข้ารบั ราชการ พ.ศ. ๒๕๖๓
- ประกาศคณะกรรมการกลางข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น เรื่อง มาตรฐานท่ัวไป
เกี่ยวกับโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ วิธีการบริหารและการปฏิบัติงานของข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถ่ิน
และกจิ การอนั เกีย่ วกับการบริหารงานบคุ คลในองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น พ.ศ. ๒๕๖๓
- ประกาศคณะกรรมการกลาง
ข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น เรื่อง การกาหนด
กอง สานัก หรอื ส่วนราชการท่เี รยี กชื่ออย่างอ่ืนขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถน่ิ พ.ศ. ๒๕๖๓
- ประกาศคณะกรรมการกลาง
พนักงานเทศบาลเรื่อง มาตรฐานทั่วไปเก่ียวกับโครงสร้าง
ส่วนราชการและระดับตาแหน่งของเทศบาล (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๖๓
๒) ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน ได้ดาเนินการปรับปรุง
มาตรฐานท่วั ไปในการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิน่ ดังน้ี
- ประกาศคณะกรรมการกลางข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถ่ิน เร่ือง มาตรฐานท่ัวไป
เกี่ยวกับการสอบคัดเลือกและการคัดเลือกข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นให้ดารงตาแหน่งสายงานผู้บริหาร
(ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๖๔
- ประกาศคณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล เรื่อง มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับโครงสร้าง
ส่วนราชการและระดบั ตาแหนง่ ของเทศบาล (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๔
- ๔๒๔ -
- ประกาศคณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตาบล เรื่อง มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับโครงสร้าง
ส่วนราชการและระดบั ตาแหน่งขององค์การบรหิ ารส่วนตาบล (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๔
- ประกาศคณะกรรมการกลางข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น เรื่อง มาตรฐานทั่วไป
เกยี่ วกับคุณสมบัตแิ ละลกั ษณะต้องห้ามเบอื้ งตน้ สาหรับขา้ ราชการหรือพนักงานส่วนท้องถน่ิ พ.ศ. ๒๕๖๔
- ประกาศคณะกรรมการกลางข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น เร่ือง มาตรฐานทั่วไป
เกีย่ วกับกาหนดโรคท่ีเปน็ ลักษณะต้องห้ามเบื้องตน้ สาหรับข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถ่นิ พ.ศ. ๒๕๖๔
หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ : กลุ่มงานมาตรฐานทั่วไปการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น สานักพัฒนาระบบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถ่ิน
กรมสง่ เสริมการปกครองทอ้ งถนิ่ โทร. ๐ ๒๒๔๑ ๙๐๐๐ ตอ่ ๔๒๑๗
๕.๔ การสรา้ งขวัญ กาลงั ใจ และแรงจูงใจให้แกเ่ จ้าหน้าทที่ ป่ี ฏบิ ัติงานในพ้ืนทจี่ ังหวัดชายแดนภาคใต้
(๑) ทมี่ าและความสาคญั โดยสังเขป
มติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๑ อนุมัติให้มีการจ่ายเงินค่าตอบแทน
พิเศษรายเดือนให้แก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยถือปฏิบัติตามหนังสือสานักเลขาธิการ
คณะรัฐมนตรี ด่วนท่ีสุด ที่ นร ๐๕๐๖/๑๖๙๕๑ ลงวันท่ี ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๑ ประกอบระเบียบสานัก
นายกรัฐมนตรีว่าด้วยบาเหน็จความชอบสาหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. ๒๕๕๐ และ
ทแ่ี กไ้ ขเพิม่ เติม กาหนดใหเ้ จา้ หน้าที่ผ้ปู ฏบิ ัตงิ านจงั หวัดชายแดนภาคใต้ได้รบั เงนิ ค่าตอบแทนพเิ ศษ
(๒) ขอ้ มูลท่ัวไปเกีย่ วกบั การดาเนินงาน
ข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถ่ิน ลูกจ้างประจา และพนักงานจ้าง สังกัดเทศบาลตาบล
และองค์การบริหารส่วนตาบล ในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ นราธิวาส ปัตตานี ยะลา และ ๔ อาเภอ
ของจังหวัดสงขลา (อาเภอจะนะ เทพา นาทวี และสะบ้าย้อย) ได้รับค่าตอบแทนพิเศษรายเดือน อัตราคนละ
๒,๕๐๐ บาทตอ่ เดอื น
(๓) กระบวนการหรือข้นั ตอนการดาเนนิ งานที่เก่ยี วข้อง
๑) กรมส่งเสริมการปกครอง
ท้องถิ่นเสนอขอรับการจัดสรรงบประมาณเงิน
อุดหนุนค่าตอบแทนรายเดือนให้แก่เจ้าหน้าที่
ผู้ปฏิบัติงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ใ น พื้ น ที่ จั ง ห วั ด ช า ย แ ด น ภ า ค ใ ต้ ต่ อ ส า นั ก
งบประมาณ และคณะกรรมการการกระจาย
อ า น า จ ใ ห้ แ ก่ อ ง ค์ ก ร ป ก ค ร อ ง ส่ ว น ท้ อ ง ถ่ิ น
ตามลาดบั
๒) สานักงบประมาณอนุมัติและโอนเงินงบประมาณที่ได้รับการจัดสรรให้กรมส่งเสริม
การปกครองทอ้ งถ่ิน
- ๔๒๕ -
๓) กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ตรวจสอบข้อมูลจากระบบศูนย์บริการข้อมูลบุคลากร
ท้องถนิ่ แห่งชาติ เพ่อื นามาเปน็ ขอ้ มูลในการจัดสรรงบประมาณ
๔) กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน ขออนุมัติและโอนจัดสรรงบประมาณให้กับองค์กร
ปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น
๕) องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ เบกิ จ่ายใหผ้ มู้ ีสทิ ธิ
(๔) ผลการดาเนินงานปที ่ีผา่ นมา
๑) ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น จัดสรรงบประมาณให้กับ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รายการเงินอุดหนุนสาหรับค่าตอบแทนพิเศษรายเดือนให้แก่เจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงาน
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ให้กับ ข้าราชการ/พนักงานส่วนถิ่น ลูกจ้างประจา
และพนักงานจ้าง ในพ้ืนท่ีเทศบาล และองค์การบริหารส่วนตาบล ในพ้ืนที่จังหวัด นราธิวาส ปัตตานี ยะลา
และ ๔ อาเภอ ของจังหวัดสงขลา (อาเภอจะนะ เทพา นาทวี และสะบ้าย้อย) จานวน ๑๒,๙๒๐ คน เป็นเงิน
๓๙๐,๓๓๐,๐๐๐ บาท
๒) ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น จัดสรรงบประมาณให้กับ
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน รายการเงินอุดหนุนสาหรับค่าตอบแทนพิเศษรายเดือนให้แก่เจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงาน
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ให้กับข้าราชการ/พนักงานส่วนถ่ิน ลูกจ้างประจา
และพนักงานจ้างในพ้ืนที่เทศบาลตาบล และองค์การบริหารส่วนตาบล ในพื้นท่ีจังหวัด นราธิวาส ปัตตานี ยะลา
และ ๔ อาเภอ ของจังหวัดสงขลา (อาเภอจะนะ เทพา นาทวี และสะบ้าย้อย) จานวน ๙,๘๓๙ คน เป็นเงิน
๒๙๔,๕๗๐,๐๐๐ บาท
หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ : กลุ่มงานส่งเสริมการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น สานักพัฒนาระบบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
กรมสง่ เสรมิ การปกครองท้องถ่ิน โทร. ๐ ๒๒๔๓ ๘๙๙๑
๕.๕ การพฒั นาบคุ ลากรทอ้ งถนิ่
๕.๕.๑ การสมคั รเขา้ รับการศกึ ษาอบรมหลักสูตรจองสถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น
(๑) ท่มี าและความสาคัญ
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน มีภารกิจหลักในการพัฒนาและยกระดับสมรรถนะ
การปฏิบัติงานของข้าราชการและบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน โดยมีสถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถ่ิน
เปน็ หนว่ ยงานหลกั ในการรบั ผดิ ชอบภารกจิ ดงั กล่าว
ท่ามกลางมาตรการการป้องกันการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ส่งผลให้
การจัดการฝึกอบรมและการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร ณ ท่ีตั้งได้รับผลกระทบ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
จึงได้ปรับรูปแบบและแพลตฟอร์มการเรียนรู้และการเข้ารับการอบรมให้เป็นการอบรมทางออนไลน์ โดยใช้
การสื่อสารสองทางและทางอิเล็กทรอนิกส์ จานวน ๑๖ หลักสูตร โดยผู้เข้ารับการอบรมสามารถเข้าสมัครรับ
การอบรมในหลักสูตรต่าง ๆ ไดต้ ามข้ันตอนดังตอ่ ไปนี้
- ๔๒๖ -
(๒) ขน้ั ตอนการสมคั ร
๑)สมคั รผา่ นหนา้ เวบ็ ไซต์ www.lpdi.go.th. เมน/ู หัวข้อ สมคั รอบรม
๒)สแกน QR CODE ในหน้าหนงั สอื ประชาสัมพันธ์แผนการฝกึ อบรม
๓)ประสานงานผา่ นเจา้ หน้าทส่ี ถาบันพัฒนาบคุ ลากรท้องถ่ิน
๔)กรอกรายละเอียดการสมคั รเสร็จสิ้นแล้ว ใหผ้ ู้เข้ารับการอบรมพิมพใ์ บแจง้ ชาระเงนิ
๕) ผู้ เ ข้ า รั บ ก า ร อ บ ร ม จ ะ ต้ อ ง ข อ อ นุ ญ า ต แ ล ะ ข อ อ นุ มั ติ เ ข้ า รั บ ก า ร อ บ ร ม จ า ก
ผบู้ ังคับบญั ชาหรอื ผ้มู อี านาจจากตน้ สังกัด
๖)นาใบชาระเงนิ ไปชาระได้ทเ่ี คานเ์ ตอร์ ธนาคารได้ทุกสาขา
๗)กรณีบางหลักสูตรท่ีเป็นหลักสูตรความร่วมมือทางวิชาการกับสถาบันการศึกษา
ผ้เู ขา้ รับการอบรมสามารถโอนเงินเขา้ บัญชีหน่วยงานทรี่ ่วมกับสถาบันพฒั นาบุคลากรท้องถ่ินจดั การอบรมไดโ้ ดยตรง
๘)เก็บหลักฐานและรายละเอียดการชาระเงินเพ่ือส่งยืนยันให้สถาบันพัฒนาบุคลากร
ท้องถนิ่ ทราบทางชอ่ งทางตา่ ง ๆ
หนว่ ยงานรบั ผิดชอบ : สถาบันพัฒนาบุคลากรทอ้ งถน่ิ โทร. ๐ ๒๕๑๖ ๒๑๐๖, ๐๒๕๑๖ ๔๒๓๒
- ๔๒๗ -
๕.๕.๒ โครงการพัฒนาระบบเพ่ือพัฒนาสมรรถนะของหน่วยงานไปสู่องค์กรคุณภาพด้วยระบบ
Local MOOC
(๑) ท่ีมาและความสาคญั โดยสังเขป
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินมี
ภารกิจหลักในการส่งเสริมและพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและบุคลากรของกรมส่งเสริม
การปกครองท้องถ่ิน เพ่ือมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ
การกระจายอานาจและการดาเนินงานขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ จึงได้จัดทาระบบ
การเรียนรู้ผ่านพลตฟอร์มทางออนไลน์ภายใต้โครงการ “พัฒนาระบบเพ่ือพัฒนาสมรรถนะของหน่วยงานไปสู่
องคก์ รคุณภาพดว้ ยระบบ Local MOOC” ซ่ึงเป็นการพัฒนาต้นแบบในการพัฒนาระบบการเรียนรู้ด้วยตัวเองผ่าน
ระบบการเรยี นรู้แบบเปดิ ทางออนไลน์สาหรับมหาชน (Massive Open Online Course : MOOC)
เมื่อสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตร ซ่ึงระบบจะระบุจานวนเวลาข้ันต่าท่ีจะต้องเข้า
เรียนร้แู ละมีแบบทดสอบวัดความรู้ในแต่ละรายวิชาผ้เู ข้าเรียนจะไดร้ บั ประกาศนยี บตั รทางออนไลน์ของกรมส่งเสริม
การปกครองทอ้ งถน่ิ เพ่อื เปน็ หลักฐานในการเข้าเรียนรู้กับระบบ Local MOOC ซ่ึงเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ท่ีก้าว
ข้ามอุปสรรคในเร่ืองสถานท่แี ละเวลา เพราะเป็นระบบการเรียนที่ “เรียนรไู้ ด้ทุกท่ี ตลอดเวลา โดยไมม่ คี า่ ใช้จ่าย”
(๒) ขั้นตอนการเขา้ ใช้งานระบบ Local MOOC
๑) เข้าเว็ปไซต์ Local MOOC (www.localmooc.com) ผ่านเว็ปไซต์กรมส่งเสริม
การปกครองทอ้ งถิน่
๒) สมัครเปดิ บญั ชเี พอื่ เข้าเรยี นในระบบ
๓) เลือกคอร์สเรียนในรายวิชาตา่ ง ๆ เมือ่ สนใจเข้าเรียนในคอร์สใด ใหก้ ดเพมิ่ ใสร่ ถเขน็
๔) กดเลอื กเมนคู อร์สเรียนของฉัน เลอื กคอร์สทีต่ อ้ งการเรยี นรู้ และกด “เรมิ่ เรียนคอร์สน้ี”
๕) กด “เริ่ม” เพ่อื ทาแบบทดสอบก่อนเรียน
๖) เมื่อเรียนจบและทาแบบทดสอบหลังเรียนแล้วให้กลับไปท่ีเมนู “คอร์สเรียนของฉัน”
เพอ่ื ประเมนิ ความพงึ พอใจและดาวนโ์ หลดใบประกาศนยี บตั ร
- ๔๒๘ -
(๓) ผลการดาเนนิ งานปที ่ผี ่านมา
ผลการดาเนนิ งานที่ผ่านมา สถติ กิ ารเขา้ เรียนรูใ้ นระบบ Local MOOC (ข้อมูล ณ วันท่ี
๕ สงิ หาคม ๒๕๖๔) มีผูเ้ รยี นรใู้ นระดับกลา่ วทัง้ สน้ิ ๔,๒๔๗ คน และมผี ูส้ าเร็จการศึกษาทุกรายวิชาจานวน ๖,๖๙๑ คน
และมีรายวชิ าเปิดให้เรยี นรู้ในระบบทัง้ ส้ิน ๒๗ รายวิชา
หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ : กลุม่ พัฒนาระบบบรหิ าร กรมส่งเสริมการปกครองทอ้ งถ่ิน
โทร. 0 2241 9000 ต่อ 1251, 1252
๖. ระบบสารสนเทศ
๖.๑ ระบบบญั ชีคอมพวิ เตอรข์ ององค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ (e-LAAS)
(๑) ท่ีมาและความสาคญั โดยสังเขป
ก ร ม ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ป ก ค ร อ ง
ท้องถ่ินได้จัดทาโปรแกรมระบบบัญชีคอมพิวเตอร์
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Electronic Local
Administrative Accounting System : e-LAAS)
เพื่อให้การปฏิบัติงานด้านการเงินการคลังของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นมาตรฐานเดียวกัน
ล ด ค ว า ม ผิ ด พ ล า ด แ ล ะ ภ า ร ะ ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น
ด้านการเงินการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งเริ่มพัฒนาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๘ และได้เริ่มให้องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นปฏิบัติงานในระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (e-LAAS) ตั้งแต่ปี
พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถเข้าใช้งานได้ที่ www.laas.go.th และในปี พ.ศ. ๒๕๖๑
กระทรวงมหาดไทยได้ยกเลิกการจัดทาบัญชีด้วยระบบมือและให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินจัดทาบัญชีและ
รายงานการเงินด้วยระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (e-LAAS) เพียงระบบเดียวต้ังแต่
ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ เป็นต้นไป และเพ่ือให้กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินมีข้อมูลการเงินการคลังขององค์กร
ปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ นามาใช้ในการวิเคราะห์ วางแผนในการบริหารการคลงั ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง รวดเรว็ มากยิ่งข้ึน
(๒) ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับการดาเนินงาน ปัจจุบันมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๗,๘๔๘ แห่ง
ใชง้ านในระบบบญั ชคี อมพิวเตอรข์ ององค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ (e-LAAS)
(๓) กระบวนการหรือข้ันตอนการดาเนินงานที่เก่ียวข้อง ระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น (e-LAAS) ประกอบด้วยระบบงานเพ่ือให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินสามารถปฏิบัติงาน
ดา้ นการเงนิ การคลัง ดงั น้ี
- ๔๒๙ -
๑) ระบบงบประมาณ เป็นระบบสาหรับจัดทางบประมาณประจาปีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โดยสามารถบันทึกร่างเทศบัญญัติประมาณการรายรับ ร่างเทศบัญญัติประมาณการรายจ่าย อนุมัติเทศบัญญัติ
การโอนงบประมาณ การแก้ไขเปล่ียนแปลงคาช้ีแจงงบประมาณ การร่างประมาณการเพิ่มเติมระหว่างปี และ
สามารถตรวจสอบงบประมาณคงเหลอื เปรยี บเทยี บกบั รายรับจริงและรายจา่ ยจริงได้
๒) ระบบรายรับ เป็นระบบสาหรับจัดการการรับเงินของขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โดยสามารถออกใบเสร็จรับเงินหรือหลักฐานการรับเงิน สาหรับรายการธุรกรรมการรับเงินทุกรายการขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น การจัดทาใบนาส่งเงินประจาวันของเจ้าหน้าที่ผู้ทารายการรับเงิน การจัดทาใบสาคัญสรุป
ใบนาสง่ เงนิ เพอ่ื นาฝากธนาคารประจาวนั
๓) ระบบรายจ่าย เป็นระบบสาหรับจัดการการจ่ายเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โดยสามารถจัดทารายงานขอซื้อขอจ้าง การจัดทาสัญญา/ข้อตกลง การตรวจรับงาน การจัดทาฎีกา การจัดทารายงานการ
จัดทาเชค็ การพิมพ์เชค็ สาหรับรายการธุรกรรมการจา่ ยเงนิ ทุกรายการขององคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ
๔) ระบบบัญชี เป็นระบบสาหรับจัดทาบัญชีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยสามารถ
เชื่อมโยงข้อมูลจากระบบงบประมาณ ระบบรายรับ และระบบรายจ่ายเพ่ือใช้ในการจัดทารายการบัญชีขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น และการบันทึกรายการปรับปรุงประจาปีสาหรับการปิดบัญชี การจัดทางบการเงินขององค์กร
ปกครองสว่ นท้องถนิ่
๕) ระบบสินทรัพยถ์ าวร เปน็ ระบบสาหรับการจัดการสินทรัพย์ การบันทึกฐานข้อมูลสินทรัพย์ของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การจาหน่าย/โอนสินทรัพย์ การยืม/คืนสินทรัพย์ การบันทึกประวัติการซ่อมแซมสินทรัพย์
และการคานวณคา่ เส่ือมราคาสินทรัพย์
๖) ระบบบริหารจดั การ เป็นระบบสาหรับการจัดการกาหนดข้อมูลต้ังต้น และการกาหนดสิทธิการ
ใช้งานสาหรับส่วนกลางและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการใช้งานระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ขององค์กรปกครอง
ส่วนทอ้ งถิ่น (e-LAAS)
- ๔๓๐ -
๗) ระบบคลงั ความรู้ของระบบบญั ชคี อมพิวเตอรข์ ององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เป็นระบบสาหรับ
รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการใช้งานระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ การประกาศข่าวสาร และประชาสัมพันธ์ข่าวสารต่าง ๆ
ที่เกยี่ วข้องกับระบบบัญชคี อมพวิ เตอร์ขององคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น (e-LAAS)
(๔) ผลการดาเนนิ งานปที ่ผี ่านมา
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินได้ดาเนินการปรับปรุงระบบบัญชีคอมพิวเ ตอร์ขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถ่ิน (e-LAAS) เพ่ือเชื่อมต่อข้อมูลระบบงานอ่ืน ๆ ของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น และ
หน่วยงานภายนอก ตามนโยบายการบูรณาการระบบสารสนเทศเพื่อลดความซ้าซ้อนและลดความผิดพลาดในการ
ปฏิบัติงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพ่ือให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถปฏิบัติงานได้รวดเร็วย่ิงข้ึน
โดยมรี ายละเอยี ด ดังน้ี
๑) เชือ่ มต่อกับระบบสารสนเทศการบริหารจัดการเพ่ือการวางแผนและประเมินผลการใช้จ่าย
งบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (e-Plan) ในส่วนที่เกี่ยวกับการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปี
ตามแผนพฒั นาทอ้ งถนิ่ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
๒) เชื่อมต่อกับระบบบริหารงานบุคคลท้องถิ่น (LHR) ในส่วนที่เกี่ยวกับข้อมูลบุคลากร
ฐานข้อมูลเงินเดือน ค่าตอบแทนต่าง ๆ จากระบบบริหารงานบุคคลท้องถ่ิน (LHR) เพ่ือนาข้อมูลมาจัดทาฎีกา
เพ่อื เบกิ จา่ ยเงนิ เดือน
๓) เชื่อมต่อกับระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐ ( GFMIS) ของกรมบัญชีกลาง
โดยกระทรวงการคลงั จะจา่ ยเงินสวสั ดกิ ารภาครัฐแทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และส่งข้อมูลมาเพื่อบันทึกบัญชี
ในระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (e-LAAS) รวมทั้งการเบิกจ่ายเงินอุดหนุนทั่วไป
เงินอุดหนุนท่ัวไปกาหนดวัตถุประสงค์ และเงินอุดหนุนเฉพาะกิจของขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรณีขอรับ
งบประมาณโดยตรงจากสานกั งบประมาณ
๔) เชื่อมต่อกับระบบจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐ (e-GP) ของกรมบัญชีกลาง ในส่วนที่เกี่ยวข้องจาก
ระบบ e-GP เพอ่ื บนั ทึกขอ้ มูลการจดั ซ้ือจดั จ้างเพอ่ื เบิกจ่ายเงนิ และบันทึกบัญชีในระบบ (อยูร่ ะหว่างดาเนนิ การ)
- ๔๓๑ -
e-Plan
e-GP e- LHR
LAAS
GFMIS
หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ : กลุม่ งานพฒั นาระบบบญั ชที อ้ งถน่ิ สานกั บริหารการคลงั ทอ้ งถนิ่ กรมสง่ เสริมการปกครองท้องถ่ิน
โทร. ๐ ๒๒๔๑ ๙๐๐๐ ต่อ ๑๖๐๑ – ๑๖๑๑ Call center : ๐ ๒๒๐๖ ๖๓๐๐
๖.๒ ฐานข้อมูลกลางองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่
ระบบข้อมูลกลางองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน (INFO)
(๑) ทม่ี าและความสาคัญ โดยสังเขป
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินได้ปรับปรุงระบบฐานข้อมูลกลางองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
ใหอ้ ย่ใู นรูปแบบทีอ่ งค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ินเป็นศูนย์กลางสร้างมาตรฐานการทางานท่ีเป็นแบบการใช้ข้อมูลให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด โดยใช้หลักการสร้างเคร่ืองมือในการบริการจัดการข้อมูลที่ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินใช้งาน
และให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินได้ใช้ประโยชน์จากข้อมูลท่ีตัวเองเป็นผู้จัดทาในการบริหารจัดการ
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินของตัวเองเป็นก้าวแรกของการเปล่ียนแปลงจากการรวมศูนย์ที่ส่วนกลาง เป็นการ
กระจายการบริหารจดั การข้อมลู ไปสูท่ อ้ งถิ่นอย่างแท้จริง
(๒) ขอ้ มูลทั่วไปเกยี่ วกบั การดาเนินงาน
ระบบข้อมูลกลางองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (INFO) เป็นระบบฐานข้อมูลที่จัดทาขึ้น
เพื่อสารวจ ข้อมูลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นท่ัวประเทศ ซึ่งข้อมูลที่แสดงในระบบเป็นข้อมูลที่นาเข้าโดย
องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น เพ่ือเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลให้หน่วยงานภายในกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ได้อย่างสูงสุด ประกอบด้วยข้อมูล
๘ ด้าน ดังนี้ ด้านท่ี ๑ สาธารณสุข และสิ่งแวดล้อม ด้านท่ี ๒ นวัตกรรมและการศึกษา ด้านที่ ๓ สาธารณภัย
ด้านที่ ๔ โครงสรา้ งพ้ืนฐาน ด้านที่ ๕ บริหารจัดการน้า ด้านท่ี ๖ การจัดการภายในและธรรมาภิบาล ด้านที่ ๗ ศาสนา
สังคม และวฒั นธรรม ด้านท่ี ๘ เศรษฐกจิ และแหลง่ ท่องเท่ียว
- ๔๓๒ -
(๓) กระบวนการหรือขั้นตอนการดาเนินงานท่เี ก่ียวขอ้ ง
๑) องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน บันทึกข้อมูลโครงการและแผนงานให้ครบถ้วนถูกต้องเป็น
ปัจจุบนั ผา่ นโปรแกรมคอมพวิ เตอร์
๒) ข้อมูลเชิงลึกของแต่ละ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ท้ัง ๘ ด้านสามารถแก้ปัญหาและ
พฒั นาการให้บริการประชาชน ของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
๓) สามารถมองภาพรวม สถานะของทั้งประเทศเพื่อเป็นเครื่องมือช่วยในการตัดสินใจของผู้บริหาร
ตั้งแต่กระทรวงมหาดไทย, กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน, สานักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัด,
และองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ
๔) เพ่ือนาข้อมูลเหล่านี้ไปประมวลผล ศึกษา วิเคราะห์เพื่อนาไปสู่การพัฒนาองค์กรปกครอง
สว่ นท้องถ่ิน ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
(๔) ผลการดาเนนิ งานปที ีผ่ า่ นมา
๑) ปรับปรุงและพัฒนาระบบข้อมูลกลางองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อให้องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถน่ิ บนั ทึกข้อมลู พ้ืนฐานทส่ี าคญั ไดอ้ ยา่ งครบถ้วน
๒) กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน สามารถเผยแพ่ข้อมูลสาคัญขององค์กรปกครอง
สว่ นท้องถิ่นสู่สาธารณะผา่ นเครือข่ายอินเตอรเ์ นต็ ท่ี https://info.dla.go.th
หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ : ศนู ยเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศทอ้ งถ่ิน โทร. ๐ ๒๒๔๑ ๙๐๐๐ ตอ่ ๑๑๐๖ - ๙
- ๔๓๓ -
๖.๓ ขอ้ มูลผ้บู ริหารและสมาชกิ สภาท้องถ่นิ
การจัดเกบ็ ข้อมลู ผู้บรหิ ารและสมาชกิ สภาท้องถ่ินในระบบศูนย์ขอ้ มูลเลือกตง้ั ผูบ้ รหิ าร สมาชกิ สภา
ท้องถน่ิ และทะเบียน องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น (ELE)
(๑) ทมี่ าและความสาคญั โดยสังเขป
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น โดยกองการเลือกตั้งท้องถ่ิน ได้จัดทาระบบศูนย์ข้อมูล
เลือกต้ังผู้บริหาร สมาชิกสภาท้องถ่ิน และทะเบียนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพ่ือจัดเก็บข้อมูลผู้บริหารท้องถ่ิน
และสมาชิกสภาท้องถ่ิน ประวัติการจัดตั้ง ยุบรวม ยุบเลิกและเปล่ียนแปลงฐานะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
รวมท้ัง ข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับการเลือกต้ัง เช่น ข้อมูลวาระการเลือกตั้ง ข้อมูลประวัติการดารงตาแหน่ง ข้อมูลวุฒิ
การศึกษา ข้อมูลจานวนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง และจานวนผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง เป็นต้น ซึ่งระบบศูนย์ข้อมูลเลือกตั้งฯ
นี้ ได้มีการปรับปรุงและพัฒนาเพื่อสนับสนุนการทางานกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น สานักงานส่งเสริม
การปกครองท้องถ่ินจังหวัด สานักงานส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินอาเภอ และองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ
- ๔๓๔ -
(๒) ขอ้ มูลท่ัวไปเกย่ี วกบั การดาเนนิ งาน
๑) จัดเก็บข้อมูลชื่อ - สกุล และวาระการดารงตาแหน่งของผู้บริหารท้องถิ่นและสมาชิก
สภาท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล และองค์การบริหารส่วนตาบล ในระบบศูนย์ข้อมูลเลือกตั้ง
ผบู้ รหิ าร สมาชกิ สภาท้องถนิ่ และทะเบียนองค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ (ELE)
๒) จดั เกบ็ ข้อมลู วฒุ กิ ารศึกษาสงู สุดของผ้บู ริหารท้องถน่ิ และสมาชิกสภาท้องถน่ิ
๓) จัดเก็บข้อมูลประวัติการจัดตั้ง ยุบรวม ยุบเลิก และเปลี่ยนแปลงฐานะขององค์กรปกครอง
สว่ นทอ้ งถิน่
๔) ประมวลผลข้อมูลผบู้ ริหารทอ้ งถิน่ และสมาชกิ สภาท้องถ่นิ แบบแยกเพศชาย เพศหญิง
๕) เผยแพร่รายชื่อผู้บริหารท้องถิ่นและสมาชิกสภาท้องถิ่น โดยแยกเป็นรายประเภทของ
องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ อาเภอ และจังหวัด ทางหน้าเว็บไซต์ของระบบศูนย์ข้อมูลเลือกต้ัง https://ele.dla.go.th
โดยไม่ต้อง login เข้าระบบใช้งาน เพ่ือให้ผู้ท่ีสนใจได้นาข้อมูลผู้บริหารท้องถิ่นและสมาชิกสภาท้องถิ่นไปศึกษา
วเิ คราะห์ และวิจยั
(๓) กระบวนการหรือขัน้ ตอนการดาเนนิ งานที่เก่ยี วข้อง
ขั้นตอนการบนั ทกึ ข้อมลู ผ้บู รหิ ารท้องถิน่ และสมาชิกสภาท้องถน่ิ ดังนี้
๑) กรณี ผบู้ ริหารท้องถ่นิ /สมาชิกสภาท้องถ่ิน มาจากการเลอื กตั้งโดยตรง
- เพิ่มข้อมลู วาระ/ครั้งที่/เขตเลือกต้งั ของผบู้ รหิ ารท้องถ่นิ และสมาชกิ สภาท้องถ่ิน
- เพิ่มขอ้ มลู ผู้สมคั ร
- เพม่ิ ขอ้ มูลผลการนับคะแนน
- ดาเนนิ การแต่งตัง้ ผู้ดารงตาแหนง่
- พ้นจากตาแหนง่
๒) กรณี ผู้บริหารท้องถิน่ /สมาชิกสภาท้องถิน่ มาจากวาระ คสช.
- แตง่ ตง้ั (ผู้บริหารทอ้ งถนิ่ รองนายก เลขานกุ ารนายก ท่ีปรึกษานายก) ในวาระการแต่งต้ัง
แบบพเิ ศษ
- แต่งต้ัง (สมาชิกสภาท้องถิ่น ประธานสภา รองประธานสภา เลขานุการสภา) ในวาระ
การแตง่ ตงั้ แบบพเิ ศษ
๓) พ้นจากตาแหนง่
(๔) ผลการดาเนนิ งานปที ผี่ า่ นมา
จดั เกบ็ ข้อมลู ผบู้ ริหารท้องถนิ่ และสมาชกิ สภาท้องถนิ่ ดังนี้
๑) องค์การบริหารส่วนตาบล จานวน ๕,๓๐๐ แห่ง แยกเป็นนายกองค์การบริหารส่วนตาบล
๔,๖๒๘ คน (ปลัดปฏบิ ตั ิหนา้ ทน่ี ายก จานวน ๖๗๒ คน) และสมาชกิ สภาองค์การบรหิ ารสว่ นตาบล จานวน ๑๐๓,๑๓๔ คน
๒) องค์การบริหารส่วนจังหวัดจานวน ๗๖ แห่ง แยกเป็นนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด
จานวน ๗๖ คน และสมาชกิ สภาองค์การบริหารส่วนจงั หวัด จานวน ๒,๓๑๖ คน