The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

อ้างอิงจากศูนย์เผยแผ่ส่วนกลาง วัดนาป่าพง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by buddhawajanalanna, 2020-04-29 08:53:56

พุทธวจน 17 จิต มโน วิญญาณ

อ้างอิงจากศูนย์เผยแผ่ส่วนกลาง วัดนาป่าพง

Keywords: หนังสือพุทธวจน

เปดิ ธรรมที่ถกู ปดิ : จติ มโน วญิ ญาณ

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  ถา้ มรี าคะ มนี นั ทิ มตี ณั หา ในอาหาร
คือวิญญาณแล้ว วิญญาณก็ต้ังอยู่ได้ เจริญงอกงามอยู่ได้
ในอาหารคอื วญิ ญาณน้ัน …

ภิกษุทั้งหลาย  เปรียบเหมือนเรือนยอดหรือศาลา
เรือนยอด มีหน้าต่างทางทิศตะวันออกอันเปิดไปทาง
ทศิ เหนอื หรอื ทศิ ใตก้ ต็ าม  เมอ่ื ดวงอาทติ ยข์ น้ึ มา แสงสวา่ ง 
(รสมฺ )ิ  แหง่ ดวงอาทติ ยส์ อ่ งเขา้ ไปทางหนา้ ตา่ งแลว้ จะปรากฏ
อยู่ที่สว่ นไหนแห่งเรอื นนน้ั .

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ จะปรากฏที่ฝาเรือน ด้านทิศตะวันตก
พระเจา้ ข้า.

ภิกษุท้ังหลาย  ถ้าฝาเรือนด้านทิศตะวันตกไม่มี
แสงสวา่ งแหง่ ดวงอาทติ ย์นั้น จะปรากฏทไ่ี หน.

ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ จะปรากฏท่พี ืน้ ดนิ พระเจ้าขา้ .

ภิกษุท้ังหลาย  ถ้าพื้นดินไม่มี  แสงสว่างแห่ง
ดวงอาทติ ยน์ ัน้ จะปรากฏทีไ่ หน.

ข้าแตพ่ ระองค์ผู้เจริญ จะปรากฏในนำ้ � พระเจ้าข้า.

ภกิ ษทุ งั้ หลาย  ถา้ น�ำ้ ไมม่ ี แสงสวา่ งแหง่ ดวงอาทติ ยน์ น้ั
จะปรากฏท่ไี หน.

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ แสงสว่างแห่งดวงอาทิตย์นั้น ย่อมเป็น
ส่ิงที่ไม่ปรากฏแลว้ พระเจ้าข้า.

33

พุทธวจน - หมวดธรรม

ภิกษุทั้งหลาย  ข้อนี้ก็ฉันนั้น ถ้าไม่มีราคะ ไม่มี
นนั ทิ ไมม่ ตี ณั หา ในอาหารคอื ค�ำ ขา้ วแลว้ วญิ ญาณกต็ ง้ั อยู่
ไม่ได้ เจริญงอกงามไม่ได้ในอาหารคือคำ�ข้าวนั้น วิญญาณ
ต้ังอยู่ไม่ได้ เจริญงอกงามไม่ได้ในที่ใด การก้าวลงแห่ง
นามรูปก็ไม่มีในที่นั้น การก้าวลงแห่งนามรูปไม่มีในท่ีใด
ความเจริญแห่งสังขารท้ังหลายก็ไม่มีในท่ีนั้น ความเจริญ
แห่งสังขารท้ังหลายไม่มีในที่ใด การเกิดในภพใหม่ต่อไปก็
ไม่มีในท่นี ้ัน การเกิดในภพใหม่ตอ่ ไปไมม่ ีในทใี่ ด ชาติ ชรา
และมรณะตอ่ ไปกไ็ มม่ ใี นทนี่ น้ั ชาติ ชราและมรณะตอ่ ไปไมม่ ี
ในทใี่ ด เราเรยี กทนี่ นั้ วา่ เปน็ ทไี่ มม่ คี วามโศก ไมม่ ธี ลุ ี และ
ไมม่ คี วามคับแค้น.

ภิกษุทั้งหลาย  ถ้าไม่มีราคะ ไม่มีนันทิ ไม่มีตัณหา
ในอาหารคอื ผสั สะแลว้ วญิ ญาณกต็ ง้ั อยไู่ มไ่ ด้ เจรญิ งอกงาม
ไมไ่ ดใ้ นอาหารคอื ผสั สะนน้ั วญิ ญาณตง้ั อยไู่ มไ่ ด้ เจรญิ งอกงาม
ไมไ่ ดใ้ นทใ่ี ด การกา้ วลงแห่งนามรูป กไ็ มม่ ใี นที่นน้ั …

ภิกษุท้ังหลาย  ถ้าไม่มีราคะ ไม่มีนันทิ ไม่มีตัณหา
ในอาหารคือมโนสัญเจตนาแล้ว วิญญาณก็ต้ังอยู่ไม่ได้
เจรญิ งอกงามไมไ่ ดใ้ นอาหารคอื มโนสญั เจตนานน้ั วญิ ญาณ
ตง้ั อยไู่ มไ่ ด้ เจรญิ งอกงามไมไ่ ดใ้ นทใ่ี ด การกา้ วลงแหง่ นามรปู
กไ็ มม่ ใี นที่นั้น …

34

เปดิ ธรรมที่ถูกปดิ : จติ มโน วญิ ญาณ

ภิกษุท้ังหลาย  ถ้าไม่มีราคะ ไม่มีนันทิ ไม่มีตัณหา
ในอาหารคือวิญญาณแล้ว วิญญาณก็ต้ังอยู่ไม่ได้ เจริญ
งอกงามไมไ่ ดใ้ นอาหารคอื วญิ ญาณนนั้ วญิ ญาณตงั้ อยไู่ มไ่ ด้
เจริญงอกงามไม่ได้ในที่ใด การก้าวลงแห่งนามรูปก็ไม่มีใน
ที่นั้น การก้าวลงแห่งนามรูปไม่มีในท่ีใด ความเจริญแห่ง
สงั ขารทงั้ หลายกไ็ มม่ ใี นทน่ี น้ั ความเจรญิ แหง่ สงั ขารทง้ั หลาย
ไมม่ ใี นทใี่ ด การเกดิ ในภพใหมต่ อ่ ไปกไ็ มม่ ใี นทนี่ นั้ การเกดิ
ในภพใหมต่ อ่ ไปไมม่ ใี นทใี่ ด ชาติ ชราและมรณะตอ่ ไปกไ็ มม่ ี
ในทน่ี นั้ ชาติ ชราและมรณะตอ่ ไปไมม่ ใี นทใี่ ด เราเรยี กทนี่ นั้
ว่า เป็นท่ไี ม่มีความโศก ไม่มธี ลุ ี และไมม่ คี วามคับแคน้ .

35

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี กู ปิด : จิต มโน วญิ ญาณ
11
รายละเอยี ดของนามรปู

-บาลี นทิ าน. ส.ํ ๑๖/๕๑/๘๙.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  กน็ ามรปู เปน็ อยา่ งไร เวทนา สญั ญา
เจตนา ผสั สะ มนสิการ น้ีเรยี กว่านาม  มหาภูตทัง้ ส่ีดว้ ย
รปู ทอ่ี าศยั มหาภตู ทง้ั สด่ี ว้ ย นเ้ี รยี กวา่ รปู   นามนด้ี ว้ ย รปู นด้ี ว้ ย
ยอ่ มมดี ว้ ยอาการอยา่ งน ี้ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  นเี้ รยี กวา่ นามรปู .

ความเกดิ ขน้ึ แหง่ นามรปู ยอ่ มมี เพราะความเกดิ ขนึ้
แห่งวิญญาณ  ความดับแห่งนามรูปย่อมมี เพราะความดับ
แห่งวิญญาณ อริยมรรคอันประกอบดว้ ยองค์ ๘ น้ีน่นั เอง
เป็นข้อปฏิบัติให้ถึงความดับแห่งนามรูป คือ สัมมาทิฏฐิ
สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
สมั มาวายามะ สมั มาสติ สมั มาสมาธ.ิ

36

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทีถ่ ูกปิด : จติ มโน วิญญาณ

รายละเอียดของสังขาร (นัยท่ี ๑) 12

-บาลี นทิ าน. ส.ํ ๑๖/๕๑/๘๙.

ภิกษทุ ้งั หลาย  ก็สังขารท้งั หลายเปน็ อยา่ งไร.
ภิกษุท้งั หลาย  สงั ขารท้งั หลาย ๓ อย่างเหล่านี้ คอื
กายสังขาร (ความปรุงแต่งทางกาย)  วจีสังขาร (ความปรุงแต่ง
ทางวาจา)  จติ ตสงั ขาร (ความปรงุ แตง่ ทางจติ )  ภกิ ษทุ ง้ั หลาย 
เหลา่ น้ีเรยี กวา่ สังขารท้ังหลาย.
ความเกิดขึ้นแห่งสังขารย่อมมี เพราะความเกิดขึ้น
แห่งอวิชชา  ความดับแห่งสังขารย่อมมี เพราะความดับ
แห่งอวิชชา อริยมรรคอันประกอบด้วยองค์ ๘ น้ีน่ันเอง
เป็นข้อปฏิบัติให้ถึงความดับแห่งสังขาร คือ สัมมาทิฏฐิ
สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.

37

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถูกปดิ : จติ มโน วญิ ญาณ
รายละเอียดของสงั ขาร (นยั ที่ ๒) 13

-บาลี ม.ู ม. ๑๒/๕๕๐/๕๐๙.

ขา้ แตพ่ ระแมเ่ จา้   กส็ งั ขารทัง้ หลายเป็นอยา่ งไร.

อาวุโสวิสาขะ  สังขารท้งั หลาย ๓ อย่างเหล่าน้ี คือ
กายสังขาร วจสี งั ขาร จิตตสงั ขาร.

ข้าแต่พระแม่เจ้า  ก็กายสังขารเป็นอย่างไร วจีสังขารเป็น
อยา่ งไร จิตตสงั ขารเป็นอยา่ งไร.

อาวุโสวิสาขะ  ลมหายใจเข้าและลมหายใจออก
เป็นกายสังขาร  วิตกและวิจาร เป็นวจีสังขาร  สัญญา
และเวทนา เป็นจติ ตสงั ขาร

ข้าแต่พระแม่เจ้า  ก็เพราะเหตุอะไร ลมหายใจเข้าและ
ลมหายใจออก จงึ เปน็ กายสงั ขาร  เพราะเหตอุ ะไรวติ กและวจิ าร จงึ เปน็
วจีสังขาร  เพราะเหตุอะไรสัญญาและเวทนา จึงเป็นจิตตสังขาร.

อาวโุ สวสิ าขะ  ลมหายใจเขา้ และลมหายใจออกเหลา่ น้ี
เป็นธรรมมีในกาย เน่ืองด้วยกาย ดังนั้นลมหายใจเข้าและ
ลมหายใจออกจงึ เปน็ กายสงั ขาร  บคุ คลยอ่ มคดิ ยอ่ มพจิ ารณา
ก่อนแล้วจึงเปล่งวาจา ดังน้ันวิตกและวิจารจึงเป็นวจีสังขาร 
สัญญาและเวทนา เป็นธรรมมีในจิต เนื่องด้วยจิต ดังนั้น
สัญญาและเวทนาจึงเป็นจติ ตสงั ขาร. …

(อกี สตู รหน่ึง -บาลี สฬา. ส.ํ ๑๘/๓๖๐/๕๖๐. ก็มีการอธิบาย
โดยนยั เดียวกนั แต่เปน็ การสนทนากันของสาวก.  -ผรู้ วบรวม)

38

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถูกปิด : จติ มโน วญิ ญาณ

รายละเอียดของสงั ขาร (นัยที่ ๓) 14

-บาลี ตกิ . อ.ํ ๒๐/๑๕๓/๔๖๒.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  บคุ คล ๓ จ�ำ พวกน้ี มปี รากฏอยใู่ นโลก
๓ จำ�พวกเป็นอย่างไร.

(1) ภิกษุทั้งหลาย  บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อม
ปรุงแต่งกายสังขารท่ีมีความเบียดเบียน ย่อมปรุงแต่ง
วจสี งั ขารทมี่ คี วามเบยี ดเบยี น ยอ่ มปรงุ แตง่ มโนสงั ขารทม่ี ี
ความเบยี ดเบยี น  ครน้ั เขาท�ำ ความปรงุ แตง่ อยา่ งนแ้ี ลว้ ยอ่ ม
เข้าถึงโลกที่มีความเบียดเบียน ผัสสะท่ีมีความเบียดเบียน
ย่อมถูกต้องเขา ซ่ึงเป็นผู้เข้าถึงโลกท่ีมีความเบียดเบียนนั้น
เขาอันผัสสะที่มีความเบียดเบียนถูกต้องแล้ว ย่อมได้เสวย
เวทนาอนั มคี วามเบยี ดเบยี น เปน็ ทกุ ขโ์ ดยสว่ นเดยี ว ดงั เชน่
พวกสตั ว์นรก.

(2) ภิกษุทั้งหลาย  บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อม
ปรงุ แตง่ กายสงั ขารทไ่ี มม่ คี วามเบยี ดเบยี น ยอ่ มปรงุ แตง่
วจสี งั ขารทไ่ี มม่ คี วามเบยี ดเบยี น ยอ่ มปรงุ แตง่ มโนสงั ขารท่ี
ไมม่ คี วามเบยี ดเบยี น  ครน้ั เขาท�ำ ความปรงุ แตง่ อยา่ งนแ้ี ลว้
ย่อมเข้าถึงโลกท่ีไม่มีความเบียดเบียน ผัสสะที่ไม่มีความ
เบียดเบียน ย่อมถูกต้องเขา ซ่ึงเปน็ ผเู้ ขา้ ถงึ โลกทไ่ี มม่ คี วาม

39

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

เบยี ดเบยี นนน้ั เขาอนั ผสั สะทไ่ี มม่ คี วามเบยี ดเบยี นถกู ตอ้ งแลว้
ย่อมได้เสวยเวทนาอันไม่มีความเบียดเบียน เป็นสุข
โดยสว่ นเดยี ว ดังเช่น พวกเทวดาสุภกณิ หะ.

(3) ภิกษุท้ังหลาย  บุคคลบางคนในโลกน้ี ย่อม
ปรุงแต่งกายสังขารท่ีมีความเบียดเบียนบ้าง ไม่มี
ความเบียดเบียนบ้าง  ย่อมปรุงแต่งวจีสังขารท่ีมีความ
เบยี ดเบยี นบา้ ง ไมม่ คี วามเบยี ดเบยี นบา้ ง  ยอ่ มปรงุ แตง่
มโนสงั ขารทม่ี คี วามเบยี ดเบยี นบา้ ง ไมม่ คี วามเบยี ดเบยี นบา้ ง
คร้ันเขาทำ�ความปรุงแต่งอย่างนี้แล้ว ย่อมเข้าถึงโลกท่ีมี
ความเบียดเบียนบ้าง ไม่มีความเบียดเบียนบ้าง  ผัสสะท่มี ี
ความเบยี ดเบยี นบา้ ง ไมม่ คี วามเบยี ดเบยี นบา้ ง ยอ่ มถกู ตอ้ งเขา
ซึ่งเป็นผู้เข้าถึงโลกท่ีมีความเบียดเบียนบ้าง ไม่มีความ
เบียดเบียนบ้าง เขาอันผัสสะที่มีความเบียดเบียนบ้าง ไม่มี
ความเบยี ดเบยี นบา้ ง ถกู ตอ้ งแลว้ ยอ่ มไดเ้ สวยเวทนาอนั มี
ความเบยี ดเบยี นบา้ ง ไมม่ คี วามเบยี ดเบยี นบา้ ง อนั เปน็ สขุ
และทกุ ขเ์ จอื ปนกนั ดงั เชน่ มนษุ ยท์ งั้ หลาย เทวดาบางพวก
และสตั วพ์ วกวินิบาตบางพวก.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  บคุ คล ๓ จ�ำ พวกเหลา่ นแ้ี ล มปี รากฏ
อยู่ในโลก.

40

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถกู ปดิ : จติ มโน วญิ ญาณ

รายละเอยี ดของสงั ขาร (นยั ท่ี ๔) 15

-บาลี ขนธฺ . ส.ํ ๑๗/๗๔/๑๑๖.

ภิกษุทง้ั หลาย  กส็ งั ขารทง้ั หลายเปน็ อย่างไร.
ภิกษุท้ังหลาย  หมู่แห่งเจตนา ๖ เหล่าน้ี  คือ
สัญเจตนาในรูป  สัญเจตนาในเสียง  สัญเจตนาในกลิ่น
สญั เจตนาในรส สญั เจตนาในโผฏฐพั พะ สญั เจตนาในธรรม 
ภิกษุทั้งหลาย  น้เี รียกว่าสงั ขารท้งั หลาย.
ความเกดิ ขน้ึ แหง่ สงั ขารยอ่ มมี เพราะความเกดิ ขน้ึ
แห่งผัสสะ ความดับแห่งสังขารย่อมมี เพราะความดับ
แห่งผัสสะ อริยมรรคอันประกอบด้วยองค์ ๘ นี้นั่นเอง
เป็นข้อปฏิบัติให้ถึงความดับแห่งสังขาร คือ สัมมาทิฏฐิ
สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
สัมมาวายามะ สัมมาสติ และสมั มาสมาธ.ิ
ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  กส็ มณะหรอื พราหมณเ์ หลา่ ใดเหลา่ หนง่ึ
รชู้ ดั แลว้ ซง่ึ สงั ขารอยา่ งนี้ รชู้ ดั แลว้ ซงึ่ ความเกดิ ขน้ึ แหง่ สงั ขาร
อย่างนี้ รู้ชัดแล้วซึ่งความดับแห่งสังขารอย่างน้ี รู้ชัดแล้วซ่ึง
ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับแห่งสังขารอย่างน้ี แล้วปฏิบัติเพื่อ
ความเบื่อหน่าย เพอ่ื ความคลายก�ำ หนดั เพื่อความดบั แหง่
สังขาร  สมณะหรือพราหมณ์เหล่าน้ัน ชื่อว่าปฏิบัติดีแล้ว
ชนเหล่าใดปฏิบัติดีแล้ว ชนเหล่าน้ันชื่อว่าย่อมหยั่งลงใน
ธรรมวินัยน้.ี

41

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

ภิกษุท้ังหลาย  ก็สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด
เหลา่ หนง่ึ รชู้ ดั แลว้ ซงึ่ สงั ขารอยา่ งนี้ รชู้ ดั แลว้ ซง่ึ ความเกดิ ขน้ึ
แห่งสังขารอย่างน้ี รู้ชัดแล้วซ่ึงความดับแห่งสังขารอย่างน้ี
รชู้ ดั แลว้ ซง่ึ ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ หถ้ งึ ความดบั แหง่ สงั ขารอยา่ งน้ี แลว้ เปน็
ผหู้ ลดุ พน้ เพราะเบอ่ื หนา่ ย เพราะคลายก�ำ หนดั เพราะความดบั
เพราะไมถ่ อื มน่ั ในสงั ขาร สมณะหรอื พราหมณเ์ หลา่ นนั้ ชอื่ วา่
หลดุ พ้นดแี ล้ว สมณะหรอื พราหมณ์เหล่าใด หลดุ พ้นดแี ลว้
สมณะหรอื พราหมณเ์ หลา่ นนั้ เปน็ เกพลี สมณะหรอื พราหมณ์
เหล่าใดเป็นเกพลี วัฏฏะย่อมไม่มีแก่สมณะหรือพราหมณ์
เหล่านน้ั .

(สามารถศกึ ษาเนอ้ื ความเตม็ ของสตู รนไ้ี ดท้ ห่ี นา้ 104.  -ผรู้ วบรวม)

42

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี ูกปดิ : จติ มโน วิญญาณ

รายละเอียดของสงั ขาร (นัยท่ี ๕) 16

-บาลี นทิ าน. ส.ํ ๑๖/๔๖/๘๒.

… สาธุ สาธุ อานนท์  ตามที่สารีบุตรตอบปัญหา
ในลักษณะน้นั ชอ่ื ว่าไดต้ อบโดยชอบ  อานนท ์ เรากลา่ ววา่
สุขและทุกข์เป็นของอาศัยปัจจัยเกิดขึ้น (ปฏิจฺจสมุปฺปนฺน)
สขุ และทกุ ขน์ นั้ อาศยั ปจั จยั อะไรเกดิ ขนึ้   สขุ และทกุ ขอ์ าศยั
ปัจจยั คอื ผัสสะเกดิ ข้นึ   บุคคลผู้กล่าวดงั น้ี จงึ จะชือ่ วา่ เป็น
อนั กลา่ วตามทเี่ รากลา่ วแลว้ ไมก่ ลา่ วตเู่ ราดว้ ยค�ำ ไมจ่ รงิ เปน็ ผู้
พยากรณ์ธรรมสมควรแก่ธรรม และสหธรรมมิกบางคน
ท่ีกล่าวตาม ก็จะไม่พลอยกลายเป็นผู้ควรถูกติไปด้วย 
อานนท์  ในบรรดาสมณพราหมณ์ ท่ีกล่าวสอนเรื่องกรรม
ทง้ั ๔ พวกนนั้ สมณพราหมณท์ กี่ ลา่ วสอนเรอื่ งกรรมพวกใด
ทบ่ี ญั ญตั สิ ขุ และทกุ ขว์ า่ ตนเองท�ำ สขุ และทกุ ขน์ น้ั กย็ อ่ มเกดิ ขน้ึ
เพราะผัสสะเป็นปัจจัย  สมณพราหมณ์ที่กล่าวสอนเร่ือง
กรรมพวกใดทบ่ี ญั ญตั สิ ขุ และทกุ ขว์ า่ ผอู้ นื่ ท�ำ ให้ สขุ และทกุ ข์
นั้นก็ย่อมเกิดข้ึนเพราะผัสสะเป็นปัจจัย  สมณพราหมณ์
ที่กล่าวสอนเร่ืองกรรมพวกใดที่บัญญัติสุขและทุกข์ว่า
ตนเองทำ�ดว้ ย ผูอ้ ืน่ ทำ�ใหด้ ้วย สขุ และทุกขน์ ้ันกย็ อ่ มเกิดขึ้น

43

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

เพราะผัสสะเป็นปัจจัย  สมณพราหมณ์ที่กล่าวสอนเรื่อง
กรรมพวกใดที่บัญญัติสุขและทุกข์ว่าไม่ใช่ตนเองทำ�ด้วย
ไม่ใช่ผู้อ่ืนทำ�ให้ด้วย สุขและทุกข์น้ันก็ย่อมเกิดข้ึนเพราะ
ผสั สะเปน็ ปัจจัย.

อานนท ์ ในบรรดาสมณพราหมณ์ ทก่ี ลา่ วสอนเรอื่ ง
กรรมท้ัง ๔ พวกน้ัน สมณพราหมณ์ท่ีกล่าวสอนเร่ืองกรรม
พวกใดท่ีบัญญัติสุขและทุกข์ว่าตนเองทำ� สมณพราหมณ์
พวกนนั้ ถา้ เวน้ จากผสั สะเสียแลว้ จะรสู้ ึกถึงสุขและทกุ ข์นนั้
ย่อมไม่ใช่ฐานะท่ีจะมีได้  สมณพราหมณ์ท่ีกล่าวสอนเรื่อง
กรรมพวกใดท่ีบัญญัติสุขและทุกข์ว่าผู้อื่นทำ�ให้ ถ้าเว้นจาก
ผัสสะเสียแล้ว จะรู้สึกถึงสุขและทุกข์นั้น ย่อมไม่ใช่ฐานะ
ท่ีจะมีได้  สมณพราหมณ์ที่กล่าวสอนเรื่องกรรมพวกใด
ทบ่ี ญั ญตั สิ ขุ และทกุ ขว์ า่ ตนเองท�ำ ดว้ ย ผอู้ น่ื ท�ำ ใหด้ ว้ ย ถา้ เวน้ จาก
ผัสสะเสียแล้ว จะรู้สึกถึงสุขและทุกข์น้ัน ย่อมไม่ใช่ฐานะ
ท่ีจะมีได้  สมณพราหมณ์ท่ีกล่าวสอนเร่ืองกรรมพวกใดท่ี
บญั ญตั สิ ขุ และทกุ ขว์ า่ ไมใ่ ชต่ นเองท�ำ ดว้ ย ไมใ่ ชผ่ อู้ น่ื ท�ำ ใหด้ ว้ ย
ถา้ เวน้ จากผสั สะเสยี แลว้ จะรสู้ กึ ถงึ สขุ และทกุ ขน์ น้ั ยอ่ มไมใ่ ช่
ฐานะทจ่ี ะมีได.้

44

เปิดธรรมที่ถูกปดิ : จิต มโน วิญญาณ

อานนท ์ เมอ่ื กายมอี ยู่ สขุ และทกุ ขอ์ นั เปน็ ภายใน
ย่อมบังเกิดขึ้น เพราะความจงใจทางกาย (กายสฺเจตนา)
เปน็ เหต ุ อานนท ์ เมอ่ื วาจามอี ยู่ สขุ และทกุ ขอ์ นั เปน็ ภายใน
ย่อมบังเกิดข้ึน เพราะความจงใจทางวาจา (วจีสฺเจตนา) 
เปน็ เหต ุ อานนท ์ เมอ่ื มโนมอี ยู่ สขุ และทกุ ขอ์ นั เปน็ ภายใน
ย่อมบังเกิดข้ึน เพราะความจงใจทางมโน (มโนสฺเจตนา) 
เปน็ เหต.ุ

อานนท ์ เพราะมอี วชิ ชาเปน็ ปจั จยั นน่ั แหละ บคุ คล
ย่อมปรุงแต่งกายสังขาร ซ่ึงเป็นปัจจัยให้สุขและทุกข์อัน
เปน็ ภายในเกดิ ขน้ึ ดว้ ยตนเองบา้ ง  ยอ่ มปรงุ แตง่ กายสงั ขาร
ซง่ึ เปน็ ปจั จยั ใหส้ ขุ และทกุ ขอ์ นั เปน็ ภายในเกดิ ขน้ึ โดยผอู้ น่ื บา้ ง 
ย่อมปรุงแต่งกายสังขารซ่ึงเป็นปัจจัยให้สุขและทุกข์อัน
เปน็ ภายในเกดิ ขน้ึ โดยรสู้ กึ ตวั บา้ ง  ยอ่ มปรงุ แตง่ กายสงั ขาร
ซึ่งเป็นปัจจัยให้สุขและทุกข์อันเป็นภายในเกิดข้ึนโดยไม่
ร้สู ึกตัวบ้าง.

อานนท ์ เพราะมอี วชิ ชาเปน็ ปจั จยั นน่ั แหละ บคุ คล
ย่อมปรุงแต่งวจีสังขาร ซึ่งเป็นปัจจัยให้สุขและทุกข์อัน
เป็นภายในเกิดข้ึนด้วยตนเองบ้าง  ย่อมปรุงแต่งวจีสังขาร
ซง่ึ เปน็ ปจั จยั ใหส้ ขุ และทกุ ขอ์ นั เปน็ ภายในเกดิ ขน้ึ โดยผอู้ น่ื บา้ ง 

45

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

ย่อมปรุงแต่งวจีสังขารซ่ึงเป็นปัจจัยให้สุขและทุกข์อัน
เป็นภายในเกิดข้นึ โดยร้สู ึกตัวบ้าง  ย่อมปรุงแต่งวจีสังขาร
ซ่ึงเป็นปัจจัยให้สุขและทุกข์อันเป็นภายในเกิดข้ึนโดยไม่
รสู้ กึ ตวั บา้ ง.

อานนท ์ เพราะมอี วชิ ชาเปน็ ปจั จยั นนั่ แหละ บคุ คล
ย่อมปรุงแต่งมโนสังขาร ซ่ึงเป็นปัจจัยให้สุขและทุกข์อัน
เปน็ ภายในเกดิ ขน้ึ ดว้ ยตนเองบา้ ง  ยอ่ มปรงุ แตง่ มโนสงั ขาร
ซง่ึ เปน็ ปจั จยั ใหส้ ขุ และทกุ ขอ์ นั เปน็ ภายในเกดิ ขน้ึ โดยผอู้ น่ื บา้ ง 
ยอ่ มปรุงแต่งมโนสังขารซง่ึ เป็นปัจจยั ให้สุขและทุกข์อนั เปน็
ภายในเกิดข้ึนโดยรู้สึกตัวบ้าง  ย่อมปรุงแต่งมโนสังขาร
ซึ่งเป็นปัจจัยให้สุขและทุกข์อันเป็นภายในเกิดข้ึนโดยไม่
รู้สึกตัวบ้าง.

อานนท ์ อวชิ ชาแทรกอยูแ่ ล้วในธรรมเหลา่ น.ี้
อานนท์  เพราะความจางคลายดับไปโดยไม่เหลือ
แห่งอวิชชาน้ันนั่นเทียว กายซ่ึงเป็นปัจจัยให้สุขและทุกข์
อันเป็นภายในเกิดขึ้นจึงไม่มี  วาจาซึ่งเป็นปัจจัยให้สุขและ
ทุกข์อันเป็นภายในเกิดข้ึนจึงไม่มี  มโนซึ่งเป็นปัจจัยให้สุข
และทกุ ขอ์ นั เปน็ ภายในเกดิ ขน้ึ จงึ ไมม่  ี เขต (ผนื นาส�ำ หรบั งอก) 
ซ่ึงเป็นปัจจัยให้สุขและทุกข์อันเป็นภายในเกิดขึ้นจึงไม่มี 

46

เปิดธรรมที่ถกู ปดิ : จิต มโน วิญญาณ

วัตถุ (พืชเพ่ือการงอก) ซึ่งเป็นปัจจัยให้สุขและทุกข์อันเป็น
ภายในเกดิ ขนึ้ จงึ ไมม่  ี อายตนะ (การสมั พนั ธเ์ พอื่ ใหเ้ กดิ การงอก) 
ซึ่งเป็นปัจจัยให้สุขและทุกข์อันเป็นภายในเกิดข้ึนจึงไม่มี 
หรืออธิกรณ์ (เคร่ืองกระทำ�ให้เกิดการงอก) ซ่ึงเป็นปัจจัยให้สุข
และทกุ ขอ์ นั เป็นภายในเกิดข้นึ จึงไม่ม.ี

อกี สตู รหนง่ึ -บาลี จตกุ กฺ . อ.ํ ๒๑/๒๑๓/๑๗๑. ไดต้ รสั กบั
ภกิ ษทุ ง้ั หลาย โดยมขี อ้ ความช่วงท้าย ต่างออกไปดังน้ี.

ภิกษุทั้งหลาย  ความได้อัตภาพ ๔ ประการน้ี  ๔
ประการเปน็ อยา่ งไร  คอื ความไดอ้ ตั ภาพทสี่ ญั เจตนาของตน
เปน็ ไป ไมใ่ ชส่ ญั เจตนาของผอู้ น่ื เปน็ ไปกม็  ี ความไดอ้ ตั ภาพ
ทส่ี ญั เจตนาของผอู้ น่ื เปน็ ไป ไมใ่ ชส่ ญั เจตนาของตนเปน็ ไปกม็  ี
ความไดอ้ ตั ภาพทส่ี ญั เจตนาของตนดว้ ย สญั เจตนาของผอู้ น่ื
ดว้ ยเป็นไปก็ม ี ความไดอ้ ัตภาพทีส่ ญั เจตนาของตนกไ็ มใ่ ช่
สญั เจตนาของผอู้ น่ื กไ็ มใ่ ชเ่ ปน็ ไปกม็  ี ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  ความได้
อัตภาพ ๔ ประการนี้แล.

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ  ธรรมที่พระผู้มีพระภาคตรัสโดยย่อน้ี
ขา้ พระองคท์ ราบชดั เนอ้ื ความโดยพสิ ดารอยา่ งนว้ี า่ บรรดาความไดอ้ ตั ภาพ
๔ ประการนนั้ ความไดอ้ ตั ภาพทสี่ ญั เจตนาของตนเปน็ ไป ไมใ่ ชส่ ญั เจตนา
ของผอู้ ่นื เป็นไปนี้ คือ การจตุ ิจากกายนนั้ ของสัตว์เหล่านัน้ ยอ่ มมี เพราะ
สัญเจตนาของตนเป็นเหต ุ ความไดอ้ ตั ภาพท่สี ญั เจตนาของผอู้ ่นื เป็นไป

47

พุทธวจน - หมวดธรรม
ไมใ่ ชส่ ญั เจตนาของตนเปน็ ไปน้ี คอื การจตุ จิ ากกายนนั้ ของสตั วเ์ หลา่ นนั้
ย่อมมี เพราะสัญเจตนาของผู้อ่ืนเป็นเหตุ  ความได้อัตภาพท่ีสัญเจตนา
ของตนด้วย สัญเจตนาของผู้อื่นด้วยเป็นไปน้ี คือ การจุติจากกายน้ัน
ของสตั วเ์ หลา่ นนั้ ยอ่ มมี เพราะสญั เจตนาของตนและสญั เจตนาของผอู้ นื่
เป็นเหตุ  ความได้อัตภาพท่ีสัญเจตนาของตนเป็นไปก็ไม่ใช่ สัญเจตนา
ของผู้อื่นเป็นไปก็ไม่ใช่น้ี จะพึงเห็นเทวดาทั้งหลายด้วยอัตภาพน้ันเป็น
อยา่ งไร พระเจ้าขา้ .

สารบี ตุ ร  พงึ เหน็ เทวดาทง้ั หลายผเู้ ขา้ ถงึ เนวสญั ญา-
นาสัญญายตนะด้วยอัตภาพน้นั . …

48

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี ูกปดิ : จิต มโน วญิ ญาณ

17วญิ ญาณฐติ ิ (ท่ีตั้งอยู่ของวิญญาณ)

-บาลี ขนธฺ . ส.ํ ๑๗/๖๗/๑๐๖.

ภิกษุทั้งหลาย  ส่ิงท่ีใช้เป็นพืชมี ๕ อย่างเหล่าน้ี
๕ อยา่ งอะไรบา้ ง คอื พชื จากเหงา้ หรอื ราก (มลู พชี )  พชื จากตน้  
(ขนธฺ พชี )  พชื จากตาหรอื ผล (ผลพชี )  พชื จากยอด (อคคฺ พชี )
พชื จากเมล็ด (พชี พชี ).

ภิกษุทั้งหลาย  ถ้าสิ่งท่ีใช้เป็นพืช ๕ อย่างเหล่าน้ี
ท่ไี ม่ถกู ท�ำลาย ยงั ไมเ่ นา่ เปื่อย ยังไมแ่ หง้ เพราะลมและแดด
ยังมีเช้ืองอกบริบูรณ์อยู่ และอันบุคคลเก็บไว้ด้วยดี แต่ดิน
และนำ้� ไมม่  ี ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  สงิ่ ทใี่ ชเ้ ปน็ พชื ๕ อยา่ งเหลา่ นนั้
จะพึงเจริญงอกงามไพบูลยไ์ ดไ้ หม.

ไม่ได้ พระเจ้าข้า.

ภิกษุท้ังหลาย  ถ้าส่ิงที่ใช้เป็นพืช ๕ อย่างเหล่าน้ี
ทไี่ มถ่ ูกท�ำ ลาย ยังไมเ่ น่าเปอื่ ย ยงั ไมแ่ หง้ เพราะลมและแดด
ยังมีเช้ืองอกบริบูรณ์อยู่ และอันบุคคลเก็บไว้ด้วยดี ทั้งดิน
และน�ำ้ กม็ ดี ว้ ย  ภกิ ษทุ ง้ั หลาย สง่ิ ทใ่ี ชเ้ ปน็ พชื ๕ อยา่ งเหลา่ นน้ั
จะพงึ เจรญิ งอกงามไพบลู ยไ์ ดไ้ หม.

ได้ พระเจา้ ขา้ .

49

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

ภิกษุท้ังหลาย  วิญญาณฐิติ ๔ อย่าง (รูป เวทนา
สัญญา สงั ขาร) พึงเหน็ ว่าเหมือนกบั ดิน.

ภกิ ษทุ งั้ หลาย  นนั ทริ าคะ (ความก�ำ หนดั ดว้ ยอ�ำ นาจแหง่
ความเพลนิ ) พงึ เหน็ วา่ เหมอื นกบั น้าํ .

ภิกษุท้ังหลาย  วิญญาณ  ซ่ึงประกอบด้วยปัจจัย 
พึงเห็นว่าเหมือนกบั พชื สดท้ัง ๕ น้ัน.

ภิกษุท้ังหลาย  วิญญาณ ซ่ึงเข้าถือเอารูป ต้ังอยู่
กต็ ง้ั อยไู่ ด้ เปน็ วญิ ญาณทม่ี รี ปู เปน็ อารมณ์ มรี ปู เปน็ ทตี่ ง้ั อาศยั
มีนันทิเป็นที่เข้าไปซ่องเสพ ก็ถึงความเจริญ งอกงาม
ไพบูลย์ได้.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  วญิ ญาณ ซงึ่ เขา้ ถอื เอาเวทนา ตงั้ อยู่
ก็ต้ังอยู่ได้  เป็นวิญญาณที่มีเวทนาเป็นอารมณ์ มีเวทนา
เปน็ ทต่ี ง้ั อาศยั มนี นั ทเิ ปน็ ทเี่ ขา้ ไปซอ่ งเสพ กถ็ งึ ความเจรญิ
งอกงาม ไพบูลย์ได.้

ภิกษุทั้งหลาย  วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอาสัญญา
ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้ เป็นวิญญาณที่มีสัญญาเป็นอารมณ์
มีสัญญาเป็นที่ต้ังอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปซ่องเสพ ก็ถึง
ความเจริญ งอกงาม ไพบูลยไ์ ด้.

50

เปิดธรรมที่ถูกปดิ : จติ มโน วญิ ญาณ

ภกิ ษทุ งั้ หลาย  วญิ ญาณ ซง่ึ เขา้ ถอื เอาสงั ขาร ตัง้ อยู่
ก็ตั้งอยู่ได้ เป็นวิญญาณที่มีสังขารเป็นอารมณ์ มีสังขาร
เปน็ ทต่ี ง้ั อาศยั มนี นั ทเิ ปน็ ทเ่ี ขา้ ไปซอ่ งเสพ กถ็ งึ ความเจรญิ
งอกงาม ไพบลู ย์ได้.

ภิกษุท้ังหลาย  ผู้ใดจะพึงกล่าวอย่างน้ีว่า เราจัก
บญั ญตั ซิ ง่ึ การมา การไป การจตุ  ิ(การตาย) การอบุ ตั  ิ(การเกดิ )
ความเจรญิ ความงอกงาม และความไพบลู ยข์ องวญิ ญาณ
โดยเวน้ จากรปู เวน้ จากเวทนา เวน้ จากสญั ญา และเวน้ จาก
สงั ขาร ดงั นน้ี น้ั นี่ไมใ่ ช่ฐานะทจ่ี ะมไี ดเ้ ลย.

ภิกษุท้ังหลาย  ถ้าราคะในรูปธาตุ ในเวทนาธาตุ
ในสญั ญาธาตุ ในสงั ขารธาตุ ในวญิ ญาณธาตุ เปน็ สง่ิ ทภ่ี กิ ษลุ ะ
ได้แล้ว (ราโค ปหโี น) เพราะละราคะน้นั ได้ อารมณส์ ำ�หรบั
วิญญาณก็ขาดลง ที่ต้ังของวิญญาณก็ไม่มี วิญญาณอัน
ไมม่ ที ตี่ ง้ั นนั้ กไ็ มง่ อกงาม หลดุ พน้ ไป เพราะไมถ่ กู ปรงุ แตง่
เพราะหลุดพ้นไป ก็ตั้งมั่น (ิต) เพราะตั้งมั่น ก็ยินดี
ในตนเอง (สนฺตุสิต) เพราะยินดีในตนเอง ก็ไม่หว่ันไหว 
(น ปรติ สสฺ ต)ิ เมอ่ื ไมห่ วน่ั ไหว กป็ รนิ พิ พานเฉพาะตนนน่ั เทยี ว
เธอย่อมรู้ชัดว่า ชาติส้ินแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจท่ี
ควรทำ�ได้เสร็จแล้ว กิจอ่นื ท่จี ะต้องทำ�เพ่อื ความเป็นอย่างน้ี
ไมไ่ ดม้ อี กี .

51

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถูกปิด : จิต มโน วิญญาณ

อารมณเ์ พ่ือการต้ังอยู่แหง่ วิญญาณ 18

(นยั ท่ี ๑)

-บาลี นทิ าน. ส.ํ ๑๖/๘๐/๑๔๙.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  ถา้ บคุ คลยอ่ มคดิ  (เจเตต)ิ  ถงึ สงิ่ ใดอยู่
ยอ่ มด�ำ ร ิ(ปกปเฺ ปต)ิ  ถงึ สง่ิ ใดอยู่ และยอ่ มมจี ติ ฝงั ลงไป (อนเุ สต)ิ  
ในสิ่งใดอยู่ ส่ิงนั้นย่อมเป็นอารมณ์เพ่ือการตั้งอยู่แห่ง
วญิ ญาณ  เมอ่ื อารมณม์ อี ยู่ ความตง้ั ขน้ึ เฉพาะแหง่ วญิ ญาณ
ย่อมมี  เม่ือวิญญาณน้ันต้ังข้ึนเฉพาะ เจริญงอกงามแล้ว
เครอ่ื งน�ำ ไปสภู่ พใหม ่(นต)ิ  ยอ่ มม ี เมอ่ื เครอ่ื งน�ำ ไปสภู่ พใหมม่ ี
การมาการไป (อาคตคิ ต)ิ  ยอ่ มม ี เมอ่ื การมาการไปมี การเคลอ่ื น
และการบงั เกดิ ยอ่ มม ี เมอ่ื การเคลอ่ื นและการบงั เกดิ มี ชาติ
ชรามรณะ โสกะปริเทวะ ทุกขะโทมนัสอุปายาสะทั้งหลาย
จึงเกิดขึ้นครบถ้วนต่อไป ความเกิดข้ึนพร้อมแห่งกองทุกข์
ทั้งสน้ิ นี้ ยอ่ มมดี ้วยอาการอยา่ งนี.้

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  ถา้ บคุ คลยอ่ มไมค่ ดิ ถงึ สง่ิ ใด ยอ่ มไม่
ดำ�ริถึงส่ิงใด แต่เขายังมีจิตฝังลงไปในส่ิงใดอยู่ ส่ิงนั้นย่อม
เป็นอารมณ์เพื่อการต้ังอยู่แห่งวิญญาณ  เมื่ออารมณ์มีอยู่
ความตั้งขึ้นเฉพาะแห่งวิญญาณย่อมมี เม่ือวิญญาณน้ัน
ตง้ั ขนึ้ เฉพาะ เจรญิ งอกงามแลว้ เครอ่ื งน�ำ ไปสภู่ พใหมย่ อ่ มม ี

52

เปดิ ธรรมท่ีถกู ปดิ : จติ มโน วญิ ญาณ

เมอื่ เครอ่ื งน�ำ ไปสภู่ พใหมม่ ี การมาการไปยอ่ มม ี เมอื่ การมา
การไปมี การเคล่ือนและการบังเกิดย่อมมี  เมือ่ การเคลอื่ น
และการบงั เกดิ มี ชาติ ชรามรณะ โสกะปรเิ ทวะ ทกุ ขะโทมนสั
อปุ ายาสะทง้ั หลายจงึ เกดิ ขน้ึ ครบถว้ นตอ่ ไป ความเกดิ ขน้ึ พรอ้ ม
แหง่ กองทกุ ข์ท้งั ส้นิ น้ี ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  กถ็ า้ วา่ บคุ คลยอ่ มไมค่ ดิ ถงึ สงิ่ ใดดว้ ย
ยอ่ มไมด่ �ำ รถิ งึ สง่ิ ใดดว้ ย และยอ่ มไมม่ จี ติ ฝงั ลงไปในสง่ิ ใดดว้ ย
ในกาลใด ในกาลนนั้ สงิ่ นน้ั ยอ่ มไมเ่ ปน็ อารมณเ์ พอื่ การตง้ั อยู่
แหง่ วญิ ญาณไดเ้ ลย  เมอ่ื อารมณไ์ มม่ ี ความตง้ั ขน้ึ เฉพาะแหง่
วญิ ญาณยอ่ มไมม่  ี เมอ่ื วญิ ญาณนน้ั ไมต่ ง้ั ขน้ึ เฉพาะ ไมเ่ จรญิ
งอกงามแลว้ เครอ่ื งน�ำ ไปสภู่ พใหมย่ อ่ มไมม่  ี เมอ่ื เครอ่ื งน�ำ ไปสู่
ภพใหมไ่ มม่ ี การมาการไปยอ่ มไมม่  ี เมอื่ การมาการไปไมม่ ี
การเคลื่อนและการบังเกิดย่อมไม่มี  เม่ือการเคล่ือนและ
การบงั เกดิ ไมม่ ี ชาติ ชรามรณะ โสกะปรเิ ทวะ ทกุ ขะโทมนสั
อปุ ายาสะทง้ั หลายตอ่ ไปจงึ ดบั สนิ้ ความดบั ลงแหง่ กองทกุ ข์
ทง้ั สิ้นนี้ ย่อมมดี ว้ ยอาการอยา่ งนี้ ดังน้แี ล.

53

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี ูกปดิ : จิต มโน วิญญาณ

อารมณ์เพอื่ การต้งั อยูแ่ หง่ วญิ ญาณ 19

(นยั ที่ ๒)

-บาลี นทิ าน. ส.ํ ๑๖/๗๙/๑๔๗.

ภิกษุทั้งหลาย  ถ้าบุคคลย่อมคิดถึงส่ิงใดอยู่ ย่อม
ดำ�ริถึงส่งิ ใดอยู่ และย่อมมีจิตฝังลงไป ในส่งิ ใดอยู่ ส่งิ น้นั
ยอ่ มเปน็ อารมณเ์ พอ่ื การตง้ั อยแู่ หง่ วญิ ญาณ  เมอ่ื อารมณม์ อี ยู่
ความต้ังข้ึนเฉพาะแห่งวิญญาณย่อมมี  เมื่อวิญญาณนั้น
ตั้งขึ้นเฉพาะ เจริญงอกงามแล้ว การก้าวลงแห่งนามรูป 
(นามรูปสฺส อวกฺกนฺติ) ย่อมมี  เพราะมีนามรูปเป็นปัจจัย
จึงมีสฬายตนะ  เพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ 
เพราะมผี สั สะเปน็ ปจั จยั จงึ มเี วทนา  เพราะมเี วทนาเปน็ ปจั จยั
จงึ มตี ณั หา  เพราะมตี ณั หาเปน็ ปจั จยั จงึ มอี ปุ าทาน  เพราะมี
อปุ าทานเปน็ ปจั จยั จงึ มภี พ  เพราะมภี พเปน็ ปจั จยั จงึ มชี าต ิ
เพราะมีชาติเป็นปัจจัย ชรามรณะ โสกะปริเทวะ ทุกขะ
โทมนสั อปุ ายาสะทง้ั หลาย จงึ เกดิ ขน้ึ ครบถว้ น ความเกดิ ขน้ึ
พรอ้ มแหง่ กองทกุ ขท์ ง้ั สน้ิ น้ี ยอ่ มมดี ว้ ยอาการอยา่ งน.้ี

ภกิ ษทุ งั้ หลาย  ถา้ บคุ คลยอ่ มไมค่ ดิ ถงึ สง่ิ ใด ยอ่ มไม่
ดำ�ริถึงสิ่งใด แต่เขายังมีจิตฝังลงไปในสิ่งใดอยู่ ส่ิงน้ันย่อม
เป็นอารมณ์เพื่อการตั้งอยู่แห่งวิญญาณ  เม่ืออารมณ์มีอยู่

54

เปิดธรรมทีถ่ ูกปดิ : จิต มโน วิญญาณ

ความต้ังขึ้นเฉพาะแห่งวิญญาณย่อมมี  เม่ือวิญญาณนั้น
ตง้ั ขนึ้ เฉพาะ เจรญิ งอกงามแลว้ การกา้ วลงแหง่ นามรปู ยอ่ มม ี
เพราะมนี ามรปู เปน็ ปจั จยั จงึ มสี ฬายตนะ … ความเกดิ ขน้ึ พรอ้ ม
แห่งกองทุกข์ท้ังส้ินนี้ ยอ่ มมดี ว้ ยอาการอยา่ งน.ี้

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  กถ็ า้ วา่ บคุ คลยอ่ มไมค่ ดิ ถงึ สง่ิ ใดดว้ ย
ยอ่ มไมด่ �ำ รถิ งึ สง่ิ ใดดว้ ย และยอ่ มไมม่ จี ติ ฝงั ลงไปในสง่ิ ใดดว้ ย
ในกาลใด  ในกาลนน้ั สง่ิ นน้ั ยอ่ มไมเ่ ปน็ อารมณเ์ พอ่ื การตง้ั อยู่
แหง่ วญิ ญาณไดเ้ ลย  เมอื่ อารมณไ์ มม่ ี ความตง้ั ขน้ึ เฉพาะแหง่
วญิ ญาณยอ่ มไมม่  ี เมอ่ื วญิ ญาณนน้ั ไมต่ งั้ ขนึ้ เฉพาะ ไมเ่ จรญิ
งอกงามแลว้ การกา้ วลงแหง่ นามรปู ยอ่ มไมม่  ี เพราะมคี วามดบั
แหง่ นามรปู จงึ มคี วามดบั แหง่ สฬายตนะ  เพราะมคี วามดบั
แห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ  เพราะมีความดับ
แห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา  เพราะมีความดับแห่ง
เวทนา จงึ มคี วามดบั แหง่ ตณั หา  เพราะมคี วามดบั แหง่ ตณั หา
จึงมีความดับแห่งอุปาทาน  เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน
จงึ มคี วามดบั แหง่ ภพ  เพราะมคี วามดบั แหง่ ภพ จงึ มคี วามดบั
แหง่ ชาต ิ เพราะมคี วามดบั แหง่ ชาตนิ น่ั แล ชรามรณะ โสกะ
ปรเิ ทวะ ทกุ ขะโทมนสั อปุ ายาสะทง้ั หลาย จงึ ดบั สน้ิ   ความดบั ลง
แหง่ กองทุกข์ทง้ั ส้นิ นี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้ ดังน้แี ล.

55

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถกู ปดิ : จติ มโน วิญญาณ

อารมณ์เพือ่ การตั้งอยแู่ ห่งวิญญาณ 20

(นัยท่ี ๓)

-บาลี นทิ าน. ส.ํ ๑๖/๗๘/๑๔๕.

ภิกษุท้ังหลาย  ถ้าบุคคลย่อมคิดถึงส่ิงใดอยู่ ย่อม
ดำ�ริถึงสิ่งใดอยู่  และย่อมมีจิตฝังลงไปในสิ่งใดอยู่ ส่ิงนั้น
ยอ่ มเปน็ อารมณเ์ พอ่ื การตง้ั อยแู่ หง่ วญิ ญาณ  เมอ่ื อารมณม์ อี ย ู่
ความต้ังขึ้นเฉพาะแห่งวิญญาณย่อมมี  เมื่อวิญญาณน้ัน
ต้ังข้ึนเฉพาะ เจริญงอกงามแล้ว  การเกิดข้ึนแห่งภพใหม่
ตอ่ ไป (ปนุ พภฺ วาภนิ พิ พฺ ตตฺ )ิ  ยอ่ มม ี เมอ่ื การเกดิ ขน้ึ แหง่ ภพใหม่
ตอ่ ไปมอี ย ู่ ชาติ ชรามรณะ โสกะปรเิ ทวะ ทกุ ขะโทมนสั อปุ ายาสะ
ท้ังหลายจึงเกิดข้ึนครบถ้วนต่อไป ความเกิดข้ึนพร้อมแห่ง
กองทุกขท์ ง้ั ส้ินน้ี ย่อมมดี ้วยอาการอย่างน.้ี

ภิกษุท้ังหลาย  ถ้าบุคคลย่อมไม่คิดถึงส่ิงใด ย่อม
ไมด่ �ำ รถิ งึ สง่ิ ใด  แตเ่ ขายงั มจี ติ ฝงั ลงไปในสงิ่ ใดอย ู่ สง่ิ นนั้
ยอ่ มเปน็ อารมณเ์ พอ่ื การตง้ั อยแู่ หง่ วญิ ญาณ  เมอ่ื อารมณม์ อี ยู่
ความตั้งข้ึนเฉพาะแห่งวิญญาณย่อมมี  เมื่อวิญญาณนั้น
ต้ังข้ึนเฉพาะ เจริญงอกงามแล้ว การเกิดขึ้นแห่งภพใหม่
ตอ่ ไปยอ่ มม ี เมอ่ี การเกดิ ขน้ึ แหง่ ภพใหมต่ อ่ ไปมอี ย ู่ ชาติ ชรา
มรณะ โสกะปรเิ ทวะ ทกุ ขะโทมนสั อปุ ายาสะทง้ั หลายจงึ เกดิ ขน้ึ
ครบถ้วนต่อไป  ความเกิดข้ึนพร้อมแห่งกองทุกข์ท้ังส้ินน้ี
ยอ่ มมดี ้วยอาการอยา่ งน.ี้

56

เปิดธรรมท่ถี ูกปดิ : จิต มโน วญิ ญาณ

ภกิ ษทุ งั้ หลาย  กถ็ า้ วา่ บคุ คลยอ่ มไมค่ ดิ ถงึ สงิ่ ใดดว้ ย 
ยอ่ มไมด่ �ำ รถิ งึ สง่ิ ใดดว้ ย และยอ่ มไมม่ จี ติ ฝงั ลงไปในสง่ิ ใดดว้ ย
ในกาลใด  ในกาลนน้ั สง่ิ นน้ั ยอ่ มไมเ่ ปน็ อารมณเ์ พอ่ื การตง้ั อยู่
แห่งวิญญาณ  เมื่ออารมณ์ไม่มี ความตั้งขึ้นเฉพาะแห่ง
วญิ ญาณยอ่ มไมม่  ี เมอ่ื วญิ ญาณนน้ั ไมต่ งั้ ขนึ้ เฉพาะ ไมเ่ จรญิ
งอกงามแลว้ การเกดิ ขนึ้ แหง่ ภพใหมต่ อ่ ไปยอ่ มไมม่  ี เมอ่ื
การเกิดขึ้นแห่งภพใหม่ต่อไปไม่มี  ชาติ ชรามรณะ โสกะ
ปริเทวะ ทุกขะโทมนัสอุปายาสะทั้งหลายต่อไป จึงดับส้ิน 
ความดับลงแห่งกองทุกข์ท้ังสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้
ดงั นีแ้ ล.

57

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปิด : จติ มโน วิญญาณ

การต้ังอยูข่ องวญิ ญาณ 21
คือ การบงั เกิดในภพใหม่

-บาลี ตกิ . อ.ํ ๒๐/๒๘๗/๕๑๖.

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ  พระองค์ตรัสว่า ‘ภพ–ภพ’ ดังน้ี ภพ
ยอ่ มมไี ด้ ดว้ ยเหตเุ พยี งเทา่ ไร พระเจา้ ขา้ .

อานนท ์ ถา้ กรรมมกี ามธาต1ุ เปน็ วบิ าก จกั ไมไ่ ดม้ แี ลว้
กามภพจะพึงปรากฏไดห้ รอื .
ไม่พึงปรากฏเลย พระเจ้าข้า.

อานนท ์ ดว้ ยเหตนุ แี้ หละ กรรมจงึ เปน็ ผนื นา (กมมฺ 
เขตตฺ ) วญิ ญาณเปน็ พชื  (วิ ฺ าณ พชี ) ตณั หาเปน็ ยางของพชื  
(ตณฺหา สิเนโห) วิญญาณของสัตว์ท้งั หลาย ท่มี ีอวิชชาเป็น
เครอ่ื งกน้ั มตี ณั หาเปน็ เครอ่ื งผกู ตง้ั อยแู่ ลว้ ดว้ ยธาตชุ น้ั ทราม
การบงั เกดิ ขน้ึ ในภพใหมต่ อ่ ไป ยอ่ มมไี ดด้ ว้ ยอาการอยา่ งน ้ี

(อวิชฺชานีวรณาน สตฺตาน ตณฺหาสฺโชนาน หีนาย ธาตุยา วิฺาณ
ปถนุ า้ พกภฺรวรามภมินรีพิ ปู พฺ ธตาตฺ ติ โ2ุ ห เตปิ)น็ . วบิ าก
ปตฏิ ฺิต เอว อายตึ จกั ไมไ่ ดม้ แี ลว้

อานนท ์
รปู ภพจะพึงปรากฏได้หรอื .
ไมพ่ ึงปรากฏเลย พระเจา้ ขา้ .

1. กามธาตุ = ธาตดุ นิ ธาตนุ ำ้ � ธาตไุ ฟ และธาตลุ ม.  -ผรู้ วบรวม
2. รปู ธาตุ = สง่ิ ทเ่ี ปน็ รปู ในสว่ นละเอยี ด.  -ผรู้ วบรวม
58

เปิดธรรมที่ถูกปดิ : จติ มโน วิญญาณ

อานนท์  ด้วยเหตุน้ีแหละ กรรมจึงเป็นผืนนา
วิญญาณเป็นพืช ตัณหาเป็นยางของพืช วิญญาณของ
สตั วท์ ง้ั หลายทม่ี อี วชิ ชาเปน็ เครอ่ื งกน้ั มตี ณั หาเปน็ เครอ่ื งผกู
ตง้ั อยแู่ ลว้ ดว้ ยธาตชุ น้ั กลาง (มชฌฺ มิ าย ธาตยุ า) การบงั เกดิ ขน้ึ
ในภพใหม่ต่อไป ย่อมมีไดด้ ้วยอาการอย่างน้ี.

อานนท ์ ถา้ กรรมมอี รปู ธาต1ุ  เปน็ วบิ าก จกั ไมไ่ ดม้ แี ลว้
อรปู ภพจะพึงปรากฏได้หรือ.

ไม่พึงปรากฏเลย พระเจา้ ขา้ .

อานนท์  ด้วยเหตุนี้แหละ กรรมจึงเป็นผืนนา
วิญญาณเป็นพืช  ตัณหาเป็นยางของพืช  วิญญาณของ
สตั วท์ ง้ั หลายทม่ี อี วชิ ชาเปน็ เครอ่ื งกน้ั มตี ณั หาเปน็ เครอ่ื งผกู
ตง้ั อยแู่ ลว้ ดว้ ยธาตชุ นั้ ประณตี  (ปณตี าย ธาตยุ า) การบงั เกดิ ขน้ึ
ในภพใหมต่ อ่ ไป ยอ่ มมไี ดด้ ว้ ยอาการอยา่ งน.้ี

อานนท ์ ภพ ยอ่ มมไี ดด้ ว้ ยอาการอยา่ งนแ้ี ล.

1. อรปู ธาตุ = สง่ิ ทไ่ี มใ่ ชร่ ปู เปน็ นามธรรม เชน่ เวทนา สญั ญา สงั ขาร (ผไู้ ดส้ มาธริ ะดบั
อากาสานญั จายตนะขน้ึ ไป).  -ผรู้ วบรวม
59

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปดิ : จิต มโน วญิ ญาณ

การต้ังอยขู่ องความเจตนา 22
หรือความปรารถนา
คือ การบงั เกิดในภพใหม่

-บาลี ตกิ . อ.ํ ๒๐/๒๘๘/๕๑๗.

ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ   พระองคต์ รสั วา่ ภพ ภพ ดงั น้ี ภพ ยอ่ มมไี ด้
ดว้ ยเหตเุ พยี งเทา่ ไร พระเจา้ ขา้ .

อานนท ์ ถา้ กรรมมกี ามธาตเุ ปน็ วบิ าก จกั ไมไ่ ดม้ แี ลว้
กามภพจะพงึ ปรากฏได้หรอื .

ไมพ่ งึ ปรากฏเลย พระเจา้ ข้า.

อานนท ์ ดว้ ยเหตนุ แ้ี หละ กรรมจงึ เปน็ ผนื นา (กมมฺ 
เขตตฺ ) วญิ ญาณเปน็ พชื  (วิ ฺ าณ พชี ) ตณั หาเปน็ ยางของพชื  
(ตณหฺ า สเิ นโห) ความเจตนากด็ ี ความปรารถนากด็ ี ของสตั ว์
ท้งั หลายท่มี ีอวิชชาเป็นเคร่อื งก้นั มีตัณหาเป็นเคร่อื งผูก
ตง้ั อยแู่ ลว้ ดว้ ยธาตชุ น้ั ทราม การบงั เกดิ ขน้ึ ในภพใหมต่ อ่ ไป
ย่อมมีได้ด้วยอาการอย่างนี้ (อวิชฺชานีวรณาน สตฺตาน ตณฺหา-

สโฺ ชนาน หนี าย ธาตยุ า เจตนา ปตฏิ ฺ ติ า ปตถฺ นา ปตฏิ ฺ ติ า เอว อายตึ

ปนุ พภฺ วาภนิ พิ พฺ ตตฺ ิ โหต)ิ .
อานนท์  ถา้ กรรมมรี ปู ธาตเุ ปน็ วบิ าก จกั ไมไ่ ดม้ แี ล้ว

รูปภพจะพงึ ปรากฏได้หรือ.

ไมพ่ ึงปรากฏเลย พระเจ้าขา้ .

60

เปดิ ธรรมท่ถี กู ปิด : จิต มโน วิญญาณ

อานนท์  ด้วยเหตุนี้แหละ กรรมจึงเป็นผืนนา
วิญญาณเป็นพืช ตัณหาเป็นยางของพืช ความเจตนาก็ดี
ความปรารถนากด็ ี ของสตั วท์ ง้ั หลายทม่ี อี วชิ ชาเปน็ เครอ่ื งกน้ั
มีตัณหาเป็นเครื่องผูก ต้ังอยู่แล้วด้วยธาตุชั้นกลาง 
(มชฌฺ มิ าย ธาตุยา) การบงั เกดิ ขึน้ ในภพใหมต่ ่อไป ยอ่ มมีได้
ดว้ ยอาการอยา่ งนี้.

อานนท ์ ถา้ กรรมมอี รปู ธาตเุ ปน็ วบิ าก จกั ไมไ่ ดม้ แี ลว้
อรูปภพจะพึงปรากฏได้หรือ.

ไม่พึงปรากฏเลย พระเจ้าข้า.

อานนท์  ด้วยเหตุน้ีแหละ กรรมจึงเป็นผืนนา
วิญญาณเป็นพืช ตัณหาเป็นยางของพืช ความเจตนาก็ดี
ความปรารถนากด็ ี ของสตั วท์ ง้ั หลายทม่ี อี วชิ ชาเปน็ เครอ่ื งกน้ั
มีตัณหาเป็นเครื่องผูก ต้ังอยู่แล้วด้วยธาตุชั้นประณีต 
(ปณีตาย ธาตุยา) การบังเกิดข้ึนในภพใหม่ต่อไป ย่อมมีได้
ด้วยอาการอย่างน้ี.

อานนท์  ภพ ย่อมมีไดด้ ้วยอาการอยา่ งนแ้ี ล.

61

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถกู ปดิ : จิต มโน วิญญาณ

ภพ ๓ 23

-บาลี นทิ าน. ส.ํ ๑๖/๕๒/๙๒.

ภกิ ษุทัง้ หลาย  ภพ1 เป็นอย่างไรเลา่ .
ภิกษุทง้ั หลาย  ภพทง้ั หลาย ๓ อยา่ ง เหลา่ นค้ี อื
กามภพ รปู ภพ อรปู ภพ.2
ภกิ ษุทั้งหลาย  น้ีเรียกว่า ภพ.
ความเกิดข้ึนแห่งภพย่อมมี เพราะความเกิดข้ึน
แห่งอุปาทาน  ความดับแห่งภพย่อมมี เพราะความดับ
แหง่ อปุ าทาน
อริยมรรคอันประกอบด้วยองค์ ๘ นี้น่ันเอง
เป็นข้อปฏิบัติให้ถึงความดับแห่งภพ คือ สัมมาทิฏฐิ
สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ
สัมมาวายามะ สัมมาสติ และสมั มาสมาธิ.

1. ภพ = สถานท่ีอันวิญญาณใช้ต้ังอาศัยเพ่ือเกิดข้ึน หรือเจริญงอกงามต่อไป.
(ดูเพ่ิมเติม ท่ีต้ังอาศัยของวิญญาณหน้า 49 ตรัสภพเปรียบกับดิน วิญญาณ
เปรยี บกบั สว่ นของพชื เชน่ เมลด็ ทส่ี ามารถเจรญิ งอกงามตอ่ ไปได)้   -ผรู้ วบรวม

2. กามภพ = สถานทเ่ี กดิ อนั อาศยั ดนิ นำ้ � ไฟ ลม  รปู ภพ = สถานทเ่ี กดิ อนั อาศยั สง่ิ
ทเ่ี ปน็ รปู ในสว่ นละเอยี ด  อรปู ภพ = สถานทเ่ี กดิ อนั อาศยั สง่ิ ทไ่ี มใ่ ชร่ ปู .  -ผรู้ วบรวม

62

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถกู ปิด : จิต มโน วิญญาณ

เครื่องน�ำไปสภู่ พ 24

-บาลี ขนธฺ . ส.ํ ๑๗/๒๓๓/๓๖๘.

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ  พระองค์ตรัสว่า  เครื่องนำ�ไปสู่ภพ
เครื่องนำ�ไปสู่ภพ ดังน้ี  ก็เคร่ืองนำ�ไปสู่ภพเป็นอย่างไร  และความดับ
ไมเ่ หลอื ของเครื่องนำ�ไปสูภ่ พเปน็ อยา่ งไร พระเจา้ ขา้ .

ราธะ  ฉนั ทะ (ความพอใจ)  ราคะ (ความก�ำ หนดั )  นนั ท ิ
(ความเพลิน)  ตัณหา (ความอยาก)  อุปายะ (ความเข้าถึง) 
และอุปาทาน (ความถือมั่น)  อันเป็นเครื่องต้ังทับ
เครอ่ื งเขา้ ไปอาศยั และเครอ่ื งนอนเนอ่ื งแหง่ จติ ในรปู  (เจตโส
อธฏิ ฺ านาภนิ เิ วสานสุ ยา) สงิ่ เหลา่ นเี้ ราเรยี กวา่ เครอื่ งน�ำ ไปสภู่ พ
ความดบั ไมเ่ หลอื ของเครอื่ งน�ำ ไปสภู่ พมไี ด้ เพราะความดบั
ไมเ่ หลอื ของฉนั ทะ ราคะ นนั ทิ ตณั หา อปุ ายะ และอปุ าทาน
เหลา่ น้นั น่นั เอง.

ราธะ  ฉนั ทะราคะนนั ทิ ตณั หา อปุ ายะและอปุ าทาน
อนั เปน็ เครอ่ื งตงั้ ทบั เครอ่ื งเขา้ ไปอาศยั และเครอ่ื งนอนเนอ่ื ง
แห่งจิตในเวทนา … ในสัญญา … ในสังขารท้งั หลาย …
ในวิญญาณ  ส่ิงเหล่านี้เราเรียกว่าเครื่องนำ�ไปสู่ภพ
ความดบั ไมเ่ หลอื ของเครอ่ื งน�ำ ไปสภู่ พมไี ด้ เพราะความดบั
ไมเ่ หลอื ของฉนั ทะ ราคะ นนั ทิ ตณั หา อปุ ายะ และอปุ าทาน
เหลา่ นน้ั นน่ั เอง.

63

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถกู ปิด : จิต มโน วิญญาณ

เหตุที่เรียกว่า “สัตว์” 25

-บาลี ขนธฺ . ส.ํ ๑๗/๒๓๒/๓๖๗.

ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ   ทเ่ี รยี กกนั วา่ สตั ว์ สตั ว์ ดงั น้ี อันว่าสัตว์
มีไดด้ ้วยเหตเุ พยี งเท่าไรเลา่ พระเจา้ ขา้ .

ราธะ  ฉนั ทะ (ความพอใจ)  ราคะ (ความก�ำ หนดั ) นันทิ 
(ความเพลิน)  ตัณหา (ความอยาก) ใดๆ มีอยู่ในรูป เพราะ
การติดแล้ว ข้องแล้วในรูปน้ัน เพราะฉะน้ันจึงเรียกว่าสัตว์ 
(ผขู้ อ้ งตดิ ในขนั ธท์ ง้ั ๕) ดงั น.ี้

ราธะ  ฉนั ทะ ราคะ นนั ทิ ตณั หาใดๆ มอี ยใู่ นเวทนา 
เพราะการตดิ แลว้ ขอ้ งแลว้ ในเวทนานนั้ เพราะฉะนน้ั จงึ เรยี ก
วา่ สตั ว์ ดังน้ี.

ราธะ  ฉนั ทะ ราคะ นนั ทิ ตณั หาใดๆ มอี ยใู่ นสญั ญา 
เพราะการติดแล้ว ข้องแล้วในสัญญานั้น เพราะฉะน้ัน
จึงเรยี กว่าสัตว์ ดังน.ี้

ราธะ  ฉนั ทะ ราคะ นนั ทิ ตณั หาใดๆ มอี ยใู่ นสงั ขาร-
ทั้งหลาย เพราะการติดแล้ว ข้องแล้วในสังขารท้ังหลายน้ัน
เพราะฉะนนั้ จึงเรียกวา่ สตั ว์ ดงั น้ี.

64

เปดิ ธรรมที่ถูกปดิ : จติ มโน วญิ ญาณ

ราธะ  ฉันทะ ราคะ นันทิ ตัณหาใดๆ มีอยู่
ในวิญญาณ  เพราะการติดแล้ว  ข้องแล้วในวิญญาณน้ัน
เพราะฉะนน้ั จงึ เรยี กวา่ สัตว์ ดังนี้แล.

ราธะ  เปรียบเหมือนพวกกุมารน้อยๆ หรือ
กุมารีน้อยๆ เล่นเรือนน้อยๆ ที่ทำ�ด้วยดินอยู่ ตราบใด
เขายงั มรี าคะ มฉี นั ทะ มคี วามรกั มคี วามกระหาย มคี วาม
เร่าร้อน และมีตัณหา ในเรือนน้อยที่ทำ�ด้วยดินเหล่าน้ัน 
ตราบนน้ั พวกเดก็ นอ้ ยๆ นนั้ ยอ่ มอาลยั เรอื นนอ้ ยทที่ �ำ ดว้ ย
ดนิ เหลา่ นน้ั ยอ่ มอยากเลน่ ยอ่ มอยากมเี รอื นนอ้ ยทที่ �ำ ดว้ ย
ดินเหล่านั้น ย่อมยึดถือเรือนน้อยท่ีทำ�ด้วยดินเหล่าน้ัน
ว่าเปน็ ของเรา ดงั น.้ี

ราธะ  แตเ่ มอ่ื ใดแล พวกกมุ ารนอ้ ยๆ หรอื กมุ ารนี อ้ ยๆ
เหลา่ นน้ั ปราศจากราคะแลว้ ปราศจากฉนั ทะแลว้ ปราศจาก
ความรักแล้ว ปราศจากความกระหายแล้ว ปราศจากความ
เรา่ รอ้ นแลว้ ปราศจากตณั หาแลว้ ในเรอื นนอ้ ยทท่ี �ำ ดว้ ยดนิ
เหลา่ นนั้   ในกาลนน้ั พวกเขายอ่ มท�ำ เรอื นนอ้ ยๆ ทท่ี �ำ ดว้ ยดนิ
เหล่านน้ั ใหก้ ระจัดกระจาย เรยี่ ราย เกลอื่ นกลน่ ไป  กระทำ�
ให้จบการเล่นเสียดว้ ยมอื และเทา้ ท้ังหลาย อุปมาน้ฉี ันใด.

65

พุทธวจน - หมวดธรรม

ราธะ  อุปไมยก็ฉันน้ัน คือ แม้พวกเธอทั้งหลาย
จงเรยี่ รายกระจายออกซงึ่ รปู จงขจดั เสยี จงท�ำ ใหแ้ หลกลาญ
จงทำ�ให้จบการเล่นอย่างถูกวิธี จงปฏิบัติเพ่ือความส้ินไป
แห่งตัณหาเถิด  จงเร่ียรายกระจายออกซ่ึงเวทนา
จงขจดั เสยี จงท�ำ ใหแ้ หลกลาญ จงท�ำ ใหจ้ บการเลน่ อยา่ งถกู วธิ ี
จงปฏิบัติเพื่อความส้ินไปแห่งตัณหาเถิด  จงเร่ียราย
กระจายออกซึ่งสัญญา จงขจัดเสีย จงทำ�ให้แหลกลาญ
จงท�ำ ใหจ้ บการเลน่ อยา่ งถกู วธิ ี จงปฏบิ ตั เิ พอ่ื ความสน้ิ ไปแหง่
ตัณหาเถิด  จงเรี่ยรายกระจายออกซึ่งสังขารทั้งหลาย
จงขจดั เสยี จงท�ำ ใหแ้ หลกลาญ จงท�ำ ใหจ้ บการเลน่ อยา่ งถกู วธิ ี
จงปฏิบัติเพ่ือความสิ้นไปแห่งตัณหาเถิด  จงเรี่ยราย
กระจายออกซ่ึงวิญญาณ จงขจัดเสีย จงทำ�ให้แหลกลาญ
จงทำ�ให้จบการเล่นอย่างถูกวิธี จงปฏิบัติเพื่อความส้ินไป
แหง่ ตัณหาเถิด.

ราธะ  เพราะว่า ความส้ินไปแห่งตัณหานั้น คือ
นพิ พาน ดงั นีแ้ ล.

66

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ ูกปิด : จติ มโน วิญญาณ

ผลทไ่ี มน่ า่ ปรารถนา หรอื นา่ ปรารถนา 26

-บาลี เอก. อ.ํ ๒๐/๔๒/๑๘๙.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  กายกรรมทส่ี มาทานใหบ้ รบิ รู ณต์ าม
ทิฏฐิ  วจีกรรมท่ีสมาทานให้บริบูรณ์ตามทิฏฐิ  มโนกรรม
ทส่ี มาทานใหบ้ รบิ รู ณต์ ามทฏิ ฐ ิ ความเจตนา ความปรารถนา
ความตั้งใจ (ปณิธิ)  สังขาร ของบุคคลผู้มีมิจฉาทิฏฐิ
ธรรมทง้ั หมดนน้ั ยอ่ มเปน็ ไปเพอ่ื ผลทไ่ี มน่ า่ ปรารถนา ไมน่ า่
รักใคร่ ไม่น่าชอบใจ ไม่เป็นประโยชน์เก้ือกูล เป็นไปเพ่ือ
ความทกุ ข์ ขอ้ นนั้ เพราะเหตอุ ะไร เพราะเหตวุ า่ ทฏิ ฐเิ ลวทราม 
ภิกษุท้ังหลาย  เปรียบเหมือนเมล็ดสะเดาก็ดี เมล็ดบวบขม
ก็ดี เมล็ดน้ำ�เต้าขมก็ดี อันบุคคลเพาะไว้ในดินท่ีชุ่มช้ืน
รสของดิน รสของนำ้� ท่ีมันดูดซึมไว้ทั้งหมด ย่อมเป็นไป
เพอื่ ความเปน็ ของขม เพอ่ื ความเผด็ รอ้ น เพอื่ ความไมน่ า่ ยนิ ดี
ขอ้ นัน้ เพราะเหตุอะไร เพราะเหตวุ า่ พนั ธ์พุ ืชเหลา่ นนั้ เลว.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  ฉนั ใดกฉ็ นั นน้ั เหมอื นกนั กายกรรมท่ี
สมาทานใหบ้ รบิ รู ณต์ ามทฏิ ฐ ิ วจกี รรมทส่ี มาทานใหบ้ รบิ รู ณ์
ตามทฏิ ฐ ิ มโนกรรมท่สี มาทานใหบ้ ริบูรณต์ ามทฏิ ฐ ิ ความ
เจตนา  ความปรารถนา  ความต้ังใจ  สังขาร  ของบุคคล
ผมู้ มี จิ ฉาทฏิ ฐิ ธรรมท้ังหมดนั้น ย่อมเป็นไปเพื่อผลท่ีไม่น่า

67

พุทธวจน - หมวดธรรม

ปรารถนา ไมน่ า่ รกั ใคร่ ไมน่ า่ ชอบใจ ไมเ่ ปน็ ประโยชนเ์ กอ้ื กลู
เป็นไปเพ่ือความทุกข์ ข้อน้นั เพราะเหตุอะไร เพราะเหตุว่า
ทฏิ ฐเิ ลวทราม.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  กายกรรมทส่ี มาทานใหบ้ รบิ รู ณต์ าม
ทิฏฐิ  วจีกรรมท่สี มาทานให้บริบูรณ์ตามทิฏฐิ  มโนกรรม
ทส่ี มาทานใหบ้ รบิ รู ณต์ ามทฏิ ฐิ ความเจตนา ความปรารถนา
ความตง้ั ใจ สงั ขาร ของบคุ คลผมู้ สี มั มาทฏิ ฐิ ธรรมทง้ั หมดนน้ั
ยอ่ มเปน็ ไปเพอ่ื ผลทน่ี า่ ปรารถนา นา่ รกั ใคร่ นา่ ชอบใจ เปน็ ไป
เพ่ือประโยชน์เก้อื กูล เพ่อื ความสุข ข้อน้นั เพราะเหตุอะไร
เพราะเหตวุ า่ ทฏิ ฐดิ งี าม  ภกิ ษทุ งั้ หลาย  เปรยี บเหมอื นพนั ธ์ุ
อ้อยกด็ ี พันธ์ขุ ้าวสาลกี ็ดี พันธผ์ุ ลจันทน์กด็ ี อันบคุ คลเพาะ
ไวใ้ นดนิ ทชี่ มุ่ ชนื้ รสของดนิ รสของน�ำ้ ทมี่ นั ดดู ซมึ ไวท้ ง้ั หมด
ยอ่ มเปน็ ไปเพอ่ื ความเปน็ ของหวาน เพอ่ื ความนา่ ยนิ ดี เพอ่ื
ความนา่ ชนื่ ใจ ข้อนน้ั เพราะเหตอุ ะไร เพราะเหตุวา่ พนั ธ์ุพืช
เหลา่ น้ันด.ี

ภิกษุท้ังหลาย  ฉนั ใดกฉ็ นั นน้ั เหมอื นกนั กายกรรม
ทส่ี มาทานใหบ้ รบิ รู ณต์ ามทฏิ ฐิ วจกี รรมทส่ี มาทานใหบ้ รบิ รู ณ์
ตามทฏิ ฐิ มโนกรรมทส่ี มาทานใหบ้ รบิ รู ณต์ ามทฏิ ฐิ ความเจตนา
ความปรารถนา ความตง้ั ใจ สงั ขาร ของบคุ คลผมู้ สี มั มาทฏิ ฐิ
ธรรมทง้ั หมดนน้ั ยอ่ มเปน็ ไปเพอื่ ผลทนี่ า่ ปรารถนา นา่ รกั ใคร่
นา่ ชอบใจ เปน็ ไปเพอื่ ประโยชนเ์ กอ้ื กลู เพอื่ ความสขุ ขอ้ นน้ั
เพราะเหตุอะไร เพราะเหตวุ ่าทฏิ ฐดิ งี าม.

68

“จิต”

69

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี กู ปดิ : จติ มโน วญิ ญาณ
27
จิต เปลีย่ นแปลงได้เรว็

-บาลี เอก. อ.ํ ๒๐/๑๑/๔๙.

ภิกษุทั้งหลาย  เราย่อมไม่เล็งเห็นธรรมอื่นแม้
อยา่ งหนง่ึ ทเี่ ปลย่ี นแปลงไดเ้ รว็ เหมอื นจติ   ภกิ ษทุ งั้ หลาย 
จติ เปลยี่ นแปลงไดเ้ รว็  (ลหปุ รวิ ตตฺ ) 1 เทา่ ใดนนั้ แมจ้ ะอปุ มา
ก็กระท�ำ ไดไ้ ม่ใชง่ า่ ย.

1. ลหปุ รวิ ตตฺ  บาลคี ำ�น้ี มสี ำ�นวนแปลอยา่ งอนื่ อกี เชน่ กลบั กลอกเรว็ .  -ผรู้ วบรวม
70

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี กู ปดิ : จิต มโน วิญญาณ

จติ เป็นธรรมชาตกิ ลบั กลอก 28

-บาลี มหา. ว.ิ ๔/๒๙๔/๒๑๖.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  อนงึ่ ภกิ ษใุ นศาสนานจี้ �ำ พรรษาแลว้
มีสตรีนิมนต์ว่า ขอท่านจงมาเถิดเจ้าข้า ดิฉันจะถวายเงิน
ทอง นา สวน พ่อโค แม่โค ทาสชาย ทาสหญิง แก่ท่าน
จะยกลกู สาวใหเ้ ปน็ ภรรยาของทา่ น ดฉิ นั จะยอมเปน็ ภรรยา
ของท่าน หรือว่าจะนำ�หญิงอ่ืนมาให้เป็นภรรยาของท่าน 
ในเรื่องน้ัน ถ้าภิกษุคิดอย่างน้ีว่า พระผู้มีพระภาคตรัสว่า
จิตเป็นธรรมชาติกลับกลอกเร็วนัก (ลหุปริวตฺต) สักหน่อย
จะเป็นอันตรายแก่พรหมจรรย์ของเราก็ได้ พึงหลีกไปเสีย
ไมต่ อ้ งอาบัติ แต่ขาดพรรษา.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  อนง่ึ ภกิ ษใุ นศาสนานจี้ �ำ พรรษาแลว้
มีหญงิ แพศยานิมนต์ ... มีหญิงสาวเทื้อ (สาวแก)่ นิมนต์ …
มีบัณเฑาะก์นิมนต์ … มีพวกญาตินิมนต์ ... มีพระราชา
ท้ังหลายนิมนต์ ... มีพวกโจรนิมนต์ ... มีพวกนักเลง
นมิ นตว์ า่ ขอทา่ นมาเถดิ ขอรบั พวกขา้ พเจา้ จะถวายเงนิ ทอง
นา สวน พอ่ โค แมโ่ ค ทาสชาย ทาสหญงิ แกท่ า่ น จะยกลกู สาว
ให้เป็นภรรยาของท่าน หรือจะนำ�หญิงอ่ืนมาให้เป็นภรรยา
ของท่าน ในเร่ืองนั้น ถา้ ภกิ ษุคิดอย่างน้วี า่ พระผู้มพี ระภาค

71

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

ตรสั วา่ จติ เปน็ ธรรมชาตกิ ลบั กลอกเรว็ นกั สกั หนอ่ ยจะเปน็
อันตรายแก่พรหมจรรย์ของเราก็ได้ พึงหลีกไปเสีย ไม่ต้อง
อาบตั ิ แตข่ าดพรรษา.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  อนง่ึ ภกิ ษใุ นศาสนานจี้ �ำ พรรษาแลว้
พบทรัพย์ไม่มีเจ้าของ ในเร่ืองน้ัน ถ้าภิกษุคิดอย่างนี้ว่า
พระผู้มีพระภาคตรัสว่า จิตเป็นธรรมชาติกลับกลอกเร็วนัก
สกั หนอ่ ยจะเปน็ อนั ตรายแกพ่ รหมจรรยข์ องเรากไ็ ด้ พงึ หลกี
ไปเสยี ไม่ตอ้ งอาบตั ิ แตข่ าดพรรษา.

72

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ กู ปิด : จติ มโน วิญญาณ

จิต อบรมได้ 29

-บาลี เอก. อ.ํ ๒๐/๕/๒๒.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เรายอ่ มไมเ่ ลง็ เหน็ ธรรมอน่ื แมอ้ ยา่ งหนง่ึ
ทไ่ี มอ่ บรมแลว้ ยอ่ มไมค่ วรแกก่ ารงานเหมอื นจติ   ภกิ ษทุ ง้ั หลาย 
จิตที่ไม่อบรมแลว้ ย่อมไม่ควรแกก่ ารงาน.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เรายอ่ มไมเ่ ลง็ เหน็ ธรรมอน่ื แมอ้ ยา่ งหนง่ึ
ทอี่ บรมแล้ว ย่อมควรแก่การงานเหมือนจิต  ภิกษทุ ัง้ หลาย 
จติ ทอี่ บรมแลว้ ยอ่ มควรแก่การงาน.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เรายอ่ มไมเ่ ลง็ เหน็ ธรรมอน่ื แมอ้ ยา่ งหนง่ึ
ที่ไม่อบรมแล้ว ย่อมเป็นไปเพ่ือไม่ใช่ประโยชน์อย่างใหญ่
เหมือนจิต  ภิกษทุ ้ังหลาย  จติ ทไ่ี ม่อบรมแลว้ ย่อมเปน็ ไป
เพ่อื ไมใ่ ช่ประโยชน์อย่างใหญ.่

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เรายอ่ มไมเ่ ลง็ เหน็ ธรรมอน่ื แมอ้ ยา่ งหนง่ึ
ทอ่ี บรมแลว้ ยอ่ มเปน็ ไปเพอื่ ประโยชนอ์ ยา่ งใหญเ่ หมอื นจติ  
ภิกษุท้ังหลาย  จิตท่ีอบรมแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์
อย่างใหญ่.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เรายอ่ มไมเ่ ลง็ เหน็ ธรรมอน่ื แมอ้ ยา่ งหนง่ึ
ทไ่ี มอ่ บรมแลว้ ไมป่ รากฏแลว้ ยอ่ มเปน็ ไปเพอ่ื ไมใ่ ชป่ ระโยชน์
อย่างใหญ่เหมือนจิต  ภิกษุท้ังหลาย  จิตท่ีไม่อบรมแล้ว
ไมป่ รากฏแลว้ ยอ่ มเปน็ ไปเพอื่ ไมใ่ ชป่ ระโยชนอ์ ยา่ งใหญ.่

73

พุทธวจน - หมวดธรรม

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เรายอ่ มไมเ่ ลง็ เหน็ ธรรมอน่ื แมอ้ ยา่ งหนง่ึ
ทอ่ี บรมแลว้ ปรากฏแลว้ ยอ่ มเปน็ ไปเพอ่ื ประโยชนอ์ ยา่ งใหญ่
เหมือนจิต  ภิกษุท้ังหลาย  จิตที่อบรมแล้ว ปรากฏแล้ว
ยอ่ มเป็นไปเพ่ือประโยชน์อย่างใหญ่.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เรายอ่ มไมเ่ ลง็ เหน็ ธรรมอน่ื แมอ้ ยา่ งหนง่ึ
ที่ไม่อบรมแลว้ ไม่กระท�ำ ใหม้ ากแลว้ ย่อมเปน็ ไปเพ่ือไมใ่ ช่
ประโยชน์อย่างใหญ่เหมือนจิต  ภิกษุท้ังหลาย  จิตท่ีไม่
อบรมแล้ว ไม่กระทำ�ให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อไม่ใช่
ประโยชน์อยา่ งใหญ.่

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เรายอ่ มไมเ่ ลง็ เหน็ ธรรมอน่ื แมอ้ ยา่ งหนง่ึ
ที่อบรมแล้ว กระทำ�ให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพ่ือประโยชน์
อย่างใหญ่เหมือนจิต  ภิกษุท้ังหลาย  จิตท่ีอบรมแล้ว
กระทำ�ให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพือ่ ประโยชน์อยา่ งใหญ่.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เรายอ่ มไมเ่ ลง็ เหน็ ธรรมอน่ื แมอ้ ยา่ งหนง่ึ
ท่ีไม่อบรมแล้ว ไม่กระทำ�ให้มากแล้ว ย่อมนำ�ทุกข์มาให้
เหมือนจิต  ภิกษุท้ังหลาย  จิตท่ีไม่อบรมแล้ว ไม่กระทำ�
ใหม้ ากแลว้ ย่อมนำ�ทกุ ข์มาให้.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เรายอ่ มไมเ่ ลง็ เหน็ ธรรมอน่ื แมอ้ ยา่ งหนง่ึ
ทีอ่ บรมแลว้ กระทำ�ใหม้ ากแล้ว ย่อมน�ำ สขุ มาให้เหมือนจิต 
ภกิ ษทุ งั้ หลาย  จติ ทอ่ี บรมแลว้ กระท�ำ ใหม้ ากแลว้ ยอ่ มน�ำ
สุขมาให.้

74

เปิดธรรมท่ีถกู ปดิ : จติ มโน วญิ ญาณ

ภิกษุทั้งหลาย  ต้นจันทน์ บัณฑิตกล่าวว่าเลิศกว่า
รุกขชาติทุกชนิด เพราะเป็นของอ่อนและควรแก่การงาน
ฉนั ใด  ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เรายอ่ มไมเ่ ลง็ เหน็ ธรรมอน่ื แมอ้ ยา่ งหนง่ึ
ทอ่ี บรมแลว้ กระท�ำ ใหม้ ากแลว้ ยอ่ มเปน็ ธรรมชาตอิ อ่ นและ
ควรแก่การงานเหมือนจิต  ภิกษุท้ังหลาย  จิตท่ีอบรมแล้ว
กระทำ�ให้มากแล้ว ย่อมเป็นธรรมชาติอ่อนและควรแก่
การงาน ฉนั นน้ั เหมือนกนั .

75

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี ูกปิด : จิต มโน วิญญาณ

จิต ฝกึ ได้ 30

-บาลี เอก. อ.ํ ๒๐/๗/๓๒.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เรายอ่ มไมเ่ ลง็ เหน็ ธรรมอน่ื แมอ้ ยา่ งหนง่ึ
ทไ่ี มฝ่ กึ แลว้ ยอ่ มเปน็ ไปเพอ่ื ไมใ่ ชป่ ระโยชนอ์ ยา่ งใหญเ่ หมอื นจติ  
ภกิ ษทุ ง้ั หลาย จติ ทไ่ี มฝ่ กึ แลว้ ยอ่ มเปน็ ไปเพอ่ื ไมใ่ ชป่ ระโยชน์
อย่างใหญ.่

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เรายอ่ มไมเ่ ลง็ เหน็ ธรรมอน่ื แมอ้ ยา่ งหนง่ึ
ที่ฝึกแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์อย่างใหญ่เหมือนจิต 
ภิกษุท้ังหลาย  จิตท่ีฝึกแล้ว ย่อมเป็นไปเพ่ือประโยชน์
อยา่ งใหญ.่

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เรายอ่ มไมเ่ ลง็ เหน็ ธรรมอน่ื แมอ้ ยา่ งหนง่ึ
ทไี่ มค่ มุ้ ครองแลว้ ยอ่ มเปน็ ไปเพอ่ื ไมใ่ ชป่ ระโยชนอ์ ยา่ งใหญ่
เหมอื นจติ   ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  จติ ทไ่ี มค่ มุ้ ครองแลว้ ยอ่ มเปน็ ไป
เพอ่ื ไมใ่ ชป่ ระโยชนอ์ ยา่ งใหญ.่

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เรายอ่ มไมเ่ ลง็ เหน็ ธรรมอน่ื แมอ้ ยา่ งหนง่ึ
ทค่ี มุ้ ครองแลว้ ยอ่ มเปน็ ไปเพอ่ื ประโยชนอ์ ยา่ งใหญเ่ หมอื นจติ  
ภกิ ษทุ ง้ั หลาย จติ ทค่ี มุ้ ครองแลว้ ยอ่ มเปน็ ไปเพอื่ ประโยชน์
อย่างใหญ.่

76

เปิดธรรมท่ถี กู ปิด : จิต มโน วญิ ญาณ

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เรายอ่ มไมเ่ ลง็ เหน็ ธรรมอน่ื แมอ้ ยา่ งหนง่ึ
ที่ไม่รักษาแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อไม่ใช่ประโยชน์อย่างใหญ่
เหมือนจิต  ภิกษุท้ังหลาย  จิตที่ไม่รักษาแล้ว ย่อมเป็นไป
เพือ่ ไม่ใชป่ ระโยชนอ์ ย่างใหญ่.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เรายอ่ มไมเ่ ลง็ เหน็ ธรรมอน่ื แมอ้ ยา่ งหนง่ึ
ทร่ี กั ษาแล้ว ย่อมเป็นไปเพือ่ ประโยชน์อย่างใหญเ่ หมือนจิต 
ภิกษุท้ังหลาย  จิตท่ีรักษาแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์
อย่างใหญ่.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เรายอ่ มไมเ่ ลง็ เหน็ ธรรมอน่ื แมอ้ ยา่ งหนง่ึ
ที่ไม่สังวรแล้ว ย่อมเป็นไปเพ่ือไม่ใช่ประโยชน์อย่างใหญ่
เหมือนจิต  ภิกษุทั้งหลาย  จิตที่ไม่สังวรแล้ว ย่อมเป็นไป
เพ่อื ไม่ใช่ประโยชนอ์ ยา่ งใหญ.่

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เรายอ่ มไมเ่ ลง็ เหน็ ธรรมอน่ื แมอ้ ยา่ งหนง่ึ
ที่สังวรแล้ว ย่อมเป็นไปเพ่ือประโยชน์อย่างใหญ่เหมือนจิต 
ภิกษุท้ังหลาย จิตที่สังวรแล้ว ย่อมเป็นไปเพ่ือประโยชน์
อยา่ งใหญ.่

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เรายอ่ มไมเ่ ลง็ เหน็ ธรรมอน่ื แมอ้ ยา่ งหนง่ึ
ท่ีไม่ฝึกแล้ว ไม่คุ้มครองแล้ว ไม่รักษาแล้ว ไม่สังวรแล้ว
ย่อมเป็นไปเพื่อไม่ใช่ประโยชน์อย่างใหญ่เหมือนจิต  ภิกษุ
ทั้งหลาย  จิตที่ไม่ฝึกแล้ว ไม่คุ้มครองแล้ว ไม่รักษาแล้ว
ไม่สังวรแล้ว ยอ่ มเปน็ ไปเพอื่ ไมใ่ ช่ประโยชนอ์ ย่างใหญ่.

77

พุทธวจน - หมวดธรรม

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เรายอ่ มไมเ่ ลง็ เหน็ ธรรมอน่ื แมอ้ ยา่ งหนง่ึ
ท่ีฝึกแล้ว คุ้มครองแล้ว รักษาแล้ว สังวรแล้ว ย่อมเป็นไป
เพอ่ื ประโยชนอ์ ยา่ งใหญเ่ หมอื นจติ   ภกิ ษทุ ง้ั หลาย จติ ทฝ่ี กึ แลว้
คมุ้ ครองแลว้ รกั ษาแลว้ สงั วรแลว้ ยอ่ มเปน็ ไปเพอ่ื ประโยชน์
อย่างใหญ่.

ภิกษุท้ังหลาย  เปรียบเหมือนเดือยข้าวสาลีหรือ
เดอื ยขา้ วเหนยี วทบ่ี คุ คลตงั้ ไวผ้ ดิ มอื หรอื เทา้ ย�ำ่ เหยยี บแลว้
จะท�ำ ลายมอื หรอื เทา้ หรอื วา่ จะท�ำ ใหห้ อ้ เลอื ด ขอ้ นไ้ี มใ่ ชฐ่ านะ
ทจี่ ะมไี ด้ ขอ้ นน้ั เพราะเหตอุ ะไร เพราะเหตวุ า่ เดอื ยอนั บคุ คล
ตง้ั ไวผ้ ิด  ภิกษทุ ง้ั หลาย  ฉนั ใดกฉ็ ันนั้น ภิกษนุ ัน้ จะท�ำ ลาย
อวิชชา จะยังวิชชาให้เกิด จะทำ�นิพพานให้แจ้ง ด้วยจิต
ที่ตั้งไว้ผดิ ขอ้ นไ้ี มใ่ ชฐ่ านะทจ่ี ะมไี ด้ ขอ้ นน้ั เพราะเหตอุ ะไร
เพราะเหตวุ า่ จิตตัง้ ไว้ผดิ .

ภิกษุทั้งหลาย  เปรียบเหมือนเดือยข้าวสาลีหรือ
เดือยข้าวเหนียวท่ีบคุ คลต้งั ไวถ้ ูก มือหรือเทา้ ย่ำ�เหยยี บแล้ว
จะท�ำ ลายมอื หรอื เทา้ หรอื วา่ จะท�ำ ใหห้ อ้ เลอื ด ขอ้ นเ้ี ปน็ ฐานะ
ทม่ี ไี ด้ ข้อน้ันเพราะเหตุอะไร เพราะเหตุว่าเดือยอันบุคคล
ตั้งไว้ถูก  ภิกษุทั้งหลาย  ฉันใดก็ฉันน้ัน ภิกษุนั้นจะทำ�ลาย
อวิชชา จะยังวิชชาให้เกิด จะทำ�นิพพานให้แจ้ง ด้วยจิต
ท่ีต้ังไว้ถูก ข้อนี้เป็นฐานะท่ีมีได้ ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร
เพราะเหตวุ า่ จิตต้ังไว้ถูก.

78

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปิด : จิต มโน วญิ ญาณ

จติ ผ่องใส 31

-บาลี ตกิ . อ.ํ ๒๐/๑๐/๔๔.

ภิกษุทั้งหลาย  เรากำ�หนดรู้ใจด้วยใจอย่างน้ีแล้ว
ย่อมรู้ชัดบุคคลบางคนในโลกน้ี ผู้มีจิตอันโทษประทุษร้าย 
(ปทฏุ ฺ จติ ตฺ )  วา่ ถา้ บคุ คลนท้ี �ำ กาละในตอนน้ี พงึ ตง้ั อยใู่ นนรก
เหมอื นถกู น�ำ ตวั มาฝงั ไว้ ขอ้ นน้ั เพราะเหตอุ ะไร เพราะวา่ จติ
ของเขาถกู โทษประทษุ รา้ ยแลว้   ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  กเ็ พราะเหตุ
ที่จิตถูกประทุษร้าย สัตว์บางพวกในโลกนี้ ภายหลังจาก
การตาย เพราะกายแตกทำ�ลาย ย่อมเข้าถึงอบาย ทุคติ
วินบิ าต นรก.

ภิกษุท้ังหลาย  เรากำ�หนดรู้ใจด้วยใจอย่างน้ีแล้ว
ยอ่ มรชู้ ดั บคุ คลบางคนในโลกนี้ ผมู้ จี ติ ผอ่ งใส (ปสนนฺ จติ ตฺ )  วา่
ถ้าบุคคลน้ีทำ�กาละในตอนน้ี พึงตั้งอยู่ในสวรรค์เหมือน
ถูกนำ�ตัวไปเก็บไว้  ข้อน้ันเพราะเหตุอะไร  เพราะว่าจิต
ของเขาผ่องใส  ภิกษุทั้งหลาย  ก็เพราะเหตุที่จิตผ่องใส
สัตว์บางพวกในโลกนี้ ภายหลังจากการตาย เพราะกาย
แตกทำ�ลาย ยอ่ มเข้าถงึ สคุ ติโลกสวรรค.์

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  เปรยี บเหมอื นหว้ งน�ำ้ ทข่ี นุ่ มวั เปน็ ตม
บรุ ษุ ผมู้ จี กั ษยุ นื อยบู่ นฝง่ั ไมอ่ าจเหน็ หอยตา่ งๆ บา้ ง ไมอ่ าจ

79

พุทธวจน - หมวดธรรม

เห็นก้อนกรวดและก้อนหินบ้าง ไม่อาจเห็นฝูงปลา ซึ่งว่าย
ไปมา หรอื หยดุ อยบู่ า้ ง ในหว้ งน�้ำ นน้ั ขอ้ นนั้ เพราะเหตอุ ะไร
เพราะเหตวุ า่ น�ำ้ นน้ั ขนุ่   ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ฉนั ใดกฉ็ นั นน้ั เหมอื นกนั
ภกิ ษนุ น้ั จะรปู้ ระโยชนต์ น หรอื จะรปู้ ระโยชนผ์ อู้ น่ื หรอื จะรู้
ประโยชนท์ ง้ั สองฝา่ ย หรอื จะกระท�ำ ใหแ้ จง้ ซง่ึ คณุ วเิ ศษ คอื
อตุ รมิ นสุ ธรรม อนั เปน็ ความรคู้ วามเหน็ อยา่ งประเสรฐิ อยา่ ง
สามารถ ไดด้ ว้ ยจติ ทข่ี นุ่ มวั  (อาวเิ ลน จติ เฺ ตน) ดงั นนี้ นั้ นนั่ ไมใ่ ช่
ฐานะทจ่ี ะมไี ด ้ ขอ้ นน้ั เพราะเหตอุ ะไร  เพราะเหตวุ า่ จติ ขนุ่ มวั .

ภิกษุท้ังหลาย  เปรียบเหมือนห้วงนำ้�ใสสะอาด
ไมข่ นุ่ มวั บรุ ษุ ผมู้ จี กั ษยุ นื อยบู่ นฝง่ั สามารถเหน็ หอยตา่ งๆ บา้ ง
สามารถเหน็ กอ้ นกรวดและกอ้ นหนิ บา้ ง สามารถเหน็ ฝงู ปลา
ซ่ึงว่ายไปมา หรือหยุดอยู่บ้าง ในห้วงนำ้�น้ัน ข้อนั้นเพราะ
เหตอุ ะไร เพราะเหตวุ า่ น�ำ้ ไมข่ นุ่   ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ฉนั ใดกฉ็ นั นน้ั
เหมือนกัน ภิกษุนั้นจะรู้ประโยชน์ตน หรือจะรู้ประโยชน์
ผอู้ นื่ หรอื จะรปู้ ระโยชนท์ ง้ั สองฝา่ ย หรอื จะกระท�ำ ใหแ้ จง้
ซงึ่ คณุ วเิ ศษ คอื อตุ รมิ นสุ ธรรม อนั เปน็ ความรคู้ วามเหน็
อยา่ งประเสรฐิ อยา่ งสามารถ ไดด้ ว้ ยจติ ทไ่ี มข่ นุ่ มวั  (อนาวเิ ลน
จติ เฺ ตน) ดงั นน้ี น้ั นน่ั เปน็ ฐานะทจี่ ะมไี ด ้ ขอ้ นน้ั เพราะเหตอุ ะไร
เพราะเหตวุ ่าจิตไมข่ ุ่นมัว.

80

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ กู ปดิ : จิต มโน วญิ ญาณ

จติ ประภัสสร 32

-บาลี เอก. อ.ํ ๒๐/๑๑/๕๒.

ภิกษุท้ังหลาย  จิตน้ีผุดผ่อง (ปภสฺสรมิท) แต่ว่าจิต
น้ันแหละเศร้าหมองแล้ว ด้วยอุปกิเลสท่ีจรมา ปุถุชน
ผู้ไม่ได้สดับแล้ว ย่อมจะไม่ทราบจิตนั้นตามความเป็นจริง
ดังนั้น เราจึงกล่าวว่า ปุถุชนผู้ไม่ได้สดับแล้ว ย่อมไม่มี
การอบรมจติ .

ภิกษุท้ังหลาย  จิตน้ีผุดผ่อง และจิตนั้นแหละ
พ้นไปแล้ว (วิปฺปมุตฺต) จากอุปกิเลสท่ีจรมา อริยสาวกผู้ได้
สดบั แล้ว ย่อมทราบจติ นั้นตามความเป็นจริง ดังนั้น เราจึง
กล่าวว่า อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว ยอ่ มมีการอบรมจิต.

81

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปดิ : จิต มโน วิญญาณ

จิตผอ่ งแผว้ 33

-บาลี ส.ี ท.ี ๙/๑๑๐/๑๓๘.

… ภิกษุนั้น เม่ือจิตเป็นสมาธิ บริสุทธ์ิ ผ่องแผ้ว 
(ปรโิ ยทาเต)1 ไมม่ กี เิ ลส ปราศจากอปุ กเิ ลส ออ่ น ควรแกก่ ารงาน
ตั้งมัน่ ถงึ ความไมห่ วนั่ ไหวอยา่ งนี้ ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพอ่ื
อาสวักขยญาณ เธอย่อมรู้ชัดตามความเป็นจริงว่า นี้ทุกข์
นที้ ุกขสมุทัย นท้ี ุกขนิโรธ นท้ี ุกขนโิ รธคามนิ ีปฏิปทา เหลา่ น้ี
อาสวะ นอ้ี าสวสมทุ ยั นอ้ี าสวนโิ รธ นอ้ี าสวนโิ รธคามนิ ปี ฏปิ ทา
เมอ่ื เธอรอู้ ยอู่ ยา่ งน้ี เหน็ อยอู่ ยา่ งน้ี จติ ยอ่ มหลดุ พน้ จากกามาสวะ
หลุดพ้นจากภวาสวะ  หลุดพ้นจากอวิชชาสวะ  เม่ือจิต
หลดุ พน้ แลว้ กม็ ญี าณหยงั่ รวู้ า่ หลดุ พน้ แลว้ เธอยอ่ มรชู้ ดั วา่
ชาตสิ นิ้ แลว้ พรหมจรรยอ์ ยจู่ บแลว้ กจิ ทคี่ วรท�ำ ไดท้ �ำ เสรจ็ แลว้
กจิ อืน่ ท่จี ะต้องท�ำ เพื่อความเปน็ อยา่ งน้ไี ม่ได้มีอีก.

มหาราช  เปรยี บเหมอื นสระน�้ำ บนยอดเขาใสสะอาด
ไม่ขุ่นมัว บุรุษผู้มีจักษุยืนอยู่บนขอบสระนั้น สามารถเห็น
หอยต่างๆ บ้าง สามารถเห็นก้อนกรวดและก้อนหินบ้าง
สามารถเหน็ ฝงู ปลาซง่ึ วา่ ยไปมา หรอื หยดุ อยบู่ า้ ง ในสระน�ำ้ นน้ั  
บุรุษน้ันมีความคิดอย่างนี้ว่า สระน้ำ�น้ีใสสะอาด ไม่ขุ่นมัว

1. บาลคี ำ�น้ี มแี ปลสำ�นวนอน่ื อกี เชน่ ผดุ ผอ่ ง, ผดุ ผอ่ งแผว้ เปน็ ตน้ นอกจากนย้ี งั พบ
การใชค้ ำ�นใ้ี นบรบิ ททก่ี ลา่ วถงึ ผวิ พรรณวา่ ผวิ พรรณผดุ ผอ่ ง (ฉววิ ณโฺ ณ ปรโิ ยทาโต). 
-ผรู้ วบรวม

82


Click to View FlipBook Version