The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

อ้างอิงจากศูนย์เผยแผ่ส่วนกลาง วัดนาป่าพง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by buddhawajanalanna, 2020-04-29 08:53:56

พุทธวจน 17 จิต มโน วิญญาณ

อ้างอิงจากศูนย์เผยแผ่ส่วนกลาง วัดนาป่าพง

Keywords: หนังสือพุทธวจน

เปิดธรรมทถี่ ูกปิด : จติ มโน วิญญาณ

มหี อยตา่ งๆ มกี อ้ นกรวดและกอ้ นหนิ มฝี งู ปลาซง่ึ วา่ ยไปมา
หรือหยดุ อยู่ ในสระน้ำ�น้นั น้ฉี นั ใด ภกิ ษุกฉ็ ันนน้ั เหมอื นกนั
ที่เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธ์ิ ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจาก
อุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ถึงความไม่หว่ันไหว
อย่างน้ี ย่อมโน้มน้อมจิตไปเพ่ืออาสวักขยญาณ ย่อมรู้ชัด
ตามความเป็นจริงว่า น้ีทุกข์ น้ีทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ
น้ีทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เหล่าน้ีอาสวะ น้ีอาสวสมุทัย
นอ้ี าสวนโิ รธ นอ้ี าสวนโิ รธคามนิ ปี ฏปิ ทา เมอ่ื เธอรอู้ ยอู่ ยา่ งน้ี
เห็นอยู่อย่างนี้ จิตย่อมหลุดพ้นจากกามาสวะ หลุดพ้นจาก
ภวาสวะ หลดุ พน้ จากอวชิ ชาสวะ เมอ่ื จติ หลดุ พน้ แลว้ กม็ ญี าณ
หยง่ั รวู้ า่ หลดุ พน้ แลว้ เธอยอ่ มรชู้ ดั วา่ ชาตสิ นิ้ แลว้ พรหมจรรย์
อยจู่ บแลว้ กจิ ทคี่ วรท�ำ ไดท้ �ำ เสรจ็ แลว้ กจิ อน่ื ทจี่ ะตอ้ งท�ำ เพอ่ื
ความเป็นอยา่ งนี้ไม่ไดม้ ีอกี .

มหาราช  นแ้ี หละสามญั ผลทเ่ี หน็ ประจกั ษ์ ทง้ั ดยี ง่ิ กวา่
ทง้ั ประณตี กวา่ สามญั ผลที่เห็นประจักษ์ขอ้ กอ่ นๆ

มหาราช  กส็ ามญั ผลทเ่ี หน็ ประจกั ษข์ อ้ อน่ื ทง้ั ดยี ง่ิ กวา่
ท้งั ประณีตกวา่ สามัญผลทเ่ี ห็นประจกั ษข์ ้อนี้ ย่อมไม่มี.

(ผู้อ่านสามารถศึกษาเน้ือความเต็มของพระสูตรน้ีได้จาก
สามญั ญผลสตู ร -บาลี สี. ที. ๙/๖๑/๙๑.  -ผู้รวบรวม).

83

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ กู ปิด : จติ มโน วิญญาณ
ผลของการไมร่ กั ษา หรอื รกั ษาจติ 34

-บาลี ตกิ .อ.ํ ๒๐/๓๓๕/๕๔๙.

คหบดี  เมื่อจิตไม่ได้รับการรักษา (จิตฺเต อรกฺขิเต)
กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ก็เป็นอันว่าไม่ได้รับการ
รกั ษา  เมอื่ กายกรรม วจกี รรม มโนกรรมไมไ่ ดร้ บั การรกั ษา
กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ก็มีสภาพเปียกแฉะ  เมื่อ
กายกรรม วจกี รรม มโนกรรมเปยี กแฉะ  กายกรรม วจกี รรม
มโนกรรม ก็มีสภาพบูดเน่า  เม่ือกายกรรม วจีกรรม
มโนกรรมบูดเน่า ก็มีการตายท่ีไม่งดงาม มีการทำ�กาละ
ท่ไี มง่ ดงาม.

เปรยี บเหมอื น เมอ่ื เรอื นมงุ ไวไ้ มด่ ี ยอดหลงั คากเ็ ปน็
อันไม่ได้รับการรักษา กลอนหลังคาก็เป็นอันไม่ได้รับการ
รกั ษา ฝาเรอื นกเ็ ปน็ อนั ไมไ่ ดร้ บั การรกั ษา  อกไกก่ เ็ ปยี กชน้ื
กลอนหลงั คากเ็ ปียกชน้ื ฝาเรอื นก็เปียกชื้น  อกไก่กผ็ เุ ปื่อย
กลอนหลงั คากผ็ เุ ปอ่ื ย ฝาเรอื นกผ็ เุ ปอ่ื ย  คหบด ี ฉนั ใดกฉ็ นั นน้ั
เหมือนกัน เมื่อจิตไม่ได้รับการรักษา กายกรรม วจีกรรม
มโนกรรม ก็เป็นอันไม่ได้รับการรักษา … ก็มีการตายที่ไม่
งดงาม มีการทำ�กาละที่ไม่งดงาม.

84

เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปดิ : จิต มโน วิญญาณ

คหบดี  เมื่อจิตได้รับการรักษา (จิตฺเต รกฺขิเต)
กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ก็เป็นอันว่าได้รับการ
รักษา  เม่ือกายกรรม วจีกรรม มโนกรรมได้รับการรักษา
กายกรรม วจกี รรม มโนกรรม กม็ ีสภาพไม่เปียกแฉะ  เม่อื
กายกรรม วจกี รรม มโนกรรมไมเ่ ปยี กแฉะ กายกรรม วจกี รรม
มโนกรรม ก็มีสภาพไม่บูดเน่า  เมื่อกายกรรม วจีกรรม
มโนกรรมไม่บูดเน่า ก็มีการตายที่งดงาม มีการทำ�กาละ
ทงี่ ดงาม.

เปรียบเหมือน เมื่อเรือนมุงไว้อย่างดี ยอดหลังคา
ก็เป็นอันได้รับการรักษา กลอนหลังคาก็เป็นอันได้รับการ
รกั ษา ฝาเรอื นกเ็ ปน็ อนั ไดร้ บั การรกั ษา  อกไกก่ ไ็ มเ่ ปยี กชนื้
กลอนหลังคาก็ไม่เปียกช้ืน ฝาเรือนก็ไม่เปียกช้ืน  อกไก่ก็
ไม่ผุเปื่อย กลอนหลังคาก็ไม่ผุเป่ือย ฝาเรือนก็ไม่ผุเป่ือย 
คหบดี  ฉันใดก็ฉันนั้นเหมือนกัน เม่ือจิตได้รับการรักษา
กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม กเ็ ป็นอันได้รบั การรักษา …
ก็มีการตายทง่ี ดงาม มีการทำ�กาละท่งี ดงาม.

85

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถูกปิด : จติ มโน วิญญาณ
35
ผลเมื่อจิตถงึ ความพนิ าศ

-บาลี ตกิ .อ.ํ ๒๐/๓๓๗/๕๕๐.

คหบดี  เม่ือจิตถึงความพินาศ (จิตฺเต พฺยาปนฺเน)1
กายกรรม วจกี รรม มโนกรรม กเ็ ปน็ อนั วา่ ถงึ ความพนิ าศ 
เมอ่ื กายกรรม วจกี รรม มโนกรรมถงึ ความพนิ าศ กายกรรม
วจีกรรม มโนกรรม ก็มีสภาพเปียกแฉะ  เม่ือกายกรรม
วจกี รรม มโนกรรมเปยี กแฉะ กายกรรม วจกี รรม มโนกรรม
กม็ สี ภาพบดู เนา่   เมอื่ กายกรรม วจกี รรม มโนกรรมบดู เนา่
กม็ กี ารตายทไี่ มง่ ดงาม มกี ารทำ�กาละท่ไี ม่งดงาม.

เปรียบเหมือน เมื่อเรือนมุงไว้ไม่ดี ยอดหลังคา
ก็เป็นอันถึงความพินาศ กลอนหลังคาก็เป็นอันถึงความ
พินาศ ฝาเรือนก็เป็นอันถึงความพินาศ  อกไก่ก็เปียกช้ืน
กลอนหลังคากเ็ ปยี กชื้น ฝาเรือนก็เปียกชนื้   อกไกก่ ็ผุเป่ือย
กลอนหลังคาก็ผุเป่ือย ฝาเรือนก็ผุเป่ือย  คหบดี  ฉันใด
ก็ฉันนั้นเหมือนกัน เมื่อจิตถึงความพินาศ กายกรรม
วจีกรรม มโนกรรม กเ็ ปน็ อนั ถึงความพินาศ … ก็มีการตาย
ทไี่ ม่งดงาม มีการท�ำ กาละทไี่ ม่งดงาม.

1. จิตเฺ ต พฺยาปนฺเน บาลีคำ�น้ี มีสำ�นวนแปลอย่างอืน่ อีก เชน่ จติ ถึงความผดิ ปกต,ิ
จิตวบิ ัติ เปน็ ต้น.  -ผรู้ วบรวม

86

เปดิ ธรรมท่ถี กู ปดิ : จิต มโน วญิ ญาณ

คหบด ี เมอ่ื จติ ไมถ่ งึ ความพนิ าศ (จติ เฺ ต อพยฺ าปนเฺ น)1
กายกรรม วจกี รรม มโนกรรม กเ็ ปน็ อนั วา่ ไมถ่ งึ ความพนิ าศ 
เมื่อกายกรรม  วจีกรรม  มโนกรรมไม่ถึงความพินาศ
กายกรรม  วจีกรรม  มโนกรรม ก็มีสภาพไม่เปียกแฉะ 
เมือ่ กายกรรม วจกี รรม มโนกรรมไม่เปียกแฉะ  กายกรรม
วจีกรรม มโนกรรม ก็มีสภาพไม่บูดเน่า  เมื่อกายกรรม
วจกี รรม มโนกรรมไมบ่ ดู เนา่ กม็ กี ารตายทง่ี ดงาม มกี ารท�ำ
กาละท่งี ดงาม.

เปรียบเหมือน เมื่อเรือนมุงไว้อย่างดี ยอดหลังคา
ก็เป็นอันไม่ถึงความพินาศ กลอนหลังคาก็เป็นอันไม่ถึง
ความพินาศ ฝาเรือนก็เป็นอันไม่ถึงความพินาศ  อกไก่
กไ็ มเ่ ปยี กชนื้ กลอนหลงั คากไ็ มเ่ ปยี กชน้ื ฝาเรอื นกไ็ มเ่ ปยี กชนื้  
อกไกก่ ไ็ มผ่ เุ ปอ่ื ย กลอนหลงั คากไ็ มผ่ เุ ปอ่ื ย ฝาเรอื นกไ็ มผ่ เุ ปอ่ื ย 
คหบดี  ฉันใดก็ฉันนั้นเหมือนกัน เมื่อจิตไม่ถึงความพินาศ
กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ก็เป็นอันไม่ถึงความพินาศ
… กม็ ีการตายทีง่ ดงาม มกี ารท�ำ กาละทีง่ ดงาม.

1. จติ เฺ ต อพยฺ าปนเฺ น บาลคี ำ�น้ี มสี ำ�นวนแปลอยา่ งอน่ื อกี เชน่ จติ ไมถ่ งึ ความผดิ ปกต,ิ
จิตไม่วิบตั ิ เป็นตน้ .  -ผู้รวบรวม
87

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ ูกปิด : จิต มโน วิญญาณ
36
จติ ตมโน จิตตสังกัปโป

-บาลี มหาว.ิ ว.ิ ๑/๑๓๗/๑๘๐.

อน่ึง ภิกษุใดจงใจพรากกายมนุษย์จากชีวิต หรือ
แสวงหาศัสตราอันจะปลิดชีวิตให้แก่กายมนุษย์นั้น หรือ
พรรณนาคุณแห่งความตาย หรือชักชวนเพ่ือให้ตายด้วย
คำ�ว่า ท่านผู้เจริญ จะมีประโยชน์อะไรแก่ท่าน ด้วยชีวิตอัน
แสนล�ำ บากยากแคน้ นี้ ทา่ นตายเสยี ดกี วา่ มชี วี ติ อยดู่ งั น้ี เธอมี
จิตใจอย่างนี้ มีความดำ�ริใจอย่างนี้ พรรณนาคุณแห่ง
ความตายกด็ ี ชกั ชวนเพอ่ื ใหต้ ายกด็ ี โดยหลายนยั แม้ภกิ ษุนี้
กเ็ ปน็ ปาราชิก หาสงั วาสมไิ ด้.

ในบทน้ี มบี าลีอย่างนี้

โย ปน ภิกขฺ ุ สฺจิจฺจ มนสุ ฺสวิคคฺ ห ชวี ติ า โวโรเปยยฺ
สตถฺ หารก วาสสฺ ปรเิ ยเสยยฺ มรณวณณฺ  วา สว ณเฺ ณยยฺ มรณาย
วา สมาทเปยยฺ อมโฺ ภ ปุริส กึ ตุยฺหมิ นิ า ปาปเกน ทุชชฺ ีวิเตน
มตนเฺ ต ชีวติ า เสยโฺ ยติ อติ จิ ติ ตฺ มโน จติ ตฺ สงฺกปฺโป อเนก-
ปรยิ าเยน มรณวณณฺ  วา สว ณเฺ ณยยฺ มรณาย วา สมาทเปยยฺ
อยมปฺ ิ ปาราชโิ ก โหติ อสว าโส.

88

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถูกปดิ : จิต มโน วิญญาณ

37อรยิ มรรคมอี งค์ ๘ เปน็ เครอ่ื งรองรบั จติ

-บาลี มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๒๕/๗๘.

ภิกษุทั้งหลาย  เปรียบเหมือนหม้อท่ีไม่มีเครื่อง
รองรับ ย่อมหมุนกล้ิงไปได้ง่าย ส่วนหม้อที่มีเครื่องรองรับ
ย่อมหมุนกล้ิงไปได้ยาก  ภิกษุท้ังหลาย  ฉันใดก็ฉันนั้น
เหมือนกัน จิตที่ไม่มีเครื่องรองรับ ย่อมหมุนไปได้ง่าย
ส่วนจิตท่ีมีเคร่อื งรองรบั ย่อมหมนุ ไปไดย้ าก.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  กอ็ ะไรเปน็ เครอ่ื งรองรบั จติ อรยิ มรรค
อันประกอบด้วยองค์ ๘ น้ีนั่นเอง เป็นเครื่องรองรับจิต
คอื สมั มาทิฏฐิ สมั มาสังกัปปะ สัมมาวาจา สมั มากมั มันตะ
สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ.

89

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี ูกปดิ : จิต มโน วิญญาณ
38
เหน็ จิตในจติ (นัยสติปฏั ฐานสตู ร)

-บาลี ม.ู ม. ๑๒/๑๑๐/๑๔๐.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  ภกิ ษเุ ปน็ ผพู้ จิ ารณาเหน็ จติ ในจติ อยู่
เปน็ อย่างไร  ภกิ ษใุ นธรรมวินัยนี้

จิตมีราคะก็รู้ชัดว่าจิตมีราคะ  หรือจิตปราศจาก
ราคะก็รูช้ ัดวา่ จติ ปราศจากราคะ 

จิตมีโทสะก็รู้ชัดว่าจิตมีโทสะ หรือจิตปราศจาก
โทสะกร็ ชู้ ดั ว่าจติ ปราศจากโทสะ 

จิตมีโมหะก็รู้ชัดว่าจิตมีโมหะ หรือจิตปราศจาก
โมหะกร็ ชู้ ดั วา่ จิตปราศจากโมหะ 

จิตหดห่กู ็ร้ชู ัดว่าจิตหดหู่  หรือจิตฟ้งุ ซ่านก็ร้ชู ัดว่า
จิตฟงุ้ ซ่าน 

จิตถึงความเป็นจิตใหญ่ (มหรคต) ก็รู้ชัดว่าจิตถึง
ความเป็นจิตใหญ่ หรือจติ ไมถ่ งึ ความเปน็ จติ ใหญก่ ร็ ชู้ ดั ว่า
จติ ไมถ่ งึ ความเป็นจติ ใหญ่ 

จิตมีธรรมอ่นื ย่งิ กว่าก็ร้ชู ัดว่าจิตมีธรรมอ่ืนยิ่งกว่า
หรือจติ ไมม่ ธี รรมอน่ื ยง่ิ กวา่ กร็ ชู้ ดั วา่ จติ ไมม่ ีธรรมอ่นื ย่ิงกว่า 

จติ ตง้ั มน่ั กร็ ชู้ ดั ว่าจิตตั้งม่ัน หรือจติ ไมต่ ง้ั มน่ั กร็ ชู้ ดั
วา่ จิตไมต่ ้ังมัน่  

90

เปดิ ธรรมที่ถูกปดิ : จิต มโน วญิ ญาณ

จติ หลดุ พน้ กร็ ชู้ ดั วา่ จติ หลดุ พน้ หรอื จติ ยงั ไมห่ ลดุ พน้
กร็ ชู้ ดั วา่ จติ ยงั ไมห่ ลุดพ้น.

ด้วยอาการอย่างนี้ ท่ีภิกษุเป็นผ้พู ิจารณาเห็นจิต
ในจติ ภายในอยู่บา้ ง พจิ ารณาเหน็ จติ ในจติ ภายนอกอยู่บา้ ง
พิจารณาเห็นจิตในจิตทั้งภายในและภายนอกอยู่บ้าง
พิจารณาเห็นธรรมคือความเกิดข้ึนในจิตอยู่บ้าง พิจารณา
เห็นธรรมคือความเสื่อมในจิตอยู่บ้าง พิจารณาเห็นธรรม
คอื ทง้ั ความเกดิ ขน้ึ และความเสอื่ มในจติ อยบู่ า้ ง อนง่ึ สตวิ า่
จติ มอี ยู่ กเ็ ปน็ สตทิ ด่ี �ำ รงไวเ้ พยี งสกั วา่ ความรู้ เพยี งสกั วา่
อาศัยระลึกเท่าน้ัน เป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิไม่อาศัยอยู่
และไม่ถือมั่นอะไรๆ ในโลก.

ภิกษุท้ังหลาย  ด้วยอาการอย่างนี้แล ภิกษุช่ือว่า
เป็นผพู้ ิจารณาเห็นจติ ในจิตอย่.ู

91

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถูกปดิ : จติ มโน วิญญาณ
39เห็นจิตในจติ (นัยอานาปานสตสิ ตู ร)

-บาลี มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๔๒๔/๑๔๐๓.

… ภิกษุทั้งหลาย  สมัยใด ภิกษุย่อมทำ�การฝึกหัด
ศกึ ษาวา่ เราเปน็ ผรู้ พู้ รอ้ มเฉพาะซง่ึ จติ หายใจเขา้ วา่ เราเปน็ ผู้
รพู้ รอ้ มเฉพาะซง่ึ จติ หายใจออก  ยอ่ มท�ำ การฝกึ หดั ศกึ ษา
ว่า เราเป็นผู้ทำ�จิตให้ปราโมทย์ยิ่ง หายใจเข้า ว่าเราเป็นผู้
ทำ�จิตให้ปราโมทย์ยิ่ง หายใจออก  ย่อมทำ�การฝึกหัด
ศึกษาว่า เราเป็นผู้ทำ�จิตให้ต้ังม่ัน หายใจเข้า ว่าเราเป็นผู้
ทำ�จิตให้ต้ังม่ัน หายใจออก  ย่อมทำ�การฝึกหัดศึกษาว่า
เราเป็นผู้ทำ�จิตให้ปล่อยอยู่ หายใจเข้า ว่าเราเป็นผู้ทำ�จิต
ให้ปล่อยอยู่ หายใจออก ภิกษุทั้งหลาย  สมัยนั้น ภิกษุนั้น
ชอ่ื วา่ เปน็ ผเู้ หน็ จติ ในจติ อยเู่ ปน็ ประจ�ำ มคี วามเพยี รเผากเิ ลส
มสี มั ปชญั ญะ มสี ติ น�ำ อภชิ ฌาและโทมนสั ในโลกออกเสยี ได.้

ภิกษุทั้งหลาย  เราไม่กล่าวอานาปานสติ ว่าเป็น
สง่ิ ทมี่ ไี ดแ้ กบ่ คุ คลผมู้ สี ตอิ นั ลมื หลงแลว้ ไมม่ สี มั ปชญั ญะ 
ภิกษุท้ังหลาย  เพราะเหตุน้ันในเร่ืองนี้ ภิกษุนั้นย่อมช่ือว่า
เป็นผู้เห็นจิตในจิตอยู่เป็นประจำ� มีความเพียรเผากิเลส
มสี มั ปชญั ญะ มสี ติ น�ำ อภชิ ฌาและโทมนสั ในโลกออกเสยี ได.้

92

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถูกปดิ : จติ มโน วญิ ญาณ

จติ หลดุ พ้น (นยั ที่ ๑) 40

-บาลี ขนธฺ . ส.ํ ๑๗/๖๓/๑๐๓.

ภิกษุท้ังหลาย  ภิกษุเห็นรูปอันไม่เท่ียงน่ันแหละ
ว่าไม่เที่ยง ความเห็นของเธอน้ันเป็นสัมมาทิฏฐิ เม่ือเห็น
อยโู่ ดยถกู ตอ้ ง ยอ่ มเบอื่ หนา่ ย เพราะความสนิ้ ไปแหง่ นนั ทิ
จงึ มคี วามสนิ้ ไปแหง่ ราคะ เพราะความสน้ิ ไปแหง่ ราคะ จงึ มี
ความสน้ิ ไปแหง่ นนั ทิ เพราะความสน้ิ ไปแหง่ นนั ทแิ ละราคะ
กลา่ วได้วา่ จิตหลดุ พน้ แลว้ ด้วยด.ี

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  ภกิ ษเุ หน็ เวทนาอนั ไมเ่ ทย่ี งนน่ั แหละ
วา่ ไมเ่ ทย่ี ง … ภกิ ษเุ หน็ สญั ญาอนั ไมเ่ ทย่ี งนน่ั แหละ วา่ ไมเ่ ทย่ี ง
… ภกิ ษเุ หน็ สงั ขารอนั ไมเ่ ทย่ี งนน่ั แหละ วา่ ไมเ่ ทย่ี ง …

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  ภกิ ษเุ หน็ วญิ ญาณอนั ไมเ่ ทย่ี งนน่ั แหละ
วา่ ไมเ่ ทยี่ ง ความเหน็ ของเธอนน้ั เปน็ สมั มาทฏิ ฐิ เมอื่ เหน็ อยู่
โดยถูกต้อง ย่อมเบื่อหน่าย เพราะความส้ินไปแห่งนันทิ
จงึ มคี วามสน้ิ ไปแหง่ ราคะ เพราะความสนิ้ ไปแหง่ ราคะ จงึ มี
ความสน้ิ ไปแหง่ นนั ทิ เพราะความสน้ิ ไปแหง่ นนั ทแิ ละราคะ
กลา่ วไดว้ ่า จิตหลดุ พน้ แลว้ ด้วยด.ี

93

พุทธวจน - หมวดธรรม

ภิกษุทั้งหลาย  เธอทั้งหลายจงกระทำ�ไว้ในใจซึ่งรูป
โดยอุบายอันแยบคาย และจงพิจารณาเห็นความไม่เที่ยง
แห่งรูป ตามความเป็นจริง เม่ือภิกษุกระทำ�ไว้ในใจซึ่งรูป
โดยอบุ ายอนั แยบคาย และพจิ ารณาเหน็ ความไมเ่ ทย่ี งแหง่ รปู
ตามความเปน็ จรงิ ย่อมเบอ่ื หนา่ ยในรปู เพราะความสน้ิ ไป
แห่งนันทิ จึงมีความสิ้นไปแห่งราคะ เพราะความสิ้นไป
แห่งราคะ จึงมีความส้ินไปแห่งนันทิ เพราะความสิ้นไป
แหง่ นันทแิ ละราคะ กล่าวได้ว่า จติ หลุดพน้ แลว้ ดว้ ยดี.

ภิกษุทั้งหลาย  เธอทั้งหลายจงกระทำ�ไว้ในใจซึ่ง
เวทนาโดยอุบายอันแยบคาย … เธอทั้งหลายจงกระทำ�
ไว้ในใจซึ่งสัญญาโดยอุบายอันแยบคาย … เธอท้ังหลาย
จงกระท�ำ ไวใ้ นใจซึ่งสงั ขารโดยอุบายอันแยบคาย …

ภิกษุทั้งหลาย  เธอทั้งหลายจงกระทำ�ไว้ในใจซ่ึง
วิญญาณโดยอุบายอันแยบคาย และจงพิจารณาเห็นความ
ไมเ่ ทยี่ งแหง่ วญิ ญาณ ตามความเปน็ จรงิ เมอื่ ภกิ ษกุ ระท�ำ
ไวใ้ นใจซง่ึ วญิ ญาณโดยอบุ ายอนั แยบคาย และพจิ ารณาเหน็
ความไมเ่ ทย่ี งแหง่ วญิ ญาณตามความเปน็ จรงิ ยอ่ มเบอื่ หนา่ ย
ในวิญญาณ เพราะความสิ้นไปแห่งนันทิ จึงมีความส้ินไป
แห่งราคะ เพราะความสิ้นไปแห่งราคะ จึงมีความสิ้นไป
แหง่ นนั ทิ เพราะความสน้ิ ไปแหง่ นนั ทแิ ละราคะ กลา่ วไดว้ า่
จติ หลุดพน้ แลว้ ด้วยด.ี

94

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี กู ปดิ : จติ มโน วิญญาณ

จิตหลดุ พน้ (นยั ที่ ๒) 41

-บาลี สฬา. ส.ํ ๑๘/๑๗๙/๒๔๕,๒๔๗.

ภิกษุท้ังหลาย  ภิกษุเห็นจักษุอันไม่เท่ียงน่ันแหละ
วา่ ไมเ่ ทยี่ ง ความเหน็ ของเธอนน้ั เปน็ สมั มาทฏิ ฐิ เมอ่ื เหน็ อยู่
โดยถูกต้อง ย่อมเบื่อหน่าย เพราะความสิ้นไปแห่งนันทิ
จงึ มคี วามสนิ้ ไปแหง่ ราคะ เพราะความสน้ิ ไปแหง่ ราคะ จงึ มี
ความสิ้นไปแห่งนันทิ เพราะความส้ินไปแห่งนันทิและ
ราคะ กลา่ วได้วา่ จติ หลดุ พ้นแลว้ ด้วยด.ี

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  ภกิ ษเุ หน็ โสตะอนั ไมเ่ ทยี่ งนน่ั แหละ
ว่าไม่เที่ยง … ภิกษุเห็นฆานะอันไม่เท่ียงน่ันแหละว่า
ไมเ่ ทย่ี ง … ภกิ ษเุ หน็ ชวิ หาอนั ไมเ่ ทย่ี งนนั่ แหละวา่ ไมเ่ ทยี่ ง …
ภิกษเุ หน็ กายอนั ไม่เทยี่ งนั่นแหละว่าไมเ่ ทย่ี ง …

ภิกษุท้ังหลาย  ภิกษุเห็นมนะอันไม่เท่ียงนั่นแหละ
วา่ ไมเ่ ทย่ี ง ความเหน็ ของเธอนน้ั เปน็ สมั มาทฏิ ฐิ เมอ่ื เหน็ อยู่
โดยถูกต้อง ย่อมเบื่อหน่าย เพราะความสิ้นไปแห่งนันทิ
จงึ มคี วามสน้ิ ไปแหง่ ราคะ เพราะความสน้ิ ไปแหง่ ราคะ จงึ มี
ความสน้ิ ไปแหง่ นนั ทิ เพราะความสนิ้ ไปแหง่ นนั ทแิ ละราคะ
กลา่ วได้วา่ จติ หลดุ พน้ แลว้ ดว้ ยดี.

95

พุทธวจน - หมวดธรรม

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  เธอทงั้ หลายจงกระท�ำ ไวใ้ นใจซง่ึ จกั ษุ
โดยอุบายอันแยบคาย และจงพิจารณาเห็นความไม่เท่ียง
แหง่ จกั ษตุ ามความเปน็ จรงิ เมอ่ื ภกิ ษกุ ระท�ำ ไวใ้ นใจซงึ่ จกั ษุ
โดยอุบายอันแยบคาย และพิจารณาเห็นความไม่เท่ียงแห่ง
จกั ษตุ ามความเปน็ จรงิ ยอ่ มเบอ่ื หนา่ ยในจกั ษุ เพราะความ
สน้ิ ไปแหง่ นนั ทิ จงึ มคี วามสน้ิ ไปแหง่ ราคะ เพราะความสน้ิ ไป
แห่งราคะ จึงมีความส้ินไปแห่งนันทิ เพราะความสิ้นไป
แห่งนนั ทแิ ละราคะ กล่าวได้ว่า จติ หลุดพน้ แลว้ ด้วยด.ี

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  เธอทง้ั หลายจงกระท�ำ ไวใ้ นใจซง่ึ โสตะ
โดยอุบายอันแยบคาย … เธอท้ังหลายจงกระทำ�ไว้ในใจ
ซ่ึงฆานะโดยอุบายอันแยบคาย … เธอท้ังหลายจงกระทำ�
ไว้ในใจซึ่งชิวหาโดยอุบายอันแยบคาย … เธอทั้งหลาย
จงกระท�ำ ไวใ้ นใจซง่ึ กายะโดยอุบายอนั แยบคาย …

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  เธอทง้ั หลายจงกระท�ำ ไวใ้ นใจซง่ึ มนะ
โดยอบุ ายอนั แยบคาย และจงพจิ ารณาเหน็ ความไมเ่ ทย่ี งแหง่
มนะตามความเปน็ จรงิ เมอื่ ภกิ ษกุ ระท�ำ ไวใ้ นใจซงึ่ มนะโดย
อบุ ายอันแยบคาย และพจิ ารณาเหน็ ความไมเ่ ทยี่ งแห่งมนะ
ตามความเปน็ จรงิ ยอ่ มเบอ่ื หนา่ ยในมนะ เพราะความสน้ิ ไป
แหง่ นนั ทิ จงึ มคี วามสนิ้ ไปแหง่ ราคะ เพราะความสน้ิ ไปแหง่
ราคะ จึงมีความส้ินไปแห่งนันทิ เพราะความสิ้นไปแห่ง
นนั ทแิ ละราคะ กล่าวไดว้ า่ จติ หลุดพน้ แล้วด้วยดี.

96

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ ูกปิด : จิต มโน วิญญาณ

จิตหลุดพ้น (นยั ท่ี ๓) 42

-บาลี สฬา. ส.ํ ๑๘/๑๗๙,๑๘๐/๒๔๖,๒๔๘.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  ภกิ ษเุ หน็ รปู อนั ไมเ่ ทยี่ งนนั่ แหละวา่
ไม่เท่ียง ความเห็นของเธอน้ันเป็นสัมมาทิฏฐิ เมื่อเห็นอยู่
โดยถูกต้อง ย่อมเบื่อหน่าย เพราะความสิ้นไปแห่งนันทิ
จงึ มคี วามสน้ิ ไปแหง่ ราคะ เพราะความสนิ้ ไปแหง่ ราคะ จงึ มี
ความสน้ิ ไปแหง่ นนั ทิ เพราะความสน้ิ ไปแหง่ นนั ทแิ ละราคะ
กลา่ วไดว้ า่ จิตหลุดพ้นแล้วด้วยดี.

ภกิ ษทุ งั้ หลาย  ภกิ ษเุ หน็ เสยี งอนั ไมเ่ ทยี่ งนนั่ แหละ
ว่าไม่เท่ียง … ภิกษุเห็นกลิ่นอันไม่เที่ยงน่ันแหละว่า
ไมเ่ ทย่ี ง … ภกิ ษเุ หน็ รสอนั ไมเ่ ทย่ี งนน่ั แหละวา่ ไมเ่ ทย่ี ง …
ภกิ ษุเห็นโผฏฐัพพะอันไมเ่ ที่ยงนน่ั แหละวา่ ไมเ่ ที่ยง …

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  ภกิ ษเุ หน็ ธรรมอนั ไมเ่ ทยี่ งนนั่ แหละ
วา่ ไมเ่ ทยี่ ง ความเหน็ ของเธอนน้ั เปน็ สมั มาทฏิ ฐิ เมอ่ื เหน็ อยู่
โดยถูกต้อง ย่อมเบื่อหน่าย เพราะความส้ินไปแห่งนันทิ
จงึ มคี วามสนิ้ ไปแหง่ ราคะ เพราะความสน้ิ ไปแหง่ ราคะ จงึ มี
ความสน้ิ ไปแหง่ นนั ทิ เพราะความสน้ิ ไปแหง่ นนั ทแิ ละราคะ
กลา่ วได้ว่า จิตหลุดพ้นแลว้ ด้วยด.ี

97

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

ภิกษุทั้งหลาย  เธอท้ังหลายจงกระทำ�ไว้ในใจซึ่งรูป
โดยอุบายอันแยบคาย และจงพิจารณาเห็นความไม่เท่ียง
แห่งรูปตามความเป็นจริง เมื่อภิกษุกระทำ�ไว้ในใจซึ่งรูป
โดยอบุ ายอนั แยบคาย และพจิ ารณาเหน็ ความไมเ่ ทย่ี งแหง่ รปู
ตามความเปน็ จรงิ ยอ่ มเบอื่ หนา่ ยในรปู เพราะความสนิ้ ไป
แห่งนันทิ จึงมีความสิ้นไปแห่งราคะ เพราะความสิ้นไป
แห่งราคะ จึงมีความส้ินไปแห่งนันทิ เพราะความสิ้นไป
แหง่ นันทแิ ละราคะ กล่าวได้วา่ จติ หลุดพ้นแล้วด้วยด.ี

ภิกษุท้ังหลาย  เธอทั้งหลายจงกระทำ�ไว้ในใจซ่ึง
เสียงโดยอุบายอันแยบคาย … เธอท้ังหลายจงกระทำ�ไว้ใน
ใจซงึ่ กลน่ิ โดยอบุ ายอนั แยบคาย … เธอทง้ั หลายจงกระท�ำ ไว้
ในใจซ่ึงรสโดยอุบายอนั แยบคาย … เธอท้ังหลายจงกระท�ำ
ไวใ้ นใจซ่งึ โผฏฐัพพะโดยอุบายอันแยบคาย …

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  เธอทง้ั หลายจงกระท�ำ ไวใ้ นใจซง่ึ ธรรม
โดยอุบายอันแยบคาย และจงพิจารณาเห็นความไม่เท่ยี ง
แห่งธรรมตามความเป็นจริง เม่ือภิกษุกระทำ�ไว้ในใจซ่ึง
ธรรมโดยอบุ ายอนั แยบคาย และพจิ ารณาเหน็ ความไมเ่ ทย่ี ง
แหง่ ธรรมตามความเปน็ จรงิ ยอ่ มเบอื่ หนา่ ยในธรรม เพราะ
ความสน้ิ ไปแหง่ นนั ทิ จงึ มคี วามสนิ้ ไปแหง่ ราคะ เพราะความ
สน้ิ ไปแหง่ ราคะ จงึ มคี วามสนิ้ ไปแหง่ นนั ทิ เพราะความสน้ิ ไป
แหง่ นนั ทิและราคะ กล่าวไดว้ า่ จติ หลุดพ้นแล้วดว้ ยด.ี

98

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทีถ่ กู ปิด : จติ มโน วญิ ญาณ

จิตทหี่ ลดุ พน้ ดีแลว้ 43

-บาลี ปญจฺ ก. อ.ํ ๒๒/๒๗๒/๒๐๐.

ภิกษุทั้งหลาย  ธาตุท่ีพึงพรากได้ (นิสฺสารณิยธาตุ)
๕ ประการน ี้ ๕ ประการอะไรบา้ ง คือ

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  เมอื่ ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั น้ี มนสกิ ารถงึ
กามทั้งหลาย จิตของเธอย่อมไม่แล่นไป ย่อมไม่เล่ือมใส
ย่อมไม่ต้ังอยู่ ย่อมไม่น้อมไปในกามทั้งหลาย แต่เม่ือ
เธอมนสิการถึงเนกขัมมะ จิตของเธอย่อมแล่นไป ย่อม
เลอ่ื มใส ยอ่ มตงั้ อยู่ ยอ่ มนอ้ มไปในเนกขมั มะ จติ ของเธอนนั้
ชอ่ื วา่ เปน็ จติ ด�ำ เนนิ ไปดแี ลว้ อบรมดแี ลว้ ตง้ั อยดู่ แี ลว้ หลดุ พน้
ดแี ลว้ พรากออกดแี ลว้ จากกามทง้ั หลาย อาสวะ ทกุ ข์ และความ
เรา่ รอ้ นเหลา่ ใด ยอ่ มเกดิ เพราะกามเปน็ ปจั จยั เธอหลดุ พน้ แลว้
จากอาสวะ ทกุ ข์ และความเรา่ รอ้ นเหลา่ นนั้ เธอยอ่ มไมเ่ สวย
เวทนาทเี่ กดิ เพราะเหตนุ น้ั นเ้ี รากลา่ ววา่ เปน็ การพรากออก
แห่งกามทั้งหลาย.

ภิกษุท้ังหลาย  อีกประการหนึ่ง เมื่อภิกษุมนสิการ
ถึงพยาบาท จิตของเธอย่อมไม่แล่นไป ย่อมไม่เลื่อมใส
ย่อมไม่ตั้งอยู่ ย่อมไม่น้อมไปในพยาบาท แต่เมื่อเธอ
มนสิการถึงความไม่พยาบาท จิตของเธอย่อมแล่นไป

99

พุทธวจน - หมวดธรรม

ยอ่ มเลอ่ื มใส ย่อมต้งั อยู่ ย่อมน้อมไปในความไมพ่ ยาบาท
จิตของเธอน้ันช่ือว่าเป็นจิตดำ�เนินไปดีแล้ว อบรมดีแล้ว
ต้ังอยู่ดีแล้ว หลุดพ้นดีแล้ว พรากออกดีแล้วจากพยาบาท
อาสวะ ทุกข์ และความเร่าร้อนเหล่าใด ย่อมเกิดเพราะ
พยาบาทเป็นปัจจัย เธอหลุดพ้นแล้วจากอาสวะ ทุกข์
และความเร่าร้อนเหล่าน้ัน เธอย่อมไม่เสวยเวทนาท่ีเกิด
เพราะเหตนุ น้ั นเ้ี รากลา่ ววา่ เปน็ การพรากออกแหง่ พยาบาท.

ภกิ ษทุ งั้ หลาย  อกี ประการหนง่ึ เมอื่ ภกิ ษมุ นสกิ ารถงึ
วิหิงสา  จิตของเธอย่อมไม่แล่นไป  ย่อมไม่เล่ือมใส
ยอ่ มไมต่ ง้ั อยู่ ยอ่ มไมน่ อ้ มไปในวหิ งิ สา แตเ่ มอ่ื เธอมนสกิ าร
ถงึ อวหิ งิ สา จติ ของเธอยอ่ มแลน่ ไป ยอ่ มเลอ่ื มใส ยอ่ มตง้ั อยู่
ยอ่ มนอ้ มไปในอวหิ งิ สา จติ ของเธอนนั้ ชอื่ วา่ เปน็ จติ ด�ำ เนนิ
ไปดแี ลว้ อบรมดแี ลว้ ตง้ั อยดู่ แี ลว้ หลดุ พน้ ดแี ลว้ พรากออก
ดีแล้วจากวิหิงสา อาสวะ ทุกข์ และความเร่าร้อนเหล่าใด
ยอ่ มเกดิ เพราะวหิ งิ สาเปน็ ปจั จยั เธอหลดุ พน้ แลว้ จากอาสวะ
ทุกข์ และความเร่าร้อนเหล่านั้น เธอย่อมไม่เสวยเวทนา
ที่เกิดเพราะเหตุน้ัน น้ีเรากล่าวว่า เป็นการพรากออก
แห่งวหิ ิงสา.

100

เปิดธรรมที่ถกู ปดิ : จติ มโน วิญญาณ

ภิกษุท้ังหลาย  อีกประการหนึ่ง เม่ือภิกษุมนสิการ
ถงึ รปู ทง้ั หลาย จติ ของเธอยอ่ มไมแ่ ลน่ ไป ยอ่ มไมเ่ ลอื่ มใส
ย่อมไม่ต้ังอยู่ ย่อมไม่น้อมไปในรูปทั้งหลาย แต่เม่ือเธอ
มนสิการถึงอรูป จิตของเธอย่อมแล่นไป ย่อมเลื่อมใส
ย่อมต้ังอยู่ ย่อมน้อมไปในอรูป จิตของเธอน้ันช่ือว่าเป็น
จติ ด�ำ เนนิ ไปดแี ลว้ อบรมดแี ลว้ ตงั้ อยดู่ แี ลว้ หลดุ พน้ ดแี ลว้
พรากออกดีแล้วจากรูปทั้งหลาย อาสวะ ทุกข์ และความ
เรา่ รอ้ นเหลา่ ใด ยอ่ มเกดิ เพราะรปู เปน็ ปจั จยั เธอหลดุ พน้ แลว้
จากอาสวะ ทกุ ข์ และความเรา่ รอ้ นเหลา่ นนั้ เธอยอ่ มไมเ่ สวย
เวทนาทเ่ี กดิ เพราะเหตนุ น้ั นเ้ี รากลา่ ววา่ เปน็ การพรากออก
แห่งรูปทั้งหลาย.

ภิกษุท้ังหลาย  อีกประการหนึ่ง เมื่อภิกษุมนสิการ
ถึงสักกายะ จิตของเธอย่อมไม่แล่นไป ย่อมไม่เล่ือมใส
ย่อมไม่ตั้งอยู่ ย่อมไม่น้อมไปในสักกายะ แต่เม่ือเธอ
มนสกิ ารถงึ ความดบั แหง่ สกั กายะ จติ ของเธอยอ่ มแลน่ ไป
ยอ่ มเลอ่ื มใส ยอ่ มตง้ั อยู่ ยอ่ มนอ้ มไปในความดบั แหง่ สกั กายะ
จิตของเธอน้ันชื่อว่าเป็นจิตดำ�เนินไปดีแล้ว อบรมดีแล้ว
ต้ังอยู่ดีแล้ว หลุดพ้นดีแล้ว พรากออกดีแล้วจากสักกายะ
อาสวะ ทกุ ข์ และความเรา่ รอ้ นเหลา่ ใด ยอ่ มเกดิ เพราะสกั กายะ

101

พุทธวจน - หมวดธรรม

เป็นปัจจัย เธอหลุดพ้นแล้วจากอาสวะ ทุกข์ และความ
เรา่ รอ้ นเหลา่ นนั้ เธอยอ่ มไมเ่ สวยเวทนาทเี่ กดิ เพราะเหตนุ น้ั
น้ีเรากล่าววา่ เป็นการพรากออกแห่งสักกายะ.

ภกิ ษทุ งั้ หลาย  ความเพลนิ ในกามกด็ ี ความเพลนิ ใน
พยาบาทกด็ ี ความเพลนิ ในวิหิงสาก็ดี ความเพลินในรูปกด็ ี
ความเพลินในสักกายะก็ดี ย่อมไม่บังเกิดข้ึนแก่เธอ เพราะ
ความเพลนิ ในกามกด็ ี ความเพลนิ ในพยาบาทกด็ ี ความเพลนิ
ในวหิ งิ สากด็ ี ความเพลนิ ในรปู กด็ ี ความเพลนิ ในสกั กายะกด็ ี
ไม่บังเกิดขึ้น ภิกษุนี้เรากล่าวว่าเป็นผู้ไม่มีอาลัย ตัดตัณหา
ไดแ้ ลว้ คลายสงั โยชนไ์ ดแ้ ลว้ ท�ำ ทส่ี ดุ แหง่ ทกุ ขไ์ ดแ้ ลว้ เพราะ
ละมานะไดโ้ ดยชอบ.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  ธาตทุ พี่ งึ พรากได้ ๕ ประการนแี้ ล.

102

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถกู ปดิ : จิต มโน วิญญาณ

ผู้มจี ติ อันหลุดพน้ แลว้ ด้วยดี 44

-บาลี ทสก. อ.ํ ๒๔/๓๓/๒๐.

… ภิกษทุ ้งั หลาย  กภ็ กิ ษุเปน็ ผ้มู กี ายสังขารอันสงบ
ระงับแล้วเป็นอย่างไร  ภิกษุในธรรมวินัยน้ี เพราะละสุข
และทุกข์เสียได้ เพราะความดับไปแห่งโสมนัสและโทมนัส
ก่อนๆ ยอ่ มบรรลจุ ตตุ ถฌาน อันไม่มที กุ ข์ ไมม่ ีสขุ มแี ตส่ ติ
อันบริสุทธิ์เพราะอุเบกขาแล้วแลอยู่  ภิกษุท้ังหลาย  ภิกษุ
เปน็ ผูม้ กี ายสังขารอนั สงบระงบั แล้ว เปน็ อย่างน้ีแล.

ภิกษุทั้งหลาย  ก็ภิกษุเป็นผู้มีจิตอันหลุดพ้นแล้ว
ด้วยดีเป็นอย่างไร  จิตของภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็น
ธรรมชาติหลุดพ้นแล้วจากราคะ หลุดพ้นแล้วจากโทสะ
หลุดพ้นแล้วจากโมหะ  ภิกษุท้ังหลาย  ภิกษุเป็นผู้มีจิต
อนั หลุดพ้นแล้วดว้ ยดี เป็นอย่างนี้แล.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  กภ็ กิ ษเุ ปน็ ผมู้ ปี ญั ญาอนั หลดุ พน้ แลว้
ดว้ ยดเี ปน็ อยา่ งไร  ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั น้ี ยอ่ มรชู้ ดั วา่ ราคะเรา
ละไดแ้ ลว้ ตดั รากไดข้ าดแลว้ ท�ำ ใหเ้ ปน็ เหมอื นตาลยอดดว้ น
ท�ำ ใหไ้ มม่ ี และมอี นั ไมเ่ กดิ ขนึ้ อกี ตอ่ ไปเปน็ ธรรมดา ยอ่ มรชู้ ดั
ว่าโทสะเราละได้แล้ว … ย่อมรู้ชัดว่าโมหะเราละได้แล้ว
ตดั รากไดข้ าดแลว้ ท�ำ ใหเ้ ปน็ เหมอื นตาลยอดดว้ น ท�ำ ใหไ้ มม่ ี
และมีอันไม่เกิดข้ึนอีกต่อไปเป็นธรรมดา  ภิกษุทั้งหลาย 
ภกิ ษเุ ปน็ ผมู้ ปี ญั ญาอนั หลดุ พน้ แลว้ ดว้ ยดี เปน็ อยา่ งนแี้ ล. …

103

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทีถ่ ูกปิด : จติ มโน วญิ ญาณ

การเข้าไปหา เปน็ ความไมห่ ลดุ พน้ 45
การไม่เข้าไปหา เป็นความหลดุ พ้น

-บาลี ขนธฺ . ส.ํ ๑๗/๖๖/๑๐๕.

ภกิ ษทุ งั้ หลาย  การเขา้ ไปหา เปน็ ความไมห่ ลดุ พน้
การไม่เข้าไปหา เปน็ ความหลุดพ้น.

ภิกษุท้ังหลาย  วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอารูป
ต้ังอยู่ ก็ต้ังอยู่ได้ เป็นวิญญาณท่ีมีรูปเป็นอารมณ์ มีรูปเป็น
ที่ต้ังอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปซ่องเสพ ก็ถึงความเจริญ
งอกงาม ไพบูลย์ได้.

ภิกษุทั้งหลาย  วิญญาณ ซ่ึงเข้าถือเอาเวทนา
ตั้งอยู่ ก็ต้ังอยู่ได้ เป็นวิญญาณที่มีเวทนาเป็นอารมณ์
มีเวทนาเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปซ่องเสพ ก็ถึง
ความเจรญิ งอกงาม ไพบูลย์ได้.

ภิกษุท้ังหลาย  วิญญาณ ซ่ึงเข้าถือเอาสัญญา
ตั้งอยู่ ก็ตั้งอยู่ได้ เป็นวิญญาณท่ีมีสัญญาเป็นอารมณ์
มีสัญญาเป็นท่ีตั้งอาศัย มีนันทิเป็นท่ีเข้าไปซ่องเสพ ก็ถึง
ความเจรญิ งอกงาม ไพบูลย์ได.้

ภิกษุท้ังหลาย  วิญญาณ ซึ่งเข้าถือเอาสังขาร
ต้ังอยู่ ก็ต้ังอยู่ได้ เป็นวิญญาณที่มีสังขารเป็นอารมณ์

104

เปดิ ธรรมทถ่ี ูกปิด : จิต มโน วญิ ญาณ

มีสังขารเป็นที่ตั้งอาศัย มีนันทิเป็นที่เข้าไปซ่องเสพ ก็ถึง
ความเจรญิ งอกงาม ไพบูลยไ์ ด้.

ภิกษุทั้งหลาย  ผู้ใดจะพึงกล่าวอย่างน้ีว่า เราจัก
บญั ญัติ การมา การไป การจุติ การอปุ บัติ หรอื ความเจรญิ
ความงอกงาม ความไพบูลย์แห่งวิญญาณ โดยเว้นจากรูป
จากเวทนา จากสัญญา จากสงั ขารดังน้ี ข้อน้ีไมใ่ ช่ฐานะที่จะ
มีได.้

ภิกษุท้ังหลาย  ถ้าราคะในรูปธาตุ ในเวทนาธาตุ
ในสญั ญาธาตุ ในสังขารธาตุ ในวิญญาณธาตุ เปน็ สิ่งทีภ่ ิกษุ
ทงั้ หลายละไดแ้ ลว้  (ราโค ปหโี น) เพราะละราคะนนั้ ได้ อารมณ์
สำ�หรับวิญญาณย่อมขาดลง ท่ีต้ังแห่งวิญญาณย่อมไม่มี
วิญญาณอันไม่มีที่ต้ังนั้น ก็ไม่งอกงาม หลุดพ้นไปเพราะ
ไมถ่ กู ปรงุ แตง่ เพราะหลดุ พน้ ไป กต็ งั้ มน่ั  (ติ ) เพราะตง้ั มนั่
กย็ นิ ดใี นตนเอง (สนตฺ สุ ติ ) เพราะยนิ ดใี นตนเอง กไ็ มห่ วน่ั ไหว 
(น ปรติ สสฺ ต)ิ   เมอ่ื ไมห่ วน่ั ไหว กป็ รนิ พิ พาน เฉพาะตนนน่ั เทยี ว 
เธอยอ่ มรชู้ ดั วา่ ชาตสิ น้ิ แลว้ พรหมจรรยอ์ ยจู่ บแลว้ กจิ ทค่ี วรท�ำ
ได้ทำ�เสร็จแล้ว กิจอ่ืนท่ีจะต้องทำ�เพ่ือความเป็นอย่างนี้
ไมไ่ ดม้ ีอีก.

105

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ ูกปิด : จติ มโน วญิ ญาณ

การนอ้ มใจเพอ่ื ตดั โอรมั ภาคยิ สงั โยชน์ 46

-บาลี ขนธฺ . ส.ํ ๑๗/๖๘/๑๐๘.

เมอ่ื ภกิ ษนุ อ้ มใจไปอยา่ งนวี้ า่ ถา้ เราไมพ่ งึ มี ของเรา
กไ็ มพ่ งึ มี ถา้ เราจกั ไมม่ ี ของเรากจ็ กั ไมม่  ี(โน จสสฺ โน จ เม สยิ า
น ภวิสฺสติ น เม ภวิสฺสติ) ดังน้ี  ภิกษุนั้น พึงตัดโอรัมภาคิย-
สงั โยชน์ได.้

ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ   กภ็ กิ ษนุ อ้ มใจไปอยา่ งนว้ี า่ ถา้ เราไมพ่ งึ มี
ของเรากไ็ มพ่ งึ มี ถา้ เราจกั ไมม่ ี ของเรากจ็ กั ไมม่ ี ดงั น้ี พงึ ตดั โอรมั ภาคยิ -
สงั โยชน์ไดอ้ ย่างไร พระเจ้าข้า.

ภิกษุ  ปุถุชนผู้ไม่ได้สดับแล้วในโลกน้ี ไม่ได้เห็น
พระอริยะ ไม่ฉลาดในธรรมของพระอริยะ ไม่ได้รับการ
แนะนำ�ในธรรมของพระอริยะ ไม่ได้เห็นสัปบุรุษ ไม่ฉลาด
ในธรรมของสปั บรุ ษุ ไมไ่ ดร้ บั การแนะน�ำ ในธรรมของสปั บรุ ษุ
ย่อมตามเห็นรูปโดยความเป็นตน  ย่อมเห็นตนมีรูป 
ยอ่ มเหน็ รปู ในตน  ยอ่ มเหน็ ตนในรปู   ยอ่ มตามเหน็ เวทนา
โดยความเปน็ ตน … ย่อมตามเหน็ สญั ญาโดยความเป็นตน
… ย่อมตามเห็นสังขารโดยความเป็นตน … ย่อมตามเห็น
วิญญาณโดยความเป็นตน  ย่อมเห็นตนมีวิญญาณ  ย่อม
เห็นวิญญาณในตน ย่อมเห็นตนในวิญญาณ  เขาย่อม

106

เปดิ ธรรมท่ถี กู ปดิ : จติ มโน วญิ ญาณ

ไมท่ ราบชดั รปู เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อนั ไม่เท่ยี ง
ตามความเป็นจริงว่า ไม่เท่ียง  ไม่ทราบชัดซ่ึงรูป เวทนา
สัญญา สังขาร วิญญาณ อันเป็นทุกข์ ตามความเป็นจริงว่า
เปน็ ทกุ ข ์ ไมท่ ราบชดั ซงึ่ รปู เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ
อนั เปน็ อนตั ตา ตามความเปน็ จรงิ วา่ เปน็ อนตั ตา  ไมท่ ราบชดั
ซึ่งรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันปัจจัยปรุงแต่ง
ตามความเป็นจริงว่า อันปัจจัยปรุงแต่ง  ไม่ทราบชัด
ตามความเปน็ จรงิ วา่ แมร้ ปู แมเ้ วทนา แมส้ ญั ญา แมส้ งั ขาร
แมว้ ญิ ญาณ จกั ไม่ม.ี

ภกิ ษ ุ สว่ นอรยิ สาวกผไู้ ดส้ ดบั แลว้ ไดเ้ หน็ พระอรยิ ะ
ฉลาดในธรรมของพระอริยะ ได้รับการแนะนำ�ดีในธรรม
ของพระอริยะ ได้เห็นสัปบุรุษ ฉลาดในธรรมของสัปบุรุษ
ไดร้ บั การแนะน�ำ ดใี นธรรมของสปั บรุ ษุ ยอ่ มไมพ่ จิ ารณาเหน็
รูปโดยความเป็นตน … ย่อมไม่พิจารณาเห็นเวทนาโดย
ความเป็นตน … ย่อมไม่พิจารณาเห็นสัญญาโดยความ
เปน็ ตน … ยอ่ มไมพ่ จิ ารณาเหน็ สงั ขารโดยความเปน็ ตน …
ยอ่ มไมพ่ จิ ารณาเหน็ วญิ ญาณโดยความเปน็ ตน … เธอยอ่ ม
ทราบชดั ซง่ึ รปู เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ อนั ไมเ่ ทย่ี ง
ตามความเปน็ จรงิ ว่า ไมเ่ ทีย่ ง ยอ่ มทราบชัดซ่งึ รูป เวทนา

107

พุทธวจน - หมวดธรรม

สัญญา สังขาร วิญญาณ อันเป็นทุกข์ ตามความเป็นจริง
ว่าเป็นทุกข์  ย่อมทราบชัดซึ่งรูป เวทนา สัญญา สังขาร
วิญญาณ อันเป็นอนัตตา ตามความเป็นจริงว่าเป็นอนัตตา 
ย่อมทราบชัดซ่ึงรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
อันปัจจัยปรุงแต่ง ตามความเป็นจริงว่า อันปัจจัยปรุง
แต่ง ย่อมทราบชัดตามความเปน็ จริงวา่ แมร้ ูป แม้เวทนา
แม้สัญญา แมส้ ังขาร แมว้ ญิ ญาณ ก็ไม่มี  ย่อมทราบชัด
ตามความเปน็ จรงิ เชน่ นนั้ เพราะเหน็ ความเปน็ ตา่ งๆ แหง่ รปู
เวทนา สญั ญา สังขาร วญิ ญาณ.

ภิกษุ  เมื่อภิกษุน้อมใจไปอย่างน้ีว่า ถ้าเราไม่พึงมี
ของเรากไ็ มพ่ งึ มี ถา้ เราจกั ไมม่ ี ของเรากจ็ กั ไมม่ ดี งั นี้ ภกิ ษนุ น้ั
พงึ ตัดโอรัมภาคิยสังโยชนไ์ ด้ ด้วยอาการอย่างน้ีแล.

ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ   ภกิ ษนุ อ้ มใจไปอยอู่ ยา่ งนี้ พงึ ตดั โอรมั -
ภาคยิ สงั โยชนเ์ สยี ได ้ ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ เมอ่ื ภกิ ษรุ อู้ ยอู่ ยา่ งไร เหน็ อยู่
อย่างไร อาสวะทงั้ หลายจึงจะส้นิ ไปโดยลำ�ดบั .

ภิกษุ  ปุถุชนผู้ไม่ได้สดับแล้วในโลกนี้ ไม่ได้เห็น
พระอริยะ ไม่ฉลาดในธรรมของพระอริยะ ไม่ได้รับการ
แนะนำ�ในธรรมของพระอริยะ ไม่ได้เห็นสัปบุรุษ ไม่ฉลาด
ในธรรมของสัปบุรุษ ไม่ได้รับการแนะนำ�ในธรรมของ

108

เปิดธรรมที่ถูกปิด : จติ มโน วญิ ญาณ

สปั บรุ ษุ ยอ่ มถงึ ความสะดงุ้ ในฐานะอนั ไมค่ วรสะดงุ้   ภกิ ษ ุ
ก็ปุถุชนผู้ไม่ได้สดับแล้ว ย่อมมีความสะดุ้งดังน้ีว่า ถ้าเรา
ไม่พึงมี ของเราก็ไม่พึงมี ถ้าเราจักไม่มี ของเราก็จักไม่มี
ดงั นี้  ภิกษุ  สว่ นอรยิ สาวกผ้ไู ด้สดบั แล้ว ได้เหน็ พระอรยิ ะ
ฉลาดในธรรมของพระอรยิ ะ ไดร้ บั การแนะน�ำ ดใี นธรรมของ
พระอรยิ ะ ได้เหน็ สปั บุรษุ ฉลาดในธรรมของสปั บรุ ษุ ได้รบั
การแนะนำ�ดีในธรรมของสัปบุรุษ  ย่อมไม่ถึงความสะดุ้ง
ในฐานะอันไม่ควรสะดุ้ง  ภิกษุ  อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว
ไม่มีความสะดุ้งดังน้ีว่า ถ้าเราไม่พึงมี ของเราก็ไม่พึงมี
ถา้ เราจักไมม่ ี ของเราก็จักไมม่ ี ดังน้ี.

ภิกษุ  วิญญาณ ซ่ึงเข้าถือเอารูป ต้งั อยู่ ก็ต้งั อย่ไู ด้
เป็นวญิ ญาณทม่ี ีรปู เป็นอารมณ์ มรี ูปเป็นท่ีต้ังอาศัย มีนันทิ
เปน็ ท่ีเขา้ ไปซ่องเสพ กถ็ ึงความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ได้.

ภกิ ษ ุ วญิ ญาณ ซง่ึ เขา้ ถอื เอาเวทนา ตง้ั อยู่ กต็ งั้ อยไู่ ด้
เปน็ วญิ ญาณทม่ี เี วทนาเปน็ อารมณ์ มเี วทนาเปน็ ทตี่ ง้ั อาศยั มี
นนั ทเิ ปน็ ทเ่ี ขา้ ไปซอ่ งเสพ กถ็ งึ ความเจรญิ งอกงาม ไพบลู ยไ์ ด.้

ภกิ ษ ุ วญิ ญาณ ซง่ึ เขา้ ถอื เอาสญั ญา ตงั้ อยู่ กต็ งั้ อยไู่ ด้
เป็นวิญญาณท่ีมีสัญญาเป็นอารมณ์ มีสัญญาเป็นท่ีต้ังอาศัย
มนี นั ทเิ ปน็ ทเ่ี ขา้ ไปซอ่ งเสพ กถ็ งึ ความเจรญิ งอกงาม ไพบลู ยไ์ ด.้

109

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

ภกิ ษ ุ วญิ ญาณ ซงึ่ เขา้ ถอื เอาสงั ขาร ตง้ั อยู่ กต็ งั้ อยไู่ ด้
เปน็ วญิ ญาณทม่ี สี งั ขารเปน็ อารมณ์ มสี งั ขารเปน็ ทตี่ ง้ั อาศยั มี
นนั ทเิ ปน็ ทเ่ี ขา้ ไปซอ่ งเสพ กถ็ งึ ความเจรญิ งอกงาม ไพบลู ยไ์ ด.้

ภกิ ษ ุ ผใู้ ดจะพงึ กลา่ วอยา่ งนว้ี า่ เราจกั บญั ญตั ิ การมา
การไป การจุติ การอุปบัติ หรือความเจริญ ความงอกงาม
ความไพบูลย์แห่งวิญญาณ โดยเว้นจากรูป จากเวทนา
จากสญั ญา จากสงั ขารดงั น้ี ขอ้ นไ้ี มเ่ ปน็ ฐานะทจ่ี ะมไี ด.้

ภกิ ษ ุ ถา้ ราคะในรปู ธาตุ ในเวทนาธาตุ ในสญั ญาธาตุ
ในสงั ขารธาตุ ในวญิ ญาณธาตุ เปน็ สง่ิ ทภ่ี กิ ษลุ ะไดแ้ ลว้  (ราโคปหโี น)
เพราะละราคะน้ันได้ อารมณส์ ำ�หรบั วิญญาณกข็ าดลง ทตี่ ้ัง
แหง่ วญิ ญาณยอ่ มไมม่ ี วญิ ญาณอนั ไมม่ ที ต่ี งั้ นนั้ กไ็ มง่ อกงาม
หลดุ พน้ ไป เพราะไมถ่ กู ปรงุ แตง่ เพราะหลดุ พน้ ไป กต็ ง้ั มน่ั  
เพราะตั้งมั่น ก็ยินดีในตนเอง  เพราะยินดีในตนเอง ก็ไม่
หว่ันไหว  เม่ือไม่หวั่นไหว ก็ปรินิพพานเฉพาะตนน่ันเทียว 
เธอยอ่ มรชู้ ดั วา่ ชาตสิ น้ิ แลว้ พรหมจรรยอ์ ยจู่ บแลว้ กจิ ทค่ี วรท�ำ
ได้ทำ�เสร็จแล้ว กิจอ่ืนที่จะต้องทำ�เพื่อความเป็นอย่างนี้
ไมไ่ ดม้ ีอีก.

ภิกษุ  เม่ือบุคคลรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้แล
อาสวะท้งั หลายย่อมสิ้นไปโดยล�ำ ดบั .

110

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ กู ปดิ : จติ มโน วิญญาณ

เหตุให้วิชชาและวมิ ตุ ติบรบิ รู ณ์ 47

-บาลี มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๑๐๕/๓๙๔.

กุณฑลิยปริพพาชก ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคว่า ข้าแต่ท่าน
พระโคดมผูเ้ จรญิ ขา้ พเจ้าเทีย่ วไปในอาราม เข้าไปสู่บรษิ ทั เมื่อขา้ พเจ้า
บริโภคอาหารเช้าแล้ว ในเวลาปัจฉาภัต ข้าพเจ้าเดินไปเนืองๆ เที่ยวไป
เนืองๆ สู่อารามจากอาราม สู่อุทยานจากอุทยาน ณ ที่น้ัน ข้าพเจ้าเห็น
สมณพราหมณพ์ วกหนงึ่ เปน็ ผมู้ กี ารเปลอื้ งวาทะแกก่ นั และกนั วา่ อยา่ งนๆี้
เป็นเครื่องสนุกสนานชอบใจ (อานิสํ) ก็มี มีการติเตียนกันเม่ือกล่าว
กถานน้ั ๆ อยู่ เปน็ เครอ่ื งสนกุ สนานชอบใจกม็ ี สว่ นทา่ นพระโคดมผเู้ จรญิ เลา่
เป็นผ้อู ยดู่ ้วยการมีอะไรเปน็ เครือ่ งสนกุ สนานชอบใจ.

กณุ ฑลยิ ะ  ตถาคตอยดู่ ว้ ยการมวี ชิ ชาและวมิ ตุ ตเิ ปน็
เคร่ืองสนุกสนานชอบใจ (ผลานสิ ํ).

ขา้ แตท่ า่ นพระโคดมผเู้ จรญิ   กธ็ รรมเหลา่ ไหนทบ่ี คุ คลเจรญิ แลว้
กระทำ�ใหม้ ากแลว้ ย่อมทำ�วชิ ชาและวิมตุ ตใิ หบ้ รบิ รู ณ.์

กุณฑลิยะ  โพชฌงค์ทั้ง ๗ อันบุคคลเจริญแล้ว
กระท�ำ ใหม้ ากแล้ว ยอ่ มทำ�วชิ ชาและวิมตุ ตใิ หบ้ ริบรู ณ.์

ขา้ แตท่ า่ นพระโคดมผเู้ จรญิ   กธ็ รรมเหลา่ ไหนทบ่ี คุ คลเจรญิ แลว้
กระทำ�ให้มากแลว้ ยอ่ มทำ�โพชฌงค์ทงั้ ๗ ใหบ้ ริบูรณ.์

กุณฑลิยะ  สติปัฏฐานทั้ง ๔ อันบุคคลเจริญแล้ว
กระทำ�ให้มากแล้ว ยอ่ มทำ�โพชฌงคท์ ง้ั ๗ ให้บริบูรณ์.

ขา้ แตท่ า่ นพระโคดมผเู้ จรญิ   กธ็ รรมเหลา่ ไหนทบ่ี คุ คลเจรญิ แลว้
กระทำ�ให้มากแลว้ ยอ่ มทำ�สติปัฏฐานทั้ง ๔ ให้บริบูรณ.์

111

พุทธวจน - หมวดธรรม

กุณฑลยิ ะ  สุจรติ ท้ัง ๓ อันบคุ คลเจริญแล้ว กระท�ำ
ใหม้ ากแล้ว ยอ่ มท�ำ สติปฏั ฐานท้งั ๔ ให้บริบรู ณ์.

ขา้ แตท่ า่ นพระโคดมผเู้ จรญิ   กธ็ รรมเหลา่ ไหนทบ่ี คุ คลเจรญิ แลว้
กระทำ�ใหม้ ากแลว้ ยอ่ มทำ�สจุ ริตทงั้ ๓ ใหบ้ รบิ ูรณ.์

กณุ ฑลยิ ะ  อนิ ทรยี ส์ งั วรอนั บคุ คลเจรญิ แลว้ กระท�ำ
ใหม้ ากแลว้ ยอ่ มท�ำ สจุ รติ ทงั้ ๓ ใหบ้ รบิ รู ณ์ อนิ ทรยี ส์ งั วรอนั
บุคคลเจริญแล้ว กระทำ�ให้มากแล้วอย่างไร ย่อมทำ�สุจริต
ทง้ั ๓ ใหบ้ รบิ รู ณ ์ กณุ ฑลยิ ะ ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั นี้ เหน็ รปู ทนี่ า่
พอใจด้วยตาแล้ว ย่อมไม่ยินดี ไม่หวังจะเอามาทะนุถนอม
ไมย่ งั ความกำ�หนัดใหเ้ กิด และกายของเธอกค็ งท่ี จติ ก็คงท่ี
ต้ังม่ันดีแล้ว หลุดพ้นดีแล้วในภายใน  อน่ึง เธอเห็นรูป
ทไ่ี มน่ า่ พอใจดว้ ยตาแลว้ กไ็ มเ่ สยี ใจ ไมม่ จี ติ ตงั้ อยดู่ ว้ ยโทสะ 
(อปปฺ ตฏิ ฺติ จติ โฺ ต) มีใจไมห่ ดห ู่ (อาทีนมานโส) มีจติ ไมพ่ ยาบาท 
(อพฺยาปนฺนเจตโส) และกายของเธอก็คงที่ จิตก็คงที่ ตั้งม่ัน
ดแี ล้ว หลดุ พ้นดแี ลว้ ในภายใน.

อีกประการหนึ่ง ภิกษุฟังเสียงท่ีน่าพอใจด้วยหูแล้ว
… ดมกลนิ่ ทน่ี า่ พอใจดว้ ยจมกู แลว้ … ลมิ้ รสทนี่ า่ พอใจดว้ ย
ลิ้นแล้ว … ถูกต้องโผฏฐัพพะที่น่าพอใจด้วยกายแล้ว …
รู้ธรรมท่ีน่าพอใจด้วยใจแล้ว ย่อมไม่ยินดี ไม่หวังจะเอามา
ทะนถุ นอม ไมย่ งั ความก�ำ หนดั ใหเ้ กดิ และกายของเธอกค็ งท่ี
จิตก็คงท่ี ตั้งมั่นดีแล้ว หลุดพ้นดีแล้วในภายใน  อน่ึง เธอ

112

เปิดธรรมทถี่ กู ปดิ : จิต มโน วิญญาณ

รู้ธรรมที่ไม่น่าพอใจด้วยใจแล้ว ก็ไม่เสียใจ ไม่มีจิตต้ังอยู่
ด้วยโทสะ มีใจไม่หดหู่ มีจิตไม่พยาบาท และกายของเธอ
กค็ งที่ จิตก็คงที่ ตั้งมัน่ ดแี ล้ว หลุดพ้นดีแลว้ ในภายใน.

กุณฑลิยะ  เพราะเหตุที่ภิกษุเห็นรูปด้วยตาแล้ว
ก็เป็นผู้คงที่ มีใจไม่หดหู่ มีจิตไม่พยาบาท ในรูปทั้งหลาย
ท้ังท่ีน่าพอใจและไม่น่าพอใจ กายของเธอก็คงที่ จิตก็คงที่
เปน็ จติ ตง้ั มน่ั ดแี ลว้ หลดุ พน้ ดแี ลว้ ในภายใน  ภกิ ษฟุ งั เสยี ง
ดว้ ยหแู ลว้ … ดมกลน่ิ ดว้ ยจมกู แลว้ … ลม้ิ รสดว้ ยลนิ้ แลว้ …
ถกู ตอ้ งโผฏฐพั พะดว้ ยกายแลว้ … รธู้ รรมดว้ ยใจแลว้ กเ็ ปน็
ผคู้ งท่ี มใี จไมห่ ดหู่ มจี ติ ไมพ่ ยาบาท ในธรรมทงั้ หลาย ทงั้ ที่
น่าพอใจและไม่น่าพอใจ กายของเธอก็คงท่ี จิตก็คงท่ี
เป็นจิตต้ังม่ันดีแล้ว หลุดพ้นดีแล้วในภายใน  กุณฑลิยะ 
อนิ ทรยี ส์ งั วรอนั บคุ คลเจรญิ แลว้ กระท�ำ ใหม้ ากแลว้ อยา่ งนแ้ี ล
ยอ่ มท�ำ สุจริตท้ัง ๓ ใหบ้ ริบรู ณ.์

กุณฑลิยะ  ก็สุจริตท้ัง ๓ ประการน้ัน อันบุคคล
เจริญแล้ว กระทำ�ให้มากแล้วอย่างไร ย่อมทำ�สติปัฏฐาน
ทง้ั ๔ ใหบ้ รบิ รู ณ ์ กณุ ฑลยิ ะ  ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั น้ี ยอ่ มเจรญิ
กายสจุ รติ เพอ่ื ละกายทจุ รติ ยอ่ มเจรญิ วจสี จุ รติ เพอ่ื ละวจที จุ รติ
ย่อมเจริญมโนสุจริตเพ่ือละมโนทุจริต  กุณฑลิยะ  สุจริต
ทงั้ ๓ อนั บคุ คลเจรญิ แลว้ กระท�ำ ใหม้ ากแลว้ อยา่ งนแ้ี ล ยอ่ มท�ำ
สตปิ ฏั ฐานทง้ั ๔ ให้บรบิ รู ณ์.

113

พุทธวจน - หมวดธรรม

กุณฑลิยะ  สติปัฏฐานทั้ง ๔ อันบุคคลเจริญแล้ว
กระท�ำ ใหม้ ากแลว้ อยา่ งไร ยอ่ มท�ำ โพชฌงคท์ งั้ ๗ ใหบ้ รบิ รู ณ ์
กณุ ฑลยิ ะ  ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั นี้ ยอ่ มพจิ ารณาเหน็ กายในกาย
เนอื งๆ อยู่ มีความเพยี ร มีสมั ปชัญญะ มสี ติ ก�ำ จัดอภชิ ฌา
และโทมนัสในโลกออกเสียได้ ย่อมพิจารณาเห็นเวทนาใน
เวทนาท้ังหลายเนืองๆ อยู่ … ย่อมพิจารณาเห็นจิตในจิต
เนืองๆ อยู่ … ย่อมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้งหลาย
เนืองๆ อยู่ มคี วามเพยี ร มสี มั ปชัญญะ มีสติ ก�ำ จัดอภชิ ฌา
และโทมนัสในโลกออกเสียได้  กุณฑลิยะ  สติปัฏฐานท้ัง ๔
อันบุคคลเจริญแล้ว กระทำ�ให้มากแล้วอย่างนี้แล ย่อมทำ�
โพชฌงค์ท้งั ๗ ให้บริบรู ณ์.

กุณฑลิยะ  โพชฌงค์ทั้ง ๗ อันบุคคลเจริญแล้ว
กระท�ำ ใหม้ ากแลว้ อยา่ งไร ยอ่ มท�ำ วชิ ชาและวมิ ตุ ตใิ หบ้ รบิ รู ณ ์
กุณฑลิยะ  ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมเจริญสติสัมโพชฌงค์
อนั อาศยั วเิ วก  อาศยั วริ าคะ  อาศยั นโิ รธ  นอ้ มไปในการสละ
ยอ่ มเจรญิ ธมั มวจิ ยสมั โพชฌงค์ … ยอ่ มเจรญิ วริ ยิ สมั โพชฌงค์ …
ยอ่ มเจรญิ ปตี สิ มั โพชฌงค์ … ยอ่ มเจรญิ ปสั สทั ธสิ มั โพชฌงค์ …
ยอ่ มเจรญิ สมาธสิ มั โพชฌงค์ … ยอ่ มเจรญิ อเุ บกขาสมั โพชฌงค์
อนั อาศยั วเิ วก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ นอ้ มไปในการสละ 
กุณฑลิยะ  โพชฌงค์ท้ัง ๗ อันบุคคลเจริญแล้ว กระทำ�ให้
มากแล้วอยา่ งนแี้ ล ย่อมท�ำ วิชชาและวิมุตติให้บริบูรณไ์ ด้.

114

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี กู ปิด : จติ มโน วิญญาณ

ความแตกตา่ งระหวา่ ง 48
อรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ
กับภิกษุปญั ญาวิมุตติ

-บาลี ขนธฺ . ส.ํ ๑๗/๘๑/๑๒๕.

ภิกษุทั้งหลาย  ตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ
หลดุ พน้ แลว้ เพราะเบอ่ื หนา่ ย เพราะคลายก�ำ หนดั เพราะดบั
ไมเ่ หลอื เพราะไมย่ ดึ มน่ั ในรปู จงึ ไดน้ ามวา่ สมั มาสมั พทุ ธะ 
ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  แมภ้ กิ ษผุ หู้ ลดุ พน้ ไดด้ ว้ ยปญั ญา (ปฺ าวมิ ตุ โฺ ต)
กห็ ลดุ พน้ แลว้ เพราะเบอ่ื หนา่ ย เพราะคลายก�ำ หนดั เพราะดบั
ไมเ่ หลอื เพราะไมย่ ดึ มน่ั ในรปู จงึ ไดน้ ามวา่ ปญั ญาวมิ ตุ ต.ิ

ภิกษุท้ังหลาย  ตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ
หลดุ พน้ แลว้ เพราะเบอ่ื หนา่ ย เพราะคลายก�ำ หนดั เพราะดบั
ไมเ่ หลอื เพราะไมย่ ดึ มน่ั ในเวทนา ... เพราะไมย่ ดึ มน่ั ในสญั ญา
... เพราะไม่ยึดม่ันในสังขาร จึงได้นามว่า สัมมาสัมพุทธะ 
ภกิ ษทุ ง้ั หลาย แมภ้ กิ ษผุ หู้ ลดุ พน้ ไดด้ ว้ ยปญั ญา กห็ ลดุ พน้ แลว้
เพราะเบ่ือหน่าย เพราะคลายกำ�หนัด เพราะดับไม่เหลือ
เพราะไม่ยดึ มั่นในสงั ขาร จึงได้นามว่า ปัญญาวมิ ุตติ.

ภิกษุท้ังหลาย  ตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ
หลดุ พน้ แลว้ เพราะเบอ่ื หนา่ ย เพราะคลายก�ำ หนดั เพราะดบั

115

พุทธวจน - หมวดธรรม

ไมเ่ หลอื เพราะไมย่ ดึ มน่ั ในวญิ ญาณ จงึ ไดน้ ามวา่ สมั มาสมั พทุ ธะ 
ภกิ ษทุ ง้ั หลาย แมภ้ กิ ษผุ หู้ ลดุ พน้ ไดด้ ว้ ยปญั ญา กห็ ลดุ พน้ แลว้
เพราะเบื่อหน่าย เพราะคลายกำ�หนัด เพราะดับไม่เหลือ
เพราะไมย่ ดึ ม่นั ในวญิ ญาณ จึงไดน้ ามว่า ปัญญาวมิ ุตติ.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  ในขอ้ นน้ั จะมอี ะไรเปน็ ความผดิ แผก
แตกต่างกัน เป็นความมุ่งหมายที่แตกต่างกัน เป็นเหตุที่
แตกตา่ งกนั ระหวา่ งตถาคตอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะกบั ภกิ ษุ
ปัญญาวมิ ุตต.ิ …

ภิกษุท้ังหลาย  ตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ
ได้ทำ�มรรคท่ียังไม่เกิดให้เกิดข้ึน ได้ทำ�มรรคท่ียังไม่มีใครรู้
ใหม้ คี นรู้ ไดท้ �ำ มรรคทย่ี งั ไมม่ ใี ครกลา่ วใหเ้ ปน็ มรรคทก่ี ลา่ ว
กันแล้ว ตถาคตเป็นผู้รู้มรรค (มคฺคฺู) เป็นผู้รู้แจ้งมรรค 
(มคฺควิทู) เป็นผู้ฉลาดในมรรค (มคฺคโกวิโท)  ภิกษุท้ังหลาย 
ส่วนสาวกทั้งหลายในบัดนี้ เป็นผู้เดินตามมรรค (มคฺคานุคา)
เป็นผูต้ ามมาในภายหลัง  ภิกษทุ ัง้ หลาย  นแี้ หละเปน็ ความ
ผิดแผกแตกต่างกัน เป็นความมุ่งหมายท่ีแตกต่างกัน เป็น
เหตุที่แตกต่างกัน ระหว่างตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธะ
กับภิกษุปญั ญาวมิ ตุ ติ.

116

“มโน”

117

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ ูกปดิ : จิต มโน วญิ ญาณ
มโน คอื สว่ นแหง่ อายตนะภายใน 49

-บาลี อปุ ร.ิ ม. ๑๔/๑๖๘,๔๐๐/๒๔๓,๖๑๙.

ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ   กจ็ ะควรเรยี กวา่ ภกิ ษผุ ฉู้ ลาดในอายตนะ
ด้วยเหตุเท่าไร.

… อานนท ์ อายตนะภายในและอายตนะภายนอกน้ี
มอี ยา่ งละ ๖ คอื จกั ษแุ ละรปู   โสตะและเสยี ง  ฆานะและ
กลนิ่   ชวิ หาและรส  กายและโผฏฐพั พะ  มโนและธรรม 
อานนท ์ เหลา่ น้แี ล อายตนะภายในและอายตนะภายนอก
อย่างละ ๖  และด้วยเหตุที่ภิกษุรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้
จงึ ควรเรียกไดว้ า่ ภิกษุผูฉ้ ลาดในอายตนะ. …

… ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  กข็ อ้ ทเ่ี รากลา่ วแลว้ ดงั นว้ี า่ พงึ ทราบ
อายตนะภายใน ๖ น้ัน  เรากล่าวหมายถึงอะไรเล่า  ภิกษุ
ท้ังหลาย  ข้อน้ันเรากล่าวหมายถึง  อายตนะคือจักษุ 
อายตนะคือโสตะ  อายตนะคือฆานะ  อายตนะคือชิวหา 
อายตนะคือกาย  อายตนะคือมโน  ข้อท่ีเรากล่าวดังน้ีว่า 
พงึ ทราบอายตนะภายใน ๖ นน้ั เราอาศยั ความขอ้ นก้ี ลา่ วแลว้ .

118

เปดิ ธรรมท่ถี ูกปิด : จติ มโน วิญญาณ

ภิกษุท้งั หลาย  ก็ข้อท่เี รากล่าวแล้วดังน้วี ่า พึงทราบ
อายตนะภายนอก ๖ นน้ั   เรากลา่ วหมายถงึ อะไรเลา่   ภกิ ษุ
ทง้ั หลาย ขอ้ นน้ั เรากลา่ วหมายถงึ อายตนะคอื รปู   อายตนะคอื
เสียง  อายตนะคือกล่ิน  อายตนะคือรส  อายตนะคือ
โผฏฐพั พะ  อายตนะคอื ธรรม  ขอ้ ทเ่ี รากลา่ วดงั นว้ี า่ พงึ ทราบ
อายตนะภายนอก ๖ น้นั   เราอาศัยความข้อน้กี ล่าวแล้ว. …

119

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถกู ปดิ : จติ มโน วญิ ญาณ

อกศุ ลธรรม-กศุ ลธรรม 50
มมี โนเปน็ หวั หน้า

-บาลี เอก. อ.ํ ๒๐/๑๒/๕๗.

ภิกษุทั้งหลาย  อกุศลธรรมท้ังหลาย ท่ีเป็นไปใน
สว่ นอกศุ ล ทเี่ ปน็ ไปในฝกั ฝา่ ยอกศุ ล ทง้ั หมดนนั้ มมี โนเปน็
หวั หนา้  (มโนปพุ พฺ งคฺ มา) มโนเกดิ กอ่ นธรรมเหลา่ นน้ั อกศุ ลธรรม
ทง้ั หลายเกดิ ทหี ลงั .

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  กศุ ลธรรมทงั้ หลาย ทเ่ี ปน็ ไปในสว่ น
กศุ ล ทเ่ี ปน็ ไปในฝกั ฝา่ ยกศุ ล ทงั้ หมดนนั้ มมี โนเปน็ หวั หนา้
มโนเกิดกอ่ นธรรมเหล่านั้น กศุ ลธรรมทั้งหลายเกิดทหี ลัง.

ในพระสตู รนี้ มีบาลีอย่างนี้

เยเกจิ ภกิ ขฺ เว ธมมฺ า อกสุ ลา อกสุ ลภาคยิ า อกสุ ลปกขฺ กิ า
สพฺเพ เต มโนปพุ พฺ งคฺ มา มโน เตส ธมมฺ าน ปม อปุ ปฺ ชชฺ ติ
อนวฺ เทว อกสุ ลา ธมมฺ าต.ิ

เยเกจิ ภกิ ขฺ เว ธมมฺ า กสุ ลา กสุ ลภาคยิ า กสุ ลปกขฺ กิ า
สพฺเพ เต มโนปพุ พฺ งคฺ มา มโน เตส ธมมฺ าน ปม อปุ ปฺ ชชฺ ติ
อนวฺ เทว กสุ ลา ธมมฺ าต.ิ

120

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถกู ปดิ : จิต มโน วญิ ญาณ

ธรรมท้ังหลาย มีมโนเปน็ หัวหน้า 51

-บาลี ข.ุ ข.ุ ๒๕/๑๕/๑๑.

ธรรมทง้ั หลายมมี โนเปน็ หวั หนา้ มมี โนประเสรฐิ ทส่ี ดุ
สำ�เร็จแล้วแต่มโน  ถ้าบุคคลมีมโนอันโทษประทุษร้ายแล้ว
กล่าวอยู่ก็ตาม กระทำ�อยู่ก็ตาม ทุกข์ย่อมไปตามบุคคลน้ัน
เหมอื นลอ้ หมนุ ไปตามรอยเท้าโคทลี่ ากเกวยี นไป ฉะนั้น.

ธรรมทงั้ หลายมมี โนเปน็ หวั หนา้ มมี โนประเสรฐิ ทส่ี ดุ
สำ�เร็จแล้วแต่มโน  ถ้าบุคคลมีมโนผ่องใส กล่าวอยู่ก็ตาม
กระท�ำ อยกู่ ต็ าม สขุ ยอ่ มไปตามบคุ คลนนั้ เหมอื นเงาตดิ ตาม
ตวั ไป ฉะนัน้ .

ก็ชนเหล่าใด ยังผูกใจเจ็บอยู่ว่า ผู้น้ันได้ด่าเรา ได้
ทำ�ร้ายเรา ได้เอาชนะเรา ได้ลักทรัพย์ของเรา เวรของชน
เหล่าน้ัน ย่อมระงับไม่ลง  ส่วนชนเหล่าใด ไม่ผูกใจเจ็บว่า
ผู้นั้นได้ด่าเรา  ได้ทำ�ร้ายเรา  ได้เอาชนะเรา  ได้ลักทรัพย์
ของเรา เวรของชนเหลา่ นน้ั ย่อมระงับได ้ ในยคุ ไหนกต็ าม
เวรทง้ั หลาย ไมเ่ คยระงบั ไดด้ ว้ ยการจองเวรเลย แตร่ ะงบั ได้
ด้วยการไม่จองเวร ธรรมน้ีเป็นของเกา่ ท่ีใช้ไดต้ ลอดกาล.

121

พทุ ธวจน - หมวดธรรม
ในพระสตู รนี้ มบี าลีอยา่ งน้ี

มโนปุพพฺ งฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฺา มโนมยา  มนสา
เจ ปทุฏเฺ น ภาสติ วา กโรติ วา ตโต น ทุกขฺ มเนวฺ ติ จกกฺ ว
วหโต ปท.

มโนปุพพฺ งคฺ มา ธมฺมา มโนเสฏฺา มโนมยา  มนสา
เจ ปสนเฺ นน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต น สขุ มเนฺวติ ฉายาว
อนปุ ายนิ .ี

อกฺโกจฺฉิ ม อวธิ ม อชินิ ม อหาสิ เม เย จ ต
อุปนยฺหนฺติ เวร เตส น สมฺมติ  อกฺโกจฺฉิ ม อวธิ ม อชินิ
ม อหาสิ เม เย จ ต นูปนยฺหนฺติ เวร เตสูปสมฺมติ 
น หิ เวเรน เวรานิ สมฺมนฺตีธ กุทาจน  อเวเรน จ สมฺมนฺติ
เอส ธมโฺ ม สนนฺตโน.

122

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทีถ่ กู ปดิ : จติ มโน วญิ ญาณ

มโนสงั ขาร (นัยท่ี ๑) 52

-บาลี ตกิ . อ.ํ ๒๐/๒๑๘/๕๐๐.

พราหมณ์  ก็อาเทสนาปาฏิหาริยเ์ ป็นอย่างไร.
พราหมณ ์ ภกิ ษบุ างรปู ในธรรมวนิ ยั น้ี ยอ่ มทายใจได้
โดยอาศัยนิมิตว่า ใจของท่านเป็นอย่างน้ี (อวมฺปิ เต มโน)
ใจของท่านมีอาการอยา่ งน ี้ (อิตฺถมฺปิ เต มโน) จิตของท่านเปน็
ดงั น ้ี(อติ ปิ ิ เต จติ ตฺ นตฺ )ิ เขาทายมากเทา่ ไหรก่ ถ็ กู หมด ไมผ่ ดิ เลย.
พราหมณ์  ภกิ ษบุ างรปู ในธรรมวนิ ัยนี้ ทายใจไม่ได้
โดยอาศัยนิมิต แต่เม่ือได้ฟังเสียงของมนุษย์ หรือของ
อมนุษย์ หรือของเทวดาท้ังหลายแล้ว จึงทายใจได้ว่า
ใจของท่านเป็นอย่างน้ี ใจของท่านมีอาการอย่างน้ี จิตของ
ท่านเป็นดังน้ี เขาทายมากเท่าไหรก่ ็ถูกหมด ไม่ผิดเลย.
พราหมณ์  ภิกษบุ างรปู ในธรรมวนิ ัยนี้ ทายใจไมไ่ ด้
โดยอาศยั นมิ ติ แมฟ้ งั เสยี งของมนษุ ย์ หรอื ของอมนษุ ย์ หรอื
ของเทวดาท้ังหลายแล้ว ก็ทายใจไม่ได้ แต่เม่ือได้ฟังเสียง
ววติติ กกกฺ ววจจิิ าารรสขทอทฺ 1งบสคุตุ วฺคา)ลทจงึกี่ ท�ำ ลายงั วใจติ ไกดวว้ จิ า่ าใรจอขยอ ู่ (งวทติ กา่ นกฺ ยเปโตน็ วอจิ ยารา่ ยงโนต้ี
ใจของทา่ นมอี าการอยา่ งน้ี จติ ของทา่ นเปน็ ดงั น้ี เขาทายมาก
เทา่ ไหร่ก็ถูกหมด ไม่ผิดเลย.

1. วติ กกฺ วจิ ารสททฺ  คำ�น้ี บาลฉี บบั มหาจฬุ าฯ และฉบบั อกั ษรโรมนั ใชวั า่ วติ กกฺ วปิ ผฺ ารสททฺ 
สว่ นฉบบั สยามรฐั ใชเ้ หมอื นกบั ฉบบั เฉลมิ พระเกยี รติ พ.ศ. ๒๕๔๙.  -ผรู้ วบรวม
123

พุทธวจน - หมวดธรรม

พราหมณ์  ภิกษุบางรูปในธรรมวินยั นี้ ทายใจไม่ได้
โดยอาศัยนิมิต แม้ได้ฟังเสียงของมนุษย์ หรือของอมนุษย์
หรือของเทวดาท้ังหลายแล้ว ก็ทายใจไม่ได้  และแม้ได้
ฟงั เสยี งวติ กวจิ ารของบคุ คลทก่ี �ำ ลงั วติ กวจิ ารอยู่ กท็ ายใจไมไ่ ด้
แตเ่ ขาก�ำ หนดรใู้ จของผทู้ ไ่ี ดส้ มาธอิ นั ไมม่ วี ติ กวจิ ารดว้ ยใจ
ของตนแลว้ วา่ มโนสงั ขารของทา่ นผนู้ ตี้ งั้ ไวด้ ว้ ยประการใด
เขาจะตอ้ งตรกึ ถงึ วติ กชอื่ น้ี ในล�ำ ดบั จติ นด้ี ว้ ยประการนนั้
เขาทายมากเท่าไหรก่ ็ถูกหมด ไมผ่ ดิ เลย.

พราหมณ์  นี้แล เรียกวา่ อาเทสนาปาฏหิ าริย์.

124

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถูกปดิ : จิต มโน วญิ ญาณ

มโนสงั ขาร (นัยท่ี ๒) 53

-บาลี ปา. ท.ี ๑๑/๑๑๒/๗๘.

... ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ยังมีอีกข้อหนึ่ง ซ่ึงเป็น
ธรรมทเ่ี ยย่ี ม คอื พระผมู้ พี ระภาคทรงแสดงธรรมในวธิ แี หง่
การทายใจ  วิธีแหง่ การทายใจ ๔ อย่างเหล่านี้ คือ

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ  คนบางคนในโลกน้ี ย่อม
ทายใจได้โดยอาศัยนิมิตว่า ใจของท่านเป็นอย่างน้ี (อวมฺปิ
เต มโน) ใจของท่านมอี าการอย่างน้ ี (อิตฺถมปฺ ิ เต มโน) จติ ของ
ทา่ นเปน็ ดงั น ี้ (อติ ปิ ิ เต จติ ตฺ นตฺ )ิ เขาทายมากเทา่ ไหรก่ ถ็ กู หมด
ไม่ผิดเลย นเ้ี ปน็ วธิ แี หง่ การทายใจขอ้ ท่ี ๑.

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ  ข้ออื่นยังมีอีก คนบางคน
ในโลกนี้ ทายใจไมไ่ ดโ้ ดยอาศยั นมิ ติ แตเ่ มอื่ ไดฟ้ งั เสยี งของ
มนุษย์ หรือของอมนุษย์ หรือของเทวดาทั้งหลายแล้ว
จึงทายใจได้ว่า ใจของท่านเป็นอย่างนี้ ใจของท่านมีอาการ
อย่างน้ี จิตของท่านเป็นดังนี้ เขาทายมากเท่าไหร่ก็ถูกหมด
ไมผ่ ิดเลย น้ีเป็นวิธแี หง่ การทายใจขอ้ ที่ ๒.

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ  ข้ออื่นยังมีอีก คนบางคน
ในโลกน้ี ทายใจไมไ่ ดโ้ ดยอาศยั นมิ ติ แมไ้ ดฟ้ งั เสยี งของมนษุ ย์
หรอื ของอมนษุ ย์ หรอื ของเทวดาทง้ั หลายแลว้ กท็ ายใจไมไ่ ด้

125

พุทธวจน - หมวดธรรม

แตเ่ มอ่ื ไดฟ้ งั เสยี งละเมอของผวู้ ติ กวจิ าร (วติ กกฺ ยโต วจิ ารยโต
วติ กกฺ วปิ ผฺ ารสททฺ  สตุ วฺ า) จงึ ทายใจไดว้ า่ ใจของทา่ นเปน็ อยา่ งนี้
ใจของท่านมีอาการอย่างน้ี จิตของท่านเป็นดังน้ี เขาทาย
มากเท่าไหร่ก็ถูกหมด ไม่ผิดเลย นี้เป็นวิธีแห่งการทายใจ
ข้อท่ี ๓.

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ  ข้ออ่ืนยังมีอีก คนบางคน
ในโลกน้ี ทายใจไมไ่ ดโ้ ดยอาศยั นมิ ติ แมไ้ ดฟ้ งั เสยี งของมนษุ ย์
หรอื ของอมนษุ ย์ หรอื ของเทวดาทง้ั หลายแลว้ กท็ ายใจไมไ่ ด้
และแมไ้ ดฟ้ งั เสยี งละเมอของผวู้ ติ กวจิ าร กท็ ายใจไมไ่ ด้ แตเ่ ขา
กำ�หนดรู้ใจของผู้ท่ีได้สมาธิอันไม่มีวิตกวิจารด้วยใจ
ของตนแลว้ วา่ มโนสงั ขารของทา่ นผนู้ ต้ี งั้ ไวด้ ว้ ยประการใด
เขาจะตอ้ งตรกึ ถงึ วติ กชอ่ื นี้ ในล�ำ ดบั จติ นด้ี ว้ ยประการนนั้
เขาทายมากเท่าไหร่ก็ถูกหมด ไม่ผิดเลย นี้เป็นวิธีแห่ง
การทายใจขอ้ ท่ี ๔.

ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ   นก้ี เ็ ปน็ ขอ้ ธรรมทเ่ี ยย่ี ม ในวธิ ี
แห่งการทายใจ. ...

(เปน็ คำ�กลา่ วของทา่ นสารบี ตุ ร ซง่ึ เมอ่ื พระผมู้ พี ระภาคไดฟ้ งั แลว้
ตรัสใหก้ ล่าวธรรมปรยิ ายน้เี นอื งๆ.  -ผรู้ วบรวม)

126

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ ูกปิด : จิต มโน วญิ ญาณ

มโนวิตก 54

-บาลี สฬา. ส.ํ ๑๘/๒๒๒/๓๒๐.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  เรอื่ งนเี้ คยมมี าแลว้ เตา่ ตวั หนง่ึ เทย่ี ว
หากนิ ตามรมิ ล�ำ ธารในตอนเย็น สนุ ัขจิ้งจอกตัวหนงึ่ ก็เทีย่ ว
หากนิ ตามรมิ ล�ำ ธารในตอนเยน็ เชน่ เดยี วกนั เตา่ ตวั นไ้ี ดเ้ หน็
สุนัขจิ้งจอกซึ่งเท่ียวหากินมาแต่ไกล คร้ันแล้วจึงหดอวัยวะ
ทงั้ หลาย มศี รี ษะเป็นที่ ๕ เขา้ ในกระดองของตนเสยี เป็นผู้
ขวนขวายน้อยนิ่งอยู่ แม้สุนัขจิ้งจอกก็ได้เห็นเต่าตัวท่ีเท่ียว
หากินนั้นมาแต่ไกลเหมือนกัน ครั้นแล้ว จึงเดินตรงเข้าไป
ท่ีเต่า คอยช่องอยู่ว่า เม่ือไรหนอเต่าจะโผล่อวัยวะส่วนใด
ส่วนหน่ึงออกในบรรดาอวัยวะท้ังหลาย มีศีรษะเป็นท่ี ๕
แลว้ จะกดั อวยั วะสว่ นนั้น ครา่ เอาออกมากนิ เสยี ดงั น.ี้

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  ตลอดเวลาทเ่ี ตา่ ไมโ่ ผลอ่ วยั วะออกมา
สุนัขจิ้งจอกก็ไม่ไดโ้ อกาสต้องหลีกไปเอง.

ภกิ ษทุ งั้ หลาย  ฉนั ใดกฉ็ นั นน้ั มารผมู้ บี าปกค็ อยชอ่ ง
ต่อพวกเธอทั้งหลายติดต่อไม่ขาดระยะอยู่เหมือนกันว่า
ถ้าอย่างไรเราคงได้ช่อง ไม่ทางตา ก็ทางหู หรือทางจมูก
หรอื ทางล้ิน หรือทางกาย หรือทางใจ ดงั นี้.

127

พุทธวจน - หมวดธรรม

ภิกษุทั้งหลาย  เพราะเหตุนั้นในเร่ืองน้ี พวกเธอ
ทั้งหลาย จงเป็นผู้คุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลายอยู่เถิด
ได้เห็นรูปด้วยตา ได้ฟังเสียงด้วยหู ได้ดมกลิ่นด้วยจมูก
ไดล้ ม้ิ รสดว้ ยลน้ิ ไดส้ มั ผสั โผฏฐพั พะดว้ ยกาย หรอื ไดร้ ธู้ รรม
ด้วยใจแล้ว จงอย่าได้ถือเอาโดยลักษณะท่ีเป็นการรวบถือ
ท้ังหมด และอย่าได้ถือเอาโดยลักษณะท่ีเป็นการแยกถือ
เปน็ สว่ นๆ เลย สง่ิ ทเี่ ปน็ บาปอกศุ ล คอื อภชิ ฌาและโทมนสั
จะพึงไหลไปตามบุคคลผ้ไู ม่ส�ำ รวม ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
เพราะการไม่สำ�รวมอินทรีย์ใดเป็นเหตุ พวกเธอท้ังหลาย
จงปฏบิ ตั เิ พอ่ื การปดิ กน้ั อนิ ทรยี น์ น้ั ไว้ พวกเธอทง้ั หลาย จงรกั ษา
และถงึ ความส�ำ รวม ตา หู จมูก ล้ิน กาย ใจ เถิด.

ภกิ ษุทงั้ หลาย  ในกาลใด พวกเธอท้ังหลาย จกั เปน็
ผคู้ มุ้ ครองทวารในอนิ ทรยี ท์ งั้ หลายอยู่ ในกาลนน้ั มารผมู้ บี าป
จะไม่ได้ช่องจากพวกเธอทั้งหลาย และต้องหลีกไปเอง
เหมอื นสนุ ัขจ้ิงจอกไมไ่ ด้ช่องจากเต่าก็หลกี ไปเอง ฉะนนั้ .

เตา่ หดอวยั วะไวใ้ นกระดอง ฉนั ใด ภกิ ษพุ งึ ตง้ั มโนวติ ก 
(ความตรติ รกึ ทางใจ) ไวใ้ นกระดอง ฉนั นนั้ เปน็ ผทู้ ต่ี ณั หาและ
ทิฏฐิไม่อิงอาศัยได้ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ไม่กล่าวร้ายต่อใคร
ท้งั หมด เป็นผู้ดบั สนทิ แล้ว ดงั นแ้ี ล.

128

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี กู ปิด : จติ มโน วญิ ญาณ

กรรม ๔ แบบ (นยั ท่ี ๑) 55

-บาลี จตกุ กฺ . อ.ํ ๒๑/๓๒๐/๒๓๗.

ภกิ ษทุ งั้ หลาย  กรรม ๔ ประการนี้ เรากระท�ำ ใหแ้ จง้
ด้วยปัญญาอันย่ิงเองแล้ว ประกาศให้ทราบ  ๔ ประการ
อะไรบา้ ง คอื กรรมด�ำ มวี บิ ากด�ำ กม็ ี กรรมขาวมวี บิ ากขาวกม็ ี
กรรมท้ังดำ�ทั้งขาวมีวิบากทั้งดำ�ท้ังขาวก็มี กรรมไม่ดำ�
ไมข่ าวมวี บิ ากไมด่ �ำ ไมข่ าว ยอ่ มเปน็ ไปเพอ่ื ความสน้ิ กรรมกม็ .ี

ภิกษุท้ังหลาย  ก็กรรมดำ�มีวิบากดำ�เป็นอย่างไร 
ภกิ ษทุ ง้ั หลาย บคุ คลบางคนในโลกน้ี ยอ่ มปรงุ แตง่ กายสงั ขาร
ท่ีมีความเบียดเบียน  ย่อมปรุงแต่งวจีสังขารท่ีมีความ
เบยี ดเบยี น  ยอ่ มปรงุ แตง่ มโนสงั ขารทม่ี คี วามเบยี ดเบยี น 
ครั้นเขาทำ�ความปรุงแต่งอย่างน้ีแล้ว ย่อมเข้าถึงโลกที่มี
ความเบยี ดเบยี น ผสั สะทมี่ คี วามเบยี ดเบยี นยอ่ มถกู ตอ้ งเขา
ซึง่ เป็นผู้เขา้ ถงึ โลกทม่ี ีความเบยี ดเบยี นนัน้ เขาอันผัสสะทม่ี ี
ความเบยี ดเบยี นถกู ตอ้ งแลว้ ยอ่ มไดเ้ สวยเวทนาอนั มคี วาม
เบียดเบียน เป็นทุกข์โดยส่วนเดียว ดังเช่น พวกสัตว์นรก
น้เี ราเรยี กวา่ กรรมด�ำ มีวบิ ากด�ำ .

ภิกษุท้งั หลาย  ก็กรรมขาวมีวิบากขาวเป็นอย่างไร 
ภกิ ษทุ ง้ั หลาย บคุ คลบางคนในโลกน้ี ยอ่ มปรงุ แตง่ กายสงั ขาร

129

พุทธวจน - หมวดธรรม

ทไ่ี มม่ คี วามเบยี ดเบยี น ยอ่ มปรงุ แตง่ วจสี งั ขารทไ่ี มม่ คี วาม
เบยี ดเบยี น ยอ่ มปรงุ แตง่ มโนสงั ขารทไ่ี มม่ คี วามเบยี ดเบยี น
ครั้นเขาทำ�ความปรุงแต่งอย่างน้ีแล้ว ย่อมเข้าถึงโลกที่ไม่มี
ความเบยี ดเบยี น ผสั สะทไ่ี มม่ คี วามเบยี ดเบยี น ยอ่ มถกู ตอ้ งเขา
ซง่ึ เปน็ ผเู้ ขา้ ถงึ โลกทไ่ี มม่ คี วามเบยี ดเบยี นนนั้ เขาอนั ผสั สะที่
ไมม่ คี วามเบยี ดเบยี นถกู ตอ้ งแลว้ ยอ่ มไดเ้ สวยเวทนาอนั ไมม่ ี
ความเบยี ดเบียน เปน็ สุขโดยสว่ นเดียว ดังเช่น พวกเทวดา
สุภกณิ หะ นเ้ี ราเรยี กวา่ กรรมขาวมวี ิบากขาว.

ภิกษุท้ังหลาย  ก็กรรมท้ังดำ�ท้ังขาวมีวิบากท้ังดำ�
ท้ังขาวเป็นอย่างไร  ภิกษุท้ังหลาย  บุคคลบางคนในโลกน้ี
ย่อมปรุงแต่งกายสังขารท่ีมีความเบียดเบียนบ้าง ไม่มี
ความเบียดเบียนบ้าง  ย่อมปรุงแต่งวจีสังขารท่ีมีความ
เบียดเบียนบา้ ง ไม่มีความเบียดเบยี นบา้ ง  ยอ่ มปรงุ แตง่
มโนสงั ขารทม่ี คี วามเบยี ดเบยี นบา้ ง ไมม่ คี วามเบยี ดเบยี นบา้ ง
คร้ันเขาทำ�ความปรุงแต่งอย่างน้ีแล้ว ย่อมเข้าถึงโลกท่ีมี
ความเบียดเบียนบ้าง ไม่มีความเบียดเบียนบ้าง  ผัสสะท่มี ี
ความเบยี ดเบยี นบา้ ง ไมม่ คี วามเบยี ดเบยี นบา้ ง ยอ่ มถกู ตอ้ งเขา
ซ่ึงเป็นผู้เข้าถึงโลกท่ีมีความเบียดเบียนบ้าง ไม่มีความ
เบียดเบียนบ้างน้ัน เขาอันผัสสะท่ีมีความเบียดเบียนบ้าง

130

เปิดธรรมท่ถี ูกปิด : จิต มโน วญิ ญาณ

ไมม่ คี วามเบยี ดเบยี นบา้ ง ถกู ตอ้ งแลว้ ยอ่ มไดเ้ สวยเวทนาอนั
มคี วามเบยี ดเบยี นบา้ ง ไมม่ คี วามเบยี ดเบยี นบา้ ง อนั เปน็ สขุ
และทกุ ขเ์ จอื ปนกนั ดงั เชน่ มนษุ ยท์ ง้ั หลาย เทวดาบางพวก
และสัตว์พวกวินิบาตบางพวก น้ีเราเรียกว่า กรรมท้ังดำ�
ทง้ั ขาวมวี บิ ากทง้ั ด�ำ ทง้ั ขาว.

ภิกษุทั้งหลาย  ก็กรรมไม่ดำ�ไม่ขาวมีวิบากไม่ดำ�
ไม่ขาว ย่อมเป็นไปเพ่ือความสิ้นกรรมเป็นอย่างไร  คือ
สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ
สัมมาอาชีวะ สมั มาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ น้ีเรา
เรียกว่า กรรมไม่ดำ�ไม่ขาวมีวิบากไม่ดำ�ไม่ขาว ย่อมเป็นไป
เพื่อความสิน้ กรรม.

ภกิ ษทุ งั้ หลาย  กรรม ๔ ประการเหลา่ นแี้ ล เรากระท�ำ
ใหแ้ จ้งด้วยปญั ญาอันยง่ิ เองแล้ว ประกาศให้ทราบ.

131

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี ูกปดิ : จติ มโน วิญญาณ
56
กรรม ๔ แบบ (นยั ท่ี ๒)

-บาลี จตกุ กฺ . อ.ํ ๒๑/๓๒๑/๒๓๘.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  กรรม ๔ ประการน้ี เรากระท�ำ ใหแ้ จง้
ด้วยปัญญาอันยิ่งเองแล้ว ประกาศให้ทราบ  ๔ ประการ
อะไรบา้ ง คอื กรรมด�ำ มวี บิ ากด�ำ กม็ ี กรรมขาวมวี บิ ากขาวกม็ ี
กรรมท้ังดำ�ทั้งขาวมีวิบากท้ังดำ�ท้ังขาวก็มี กรรมไม่ดำ�
ไมข่ าวมวี บิ ากไมด่ �ำ ไมข่ าว ยอ่ มเปน็ ไปเพอ่ื ความสน้ิ กรรมกม็ .ี

ภิกษุท้ังหลาย  ก็กรรมดำ�มีวิบากดำ�เป็นอย่างไร 
ภกิ ษทุ ง้ั หลาย บคุ คลบางคนในโลกน้ี ยอ่ มปรงุ แตง่ กายสงั ขาร
… วจสี งั ขาร … มโนสงั ขารทม่ี คี วามเบยี ดเบยี น  คร้ันเขา
ทำ�ความปรุงแต่งอย่างนี้แล้ว ย่อมเข้าถึงโลกที่มีความ
เบียดเบียน … ย่อมได้เสวยเวทนาอันมีความเบียดเบียน
เป็นทุกขโ์ ดยสว่ นเดยี ว ดังเชน่ พวกสัตว์นรก น้ีเราเรียกว่า
กรรมดำ�มวี ิบากดำ�.

ภกิ ษุทั้งหลาย  ก็กรรมขาวมีวิบากขาวเปน็ อย่างไร 
ภิกษุทั้งหลาย  บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมปรุงแต่ง
กายสังขาร … วจีสังขาร … มโนสังขารท่ีไม่มีความ
เบยี ดเบยี น ครน้ั เขาท�ำ ความปรงุ แตง่ อยา่ งนแี้ ลว้ ยอ่ มเขา้ ถงึ
โลกที่ไม่มีความเบียดเบียน … ย่อมได้เสวยเวทนาอันไม่มี
ความเบยี ดเบียน เป็นสขุ โดยสว่ นเดียว ดังเช่น พวกเทวดา
สุภกณิ หะ น้เี ราเรยี กวา่ กรรมขาวมีวบิ ากขาว.

132


Click to View FlipBook Version