The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

อ้างอิงจากศูนย์เผยแผ่ส่วนกลาง วัดนาป่าพง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by buddhawajanalanna, 2020-04-29 08:53:56

พุทธวจน 17 จิต มโน วิญญาณ

อ้างอิงจากศูนย์เผยแผ่ส่วนกลาง วัดนาป่าพง

Keywords: หนังสือพุทธวจน

เปดิ ธรรมทีถ่ กู ปดิ : จติ มโน วิญญาณ

ภิกษุท้ังหลาย  ก็กรรมท้ังดำ�ท้ังขาวมีวิบากท้ังดำ�
ท้ังขาวเป็นอย่างไร  ภิกษุท้งั หลาย  บุคคลบางคนในโลกน้ี
ยอ่ มปรงุ แตง่ กายสงั ขาร … วจสี งั ขาร … มโนสงั ขารทม่ี คี วาม
เบยี ดเบยี นบา้ ง ไมม่ คี วามเบยี ดเบยี นบา้ ง ครน้ั เขาท�ำ ความ
ปรงุ แตง่ อยา่ งนแ้ี ลว้ ยอ่ มเขา้ ถงึ โลกทมี่ คี วามเบยี ดเบยี นบา้ ง
ไมม่ คี วามเบียดเบียนบา้ ง … ยอ่ มได้เสวยเวทนาอันมีความ
เบียดเบียนบ้าง ไม่มีความเบียดเบียนบ้าง อันเป็นสุขและ
ทุกข์เจือปนกัน ดังเช่น มนุษย์ทั้งหลาย เทวดาบางพวก
และสตั วพ์ วกวนิ บิ าตบางพวก นเ้ี ราเรยี กวา่ กรรมทง้ั ด�ำ ทง้ั ขาว
มีวิบากท้ังด�ำ ทัง้ ขาว.

ภิกษุท้ังหลาย  ก็กรรมไม่ดำ�ไม่ขาวมีวิบากไม่ดำ�
ไม่ขาว ย่อมเป็นไปเพ่ือความส้ินกรรมเป็นอย่างไร  คือ
สติสัมโพชฌงค์ ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์ วิริยสัมโพชฌงค์ 
ปตี สิ มั โพชฌงค์ ปสั สทั ธสิ มั โพชฌงค์ สมาธสิ มั โพชฌงค์
อเุ บกขาสมั โพชฌงค์ นเ้ี ราเรยี กวา่ กรรมไมด่ �ำ ไมข่ าวมวี บิ าก
ไมด่ ำ�ไมข่ าว ย่อมเป็นไปเพ่ือความส้ินกรรม.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  กรรม ๔ ประการเหลา่ นแี้ ล เรากระท�ำ
ให้แจง้ ดว้ ยปัญญาอันยงิ่ เองแลว้ ประกาศใหท้ ราบ.

133

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถูกปดิ : จิต มโน วิญญาณ
57
กรรม ๔ แบบ (นยั ที่ ๓)

-บาลี จตกุ กฺ . อ.ํ ๒๑/๓๑๓/๒๓๒.

ภิกษุท้ังหลาย  กรรม ๔ ประการนี้ เรากระทำ�ให้
แจง้ ดว้ ยปญั ญาอนั ยง่ิ เองแลว้ ประกาศใหท้ ราบ  ๔ ประการ
อะไรบา้ ง คอื กรรมด�ำ มวี บิ ากด�ำ กม็ ี กรรมขาวมวี บิ ากขาวกม็ ี
กรรมท้ังดำ�ท้ังขาวมีวิบากทั้งดำ�ท้ังขาวก็มี กรรมไม่ดำ�
ไมข่ าวมวี บิ ากไมด่ �ำ ไมข่ าว ยอ่ มเปน็ ไปเพอ่ื ความสน้ิ กรรมกม็ .ี

ภิกษุท้ังหลาย  ก็กรรมดำ�มีวิบากดำ�เป็นอย่างไร 
ภกิ ษทุ ง้ั หลาย บคุ คลบางคนในโลกน้ี ยอ่ มปรงุ แตง่ กายสงั ขาร
… วจสี งั ขาร … มโนสงั ขารทมี่ คี วามเบยี ดเบยี น  ครนั้ เขา
ทำ�ความปรุงแต่งอย่างนี้แล้ว ย่อมเข้าถึงโลกที่มีความ
เบียดเบียน … ย่อมได้เสวยเวทนาอันมีความเบียดเบียน
เปน็ ทุกข์โดยส่วนเดียว ดังเชน่ พวกสัตวน์ รก น้เี ราเรียกว่า
กรรมดำ�มวี บิ ากดำ�.

ภิกษทุ ้ังหลาย  กก็ รรมขาวมวี ิบากขาวเปน็ อยา่ งไร 
ภิกษุท้ังหลาย  บุคคลบางคนในโลกน้ี ย่อมปรุงแต่ง
กายสังขาร … วจีสังขาร … มโนสังขารที่ไม่มีความ
เบยี ดเบยี น ครน้ั เขาท�ำ ความปรงุ แตง่ อยา่ งนแี้ ลว้ ยอ่ มเขา้ ถงึ
โลกท่ีไม่มีความเบียดเบียน … ย่อมได้เสวยเวทนาอันไม่มี
ความเบียดเบียน เปน็ สขุ โดยส่วนเดียว ดงั เช่น พวกเทวดา
สภุ กิณหะ น้เี ราเรยี กว่า กรรมขาวมวี บิ ากขาว.

134

เปดิ ธรรมที่ถกู ปดิ : จติ มโน วญิ ญาณ

ภิกษุท้ังหลาย  ก็กรรมท้ังดำ�ท้ังขาวมีวิบากท้ังดำ�
ท้ังขาวเป็นอย่างไร  ภิกษุท้งั หลาย  บุคคลบางคนในโลกน้ี
ยอ่ มปรงุ แตง่ กายสงั ขาร … วจสี งั ขาร … มโนสงั ขารทม่ี คี วาม
เบยี ดเบยี นบา้ ง ไมม่ คี วามเบยี ดเบยี นบา้ ง ครน้ั เขาท�ำ ความ
ปรงุ แตง่ อยา่ งนแ้ี ลว้ ยอ่ มเขา้ ถงึ โลกทม่ี คี วามเบยี ดเบยี นบา้ ง
ไมม่ ีความเบยี ดเบยี นบ้าง … ยอ่ มไดเ้ สวยเวทนาอนั มคี วาม
เบียดเบียนบ้าง ไม่มีความเบียดเบียนบ้าง อันเป็นสุขและ
ทุกข์เจือปนกัน ดังเช่น มนุษย์ทั้งหลาย เทวดาบางพวก
และสัตว์พวกวินิบาตบางพวก น้ีเราเรียกว่า กรรมทั้งดำ�
ทัง้ ขาวมีวิบากท้งั ด�ำ ทงั้ ขาว.

ภิกษุท้ังหลาย  ก็กรรมไม่ดำ�ไม่ขาวมีวิบากไม่ดำ�
ไม่ขาว ย่อมเป็นไปเพ่ือความส้ินกรรมเป็นอย่างไร  ภิกษุ
ทง้ั หลาย  ในบรรดากรรมเหลา่ นน้ั เจตนาใดเพอ่ื ละกรรมด�ำ
อนั มวี บิ ากด�ำ กด็ ี เจตนาใดเพอ่ื ละกรรมขาวอนั มวี บิ ากขาวกด็ ี 
เจตนาใดเพอ่ื ละกรรมทง้ั ด�ำ ทง้ั ขาวอนั มวี บิ ากทง้ั ด�ำ ทง้ั ขาวกด็ ี 
นเ้ี ราเรยี กวา่ กรรมไมด่ �ำ ไมข่ าวมวี บิ ากไมด่ �ำ ไมข่ าว ยอ่ มเปน็ ไป
เพอ่ื ความสนิ้ กรรม.

ภกิ ษทุ งั้ หลาย  กรรม ๔ ประการเหลา่ นแี้ ล เรากระท�ำ
ให้แจ้งดว้ ยปญั ญาอนั ยง่ิ เองแลว้ ประกาศให้ทราบ.

(อีกสูตรหน่ึง -บาลี ม. ม. ๑๓/๘๒/๘๘. ก็ได้ตรัสไว้ด้วย
ถอ้ ยคำ�อยา่ งเดยี วกนั นี้.  -ผรู้ วบรวม)
135

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปิด : จิต มโน วิญญาณ
58
กรรม ๔ แบบ (นัยท่ี ๔)

-บาลี จตกุ กฺ . อ.ํ ๒๑/๓๑๘/๒๓๕.

ภิกษุทั้งหลาย  กรรม ๔ ประการน้ี เรากระทำ�ให้
แจง้ ดว้ ยปญั ญาอนั ยง่ิ เองแลว้ ประกาศใหท้ ราบ  ๔ ประการ
อะไรบา้ ง คอื กรรมด�ำ มวี บิ ากด�ำ กม็ ี กรรมขาวมวี บิ ากขาวกม็ ี
กรรมท้ังดำ�ทั้งขาวมีวิบากท้ังดำ�ท้ังขาวก็มี กรรมไม่ดำ�
ไมข่ าวมวี บิ ากไมด่ �ำ ไมข่ าว ยอ่ มเปน็ ไปเพอ่ื ความสน้ิ กรรมกม็ .ี

ภิกษุท้ังหลาย  ก็กรรมดำ�มีวิบากดำ�เป็นอย่างไร
ภิกษุทั้งหลาย  บุคคลบางคนในโลกน้ี เป็นผู้ฆ่าสัตว์ เป็น
ผลู้ กั ทรพั ย์ เปน็ ผปู้ ระพฤตผิ ดิ ในกาม เปน็ ผพู้ ดู โกหก เปน็
ผดู้ ม่ื น�้ำ เมาคอื สรุ าและเมรยั อนั เปน็ ทต่ี งั้ แหง่ ความประมาท
นีเ้ ราเรยี กว่า กรรมดำ�มวี ิบากดำ�.

ภกิ ษุท้งั หลาย  กก็ รรมขาวมวี บิ ากขาวเปน็ อย่างไร 
ภกิ ษทุ งั้ หลาย  บคุ คลบางคนในโลกนี้ เปน็ ผงู้ ดเวน้ จากการ
ฆา่ สตั ว์ เปน็ ผงู้ ดเวน้ จากการลกั ทรพั ย์ เปน็ ผงู้ ดเวน้ จากการ
ประพฤติผิดในกาม เป็นผู้งดเว้นจากการพูดโกหก เป็น
ผู้งดเว้นจากการด่ืมน้ำ�เมาคือสุราและเมรัย อันเป็นท่ีต้ัง
แหง่ ความประมาท นี้เราเรยี กวา่ กรรมขาวมีวบิ ากขาว.

136

เปดิ ธรรมทถี่ ูกปดิ : จติ มโน วญิ ญาณ

ภิกษุทั้งหลาย  ก็กรรมทั้งดำ�ท้ังขาวมีวิบากทั้งดำ�
ท้ังขาวเป็นอย่างไร  ภิกษุทั้งหลาย  บุคคลบางคนในโลกนี้
ย่อมปรุงแต่งกายสังขารท่ีมีความเบียดเบียนบ้าง ไม่มี
ความเบียดเบียนบ้าง  ย่อมปรุงแต่งวจีสังขารท่ีมีความ
เบยี ดเบยี นบา้ ง ไม่มีความเบียดเบียนบ้าง  ย่อมปรุงแต่ง
มโนสงั ขารทม่ี คี วามเบยี ดเบยี นบา้ ง ไมม่ คี วามเบยี ดเบยี นบา้ ง
นีเ้ ราเรยี กว่า กรรมทงั้ ดำ�ท้งั ขาวมวี ิบากทง้ั ดำ�ทั้งขาว.

ภิกษุทั้งหลาย  ก็กรรมไม่ดำ�ไม่ขาวมีวิบากไม่ดำ�
ไม่ขาว ย่อมเป็นไปเพ่ือความส้ินกรรมเป็นอย่างไร  ภิกษุ
ทง้ั หลาย  ในบรรดากรรมเหลา่ นน้ั เจตนาใดเพอ่ื ละกรรมด�ำ
อนั มวี บิ ากด�ำ กด็ ี เจตนาใดเพอ่ื ละกรรมขาวอนั มวี บิ ากขาวกด็  ี
เจตนาใดเพอ่ื ละกรรมทง้ั ด�ำ ทง้ั ขาวอนั มวี บิ ากทง้ั ด�ำ ทง้ั ขาวกด็  ี
นเ้ี ราเรยี กวา่ กรรมไมด่ �ำ ไมข่ าวมวี บิ ากไมด่ �ำ ไมข่ าว ยอ่ มเปน็ ไป
เพอ่ื ความส้ินกรรม.

ภกิ ษทุ งั้ หลาย  กรรม ๔ ประการเหลา่ นแ้ี ล เรากระท�ำ
ให้แจง้ ดว้ ยปัญญาอันย่ิงเองแล้ว ประกาศให้ทราบ.

137

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี กู ปดิ : จติ มโน วญิ ญาณ
59
กรรม ๔ แบบ (นัยที่ ๕)

-บาลี จตกุ กฺ . อ.ํ ๒๑/๓๑๙/๒๓๖.

ภกิ ษทุ งั้ หลาย  กรรม ๔ ประการน้ี เรากระท�ำ ใหแ้ จง้
ด้วยปัญญาอันยิ่งเองแล้ว ประกาศให้ทราบ  ๔ ประการ
อะไรบา้ ง คอื กรรมด�ำ มวี บิ ากด�ำ กม็ ี กรรมขาวมวี บิ ากขาวกม็ ี
กรรมท้ังดำ�ทั้งขาวมีวิบากทั้งดำ�ท้ังขาวก็มี กรรมไม่ดำ�
ไมข่ าวมวี บิ ากไมด่ �ำ ไมข่ าว ยอ่ มเปน็ ไปเพอ่ื ความสน้ิ กรรมกม็ .ี

ภิกษุท้ังหลาย  ก็กรรมดำ�มีวิบากดำ�เป็นอย่างไร
ภกิ ษทุ งั้ หลาย  บคุ คลบางคนในโลกน้ี เปน็ ผฆู้ า่ มารดา เปน็
ผู้ฆ่าบิดา เปน็ ผ้ฆู ่าพระอรหันต์ เปน็ ผมู้ จี ติ ประทษุ ร้ายต่อ
พระตถาคตจนทำ�ให้พระโลหิตห้อขึ้น เป็นผู้ทำ�ลายสงฆ์
ให้แตกกัน นี้เราเรยี กวา่ กรรมด�ำ มวี บิ ากด�ำ .

ภิกษทุ ้ังหลาย  กก็ รรมขาวมีวิบากขาวเป็นอยา่ งไร 
ภิกษุทั้งหลาย  บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้งดเว้นจาก
การฆ่าสัตว์ เป็นผู้งดเว้นจากการลักทรัพย์ เป็นผู้งดเว้น
จากการประพฤตผิ ดิ ในกาม เปน็ ผงู้ ดเวน้ จากการพดู โกหก
เป็นผู้งดเว้นจากการพูดยุยงให้แตกกัน เป็นผงู้ ดเว้นจาก
การพูดคำ�หยาบ เป็นผู้งดเว้นจากการพูดเพ้อเจ้อ เป็นผู้
ไม่เพ่งเล็งทรัพย์ของผู้อ่ืน เป็นผู้มีจิตไม่พยาบาท เป็นผู้
มสี ัมมาทฏิ ฐิ น้ีเราเรียกวา่ กรรมขาวมีวบิ ากขาว.

138

เปดิ ธรรมท่ถี กู ปดิ : จิต มโน วิญญาณ

ภิกษุทั้งหลาย  ก็กรรมท้ังดำ�ทั้งขาวมีวิบากทั้งดำ�
ท้ังขาวเป็นอย่างไร  ภิกษุทั้งหลาย  บุคคลบางคนในโลกนี้
ย่อมปรุงแต่งกายสังขารท่ีมีความเบียดเบียนบ้าง ไม่มี
ความเบียดเบียนบ้าง  ย่อมปรุงแต่งวจีสังขารท่ีมีความ
เบียดเบียนบ้าง ไม่มีความเบียดเบียนบ้าง  ย่อมปรุงแต่ง
มโนสงั ขารทม่ี คี วามเบยี ดเบยี นบา้ ง ไมม่ คี วามเบยี ดเบยี นบา้ ง
นเ้ี ราเรยี กวา่ กรรมท้ังดำ�ท้ังขาวมีวบิ ากท้ังด�ำ ทง้ั ขาว.

ภิกษุทั้งหลาย  ก็กรรมไม่ดำ�ไม่ขาวมีวิบากไม่ดำ�
ไม่ขาว ย่อมเป็นไปเพื่อความสิ้นกรรมเป็นอย่างไร  ภิกษุ
ทง้ั หลาย  ในบรรดากรรมเหลา่ นน้ั เจตนาใดเพอ่ื ละกรรมด�ำ
อนั มวี บิ ากด�ำ กด็ ี เจตนาใดเพอ่ื ละกรรมขาวอนั มวี บิ ากขาวกด็  ี
เจตนาใดเพอ่ื ละกรรมทง้ั ด�ำ ทง้ั ขาวอนั มวี บิ ากทง้ั ด�ำ ทง้ั ขาวกด็  ี
นเ้ี ราเรยี กวา่ กรรมไมด่ �ำ ไมข่ าวมวี บิ ากไมด่ �ำ ไมข่ าว ยอ่ มเปน็ ไป
เพ่ือความส้ินกรรม.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  กรรม ๔ ประการเหลา่ นแี้ ล เรากระท�ำ
ใหแ้ จ้งด้วยปัญญาอันย่งิ เองแล้ว ประกาศใหท้ ราบ.

139

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทีถ่ ูกปดิ : จติ มโน วิญญาณ

การได้อัตภาพ 60

-บาลี ส.ี ท.ี ๙/๔๓/๔๙.

ภกิ ษทุ งั้ หลาย  มสี มณพราหมณพ์ วกหนงึ่ มวี าทะวา่
ขาดสญู ยอ่ มบญั ญตั คิ วามขาดสญู ความพนิ าศ ความไมเ่ กดิ อกี
ของสัตว์ที่มีอยู่ด้วยเหตุ ๗ ประการ  ก็สมณพราหมณ์
ผเู้ จรญิ เหลา่ นน้ั อาศยั อะไร ปรารภอะไร จงึ มวี าทะวา่ ขาดสญู
ยอ่ มบญั ญตั คิ วามขาดสญู ความพนิ าศ ความไมเ่ กดิ อกี ของสตั ว์
ท่ีมอี ยู่ด้วยเหตุ ๗ ประการ.

(1) ภิกษุทั้งหลาย  สมณะหรือพราหมณ์บางคน
ในโลกน้ี มวี าทะอยา่ งน้ี มที ฏิ ฐอิ ยา่ งนว้ี า่ ทา่ นผเู้ จรญิ   เพราะ
อัตตานี้มรี ปู สำ�เรจ็ ด้วยมหาภตู รูปทัง้ ๔  มีมารดาบิดาเป็น
แดนเกิด  ภายหลังแต่การตาย เพราะการทำ�ลายแห่งกาย
ยอ่ มขาดสญู ยอ่ มพนิ าศ ยอ่ มไมเ่ กดิ อกี ดว้ ยเหตเุ พยี งเทา่ นี้
อัตตาน้ีจึงเป็นอันขาดสูญอย่างเด็ดขาด  สมณพราหมณ์
พวกหนง่ึ ยอ่ มบญั ญตั คิ วามขาดสญู ความพนิ าศ ความไมเ่ กดิ อกี
ของสตั ว์ที่มอี ยู่อยา่ งนี้.

(2) สมณะหรอื พราหมณพ์ วกอน่ื กลา่ วกะสมณะหรอื
พราหมณพ์ วกนน้ั อยา่ งนว้ี า่ ทา่ นผเู้ จรญิ  อตั ตาทท่ี า่ นกลา่ วถงึ นน้ั
มอี ยจู่ รงิ ขา้ พเจา้ ไมไ่ ดก้ ลา่ ววา่ ไมม่ ี แตว่ า่ อตั ตานใ้ี ชว่ า่ จะขาดสญู

140

เปดิ ธรรมที่ถูกปดิ : จติ มโน วญิ ญาณ

อยา่ งเดด็ ขาดดว้ ยเหตเุ พยี งเทา่ นก้ี ห็ าไม ่ ทา่ นผเู้ จรญิ   ยงั มี
อตั ตาอยา่ งอนื่ ทเ่ี ปน็ ทพิ ย์ เปน็ อตั ตามรี ปู เปน็ พวกกามาพจร
บรโิ ภคอาหารคอื ค�ำ ขา้ ว อตั ตานน้ั ทา่ นยงั ไมร่ ู้ ทา่ นยงั ไมเ่ หน็
แตข่ า้ พเจา้ รู้ ขา้ พเจา้ เหน็   ทา่ นผเู้ จรญิ   ภายหลงั แตก่ ารตาย
เพราะการท�ำ ลายแหง่ กาย อตั ตานนั้ แหละยอ่ มขาดสญู ยอ่ ม
พินาศ ย่อมไม่เกิดอีก ด้วยเหตุเพียงเท่าน้ี อัตตานี้จึงเป็น
อันขาดสูญอย่างเด็ดขาด  สมณพราหมณ์พวกหนึ่ง ย่อม
บญั ญัติความขาดสญู ความพนิ าศ ความไม่เกดิ อกี ของสตั ว์
ทม่ี ีอยูอ่ ยา่ งน้ี.

(3) สมณะหรือพราหมณ์พวกอ่ืน กล่าวกะสมณะ
หรือพราหมณ์พวกนั้นอย่างนี้ว่า ท่านผู้เจริญ  อัตตาที่ท่าน
กลา่ วถงึ นนั้ มอี ยจู่ รงิ ขา้ พเจา้ ไมไ่ ดก้ ลา่ ววา่ ไมม่ ี แตว่ า่ อตั ตาน้ี
ใช่ว่าจะขาดสูญอย่างเด็ดขาด ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ก็หาไม่ 
ท่านผเู้ จริญ  ยงั มอี ัตตาอย่างอื่น ทเ่ี ปน็ ทิพย์ เปน็ อัตตามีรูป
ส�ำ เรจ็ ดว้ ยใจ (มโนมโย) มอี วยั วะใหญน่ อ้ ยครบถว้ น มอี นิ ทรยี ์
ไมบ่ กพรอ่ ง อตั ตานน้ั ทา่ นยงั ไมร่ ู้ ทา่ นยงั ไมเ่ หน็ แตข่ า้ พเจา้ รู้
ข้าพเจ้าเห็น  ท่านผู้เจริญ  ภายหลังแต่การตาย เพราะการ
ทำ�ลายแหง่ กาย อตั ตาน้ันแหละย่อมขาดสญู …

141

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

(4) สมณะหรือพราหมณ์พวกอ่ืน กล่าวกะสมณะ
หรือพราหมณ์พวกนั้น อย่างนี้ว่า ท่านผู้เจริญ  อัตตาที่ท่าน
กลา่ วถงึ นนั้ มอี ยจู่ รงิ ขา้ พเจา้ ไมไ่ ดก้ ลา่ ววา่ ไมม่ ี แตว่ า่ อตั ตาน้ี
ใช่ว่าจะขาดสูญอย่างเด็ดขาด ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ก็หาไม่ 
ทา่ นผเู้ จรญิ   ยงั มอี ตั ตาอยา่ งอน่ื ทเี่ ขา้ ถงึ อากาสานญั จายตนะ
อนั มกี ารท�ำ ในใจวา่ อากาศไมม่ ที ส่ี น้ิ สดุ เพราะกา้ วลว่ งรปู สญั ญา
เสียได้ เพราะความดับแห่งปฏิฆสัญญา เพราะไม่ใส่ใจใน
สญั ญาตา่ งๆ (นานตตฺ สฺ า) โดยประการทง้ั ปวง อตั ตานนั้ ทา่ น
ยงั ไมร่ ู้ ทา่ นยงั ไมเ่ หน็ แตข่ า้ พเจา้ รู้ ขา้ พเจา้ เหน็   ทา่ นผเู้ จรญิ  
ภายหลงั แตก่ ารตาย เพราะการท�ำ ลายแหง่ กาย อตั ตานน้ั แหละ
ยอ่ มขาดสญู …

(5) สมณะหรอื พราหมณพ์ วกอน่ื กลา่ วกะสมณะหรอื
พราหมณพ์ วกนน้ั อยา่ งนว้ี า่ ทา่ นผเู้ จรญิ  อตั ตาทท่ี า่ นกลา่ วถงึ นน้ั
มอี ยจู่ รงิ ขา้ พเจา้ ไมไ่ ดก้ ลา่ ววา่ ไมม่ ี แตว่ า่ อตั ตานใ้ี ชว่ า่ จะขาดสญู
อยา่ งเดด็ ขาด ดว้ ยเหตเุ พยี งเทา่ นก้ี ห็ าไม ่ ทา่ นผเู้ จรญิ   ยงั มี
อตั ตาอยา่ งอน่ื ทเ่ี ขา้ ถงึ วญิ ญาณญั จายตนะอนั มกี ารท�ำ ในใจวา่
วญิ ญาณไมม่ ที ส่ี น้ิ สดุ เพราะกา้ วลว่ งอากาสานญั จายตนะเสยี ได้
โดยประการท้ังปวง อัตตานั้นท่านยังไม่รู้ ท่านยังไม่เห็น
แตข่ า้ พเจา้ รู้ ขา้ พเจา้ เหน็   ทา่ นผเู้ จรญิ   ภายหลงั แตก่ ารตาย
เพราะการท�ำ ลายแหง่ กาย อตั ตานน้ั แหละยอ่ มขาดสูญ …

142

เปิดธรรมท่ีถูกปดิ : จติ มโน วิญญาณ

(6) สมณะหรือพราหมณ์พวกอ่ืน กล่าวกะสมณะ
หรือพราหมณ์พวกน้ัน อย่างนี้ว่า ท่านผู้เจริญ  อัตตาท่ีท่าน
กลา่ วถงึ นนั้ มอี ยจู่ รงิ ขา้ พเจา้ ไมไ่ ดก้ ลา่ ววา่ ไมม่ ี แตว่ า่ อตั ตาน้ี
ใช่ว่าจะขาดสูญอย่างเด็ดขาด ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ก็หาไม่ 
ทา่ นผเู้ จรญิ  ยงั มอี ตั ตาอยา่ งอน่ื ทเ่ี ขา้ ถงึ อากญิ จญั ญายตนะอนั มี
การท�ำ ในใจวา่ อะไรๆ ไมม่ ี เพราะกา้ วลว่ งวญิ ญาณญั จายตนะ
เสยี ไดโ้ ดยประการทง้ั ปวง อตั ตานน้ั ทา่ นยงั ไมร่ ู้ ทา่ นยงั ไมเ่ หน็
แตข่ า้ พเจา้ รู้ ขา้ พเจา้ เหน็   ทา่ นผเู้ จรญิ   ภายหลงั แตก่ ารตาย
เพราะการทำ�ลายแหง่ กาย อัตตาน้นั แหละยอ่ มขาดสญู …

(7) สมณะหรือพราหมณ์พวกอ่ืน กล่าวกะสมณะ
หรือพราหมณ์พวกนั้นอย่างนี้ว่า ท่านผู้เจริญ  อัตตาที่ท่าน
กลา่ วถงึ นนั้ มอี ยจู่ รงิ ขา้ พเจา้ ไมไ่ ดก้ ลา่ ววา่ ไมม่ ี แตว่ า่ อตั ตาน้ี
ใชว่ า่ จะขาดสญู อยา่ งเดด็ ขาด ดว้ ยเหตเุ พยี งเทา่ นก้ี ห็ าไม ่ ทา่ น
ผเู้ จรญิ   ยงั มอี ตั ตาอยา่ งอน่ื ทเ่ี ขา้ ถงึ เนวสญั ญานาสญั ญายตนะ
เพราะกา้ วลว่ งอากญิ จญั ญายตนะเสยี ไดโ้ ดยประการทง้ั ปวง
อตั ตานน้ั ทา่ นยงั ไมร่ ู้ ทา่ นยงั ไมเ่ หน็ แตข่ า้ พเจา้ รู้ ขา้ พเจา้ เหน็  
ทา่ นผเู้ จรญิ   ภายหลงั แตก่ ารตาย เพราะการท�ำ ลายแหง่ กาย
อัตตานัน้ แหละยอ่ มขาดสญู …

143

พุทธวจน - หมวดธรรม

ภิกษุทั้งหลาย  สมณะหรือพราหมณ์ผู้มีวาทะว่า
ขาดสญู ยอ่ มบญั ญตั คิ วามขาดสญู ความพนิ าศ ความไมเ่ กดิ อกี
ของสัตว์ทม่ี อี ยูด่ ว้ ยเหตุ ๗ ประการเหลา่ นแ้ี ล

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  สมณะหรอื พราหมณเ์ หลา่ ใด ทม่ี วี าทะ
วา่ ขาดสญู ยอ่ มบญั ญตั คิ วามขาดสญู ความพนิ าศ ความไมเ่ กดิ
อีกของสัตว์ท่ีมีอยู่ สมณะหรือพราหมณ์เหล่าน้ันทั้งหมด
ย่อมบัญญตั ิดว้ ยเหตุ ๗ ประการเหลา่ นเ้ี ทา่ นน้ั จะบญั ญตั ดิ ว้ ย
เหตอุ น่ื นอกจากนไ้ี มม่ .ี

… ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  ธรรมเหลา่ นแ้ี ลอนั ลกึ ซง้ึ เหน็ ไดย้ าก
รู้ตามได้ยาก สงบระงับ ประณีต จะคาดคะเนเอาไม่ได้
เปน็ ของละเอยี ด รไู้ ดเ้ ฉพาะบณั ฑติ วสิ ยั ซง่ึ ตถาคตท�ำ ใหแ้ จง้
ดว้ ยปญั ญาอันย่ิงเอง แล้วสอนผู้อ่ืนใหร้ ตู้ าม ซึ่งเป็นเหตใุ ห้
คนเมอ่ื กลา่ วชมตถาคต พงึ กลา่ วไดถ้ กู ตอ้ งตามความเปน็ จรงิ .

144

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทีถ่ ูกปดิ : จติ มโน วญิ ญาณ

61เหตุให้เจรญิ ไมเ่ สื่อม (อปรหิ านิยธรรม)

-บาลี มหา. ท.ี ๑๐/๙๔/๗๕.

ภิกษุทั้งหลาย  เราจักแสดงอปริหานิยธรรม ๖
ประการ อีกหมวดหน่ึงแก่พวกเธอ พวกเธอจงฟัง จงใส่ใจ
ให้ดี เราจะกล่าว.

(1) ภกิ ษทุ งั้ หลาย  พวกภกิ ษมุ กี ายกรรมประกอบ
ด้วยเมตตา ปรากฏในเพ่ือนร่วมประพฤติพรหมจรรย์
ทั้งในท่ีแจ้ง ท้ังในท่ีลับ อยู่เพียงใด ความเจริญก็เป็นสิ่งที่
ภิกษทุ ้ังหลายหวังได้ ไม่มคี วามเส่ือมเลย อยู่เพียงนนั้ .

(2) ภิกษุทั้งหลาย  พวกภิกษุมีวจีกรรมประกอบ
ด้วยเมตตา ปรากฏในเพ่ือนร่วมประพฤติพรหมจรรย์
ทั้งในท่ีแจ้ง ท้ังในท่ีลับ อยู่เพียงใด ความเจริญก็เป็นสิ่งที่
ภิกษุท้ังหลายหวังได้ ไม่มีความเสอ่ื มเลย อยู่เพียงนน้ั .

(3) ภกิ ษทุ งั้ หลาย  พวกภกิ ษมุ มี โนกรรมประกอบ
ด้วยเมตตา ปรากฏในเพ่ือนร่วมประพฤติพรหมจรรย์
ท้ังในที่แจ้ง ท้ังในท่ีลับ อยู่เพียงใด ความเจริญก็เป็นสิ่งที่
ภิกษุทง้ั หลายหวงั ได้ ไมม่ ีความเส่อื มเลย อยูเ่ พยี งน้นั .

(4) ภิกษุทั้งหลาย  พวกภิกษุมีลาภใดๆ เกิด
โดยธรรม ได้แล้วโดยธรรม ที่สุดแม้เพียงอาหารติดบาตร
กบ็ รโิ ภคโดยไมเ่ กยี ดกนั ไวเ้ พอ่ื ตน ยอ่ มเปน็ ผบู้ รโิ ภคเฉลยี่

145

พุทธวจน - หมวดธรรม

ทว่ั ไปกับเพอ่ื นรว่ มประพฤติพรหมจรรย์ผู้มศี ีล อยเู่ พยี งใด
ความเจรญิ กเ็ ปน็ สง่ิ ทภ่ี กิ ษทุ ง้ั หลายหวงั ได้ ไมม่ คี วามเสอ่ื มเลย
อยู่เพียงน้ัน.

(5) ภิกษุท้ังหลาย  พวกภิกษุเป็นผู้มีศีลที่ไม่ขาด
ไม่ทะลุ ไม่ด่าง ไม่พร้อย เป็นไท อันผู้รู้สรรเสริญ ไม่ถูก
ทิฏฐิครอบงำ� เป็นไปพร้อมเพ่ือสมาธิ และถึงความเป็นผู้มี
ศลี เสมอกนั ในศลี เชน่ นนั้ กบั เพอ่ื นรว่ มประพฤตพิ รหมจรรย์
ทั้งหลาย ท้ังในที่แจ้ง ทั้งในท่ีลับ อยู่เพียงใด ความเจริญก็
เปน็ สง่ิ ทภ่ี กิ ษทุ ง้ั หลายหวงั ได้ ไมม่ คี วามเสอ่ื มเลย อยเู่ พยี งนน้ั .

(6) ภิกษุทั้งหลาย  พวกภิกษุเป็นผู้มีทิฏฐิอันเป็น
อริยะ อันเป็นเคร่ืองนำ�ออก นำ�ไปเพื่อความสิ้นทุกข์โดย
ชอบแก่ผู้กระทำ�ตาม และถึงความเป็นผู้มีทิฏฐิเสมอกันใน
ทฏิ ฐเิ ชน่ นนั้ กบั เพอ่ื นรว่ มประพฤตพิ รหมจรรย์ ทงั้ ในทแี่ จง้
ทั้งในที่ลับ อยู่เพียงใด ความเจริญก็เป็นส่ิงที่ภิกษุท้ังหลาย
หวงั ได้ ไม่มคี วามเส่อื มเลย อยู่เพยี งน้นั .

ภกิ ษทุ งั้ หลาย  อปรหิ านยิ ธรรมทงั้ ๖ ประการเหลา่ นี้
ยังคงดำ�รงอยู่ได้ในหมู่ภิกษุท้ังหลาย และพวกเธอเหล่าน้ัน
กย็ งั เหน็ พอ้ งตอ้ งกนั ในธรรมทงั้ ๖ ประการเหลา่ นี้ อยเู่ พยี งใด
ความเจรญิ กเ็ ปน็ สง่ิ ทภ่ี กิ ษทุ ง้ั หลายหวงั ได้ ไมม่ คี วามเสอ่ื มเลย
อยเู่ พียงนนั้ .

146

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ กู ปิด : จิต มโน วิญญาณ

เหตุให้ระลึกถึง รกั เคารพ ไม่วิวาท 62
และพรอ้ มเพรียงกนั (สาราณยี ธรรม)

-บาลี ฉกกฺ . อ.ํ ๒๒/๓๒๓/๒๘๓.

ภกิ ษทุ งั้ หลาย  ธรรม ๖ ประการเหลา่ น้ี เปน็ เหตใุ ห้
ระลกึ ถงึ กนั เปน็ เหตกุ อ่ ความรกั กอ่ ความเคารพ เปน็ ไปเพอ่ื
ความสงเคราะหก์ นั เพอ่ื ไมว่ วิ าทกนั เพอ่ื ความพรอ้ มเพรยี งกนั
เพอ่ื ความเปน็ อนั หนงึ่ อนั เดยี วกนั   ๖ ประการอะไรบา้ ง คอื

(1) ภกิ ษทุ งั้ หลาย  ภกิ ษมุ กี ายกรรมประกอบดว้ ย
เมตตา ปรากฏในเพ่ือนร่วมประพฤติพรหมจรรย์ ท้ังใน
ทแ่ี จง้ ทงั้ ในทล่ี บั ธรรมแมน้ เ้ี ปน็ เหตใุ หร้ ะลกึ ถงึ กนั เปน็ เหตุ
กอ่ ความรกั กอ่ ความเคารพ เปน็ ไปเพอ่ื ความสงเคราะหก์ นั
เพื่อไม่วิวาทกัน เพื่อความพร้อมเพรียงกัน เพื่อความเป็น
อันหนง่ึ อนั เดียวกนั .

(2) ภกิ ษทุ งั้ หลาย  อกี ประการหนงึ่ ภกิ ษมุ วี จกี รรม
ประกอบด้วยเมตตา ปรากฏในเพ่ือนร่วมประพฤติ
พรหมจรรย์ ทั้งในทแ่ี จง้ ท้งั ในท่ีลับ ...

(3) ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  อกี ประการหนง่ึ ภกิ ษมุ มี โนกรรม
ประกอบดว้ ยเมตตา ปรากฏในเพอ่ื นรว่ มประพฤตพิ รหมจรรย์
ทง้ั ในท่ีแจ้ง ทัง้ ในทีล่ บั ...

(4) ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  อกี ประการหนง่ึ ภกิ ษมุ ลี าภใดๆ
เกดิ โดยธรรม ไดแ้ ลว้ โดยธรรม ทสี่ ดุ แมเ้ พยี งอาหารตดิ บาตร

147

พุทธวจน - หมวดธรรม

กบ็ รโิ ภคโดยไมเ่ กยี ดกนั ไวเ้ พอื่ ตน ยอ่ มเปน็ ผบู้ รโิ ภคเฉลยี่
ทว่ั ไปกบั เพือ่ นร่วมประพฤติพรหมจรรยผ์ ูม้ ีศีล ...

(5) ภิกษุทั้งหลาย  อีกประการหน่ึง ภิกษุเป็น
ผู้มีศีลท่ีไม่ขาด ไม่ทะลุ ไม่ด่าง ไม่พร้อย เป็นไท อันผู้รู้
สรรเสริญ ไม่ถูกทิฏฐิครอบง�ำ เป็นไปพร้อมเพอ่ื สมาธิ และ
ถึงความเป็นผู้มีศีลเสมอกันในศีลเช่นน้ัน กับเพื่อนร่วม
ประพฤติพรหมจรรย์ท้ังหลาย ท้ังในทแ่ี จง้ ทงั้ ในทล่ี บั ...

(6) ภิกษุท้งั หลาย  อีกประการหน่งึ ภิกษุเป็นผู้มี
ทฏิ ฐอิ นั เปน็ อรยิ ะ อนั เปน็ เครอ่ื งน�ำ ออก น�ำ ไปเพอ่ื ความสน้ิ ทกุ ข์
โดยชอบแกผ่ กู้ ระท�ำ ตาม และถงึ ความเปน็ ผมู้ ที ฏิ ฐเิ สมอกนั
ในทฏิ ฐเิ ชน่ นน้ั กบั เพอ่ื นรว่ มประพฤตพิ รหมจรรย์ ทง้ั ในทแ่ี จง้
ท้ังในท่ีลับ ธรรมแม้นี้เป็นเหตุให้ระลึกถึงกัน เป็นเหตุก่อ
ความรัก ก่อความเคารพ เป็นไปเพื่อความสงเคราะห์กัน
เพ่ือไม่วิวาทกัน เพื่อความพร้อมเพรียงกัน เพื่อความเป็น
อนั หนึ่งอนั เดียวกัน.

ภกิ ษทุ งั้ หลาย  ธรรม ๖ ประการเหลา่ นแ้ี ล เปน็ เหตใุ ห้
ระลกึ ถงึ กนั เปน็ เหตกุ อ่ ความรกั กอ่ ความเคารพ เปน็ ไปเพอ่ื
ความสงเคราะหก์ นั เพอ่ื ไมว่ วิ าทกนั เพอ่ื ความพรอ้ มเพรยี งกนั
เพือ่ ความเป็นอนั หนงึ่ อันเดยี วกนั .

148

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถูกปดิ : จติ มโน วญิ ญาณ

เหตุแหง่ ความแตกแยก 63

-บาลี ม.ู ม. ๑๒/๕๘๒/๕๔๑.

ภิกษุทง้ั หลาย  ได้ยนิ วา่ พวกเธอเกิดขดั ใจ ทะเลาะ
ววิ าท ทม่ิ แทงกนั และกนั ดว้ ยหอกคอื ปากอยู่ ไมย่ งั กนั และกนั
ให้เข้าใจ ไม่ปรารถนาความเข้าใจกัน ไม่ยังกันและกันให้
ปรองดอง ไม่ปรารถนาความปรองดองกนั จรงิ หรือ.

เปน็ อยา่ งน้นั พระพุทธเจา้ ขา้ .

ภิกษุท้ังหลาย  พวกเธอจะสำ�คัญความข้อน้ัน
เปน็ อยา่ งไร สมยั ใด พวกเธอ เกดิ ขดั ใจ ทะเลาะ ววิ าท ทม่ิ แทง
กันและกันด้วยหอกคือปากอยู่ สมัยน้ัน พวกเธอเข้าไปตั้ง
เมตตากายกรรม เมตตาวจีกรรม และเมตตามโนกรรม
ในเพอ่ื นสพรหมจารที ง้ั หลาย ทง้ั ตอ่ หนา้ และลบั หลงั บา้ งหรอื .

ข้อนน้ั ไม่มีเลย พระพทุ ธเจา้ ข้า.

ภิกษุท้ังหลาย  เช่นนี้ก็เป็นอันว่า สมัยใด พวกเธอ
เกิดขัดใจ ทะเลาะ วิวาท ทิ่มแทงกันและกันด้วยหอก
คอื ปากอยู่ สมยั นน้ั พวกเธอไมไ่ ดเ้ ขา้ ไปตง้ั เมตตากายกรรม
เมตตาวจกี รรม และเมตตามโนกรรม ในเพอ่ื นสพรหมจารี
ท้ังหลาย ท้ังต่อหน้าและลับหลัง  โมฆบุรุษท้ังหลาย

149

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

เมอื่ เปน็ ดงั นน้ั พวกเธอรอู้ ะไร เหน็ อะไร จงึ เกดิ ขดั ใจ ทะเลาะ
ววิ าท ทมิ่ แทงกนั และกนั ดว้ ยหอกคอื ปากอยู่ ไมย่ งั กนั และกนั
ให้เข้าใจ ไม่ปรารถนาความเข้าใจกัน ไม่ยังกันและกันให้
ปรองดอง ไมป่ รารถนาความปรองดองกัน.

โมฆบุรุษท้ังหลาย  ข้อน้ันน่ันแหละ จักไม่เป็นไป
เพ่ือประโยชน์ เป็นไปเพ่ือทุกข์ แก่พวกเธอท้ังหลาย
ตลอดกาลนาน.

150

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถูกปิด : จิต มโน วญิ ญาณ

ความพลดั พราก 64
จากของรักของชอบใจยอ่ มมี

-บาลี มหา. ท.ี ๑๐/๑๖๗/๑๓๕.

อานนท ์ เธออยา่ ไดเ้ ศรา้ โศกเสยี ใจไปเลย เราไดบ้ อก
ไวก้ อ่ นแลว้ ไมใ่ ชห่ รอื วา่ ความเปน็ ตา่ งๆ ความพลดั พราก
ความเป็นอย่างอื่น จากของรักของชอบใจทั้งสิ้นย่อมมี 
อานนท ์ ขอ้ นน้ั จะไดม้ าแตท่ ไ่ี หนเลา่ สง่ิ ใดเกดิ ขน้ึ แลว้ เปน็ แลว้
อันปัจจัยปรุงแต่งแล้ว  มีความแตกทำ�ลายไปเป็นธรรมดา
วา่ สงิ่ นอี้ ยา่ แตกท�ำ ลายไปเลยดงั น้ี ยอ่ มไมใ่ ชฐ่ านะทจี่ ะมไี ด.้

อานนท์  เธอได้อุปัฏฐากตถาคต ด้วยกายกรรม
ท่ีประกอบด้วยเมตตา อันเกื้อกูล เป็นความสุข อย่าง
สม�่ำ เสมอ หาประมาณไมไ่ ดม้ าชา้ นาน เธอไดอ้ ปุ ฏั ฐากตถาคต
ดว้ ยวจกี รรมทป่ี ระกอบดว้ ยเมตตา อนั เกอ้ื กลู เปน็ ความสขุ
อยา่ งสม�ำ่ เสมอ หาประมาณไมไ่ ดม้ าชา้ นาน เธอไดอ้ ปุ ฏั ฐาก
ตถาคต ด้วยมโนกรรมท่ีประกอบด้วยเมตตา อันเกื้อกูล
เปน็ ความสขุ อยา่ งสม�ำ่ เสมอ หาประมาณไม่ไดม้ าชา้ นาน.

อานนท ์ เธอไดก้ ระท�ำ บญุ ไวแ้ ลว้ เธอจงประกอบ
ความเพียรเถิด แลว้ จะเปน็ ผู้ไมม่ ีอาสวะโดยพลนั .

151

พุทธวจน - หมวดธรรม

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  พระอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ทง้ั หลาย
เหลา่ ใด ท่ีได้มีแลว้ ในกาลกอ่ น ภกิ ษุผู้เป็นอปุ ฏั ฐากอันเลิศ
ของพระผมู้ พี ระภาคเหลา่ นน้ั กเ็ ลศิ เสมอกนั กบั อานนทข์ อง
เราน ี้ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  พระอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ทง้ั หลาย
เหล่าใด ท่ีจะมีในอนาคต ภิกษุผู้เป็นอุปัฏฐากอันเลิศของ
พระผมู้ พี ระภาคเหลา่ นน้ั กเ็ ลศิ เสมอกนั กบั อานนทข์ องเราน.้ี

ภิกษุทั้งหลาย  อานนท์เป็นบัณฑิต ย่อมรู้เวลาท่ี
เหมาะสมเพ่ือจะเข้าเฝ้าตถาคตว่า นี้เป็นเวลาของภิกษุ
ท้ังหลาย นี้เป็นเวลาของภิกษุณีทั้งหลาย นี้เป็นเวลาของ
อบุ าสกทง้ั หลาย นเ้ี ปน็ เวลาของอบุ าสกิ าทงั้ หลาย นเ้ี ปน็ เวลา
ของเหล่าพระราชา นี้เป็นเวลาของเหล่ามหาอำ�มาตย์ของ
พระราชา นี้เป็นเวลาของเดียรถีย์ทั้งหลาย น้ีเป็นเวลาของ
สาวกเดียรถยี ์ทง้ั หลาย. …

152

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทีถ่ กู ปดิ : จติ มโน วญิ ญาณ

คนพาล-บัณฑิต (นัยที่ ๑) 65

-บาลี ตกิ . อ.ํ ๒๐/๑๓๐,๓๗๖/๔๔๕,๕๘๖.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  บคุ คลผปู้ ระกอบดว้ ยธรรม ๓ ประการ
ให้ทราบว่าเป็นคนพาล  ธรรม ๓ ประการอะไรบ้าง คือ
กายกรรมที่เป็นอกุศล วจีกรรมที่เป็นอกุศล มโนกรรม
ทเ่ี ปน็ อกศุ ล  ภกิ ษทุ งั้ หลาย  บคุ คลผปู้ ระกอบดว้ ยธรรม ๓
ประการเหล่าน้ีแล ใหท้ ราบว่าเปน็ คนพาล.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  บคุ คลผปู้ ระกอบดว้ ยธรรม ๓ ประการ
ให้ทราบว่าเป็นบัณฑิต  ธรรม ๓ ประการอะไรบ้าง คือ
กายกรรมท่ีเป็นกุศล วจีกรรมที่เป็นกุศล มโนกรรม
ท่ีเป็นกุศล  ภิกษุทั้งหลาย  บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๓
ประการเหลา่ นแ้ี ล ใหท้ ราบว่าเป็นบัณฑิต.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  บคุ คลผปู้ ระกอบดว้ ยธรรม ๓ ประการ
ยอ่ มตกนรก เหมอื นกบั ถกู น�ำ ตวั ไปฝงั ไว ้ ธรรม ๓ ประการ
อะไรบา้ ง คอื กายกรรมทเ่ี ปน็ อกศุ ล วจกี รรมทเ่ี ปน็ อกศุ ล
มโนกรรมทเ่ี ปน็ อกศุ ล  ภกิ ษทุ ง้ั หลาย บคุ คลผปู้ ระกอบดว้ ย
ธรรม ๓ ประการเหลา่ นแ้ี ล ยอ่ มตกนรกเหมอื นกบั ถกู น�ำ ตวั
ไปฝงั ไว.้

153

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  บคุ คลผปู้ ระกอบดว้ ยธรรม ๓ ประการ
ยอ่ มไปสวรรค์ เหมอื นกบั ถกู น�ำ ตวั ไปเกบ็ ไว ้ ธรรม ๓ ประการ
อะไรบ้าง คือ กายกรรมท่ีเป็นกุศล วจีกรรมท่ีเป็นกุศล
มโนกรรมทเ่ี ปน็ กศุ ล  ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  บคุ คลผปู้ ระกอบดว้ ย
ธรรม ๓ ประการเหลา่ นแ้ี ล ยอ่ มไปสวรรคเ์ หมอื นกบั ถกู น�ำ ตวั
ไปเกบ็ ไว.้

154

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทีถ่ ูกปิด : จิต มโน วญิ ญาณ

คนพาล-บณั ฑติ (นยั ท่ี ๒) 66

-บาลี ตกิ . อ.ํ ๒๐/๑๓๑,๓๗๗/๔๔๖,๕๘๗.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  บคุ คลผปู้ ระกอบดว้ ยธรรม ๓ ประการ
ให้ทราบว่าเป็นคนพาล  ธรรม ๓ ประการอะไรบ้าง คือ
กายกรรมท่ีมีโทษ วจีกรรมท่ีมีโทษ มโนกรรมท่ีมีโทษ
ภกิ ษทุ ง้ั หลาย บคุ คลผปู้ ระกอบดว้ ยธรรม ๓ ประการเหลา่ นแ้ี ล
ให้ทราบว่าเปน็ คนพาล.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  บคุ คลผปู้ ระกอบดว้ ยธรรม ๓ ประการ
ให้ทราบว่าเป็นบัณฑิต  ธรรม ๓ ประการอะไรบ้าง คือ
กายกรรมท่ีไม่มีโทษ วจีกรรมที่ไม่มีโทษ มโนกรรมท่ี
ไมม่ โี ทษ  ภกิ ษทุ ง้ั หลาย บคุ คลผปู้ ระกอบดว้ ยธรรม ๓ ประการ
เหล่านี้แล ให้ทราบวา่ เปน็ บัณฑติ .

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  บคุ คลผปู้ ระกอบดว้ ยธรรม ๓ ประการ
ยอ่ มตกนรก เหมอื นกบั ถกู น�ำ ตวั ไปฝงั ไว ้ ธรรม ๓ ประการ
อะไรบา้ ง คอื กายกรรมทม่ี โี ทษ วจกี รรมทม่ี โี ทษ มโนกรรม
ท่ีมีโทษ ภิกษุท้ังหลาย  บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๓
ประการเหลา่ นแ้ี ล ยอ่ มตกนรกเหมอื นกบั ถกู น�ำ ตวั ไปฝงั ไว.้

155

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  บคุ คลผปู้ ระกอบดว้ ยธรรม ๓ ประการ
ยอ่ มไปสวรรค์ เหมอื นกบั ถกู น�ำ ตวั ไปเกบ็ ไว ้ ธรรม ๓ ประการ
อะไรบ้าง คือ กายกรรมท่ีไม่มีโทษ วจีกรรมท่ีไม่มีโทษ
มโนกรรมทไี่ มม่ โี ทษ  ภกิ ษทุ งั้ หลาย  บคุ คลผปู้ ระกอบดว้ ย
ธรรม ๓ ประการเหลา่ นแ้ี ล ยอ่ มไปสวรรคเ์ หมอื นกบั ถกู น�ำ ตวั
ไปเกบ็ ไว.้

156

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี กู ปิด : จติ มโน วิญญาณ

คนพาล-บัณฑิต (นยั ที่ ๓) 67

-บาลี ตกิ . อ.ํ ๒๐/๑๓๑/๔๔๗.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  บคุ คลผปู้ ระกอบดว้ ยธรรม ๓ ประการ
ให้ทราบว่าเป็นคนพาล  ธรรม ๓ ประการอะไรบ้าง คือ
กายกรรมท่ีเป็นการเบียดเบียน วจีกรรมท่ีเป็นการ
เบยี ดเบยี น มโนกรรมทเ่ี ปน็ การเบยี ดเบยี น  ภกิ ษทุ ง้ั หลาย 
บคุ คลผปู้ ระกอบดว้ ยธรรม ๓ ประการเหลา่ นแ้ี ล ใหท้ ราบวา่
เป็นคนพาล.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  บคุ คลผปู้ ระกอบดว้ ยธรรม ๓ ประการ
ให้ทราบว่าเป็นบัณฑิต  ธรรม ๓ ประการอะไรบ้าง คือ
กายกรรมท่ีไม่เป็นการเบียดเบียน  วจีกรรมท่ีไม่เป็น
การเบียดเบียน  มโนกรรมที่ไม่เป็นการเบียดเบียน 
ภิกษุทั้งหลาย  บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ
เหลา่ น้ีแล ให้ทราบวา่ เป็นบัณฑิต.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  เพราะเหตนุ น้ั แหละ เธอทง้ั หลายพงึ
ศกึ ษาอยา่ งนว้ี า่ บคุ คลผปู้ ระกอบดว้ ยธรรม ๓ ประการเหลา่ ใด
ทท่ี �ำ ใหท้ ราบวา่ เปน็ คนพาล เราจะไมป่ ระพฤตธิ รรมเหลา่ นน้ั
สว่ นบคุ คลผปู้ ระกอบดว้ ยธรรม ๓ ประการเหลา่ ใด ทท่ี �ำ ให้
ทราบวา่ เปน็ บณั ฑติ เราจะสมาทานประพฤตธิ รรมเหลา่ นน้ั  
ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เธอทง้ั หลายพงึ ศกึ ษาอยา่ งนแ้ี ล.

157

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ กู ปิด : จิต มโน วญิ ญาณ
68
คนพาล-บณั ฑิต (นยั ที่ ๔)

-บาลี ตกิ . อ.ํ ๒๐/๑๓๒/๔๔๘.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  บคุ คลผปู้ ระกอบดว้ ยธรรม ๓ ประการ
ยอ่ มเปน็ คนพาล เปน็ คนไมฉ่ ลาด เปน็ อสปั บรุ ษุ ยอ่ มท�ำ ตน
ใหถ้ ูกกำ�จัด ให้ถูกท�ำ ลาย เปน็ ไปกับดว้ ยโทษ ถูกผรู้ ู้ตเิ ตียน
และประสบสิ่งไม่ใช่บุญเป็นอันมาก  ธรรม ๓ ประการ
อะไรบา้ ง คอื กายทจุ รติ วจที จุ รติ มโนทจุ รติ   ภกิ ษทุ ง้ั หลาย 
บุคคลผ้ปู ระกอบด้วยธรรม ๓ ประการเหล่าน้แี ล ย่อมเป็น
คนพาล เปน็ คนไมฉ่ ลาด เปน็ อสปั บรุ ษุ ยอ่ มท�ำ ตนใหถ้ กู ก�ำ จดั
ใหถ้ ูกท�ำ ลาย เปน็ ไปกับด้วยโทษ ถูกผ้รู ู้ตเิ ตียน และประสบ
สิ่งไม่ใช่บญุ เปน็ อันมาก.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  บคุ คลผปู้ ระกอบดว้ ยธรรม ๓ ประการ
ยอ่ มเปน็ บณั ฑติ เปน็ คนฉลาด เปน็ สปั บรุ ษุ ยอ่ มท�ำ ตนไมใ่ ห้
ถกู ก�ำ จดั ไมใ่ หถ้ กู ท�ำ ลาย ไมม่ โี ทษ ผรู้ ไู้ มต่ เิ ตยี น และประสบบญุ
เป็นอันมาก  ธรรม ๓ ประการอะไรบ้าง คือ กายสุจริต
วจีสุจริต มโนสุจริต  ภิกษุทั้งหลาย  บุคคลผู้ประกอบด้วย
ธรรม ๓ ประการเหล่าน้ีแล ยอ่ มเป็นบัณฑติ เป็นคนฉลาด
เป็นสัปบุรุษ ย่อมบริหารตนไม่ให้ถูกก�ำ จดั ไม่ใหถ้ กู ทำ�ลาย
ไม่มโี ทษ ผู้รไู้ ม่ตเิ ตียน และประสบบุญเป็นอนั มาก.

158

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถกู ปิด : จิต มโน วิญญาณ

ผลของกรรมทไ่ี มส่ ม�ำ่ เสมอ-สม�ำ่ เสมอ 69

-บาลี ตกิ . อ.ํ ๒๐/๓๗๗/๕๘๘.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  บคุ คลผปู้ ระกอบดว้ ยธรรม ๓ ประการ
ย่อมตกนรก เหมือนกับถูกนำ�ไปฝังไว้  ธรรม ๓ ประการ
อะไรบ้าง คือ กายกรรมท่ีไม่สมำ่�เสมอ (กายกมฺเมน วิสเมน)
วจีกรรมที่ไม่สม่ำ�เสมอ (วจีกมฺเมน วิสเมน)  มโนกรรม
ท่ีไม่สมำ่�เสมอ (มโนกมฺเมน วิสเมน)  ภิกษุทั้งหลาย  บุคคล
ผู้ประกอบด้วยธรรม ๓ ประการเหล่าน้ีแล ย่อมตกนรก
เหมือนกบั ถูกน�ำ ตัวไปฝงั ไว้.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  บคุ คลผปู้ ระกอบดว้ ยธรรม ๓ ประการ
ยอ่ มไปสวรรค์ เหมอื นกบั ถกู น�ำ ตวั ไปเกบ็ ไว ้ ธรรม ๓ ประการ
อะไรบ้าง คือ กายกรรมท่ีสม่ำ�เสมอ (กายกมฺเมน สเมน)
วจีกรรมท่ีสมำ่�เสมอ (วจีกมฺเมน สเมน)  มโนกรรม
ที่สมำ่�เสมอ (มโนกมฺเมน สเมน)  ภิกษุทั้งหลาย  บุคคล
ผู้ประกอบด้วยธรรม ๓ ประการเหล่าน้ีแล ย่อมไปสวรรค์
เหมอื นกบั ถกู น�ำ ตัวไปเก็บไว้.

159

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถูกปิด : จติ มโน วญิ ญาณ
ผลของกรรมทไ่ี ม่สะอาด-สะอาด 70

-บาลี ตกิ . อ.ํ ๒๐/๓๗๗/๕๘๙.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  บคุ คลผปู้ ระกอบดว้ ยธรรม ๓ ประการ
ย่อมตกนรก เหมือนกับถูกนำ�ไปฝังไว้  ธรรม ๓ ประการ
อะไรบ้าง คือ กายกรรมท่ีไม่สะอาด (กายกมฺเมน อสุจินา)
วจีกรรมท่ีไม่สะอาด (วจีกมฺเมน อสุจินา)  มโนกรรม
ที่ไม่สะอาด (มโนกมฺเมน อสุจินา)  ภิกษุทั้งหลาย  บุคคล
ผู้ประกอบด้วยธรรม ๓ ประการเหล่านี้แล ย่อมตกนรก
เหมือนกับถกู นำ�ตวั ไปฝังไว้.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  บคุ คลผปู้ ระกอบดว้ ยธรรม ๓ ประการ
ยอ่ มไปสวรรค์ เหมอื นกบั ถกู น�ำ ตวั ไปเกบ็ ไว ้ ธรรม ๓ ประการ
อะไรบา้ ง คอื กายกรรมทส่ี ะอาด (กายกมเฺ มน สจุ นิ า)  วจกี รรม
ทส่ี ะอาด (วจกี มเฺ มน สจุ นิ า) มโนกรรมทส่ี ะอาด (มโนกมเฺ มน สจุ นิ า) 
ภิกษุทั้งหลาย  บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ
เหลา่ นีแ้ ล ยอ่ มไปสวรรคเ์ หมือนกบั ถูกนำ�ตวั ไปเกบ็ ไว้.

160

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถูกปิด : จิต มโน วญิ ญาณ

ความไม่สะอาด-ความสะอาด 71
ทางกาย วาจา และใจ

-บาลี ทสก. อ.ํ ๒๔/๒๘๕,๓๐๖/๑๖๕,๑๘๙.

จุนทะ  ความไม่สะอาดทางกายมี ๓ อย่าง

(ตวิ ธิ  โข จนุ ทฺ กาเยน อโสเจยยฺ )

ความไม่สะอาดทางวาจามี ๔ อย่าง

(จตุพพฺ ิธ วาจา อโสเจยยฺ )

ความไม่สะอาดทางใจมี ๓ อยา่ ง.

(ตวิ ิธ มนสา อโสเจยยฺ )

จนุ ทะ  ความไมส่ ะอาดทางกายมี ๓ อยา่ ง อะไรบา้ ง
คือ  จนุ ทะ  คนบางคนในกรณนี ี้

(1) เป็นผู้มีปกติฆ่าสัตว์ หยาบช้า มีฝ่ามือเป้ือน
ดว้ ยโลหติ มแี ตก่ ารฆา่ และการทบุ ตี ไมม่ คี วามเอน็ ดใู นสตั ว์
มชี วี ติ

(2) เปน็ ผมู้ ปี กตถิ อื เอาสงิ่ ของทม่ี เี จา้ ของไมไ่ ดใ้ ห้
คือ วัตถุอุปกรณ์แห่งทรัพย์ของบุคคลอื่น ที่อยู่ในบ้านหรือ
ในป่าก็ตาม เป็นผู้ถือเอาสิ่งของที่เขาไม่ได้ให้ด้วยอาการ
แห่งขโมย

(3) เป็นผู้มีปกติประพฤติผิดในกาม ในหญิง
ซงึ่ มารดารกั ษา บดิ ารกั ษา พนี่ อ้ งชาย พนี่ อ้ งหญงิ หรอื ญาติ
รักษา อันธรรมรักษา เป็นหญิงมีสามี หญิงอยู่ในสินไหม

161

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

โดยท่ีสุดแม้หญิงอันเขาหมั้นไว้ ด้วยการคล้องพวงมาลัย
เปน็ ผู้ประพฤติผิดจารีตในรูปแบบเหล่านนั้

จนุ ทะ  อยา่ งนแ้ี ล ความไมส่ ะอาดทางกาย ๓ อยา่ ง.
จนุ ทะ  ความไมส่ ะอาดทางวาจามี ๔ อยา่ ง อะไรบา้ ง
คือ  จนุ ทะ  คนบางคนในกรณนี  ้ี
(1) เป็นผ้มู ีปกติกล่าวเท็จ (มุสาวาท) ไปส่สู ภาก็ดี
ไปสบู่ รษิ ทั กด็ ี ไปสทู่ า่ มกลางหมญู่ าตกิ ด็ ี ไปสทู่ า่ มกลางศาลา
ประชาคมกด็ ี ไปสทู่ า่ มกลางราชสกลุ กด็ ี อนั เขาน�ำ ไปเปน็ พยาน
ถามว่า บุรุษผ้เู จริญ  ท่านร้อู ย่างไร ท่านจงกล่าวไปอย่างน้นั
ดังน้ี  บุรุษน้ัน  เม่ือไม่รู้ก็กล่าวว่ารู้  เม่ือรู้ก็กล่าวว่าไม่รู้
เมอ่ื ไมเ่ หน็ กก็ ลา่ ววา่ เหน็ เมอ่ื เหน็ กก็ ลา่ ววา่ ไมเ่ หน็ เพราะเหตุ
ตนเอง เพราะเหตผุ อู้ น่ื หรอื เพราะเหตเุ หน็ แกอ่ ามสิ อะไรๆ
กเ็ ป็นผู้กลา่ วเท็จท้งั ท่รี ูอ้ ยู่
(2) เป็นผู้มีวาจาส่อเสียด (ปิสุณวาจา) คือฟังจาก
ฝา่ ยนแ้ี ลว้ ไปบอกฝา่ ยโนน้ เพอ่ื ท�ำ ลายฝา่ ยน้ี หรอื ฟงั จากฝา่ ยโนน้
แลว้ มาบอกฝา่ ยนเ้ี พอ่ื ท�ำ ลายฝา่ ยโนน้ เปน็ ผทู้ �ำ คนทส่ี ามคั คกี นั
ใหแ้ ตกกนั หรอื ท�ำ คนทแ่ี ตกกนั แลว้ ใหแ้ ตกกนั ยง่ิ ขน้ึ พอใจ ยนิ ดี
เพลดิ เพลนิ ในการแตกกนั เปน็ พวก เปน็ ผกู้ ลา่ ววาจาทก่ี ระทำ�
ใหแ้ ตกกนั เป็นพวก

162

เปดิ ธรรมทถ่ี ูกปิด : จติ มโน วิญญาณ

(3) เป็นผู้มีวาจาหยาบ (ผรุสวาจา) อันเป็นวาจา
หยาบคาย กลา้ แขง็ แสบเผด็ ตอ่ ผอู้ น่ื กระทบกระเทยี บผอู้ น่ื
แวดล้อมอยู่ด้วยความโกรธ ไม่เป็นไปเพ่ือสมาธิ เขาเป็น
ผกู้ ลา่ ววาจามีรปู ลกั ษณะเช่นน้นั

(4) เปน็ ผมู้ วี าจาเพอ้ เจอ้  (สมผฺ ปปฺ ลาป) คอื เปน็ ผกู้ ลา่ ว
ไมถ่ กู กาล ไมก่ ล่าวตามจริง กล่าวไม่อิงอรรถ ไม่อิงธรรม
ไม่อิงวินัย เป็นผ้กู ล่าววาจาไม่มีท่ตี ้งั อาศัย ไม่ถูกกาลเทศะ
ไมม่ จี ดุ จบ ไมป่ ระกอบด้วยประโยชน์

จนุ ทะ  อยา่ งนแ้ี ล ความไมส่ ะอาดทางวาจา ๔ อยา่ ง.
จนุ ทะ  ความไมส่ ะอาดทางใจมี ๓ อยา่ ง อะไรบา้ ง
คอื   จุนทะ  คนบางคนในกรณนี ี้ 
(1) เป็นผู้มากด้วยอภิชฌา (ความโลภเพ่งเล็ง) เป็น
ผู้โลภเพ่งเล็งวัตถุอุปกรณ์แห่งทรัพย์ของผู้อื่นว่า สง่ิ ใดเปน็
ของผู้อนื่ ส่งิ นนั้ จงเป็นของเรา ดังนี้
(2) เปน็ ผมู้ จี ติ พยาบาท มคี วามด�ำ รใิ นใจเปน็ ไปใน
ทางประทษุ รา้ ยวา่ สตั วท์ ง้ั หลายเหลา่ น้ี จงเดอื ดรอ้ น จงแตก
ท�ำ ลาย จงขาดสูญ จงพนิ าศ อย่าไดม้ อี ย่เู ลย ดงั นี้

163

พุทธวจน - หมวดธรรม

(3) เป็นผู้มีความเห็นผิด มีทัสสนะวิปริตว่า ทาน
ท่ีให้แล้วไม่มี (ผล) ยัญที่บูชาแล้วไม่มี (ผล) การบูชาที่บูชา
แลว้ ไมม่  ี (ผล) ผลวบิ ากแหง่ กรรมทส่ี ตั วท์ �ำ ดที �ำ ชวั่ ไมม่ ี โลกนี้
ไมม่ ี โลกอน่ื ไมม่ ี มารดาไมม่ ี บดิ าไมม่ ี โอปปาตกิ ะสตั วไ์ มม่ ี
สมณพราหมณ์ผู้ดำ�เนินไปโดยชอบ ปฏิบัติโดยชอบถึงกับ
กระทำ�ให้แจ้งโลกนี้และโลกอ่ืน ด้วยปัญญาโดยชอบเอง
แลว้ ประกาศใหผ้ ู้อื่นรกู้ ็ไมม่ ี ดงั น้ี

จนุ ทะ  อย่างนี้แล ความไม่สะอาดทางใจ ๓ อยา่ ง.
จนุ ทะ  เหลา่ น้แี ล เรยี กว่า อกศุ ลกรรมบถสิบ.
จุนทะ  อน่ึง  เพราะมีการประกอบด้วยอกุศล-
กรรมบถทั้งสิบประการเหล่าน้ีเป็นเหตุ นรกย่อมปรากฏ
ก�ำ เนิดเดรัจฉานยอ่ มปรากฏ เปรตวสิ ยั ยอ่ มปรากฏ หรอื
ว่าทุคติใดๆ แมอ้ นื่ อีก ยอ่ มมี.
… ภิกษุท้ังหลาย  บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม
๑๐ ประการเหลา่ นแ้ี ล ยอ่ มเปน็ เหมอื นบคุ คลผถู้ กู น�ำ ตวั
ไปฝังไวใ้ นนรก.

164

เปดิ ธรรมทีถ่ กู ปิด : จติ มโน วญิ ญาณ

จนุ ทะ  ความสะอาดทางกายมี ๓ อย่าง

(ตวิ ธิ  โข จนุ ทฺ กาเยน โสเจยฺย)

ความสะอาดทางวาจามี ๔ อยา่ ง

(จตุพพฺ ธิ  วาจา โสเจยยฺ )

ความสะอาดทางใจมี ๓ อยา่ ง.

(ติวธิ  มนสา โสเจยยฺ )

จนุ ทะ  ความสะอาดทางกายมี ๓ อยา่ ง อะไรบา้ ง
คือ  จุนทะ  บุคคลบางคนในกรณีน้ ี

(1) ละการฆ่าสัตว์ เว้นขาดจากการฆ่าสัตว์ วาง
ทอ่ นไม้ วางศสั ตรา มคี วามละอายถงึ ความเอน็ ดกู รณุ าเกอื้ กลู
แกส่ ตั ว์ท้ังหลายอยู่

(2) ละการถอื เอาสง่ิ ของทเ่ี จา้ ของมไิ ดใ้ ห้ เวน้ ขาด
จากการถอื เอาสง่ิ ของทเ่ี จา้ ของไมไ่ ดใ้ ห้ ไมถ่ อื เอาทรพั ยแ์ ละ
อุปกรณ์แห่งทรัพย์ท่ีเจ้าของไม่ได้ให้ ในบ้านก็ดี ในป่าก็ดี
ดว้ ยอาการแห่งขโมย

(3) ละการประพฤติผิดในกาม เว้นขาดจากการ
ประพฤตผิ ดิ ในกาม ในหญงิ ซง่ึ มารดารกั ษา บดิ ารกั ษา พน่ี อ้ งชาย
พี่น้องหญิงหรือญาติรักษา อันธรรมรักษา เป็นหญิงมีสามี
หญงิ อยใู่ นสนิ ไหม โดยทส่ี ดุ แมห้ ญงิ อนั เขาหมน้ั ไว้ ดว้ ยการ
คลอ้ งพวงมาลยั ไมเ่ ปน็ ผปู้ ระพฤตผิ ดิ จารตี ในรปู แบบเหลา่ นนั้

จนุ ทะ  อยา่ งนแ้ี ล ความสะอาดทางกาย ๓ อยา่ ง.

165

พุทธวจน - หมวดธรรม

จนุ ทะ  ความสะอาดทางวาจามี ๔ อยา่ ง อะไรบา้ ง
คือ  จนุ ทะ  บคุ คลบางคนในกรณนี  ้ี

(1) ละการพูดเท็จ เว้นขาดจากการพูดเท็จ ไปสู่
สภาก็ดี ไปสู่บริษัทก็ดี ไปสู่ท่ามกลางหมู่ญาติก็ดี ไปสู่
ท่ามกลางศาลาประชาคมก็ดี ไปสู่ท่ามกลางราชสกุลก็ดี
อันเขานำ�ไปเป็นพยาน ถามว่า บุรุษผู้เจริญ  ท่านรู้อย่างไร
ทา่ นจงกลา่ วไปอยา่ งนนั้ ดงั น ี้ บรุ ษุ นน้ั เมอ่ื ไมร่ กู้ ก็ ลา่ ววา่ ไมร่ ู้
เมอ่ื รกู้ ก็ ลา่ ววา่ รู้ เมอ่ื ไมเ่ หน็ กก็ ลา่ ววา่ ไมเ่ หน็ เมอื่ เหน็ กก็ ลา่ ว
ว่าเห็น  เพราะเหตุตนเอง เพราะเหตุผู้อ่ืน หรือเพราะเหตุ
เหน็ แก่อามสิ อะไรๆ กไ็ มเ่ ปน็ ผ้กู ลา่ วเทจ็ ท้งั ท่รี ้อู ยู่

(2) ละค�ำ ส่อเสียด เว้นขาดจากคำ�ส่อเสียด ไดฟ้ งั
จากฝ่ายน้ีแล้วไม่เก็บไปบอกฝ่ายโน้น เพื่อแตกจากฝ่ายนี้
หรอื ไดฟ้ งั จากฝา่ ยโนน้ แลว้ ไมเ่ กบ็ มาบอกแกฝ่ า่ ยน้ี เพอ่ื แตกจาก
ฝา่ ยโนน้ แตจ่ ะสมานคนทแ่ี ตกกนั แลว้ ใหก้ ลบั พรอ้ มเพรยี งกนั
อุดหนุนคนที่พร้อมเพรียงกันอยู่ ให้พร้อมเพรียงกันย่ิงข้ึน
เป็นคนชอบในความพร้อมเพรียง  เป็นคนยินดีในความ
พร้อมเพรียง เป็นคนพอใจในความพร้อมเพรียง กล่าวแต่
วาจาทท่ี ำ�ให้พร้อมเพรยี งกัน

(3) ละการกล่าวคำ�หยาบ เว้นขาดจากการกล่าว
ค�ำ หยาบ กลา่ วแตว่ าจาทไี่ มม่ โี ทษ เสนาะโสต ใหเ้ กดิ ความรกั
เปน็ ค�ำ ฟใู จ เป็นค�ำ สภุ าพท่ชี าวเมอื งเขาพดู กัน เป็นทีใ่ ครท่ ี่
พอใจของมหาชน กล่าวแต่วาจาเช่นนน้ั อยู่

166

เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปิด : จิต มโน วิญญาณ

(4) ละคำ�พูดเพ้อเจ้อ เว้นขาดจากคำ�พูดเพ้อเจ้อ
กล่าวแต่ในเวลาอันสมควร กล่าวแต่คำ�จริง เป็นประโยชน์
เปน็ ธรรม เปน็ วนิ ยั กลา่ วแตว่ าจามที ตี่ งั้ มหี ลกั ฐานทอี่ า้ งองิ
มเี วลาจบ ประกอบดว้ ยประโยชน์ สมควรแกเ่ วลา

จนุ ทะ  อยา่ งนแ้ี ล ความสะอาดทางวาจา ๔ อยา่ ง.
จุนทะ  ความสะอาดทางใจมี ๓ อย่าง อะไรบ้าง
คอื   จนุ ทะ  บุคคลบางคนในกรณีนี ้
(1) เป็นผู้ไม่มากด้วยอภิชฌา คือ เป็นผู้ไม่โลภ
ไม่เพง่ เลง็ วตั ถอุ ปุ กรณแ์ หง่ ทรพั ยข์ องผอู้ น่ื วา่ สง่ิ ใดเปน็ ของ
ผูอ้ ื่น ส่งิ น้ันจงเปน็ ของเรา ดงั น้ี
(2) เปน็ ผ้ไู มม่ ีจติ พยาบาท มีความด�ำ รแิ หง่ ใจอนั
ไมป่ ระทษุ รา้ ยวา่ สตั วท์ ง้ั หลายเหลา่ น้ี จงเปน็ ผไู้ มม่ เี วร ไม่มี
ความเบียดเบียน ไมม่ ีทุกข์ มีสขุ บรหิ ารตนอยูเ่ ถิด ดงั นี้
(3) เปน็ ผมู้ คี วามเหน็ ถกู ตอ้ ง มที สั สนะไมว่ ปิ รติ วา่
ทานท่ีให้แล้วมี (ผล) ยัญท่ีบูชาแล้วมี (ผล) การบูชาที่บูชา
แล้วมี (ผล) ผลวิบากแห่งกรรมท่ีสัตว์ทำ�ดีทำ�ชั่วมี โลกน้ีมี
โลกอนื่ มี มารดามี บดิ ามี โอปปาตกิ ะสตั วม์ ี สมณพราหมณ์
ผู้ดำ�เนินไปโดยชอบ ปฏิบัติโดยชอบ ถึงกับกระทำ�ให้แจ้ง
โลกน้ีและโลกอ่ืน ด้วยปัญญาโดยชอบเอง แล้วประกาศให้
ผู้อืน่ รกู้ ม็ ี ดังน้ี
จนุ ทะ  อย่างนี้แล ความสะอาดทางใจ ๓ อย่าง.
จนุ ทะ  เหลา่ น้ีแล เรยี กว่า กุศลกรรมบถสบิ .

167

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

จุนทะ  อน่ึง เพราะมีการประกอบด้วยกุศล-
กรรมบถทง้ั สบิ ประการเหลา่ นเ้ี ปน็ เหตุ พวกเทวดาจงึ ปรากฏ
พวกมนษุ ยจ์ งึ ปรากฏ หรอื วา่ สคุ ตใิ ดๆ แมอ้ น่ื อกี ยอ่ มม.ี

… ภิกษุทั้งหลาย  บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม
๑๐ ประการเหลา่ นแ้ี ล ยอ่ มเปน็ เหมอื นบคุ คลผถู้ กู น�ำ ตวั
ไปเก็บไวใ้ นสวรรค์.

(ในสูตรอ่ืน -บาลี ทสก. อํ. ๒๔/๓๒๕–๓๓๒/๑๙๘-๒๐๑.
แทนท่ีจะนับจำ�นวนกรรมบถมี ๑๐ ได้ทรงขยายออกไปเป็น ๒๐ คือ
ทำ�เองสิบ ชักชวนผู้อ่ืนให้ทำ�อีกสิบ และทรงขยายออกไปเป็น ๓๐ คือ
ทำ�เองสบิ ชกั ชวนผอู้ นื่ ใหท้ ำ�สบิ ยนิ ดเี มอื่ เขาทำ�สบิ และทรงขยายออกไป
เปน็ ๔๐ คอื ทำ�เองสบิ ชกั ชวนผอู้ น่ื ใหท้ ำ�สบิ ยนิ ดเี มอ่ื เขาทำ�สบิ สรรเสรญิ
ผกู้ ระทำ�สบิ จงึ มกี รรมบถ สิบ ยี่สิบ สามสิบ สี่สิบ.

ในสูตรอื่น -บาลี ทสก. อํ. ๒๔/๓๓๒-๓๓๓/๒๐๒–๒๐๓.
แสดงผลแห่งการกระทำ�แปลกออกไป จากคำ�วา่ เหมอื นถูกนำ�ตัวไปฝงั
ไว้ในนรก น้ัน ทรงแสดงด้วยคำ�ว่า เป็นผู้ขุดรากตนเอง ก็มี,
ตายแลว้ ไปทคุ ติ กม็ ,ี เปน็ พาล กม็  ี และจากคำ�วา่ เหมอื นถกู น�ำ ตวั ไป
เก็บไว้ในสวรรค์ น้ัน ทรงแสดงด้วยคำ�ว่า เป็นผู้ไม่ขุดรากตนเอง ก็มี
ตายแล้วไปสุคติ กม็ ี เป็นบัณฑติ กม็ ี.)

168

“วญิ ญาณ”

169

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปดิ : จติ มโน วิญญาณ
72
วญิ ญาณ ไมใ่ ชส่ ่ิงท่ที อ่ งเทีย่ ว

-บาลี ม.ู ม. ๑๒/๔๗๕/๔๔๒.

สาติ  ได้ยินว่าเธอมีทิฏฐิอันช่ัวเห็นปานน้ีเกิดข้ึนว่า
เรายอ่ มรทู้ วั่ ถงึ ธรรมตามทพี่ ระผมู้ พี ระภาคทรงแสดงแลว้ วา่
วิญญาณนี้นั่นแหละ ย่อมแล่นไป ย่อมท่องเที่ยวไป หาใช่
สง่ิ อนื่ ไมด่ ังนี้ จริงหรอื .

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ  ข้าพระองค์ย่อมรู้ท่ัวถึงธรรมตามที่
พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้วว่า วิญญาณน้ีแหละ ย่อมแล่นไป ย่อม
ทอ่ งเท่ยี วไป หาใช่สิ่งอน่ื ไม่ ดงั นี้จรงิ .

สาติ  วิญญาณนน้ั เปน็ อย่างไร.

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ สภาวะที่พูดได้ รับรู้ได้ ย่อมเสวยวิบาก
ของกรรมท้ังหลายทัง้ ส่วนดี ท้ังส่วนช่วั ในทนี่ ัน้ ๆ นัน่ เป็นวญิ ญาณ.

โมฆบุรุษ  เธอรู้ทั่วถึงธรรมอย่างน้ีที่เราแสดงแล้ว
แก่ใครเล่า  โมฆบุรุษ  วิญญาณเป็นปฏิจจสมุปปันนธรรม 
(ส่ิงท่ีอาศัยปัจจัยแล้วเกิดข้ึน) เราได้กล่าวแล้วโดยอเนกปริยาย
ถา้ เวน้ จากปจั จยั แลว้ ความเกดิ ขน้ึ แหง่ วญิ ญาณยอ่ มไมม่ ี
ดังน้ีไม่ใช่หรือ  โมฆบุรุษ  ก็เม่ือเป็นดังนั้น เธอกล่าวตู่
เราดว้ ย ขดุ ตนเสยี ดว้ ย จะประสบสงิ่ ไมใ่ ชบ่ ญุ เปน็ อนั มากดว้ ย
เพราะทฏิ ฐทิ ตี่ นถอื ชวั่ แลว้   โมฆบรุ ษุ กค็ วามเหน็ นน้ั ของเธอ
จกั เป็นไปเพ่อื ความทกุ ข์ ไมเ่ กอื้ กลู แกเ่ ธอตลอดกาลนาน.

170

เปดิ ธรรมท่ีถูกปดิ : จติ มโน วญิ ญาณ

ครั้งน้นั พระผู้มีพระภาคตรัสถามภิกษุท้ังหลายวา่

ภิกษุท้ังหลาย  พวกเธอจะสำ�คัญความข้อน้ันว่า
อย่างไร ภิกษุสาติเกวัฏฏบุตรนี้ จะเป็นผู้ทำ�ความเจริญใน
ธรรมวินัยนีไ้ ด้บา้ งหรือไม.่

ขอ้ นีจ้ ะมีได้อยา่ งไร ข้อนี้มไี มไ่ ด้เลย พระเจ้าขา้ .
เม่ือภิกษุทั้งหลายทูลอย่างนี้แล้ว ภิกษุสาติเกวัฏฏบุตร นั่งน่ิง
เก้อเขิน คอตก ก้มหน้า ซบเซา ไม่มีปฏิภาณ  พระผู้มีพระภาคทอด
พระเนตรเหน็ ดงั นนั้ แลว้ ไดต้ รัสว่า

โมฆบรุ ษุ   เธอจะปรากฏดว้ ยทฏิ ฐอิ นั ชว่ั นน้ั ของตนเอง
เราจกั สอบถามภกิ ษุทงั้ หลายในทนี่ .้ี

ภิกษุทั้งหลาย  พวกเธอย่อมรู้ท่ัวถึงธรรมที่เรา
แสดงแล้วเหมือนสาติภิกษุ กล่าวตู่เราด้วย ขุดตนเสียด้วย
จะประสบสง่ิ ไมใ่ ชบ่ ญุ เปน็ อนั มากดว้ ย เพราะทฏิ ฐทิ ต่ี นถอื ชว่ั
แล้วดงั นีใ้ ชไ่ หม.

ขอ้ นไ้ี มม่ เี ลย พระเจา้ ขา้ เพราะวญิ ญาณอาศยั ปจั จยั แลว้ เกดิ ขนึ้
พระผมู้ พี ระภาคตรสั แลว้ แกพ่ วกขา้ พระองค์ โดยอเนกปรยิ าย ถา้ เวน้ จาก
ปจั จัยแลว้ ความเกดิ ขนึ้ แห่งวญิ ญาณย่อมไมม่ .ี

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  ดลี ะ พวกเธอรทู้ ว่ั ถงึ ธรรมทเ่ี ราแสดง
อยา่ งนถ้ี กู แลว้   ภกิ ษทุ ง้ั หลาย วญิ ญาณอาศยั ปจั จยั แลว้ เกดิ ขน้ึ
เราไดก้ ลา่ วแลว้ โดยอเนกปรยิ าย ถา้ เวน้ จากปจั จยั แลว้ ความ
เกิดข้ึนแห่งวิญญาณไม่ได้มี ก็แต่ภิกษุสาติเกวัฏฏบุตรน้ี

171

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

กล่าวตู่เราด้วย ขุดตนเสียด้วย จะประสบส่ิงไม่ใช่บุญเป็น
อันมากด้วย เพราะทิฏฐิท่ีตนถือชั่วแล้ว ความเห็นนั้นของ
โมฆบุรุษนั้น จักเป็นไปเพื่อความทุกข์ ไม่เกื้อกูลแก่เธอ
ตลอดกาลนาน.

ภิกษุท้ังหลาย  วิญญาณอาศัยปัจจัยใดๆ เกิดข้ึน
ก็ถึงความนับด้วยปัจจัยน้นั ๆ  วิญญาณอาศัยจักษุและรูป
ทง้ั หลายเกดิ ขน้ึ กถ็ งึ ความนบั วา่ จกั ษวุ ญิ ญาณ  วญิ ญาณอาศยั
โสตะและเสยี งทง้ั หลายเกดิ ขน้ึ กถ็ งึ ความนบั วา่ โสตวญิ ญาณ
วญิ ญาณอาศยั ฆานะและกลน่ิ ทง้ั หลายเกดิ ขน้ึ กถ็ งึ ความนบั วา่
ฆานวิญญาณ  วิญญาณอาศัยชิวหาและรสท้ังหลายเกิดข้ึน
ก็ถึงความนับว่าชิวหาวิญญาณ  วิญญาณอาศัยกายและ
โผฏฐัพพะท้ังหลายเกิดข้ึน ก็ถึงความนับว่ากายวิญญาณ
วิญญาณอาศัยมโนและธรรมท้งั หลายเกิดข้นึ ก็ถึงความนับ
วา่ มโนวญิ ญาณ.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  เปรยี บเหมอื นไฟอาศยั เชอ้ื ใดๆ ตดิ ขน้ึ
กถ็ งึ ความนบั ดว้ ยเชอ้ื นนั้ ๆ  ไฟอาศยั ไมต้ ดิ ขน้ึ กถ็ งึ ความนบั
วา่ ไฟไม ้ ไฟอาศยั ปา่ ตดิ ขน้ึ กถ็ งึ ความนบั วา่ ไฟปา่   ไฟอาศยั
หญ้าติดขึ้น ก็ถึงความนับว่าไฟหญ้า  ไฟอาศัยโคมัยติดขึ้น
กถ็ งึ ความนบั วา่ ไฟโคมยั   ไฟอาศยั แกลบตดิ ขน้ึ กถ็ งึ ความนบั
ว่าไฟแกลบ  ไฟอาศัยหยากเย่อื ติดข้นึ ก็ถึงความนับว่าไฟ
หยากเยอ่ื ฉนั ใด.

172

เปดิ ธรรมทถ่ี ูกปิด : จิต มโน วิญญาณ

ภิกษุท้ังหลาย  ฉันน้ันก็เหมือนกัน วิญญาณอาศัย
ปจั จยั ใดๆ เกดิ ขนึ้ กถ็ งึ ความนบั ดว้ ยปจั จยั นนั้ ๆ  วญิ ญาณ
อาศัยจักษุและรูปทั้งหลายเกิดขึ้น  ก็ถึงความนับว่า จักษุ-
วิญญาณ  วิญญาณอาศัยโสตะและเสียงท้ังหลายเกิดข้ึน
กถ็ งึ ความนบั วา่ โสตวญิ ญาณ  วญิ ญาณอาศยั ฆานะและกลน่ิ
ทง้ั หลายเกดิ ขน้ึ กถ็ งึ ความนบั วา่ ฆานวญิ ญาณ  วญิ ญาณอาศยั
ชวิ หาและรสทง้ั หลายเกดิ ขน้ึ กถ็ งึ ความนบั วา่ ชวิ หาวญิ ญาณ 
วญิ ญาณอาศยั กายและโผฏฐพั พะทงั้ หลายเกดิ ขนึ้ กถ็ งึ ความ
นบั วา่ กายวญิ ญาณ  วญิ ญาณอาศยั มโนและธรรมทง้ั หลาย
เกิดข้ึน กถ็ งึ ความนับวา่ มโนวิญญาณ.

ภิกษุทั้งหลาย  เธอทั้งหลายย่อมเห็นความเกิดขึ้น
ของสง่ิ นี้ (ภตู มทิ ) 1 หรือไม่.

เหน็ พระเจ้าขา้ .

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  เธอทง้ั หลายยอ่ มเหน็ วา่ สง่ิ นน้ั เกดิ ขนึ้
เพราะอาหาร อยา่ งน้ันใช่ไหม.

เห็นอย่างนั้น พระเจา้ ขา้ .

ภิกษุท้ังหลาย  เธอท้ังหลายย่อมเห็นว่า สิ่งน้ัน
มคี วามดบั เปน็ ธรรมดา เพราะความดบั แหง่ อาหาร อยา่ งนน้ั
ใช่ไหม.

1. บาลคี ำ�น้ี มสี ำ�นวนแปลอยา่ งอน่ื อกี เชน่ ขนั ธปญั จกะ, ขนั ธ์ ๕ เปน็ ตน้ .  -ผรู้ วบรวม173

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

เห็นอย่างนั้น พระเจ้าขา้ .

ภิกษุท้ังหลาย  ความสงสัยและความเคลือบแคลง
ย่อมเกดิ ข้ึนวา่ สง่ิ นีม้ อี ยู่หรือไม่มี อยา่ งน้ันใชไ่ หม.

เป็นอยา่ งนัน้ พระเจา้ ขา้ .

ภิกษุทั้งหลาย  ความสงสัยและความเคลือบแคลง
ย่อมเกิดข้ึนว่า สิ่งน้ันเกดิ ขึ้นเพราะอาหาร อย่างนนั้ ใช่ไหม.

เป็นอยา่ งนนั้ พระเจ้าข้า.

ภิกษุท้ังหลาย  ความสงสัยและความเคลือบแคลง
ยอ่ มเกดิ ขน้ึ วา่ สง่ิ นน้ั มคี วามดบั เปน็ ธรรมดา เพราะความดบั
แห่งอาหาร อย่างน้ันใช่ไหม.

เปน็ อยา่ งนั้น พระเจ้าขา้ .

ภกิ ษทุ งั้ หลาย  บคุ คลเหน็ อยดู่ ว้ ยปญั ญาอนั ชอบตาม
ความเปน็ จรงิ วา่ สง่ิ นเี้ กดิ ขน้ึ แลว้ ยอ่ มละความสงสยั ทเ่ี กดิ ขน้ึ
เสยี ได้ อยา่ งนัน้ ใชไ่ หม.

เป็นอย่างนัน้ พระเจ้าข้า.

ภิกษุท้ังหลาย  บุคคลเห็นอยู่ด้วยปัญญาอันชอบ
ตามความเปน็ จรงิ วา่ สง่ิ นน้ั เกดิ ขน้ึ เพราะอาหาร ยอ่ มละความ
สงสยั ทเ่ี กดิ ขน้ึ เสยี ได้ อยา่ งนน้ั ใชไ่ หม.

เปน็ อย่างน้นั พระเจ้าขา้ .

174

เปิดธรรมที่ถกู ปิด : จิต มโน วญิ ญาณ

ภิกษุท้ังหลาย  บุคคลเห็นอยู่ด้วยปัญญาอันชอบ
ตามความเป็นจริงว่า ส่ิงน้ันมีความดับเป็นธรรมดา เพราะ
ความดับแห่งอาหาร ย่อมละความสงสัยท่ีเกิดข้ึนเสียได้
อยา่ งนน้ั ใชไ่ หม.

เปน็ อย่างนั้น พระเจา้ ข้า.

ภิกษุท้ังหลาย  เธอท้งั หลายหมดความสงสัยในข้อ
ทว่ี า่ สง่ิ นเ้ี กดิ ขน้ึ แลว้ เพราะเหตุอย่างนๆี้ ใช่ไหม.

เปน็ อยา่ งนน้ั พระเจ้าขา้ .

ภิกษุทั้งหลาย  เธอท้ังหลายหมดความสงสัยในข้อ
ทีว่ า่ สิง่ น้ันเกิดขึ้นเพราะอาหาร อย่างน้นั ใชไ่ หม.

เป็นอย่างนน้ั พระเจ้าขา้ .

ภิกษุท้ังหลาย  เธอท้ังหลายหมดความสงสัยในข้อ
ทว่ี า่ สง่ิ นน้ั มคี วามดบั เปน็ ธรรมดา เพราะความดบั แหง่ อาหาร
อย่างน้นั ใชไ่ หม.

เปน็ อย่างน้นั พระเจา้ ข้า.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  เธอทง้ั หลายเหน็ อยดู่ ว้ ยปญั ญาอนั ชอบ
ตามความเป็นจรงิ ว่า สิง่ นเี้ กดิ ขึน้ แลว้ อยา่ งนั้นใช่ไหม.

เป็นอยา่ งนั้น พระเจา้ ข้า.

175

พุทธวจน - หมวดธรรม

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  เธอทง้ั หลายเหน็ อยดู่ ว้ ยปญั ญาอนั ชอบ
ตามความเป็นจริงว่า ส่ิงน้ันเกิดขึ้นเพราะอาหาร อย่างน้ัน
ใชไ่ หม.

เปน็ อยา่ งน้ัน พระเจา้ ขา้ .

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  เธอทง้ั หลายเหน็ อยดู่ ว้ ยปญั ญาอนั ชอบ
ตามความเป็นจริงว่า สิ่งน้ันมีความดับเป็นธรรมดา เพราะ
ความดบั แห่งอาหาร อยา่ งนน้ั ใช่ไหม.

เปน็ อย่างนั้น พระเจ้าข้า.

ภิกษุทั้งหลาย  หากว่าเธอทั้งหลาย พึงติดอยู่ 
(อลฺลีเยถ) เพลิดเพลินอยู่ (เกฬาเยถ) ปรารถนาอยู่ (ธเนยฺยาถ)
ยดึ ถอื ว่าเป็นของเราอย ู่ (มมาเยถ) ซ่ึงทิฏฐิอนั บริสทุ ธ์ผิ ดุ ผอ่ ง
อย่างน้ี เธอท้ังหลายพึงรู้ท่ัวถึงธรรมท่ีเปรียบได้กับพ่วงแพ
อนั เราแสดงแลว้ เพอ่ื ประโยชนใ์ นการสลดั ออก ไมใ่ ชแ่ สดงแลว้
เพื่อให้ยดึ ถอื ไว้ อย่างน้ันใชไ่ หม.

ข้อนีไ้ มเ่ ป็นอย่างนั้น พระเจ้าข้า.

ภิกษุท้ังหลาย  หากว่าเธอทั้งหลาย ไม่ติดอยู่ 
(น อลฺลีเยถ) ไม่เพลิดเพลินอยู่ (น เกฬาเยถ) ไม่ปรารถนาอยู่ 
(น ธเนยยฺ าถ) ไมย่ ดึ ถอื วา่ เปน็ ของเราอย ู่(น มมาเยถ) ซงึ่ ทฏิ ฐอิ นั

176

เปิดธรรมท่ีถกู ปิด : จิต มโน วิญญาณ

บรสิ ทุ ธผ์ิ ดุ ผอ่ งอยา่ งนี้ เธอทงั้ หลายพงึ รทู้ ว่ั ถงึ ธรรมทเี่ ปรยี บ
ไดก้ บั พว่ งแพอนั เราแสดงแลว้ เพอ่ื ประโยชนใ์ นการสลดั ออก
ไมใ่ ช่แสดงแลว้ เพ่ือให้ยดึ ถอื ไว้ อยา่ งน้นั ใชไ่ หม.

เป็นอย่างนนั้ พระเจ้าขา้ .
(จากนน้ั ทรงแสดงเรอ่ื งอาหาร ๔, ปฏจิ จสมปุ บาท และธรรมอน่ื
อกี หลายประการ ผอู้ า่ นสามารถศกึ ษาไดจ้ ากเนอ้ื ความเตม็ ของพระสตู รน.้ี  
-ผรู้ วบรวม)

177

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี กู ปดิ : จิต มโน วิญญาณ

วญิ ญาณ ไม่เทีย่ ง 73

-บาลี สฬา. ส.ํ ๑๘/๘๕/๑๒๔.

ภกิ ษทุ งั้ หลาย  วญิ ญาณเกดิ ขนึ้ เพราะอาศยั สว่ นสอง
วิญญาณเกดิ ขน้ึ เพราะอาศยั ส่วนสองเป็นอย่างไร.

ภิกษทุ ั้งหลาย  จักษวุ ญิ ญาณเกิดขึ้น เพราะอาศยั
จกั ษแุ ละรปู   จกั ษไุ มเ่ ทย่ี ง มคี วามแปรปรวน มคี วามเปลย่ี น
เปน็ อยา่ งอน่ื   รปู ทง้ั หลายไมเ่ ทย่ี ง มคี วามแปรปรวน มคี วาม
เปลย่ี นเปน็ อยา่ งอน่ื   ส่วนสองอย่างน้ี หว่ันไหวและอาพาธ
ไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเปลี่ยนเป็นอย่างอื่น 
จกั ษวุ ญิ ญาณไมเ่ ทย่ี ง มคี วามแปรปรวน มคี วามเปลยี่ นเปน็
อย่างอ่ืน  แม้เหตุปัจจัยเพ่ือความเกิดข้ึนแห่งจักษุวิญญาณ
ก็ไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเปลี่ยนเป็นอย่างอื่น 
ภิกษทุ ง้ั หลาย  ก็จกั ษวุ ญิ ญาณที่เกดิ ขนึ้ แล้ว เพราะอาศัย
ปจั จัยอนั ไม่เทีย่ ง จะเป็นของเท่ียงไดอ้ ยา่ งไร.

ภิกษุทั้งหลาย  ความประจวบ ความประชุม ความ
พร้อมกันแห่งธรรมท้ัง ๓ ประการนี้แล เรียกว่าจักษุสัมผัส 
ถึงจักษุสัมผัสก็ไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเปลี่ยน
เปน็ อยา่ งอน่ื   แมเ้ หตปุ จั จยั เพอ่ื ความเกดิ ขนึ้ แหง่ จกั ษสุ มั ผสั
ก็ไม่เท่ียง มีความแปรปรวน มีความเปลี่ยนเป็นอย่างอ่ืน
ภิกษุทั้งหลาย  ก็จักษุสัมผัสที่เกิดขึ้นแล้ว เพราะอาศัย
ปัจจยั อันไม่เทีย่ ง จะเป็นของเที่ยงได้อย่างไร.

178

เปดิ ธรรมทถี่ กู ปิด : จติ มโน วญิ ญาณ

ภิกษุท้ังหลาย  บุคคลอันผัสสะ1กระทบแล้วย่อม
รสู้ กึ  (เวเทต)ิ อนั ผสั สะกระทบแลว้ ยอ่ มคดิ  (เจเตต)ิ อนั ผสั สะ
กระทบแล้วย่อมจำ�ได้หมายรู้ (สัญชานาติ) แม้ธรรมเหล่านี้
กห็ วน่ั ไหวและอาพาธ ไมเ่ ทย่ี ง มคี วามแปรปรวน มคี วามเปลย่ี น
เปน็ อยา่ งอ่ืน.

ภิกษุทั้งหลาย  โสตวิญญาณเกิดขึ้น เพราะอาศัย
โสตะและเสียง  โสตะไมเ่ ทย่ี ง มคี วามแปรปรวน มคี วาม
เปลย่ี นเปน็ อยา่ งอน่ื   เสยี งทง้ั หลายไมเ่ ทย่ี ง มคี วามแปรปรวน
มคี วามเปลย่ี นเปน็ อยา่ งอน่ื … กโ็ สตวญิ ญาณทเี่ กดิ ขนึ้ แลว้
เพราะอาศยั ปจั จยั อนั ไมเ่ ทยี่ ง จะเปน็ ของเทยี่ งไดอ้ ยา่ งไร.

ภิกษุทั้งหลาย  ความประจวบ ความประชุม ความ
พร้อมกันแห่งธรรมทั้ง ๓ ประการน้ีแล เรียกว่าโสตสัมผัส 
ถงึ โสตสมั ผสั กไ็ มเ่ ทย่ี ง มคี วามแปรปรวน มคี วามเปลย่ี น
เป็นอย่างอื่น …

ภิกษุท้ังหลาย  บุคคลอันผัสสะกระทบแล้วย่อม
รสู้ กึ อนั ผสั สะกระทบแลว้ ยอ่ มคดิ อนั ผสั สะกระทบแลว้ ยอ่ ม
จ�ำ ไดห้ มายรู้ แมธ้ รรมเหลา่ นก้ี ห็ วนั่ ไหวและอาพาธ ไมเ่ ทยี่ ง
มคี วามแปรปรวน มคี วามเปล่ยี นเปน็ อยา่ งอื่น.

1. ดเู พม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั ผสั สะไดท้ ห่ี นา้ 28 และ 187.  -ผรู้ วบรวม 179

พุทธวจน - หมวดธรรม

ภกิ ษุทง้ั หลาย  ฆานวิญญาณเกดิ ข้ึน เพราะอาศยั
ฆานะและกล่ิน  ฆานะไมเ่ ทย่ี ง มคี วามแปรปรวน มคี วาม
เปลย่ี นเปน็ อยา่ งอน่ื   กลน่ิ ทง้ั หลายไมเ่ ทย่ี ง มคี วามแปรปรวน
มคี วามเปลย่ี นเปน็ อยา่ งอน่ื … กฆ็ านวญิ ญาณทเี่ กดิ ขนึ้ แลว้
เพราะอาศยั ปจั จยั อนั ไมเ่ ทยี่ ง จะเปน็ ของเทยี่ งไดอ้ ยา่ งไร.

ภิกษุทั้งหลาย  ความประจวบ ความประชุม ความ
พร้อมกันแห่งธรรมท้ัง ๓ ประการน้ีแล เรียกว่าฆานสัมผัส 
ถงึ ฆานสมั ผสั กไ็ มเ่ ทย่ี ง มคี วามแปรปรวน มคี วามเปลย่ี น
เป็นอย่างอื่น …

ภิกษุทั้งหลาย  บุคคลอันผัสสะกระทบแล้วย่อม
รสู้ กึ อนั ผสั สะกระทบแลว้ ยอ่ มคดิ อนั ผสั สะกระทบแลว้ ยอ่ ม
จ�ำ ไดห้ มายรู้ แมธ้ รรมเหลา่ นก้ี ห็ วนั่ ไหวและอาพาธ ไมเ่ ทยี่ ง
มคี วามแปรปรวน มคี วามเปลยี่ นเป็นอย่างอ่นื .

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  ชวิ หาวญิ ญาณเกดิ ขน้ึ เพราะอาศยั
ชิวหาและรส  ชิวหาไม่เท่ียง มีความแปรปรวน มีความ
เปลย่ี นเปน็ อยา่ งอน่ื   รสทง้ั หลายไมเ่ ทย่ี ง มคี วามแปรปรวน
มคี วามเปลย่ี นเปน็ อยา่ งอน่ื … กช็ วิ หาวญิ ญาณทเ่ี กดิ ขนึ้ แลว้
เพราะอาศยั ปจั จยั อนั ไมเ่ ทย่ี ง จะเปน็ ของเทย่ี งไดอ้ ยา่ งไร.

180

เปิดธรรมท่ีถกู ปิด : จติ มโน วิญญาณ

ภิกษุท้ังหลาย  ความประจวบ ความประชุม ความ
พรอ้ มกันแหง่ ธรรมทั้ง ๓ ประการนแ้ี ล เรยี กวา่ ชวิ หาสมั ผสั  
ถึงชิวหาสัมผัสก็ไม่เท่ียง มีความแปรปรวน มีความ
เปลยี่ นเปน็ อยา่ งอน่ื …

ภิกษุทั้งหลาย  บุคคลอันผัสสะกระทบแล้วย่อม
รสู้ กึ อนั ผสั สะกระทบแลว้ ยอ่ มคดิ อนั ผสั สะกระทบแลว้ ยอ่ ม
จ�ำ ไดห้ มายรู้ แมธ้ รรมเหลา่ นกี้ ห็ วนั่ ไหวและอาพาธ ไมเ่ ทย่ี ง
มีความแปรปรวน มีความเปล่ียนเปน็ อย่างอ่นื .

ภิกษุทั้งหลาย  กายวิญญาณเกิดข้ึน เพราะอาศัย
กายและโผฏฐพั พะ  กายไมเ่ ทย่ี ง มคี วามแปรปรวน มคี วาม
เปล่ยี นเป็นอย่างอ่นื   โผฏฐัพพะท้งั หลายไม่เท่ยี ง มีความ
แปรปรวน มีความเปล่ยี นเป็นอย่างอ่นื … ก็กายวิญญาณ
ทเ่ี กดิ ขน้ึ แลว้ เพราะอาศยั ปจั จยั อนั ไมเ่ ทย่ี ง จะเปน็ ของเทย่ี ง
ได้อย่างไร.

ภิกษุท้ังหลาย  ความประจวบ ความประชุม ความ
พร้อมกันแห่งธรรมทั้ง ๓ ประการนี้แล เรียกว่ากายสัมผัส 
ถงึ กายสมั ผสั กไ็ มเ่ ทย่ี ง มคี วามแปรปรวน มคี วามเปลยี่ น
เป็นอย่างอน่ื …

181

พุทธวจน - หมวดธรรม

ภิกษุท้ังหลาย  บุคคลอันผัสสะกระทบแล้วย่อม
รสู้ กึ อนั ผสั สะกระทบแลว้ ยอ่ มคดิ อนั ผสั สะกระทบแลว้ ยอ่ ม
จ�ำ ไดห้ มายรู้ แมธ้ รรมเหลา่ นก้ี ห็ วนั่ ไหวและอาพาธ ไมเ่ ทยี่ ง
มคี วามแปรปรวน มีความเปลี่ยนเปน็ อย่างอนื่ .

ภิกษุทั้งหลาย  มโนวิญญาณเกิดขึ้น เพราะอาศัย
ใจและธรรม  ใจไมเ่ ทย่ี ง มคี วามแปรปรวน มคี วามเปลย่ี น
เป็นอย่างอ่ืน  ธรรมท้ังหลายไม่เที่ยง มีความแปรปรวน
มีความเปล่ียนเป็นอย่างอ่ืน  ส่วนสองอย่างน้ี หวั่นไหว
และอาพาธ ไม่เท่ียง มีความแปรปรวน มีความเปลี่ยนเป็น
อย่างอ่ืน  มโนวิญญาณไม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความ
เปล่ียนเป็นอย่างอื่น  แม้เหตุปัจจัยเพื่อความเกิดขึ้นแห่ง
มโนวิญญาณ ก็ไม่เท่ียง มีความแปรปรวน มีความเปลี่ยน
เป็นอย่างอ่ืน  ภิกษุทั้งหลาย  ก็มโนวิญญาณท่ีเกิดข้ึนแล้ว
เพราะอาศยั ปจั จยั อนั ไมเ่ ทย่ี ง จะเปน็ ของเทย่ี งไดอ้ ยา่ งไร.

ภิกษุทั้งหลาย  ความประจวบ ความประชุม ความ
พร้อมกันแห่งธรรม ๓ ประการนี้แล เรียกว่ามโนสัมผัส 
ถงึ มโนสมั ผสั กไ็ มเ่ ทยี่ ง มคี วามแปรปรวน มคี วามเปลย่ี นเปน็
อย่างอ่ืน  แม้เหตุปัจจัยเพ่ือความเกิดขึ้นแห่งมโนสัมผัส

182


Click to View FlipBook Version