The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

อ้างอิงจากศูนย์เผยแผ่ส่วนกลาง วัดนาป่าพง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by buddhawajanalanna, 2020-04-29 08:53:56

พุทธวจน 17 จิต มโน วิญญาณ

อ้างอิงจากศูนย์เผยแผ่ส่วนกลาง วัดนาป่าพง

Keywords: หนังสือพุทธวจน

เปดิ ธรรมทีถ่ กู ปิด : จิต มโน วญิ ญาณ

มคิ ชาละ  ภกิ ษผุ ปู้ ระกอบพรอ้ มแลว้ ดว้ ยการผกู ตดิ
กบั อารมณด์ ว้ ยอ�ำ นาจแหง่ ความเพลนิ นน่ั แหละ เราเรยี กวา่
ผมู้ กี ารอยอู่ ยา่ งมเี พอ่ื นสอง.

มิคชาละ  ภิกษุผู้มีปกติอยู่ด้วยอาการอย่างน้ี
ถึงจะเสพเสนาสนะ อันเป็นป่าและป่าทึบ ซึ่งเงียบสงัด
มีเสียงรบกวนน้อย ไร้ซ่งึ ลมจากกายคน ควรเป็นท่ที ำ�การ
อันสงบของมนุษย์ สมควรเป็นท่ีหลีกเร้นเช่นน้ีแล้วก็ตาม
ถึงอย่างน้นั ภิกษุน้นั เราก็ยังคงเรียกว่า ผู้มีการอยู่อย่างมี
เพอื่ นสอง ขอ้ นนั้ เพราะเหตอุ ะไร เพราะวา่ ตณั หานน่ั แหละ
เป็นเพ่ือนสองของภิกษุนั้น เขายังละตัณหาน้ันไม่ได้
ดงั นน้ั ภกิ ษนุ นั้ เราจงึ เรยี กวา่ ผมู้ กี ารอยอู่ ยา่ งมเี พอ่ื นสอง.

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ด้วยเหตุเพียงเท่าไรหนอ ภิกษุจึงชื่อว่า
เปน็ ผมู้ กี ารอยู่อยา่ งอย่ผู ู้เดยี ว พระเจ้าข้า.

มิคชาละ  รูปท้ังหลายท่ีจะรับรู้ได้ด้วยตา อันน่า
ปรารถนา นา่ รกั ใคร่ นา่ พอใจ มีลกั ษณะนา่ รกั เป็นทเ่ี ข้าไป
ต้ังอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นท่ีตั้งแห่งความกำ�หนัดมีอยู่
ถา้ หากวา่ ภกิ ษไุ มเ่ พลดิ เพลนิ ไมพ่ ร�ำ่ ถงึ ไมส่ ยบมวั เมาซง่ึ รปู นน้ั
เม่ือภกิ ษไุ ม่เพลดิ เพลนิ ไมพ่ ร่ำ�ถงึ ไมส่ ยบมัวเมา ซงึ่ รูปน้นั

233

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

นั่นแหละ นันทิ ย่อมดับ (นนฺทิ นิรุชฺฌติ) เม่ือนันทิ ไม่มีอยู่ 
(นนทฺ ยิ า อสต)ิ สาราคะ ยอ่ มไมม่  ี (สาราโค น โหต)ิ เมอื่ สาราคะ
ไม่มีอยู่ (สาราเค อสติ) สญั โญคะ ยอ่ มไม่ม ี (สโฺ โค น โหต)ิ .

มคิ ชาละ  ภกิ ษผุ ไู้ มป่ ระกอบพรอ้ มแลว้ ดว้ ยการผกู ตดิ
กบั อารมณด์ ว้ ยอ�ำ นาจแหง่ ความเพลนิ  (นนทฺ สิ โฺ ชนวสิ ย ตุ โฺ ต)
น่ันแหละ เราเรียกว่า ผ้มู ีการอย่อู ยา่ งอยู่ผ้เู ดยี ว.

มิคชาละ  เสียงท้ังหลายที่จะรับรู้ได้ด้วยหู อันน่า
ปรารถนา นา่ รกั ใคร่ นา่ พอใจ มลี กั ษณะนา่ รกั … ถา้ หากวา่
ภกิ ษไุ มเ่ พลดิ เพลนิ ไมพ่ ร�ำ่ ถงึ ไมส่ ยบมวั เมาซง่ึ เสยี งนน้ั …
นันทิ ย่อมดับ เม่ือนันทิ ไม่มีอยู่ สาราคะ ย่อมไม่มี เม่ือ
สาราคะ ไมม่ อี ยู่ สญั โญคะ ย่อมไมม่ .ี

มิคชาละ  ภิกษุผู้ไม่ประกอบพร้อมแล้ว ด้วยการ
ผูกติดกับอารมณ์ด้วยอำ�นาจแห่งความเพลิน นั่นแหละ
เราเรียกว่า ผู้มีการอยอู่ ย่างอยผู่ ูเ้ ดยี ว.

มิคชาละ  กลิน่ ท้งั หลายทจี่ ะรบั รู้ไดด้ ้วยจมกู อนั นา่
ปรารถนา นา่ รกั ใคร่ นา่ พอใจ มลี กั ษณะนา่ รกั … ถา้ หากวา่
ภกิ ษไุ มเ่ พลดิ เพลนิ ไมพ่ ร�ำ่ ถงึ ไมส่ ยบมวั เมาซง่ึ กลน่ิ นน้ั …
นันทิ ย่อมดับ เมื่อนันทิ ไม่มีอยู่ สาราคะ ย่อมไม่มี เม่ือ
สาราคะ ไม่มอี ยู่ สัญโญคะ ยอ่ มไมม่ .ี

234

เปดิ ธรรมทถี่ ูกปิด : จติ มโน วญิ ญาณ

มิคชาละ  ภิกษุผู้ไม่ประกอบพร้อมแล้ว ด้วยการ
ผูกติดกับอารมณ์ด้วยอำ�นาจแห่งความเพลิน น่ันแหละ
เราเรียกว่า ผ้มู กี ารอยู่อย่างอยูผ่ ้เู ดยี ว.

มิคชาละ  รสทั้งหลายที่จะรับรู้ได้ด้วยล้ิน อันน่า
ปรารถนา นา่ รกั ใคร่ นา่ พอใจ มลี กั ษณะนา่ รกั … ถา้ หากวา่
ภกิ ษไุ มเ่ พลดิ เพลนิ ไมพ่ ร�ำ่ ถงึ ไมส่ ยบมวั เมาซง่ึ รสนน้ั …
นันทิ ย่อมดับ เม่ือนันทิ ไม่มีอยู่ สาราคะ ย่อมไม่มี เมื่อ
สาราคะ ไมม่ อี ยู่ สัญโญคะ ย่อมไม่ม.ี

มิคชาละ  ภิกษุผู้ไม่ประกอบพร้อมแล้ว ด้วยการ
ผูกติดกับอารมณ์ด้วยอำ�นาจแห่งความเพลิน น่ันแหละ
เราเรียกวา่ ผู้มีการอยอู่ ยา่ งอย่ผู ูเ้ ดียว.

มิคชาละ  โผฏฐัพพะท้ังหลายท่ีจะรับรู้ได้ด้วยกาย
อันน่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ มีลักษณะน่ารัก …
ถา้ หากวา่ ภกิ ษไุ มเ่ พลดิ เพลนิ ไมพ่ ร�ำ่ ถงึ ไมส่ ยบมวั เมาซง่ึ
โผฏฐพั พะนน้ั … นนั ทิ ยอ่ มดบั เมอ่ื นนั ทิ ไมม่ อี ยู่ สาราคะ
ย่อมไม่มี เม่อื สาราคะ ไม่มีอยู่ สัญโญคะ ย่อมไม่มี.

มิคชาละ  ภิกษุผู้ไม่ประกอบพร้อมแล้ว ด้วยการ
ผูกติดกับอารมณ์ด้วยอำ�นาจแห่งความเพลิน น่ันแหละ
เราเรยี กว่า ผ้มู ีการอย่อู ยา่ งอยู่ผู้เดียว.

235

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

มคิ ชาละ  ธรรมทงั้ หลายทจ่ี ะรบั รไู้ ดด้ ว้ ยมโน อนั นา่
ปรารถนา นา่ รกั ใคร่ นา่ พอใจ มีลกั ษณะนา่ รัก เปน็ ท่ีเขา้ ไป
ต้ังอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตั้งแห่งความกำ�หนัดมีอยู่
ถา้ หากวา่ ภกิ ษไุ มเ่ พลดิ เพลนิ ไมพ่ ร�ำ่ ถงึ ไมส่ ยบมวั เมาซง่ึ
ธรรมนัน้ เม่อื ภิกษไุ ม่เพลิดเพลิน ไม่พรำ�่ ถึง ไมส่ ยบมัวเมา
ซง่ึ ธรรมนนั้ นน่ั แหละ นนั ทิ ยอ่ มดบั เมอื่ นนั ทิ ไมม่ อี ยู่ สาราคะ
ยอ่ มไมม่ ี เมอ่ื สาราคะ ไมม่ อี ยู่ สญั โญคะ ยอ่ มไมม่ .ี

มิคชาละ  ภิกษุผู้ไม่ประกอบพร้อมแล้ว ด้วยการ
ผูกติดกับอารมณ์ด้วยอำ�นาจแห่งความเพลิน น่ันแหละ
เราเรยี กวา่ ผมู้ ีการอยู่อยา่ งอย่ผู ู้เดียว.

มคิ ชาละ  ภกิ ษผุ มู้ ปี กตอิ ยดู่ ว้ ยอาการอยา่ งน้ี แมจ้ ะอยู่
ในหมู่บ้าน อันระคนไปด้วยภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
พระราชา มหาอำ�มาตย์ของพระราชา เดียรถีย์ สาวกของ
เดยี รถยี ท์ ง้ั หลายกต็ าม ถงึ อยา่ งนน้ั ภกิ ษนุ นั้ เรากย็ งั คงเรยี กวา่
ผู้มีการอยู่อย่างอยู่ผู้เดียว ข้อน้ันเพราะเหตุอะไร เพราะว่า
ตัณหาน่ันแหละเป็นเพ่ือนสองของภิกษุนั้น ตัณหาน้ัน
เธอละได้แล้ว ดังนั้น ภิกษุนั้น เราจึงเรียกว่า ผู้มีการอยู่
อย่างอย่ผู ู้เดยี ว.

236

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถกู ปดิ : จติ มโน วญิ ญาณ

กายก็ออก จิตกอ็ อก 93

-บาลี จตกุ กฺ . อ.ํ ๒๑/๑๘๕/๑๓๘.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  บคุ คล ๔ จ�ำ พวกเหลา่ นี้ มปี รากฏอยู่
ในโลก  ๔ จ�ำ พวกอะไรบ้าง คือ

(1) กายออก แตจ่ ติ ไมอ่ อก (นกิ กฺ ฏฺ กาโย อนกิ กฺ ฏฺ จติ โฺ ต)
(2) กายไมอ่ อก แตจ่ ติ ออก (อนกิ กฺ ฏฺ กาโย นกิ กฺ ฏฺ จติ โฺ ต)
(3) กายกไ็ มอ่ อก จติ กไ็ มอ่ อก (อนกิ กฺ ฏฺ กาโย จ

อนกิ กฺ ฏฺ จติ โฺ ต จ)

(4) กายกอ็ อก จติ กอ็ อก (นกิ กฺ ฏฺ กาโย จ นกิ กฺ ฏฺ จติ โฺ ต จ)
ภิกษุทั้งหลาย  บุคคลท่ีชื่อว่า กายออก แต่จิต
ไม่ออกเป็นอย่างไร  ภิกษุท้งั หลาย  บุคคลบางคนในโลกน้ี
เสพเสนาสนะอนั สงดั คอื ปา่ และปา่ ทบึ ในทน่ี น้ั ๆ เขาตรกึ ถงึ
กามวิตกบ้าง ตรึกถึงพยาบาทวิตกบ้าง ตรึกถึงวิหิงสา-
วติ กบา้ ง  ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  อยา่ งนแ้ี ล บคุ คลทช่ี อื่ วา่ กายออก
แต่จติ ไม่ออก.
ภิกษุทั้งหลาย  บุคคลที่ช่ือว่า กายไม่ออก แต่จิต
ออกเป็นอย่างไร  ภิกษุทั้งหลาย  บุคคลบางคนในโลกนี้
ไม่ได้เสพเสนาสนะอันสงัด คือป่าและป่าทึบ ในท่ีน้ันๆ
เขาตรึกถึงเนกขัมมวิตกบ้าง ตรึกถึงอัพยาบาทวิตกบ้าง

237

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

ตรกึ ถงึ อวหิ งิ สาวติ กบา้ ง  ภกิ ษทุ งั้ หลาย  อยา่ งนแ้ี ล บคุ คล
ที่ช่อื วา่ กายไมอ่ อก แตจ่ ิตออก.

ภิกษุท้ังหลาย  บุคคลท่ีชื่อว่ากายก็ไม่ออก จิตก็
ไม่ออกเป็นอย่างไร  ภิกษุท้ังหลาย  บุคคลบางคนในโลกน้ี
ไม่ได้เสพเสนาสนะอันสงัด คือป่าและป่าทึบ ในท่ีนั้นๆ
เขาตรกึ ถงึ กามวติ กบา้ ง ตรกึ ถงึ พยาบาทวติ กบา้ ง ตรกึ ถงึ
วหิ งิ สาวติ กบ้าง  ภิกษทุ ้ังหลาย  อยา่ งนีแ้ ล บุคคลที่ชอ่ื วา่
กายก็ไมอ่ อก จิตกไ็ มอ่ อก.

ภิกษุทั้งหลาย  บุคคลที่ช่ือว่า กายก็ออก จิตก็ออก
เป็นอย่างไร  ภิกษุทั้งหลาย  บุคคลบางคนในโลกน้ี เสพ
เสนาสนะอนั สงัด คอื ป่าและปา่ ทบึ ในทน่ี ัน้ ๆ เขาตรกึ ถงึ
เนกขัมมวิตกบ้าง ตรึกถึงอัพยาบาทวิตกบ้าง ตรึกถึง
อวหิ งิ สาวติ กบา้ ง  ภกิ ษทุ งั้ หลาย  อยา่ งนแ้ี ล บคุ คลทชี่ อื่ วา่
กายก็ออก จิตก็ออก.

ภกิ ษทุ งั้ หลาย  บคุ คล ๔ จ�ำ พวกเหลา่ นแี้ ล มปี รากฏ
อย่ใู นโลก.

238

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถูกปิด : จิต มโน วิญญาณ

อะไรคอื กรรมเกา่ และกรรมใหม่ 94

-บาลี สฬา. ส.ํ ๑๘/๑๖๖/๒๒๗.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  เราจกั แสดงซง่ึ กรรมทงั้ หลาย ทง้ั ใหม่
และเกา่  (นวปรุ าณ)  ความดบั แหง่ กรรม และขอ้ ปฏบิ ตั ใิ หถ้ งึ
ความดบั แหง่ กรรม พวกเธอจงฟงั จงใสใ่ จใหด้ ี เราจะกลา่ ว.

ภกิ ษุทั้งหลาย  กรรมเก่าเป็นอยา่ งไร.
ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  ตา อันเธอทั้งหลาย พึงเห็นว่าเป็น
กรรมเกา่ อนั ปจั จยั ปรงุ แตง่ ขน้ึ  (อภสิ งขฺ ต) ส�ำ เรจ็ ดว้ ยเจตนา 
(อภสิ เฺ จตยติ ) เปน็ ทตี่ ง้ั แหง่ เวทนา (เวทนยิ  ทฏฺ พพฺ )   หู อนั เธอ
ท้ังหลาย พงึ เหน็ วา่ เปน็ กรรมเก่า ... จมกู อันเธอทัง้ หลาย
พึงเห็นว่าเป็นกรรมเก่า ... ลน้ิ อันเธอทั้งหลาย พึงเห็นว่า
เป็นกรรมเก่า ... กาย อันเธอท้ังหลาย พึงเห็นว่าเป็น
กรรมเกา่ ... มโน อันเธอทงั้ หลาย พงึ เหน็ ว่าเป็นกรรมเก่า
อนั ปจั จยั ปรงุ แตง่ ขน้ึ ส�ำ เรจ็ ดว้ ยเจตนา เปน็ ทต่ี งั้ แหง่ เวทนา 
ภกิ ษุทั้งหลาย  นี้เรยี กว่า กรรมเกา่ .

ภกิ ษทุ งั้ หลาย  กรรมใหม่ เป็นอย่างไร.
ภิกษุทั้งหลาย  ข้อท่บี ุคคลกระทำ�กรรม ด้วยกาย 
ดว้ ยวาจา ดว้ ยใจ ในกาลบดั น ้ี อนั นเ้ี รยี กวา่ กรรมใหม.่

239

พุทธวจน - หมวดธรรม

ภิกษุทงั้ หลาย  ความดบั แหง่ กรรม เปน็ อยา่ งไร.
ภิกษุท้ังหลาย  ข้อที่บุคคลถูกต้องวิมุตติ เพราะ
ความดบั แหง่ กายกรรม วจกี รรม มโนกรรม  อนั นเ้ี รยี กวา่
ความดับแหง่ กรรม.
ภิกษุท้ังหลาย  ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับแห่งกรรม 
เปน็ อยา่ งไร.
อรยิ มรรคอนั ประกอบดว้ ยองค์ ๘ นนี้ น่ั เอง  เปน็ ขอ้
ปฏบิ ตั ใิ หถ้ งึ ความดบั แหง่ กรรม คอื สมั มาทฏิ ฐิ สมั มาสงั กปั ปะ
สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ
สัมมาสติ และสัมมาสมาธิ  ภิกษุทั้งหลาย  น้ีเรียกว่า
ข้อปฏบิ ตั ใิ ห้ถึงความดับแหง่ กรรม.
ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  ดว้ ยประการดงั นแี้ ล กรรมเกา่ เรากไ็ ด้
แสดงแล้ว กรรมใหมเ่ ราก็ได้แสดงแล้ว ความดับแห่งกรรม
เรากไ็ ดแ้ สดงแลว้ ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ หถ้ งึ ความดบั แหง่ กรรมเรากไ็ ด้
แสดงแล้วแก่เธอท้งั หลาย.

240

เปิดธรรมทีถ่ กู ปดิ : จิต มโน วญิ ญาณ

ภิกษุท้ังหลาย  กิจใดท่ีศาสดาผู้เอ็นดู แสวงหา
ประโยชน์เก้อื กลู อาศยั ความเอน็ ดแู ลว้ จะพงึ ท�ำ แกส่ าวก
ทง้ั หลาย กิจนัน้ เราได้ทำ�แล้วแกพ่ วกเธอ.

ภิกษุท้ังหลาย  นั่นโคนไม้ นั่นเรือนว่าง พวกเธอ
จงเพยี รเผากเิ ลส อยา่ ไดป้ ระมาท อยา่ เปน็ ผทู้ ต่ี อ้ งรอ้ นใจ
ในภายหลังเลย น่ีแล เป็นวาจาเครื่องพรำ่�สอนของเรา
แกเ่ ธอทัง้ หลาย.

241

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทีถ่ ูกปิด : จติ มโน วิญญาณ
95
กายน้ี เปน็ “กรรมเก่า”

-บาลี นทิ าน. ส.ํ ๑๖/๗๗/๑๔๓.

ภิกษุท้ังหลาย  กายนี้ไม่ใช่ของเธอทั้งหลาย และ
ทง้ั ไม่ใชข่ องบคุ คลเหลา่ อ่ืน.

ภิกษุทั้งหลาย  กรรมเก่า (กาย) น้ี  อันเธอท้ังหลาย
พงึ เหน็ วา่ เปน็ สงิ่ ทป่ี จั จยั ปรงุ แตง่ ขนึ้  (อภสิ งขฺ ต) ส�ำ เรจ็ ดว้ ย
เจตนา (อภสิ ญเฺ จตยิต) เปน็ ทต่ี ง้ั แหง่ เวทนา (เวทนยิ  ทฏฺ พพฺ ) .

ภิกษุท้ังหลาย  ในกรณีของกายน้ัน อริยสาวกผู้ได้
สดับแล้ว ย่อมกระทำ�ไว้ในใจโดยแยบคายเป็นอย่างดี
ซง่ึ ปฏจิ จสมปุ บาทนน่ั เทยี ว ดงั นว้ี า่

เมอ่ื ส่งิ นมี้ ี สง่ิ น้ยี ่อมม ี (อิมสฺมึ สติ อทิ  โหติ)
(เพอมิ รสาฺสะปุ คปฺ วาาทมา เอกิทิด อขปุ นึ้ ฺปแชหชฺ ตง่ ิ)ส่งิ น้ี ส่งิ น้ีจงึ เกิดขนึ้
เมอื่ สง่ิ นีไ้ ม่มี ส่ิงนยี้ ่อมไมม่ ี (อิมสฺมึ สติ อิท น โหติ)
เพราะความดบั ไปแหง่ สิ่งนี้ สิ่งน้จี ึงดับไป 

(อมิ สฺส นโิ รธา อทิ  นิรชุ ฌฺ ติ)

ไดแ้ กส่ ิง่ เหลา่ น้ี คอื
เพราะมีอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย 
เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ  เพราะมีวิญญาณ
เป็นปัจจัย จึงมีนามรูป  เพราะมีนามรูปเป็นปัจจัย
จึงมีสฬายตนะ  เพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ 

242

เปิดธรรมท่ถี กู ปิด : จิต มโน วญิ ญาณ

เพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา  เพราะมีเวทนาเป็น
ปัจจัย จึงมีตัณหา  เพราะมีตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน 
เพราะมอี ปุ าทานเปน็ ปจั จยั จงึ มภี พ  เพราะมภี พเปน็ ปจั จยั
จึงมีชาติ  เพราะมีชาติเป็นปัจจัย ชรามรณะ โสกะปริเทวะ
ทุกขะโทมนัสอุปายาสะท้งั หลาย จึงเกิดข้นึ ครบถ้วน  ความ
เกดิ ขนึ้ พรอ้ มแหง่ กองทกุ ขท์ ง้ั สน้ิ น้ี ยอ่ มมี ดว้ ยอาการอยา่ งน.ี้

เพราะความจางคลายดบั ไปโดยไมเ่ หลอื แหง่ อวชิ ชานน้ั
นั่นเทียว จึงมีความดับแห่งสังขาร  เพราะมีความดับ
แห่งสังขาร จึงมีความดับแห่งวิญญาณ  เพราะมีความดับ
แห่งวิญญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป  เพราะมีความดับ
แหง่ นามรปู จงึ มคี วามดบั แหง่ สฬายตนะ  เพราะมคี วามดบั
แห่งสฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ  เพราะมีความดับ
แห่งผัสสะ จึงมีความดับแห่งเวทนา  เพราะมีความดับ
แห่งเวทนา จึงมีความดับแห่งตัณหา  เพราะมีความดับ
แห่งตัณหา จึงมีความดับแห่งอุปาทาน  เพราะมีความดับ
แห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ  เพราะมีความดับ
แห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ  เพราะมีความดับแห่ง
ชาตนิ นั่ แล ชรามรณะ โสกะปรเิ ทวะ ทกุ ขะโทมนสั อปุ ายาสะ
ท้ังหลายจึงดับส้ิน  ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งส้ินน้ี
ย่อมมดี ้วยอาการอยา่ งน้ี ดงั นีแ้ ล.

243

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถกู ปิด : จิต มโน วิญญาณ
96
ลกั ษณะความเปน็ อนตั ตา

-บาลี ขนธฺ . ส.ํ ๑๗/๘๒/๑๒๗.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  รปู เปน็ อนตั ตา กห็ ากวา่ รปู นจี้ กั เปน็
อตั ตาแล้วไซร้ รปู ก็คงไม่เป็นไปเพอื่ อาพาธ ทั้งสตั วย์ ่อมจะ
ไดต้ ามความปรารถนาในรปู วา่ ขอรปู ของเรา จงเปน็ อยา่ งนเ้ี ถดิ
อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย  แต่เพราะเหตุท่ีรูปเป็นอนัตตา
ดงั นน้ั รปู จงึ เปน็ ไปเพอื่ อาพาธ และสตั วย์ อ่ มไมไ่ ดต้ ามความ
ปรารถนาในรูปว่า ขอรูปของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด อย่าได้
เปน็ อยา่ งน้ันเลย.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  เวทนาเปน็ อนตั ตา กห็ ากวา่ เวทนานี้
จักเป็นอัตตาแล้วไซร้ เวทนาก็คงไม่เป็นไปเพื่ออาพาธ
ทั้งสัตว์ย่อมจะได้ตามความปรารถนาในเวทนาว่า ขอ
เวทนาของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด อย่าได้เป็นอย่างน้ันเลย 
แตเ่ พราะเหตทุ เี่ วทนาเปน็ อนตั ตา ดงั นนั้ เวทนาจงึ เปน็ ไปเพอ่ื
อาพาธ และสัตว์ย่อมไม่ได้ตามความปรารถนาในเวทนาว่า
ขอเวทนาของเรา จงเปน็ อยา่ งนเี้ ถดิ อยา่ ไดเ้ ปน็ อยา่ งนน้ั เลย.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  สญั ญาเปน็ อนตั ตา กห็ ากวา่ สญั ญาน้ี
จักเป็นอัตตาแล้วไซร้ สัญญาก็คงไม่เป็นไปเพ่ืออาพาธ
ทง้ั สตั วย์ อ่ มจะไดต้ ามความปรารถนาในสญั ญาวา่ ขอสญั ญา

244

เปดิ ธรรมท่ีถกู ปิด : จติ มโน วญิ ญาณ

ของเรา จงเปน็ อยา่ งนเ้ี ถดิ อยา่ ไดเ้ ปน็ อยา่ งนนั้ เลย  แตเ่ พราะ
เหตทุ ส่ี ญั ญาเปน็ อนตั ตา ดงั นน้ั สญั ญาจงึ เปน็ ไปเพอ่ื อาพาธ
และสตั วย์ อ่ มไมไ่ ดต้ ามความปรารถนาในสญั ญาวา่ ขอสญั ญา
ของเรา จงเปน็ อยา่ งนเ้ี ถดิ อยา่ ไดเ้ ปน็ อยา่ งนน้ั เลย.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  สงั ขารเปน็ อนตั ตา กห็ ากวา่ สงั ขารน้ี
จักเป็นอัตตาแล้วไซร้ สังขารก็คงไม่เป็นไปเพื่ออาพาธ
ทงั้ สตั วย์ อ่ มจะไดต้ ามความปรารถนาในสงั ขารวา่ ขอสงั ขาร
ของเรา จงเปน็ อยา่ งนเ้ี ถดิ อยา่ ไดเ้ ปน็ อยา่ งนน้ั เลย  แตเ่ พราะ
เหตทุ ส่ี งั ขารเปน็ อนตั ตา ดงั นน้ั สงั ขารจงึ เปน็ ไปเพอ่ื อาพาธ
และสตั วย์ อ่ มไมไ่ ดต้ ามความปรารถนาในสงั ขารวา่ ขอสงั ขาร
ของเรา จงเปน็ อยา่ งนเ้ี ถดิ อยา่ ไดเ้ ปน็ อยา่ งนน้ั เลย.

ภิกษุท้ังหลาย  วิญญาณเป็นอนัตตา ก็หากว่า
วญิ ญาณนจ้ี ักเปน็ อตั ตาแล้วไซร้ วญิ ญาณกค็ งไมเ่ ปน็ ไปเพอ่ื
อาพาธ ท้งั สัตว์ย่อมจะได้ตามความปรารถนาในวิญญาณว่า
ขอวญิ ญาณของเรา จงเปน็ อยา่ งนเ้ี ถดิ อยา่ ไดเ้ ปน็ อยา่ งนน้ั เลย
แต่เพราะเหตุท่ีวิญญาณเป็นอนัตตา ดังนั้น วิญญาณจึง
เป็นไปเพื่ออาพาธ และสัตว์ย่อมไม่ได้ตามความปรารถนา
ในวญิ ญาณวา่ ขอวญิ ญาณของเรา จงเปน็ อยา่ งนเ้ี ถดิ อยา่ ได้
เปน็ อยา่ งน้ันเลย.

245

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี กู ปดิ : จิต มโน วญิ ญาณ
ขนั ธ์ ๕ ไมเ่ ทย่ี ง เปน็ ทกุ ข์ เปน็ อนตั ตา 97

-บาลี ขนธฺ . ส.ํ ๑๗/๒๙/๔๕.

ภิกษุทั้งหลาย  รูปไม่เที่ยง แม้เหตุปัจจัยท่ีให้รูป
เกดิ ขน้ึ กไ็ มเ่ ทยี่ ง รปู ทเี่ กดิ จากสงิ่ ทไี่ มเ่ ทย่ี ง จะเปน็ ของเทย่ี ง
ได้อย่างไร.

เวทนาไม่เท่ียง แม้เหตุปัจจัยท่ีให้เวทนาเกิดข้ึน
ก็ไม่เที่ยง เวทนาท่ีเกิดจากสิ่งที่ไม่เที่ยง จะเป็นของเท่ียง
ได้อยา่ งไร.

สัญญาไม่เที่ยง แม้เหตุปัจจัยท่ีให้สัญญาเกิดขึ้น
ก็ไม่เที่ยง สัญญาท่ีเกิดจากส่ิงที่ไม่เที่ยง จะเป็นของเท่ียง
ไดอ้ ยา่ งไร.

สังขารไม่เท่ียง แม้เหตุปัจจัยที่ให้สังขารเกิดข้ึน
ก็ไม่เท่ียง สังขารท่ีเกิดจากส่ิงที่ไม่เท่ียง จะเป็นของเท่ียง
ไดอ้ ยา่ งไร.

วญิ ญาณไมเ่ ทย่ี ง แมเ้ หตปุ จั จยั ทใ่ี หว้ ญิ ญาณเกดิ ขน้ึ
ก็ไม่เท่ียง วิญญาณท่ีเกิดจากส่ิงท่ีไม่เท่ียง จะเปน็ ของเทย่ี ง
ไดอ้ ยา่ งไร.

246

เปดิ ธรรมที่ถกู ปิด : จิต มโน วญิ ญาณ

ภิกษุท้ังหลาย  รูปเป็นทุกข์ แม้เหตุปัจจัยที่ให้
รูปเกิดขึ้น ก็เป็นทุกข์ รูปที่เกิดจากส่ิงที่เป็นทุกข์ จะเปน็ สขุ
ไดอ้ ยา่ งไร.

เวทนาเป็นทุกข์ แม้เหตุปัจจัยที่ให้เวทนาเกิดข้ึน
กเ็ ปน็ ทกุ ข์ เวทนาทเ่ี กดิ จากสง่ิ ทเ่ี ปน็ ทกุ ข์ จะเปน็ สขุ ไดอ้ ยา่ งไร.

สัญญาเป็นทุกข์ แม้เหตุปัจจัยท่ีให้สัญญาเกิดขึ้น
กเ็ ปน็ ทกุ ข์ สญั ญาทเ่ี กดิ จากสง่ิ ทเ่ี ปน็ ทกุ ข์ จะเปน็ สขุ ไดอ้ ยา่ งไร.

สังขารเป็นทุกข์ แม้เหตุปัจจัยที่ให้สังขารเกิดข้ึน
กเ็ ปน็ ทกุ ข์ สงั ขารทเ่ี กดิ จากสง่ิ ทเ่ี ปน็ ทกุ ข์ จะเปน็ สขุ ไดอ้ ยา่ งไร.

วญิ ญาณเปน็ ทกุ ข์ แมเ้ หตปุ จั จยั ทใ่ี หว้ ญิ ญาณเกดิ ขน้ึ
กเ็ ปน็ ทกุ ข์ วญิ ญาณทเ่ี กดิ จากสง่ิ ทเ่ี ปน็ ทกุ ข์ จะเปน็ สขุ ไดอ้ ยา่ งไร.

ภิกษุท้ังหลาย  รูปเป็นอนัตตา แม้เหตุปัจจัยท่ีให้
รูปเกิดขึ้น ก็เป็นอนัตตา รูปที่เกิดจากสิ่งที่เป็นอนัตตา
จะเปน็ อตั ตาได้อยา่ งไร.

เวทนาเปน็ อนตั ตา แมเ้ หตปุ จั จยั ทใ่ี หเ้ วทนาเกดิ ขนึ้
กเ็ ปน็ อนตั ตา เวทนาทเ่ี กดิ จากสง่ิ ทเ่ี ปน็ อนตั ตา จะเปน็ อตั ตา
ไดอ้ ยา่ งไร.

247

พุทธวจน - หมวดธรรม

สญั ญาเปน็ อนตั ตา แมเ้ หตปุ จั จยั ทใี่ หส้ ญั ญาเกดิ ขนึ้
กเ็ ปน็ อนตั ตา สญั ญาทเี่ กดิ จากสง่ิ ทเ่ี ปน็ อนตั ตา จะเปน็ อตั ตา
ไดอ้ ยา่ งไร.

สงั ขารเปน็ อนตั ตา แมเ้ หตปุ จั จยั ทใี่ หส้ งั ขารเกดิ ขน้ึ
กเ็ ปน็ อนตั ตา สงั ขารทเี่ กดิ จากสงิ่ ทเี่ ปน็ อนตั ตา จะเปน็ อตั ตา
ได้อยา่ งไร.

วิญญาณเป็นอนัตตา แม้เหตุปัจจัยท่ีให้วิญญาณ
เกิดข้ึน ก็เป็นอนัตตา วิญญาณท่ีเกิดจากส่ิงท่ีเป็นอนัตตา
จะเป็นอตั ตาได้อย่างไร.

ภิกษุท้ังหลาย  รูปไม่เที่ยง สิ่งใดไม่เที่ยง ส่ิงน้ัน
เป็นทุกข์  สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้นเป็นอนัตตา  สิ่งใดเป็น
อนตั ตา สง่ิ นน้ั ไมใ่ ชข่ องเรา (เนต มม) ไมใ่ ชเ่ ปน็ เรา (เนโสหมสมฺ )ิ
ไมใ่ ชต่ วั ตนของเรา (น เมโส อตตฺ า) ขอ้ นอ้ี รยิ สาวกพงึ เหน็ ดว้ ย
ปญั ญาอนั ชอบ ตามความเปน็ จรงิ อยา่ งน.้ี

เวทนาไมเ่ ทยี่ ง สง่ิ ใดไมเ่ ทย่ี ง สง่ิ นน้ั เปน็ ทกุ ข์ สง่ิ ใด
เปน็ ทกุ ข์ สง่ิ นน้ั เปน็ อนตั ตา สงิ่ ใดเปน็ อนตั ตา สงิ่ นน้ั ไมใ่ ช่
ของเรา  ไมใ่ ชเ่ ปน็ เรา  ไมใ่ ชต่ วั ตนของเรา ขอ้ นอี้ รยิ สาวก
พงึ เห็นดว้ ยปัญญาอนั ชอบ ตามความเปน็ จริงอยา่ งน.ี้

248

เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปดิ : จิต มโน วญิ ญาณ

สญั ญาไมเ่ ทยี่ ง สง่ิ ใดไมเ่ ทย่ี ง สง่ิ นน้ั เปน็ ทกุ ข์ สง่ิ ใด
เปน็ ทกุ ข์ สง่ิ นน้ั เปน็ อนตั ตา สง่ิ ใดเปน็ อนตั ตา สง่ิ นน้ั ไมใ่ ช่
ของเรา  ไมใ่ ชเ่ ปน็ เรา  ไมใ่ ชต่ วั ตนของเรา  ขอ้ นอ้ี รยิ สาวก
พึงเหน็ ดว้ ยปัญญาอนั ชอบ ตามความเป็นจริงอย่างนี.้

สงั ขารไมเ่ ทยี่ ง สงิ่ ใดไมเ่ ทยี่ ง สง่ิ นน้ั เปน็ ทกุ ข์ สง่ิ ใด
เปน็ ทกุ ข์ สง่ิ นน้ั เปน็ อนตั ตา สง่ิ ใดเปน็ อนตั ตา สง่ิ นน้ั ไมใ่ ช่
ของเรา  ไมใ่ ชเ่ ปน็ เรา  ไมใ่ ชต่ วั ตนของเรา  ขอ้ นอ้ี รยิ สาวก
พงึ เหน็ ด้วยปญั ญาอันชอบ ตามความเปน็ จริงอย่างนี.้

วญิ ญาณไมเ่ ทย่ี ง สง่ิ ใดไมเ่ ทย่ี ง สง่ิ นน้ั เปน็ ทกุ ข์ สง่ิ ใด
เปน็ ทกุ ข์ สง่ิ นน้ั เปน็ อนตั ตา สง่ิ ใดเปน็ อนตั ตา สง่ิ นน้ั ไมใ่ ช่
ของเรา  ไมใ่ ชเ่ ปน็ เรา  ไมใ่ ชต่ วั ตนของเรา  ขอ้ นอ้ี รยิ สาวก
พึงเหน็ ด้วยปัญญาอนั ชอบ ตามความเปน็ จริงอยา่ งน.ี้

อรยิ สาวกผไู้ ดส้ ดบั แลว้ เหน็ อยอู่ ยา่ งนี้ ยอ่ มเบอ่ื หนา่ ย
แม้ในรูป แม้ในเวทนา แม้ในสัญญา แม้ในสังขาร แม้ใน
วญิ ญาณ เมอื่ เบอื่ หนา่ ย ยอ่ มคลายก�ำ หนดั เพราะคลายก�ำ หนดั
จงึ หลดุ พน้ เมอื่ หลดุ พน้ แลว้ ยอ่ มมญี าณหยงั่ รวู้ า่ หลดุ พน้ แลว้
อรยิ สาวกนนั้ ยอ่ มรชู้ ดั วา่ ชาตสิ นิ้ แลว้ พรหมจรรยอ์ ยจู่ บแลว้
กิจท่คี วรทำ�ได้ทำ�เสร็จแล้ว กิจอ่นื ท่จี ะต้องทำ�เพ่อื ความเป็น
อยา่ งน้ี ไมไ่ ดม้ อี กี .

249

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี กู ปดิ : จิต มโน วิญญาณ

เจริญสมาธแิ ล้ว จะรู้ไดต้ าม 98
ความเป็นจรงิ ของขันธ์ ๕

-บาลี ขนธฺ . ส.ํ ๑๗/๑๘/๒๗.

ภิกษุท้ังหลาย  เธอท้ังหลาย จงเจริญสมาธิเถิด
ภกิ ษผุ มู้ จี ติ ตงั้ มน่ั แลว้ ยอ่ มรชู้ ดั ตามความเปน็ จรงิ   กภ็ กิ ษุ
ย่อมรู้ชัดตามความเปน็ จรงิ ซง่ึ อะไร คอื ยอ่ มรชู้ ดั ตามความ
เปน็ จรงิ ซง่ึ ความเกดิ และความดบั แหง่ รปู   ยอ่ มรชู้ ดั ตาม
ความเปน็ จรงิ ซง่ึ ความเกดิ และความดบั แหง่ เวทนา  ยอ่ มรชู้ ดั
ตามความเปน็ จรงิ ซง่ึ ความเกดิ และความดบั แหง่ สญั ญา  ยอ่ ม
รชู้ ดั ตามความเปน็ จรงิ ซง่ึ ความเกดิ และความดบั แหง่ สงั ขาร 
ย่อมรู้ชัดตามความเป็นจริง ซ่ึงความเกิดและความดับ
แหง่ วญิ ญาณ.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  กอ็ ะไรเปน็ ความเกดิ แหง่ รปู   อะไร
เป็นความเกิดแห่งเวทนา  อะไรเป็นความเกิดแห่งสัญญา 
อะไรเป็นความเกิดแห่งสังขาร  อะไรเป็นความเกิดแห่ง
วญิ ญาณ.

ภิกษุทั้งหลาย  บุคคลบางคนในกรณีน้ี ย่อม
เพลิดเพลิน ยอ่ มพรำ�่ ถึง ย่อมสยบมัวเมาอยู่  กบ็ ุคคลยอ่ ม
เพลิดเพลิน ย่อมพร่ำ�ถึง ย่อมสยบมัวเมาอยู่ซ่ึงอะไร  ย่อม
เพลิดเพลิน ย่อมพร่ำ�ถึง ย่อมสยบมัวเมาอยู่ซึ่งรูป เมอ่ื เขา
เพลดิ เพลนิ พร�ำ่ ถงึ สยบมวั เมาอยซู่ ง่ึ รปู   ความเพลนิ กเ็ กดิ ขน้ึ

250

เปดิ ธรรมท่ถี ูกปดิ : จิต มโน วญิ ญาณ

ความเพลินใดในรปู ความเพลนิ นน้ั เปน็ อปุ าทาน  เพราะ
อปุ าทานของเขานน้ั เปน็ ปจั จยั จงึ มภี พ  เพราะมภี พเปน็ ปจั จยั
จงึ มชี าต ิ เพราะมชี าตเิ ปน็ ปจั จยั ชรามรณะ โสกะปรเิ ทวะ ทกุ ขะ-
โทมนสั อปุ ายาสะทงั้ หลาย จงึ เกดิ ขนึ้ ครบถว้ น  ความเกดิ ขน้ึ
แหง่ กองทุกขท์ ัง้ สน้ิ น้ี ยอ่ มมดี ว้ ยอาการอยา่ งนี้.

ภิกษุท้ังหลาย  บุคคลบางคนในกรณีน้ี ย่อม
เพลดิ เพลนิ ยอ่ มพร�ำ่ ถงึ ยอ่ มสยบมวั เมาอยู่ … ซง่ึ เวทนา เมอ่ื เขา
เพลดิ เพลนิ พร�ำ่ ถงึ สยบมวั เมาอยซู่ ง่ึ เวทนา ความเพลนิ
ก็เกิดข้ึน ความเพลินใดในเวทนา ความเพลินน้ันเป็น
อปุ าทาน …

ภิกษุท้ังหลาย  บุคคลบางคนในกรณีน้ี ย่อม
เพลดิ เพลนิ ยอ่ มพร�ำ่ ถงึ ยอ่ มสยบมวั เมาอยู่… ซง่ึ สญั ญา เมอ่ื เขา
เพลดิ เพลนิ พร�ำ่ ถงึ สยบมวั เมาอยซู่ ง่ึ สญั ญา ความเพลนิ
ก็เกิดข้นึ ความเพลินใดในสัญญา ความเพลินน้ันเป็น
อปุ าทาน …

ภิกษุท้ังหลาย  บุคคลบางคนในกรณีน้ี ย่อม
เพลดิ เพลนิ ยอ่ มพร�ำ่ ถงึ ยอ่ มสยบมวั เมาอยู่ … ซง่ึ สงั ขาร เมอ่ื เขา
เพลดิ เพลนิ พร�ำ่ ถงึ สยบมวั เมาอยซู่ ง่ึ สงั ขาร ความเพลนิ
ก็เกิดข้ึน ความเพลินใดในสังขาร ความเพลินน้ันเป็น
อปุ าทาน …

251

พุทธวจน - หมวดธรรม

ภิกษุท้ังหลาย  บุคคลบางคนในกรณีน้ี ย่อม
เพลดิ เพลนิ ยอ่ มพร�ำ่ ถงึ ยอ่ มสยบมวั เมาอยู่ … ซง่ึ วญิ ญาณ
เมอ่ื เขาเพลดิ เพลนิ พร�ำ่ ถงึ สยบมวั เมาอยซู่ ง่ึ วญิ ญาณ ความ
เพลินกเ็ กิดขน้ึ ความเพลนิ ใดในวญิ ญาณ ความเพลินนน้ั
เปน็ อปุ าทาน เพราะอปุ าทานของเขานน้ั เปน็ ปจั จยั จงึ มภี พ 
เพราะมีภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ  เพราะมีชาติเป็นปัจจัย
ชรามรณะ โสกะปริเทวะ ทุกขะโทมนัสอุปายาสะท้ังหลาย
จงึ เกดิ ขน้ึ ครบถว้ น  ความเกดิ ขน้ึ แหง่ กองทกุ ขท์ ง้ั สน้ิ น้ี ยอ่ มมี
ดว้ ยอาการอย่างน้.ี

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  นเ้ี ปน็ ความเกดิ แหง่ รปู   ความเกดิ
แหง่ เวทนา  ความเกดิ แหง่ สญั ญา  ความเกดิ แหง่ สงั ขาร 
และความเกดิ แหง่ วิญญาณ.

ภิกษุทั้งหลาย  ก็อะไรเป็นความดับแห่งรูป  อะไร
เป็นความดับแห่งเวทนา  อะไรเป็นความดับแห่งสัญญา 
อะไรเป็นความดับแห่งสังขาร  อะไรเป็นความดับแห่ง
วญิ ญาณ.

ภิกษุทั้งหลาย  บุคคลบางคนในกรณีน้ี ย่อมไม่
เพลิดเพลิน ย่อมไม่พร่ำ�ถึง ย่อมไม่สยบมัวเมาอยู่ ก็บุคคล
ย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พร่ำ�ถึง ย่อมไม่สยบมัวเมาอยู่
ซ่ึงอะไร  ย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พรำ่�ถึง ย่อมไม่สยบ

252

เปดิ ธรรมที่ถกู ปิด : จิต มโน วญิ ญาณ

มัวเมาอย่ซู งึ่ รปู เมือ่ เขาไมเ่ พลดิ เพลิน ไม่พร�่ำ ถงึ ไมส่ ยบ
มวั เมาอยซู่ ง่ึ รปู ความเพลนิ ในรปู ยอ่ มดบั   เพราะมคี วามดบั
แหง่ ความเพลนิ จงึ มคี วามดบั แหง่ อปุ าทาน  เพราะมคี วาม
ดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับแห่งภพ  เพราะมีความดับ
แห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ  เพราะมีความดับแห่งชาติ
น่ันแล  ชรามรณะ โสกะปริเทวะ ทุกขะโทมนัสอุปายาสะ
ทง้ั หลายจงึ ดบั สนิ้   ความดบั ลงแหง่ กองทกุ ขท์ ง้ั สนิ้ น้ี ยอ่ มมี
ดว้ ยอาการอยา่ งน้ี.

ภิกษุท้ังหลาย  บุคคลบางคนในกรณีนี้ ย่อมไม่
เพลิดเพลิน ย่อมไม่พรำ่�ถึง ย่อมไม่สยบมัวเมาอยู่ … ซึ่ง
เวทนา เมอ่ื เขาไมเ่ พลดิ เพลนิ ไมพ่ ร�่ำ ถงึ ไมส่ ยบมวั เมาอยู่
ซง่ึ เวทนา ความเพลนิ ในเวทนายอ่ มดบั เพราะมคี วามดบั
แหง่ ความเพลนิ จงึ มคี วามดบั แหง่ อปุ าทาน … ความดบั ลง
แห่งกองทกุ ขท์ ้ังสิ้นน้ี ยอ่ มมีดว้ ยอาการอย่างนี.้

ภิกษุทั้งหลาย  บุคคลบางคนในกรณีนี้ ย่อมไม่
เพลิดเพลิน ย่อมไม่พร่ำ�ถึง ย่อมไม่สยบมัวเมาอยู่ … ซ่ึง
สญั ญา เมอื่ เขาไมเ่ พลดิ เพลนิ ไมพ่ ร�่ำ ถงึ ไมส่ ยบมวั เมาอยู่
ซงึ่ สญั ญา ความเพลนิ ในสญั ญายอ่ มดบั เพราะมคี วามดบั
แหง่ ความเพลนิ จงึ มคี วามดบั แหง่ อปุ าทาน … ความดบั ลง
แหง่ กองทกุ ขท์ งั้ สนิ้ นี้ ยอ่ มมีดว้ ยอาการอย่างน้.ี

253

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

ภิกษุทั้งหลาย  บุคคลบางคนในกรณีน้ี ย่อมไม่
เพลิดเพลิน ย่อมไม่พร่ำ�ถึง ย่อมไม่สยบมัวเมาอยู่ … ซ่ึง
สงั ขาร เมอ่ื เขาไมเ่ พลดิ เพลนิ ไมพ่ ร�่ำ ถงึ ไมส่ ยบมวั เมาอยู่
ซงึ่ สงั ขาร ความเพลนิ ในสงั ขารยอ่ มดบั เพราะมคี วามดบั
แหง่ ความเพลนิ จงึ มคี วามดบั แหง่ อปุ าทาน … ความดบั ลง
แหง่ กองทกุ ข์ทั้งส้ินนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างน้ี.

ภิกษุท้ังหลาย  บุคคลบางคนในกรณีน้ี ย่อมไม่
เพลิดเพลิน ย่อมไม่พร่ำ�ถึง ย่อมไม่สยบมัวเมาอยู่ ก็บุคคล
ย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พรำ่�ถึง ย่อมไม่สยบมัวเมาอยู่
ซึ่งอะไร  ย่อมไม่เพลิดเพลิน ย่อมไม่พร่ำ�ถึง ย่อมไม่สยบ
มัวเมาอยู่ซ่ึงวิญญาณ เมื่อเขาไม่เพลิดเพลิน ไม่พรำ่�ถึง
ไมส่ ยบมวั เมาอยซู่ ง่ึ วญิ ญาณ ความเพลนิ ในวญิ ญาณยอ่ มดบั
เพราะมีความดับแห่งความเพลิน จึงมีความดับแห่ง
อุปาทาน  เพราะมีความดับแห่งอุปาทาน จึงมีความดับ
แห่งภพ  เพราะมีความดับแห่งภพ จึงมีความดับแห่งชาติ 
เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล  ชรามรณะ โสกะปริเทวะ
ทุกขะโทมนัสอุปายาสะทั้งหลายจึงดับสิ้น ความดับลงแห่ง
กองทกุ ขท์ ั้งส้นิ น้ี ย่อมมีด้วยอาการอยา่ งนี้.

ภิกษุทั้งหลาย  นี้เป็นความดับแห่งรูป  ความดับ
แห่งเวทนา  ความดับแห่งสัญญา  ความดับแห่งสังขาร 
และความดับแห่งวญิ ญาณ.

254

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถูกปดิ : จติ มโน วิญญาณ

ร้ชู ัดอุปาทานขนั ธโ์ ดยปริวฏั ฏ์ ๔ 99

-บาลี ขนธฺ . ส.ํ ๑๗/๗๒/๑๑๒.

ภกิ ษทุ งั้ หลาย  อปุ าทานขนั ธ์ ๕ ประการน้ี ๕ ประการ
อะไรบ้าง คือ อุปาทานขันธ์คือรูป อุปาทานขันธ์คือเวทนา
อปุ าทานขนั ธค์ อื สญั ญา อปุ าทานขนั ธค์ อื สงั ขาร อปุ าทานขนั ธ์
คอื วญิ ญาณ  ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ตลอดกาลเพยี งใด ทเ่ี รายงั ไมร่ ชู้ ดั  
(อพฺภฺ าส)ึ ซง่ึ อปุ าทานขนั ธ์ ๕ เหลา่ นี้ โดยปรวิ ฏั ฏ์ ๔ ตาม
ความเป็นจริง ตลอดกาลเพียงนัน้ เรากจ็ ะยงั ไมป่ ฏิญาณวา่
เป็นผู้ตรัสรู้ชอบย่ิงซึ่งอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณในโลก
พรอ้ มทัง้ เทวโลก มารโลก พรหมโลก ในหม่สู ตั ว์ พรอ้ มทั้ง
สมณพราหมณ์ เทวดาและมนษุ ย์.

ภิกษุทั้งหลาย  เม่ือใด เรารู้ชัดซึ่งอุปาทานขันธ์ ๕
เหล่านี้ โดยปริวัฏฏ์ ๔ ตามความเป็นจริง เมื่อนั้น เราจึง
ปฏญิ าณวา่ เปน็ ผตู้ รสั รชู้ อบยง่ิ ซง่ึ อนตุ ตรสมั มาสมั โพธญิ าณ
ในโลก พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ในหมู่สัตว์
พรอ้ มทง้ั สมณพราหมณ์ เทวดาและมนุษย.์

ภกิ ษทุ งั้ หลาย  ปรวิ ฏั ฏ์ ๔ เปน็ อยา่ งไร คอื เราไดร้ ชู้ ดั
ซง่ึ รปู ไดร้ ชู้ ดั ซง่ึ ความเกดิ แหง่ รปู ไดร้ ชู้ ดั ซง่ึ ความดบั แหง่ รปู
ได้รู้ชัดซ่ึงข้อปฏิบัติให้ถึงความดับแห่งรูป  เราได้รู้ชัดซึ่ง

255

พุทธวจน - หมวดธรรม

เวทนา ไดร้ ชู้ ดั ซง่ึ ความเกดิ แหง่ เวทนา ไดร้ ชู้ ดั ซงึ่ ความดบั
แหง่ เวทนา ไดร้ ชู้ ดั ซงึ่ ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ หถ้ งึ ความดบั แหง่ เวทนา 
เราไดร้ ชู้ ดั ซง่ึ สญั ญา ไดร้ ชู้ ดั ซงึ่ ความเกดิ แหง่ สญั ญา ไดร้ ชู้ ดั
ซง่ึ ความดบั แหง่ สญั ญา ไดร้ ชู้ ดั ซงึ่ ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ หถ้ งึ ความดบั
แห่งสัญญา  เราได้รู้ชัดซ่ึงสังขาร ได้รู้ชัดซึ่งความเกิด
แหง่ สงั ขาร ไดร้ ชู้ ดั ซง่ึ ความดบั แหง่ สงั ขาร ไดร้ ชู้ ดั ซง่ึ ขอ้ ปฏบิ ตั ิ
ใหถ้ งึ ความดบั แหง่ สงั ขาร  เราไดร้ ชู้ ดั ซง่ึ วญิ ญาณ ไดร้ ชู้ ดั ซงึ่
ความเกิดแห่งวิญญาณ ได้รู้ชัดซ่ึงความดับแห่งวิญญาณ
ได้รชู้ ัดซ่ึงขอ้ ปฏบิ ัติให้ถึงความดับแหง่ วญิ ญาณ.

ภิกษุทั้งหลาย  ก็รูปเป็นอย่างไร  ภิกษุทั้งหลาย 
มหาภูตรูป ๔ และรูปท่ีอาศัยมหาภูตรูป ๔  น้ีเรียกว่ารูป
ความเกิดข้ึนแหง่ รปู ย่อมมี เพราะความเกิดข้ึนแห่งอาหาร
ความดับแห่งรูปย่อมมี เพราะความดับแห่งอาหาร
อรยิ มรรคอนั ประกอบดว้ ยองค์ ๘ นนี้ นั่ เอง  เปน็ ขอ้ ปฏบิ ตั ิ
ให้ถึงความดับแห่งรูป คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ
สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ
สมั มาสติ และสมั มาสมาธิ. 

ภิกษุท้ังหลาย  ก็สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด
เหลา่ หนงึ่ รชู้ ดั แลว้ ซงึ่ รปู อยา่ งนี้ รชู้ ดั แลว้ ซงึ่ ความเกดิ ขน้ึ แหง่

256

เปิดธรรมทีถ่ กู ปิด : จติ มโน วิญญาณ

รูปอย่างนี้ รู้ชัดแล้วซ่ึงความดับแห่งรูปอย่างน้ี รู้ชัดแล้วซึ่ง
ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ หถ้ งึ ความดบั แหง่ รปู อยา่ งนี้ แลว้ ปฏบิ ตั เิ พอ่ื ความ
เบ่ือหน่าย เพื่อความคลายกำ�หนัด เพ่ือความดับแห่งรูป 
สมณะหรอื พราหมณเ์ หลา่ นน้ั ชอื่ วา่ ปฏบิ ตั ดิ แี ลว้ ชนเหลา่ ใด
ปฏิบตั ดิ แี ล้ว ชนเหลา่ นน้ั ชื่อว่ายอ่ มหยง่ั ลงในธรรมวนิ ยั นี.้

ภิกษุท้ังหลาย  ก็สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด
เหลา่ หนง่ึ รชู้ ดั แลว้ ซง่ึ รปู อยา่ งนี้ รชู้ ดั แลว้ ซง่ึ ความเกดิ ขน้ึ แหง่
รปู อยา่ งนี้ รชู้ ดั แลว้ ซงึ่ ความดบั แหง่ รปู อยา่ งนี้ รชู้ ดั แลว้ ซง่ึ ขอ้
ปฏบิ ตั ใิ หถ้ งึ ความดบั แหง่ รปู อยา่ งน้ี แลว้ เปน็ ผหู้ ลดุ พน้ เพราะ
เบอ่ื หนา่ ย เพราะคลายก�ำ หนดั เพราะความดบั เพราะไมถ่ อื มน่ั
ในรูป สมณะหรือพราหมณ์เหล่าน้ัน ชื่อว่าหลุดพ้นดีแล้ว
สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด หลุดพ้นดีแล้ว สมณะหรือ
พราหมณ์เหล่านั้นเป็นเกพลี สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด
เปน็ เกพลี วฏั ฏะย่อมไมม่ ีแก่สมณะหรอื พราหมณ์เหล่าน้ัน.

ภกิ ษทุ ้งั หลาย  ก็เวทนาเป็นอย่างไร  ภกิ ษทุ ้ังหลาย 
หมู่แห่งเวทนา ๖ เหล่านี้ คือ เวทนาอันเกิดจากจักขุสัมผัส
เวทนาอันเกิดจากโสตสัมผัส เวทนาอันเกิดจากฆานสัมผัส
เวทนาอันเกิดจากชวิ หาสมั ผัส เวทนาอันเกิดจากกายสมั ผัส
เวทนาอันเกิดจากมโนสัมผัส  ภิกษุท้ังหลาย  น้ีเรียกว่า

257

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

เวทนา ความเกิดข้ึนแห่งเวทนาย่อมมี เพราะความเกิดขึ้น
แห่งผัสสะ ความดับแห่งเวทนาย่อมมี เพราะความดับแห่ง
ผัสสะ อริยมรรคอันประกอบด้วยองค์ ๘ นี้น่ันเอง  เป็น
ข้อปฏิบตั ิให้ถงึ ความดับแห่งเวทนา …

ภิกษุท้ังหลาย  ก็สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด
เหลา่ หนง่ึ รชู้ ดั แลว้ ซงึ่ เวทนาอยา่ งน้ี … แลว้ ปฏบิ ตั เิ พอ่ื ความ
เบอื่ หนา่ ย เพอ่ื ความคลายก�ำ หนดั เพอื่ ความดบั แหง่ เวทนา 
สมณะหรอื พราหมณเ์ หลา่ นน้ั ชอ่ื วา่ ปฏบิ ตั ดิ แี ลว้ ชนเหลา่ ใด
ปฏบิ ตั ดิ ีแลว้ ชนเหลา่ นัน้ ชอ่ื ว่ายอ่ มหยัง่ ลงในธรรมวินัยนี.้

ภิกษุท้ังหลาย  ก็สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด
เหล่าหน่งึ ร้ชู ัดแล้วซ่งึ เวทนาอย่างน้ี … แล้วเป็นผ้หู ลุดพ้น
เพราะเบอ่ื หนา่ ย เพราะคลายก�ำ หนดั เพราะความดบั เพราะไม่
ถอื มน่ั ในเวทนา สมณะหรอื พราหมณเ์ หลา่ นน้ั ชอ่ื วา่ หลดุ พน้
ดแี ลว้ สมณะหรอื พราหมณเ์ หลา่ ใด หลดุ พน้ ดแี ลว้ … วฏั ฏะ
ย่อมไม่มีแก่สมณะหรอื พราหมณเ์ หลา่ นั้น.

ภกิ ษทุ งั้ หลาย  กส็ ญั ญาเปน็ อยา่ งไร  ภกิ ษทุ ง้ั หลาย 
หมู่แห่งสัญญา ๖ เหล่าน้ี คือ สัญญาในรูป สัญญาในเสียง
สัญญาในกล่ิน สัญญาในรส สัญญาในโผฏฐัพพะ สัญญา

258

เปิดธรรมทถ่ี ูกปดิ : จิต มโน วญิ ญาณ

ในธรรม  ภกิ ษทุ งั้ หลาย  นเี้ รยี กวา่ สญั ญา ความเกดิ ขนึ้ แหง่
สญั ญายอ่ มมี เพราะความเกดิ ขน้ึ แหง่ ผสั สะ ความดบั แหง่ สญั ญา
ย่อมมี เพราะความดับแห่งผัสสะ อริยมรรคอันประกอบ
ด้วยองค์ ๘ น้ีน่ันเอง  เป็นข้อปฏิบัติให้ถึงความดับแห่ง
สญั ญา …

ภิกษุท้ังหลาย  ก็สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด
เหลา่ หนง่ึ รชู้ ดั แลว้ ซงึ่ สญั ญาอยา่ งนี้ … แลว้ ปฏบิ ตั เิ พอ่ื ความ
เบอ่ื หนา่ ย เพอื่ ความคลายก�ำ หนดั เพอื่ ความดบั แหง่ สญั ญา 
สมณะหรอื พราหมณเ์ หลา่ นน้ั ชอื่ วา่ ปฏบิ ตั ดิ แี ลว้ ชนเหลา่ ใด
ปฏบิ ตั ดิ ีแล้ว ชนเหล่าน้นั ช่อื วา่ ยอ่ มหย่ังลงในธรรมวนิ ัยนี.้

ภิกษุทั้งหลาย  ก็สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด
เหล่าหน่งึ ร้ชู ัดแล้วซ่งึ สัญญาอย่างน้ี … แล้วเป็นผ้หู ลุดพ้น
เพราะเบอ่ื หนา่ ย เพราะคลายก�ำ หนดั เพราะความดบั เพราะไม่
ถอื มนั่ ในสญั ญา สมณะหรอื พราหมณเ์ หลา่ นนั้ ชอื่ วา่ หลดุ พน้
ดแี ลว้ สมณะหรอื พราหมณเ์ หลา่ ใด หลดุ พน้ ดแี ลว้ … วฏั ฏะ
ย่อมไม่มแี กส่ มณะหรือพราหมณเ์ หล่านั้น.

ภิกษุท้ังหลาย  ก็สังขารท้ังหลายเป็นอย่างไร  ภิกษุ
ทั้งหลาย  หมู่แห่งเจตนา ๖ เหล่าน้ี คือ สัญเจตนาในรูป

259

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

สัญเจตนาในเสียง สัญเจตนาในกล่ิน สัญเจตนาในรส
สัญเจตนาในโผฏฐัพพะ สัญเจตนาในธรรม  ภิกษุท้ังหลาย 
น้ีเรียกว่าสังขารทั้งหลาย ความเกิดขึ้นแห่งสังขารย่อมมี
เพราะความเกิดข้ึนแห่งผัสสะ ความดับแห่งสังขารย่อมมี
เพราะความดับแห่งผัสสะ อริยมรรคอันประกอบด้วย
องค์ ๘ นน้ี น่ั เอง  เปน็ ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ หถ้ งึ ความดบั แหง่ สงั ขาร …

ภิกษุท้ังหลาย  ก็สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด
เหลา่ หนง่ึ รชู้ ดั แลว้ ซงึ่ สงั ขารอยา่ งนี้ … แลว้ ปฏบิ ตั เิ พอื่ ความ
เบอื่ หนา่ ย เพอื่ ความคลายก�ำ หนดั เพอ่ื ความดบั แหง่ สงั ขาร 
สมณะหรอื พราหมณเ์ หลา่ นนั้ ชอื่ วา่ ปฏบิ ตั ดิ แี ลว้ ชนเหลา่ ใด
ปฏิบตั ดิ ีแล้ว ชนเหล่าน้ันชอื่ วา่ ย่อมหยัง่ ลงในธรรมวินยั นี.้

ภิกษุทั้งหลาย  ก็สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด
เหล่าหน่ึง รู้ชัดแล้วซ่ึงสังขารอย่างน้ี … แล้วเป็นผู้หลุดพ้น
เพราะเบอ่ื หนา่ ย เพราะคลายก�ำ หนดั เพราะความดบั เพราะไม่
ถอื มน่ั ในสงั ขาร สมณะหรอื พราหมณเ์ หลา่ นน้ั ชอ่ื วา่ หลดุ พน้
ดแี ลว้ สมณะหรอื พราหมณเ์ หลา่ ใด หลดุ พน้ ดแี ลว้ … วฏั ฏะ
ย่อมไมม่ แี ก่สมณะหรอื พราหมณเ์ หลา่ น้นั .

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  กว็ ญิ ญาณเปน็ อยา่ งไร  ภกิ ษทุ ง้ั หลาย 
หมู่แหง่ วิญญาณ ๖ เหล่านี้ คือ จักขุวญิ ญาณ โสตวิญญาณ

260

เปิดธรรมท่ถี ูกปดิ : จิต มโน วญิ ญาณ

ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ กายวิญญาณ มโนวิญญาณ 
ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  นเี้ รยี กวา่ วญิ ญาณ ความเกดิ ขนึ้ แหง่ วญิ ญาณ
ย่อมมี เพราะความเกิดข้ึนแห่งนามรูป ความดับแห่ง
วิญญาณย่อมมี เพราะความดับแห่งนามรูป อรยิ มรรคอนั
ประกอบดว้ ยองค์ ๘ นน้ี น่ั เอง  เปน็ ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ หถ้ งึ ความ
ดบั แหง่ วญิ ญาณ คอื สมั มาทฏิ ฐิ สมั มาสงั กปั ปะ สมั มาวาจา
สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ และ
สมั มาสมาธ.ิ

ภิกษุท้ังหลาย  ก็สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด
เหลา่ หนง่ึ รชู้ ดั แลว้ ซง่ึ วญิ ญาณอยา่ งน้ี รชู้ ดั แลว้ ซง่ึ ความเกดิ ขน้ึ
แหง่ วญิ ญาณอยา่ งน้ี รชู้ ดั แลว้ ซง่ึ ความดบั แหง่ วญิ ญาณอยา่ งน้ี
รู้ชัดแล้วซึ่งข้อปฏิบัติให้ถึงความดับแห่งวิญญาณอย่างนี้
แลว้ ปฏบิ ตั เิ พอื่ ความเบอ่ื หนา่ ย เพอื่ ความคลายก�ำ หนดั เพอ่ื
ความดบั แหง่ วญิ ญาณ  สมณะหรอื พราหมณเ์ หลา่ นน้ั ชอ่ื วา่
ปฏบิ ตั ดิ แี ลว้ ชนเหลา่ ใดปฏบิ ตั ดิ แี ลว้ ชนเหลา่ นน้ั ชอ่ื วา่ ยอ่ ม
หยงั่ ลงในธรรมวินัยนี.้

ภิกษุทั้งหลาย  ก็สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด
เหลา่ หนง่ึ รชู้ ดั แลว้ ซง่ึ วญิ ญาณอยา่ งน้ี รชู้ ดั แลว้ ซง่ึ ความเกดิ ขน้ึ
แหง่ วญิ ญาณอยา่ งน้ี รชู้ ดั แลว้ ซง่ึ ความดบั แหง่ วญิ ญาณอยา่ งน้ี

261

พุทธวจน - หมวดธรรม

รชู้ ดั แลว้ ซงึ่ ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ หถ้ งึ ความดบั แหง่ วญิ ญาณอยา่ งน้ี แลว้
เปน็ ผหู้ ลดุ พน้ เพราะเบอ่ื หนา่ ย เพราะคลายก�ำ หนดั เพราะ
ความดับ เพราะไม่ถือม่นั ในวิญญาณ สมณะหรือพราหมณ์
เหล่าน้นั ช่อื ว่าหลุดพ้นดีแล้ว สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด
หลดุ พน้ ดแี ลว้ สมณะหรอื พราหมณเ์ หลา่ นน้ั เปน็ เกพลี สมณะ
หรือพราหมณ์เหล่าใดเป็นเกพลี วัฏฏะย่อมไม่มีแก่สมณะ
หรือพราหมณเ์ หลา่ นั้น.

262

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถกู ปดิ : จิต มโน วญิ ญาณ

ผ้ฉู ลาดในฐานะ ๗ ประการ 100

-บาลี ขนธฺ . ส.ํ ๑๗/๗๖/๑๑๘.

... ภกิ ษทุ งั้ หลาย  ภกิ ษผุ ฉู้ ลาดในฐานะ ๗ ประการ 
(สตฺตฏฺฐานกุสโล) ผู้พิจารณาใคร่ครวญโดยวิธี ๓ ประการ 
(ติวิธูปปริกฺขี) เราเรียกว่าเกพลี อยู่จบกิจแห่งพรหมจรรย์
เป็นอดุ มบุรษในธรรมวนิ ัยน.้ี

ภิกษุทั้งหลาย  ก็ภิกษุผู้ฉลาดในฐานะ ๗ ประการ
เปน็ อยา่ งไร  ภกิ ษทุ งั้ หลาย  ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั น้ี รชู้ ดั ซง่ึ รปู
รู้ชัดซ่ึงความเกิดแห่งรูป รู้ชัดซ่ึงความดับแห่งรูป รู้ชัดซึ่ง
ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ หถ้ งึ ความดบั แหง่ รปู รชู้ ดั ซง่ึ คณุ  (อสสฺ าท) แหง่ รปู
รู้ชัดซ่งึ โทษ (อาทีนว) แห่งรปู ร้ชู ัดซงึ่ อบุ ายเคร่อื งสลดั ออก 
(นิสฺสรณ) แห่งรูป  รู้ชัดซ่ึงเวทนา รู้ชัดซึ่งความเกิดแห่ง
เวทนา รู้ชัดซ่ึงความดับแห่งเวทนา รู้ชัดซ่ึงข้อปฏิบัติให้
ถงึ ความดบั แหง่ เวทนา รชู้ ดั ซง่ึ คณุ แหง่ เวทนา รชู้ ดั ซงึ่ โทษ
แหง่ เวทนา รชู้ ดั ซง่ึ อบุ ายเครอ่ื งสลดั ออกแหง่ เวทนา  รชู้ ดั
ซ่ึงสัญญา รู้ชัดซ่ึงความเกิดแห่งสัญญา รู้ชัดซ่ึงความดับ
แห่งสัญญา รู้ชัดซึ่งข้อปฏิบัติให้ถึงความดับแห่งสัญญา
รู้ชัดซึ่งคุณแห่งสัญญา รู้ชัดซึ่งโทษแห่งสัญญา รู้ชัดซึ่ง
อบุ ายเครื่องสลดั ออกแหง่ สัญญา  รูช้ ดั ซึง่ สังขาร รูช้ ัดซ่ึง

263

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

ความเกดิ แหง่ สงั ขาร รชู้ ดั ซงึ่ ความดบั แหง่ สงั ขาร รชู้ ัดซงึ่
ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ หถ้ งึ ความดบั แหง่ สงั ขาร รชู้ ดั ซง่ึ คณุ แหง่ สงั ขาร
รู้ชัดซ่ึงโทษแห่งสังขาร รู้ชัดซ่ึงอุบายเครื่องสลัดออกแห่ง
สังขาร  รู้ชัดซึ่งวิญญาณ รู้ชัดซ่ึงความเกิดแห่งวิญญาณ
รชู้ ดั ซงึ่ ความดบั แหง่ วญิ ญาณ รชู้ ดั ซงึ่ ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ หถ้ งึ ความ
ดบั แหง่ วญิ ญาณ รชู้ ดั ซง่ึ คณุ แหง่ วญิ ญาณ รชู้ ดั ซงึ่ โทษแหง่
วิญญาณ รู้ชดั ซง่ึ อบุ ายเครอ่ื งสลัดออกแห่งวญิ ญาณ.

ภิกษุทั้งหลาย  ก็รูปเป็นอย่างไร  ภิกษุทั้งหลาย 
มหาภูตรูป ๔ และรูปท่ีอาศัยมหาภูตรูป ๔ นี้เรียกว่ารูป
ความเกิดขึ้นแห่งรูปย่อมมี เพราะความเกิดขึ้นแห่งอาหาร
ความดบั แหง่ รปู ยอ่ มมี เพราะความดบั แหง่ อาหาร อรยิ มรรค
อันประกอบด้วยองค์ ๘ นน้ี นั่ เอง เปน็ ขอ้ ปฏบิ ัติใหถ้ ึงความ
ดับแห่งรูป คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา
สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ
และสัมมาสมาธิ  สุขโสมนัสใดอาศัยรูปเกิดข้ึน นี้เป็นคุณ
แหง่ รปู   รปู ไมเ่ ทย่ี ง เปน็ ทกุ ข์ มคี วามแปรปรวนเปน็ ธรรมดา
นเ้ี ปน็ โทษแหง่ รปู   การก�ำ จดั ฉนั ทราคะ (ฉนทฺ ราควนิ โย) การละ
ฉันทราคะ (ฉนทฺ ราคปปฺ หาน) ในรปู เสียได้ น้ีเปน็ อบุ ายเคร่อื ง
สลัดออกแหง่ รูป.

264

เปิดธรรมที่ถกู ปดิ : จิต มโน วญิ ญาณ

ภิกษุท้ังหลาย  ก็สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด
เหลา่ หนง่ึ รชู้ ดั แลว้ ซง่ึ รปู อยา่ งน้ี รชู้ ดั แลว้ ซงึ่ ความเกดิ ขนึ้ แหง่
รูปอย่างนี้ รู้ชัดแล้วซึ่งความดับแห่งรูปอย่างน้ี รู้ชัดแล้วซ่ึง
ข้อปฏบิ ัตใิ ห้ถงึ ความดับแหง่ รูปอยา่ งน้ี รชู้ ดั แล้วซง่ึ คุณแหง่
รูปอย่างน้ี รชู้ ดั แลว้ ซง่ึ โทษแหง่ รูปอย่างน้ี ร้ชู ัดแลว้ ซง่ึ อบุ าย
เคร่ืองสลัดออกแห่งรูปอย่างน้ี แล้วปฏิบัติเพ่ือความ
เบื่อหน่าย เพื่อความคลายกำ�หนัด เพื่อความดับแห่งรูป 
สมณะหรอื พราหมณเ์ หลา่ นน้ั ชอื่ วา่ ปฏบิ ตั ดิ แี ลว้ ชนเหลา่ ใด
ปฏบิ ัตดิ ีแลว้ ชนเหลา่ นั้นช่อื วา่ ยอ่ มหยั่งลงในธรรมวนิ ยั น.้ี

ภิกษุทั้งหลาย  ก็สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด
เหลา่ หนง่ึ รชู้ ดั แลว้ ซง่ึ รปู อยา่ งน้ี รชู้ ดั แลว้ ซง่ึ ความเกดิ ขน้ึ แหง่
รูปอย่างนี้ รู้ชัดแล้วซึ่งความดับแห่งรูปอย่างนี้ รู้ชัดแล้วซ่ึง
ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ หถ้ งึ ความดบั แหง่ รปู อยา่ งน้ี รู้ชัดแล้วซ่ึงคุณแห่ง
รปู อย่างนี้ รู้ชัดแล้วซง่ึ โทษแหง่ รูปอยา่ งนี้ รูช้ ัดแลว้ ซง่ึ อุบาย
เครอ่ื งสลดั ออกแหง่ รปู อยา่ งน้ี แลว้ เปน็ ผหู้ ลดุ พน้ เพราะเบอ่ื หนา่ ย
เพราะคลายกำ�หนัด เพราะความดับ เพราะไม่ถือมั่นในรูป
สมณะหรือพราหมณ์เหล่าน้ัน ช่ือว่าหลุดพ้นดีแล้ว สมณะ
หรอื พราหมณ์เหล่าใด หลดุ พ้นดแี ลว้ สมณะหรอื พราหมณ์
เหล่าน้ันเป็นเกพลี สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใดเป็นเกพลี
วฏั ฏะย่อมไม่มีแก่สมณะหรอื พราหมณเ์ หลา่ นน้ั .

265

พุทธวจน - หมวดธรรม

ภกิ ษทุ งั้ หลาย  กเ็ วทนาเป็นอยา่ งไร  ภิกษทุ งั้ หลาย 
หมู่แห่งเวทนา ๖ เหล่านี้ คือ เวทนาอันเกิดจากจักขุสัมผัส
เวทนาอันเกิดจากโสตสัมผัส เวทนาอันเกิดจากฆานสัมผัส
เวทนาอันเกดิ จากชิวหาสัมผสั เวทนาอนั เกดิ จากกายสัมผสั
เวทนาอันเกิดจากมโนสัมผัส  ภิกษุทั้งหลาย  น้ีเรียกว่า
เวทนา ความเกิดขึ้นแห่งเวทนาย่อมมี เพราะความเกิดข้ึน
แห่งผัสสะ ความดับแห่งเวทนาย่อมมี เพราะความดับแห่ง
ผัสสะ อริยมรรคอันประกอบด้วยองค์ ๘ น้ีนั่นเอง เป็น
ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับแห่งเวทนา … สุขโสมนัสใดอาศัย
เวทนาเกดิ ขนึ้ นเี้ ปน็ คณุ แหง่ เวทนา  เวทนาไมเ่ ทย่ี ง เปน็ ทกุ ข์
มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา น้ีเป็นโทษแห่งเวทนา 
การกำ�จัดฉันทราคะ การละฉันทราคะในเวทนาเสียได้
น้เี ป็นอุบายเครอ่ื งสลัดออกแหง่ เวทนา.

ภิกษุท้ังหลาย  ก็สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด
เหลา่ หนง่ึ รชู้ ดั แลว้ ซง่ึ เวทนาอยา่ งนี้ … แลว้ ปฏบิ ตั เิ พอื่ ความ
เบอ่ื หนา่ ย เพอื่ ความคลายก�ำ หนดั เพอื่ ความดบั แหง่ เวทนา 
สมณะหรอื พราหมณเ์ หลา่ นน้ั ชอื่ วา่ ปฏบิ ตั ดิ แี ลว้ ชนเหลา่ ใด
ปฏิบตั ดิ แี ลว้ ชนเหล่าน้ันช่ือวา่ ยอ่ มหย่งั ลงในธรรมวินยั นี้.

ภิกษุทั้งหลาย  ก็สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด
เหล่าหน่งึ ร้ชู ัดแล้วซ่ึงเวทนาอย่างน้ี … แล้วเป็นผ้หู ลุดพ้น

266

เปดิ ธรรมทีถ่ กู ปดิ : จติ มโน วิญญาณ

เพราะเบอ่ื หนา่ ย เพราะคลายก�ำ หนดั เพราะความดบั เพราะไม่
ถอื มนั่ ในเวทนา สมณะหรอื พราหมณเ์ หลา่ นนั้ ชอ่ื วา่ หลดุ พน้
ดแี ลว้ สมณะหรอื พราหมณเ์ หลา่ ใด หลดุ พน้ ดแี ลว้ … วฏั ฏะ
ยอ่ มไมม่ ีแกส่ มณะหรือพราหมณเ์ หล่าน้นั .

ภกิ ษทุ งั้ หลาย  กส็ ญั ญาเปน็ อยา่ งไร  ภกิ ษทุ ง้ั หลาย 
หมู่แห่งสัญญา ๖ เหล่านี้ คือ สัญญาในรูป สัญญาในเสียง
สัญญาในกล่ิน สัญญาในรส สัญญาในโผฏฐัพพะ สัญญา
ในธรรม  ภิกษุท้งั หลาย  น้เี รียกว่าสัญญา ความเกิดข้นึ แห่ง
สญั ญายอ่ มมี เพราะความเกดิ ขน้ึ แหง่ ผสั สะ ความดบั แหง่ สญั ญา
ยอ่ มมี เพราะความดบั แหง่ ผสั สะ อรยิ มรรคอนั ประกอบดว้ ย
องค์ ๘ นี้น่ันเอง เป็นข้อปฏิบัติให้ถึงความดับแห่งสัญญา
… สุขโสมนัสใดอาศัยสัญญาเกิดขึ้น นี้เป็นคุณแห่งสัญญา 
สัญญาไม่เท่ียง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา
นเ้ี ปน็ โทษแหง่ สญั ญา  การก�ำ จดั ฉนั ทราคะ การละฉนั ทราคะ
ในสญั ญาเสยี ได้ นเ้ี ปน็ อบุ ายเครอ่ื งสลดั ออกแหง่ สญั ญา.

ภิกษุท้ังหลาย  ก็สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด
เหลา่ หนง่ึ รชู้ ดั แลว้ ซงึ่ สญั ญาอยา่ งนี้ … แลว้ ปฏบิ ตั เิ พอ่ื ความ
เบอื่ หนา่ ย เพอื่ ความคลายก�ำ หนดั เพอื่ ความดบั แหง่ สญั ญา 
สมณะหรอื พราหมณเ์ หลา่ นนั้ ชอ่ื วา่ ปฏบิ ตั ดิ แี ลว้ ชนเหลา่ ใด
ปฏิบัตดิ ีแลว้ ชนเหลา่ นน้ั ช่อื วา่ ยอ่ มหยงั่ ลงในธรรมวนิ ัยน้ี.

267

พุทธวจน - หมวดธรรม

ภิกษุท้ังหลาย  ก็สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด
เหลา่ หนง่ึ รู้ชัดแล้วซึ่งสัญญาอย่างน้ี … แล้วเป็นผ้หู ลุดพ้น
เพราะเบอ่ื หนา่ ย เพราะคลายก�ำ หนดั เพราะความดบั เพราะไม่
ถอื มนั่ ในสญั ญา สมณะหรอื พราหมณเ์ หลา่ นนั้ ชอ่ื วา่ หลดุ พน้
ดแี ลว้ สมณะหรอื พราหมณเ์ หลา่ ใด หลดุ พน้ ดแี ลว้ … วฏั ฏะ
ย่อมไมม่ แี กส่ มณะหรอื พราหมณ์เหลา่ นั้น.

ภิกษุท้ังหลาย  ก็สังขารท้ังหลายเป็นอย่างไร  ภิกษุ
ทั้งหลาย  หมู่แห่งเจตนา ๖ เหล่าน้ี คือ สัญเจตนาในรูป
สัญเจตนาในเสียง สัญเจตนาในกลิ่น สัญเจตนาในรส
สัญเจตนาในโผฏฐัพพะ สัญเจตนาในธรรม  ภิกษุทั้งหลาย 
นี้เรียกว่าสังขารทั้งหลาย ความเกิดข้ึนแห่งสังขารย่อมมี
เพราะความเกิดข้ึนแห่งผัสสะ ความดับแห่งสังขารย่อมมี
เพราะความดับแห่งผัสสะ อริยมรรคอันประกอบด้วย
องค์ ๘ นนี้ น่ั เอง เปน็ ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ หถ้ งึ ความดบั แหง่ สงั ขาร …
สุขโสมนัสใดอาศัยสังขารเกิดขึ้น นี้เป็นคุณแห่งสังขาร 
สังขารไม่เท่ียง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา
นเี้ ปน็ โทษแหง่ สงั ขาร  การก�ำ จดั ฉนั ทราคะ การละฉนั ทราคะ
ในสงั ขารเสียได้ นเ้ี ป็นอุบายเครอ่ื งสลดั ออกแห่งสงั ขาร.

ภิกษุท้ังหลาย  ก็สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด
เหลา่ หนง่ึ รชู้ ดั แลว้ ซงึ่ สงั ขารอยา่ งนี้ … แลว้ ปฏบิ ตั เิ พอ่ื ความ

268

เปดิ ธรรมท่ีถกู ปดิ : จิต มโน วญิ ญาณ

เบอื่ หนา่ ย เพอ่ื ความคลายก�ำ หนดั เพอื่ ความดบั แหง่ สงั ขาร 
สมณะหรอื พราหมณเ์ หลา่ นนั้ ชอ่ื วา่ ปฏบิ ตั ดิ แี ลว้ ชนเหลา่ ใด
ปฏิบตั ดิ แี ลว้ ชนเหลา่ นั้นชอื่ ว่ายอ่ มหยงั่ ลงในธรรมวินยั นี.้

ภิกษุท้ังหลาย  ก็สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด
เหลา่ หนง่ึ รู้ชัดแล้วซ่ึงสังขารอย่างนี้ … แล้วเป็นผ้หู ลุดพ้น
เพราะเบอื่ หนา่ ย เพราะคลายก�ำ หนดั เพราะความดบั เพราะไม่
ถอื มนั่ ในสงั ขาร สมณะหรอื พราหมณเ์ หลา่ นนั้ ชอ่ื วา่ หลดุ พน้
ดแี ลว้ สมณะหรอื พราหมณเ์ หลา่ ใด หลดุ พน้ ดแี ลว้ … วฏั ฏะ
ยอ่ มไม่มีแกส่ มณะหรือพราหมณ์เหลา่ นน้ั .

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย  กว็ ญิ ญาณเปน็ อยา่ งไร  ภกิ ษทุ ง้ั หลาย 
หมแู่ ห่งวิญญาณ ๖ เหลา่ น้ี คือ จกั ขวุ ิญญาณ โสตวญิ ญาณ
ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ กายวิญญาณ มโนวิญญาณ 
ภกิ ษทุ งั้ หลาย  นเ้ี รยี กวา่ วญิ ญาณ ความเกดิ ขนึ้ แหง่ วญิ ญาณ
ย่อมมี เพราะความเกิดขึ้นแห่งนามรูป ความดับแห่ง
วิญญาณย่อมมี เพราะความดับแห่งนามรูป อริยมรรคอัน
ประกอบด้วยองค์ ๘ น้ีน่ันเอง เป็นข้อปฏิบัติให้ถึงความ
ดับแห่งวิญญาณ … สุขโสมนัสใดอาศัยวิญญาณเกิดขึ้น
น้เี ป็นคุณแหง่ วญิ ญาณ  วิญญาณไมเ่ ทีย่ ง เปน็ ทุกข์ มคี วาม
แปรปรวนเป็นธรรมดา น้ีเปน็ โทษแห่งวิญญาณ  การกำ�จดั
ฉันทราคะ การละฉันทราคะในวิญญาณเสียได้ น้ีเป็นอุบาย
เครือ่ งสลัดออกแห่งวญิ ญาณ.

269

พุทธวจน - หมวดธรรม

ภิกษุท้ังหลาย  ก็สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด
เหลา่ หนง่ึ รชู้ ดั แลว้ ซง่ึ วญิ ญาณอยา่ งน้ี รชู้ ดั แลว้ ซง่ึ ความเกดิ ขนึ้
แหง่ วญิ ญาณอยา่ งนี้ รชู้ ดั แลว้ ซง่ึ ความดบั แหง่ วญิ ญาณอยา่ งนี้
รชู้ ดั แลว้ ซง่ึ ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ หถ้ งึ ความดบั แหง่ วญิ ญาณอยา่ งน้ี รชู้ ดั
แลว้ ซง่ึ คณุ แหง่ วญิ ญาณอยา่ งน้ี รชู้ ดั แลว้ ซง่ึ โทษแหง่ วญิ ญาณ
อย่างน้ี รู้ชัดแล้วซ่ึงอุบายเคร่ืองสลัดออกแห่งวิญญาณ
อยา่ งน้ี แลว้ ปฏบิ ตั เิ พอ่ื ความเบอ่ื หนา่ ย เพอ่ื ความคลายก�ำ หนดั
เพ่ือความดับแห่งวิญญาณ  สมณะหรือพราหมณ์เหล่าน้ัน
ช่ือว่าปฏิบัติดีแล้ว ชนเหล่าใดปฏิบัติดีแล้ว ชนเหล่าน้ัน
ชอ่ื วา่ ยอ่ มหยง่ั ลงในธรรมวนิ ยั น.้ี

ภิกษุทั้งหลาย  ก็สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใด
เหลา่ หนง่ึ รชู้ ดั แลว้ ซง่ึ วญิ ญาณอยา่ งนี้ รชู้ ดั แลว้ ซง่ึ ความเกดิ ขนึ้
แหง่ วญิ ญาณอยา่ งนี้ รชู้ ดั แลว้ ซงึ่ ความดบั แหง่ วญิ ญาณอยา่ งนี้
รชู้ ดั แลว้ ซง่ึ ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ หถ้ งึ ความดบั แหง่ วญิ ญาณอยา่ งน้ี รชู้ ดั
แลว้ ซงึ่ คณุ แหง่ วญิ ญาณอยา่ งน้ี รชู้ ดั แลว้ ซงึ่ โทษแหง่ วญิ ญาณ
อย่างน้ี รู้ชัดแล้วซึ่งอุบายเคร่ืองสลัดออกแห่งวิญญาณ
อยา่ งน้ี แลว้ เปน็ ผหู้ ลดุ พน้ เพราะเบอ่ื หนา่ ย เพราะคลายก�ำ หนดั
เพราะความดับ เพราะไม่ถือมั่นในวิญญาณ สมณะหรือ
พราหมณเ์ หลา่ นนั้ ชอื่ วา่ หลดุ พน้ ดแี ลว้ สมณะหรอื พราหมณ์
เหลา่ ใด หลดุ พน้ ดแี ลว้ สมณะหรอื พราหมณเ์ หลา่ นน้ั เปน็ เกพลี
สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใดเป็นเกพลี วัฏฏะย่อมไม่มีแก่
สมณะหรือพราหมณเ์ หล่านั้น.

270

เปิดธรรมที่ถูกปดิ : จติ มโน วิญญาณ

ภิกษุท้ังหลาย  ก็ภิกษุเป็นผู้พิจารณาใคร่ครวญ
โดยวิธี ๓ ประการเป็นอย่างไร  ภิกษุในธรรมวินัยนี้ 
ยอ่ มพจิ ารณาใครค่ รวญโดยความเปน็ ธาตุ ยอ่ มพจิ ารณา
ใครค่ รวญโดยความเปน็ อายตนะ ยอ่ มพจิ ารณาใครค่ รวญ
โดยความเป็นปฏิจจสมุปบาท  ภิกษุทั้งหลาย  อย่างน้ีแล
ภกิ ษุยอ่ มเปน็ ผู้พิจารณาใครค่ รวญโดยวิธี ๓ ประการ.

ภิกษุท้ังหลาย  ภิกษุผู้ฉลาดในฐานะ ๗ ประการ
ผู้พิจารณาใคร่ครวญโดยวิธี ๓ ประการ เราเรียกว่าเกพลี
อยจู่ บกจิ แหง่ พรหมจรรย์ เปน็ อดุ มบรุ ษในธรรมวนิ ยั น้ี ดงั น.ี้

(ดูเพ่ิมเติมเก่ียวกับการพิจารณาโดยความเป็นอายตนะ และ
การพจิ ารณาโดยความเปน็ ธาตไุ ดท้ ห่ี นา้ 118 และ 198.  -ผรู้ วบรวม)

271

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี กู ปดิ : จิต มโน วิญญาณ
สัพเพ ธมั มา อนตั ตา (นยั ที่ ๑) 101

-บาลี ม.ู ม. ๑๒/๔๒๖/๓๙๖.

… ท่านพระโคดมผู้เจริญ  ทรงแนะนำ�สาวกท้ังหลายอย่างไร
และคำ�ส่ังสอนของท่านพระโคดมผู้เจริญ ท่ีเป็นไปในสาวกทั้งหลายโดย
สว่ นมากเป็นอยา่ งไร.

อคั คเิ วสสนะ  เราแนะน�ำ สาวกทงั้ หลายอยา่ งน้ี และ
ค�ำ สงั่ สอนของเราทเ่ี ปน็ ไปในสาวกทงั้ หลายโดยสว่ นมากเปน็
อย่างนี้ว่า รปู ไมเ่ ทีย่ ง เวทนาไม่เทยี่ ง สญั ญาไม่เทย่ี ง สังขาร
ท้ังหลายไม่เท่ียง วิญญาณไม่เท่ียง รูปเป็นอนัตตา เวทนา
เปน็ อนตั ตา สัญญาเป็นอนัตตา สงั ขารทั้งหลายเปน็ อนัตตา
วสงญิ ฺขญาราาณอเนปิจน็จาอ)น1ตั ธตรารมสงัทข้ังาหรลทาง้ั ยหทลั้งาปยวทงง้ั เปปว็นงอไมนเ่ัตทตย่ี าง  ((สสพพฺเเฺ พพ
ธมฺมา อนตตฺ า) ดังนี้  อัคคเิ วสสนะ  เราแนะนำ�สาวกทง้ั หลาย
อยา่ งนี้ และค�ำ สง่ั สอนของเราทเ่ี ปน็ ไปในสาวกทงั้ หลายโดย
สว่ นมากเป็นอยา่ งนี้.

ท่านพระโคดมผูเ้ จรญิ   ขออปุ มาจงแจ่มแจง้ แก่ข้าพเจ้า.

อคั คิเวสสนะ  อปุ มาน้นั จงแจม่ แจ้งแกท่ ่านเถิด.

ท่านพระโคดมผู้เจริญ เหมือนพืชพันธุ์ไม้เหล่าใดเหล่าหนึ่ง
ท่ีถึงความเจริญงอกงามไพบูลย์ พืชพันธ์ุเหล่าน้ันทั้งหมด ต้องอาศัย
แผ่นดิน ต้ังอยู่ในแผ่นดิน จึงจะถึงความเจริญงอกงามไพบูลย์ได้ หรือ

1. พระไตรปฎิ กฉบบั สยามรฐั ใชว้ า่ สพฺเพ สงขฺ ารา อนตตฺ า.  -ผรู้ วบรวม
272

เปิดธรรมทีถ่ ูกปดิ : จิต มโน วิญญาณ

เหมอื นการงานอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ ทต่ี อ้ งทำ�ดว้ ยกำ�ลงั อนั บคุ คลกระทำ�อยู่
การงานเหลา่ นนั้ ทงั้ หมด บคุ คลตอ้ งอาศยั แผน่ ดนิ ตอ้ งตง้ั อยบู่ นแผน่ ดนิ
จึงจะกระทำ�กันได้ ฉันใดก็ฉันนั้นเหมือนกัน ที่บุรุษบุคคลน้ี มีรูปเป็น
อตั ตา ตอ้ งดำ�รงอยใู่ นรปู จงึ จะประสบผลบญุ หรอื บาปได ้ บรุ ษุ บคุ คลน้ี
มเี วทนาเปน็ อตั ตา ตอ้ งดำ�รงอยใู่ นเวทนา จงึ จะประสบผลบญุ หรอื บาปได ้
บรุ ษุ บคุ คลนี้ มสี ญั ญาเปน็ อตั ตา ตอ้ งดำ�รงอยใู่ นสญั ญา จงึ จะประสบผลบญุ
หรือบาปได้  บุรุษบุคคลน้ี มีสังขารเป็นอัตตา ต้องดำ�รงอยู่ในสังขาร
จึงจะประสบผลบุญหรือบาปได้  บุรุษบุคคลนี้ มีวิญญาณเป็นอัตตา
ตอ้ งดำ�รงอย่ใู นวิญญาณ จงึ จะประสบผลบุญหรือบาปได้.

อัคคิเวสสนะ  ท่านกล่าวอย่างน้ีว่า รูปเป็นอัตตา
ของเรา เวทนาเป็นอัตตาของเรา สัญญาเป็นอัตตาของเรา
สงั ขารทง้ั หลายเปน็ อตั ตาของเรา วญิ ญาณเปน็ อตั ตาของเรา
ใชไ่ หม.

ท่านพระโคดมผู้เจริญ  ข้าพเจ้ากล่าวอย่างน้ันจริง และหมู่ชน
เป็นอันมากก็กล่าวอย่างนั้นว่า รูปเป็นอัตตาของเรา เวทนาเป็นอัตตา
ของเรา สัญญาเป็นอัตตาของเรา สังขารท้ังหลายเป็นอัตตาของเรา
วิญญาณเป็นอตั ตาของเรา.

อัคคิเวสสนะ  หมู่ชนเป็นอันมากน้ันจะช่วยอะไร
ท่านได้  อัคคิเวสสนะ  เชิญท่านยืนยันถอ้ ยคำ�ของท่านเถดิ .

ท่านพระโคดมผู้เจริญ  เป็นความจริง ข้าพเจ้ากล่าวอย่างน้ีว่า
รูปเป็นอัตตาของเรา เวทนาเป็นอัตตาของเรา สัญญาเป็นอัตตาของเรา
สังขารทั้งหลายเปน็ อตั ตาของเรา วิญญาณเปน็ อตั ตาของเรา ดงั น้ี.

273

พุทธวจน - หมวดธรรม

อคั คเิ วสสนะ  ถา้ อยา่ งนน้ั เราจกั สอบถามทา่ นในขอ้ น้ี
แหละ ทา่ นเหน็ ควรอยา่ งไร ทา่ นจงตอบอยา่ งนน้ั  อคั คเิ วสสนะ 
ท่านจะสำ�คัญความข้อนั้นว่าอย่างไร อำ�นาจของพระราชา
มหากษัตริย์ผู้ได้มุรธาภิเษกแล้ว เช่น พระเจ้าปเสนทิโกศล
หรือพระเจ้าอชาตศัตรูเวเทหิบุตรแห่งมคธ มีอำ�นาจที่จะ
ฆ่าคนที่ควรฆ่า ริบทรัพย์คนที่ควรริบทรัพย์ เนรเทศคนท่ี
ควรเนรเทศ ซ่ึงสามารถกระทำ�ได้ในพระราชอาณาเขตของ
พระองคใ์ ชไ่ หม.

ท่านพระโคดมผู้เจริญ  อำ�นาจของพระราชามหากษัตริย์ผ้ไู ด้
มรุ ธาภเิ ษกแลว้ เชน่ พระเจา้ ปเสนทโิ กศล หรอื พระเจา้ อชาตศตั รเู วเทหบิ ตุ ร
แห่งมคธ มีอำ�นาจที่จะฆ่าคนท่ีควรฆ่า ริบทรัพย์คนที่ควรริบทรัพย์
เนรเทศคนที่ควรเนรเทศ ซึ่งสามารถกระทำ�ได้ในพระราชอาณาเขต
ของพระองค์ แม้แต่อำ�นาจของหมู่คณะผู้ปกครองเหล่านี้ คือ เจ้าวัชชี
เจ้ามัลละ ก็มีอำ�นาจที่จะฆ่าคนท่ีควรฆ่า ริบทรัพย์คนที่ควรริบทรัพย์
เนรเทศคนท่ีควรเนรเทศ ซ่ึงสามารถกระทำ�ได้ในแว่นแคว้นของตนๆ
ทำ�ไมพระราชามหากษตั รยิ ผ์ ไู้ ดม้ รุ ธาภเิ ษกแลว้ เชน่ พระเจา้ ปเสนทโิ กศล
หรอื พระเจา้ อชาตศตั รเู วเทหบิ ตุ รแหง่ มคธ จะไมม่ อี ำ�นาจเลา่ อำ�นาจเชน่ นน้ั
ของพระราชามหากษัตริย์ผู้ได้มุรธาภิเษกแล้วนั้น ต้องเป็นไปได้ด้วย
และควรจะเปน็ ไปไดด้ ว้ ย.

อัคคิเวสสนะ  ท่านจะสำ�คัญความข้อน้ันว่าอย่างไร
ข้อที่ท่านกล่าวว่า รูปเป็นอัตตาของเรา อำ�นาจของท่าน

274

เปิดธรรมที่ถูกปิด : จิต มโน วญิ ญาณ

เป็นไปในรูปน้ันว่า ขอรูปของเราจงเป็นอย่างน้ีเถิด อย่าได้
เป็นอยา่ งนน้ั เลย อยา่ งน้ีหรอื .

ข้อนเ้ี ปน็ ไปไมไ่ ด้เลย ท่านพระโคดมผูเ้ จรญิ .

อัคคิเวสสนะ  ท่านจงทำ�ไว้ในใจเถิด คร้ันทำ�ไว้ใน
ใจแล้ว จึงค่อยตอบ เพราะคำ�หลังกับคำ�ก่อน หรือคำ�ก่อน
กับคำ�หลังของท่านไม่ตรงกัน  อัคคิเวสสนะ  ท่านจะสำ�คัญ
ความขอ้ นน้ั วา่ อยา่ งไร ทา่ นกลา่ วอยา่ งนวี้ า่ เวทนาเปน็ อตั ตา
ของเรา … สญั ญาเป็นอัตตาของเรา … สังขารทั้งหลายเป็น
อตั ตาของเรา … วญิ ญาณเปน็ อตั ตาของเรา อ�ำ นาจของทา่ น
เปน็ ไปในวญิ ญาณนน้ั วา่ ขอวญิ ญาณของเราจงเปน็ อยา่ งนเ้ี ถดิ
อย่าได้เปน็ อยา่ งนน้ั เลย อยา่ งนห้ี รอื .

ขอ้ นีเ้ ป็นไปไม่ไดเ้ ลย ทา่ นพระโคดมผเู้ จรญิ .

อัคคิเวสสนะ  ท่านจงทำ�ไว้ในใจเถิด ครั้นทำ�ไว้ใน
ใจแล้ว จึงค่อยตอบ เพราะคำ�หลังกับคำ�ก่อน หรือคำ�ก่อน
กับคำ�หลังของท่านไม่ตรงกัน  อัคคิเวสสนะ  ท่านจะสำ�คัญ
ความข้อนั้นว่าอย่างไร รูป เวทนา สัญญา สังขารทั้งหลาย
และวิญญาณ เท่ียงหรือไมเ่ ท่ยี ง.

ไมเ่ ท่ียง ท่านพระโคดมผเู้ จรญิ .

275

พทุ ธวจน - หมวดธรรม

กส็ ่งิ ใดไม่เทยี่ ง ส่ิงนัน้ เป็นทุกข์หรอื เป็นสุขเลา่ .

สงิ่ นัน้ เปน็ ทุกข์ ท่านพระโคดมผู้เจรญิ .

ก็ส่ิงใดไม่เท่ียง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็น
ธรรมดา ควรแลว้ หรอื ทจ่ี ะตามเหน็ สง่ิ นน้ั วา่ นน่ั ของเรา (เอต มม)
นน่ั เปน็ เรา (เอโสหมสมฺ )ิ นนั่ เปน็ ตวั ตนของเรา (เอโส เม อตตฺ า).

ข้อนน้ั ไมค่ วรเลย ท่านพระโคดมผู้เจรญิ .

อัคคิเวสสนะ  ท่านจะสำ�คัญความข้อน้ันว่าอย่างไร
ผู้ใดติดทุกข์ เข้าถึงทุกข์ กล้ำ�กลืนทุกข์อยู่แล้ว แต่ก็ยังตาม
เห็นทุกข์ว่า นั่นของเรา น่ันเป็นเรา นั่นเป็นตัวตนของเรา
ดงั น้ี ผนู้ น้ั จะก�ำ หนดรทู้ กุ ขไ์ ดเ้ อง หรอื จะท�ำ ทกุ ขใ์ หส้ นิ้ ไปได้
มอี ยู่บา้ งไหม.

จะพึงมไี ดอ้ ย่างไร ขอ้ น้ีมไี ม่ไดเ้ ลย ทา่ นพระโคดมผู้เจรญิ .

อัคคิเวสสนะ  ท่านจะสำ�คัญความข้อน้ันว่าอย่างไร
เม่ือเป็นเช่นน้ี ตัวท่านเองก็ติดทุกข์ เข้าถึงทุกข์ กลำ้�กลืน
ทุกขอ์ ยู่แล้ว แตก่ ็ยังตามเห็นทุกข์ว่า นนั่ ของเรา นั่นเปน็ เรา
น่นั เป็นตวั ตนของเรา เปน็ อยา่ งน้ใี ช่ไหม.

จะไมเ่ ปน็ อยา่ งนน้ั ไดอ้ ยา่ งไร ขอ้ นย้ี อ่ มเปน็ อยา่ งนน้ั ทา่ นพระโคดม
ผเู้ จรญิ . …

276

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทีถ่ กู ปดิ : จติ มโน วญิ ญาณ

สพั เพ ธมั มา อนัตตา (นยั ท่ี ๒) 102

-บาลี ตกิ . อ.ํ ๒๐/๓๖๘/๕๗๖.

ภิกษุท้ังหลาย  เพราะเหตุท่ีตถาคตจะบังเกิดขึ้น
กต็ าม จะไมบ่ งั เกดิ ขน้ึ กต็ าม ธาตนุ น้ั ยอ่ มตง้ั อยแู่ ลว้ นน่ั เทยี ว
คือ ความตั้งอยู่ตามธรรมดา (ธมฺมฏฺิตตา)  ความเป็นกฎ
ตายตวั ตามธรรมดา (ธมมฺ นยิ ามตา)  ความทส่ี งั ขารทง้ั หลาย
ทง้ั ปวงไมเ่ ทย่ี ง (สพเฺ พ สงขฺ ารา อนจิ จฺ า) ตถาคตยอ่ มรพู้ รอ้ มเฉพาะ
ย่อมถึงพร้อมเฉพาะ ซ่ึงธาตุน้ัน  คร้ันรู้พร้อมเฉพาะแล้ว
ถึงพร้อมเฉพาะแล้ว ย่อมบอก ย่อมแสดง ย่อมบัญญัติ
ยเขอ่ า้ มใจตไั้งดขง้้นึ า่ ไยวว้ ่าย1่อมสเังปขดิ าเรผทยงั้ หยล่อามยจทำ�แงั้ นปกวงแไจมกเ่แทจีย่ งงย. ่อมทำ�ให้

ภิกษุทั้งหลาย  เพราะเหตุที่ตถาคตจะบังเกิดข้ึน
กต็ าม จะไมบ่ งั เกดิ ขนึ้ กต็ าม ธาตนุ นั้ ยอ่ มตงั้ อยแู่ ลว้ นนั่ เทยี ว
คือ ความตั้งอยู่ตามธรรมดา  ความเป็นกฎตายตัวตาม
ธรรมดา  ความท่ีสังขารท้ังหลายทั้งปวงเป็นทุกข์ (สพฺเพ
สงขฺ ารา ทกุ ขฺ า) ตถาคตยอ่ มรพู้ รอ้ มเฉพาะ ยอ่ มถงึ พรอ้ มเฉพาะ
ซ่ึงธาตุน้ัน คร้ันรู้พร้อมเฉพาะแล้ว ถึงพร้อมเฉพาะแล้ว
ยอ่ มบอก ยอ่ มแสดง ยอ่ มบญั ญตั ิ ยอ่ มตง้ั ขนึ้ ไว้ ยอ่ มเปดิ เผย
ยอ่ มจ�ำ แนกแจกแจง ยอ่ มท�ำ ใหเ้ ขา้ ใจไดง้ า่ ยวา่ สงั ขารทง้ั หลาย
ทง้ั ปวงเปน็ ทกุ ข.์

1. ประโยคน้ี มาจากคำ�บาลีท่ีว่า อุตฺตานีกโรติ ซ่ึงมีสำ�นวนแปลอย่างอ่ืนอีก เช่น
ทำ�ใหเ้ ปน็ เหมอื นการหงายของทค่ี วำ่ �.  -ผรู้ วบรวม
277

พุทธวจน - หมวดธรรม

ภิกษุทั้งหลาย  เพราะเหตุที่ตถาคตจะบังเกิดข้ึน
กต็ าม จะไมบ่ งั เกดิ ขนึ้ กต็ าม ธาตนุ น้ั ยอ่ มตงั้ อยแู่ ลว้ นนั่ เทยี ว
คือ ความต้งั อย่ตู ามธรรมดา  ความเป็นกฎตายตัวตาม
ธรรมดา  ความทธ่ี รรมทง้ั หลายทง้ั ปวงเปน็ อนตั ตา (สพเฺ พ
ธมมฺ า อนตตฺ า) ตถาคตยอ่ มรพู้ รอ้ มเฉพาะ ยอ่ มถงึ พรอ้ มเฉพาะ
ซง่ึ ธาตนุ น้ั ครน้ั รพู้ รอ้ มเฉพาะแลว้ ถงึ พรอ้ มเฉพาะแลว้ ยอ่ มบอก
ย่อมแสดง ย่อมบัญญัติ ย่อมต้ังขึ้นไว้ ย่อมเปิดเผย ย่อม
จำ�แนกแจกแจง ย่อมทำ�ให้เข้าใจได้ง่ายว่า ธรรมทง้ั หลาย
ทง้ั ปวงเปน็ อนตั ตา.

(อกี สตู รหนงึ่ -บาลี นทิ าน. ส.ํ ๑๖/๓๐/๖๑. ไดต้ รสั วา่ เพราะเหตุ
ทต่ี ถาคตจะบงั เกดิ ขนึ้ กต็ าม จะไมบ่ งั เกดิ ขนึ้ กต็ าม ธาตนุ น้ั ยอ่ มตงั้ อยแู่ ลว้
นั่นเทียว คือ ความต้ังอยู่ตามธรรมดา (ธมฺมฏฺิตตา)  ความเป็นกฎ
ตายตวั ตามธรรมดา (ธมมฺ นยิ ามตา)  ความทเี่ มอ่ื มสี งิ่ นส้ี งิ่ นเี้ ปน็ ปจั จยั
ส่ิงน้ีส่ิงนี้จึงเกิดข้ึน (อิทปฺปจฺจยตา) ซ่ึงธรรมะในพระสูตรนี้ พระองค์
ตรัสหมายถึงปฏิจจสมุปบาท และมีการลงรายละเอียดในแต่ละคู่อาการ
โดยเริ่มจาก เพราะมีชาติเป็นปัจจัย จึงมีชรามรณะ ไปจนถึง เพราะมี
อวชิ ชาเป็นปจั จัย จึงมีสังขารทั้งหลาย ผอู้ า่ นสามารถศกึ ษาเพิม่ เตมิ ได้ที่
เนอื้ ความเตม็ ของพระสตู ร หรอื หนงั สอื พทุ ธวจน-หมวดธรรม ฉบบั ที่ ๑๔
ตถาคต หนา้ ๒๐.  -ผู้รวบรวม)

278

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถูกปดิ : จติ มโน วิญญาณ

ธรรมทงั้ หลายทั้งปวง 103
อันใครๆ ไมค่ วรยึดม่ันถอื มน่ั

-บาลี สฬา. ส.ํ ๑๘/๖๒/๙๖.

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ  ธรรมอย่างหน่ึงซ่ึงเมื่อภิกษุละได้แล้ว
ย่อมละอวิชชาได้ วิชชายอ่ มเกดิ ข้นึ มอี ยหู่ รอื ไม่หนอ พระเจา้ ข้า.

ภกิ ษ ุ ธรรมอยา่ งหนง่ึ ซง่ึ เมอื่ ภกิ ษลุ ะไดแ้ ลว้ ยอ่ มละ
อวชิ ชาได้ วชิ ชาย่อมเกิดข้นึ มอี ยู่.

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ  ธรรมอย่างหน่ึงซึ่งเม่ือภิกษุละได้แล้ว
ยอ่ มละอวิชชาได้ วิชชายอ่ มเกดิ ขึน้ เป็นอยา่ งไร พระเจา้ ขา้ .

ภกิ ษ ุ ธรรมอยา่ งหนง่ึ คอื อวชิ ชาแล ซงึ่ เมอื่ ภกิ ษุ
ละได้แล้ว ยอ่ มละอวิชชาได้ วชิ ชาย่อมเกิดขนึ้ .

ขา้ แตพ่ ระองค์ผเู้ จรญิ   ก็เม่ือภกิ ษรุ ู้อยอู่ ย่างไร เห็นอยอู่ ยา่ งไร
จึงละอวิชชาได ้ วิชชาจงึ จะเกิดข้ึน พระเจา้ ข้า.

ภิกษุ  ภิกษุในกรณีน้ีได้สดับว่า ธรรมทั้งหลาย
ทง้ั ปวงอนั ใครๆ ไมค่ วรยดึ มน่ั ถอื มน่ั  (สพเฺ พ ธมมฺ า นาลํ อภนิ เิ วสาย)
ครั้นเธอได้สดับว่า  ธรรมทั้งหลายท้ังปวงอันใครๆ ไม่ควร
ยึดมั่นถือมั่นอย่างน้ีแล้ว เธอนั้นย่อมรู้ยิ่งซึ่งธรรมท้ังปวง 
ครั้นรู้ยิ่งซึ่งธรรมท้ังปวงแล้ว ย่อมรอบรู้ซึ่งธรรมทั้งปวง 
คร้ันรอบรู้ซึ่งธรรมทั้งปวงแล้ว ย่อมเห็นนิมิตของสิ่งทั้งปวง
โดยประการอ่นื คือ ยอ่ มเห็นจกั ษุโดยประการอ่นื ย่อมเห็น
รูปโดยประการอ่ืน ย่อมเห็นจักษุวิญญาณโดยประการอ่ืน

279

พุทธวจน - หมวดธรรม

ย่อมเห็นจักษุสัมผัสโดยประการอ่ืน  ย่อมเห็นสุขเวทนา
ทกุ ขเวทนา หรอื อทกุ ขมสขุ เวทนา ทเ่ี กดิ ขน้ึ เพราะจกั ษสุ มั ผสั
เปน็ ปัจจัย โดยประการอนื่ .

ยอ่ มเหน็ โสตะ … เสยี ง … โสตวญิ ญาณ … โสตสมั ผสั
… สุขเวทนา ทุกขเวทนา หรืออทุกขมสุขเวทนา ท่ีเกิดข้ึน
เพราะโสตสมั ผสั เปน็ ปจั จยั โดยประการอน่ื .

ยอ่ มเหน็ ฆานะ … กลน่ิ … ฆานวญิ ญาณ … ฆานสมั ผสั
… สุขเวทนา ทุกขเวทนา หรืออทุกขมสุขเวทนา ท่ีเกิดข้ึน
เพราะฆานสมั ผสั เปน็ ปจั จยั โดยประการอน่ื .

ยอ่ มเหน็ ชวิ หา … รส … ชวิ หาวญิ ญาณ … ชวิ หาสมั ผสั
… สุขเวทนา ทุกขเวทนา หรืออทุกขมสุขเวทนา ท่ีเกิดข้ึน
เพราะชวิ หาสมั ผสั เปน็ ปจั จยั โดยประการอน่ื .

ยอ่ มเหน็ กาย…โผฏฐพั พะ…กายวญิ ญาณ…กายสมั ผสั
… สุขเวทนา ทุกขเวทนา หรืออทุกขมสุขเวทนา ท่ีเกิดข้ึน
เพราะกายสมั ผสั เปน็ ปจั จยั โดยประการอน่ื .

ย่อมเห็นมโนโดยประการอ่ืน ย่อมเห็นธรรมโดย
ประการอน่ื ยอ่ มเหน็ มโนวญิ ญาณโดยประการอน่ื ยอ่ มเหน็
มโนสัมผัสโดยประการอ่นื ย่อมเห็นสุขเวทนา ทุกขเวทนา
หรืออทุกขมสุขเวทนา ท่เี กิดข้นึ เพราะมโนสัมผัสเป็นปัจจัย
โดยประการอน่ื .

ภกิ ษ ุ เม่อื ภกิ ษรุ ู้อย่อู ยา่ งนี้ เห็นอยูอ่ ยา่ งนแ้ี ล จงึ ละ
อวิชชาได้ วิชชาจงึ จะเกดิ ขน้ึ .

280

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ ูกปิด : จิต มโน วิญญาณ

อตั ตามี หรือ อัตตาไม่มี 104

-บาลี สฬา. ส.ํ ๑๘/๔๘๖/๘๐๑.

ปรพิ พาชกวจั ฉโคตรเขา้ ไปทลู ถามพระผมู้ พี ระภาควา่ อตั ตามหี รอื
ทรงนิ่งเสีย  ทูลถามว่า อัตตาไม่มีหรือ ก็ทรงนิ่งเสีย ปริพพาชกนั้นได้
ลุกหลีกไป  ท่านอานนท์กราบทูลถามถึงเหตุที่ทรงนิ่งเสีย พระองค์ได้
ตรสั ตอบดังน้ีวา่ .

อานนท์  เม่ือเราถูกวัจฉโคตรปริพพาชกถามว่า
อตั ตามหี รอื  (อตถฺ ตตฺ าต)ิ ถา้ ตอบวา่ อตั ตามี กจ็ ะไปตรงกนั กบั
ความเชอ่ื ของสมณพราหมณบ์ างพวกทเ่ี ปน็ สสั สตทฏิ ฐ ิ เมอ่ื
ถกู ถามว่า อัตตาไมม่ หี รอื  (นตถฺ ตฺตาติ) ถ้าตอบวา่ อตั ตาไมม่ ี
ก็จะไปตรงกันกับความเช่ือของสมณพราหมณ์บางพวก
ท่ีเปน็ อจุ เฉททฏิ ฐเิ ข้าอีก.

อานนท์  ถ้าตอบว่า อัตตามี มันจะเป็นการอนุโลม
เพอื่ ใหเ้ กดิ ญาณวา่ ธรรมทงั้ หลายทง้ั ปวงเปน็ อนตั ตา (สพเฺ พ
ธมมฺ า อนตตฺ า) ดังนบี้ ้างไหม.

ข้อนนั้ หาไมไ่ ด้ พระเจา้ ขา้ .

อานนท์  ถา้ ตอบว่า อตั ตาไม่มี ก็จะทำ�ใหว้ ัจฉโคตร
ปรพิ พาชกผหู้ ลงใหลอยแู่ ลว้ ถงึ ความงงงวยหนกั ยง่ิ ขน้ึ ไปอกี วา่
เมอ่ื กอ่ นอตั ตาของเราไดม้ แี ลว้ แนน่ อน แตต่ อนนก้ี ลายเปน็ วา่
อตั ตานน้ั ไมม่ ี ดงั น.้ี

281

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี กู ปดิ : จติ มโน วิญญาณ

อัตถิตาและนัตถติ า 105

-บาลี นทิ าน. ส.ํ ๑๖/๒๑/๔๓.

ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ   ทกี่ ลา่ วกนั วา่ สมั มาทฏิ ฐิ สมั มาทฏิ ฐิ ดงั นี้
อันว่าสมั มาทฏิ ฐิ ย่อมมีไดด้ ้วยเหตุเพียงเท่าไร พระเจ้าข้า.

กจั จานะ  สตั วโ์ ลกน้ี อาศยั แลว้ ซง่ึ สว่ นสดุ ทง้ั สอง
โดยมาก คอื สว่ นสดุ วา่ อตั ถติ า (ความม)ี และสว่ นสดุ วา่ นตั ถติ า 

(ความไม่มี).

กัจจานะ  ส่วนสุดว่า นัตถิตา ย่อมไม่มีแก่บุคคล
ผู้เห็นอยู่ด้วยปัญญาอันชอบตามที่เป็นจริง  ซึ่งธรรมคือ
เหตุให้เกดิ ขนึ้ แหง่ โลก.

กัจจานะ  ส่วนสุดว่า อัตถิตา ย่อมไม่มีแก่บุคคล
ผู้เห็นอยู่ด้วยปัญญาอันชอบตามที่เป็นจริง  ซึ่งธรรมคือ
ความดับไม่เหลือแหง่ โลก.

กัจจานะ  สัตว์โลกนี้โดยมาก ถูกผูกพันแล้วด้วย
ตัณหา ด้วยอุปาทาน ด้วยทิฏฐิ (อุปายุปาทานาภินิเวสวินิพนฺโธ)
แตอ่ ริยสาวกนี้ ไมเ่ ข้าถึง ไม่ถอื เอา ไม่ถงึ ทบั ซง่ึ ตณั หาและ
อปุ าทาน อนั เปน็ เครอื่ งถงึ ทบั แหง่ ใจ อนั เปน็ อนสุ ยั แหง่ ทฏิ ฐิ
ว่า อัตตาของเราดังน้ี ย่อมไม่สงสัย ย่อมไม่ลังเลในข้อที่ว่า
เมื่อจะเกิด ทุกข์เท่านั้นย่อมเกิดขึ้น เม่ือจะดับ ทุกข์เท่าน้ัน

282


Click to View FlipBook Version