The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา สพป พิษณุโลก สำหรับประถมศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kodwimol, 2021-09-10 21:03:46

คู่มือจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา สพป พิษณุโลก สำหรับประถมศึกษา

คู่มือจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา สพป พิษณุโลก สำหรับประถมศึกษา

คูม อื หลักสูตรสถานศึกษา
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
ฉบบั ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ ๑ - ๖

องคป ระกอบท่ี ๑ สว นนำ
องคประกอบท่ี ๒ โครงสรางหลกั สตู ร
องคป ระกอบท่ี ๓ คำอธบิ ายรายวชิ า
องคประกอบท่ี ๔ กิจกรรมพัฒนาผูเ รียน
องคป ระกอบท่ี ๕ เกณฑการจบการศึกษา

กลมุ นิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา
สำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพิษณโุ ลก เขต ๑
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ

คูม อื
การจดั ทำหลกั สตู รสถานศึกษา
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน

พทุ ธศกั ราช 2551

(ระดับประถมศกึ ษาปท ี่ 1-6)

องคประกอบที่ 1 สว นนํา
องคประกอบท่ี 2 โครงสรางหลักสูตรสถานศึกษา
องคประกอบท่ี 3 คำอธิบายรายวิชา
องคประกอบที่ 4 กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น
องคประกอบท่ี 5 เกณฑการจบการศกึ ษา

กลมุ งานพฒั นาหลักสูตรการศึกษาขน้ั พื้นฐานและกระบวนการเรียนรู
กลุมนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจดั การศึกษา

สำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพิษณโุ ลกเขต 1
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

คำนำ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 ไดมีการพัฒนาคูมือการจัดทำ
หลักสูตรสถานศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551และมาตรฐานการเรียนรู
และตวั ช้ีวดั กลมุ สาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร วทิ ยาศาสตร และสาระภูมิศาสตร ในกลุมสาระการเรยี นรสู ังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) เพื่อใหสถานศึกษาไดนำไปใชเปนกรอบและทิศทางในการ
พัฒนาหลักสูตร และการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนไทยทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ใหมีคุณภาพดานความรู และทักษะที่จำเปนสำหรับใชเปนเครื่องมือในการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง
และแสวงหาความรูเพื่อพัฒนาตนเองอยา งตอเนอ่ื งตลอดชวี ติ
การจดั ทำคูมอื หลกั สตู รสถานศกึ ษาในครัง้ น้ี จดั ทำเปน 2 ระดบั คอื ระดับประถมศึกษาปท ี่ 1-6
และระดับมัธยมศึกษาปที่ 1-6 ภายในคูมือการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา จะอธิบายถึง องคประกอบการจัดทำ
หลักสูตรสถานศึกษา ครบทั้ง 5 องคประกอบ องคประกอบที่ 1 สวนนำองคประกอบที่ 2 โครงสรางหลักสูตร
สถานศึกษาองคประกอบที่ 3 คำอธิบายรายวิชาองคประกอบที่ 4 กิจกรรมพัฒนาผูเรียนและองคประกอบที่ 5
เกณฑการจบการศกึ ษา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 ขอขอบพระคุณ ผูอำนวยการ
สำนักงานเขตพื้นที่ฯ รองผูอำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่ฯ ผูอำนวยการกลุมงานทุกกลุมงาน คณะศึกษานิเทศก
ผูอำนวยการโรงเรียน รองผูอำนวยการโรงเรียน และคณะทำงานในการพัฒนาคูมือการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา
ใหไดขอมูลที่ถูกตอง สามารถนำไปวางแผนพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 เพื่อใหการดำเนินการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษามีมาตรฐาน และเปนไป
ในทางเดียวกัน มีความนาเชื่อถือ ถูกตอง ตรงตามความตองการในการพัฒนาผูเรียนอยางแทจริง นำไปใชในการ
วางแผนปรบั ปรุงและพัฒนาหลกั สูตรของสถานศึกษาตอ ไป

กชวิมล ไชยะโสดา
กลุมงานพัฒนาหลักสตู รการศึกษาขัน้ พนื้ ฐานและกระบวนการเรยี นรู

กลมุ นเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาพิษณุโลกเขต 1

สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาพษิ ณโุ ลก เขต 1 ก

สารบญั หนา
เร่ือง ก
คำนำ ................................................................................................................................................. ข
สารบัญ ................................................................................................................................................. 8
ตอนท่ี 1 องคป ระกอบท่ี 1 สวนนำ………………………………………………………………………………………...
12
ความนำ................................................................................................................................... 13
วสิ ัยทศั นข องสถานศึกษา…………………………………………………………………………………………….. 13
สมรรถนะสำคญั ของผูเรยี น..……………………………………………………………………………………….. 14
คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค..………………………………………………………………………………………… 19
ตอนท่ี 2 องคป ระกอบที่ 2 โครงสรา งหลกั สตู รสถานศกึ ษา………………………………………………………. 21
โครงสรางเวลาเรยี น…………………………………………………………………………………………………… 22
โครงสรา งหลักสูตรชัน้ ป……………………………………………………………………………………………… 29
มาตรฐานการเรยี นรแู ละตัวชว้ี ดั และลักษณะตวั ชีว้ ัด……………………………………………………… 38
ตอนท่ี 3 องคป ระกอบที่ 3 คำอธบิ ายรายวชิ า…………………………………………………………….………….. 45
รายวชิ าพน้ื ฐาน 53
กลมุ สาระการเรยี นรูภาษาไทย……………………………………………………………………………………. 62
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร............................................................................................ 74
กลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลย…ี ………………………………………………………... 88
กลุมสาระการเรียนรสู งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม…………………………………………………. 96
กลุมสาระการเรยี นรสู ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา…………………………………………………………………… 109
กลมุ สาระการเรยี นรศู ลิ ปะ………………………………………………………………………………………..... 117
กลมุ สาระการเรียนรกู ารงานอาชีพ………………………………………………………………………………. 127
กลุมสาระการเรยี นรูภาษาตางประเทศ.................................................................................... 136
รายวชิ าเพมิ่ เตมิ 149
วิชาภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร………………………………………………………………………………….. 156
วิชาหนา ที่พลเมอื ง……………………………………………………………………………………………………… 164
วิชาพทุ ธศาสนา…………………………………………………………………………………………………………. 166
วชิ าการปองกันการทจุ รติ ........................................................................................................ 173
กิจกรรมพัฒนาผเู รยี น 176
กิจกรรมแนะแนว…….………………………………………………………………………………………………… 178
กิจกรรมนกั เรยี น………………………………………………………………………………………………………… 181
กิจกรรมชมุ นมุ …………………………………………………………………………………………………………… 181
กิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน… …………………………………………………………………… 184
ตอนท่ี 4 องคป ระกอบท่ี 4 กจิ กรรมพัฒนาผเู รยี น………………………………………….………………………...
กิจกรรมแนะแนว………………………………………………………………………………………………………..
กจิ กรรมนกั เรยี น………………………………………………………………………………………………………...
กิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน… ……………………………………………………………………

สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาพษิ ณโุ ลก เขต 1 ข

สารบัญ (ต่อ) หนา
เรื่อง 186
ตอนที่ 5 องคป ระกอบท่ี 5 เกณฑการจบการศึกษา………………………………………………………………..... 187
190
การวดั และประเมินผลการเรยี นร…ู …………………………………………………………………………….... 192
เกณฑก ารวัดและประเมนิ ผลการเรยี น………………………………………………………………………….. 194
เอกสารหลักฐานการศึกษา………………………………………………………………………………………….. 195
การเทยี บโอนผลการเรียน…………………………………………………………………………………………… 196
ตอนที่ 6 การตรวจสอบองคประกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา………………………………………………..……….. 205
แบบตรวจสอบองคป ระกอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา……………………………………………………….....
สรปุ ผลการตรวจสอบภาพรวมองคประกอบหลักสตู รสถานศกึ ษา……………………………………..
บรรณานกุ รม
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก ตัวอยางปกหลกั สตู รสถานศึกษา
ภาคผนวก ข ตวั อยางประกาศโรงเรียนเรือ่ งใหใชห ลักสตู ร
ภาคผนวก ค ตัวอยา งคำนำ
ภาคผนวก ง ตวั อยางสารบญั
ภาคผนวก จ ตัวอยา งคำสัง่ แตง ตั้งคณะกรรมการบริหารหลกั สตู รและงานวิชาการ
ภาคผนวก ฉ ตัวอยา งคำส่ังแตงต้ังคณะกรรมการดําเนินงานวิชาการ
ภาคผนวก ช คำสงั่ และประกาศท่ีเกย่ี วขอ ง

สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพษิ ณุโลก เขต 1 ค

สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาพิษณุโลก เขต 1

กระบวนการพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษา

แตงต้งั คณะกรรมการบริหารหลกั สตู รและงานวชิ าการของสถานศึกษา

แตงตั้งคณะกรรมการดำเนินงานวิชาการ

ศกึ ษา วเิ คราะหห ลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551
กรอบหลกั สตู รระดบั ทองถ่นิ และเอกสารประกอบหลักสตู รตา งๆรวมท้งั ขอมูล
สารสนเทศเกี่ยวกบั สภาพปญ หา จดุ เนน ความตองการของสถานศกึ ษา
ผเู รยี น และชมุ ชน

จดั ทำ หลกั สตู รสถานศึกษา ซง่ึ มอี งคป ระกอบสำคัญ ดงั น้ี สว นนำ โครงสราง
หลกั สูตรสถานศกึ ษา คำอธบิ ายรายวิชา เกณฑก ารวัดและประเมนิ ผล
และเกณฑก ารจบการศกึ ษา

ตรวจสอบองคประกอบหลักสตู รสถานศึกษา โดยพจิ ารณาคุณภาพ ความถกู ตอ ง
และความเหมาะสม

นำเสนอคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพนื้ ฐานพิจารณาใหความเห็นชอบ
หากมขี อเสนอแนะจากคณะกรรมการ ใหนำขอเสนอแนะไปพจิ ารณาปรบั ปรงุ
กอ นการอนมุ ัติใชหลกั สูตร

จัดทำเปนประกาศหรอื คำส่ังเรอื่ งใหใ ชหลักสูตรสถานศึกษา โดยผูบริหาร
สถานศึกษาและประธานกรรมการสถานศกึ ษาเปน ผูลงนาม หรอื ผบู รหิ าร
สถานศกึ ษาเปน ผลู งนาม

ใชห ลกั สตู รสถานศึกษา ครผู สู อนนำหลกั สตู รสถานศกึ ษาไปกำหนดโครงสรา ง
รายวชิ า และออกแบบหนว ยการเรียนรูเพ่ือพัฒนาผูเรียนใหมคี ุณภาพตาม
เปา หมาย

วจิ ัยและตดิ ตามผลการใชหลักสตู ร ดำเนนิ การติดตามผลการใชห ลกั สูตรอยา ง
ตอ เนื่องเปน ระยะๆ เพอ่ื นำผลจากการตดิ ตามมาใชเ ปน ขอมูลพิจารณาปรบั ปรุง
หลักสูตรใหมคี ุณภาพ และมคี วามเหมาะสมยิ่งขนึ้

ปรบั ปรุงพัฒนา

ตอนท่ี 1
องคประกอบท่1ี สวนนำ

ตอนท่ี 1
องคประกอบที่ 1

องคป ระกอบหลกั สตู รสถานศึกษา
การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาเปนการจัดทำเอกสารในระดับโรงเรียนโดยองคคณะบุคคลไดแก
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการเมื่อจัดทำเอกสารหลักสูตร
โรงเรียนเสร็จเรียบรอยการจัดทำรูปเลมและการจัดแบงจำนวนเลมของหลักสูตรโรงเรียนขึ้นอยูกับการพิจารณา
ตามความเหมาะสมของโรงเรียนเพื่อความสะดวกในการบริหารจัดการและการนำไปใชสวนองคประกอบของ
หลักสูตรโรงเรียนหากไมนับรวมปกของหลักสูตรและประกาศของโรงเรียนแลวควรมีองคประกอบที่สำคัญของ
หลกั สูตรโรงเรียนจำนวน 5 องคประกอบ ดังตอ ไปนี้
องคประกอบที่ 1 สวนนำ

- ความนำ
- วสิ ัยทศั นส ถานศึกษา
- สมรรถนะสำคัญของผเู รียน
- คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค
องคประกอบที่ 2 โครงสรางหลักสูตรสถานศกึ ษา
องคป ระกอบท่ี 3 คำอธบิ ายรายวิชา
องคป ระกอบท่ี 4 กิจกรรมพฒั นาผเู รียน
องคป ระกอบท่ี 5 เกณฑการจบการศึกษา
องคประกอบท่ี 1 สวนนำ
1. สวนนำ
1.1 ความนำ
แสดงความเชือ่ มโยงระหวางหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
กรอบหลกั สตู รระดับทอ งถิ่น จดุ เนน และความตอ งการของโรงเรียน
1.2 วสิ ัยทัศนส ถานศกึ ษา
1.2.1 แสดงภาพอนาคตทพ่ี ึงประสงคของผเู รยี นท่ีสอดคลองกบั วสิ ยั ทัศนข องหลกั สตู รแกนกลาง
การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 อยา งชดั เจน
1.2.2 แสดงภาพอนาคตที่พึงประสงคของผเู รยี นสอดคลอ งกบั กรอบหลกั สูตรระดบั ทอ งถนิ่
1.2.3 แสดงภาพอนาคตท่ีพึงประสงคของผเู รยี น ครอบคลมุ สภาพความตองการของโรงเรียน
ชมุ ชน ทอ งถนิ่
1.2.4 ชัดเจนสามารถปฏิบัตไิ ด
1.3 สมรรถนะสำคัญของผเู รียน
สอดคลอ งกับหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551
1.4 คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค
1.4.1 สอดคลอ งกบั หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
1.4.2 สอดคลอ งกบั เปาหมายจดุ เนน กรอบหลกั สูตรระดบั ทองถนิ่
1.4.3 สอดคลอ งกบั วิสยั ทัศนข องสถานศึกษา

องคป ระกอบที่ 2 โครงสรา งหลักสูตรสถานศกึ ษา
2. โครงสรางหลกั สูตรสถานศกึ ษา
2.1 โครงสรา งเวลาเรยี น

2.1.1 ระบุเวลาเรียนของ 8 กลุมสาระการเรียนรู ที่เปนเวลาเรียนพื้นฐานและเพิ่มเติม จำแนกแตละชั้น
ปอยา งชัดเจน

2.1.2 เวลาเรยี นของรายวิชาพื้นฐานในระดบั ประถมศึกษาทงั้ 8 กลมุ สาระ เทา กบั 840 ชว่ั โมง
** สำหรับภาษาอังกฤษ ป.1- ป.3 ให จัดเปนรายวิชาพื้นฐาน จำนวน 200 ชั่วโมง ตอป หรือจัดเปน
รายวิชาพื้นฐาน อยางนอย 120 ชั่วโมงตอป และจัดเปนรายวิชาเพิ่มเติมและหรือกิจกรรมพัฒนาผูเรียนหรือ
กิจกรรมเสริมหลักสตู ร 80 ชม ตอป
**วชิ าสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 80 ชั่วโมงตอ ปป ระวตั ศิ าสตร 40 ช่วั โมงตอปรวม 120 ช่วั โมง
ตอป
**รายวิชาเพมิ่ เติมปละไมนอยกวา 40 ชั่วโมง
** หลักสูตรตานทุจริตศึกษา วิชาการปองกันการทุจริต เปนรายวิชาเพิ่มเติมและหรือกิจกรรมพัฒนา
ผูเรียนหรือกจิ กรรมเสริมหลกั สูตร 40 ชม ตอป ตามคำสั่งกระทรวง ที่ สป 1137/2561
** กจิ กรรมพฒั นาผูเ รยี น 120 ชั่วโมงตอป
2.1.3 เวลาเรยี นของรายวชิ าพนื้ ฐานในระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตนท้ัง 8 กลมุ สาระ เทา กับ 880 ชั่วโมง
**วชิ าสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 120 ชวั่ โมงตอ ปป ระวัติศาสตร 40 ชั่วโมงตอปร วม 160
ชวั่ โมงตอ ป
**รายวชิ าเพม่ิ เตมิ ปล ะไมน อ ยกวา 200 ชว่ั โมง
** หลักสูตรตานทุจริตศึกษา วิชาการปองกันการทุจริต เปนรายวิชาเพิ่มเติมและหรือกิจกรรมพัฒนา
ผเู รียนหรอื กจิ กรรมเสริมหลักสูตร 40 ชม ตอ ป ตามคำส่ังกระทรวง ที่ สป 1137/2561
** กิจกรรมพัฒนาผเู รียน 120 ชว่ั โมงตอ ป
2.1.4 เวลาเรยี นของรายวิชาพ้ืนฐานในระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลายทงั้ 8 กลมุ สาระ เทากับ 1,640
ชวั่ โมง
** วิชาสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 240 ชวั่ โมงตอ ปป ระวัติศาสตร 80 ชั่วโมงตอ ปรวม 320
ชว่ั โมงตอป
**รายวิชาเพมิ่ เติมปล ะไมนอยกวา1,600 ชวั่ โมง
** หลักสูตรตานทุจริตศึกษา วิชาการปองกันการทุจริต เปนรายวิชาเพิ่มเติมและหรือกิจกรรมพัฒนา
ผเู รียนหรอื กจิ กรรมเสริมหลักสตู ร 40 ชม ตอ ป ตามคำส่ังกระทรวง ที่ สป 1137/2561
** กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น 360 ช่ัวโมงตอป
2.1.5 ระบุเวลาจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนจำแนกแตละชั้นปอยางชัดเจน และเปนไปตามโครงสรางเวลา
เรียนตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551
2.1.6 เวลาเรียนรวมของหลักสูตรสถานศึกษาสอดคลองกับโครงสรางเวลาเรียนตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขัน้ พ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 และเปนไปตามบรบิ ทของสถานศกึ ษา
2.2 โครงสรา งหลักสตู รชนั้ ป
2.2.1 ระบุ รายวิชาพ้นื ฐานทง้ั 8 กลุมสาระการเรียนรู พรอ มทง้ั ระบเุ วลาเรียน
2.2.2 ระบุรายวชิ าเพมิ่ เตมิ ทส่ี ถานศึกษากำหนด พรอมท้ังระบเุ วลาเรยี น
2.2.3 ระบุกจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น พรอมทัง้ ระบุเวลาเรยี น

สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพิษณโุ ลก เขต 1 ๙

2.2.4 รายวชิ าพ้นื ฐานท่รี ะบุรหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนเวลาเรยี นไวอ ยางถูกตองชัดเจน
2.2.5 รายวิชาเพมิ่ เตมิ / กจิ กรรมเพมิ่ เติม สอดคลอ งกบั วิสยั ทศั น จุดเนน ของโรงเรยี น
2.3 มาตรฐานการเรยี นรูและตัวช้วี ดั และลักษณะตัวชว้ี ดั
2.3.1 กลมุ สาระการเรยี นรูภาษาไทยมี 5 สาระ จำนวน 5 มาตรฐาน
2.3.2กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรมี 4 สาระจำนวน 7 มาตรฐาน (สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณิต
สาระท่ี 2 การวัดและเรขาคณติ และ สาระท่ี 3 สถิติและความนาจะเปน)
2.3.3 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมี 4 สาระจำนวน 10 มาตรฐาน (สาระที่ 1
วิทยาศาสตรชีวภาพสาระที่ 2วิทยาศาสตรกายภาพสาระที่ 3 วิทยาศาสตรโลกและอวกาศและ สาระที่ 4
เทคโนโลยี( ป.1-3 ใช 20 ชม/ป ,ป.4-6 ใช 40 ชม/ป , ม.1-3 ใช 40 ชม/ป, ม.4-6 ใช 80 ชม/ป))
2.3.4 กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมี 5 สาระ จำนวน 11 มาตรฐาน(รวม
ประวตั ิศาสตร)
2.3.5 กลุมสาระการเรยี นรสู ุขศึกษาและพลศึกษามี 5 สาระ จำนวน 6 มาตรฐาน
2.3.6 กลุมสาระการเรยี นรูศลิ ปะมี 3 สาระ จำนวน 6 มาตรฐาน
2.3.7 กลุม สาระการเรียนรูการงานอาชีพมี 2 สาระ จำนวน 2 มาตรฐาน
2.3.8 กลมุ สาระการเรียนรูภาษาตางประเทศมี 4 สาระ จำนวน 8 มาตรฐาน
องคประกอบที่ 3 คำอธิบายรายวชิ า
3. คำอธบิ ายรายวชิ า
3.1 ระบรุ หัสวิชา ชือ่ รายวิชา และชอื่ กลมุ สาระการเรียนรู ไวอ ยา งถกู ตองชดั เจน
3.2รายวชิ าพน้ื ฐาน ตามกลมุ สาระการเรยี นรู กลมุ ละ 1รายวิชาตอ ป ยกเวน กลมุ สาระการเรียนรสู ังคมฯ โดย
เปด รายวชิ าประวตั ใิ หจดั การเรียนการสอน 40 ชว่ั โมงตอ ป
3.3 ระบชุ ้นั ปท่สี อนและจำนวนเวลาเรยี นไวอยางถูกตอ งชัดเจน
3.4 การเขียนคำอธิบายรายวิชา เขียนเปนความเรียง โดยระบุองคความรู ทักษะกระบวนการ และ
คุณลกั ษณะหรือ เจตคตทิ ี่ตอ งการ
3.5 จัดทำคำอธบิ ายรายวิชาพื้นฐานครอบคลมุ ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง

- วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
- คณิตศาสตร
- สงั คมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม
- ภาษาไทย
- การงานอาชพี
- สขุ ศกึ ษาพลศึกษา
- ศิลปะ
- ภาษาอังกฤษ **ใหเปนไปตามการบริหารจดั การภาษาองั กฤษ
3.6 มีการระบุรหสั ตวั ช้วี ัด ในรายวชิ าพืน้ ฐาน และจำนวนรวมของตัวชว้ี ดั
3.7 มกี ารระบุผลการเรียนรู ในรายวิชาเพ่มิ เติม และจำนวนรวมของผลการเรยี นรู
3.8 มีการกำหนดสาระการเรียนรทู อ งถ่ินสอดแทรกอยใู นคำอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐานหรอื รายวชิ าเพมิ่ เตมิ

สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาพิษณโุ ลก เขต 1 ๑๐

องคป ระกอบที่ 4 กจิ กรรมพัฒนาผเู รียน
4. กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น

4.1 จัดกิจกรรมทั้ง 3 กิจกรรมตามที่กำหนดไวในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551

4.2 จัดเวลาทั้ง 3 กิจกรรมสอดคลองกับโครงสรางเวลาเรียนที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พทุ ธศักราช 2551

4.3 มีแนวทางการจดั กิจกรรมทีช่ ดั เจน
4.4 มีแนวทางการประเมินกิจกรรมที่ชดั เจน
องคป ระกอบที่ 5 เกณฑก ารจบการศึกษา
5. เกณฑการจบการศึกษา
5.1 มีการระบุเวลาเรียน/หนวยกิต รายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติม ตามเกณฑการจบหลักสูตรของ
โรงเรยี นไวอ ยา งชดั เจนและสอดคลอ งกับโครงสรางหลักสตู รของโรงเรยี น
5.2 มีการระบเุ กณฑก ารประเมินการอานคดิ วิเคราะห และเขียนไวอ ยางชดั เจน
5.3 มีการระบุเกณฑก ารประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงคไวอยา งชัดเจน
5.4 มกี ารระบเุ กณฑการผานกจิ กรรมพัฒนาผเู รยี นไวอยา งชดั เจน

สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาพิษณโุ ลก เขต 1 ๑๑

ตัวอยางความนำ

ความนำ

ตามทีก่ ระทรวงศึกษาธกิ ารไดป ระกาศใชม าตรฐานการเรยี นรูและตวั ชว้ี ดั กลุม สาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร
วิทยาศาสตร และสาระภูมิศาสตรในกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551ตามคำสั่งกระทรวงศึกษาธิการที่ สพฐ.
1239/2560 ลงวันท่ี 7 สงิ หาคม 2560 และคำสง่ั สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ที่ 30/2561
ลงวันที่ 5 มกราคม 2561 ใหเปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัด กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรและ
วิทยาศาสตร โดยมีคำสั่งใหโรงเรียนดำเนินการใชหลักสูตรในปการศึกษา 2561 โดยใหใชในชั้นประถมศึกษาปที่
1, 4 และ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1ตั้งแตปการศึกษา 2561 เปนตนมา และ ปการศึกษา 2563 โดยใหใชในทุก
ระดับชั้น ตั้งแตช้ันประถมศึกษาปที่ 1 – ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6ใหเปนหลักสูตรแกนกลางของประเทศ โดยกำหนด
จุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรูเปนเปาหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผูเรียนมีพัฒนาการเต็ม
ตามศักยภาพ มีคุณภาพและมีทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 เพ่ือใหสอดคลองกับนโยบายและเปาหมายของ
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน

โรงเรียน...................................จึงไดทำหลักสูตรสถานศึกษา พุทธศักราช.............. ใหสอดคลองกับ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ในกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร วิทยาศาสตร
และสาระภูมิศาสตรในกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เพื่อนำไปใชประโยชนและเปน
กรอบในการวางแผนและพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาและจัดการเรียนการสอน โดยมีเปาหมายในการพัฒนา
คุณภาพผูเรียน ใหมีกระบวนการนำหลักสูตรไปสูการปฏิบัติ โดยมีการกำหนดวิสัยทัศน จุดหมาย สมรรถนะ
สำคัญของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด โครงสรางเวลาเรียน ตลอดจน
เกณฑการวัดประเมินผลใหมีความสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู เปดโอกาสใหโรงเรียนสามารถกำหนด
ทิศทางในการจัดทำหลักสูตรการเรียนการสอนในแตละระดับตามความพรอมและจุดเนน โดยมีกรอบแกนกลาง
เปนแนวทางที่ชัดเจนเพื่อตอบสนองนโยบายไทยแลนด 4.0 มีความพรอมในการกาวสูสังคมคุณภาพ มีความรู
อยางแทจรงิ และมีทกั ษะในศตวรรษท่ี 21

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่กำหนดไวในเอกสารนี้ ชวยทำใหหนวยงานที่เกี่ยวของ ในทุกระดับเห็น
ผลคาดหวังที่ตองการในการพัฒนาการเรียนรูของผูเรียนที่ชัดเจนตลอดแนว ซึ่งจะสามารถชวยใหหนวยงานท่ี
เกี่ยวของในระดับทองถิ่นและสถานศึกษารวมกันพัฒนาหลักสูตรไดอยางมั่นใจ ทำใหการจัดทำหลักสูตรในระดับ
สถานศึกษามีคุณภาพและมีความเปนเอกภาพยิ่งข้ึน อีกทั้งยังชวยใหเกิดความชัดเจนเรื่องการวัดและประเมินผล
การเรียนรู และชวยแกปญหาการเทียบโอนระหวางสถานศึกษา ดังนั้นในการพัฒนาหลักสูตรในทุกระดับตั้งแต
ระดับชาติจนกระทั่งถึงสถานศึกษา จะตองสะทอนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่กำหนดไวใน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมทั้งเปนกรอบทิศทางในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ และครอบคลุม
ผเู รียนทุกกลุมเปาหมายในระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน

การจัดหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานจะประสบความสำเร็จตามเปาหมายที่คาดหวังไดทุกฝายท่ีเกี่ยวของ
ทั้งระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลตองรวมรับผิดชอบ โดยรวมกันทำงานอยางเปนระบบ และตอเนื่อง

สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาพิษณโุ ลก เขต 1 ๑๒

ในการวางแผนดำเนินการ สงเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแกไข เพื่อพัฒนาเยาวชนของชาติไปสู
คณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนรูทีก่ ำหนดไว

ตวั อยางวิสยั ทศั น

วสิ ัยทศั นของสถานศกึ ษา

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียน..............................พุทธศักราช………………….. ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เปนหลักสูตรที่มุงพัฒนาผูเรียนทุกคนเปนบุคคลแหงการเรียนรู
สูม าตรฐานสากลและเปน มนุษยท มี่ ีความสมดุลทงั้ รางกาย ความรคู คู ุณธรรม มคี วามเปน ผูนำของสงั คมมจี ติ สำนึก
ในความเปนพลเมืองไทยและเปนพลโลกโดยใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงยึดมั่นในการปกครองตาม
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข มีความรูและทักษะพื้นฐานสามารถใชนวัตกรรมและ
เทคโนโลยีรวมทั้งเจตคติทีจ่ ำเปนตอ การศึกษาในการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิตโดยมุงเนนผูเรียนเปน
สำคัญบนพน้ื ฐานความเช่ือวา ทุกคนสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองไดเ ต็มตามศกั ยภาพ

วสิ ยั ทัศนของสถานศึกษา ………………………………………………………………………………………………………………
พันธกจิ ของสถานศกึ ษา ………………………………………………………………………………………………………………
เปา ประสงคข องสถานศึกษา……………………………………………………………………………………………………………
หมายเหตุ : ปรบั แกไ ขใหเปน รูปแบบของสถานศึกษาใหภ าพชดั

ตัวอยา งสมรรถนะสมรรถนะสำคัญของผูเรยี น และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค

สมรรถนะสำคัญของผูเ รียน

ในการพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียน................................. พุทธศักราช ...................
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 มุงเนน พัฒนาผูเรียนใหม ีคุณภาพตามมาตรฐานที่
กำหนด ซ่งึ จะชวยใหผเู รยี นเกดิ สมรรถนะสำคัญและคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค ดังนี้
สมรรถนะสำคญั ของผูเ รียน

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียน.................................พุทธศักราช................ มุงใหผูเรียนเกิดสมรรถนะ
สำคัญ 5 ประการ ดังนี้

1. ความสามารถในการสื่อสาร เปนความสามารถในการรับและสงสาร มีวัฒนธรรมในการใชภาษา
ถายทอดความคิด ความรูความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารและ
ประสบการณอันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาตนเองและสังคม การเลือกรับหรือไมรับขอมูลขาวสารดวยหลัก
เหตุผลและความถูกตอง ตลอดจนการเลือกใชวิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีตอตนเอง
และสังคม

สำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาพษิ ณุโลก เขต 1 ๑๓

2. ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห การคิด อยาง
สรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพื่อนำไปสูการสรางองคค วามรูหรือสารสนเทศเพื่อ
การตดั สนิ ใจเกี่ยวกบั ตนเองและสงั คมไดอยางเหมาะสม

3. ความสามารถในการแกป ญหา เปน ความสามารถในการแกป ญหาและอปุ สรรคตา ง ๆ ที่เผชญิ ไดอยา ง
ถูกตองเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจความสัมพันธและการ
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณตาง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ประยุกตความรูมาใชในการปองกันและแกไขปญหา
และมีกาตัดสินใจท่มี ปี ระสิทธภิ าพโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบทีเ่ กดิ ขึ้นตอตนเอง สังคมและส่งิ แวดลอม

4. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต เปนความสามารถในการนำกระบวนการตาง ๆ ไปใชในการดำเนิน
ชีวิตประจำวนั การเรยี นรดู ว ยตนเอง การเรยี นรูอ ยา งตอ เนื่อง การทำงาน และการอยรู ว มกันในสังคมดวยการสราง
เสริมความสมั พนั ธอันดรี ะหวางบุคคล การจดั การปญ หาและความขัดแยงตา ง ๆ อยางเหมาะสม การปรบั ตวั ใหทนั กับ
การเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม และการรูจักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไมพึงประสงคที่สงผลกระทบตอ
ตนเองและผอู น่ื

5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยีเปนความสามารถในการเลือก และใช เทคโนโลยีดานตาง ๆ และมี
ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการเรียนรู การสื่อสาร การทำงาน การ
แกปญหาอยา งสรา งสรรค ถูกตอ ง เหมาะสม และมคี ณุ ธรรม

คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียน............................................พุทธศักราช ...................... ตามหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 มงุ พัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงค เพื่อใหสามารถ
อยรู วมกบั ผอู นื่ ในสังคมไดอยางมีความสขุ ในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้

1. รักษชาติ ศาสน กษัตริย
2. ซื่อสัตยส ุจริต
3. มีวนิ ยั
4. ใฝเ รียนรู
5. อยอู ยางพอเพยี ง
6. มงุ มั่นในการทำงาน
7. รกั ความเปน ไทย
8. มจี ิตเปนสาธารณะ
1. รักชาติศาสนกษัตริยหมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการเปนพลเมืองดีของชาติธํารงไวซึ่งความ
เปนชาติไทย ศรัทธา ยึดมั่นในศาสนา และเคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย ผูที่รกั ชาติศาสนกษัตริย คือ ผูที่
มีลักษณะซงึ่ แสดงออกถึงการเปนพลเมืองดีของชาติมคี วามสามัคคีปรองดอง ภมู ใิ จ เชดิ ชูความเปนชาติไทย ปฏิบัติ
ตนตามหลกั ศาสนาทตี่ นนับถอื และแสดงความจงรักภกั ดตี อสถาบนั พระมหากษัตรยิ 
2. ซื่อสัตยสุจริต หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึดมั่นในความถูกตองประพฤติตรงตามความ
เปน จรงิ ตอ ตนเองและผูอ ่นื ท้งั ทางกาย วาจา ใจ ผทู ี่มีความซื่อสัตยสจุ รติ คือ ผทู ี่ประพฤตติ รงตามความเปนจรงิ ทง้ั
ทางกาย วาจา ใจ และยดึ หลักความจรงิ ความถกู ตอ งในการดําเนินชวี ิต มคี วามละอายและเกรงกลวั ตอ การกระทํา
ผิด

สำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาพษิ ณโุ ลก เขต 1 ๑๔

3. มีวินัย หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึดมั่นในขอตกลง กฎเกณฑและระเบียบขอบังคับของ
ครอบครวั โรงเรยี น และสังคม ผทู ม่ี ีวนิ ยั คอื ผูทป่ี ฏบิ ตั ิตนตามขอ ตกลง กฎเกณฑระเบียบ ขอบงั คบั ของครอบครัว
โรงเรียน และสังคมเปน ปกติวสิ ยั ไมล ะเมดิ สิทธขิ องผอู นื่

4. ใฝเรียนรูหมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียน แสวงหาความรู
จากแหลงเรียนรูทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน ผูที่ใฝเรียนรู คือ ผูที่มีลักษณะซึ่งแสดงออกถึงความตั้งใจ เพียร
พยายามในการเรียนและเขารวมกิจกรรมการเรียนรูแสวงหาความรูจากแหลงเรียนรูทั้งภายในและภายนอก
โรงเรียนอยางสม่ำเสมอ ดวยการเลือกใชสื่ออยางเหมาะสม บันทึกความรูวิเคราะหสรุปเปน องคความรูแลกเปล่ียน
เรียนรถู ายทอด เผยแพรแ ละนาํ ไปใชใ นชวี ิตประจําวันได

5. อยูอยางพอเพียง หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการดําเนินชีวิตอยางพอประมาณ มีเหตุผล
รอบคอบ มคี ณุ ธรรม มีภูมคิ มุ กันในตวั ท่ีดีและปรับตัวเพอื่ อยูในสังคมไดอยางมคี วามสุข ผทู อี่ ยอู ยางพอเพยี ง คอื
ผูท ดี่ ําเนนิ ชีวติ อยา งประมาณตน มีเหตุผล รอบคอบ ระมดั ระวัง อยรู ว มกบั ผอู ่ืนดวยความรบั ผิดชอบ ไมเบียดเบียน
ผอู ืน่ เหน็ คุณคาของทรัพยากรตา ง ๆ มกี ารวางแผนปอ งกนั ความเส่ยี งและพรอ มรบั การเปลยี่ นแปลง

6. มุง มน่ั ในการทํางาน หมายถึง คณุ ลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจและรับผดิ ชอบในการทาํ หนา ทก่ี าร
งาน ดวยความเพียรพยายาม อดทน เพ่ือใหงานสําเร็จตามเปาหมาย ผูที่มุงมั่นในการทํางาน คือผูที่มีลักษณะซ่ึง
แสดงออกถึงความตั้งใจปฏิบัติหนาที่ที่ไดรับมอบหมายดวยความเพียรพยายาม ทุมเทกําลังกาย กําลังใจ ในการ
ปฏิบัติกจิ กรรมตา ง ๆ ใหสําเร็จลุลว ง ตามเปา หมายทกี่ าํ หนดดวยความรบั ผดิ ชอบ และมีความภาคภมู ิใจในผลงาน

7. รักความเปนไทย หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความภาคภูมใิ จ เห็นคุณคา รวมอนุรักษสืบทอด
ภูมิปญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณีศิลปะและวัฒนธรรม ใชภาษาไทยในการสื่อสารไดอยางถูกตองและ
เหมาะสม ผูที่รักความเปนไทย คือ ผูที่มีความภาคภูมิใจ เห็นคุณคา ชื่นชม มีสวนรวมในการอนุรักษสืบทอด
เผยแพรภูมิปญญาไทยขนบธรรมเนียมประเพณีศิลปะและวัฒนธรรมไทย มีความกตัญูกตเวทีใชภาษาไทยในการ
สือ่ สารอยา งถกู ตอ งเหมาะสม

8. มีจิตสาธารณะ หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการมีสวนรวมในกิจกรรมหรือสถานการณที่
กอใหเกิดประโยชนแกผูอื่น ชุมชน และสังคม ดวยความเต็มใจ กระตือรือรน โดย ไมหวังผลตอบแทน ผูที่มีจิต
สาธารณะ คือ ผูที่มีลักษณะเปนผูใหและชวยเหลือผูอื่น แบงปนความสุขสวนตนเพื่อทําประโยชนแกสวนรวม
เขาใจ เห็นใจผูที่มีความเดือดรอน อาสาชวยเหลือสังคม อนุรักษสิ่งแวดลอม ดวยแรงกายสติปญญา ลงมือปฏิบัติ
เพ่ือแกป ญหา หรอื รว มสรา งสรรคส งิ่ ทด่ี งี ามใหเกิดในชมุ ชน โดยไมห วงั สงิ่ ตอบแทน

คา นยิ มหลักของคนไทย 12 ประการ ตามนโยบายของ คสช. (เพม่ิ เตมิ )

๑. ความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย คือ การประพฤติปฏิบัติตนที่แสดงถึงความสำนึกและ
ภาคภมู ิใจความเปนไทยปฏบิ ัติตามหลกั ศาสนาท่ีตนนบั ถือและจงรักภกั ดตี อสถาบนั พระมหากษัตริย

2. ซื่อสัตย เสียสละ อดทน มีอุดมการณในสิ่งที่ดีงามเพื่อสวนรวม คือ การประพฤติปฏิบัติตนที่แสดง
ถึงการยึดมั่นในความถูกตอง ประพฤติตรงตามความเปนจริงตอตนเองและผูอื่น ละความเห็นแกตัว รูจักแบงปน

สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาพษิ ณโุ ลก เขต 1 ๑๕

ชวยเหลือสังคมและบุคคลที่ควรให รูจักควบคุมตัวเองเมื่อประสบกับความยากลำบากและสิ่งที่กอใหเกิดความ
เสยี หาย

3. กตัญูตอพอแม ผูปกครอง ครูบาอาจารย คือ การประพฤติที่แสดงถึงการรูจักบุญคุณ ปฏิบัติตาม
คำสั่งสอน แสดงความรัก ความเคารพ ความเอาใจใส รักษาชื่อเสียง และตอบแทนบุญคุณของพอ
แม ผปู กครอง และครอู าจารย

4. ใฝหาความรู หมั่นศึกษาเลาเรียนทั้งทางตรง และทางออม คือ การประพฤติปฏิบัติตนที่แสดงถึง
ความตง้ั ใจเพียรพยายามในการศึกษาเลาเรียน แสวงหาความรูทงั้ ทางตรงและทางออม

5. รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม คือ การปฏิบัติตนที่แสดงถึงการเห็นคา คุณคา ความสำคัญ
ภาคภูมใิ จ อนุรกั ษ สืบทอดวฒั นธรรมและประเพณไี ทยอนั ดีงาม

6. มีศีลธรรม รักษาความสัตย หวังดีตอผูอื่น เผื่อแผและแบงปน คือ การประพฤติปฏิบัติตน โดยยึด
มนั่ ในคำสญั ญา มจี ิตใจโอบออมอารี ชวยเหลอื ผอู ่นื เทา ท่ีชวยได ทง้ั กำลังทรัพย กำลังกาย และกำลังสตปิ ญญา

7. เขาใจเรียนรูการเปนประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขที่ถูกตอง คือ การแสดงถึง
การมีความรู ความเขาใจ ปฏิบัติตนตามหนาที่และสิทธิของตนเอง เคารพสิทธิของผูอื่นภายใตการปกครองตาม
ระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ท รงเปน ประมุข

8. มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผูนอยรูจักการเคารพผูใหญ คือ การปฏิบัติตนตามขอตกลง
กฎเกณฑ ระเบียบ ขอบังคบั และกฎหมายไทย มคี วามเคารพและนอบนอมตอ ผใู หญ

9. มีสติรูตัว รูคิด รูทำ รูปฏิบัติตามพระราชดำรสั ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว คือ การประพฤติ
ปฏิบัติตนอยางมีสติรูตัว รูคิด รูทำอยางรอบคอบ ถูกตองเหมาะสม และนอมนำพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จ
พระเจา อยูห วั มาเปน หลักปฏบิ ัติในการดำเนนิ ชีวิต

10. รูจักดำรงตนอยูโดยใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คือ การดำเนินชีวิตอยางพอประมาณ มี
เหตุผล มีภูมิคุม กันในตวั ที่ดี มีความรู มีคุณธรรม และปรับตัวเพ่ืออยูในสังคมไดอยางมีความสุข ตามพระราชดำรัส
ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยหู วั

11. มีความเขมแข็งทั้งรายกาย และจิตใจ ไมยอมแพตออำนาจฝายต่ำ หรือกิเลสมีความละอายเกรง
กลัวตอบาปตามหลักของศาสนา คือ การปฏิบัติตนใหมีรางกายสมบูรณแข็งแรงปราศจากโรคภัย และมีจิตใจท่ี
เขม แขง็ มีความละอายเกรงกลัวตอบาป ไมกระทำความช่ัวใดๆ ยดึ มัน่ ในการทำความดีของศาสนา

12. คำนึงถึงผลประโยชนของสวนรวม และของชาติมากกวาผลประโยชนของตนเอง คือ การปฏิบัติ
ตนและใหค วามรว มมอื ในกจิ กรรมทเี่ ปน ประโยชนต อ สว นรวม และประเทศชาติ ยอมเสยี สละประโยชนสวนตนเพ่ือ
รักษาประโยชนข องสวนรวม

หลักสูตรตา นทุจริต (เพิ่มเตมิ )
สำนักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ (ป.ป.ช.) รวมกับสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ไดจัดทำหลักสูตรตานทุจริตศึกษาสำหรับใชในทุกระดับการศึกษา ใน
สวนของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานไดจัดทำหลักสูตรตานทุจริตศึกษา รายวิชาเพิ่มเติม “การ
ปอ งกันการทจุ ริต” ขึน้ และคณะรัฐมนตรมี ีมติเห็นชอบหลักสูตรตานทุจริตศึกษา เมอื่ วันท่ี ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๑
และใหหนวยงานที่เกี่ยวของนำหลักสูตรตานทุจริตศึกษาไปปรับใชในการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษาโดย
มงุ เนน การสรา งความรคู วามเขา ใจทถ่ี กู ตองเกย่ี วกบั ความหมายและขอบเขตของการกระทำทุจรติ ในลักษณะตาง ๆ

สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพิษณโุ ลก เขต 1 ๑๖

ทั้งทางตรงและทางออม ความเสียหายที่เกิดจากการทุจริต ความสำคัญของการตอตานการทุจริต รวมทั้งจัดใหมี
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของการจัดหลกั สูตรในแตละชว งวัยของผเู รียนดวย

หลักสูตรตานทุจริตศึกษา (Anti – Corruption Education) รายวิชาเพิ่มเติม “การปองกันการทุจริต”
ประกอบดว ย ๔ หนว ยการเรียนรู ไดแ ก ๑) การคิดแยกแยะระหวางผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสวนรวม
๒) ความละอายและความไมทนตอการทจุ ริต ๓) STRONG : จิตพอเพยี งตา นทุจรติ ๔) พลเมืองกับความรบั ผดิ ชอบ
ตอสังคม ที่สถานศึกษาจัดใหกับผูเรียนเพื่อปลูกฝงและปองกันการทุจริตไมใหเกิดขึ้น โดยเริ่มปลูกฝงผูเรียนตั้งแต
ชั้นปฐมวัยจนถึงชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ ใหมีความรูความเขาใจ มีทักษะกระบวนการ มีสมรรถนะที่สำคัญ และมี
คณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงค

สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาพษิ ณุโลก เขต 1 ๑๗

ตอนที่ 2
องคประกอบที่ 2โครงสราง

หลักสตู รสถานศึกษา

ตอนที่ 2
องคประกอบท่ี 2 โครงสรา งหลักสตู รสถานศึกษา

ตัวอยา งโครงสรางหลกั สตู รสถานศึกษา

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียน............................................ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ไดกำหนดโครงสรางของหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อใหผูสอนและผูที่เกี่ยวของในการจัดการ
เรยี นรตู ามหลักสตู รของสถานศึกษามีแนวปฏิบัตดิ งั น้ี
ระดบั การศกึ ษา

หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียน............................................ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศกั ราช 2551 จดั การศึกษาดังนี้

หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน จดั ระดบั การศึกษาเปน ๓ ระดบั ดงั น้ี

๑. ระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ – ๖) การศึกษาระดับน้ีเปนชวงแรกของการศึกษาภาคบังคับ
มุงเนนทักษะพื้นฐานดานการอาน การเขียน การคิดคำนวณ ทักษะการคิดพื้นฐานการติดตอสื่อสาร กระบวนการ
เรียนรูทางสังคม และพื้นฐานความเปนมนุษย การพัฒนาคุณภาพชีวิตอยางสมบูรณและสมดุลทั้งในดานรางกาย
สติปญ ญา อารมณ สงั คม และวัฒนธรรมโดยเนนจัดการเรยี นรูแบบบูรณาการ

๒. ระดับมัธยมศึกษาตอนตน (ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑ – ๓) เปนชวงสุดทายของการศึกษาภาคบังคับ
มุงเนนใหผูเรียนไดสำรวจความถนัดและความสนใจของตนเอง สงเสริมการพัฒนาบุคลิกภาพสวนตน มีทักษะในการ
คิดวิจารณญาณ คิดสรางสรรค และคิดแกปญหา มีทักษะในการดำเนินชีวิต มีทักษะการใชเทคโนโลยีเพื่อเปน
เครื่องมือในการเรียนรู มีความรับผิดชอบตอสังคม มีความสมดุลทั้งดานความรู ความคิด ความดีงาม และมีความ
ภมู ใิ จในความเปน ไทย ตลอดจนใชเปนพ้ืนฐานในการประกอบอาชีพหรือการศกึ ษาตอ

๓. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔ – ๖) การศึกษาระดับนี้เนนการเพิ่มพูนความรูและ
ทักษะเฉพาะดา น สนองตอบความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผูเรียนแตละคนทั้งดา นวิชาการและวชิ าชพี
มีทักษะในการใชวิทยาการและเทคโนโลยี ทักษะกระบวนการคิดขั้นสูง สามารถนำความรูไปประยุกตใชใหเกิด
ประโยชนในการศึกษาตอและการประกอบอาชีพ มงุ พัฒนาตนและประเทศตามบทบาทของตน สามารถเปนผูนำ และ
ผใู หบริการชุมชนในดา นตา ง ๆ

การจดั เวลาเรยี น
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียน............................................ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน

พุทธศักราช 2551 ไดจัดเวลาเรียนตามกลุมสาระการเรียนรู 8 กลุมสาระและกิจกรรมพัฒนาผูเรียนโดยจัดให
เหมาะสมตามบรบิ ทจดุ เนน ของโรงเรียนและสภาพของผเู รียนดงั น้ี

๑. ระดับชั้นประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ – ๖) ใหจัดเวลาเรียนเปนรายป โดยมีเวลาเรียนวันละ
ไมเ กิน ๕ ชั่วโมง

๒. ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนตน (ช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี ๑ – ๓) ใหจ ดั เวลาเรียนเปนรายภาค มเี วลาเรียนวันละไม
เกิน ๖ ชั่วโมง คิดน้ำหนักของรายวิชาที่เรียนเปนหนวยกิต ใชเกณฑ ๔๐ ชั่วโมงตอภาคเรียน มีคาน้ำหนักวิชา เทากับ
๑ หนว ยกิต (นก.)

๓. ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย (ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท่ี ๔ - ๖) ใหจ ัดเวลาเรียนเปน รายภาค มเี วลาเรียน
วันละไมนอยกวา ๖ ชั่วโมง คิดน้ำหนักของรายวิชาที่เรียนเปนหนวยกิต ใชเกณฑ ๔๐ ชั่วโมง ตอภาคเรียน มีคา
นำ้ หนกั วิชา เทากับ ๑ หนวยกิต (นก.)
โครงสรา งหลกั สตู ร

โครงสรางหลักสตู รสถานศึกษา โรงเรยี น............................................ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา
ขัน้ พน้ื ฐานพทุ ธศกั ราช 2551 ประกอบดว ยโครงสรางเวลาเรยี นและโครงสรางหลักสูตรชัน้ ปด ังนี้

1. โครงสรางเวลาเรยี นเปนโครงสรา งทแ่ี สดงรายละเอยี ดในภาพรวมเวลาเรียนของแตละกลุมสาระ
การเรยี นรู 8 กลุม สาระทเี่ ปน เวลาเรียนพืน้ ฐานเวลาเรยี นรายวิชาเพม่ิ เติมและเวลาในการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน
จำแนกแตละชั้นปในระดับประถมศึกษาและจำแนกแตละภาคเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนตน และระดับ
มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

2. โครงสรางหลักสูตรชั้นปเปนโครงสรางที่แสดงรายละเอียดเวลาเรียนของรายวิชาพื้นฐานรายวิชา/
กจิ กรรมเพม่ิ เตมิ และกิจกรรมพฒั นาผูเรยี นจำแนกแตล ะชนั้ ป

3. มาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชวี้ ัดและลกั ษณะตัวช้ีวัด

สำนกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาพษิ ณุโลก เขต 1 ๒๐

โครงสรางเวลาเรยี น
โครงสรา งหลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี น...............................

โครงสรางเวลาเรียนระดบั ประถมศกึ ษา

กลุมสาระการเรียนรู/ เวลาเรียน(ชั่วโมง / ป)
กิจกรรม ระดับประถมศกึ ษา

กลมุ สาระการเรยี นรู ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖
ภาษาไทย ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐
คณติ ศาสตร ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐
วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
สังคมศกึ ษา ศาสนา ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
และวัฒนธรรม (๔๐) (๔๐) (๔๐) (๔๐) (๔๐) (๔๐)
- ประวตั ิศาสตร
- ศาสนาศลี ธรรม จริยธรรม (๘๐) (๘๐) (๘๐) (๘๐) (๘๐) (๘๐)
- หนา ที่พลเมือง วฒั นธรรม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
และการดำเนนิ ชวี ติ ในสงั คม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
- เศรษฐศาสตร- ภูมศิ าสตร ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐
ศิลปะ
การงานอาชพี ปล ะไมน อยกวา 40 ชวั่ โมง
ภาษาตางประเทศ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
รวมเวลาเรียน (พน้ื ฐาน) ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
รายวิชาเพ่ิมเตมิ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
*ภาษาอังกฤษเพือ่ การสอื่ สาร
**การปอ งกันการทจุ รติ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐
กิจกรรมพฒั นาผเู รียน ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
- กิจกรรมแนะแนว ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐
- กิจกรรมนกั เรียน
๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
- ลกู เสือ-ยวุ กาชาด- ๑,๐8๐ ชวั่ โมง ๑,๐8๐ ชว่ั โมง
เนตรนารี

- ชุมนมุ
- กิจกรรมเพื่อสังคมและ

สาธารณประโยชน
รวมเวลา

กิจกรรมพัฒนาผเู รียน
รวมเวลาท้ังหมด

สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพิษณโุ ลก เขต 1 ๒๑

โครงสรางหลกั สูตรชนั้ ป

๒. โครงสรา งหลักสตู รชั้นปเ ปนโครงสรา งทแ่ี สดงรายละเอยี ดเวลาเรียนของรายวชิ าพน้ื ฐานรายวิชา/
กจิ กรรมเพ่ิมเตมิ และกิจกรรมพัฒนาผเู รยี นจำแนกแตละชั้นปดังนี้

โครงสรางหลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี น………………….
ระดบั ประถมศึกษาชนั้ ประถมศึกษาปที่ 1

รหสั กลุม สาระการเรยี นรู/ กิจกรรม เวลาเรยี น เวลาเรยี น
(ชม./ป) (ชม./สปั ดาห)
ท ๑๑๑๐๑ รายวชิ าพ้ืนฐาน ๘๔๐
ค ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ๒๐๐ 21
ว ๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร ๑ ๒๐๐ ๕
ส ๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ๑ ๕
ส ๑๑๑๐๒ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๑ ๘๐ ๒
พ ๑๑๑๐๑ ประวตั ิศาสตร ๑ ๘๐ ๒
ศ ๑๑๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ๑ ๔๐ ๑
ง ๑๑๑๐๑ ศิลปะ ๑ ๔๐ ๑
อ ๑๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ ๔๐ ๑
ภาษาองั กฤษ ๑ ๔๐ ๑
อ ๑๑๒๐๑ ๑๒๐ ๓
ส 11202 รายวิชาเพิม่ เติม
*ภาษาองั กฤษ 120 3
๘๐ ๒
**การปองกันการทจุ รติ ๔๐ ๑
กจิ กรรมพัฒนาผเู รยี น
๑๒๐ ๓
แนะแนว ๔๐ ๑
กจิ กรรมนกั เรียน
๓๐ ๑
• ลูกเสือ - ยุวกาชาด ๔๐ ๑

• ชุมนมุ ดนตรี ๑๐ ๒7
กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณะประโยชน ๑,๐8๐

รวมเวลาเรยี นทง้ั สน้ิ

สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาพษิ ณโุ ลก เขต 1 ๒๒

หมายเหตุ
๑. * ช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ ๑ - ๓ จดั การเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ เปน รายวชิ าพืน้ ฐาน ๑๒๐

ชม./ป และจดั เปน รายวิชาเพ่ิมเติม ๘๐ ชม./ป รวมเวลาเรยี นภาษาอังกฤษทั้งหมด จำนวน ๒๐๐ ชม./ป
๒. วชิ าหนา ท่ีพลเมอื ง บูรณาการกับการเรียนรแู ละวดั ผลรวมในรายวชิ าพนื้ ฐาน สงั คมศกึ ษา ศาสนา

และวฒั นธรรม
3. ** หลกั สตู รตา นทุจรติ ศึกษา วิชาการปองกนั การทจุ ริต เปนรายวิชาเพมิ่ เติมและหรอื กจิ กรรมพฒั นา

ผูเรยี นหรอื กิจกรรมเสริมหลกั สูตร 40 ชม ตอป ตามคำสงั่ กระทรวง ที่ สป 1137/2561
4. กจิ กรรมพฒั นาผูเ รียนจัดเปน กิจกรรม “ลดเวลาเรยี น เพ่ิมเวลารู” บงั คบั ตามหลกั สตู ร

ประกอบดวยกิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนกั เรยี น และกจิ กรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน
สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาพษิ ณโุ ลก เขต 1 ๒๓

โครงสรา งหลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรียน………………….
ระดบั ประถมศึกษาชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 2

รหัส กลมุ สาระการเรยี นรู/ กจิ กรรม เวลาเรียน เวลาเรยี น
(ชม./ป) (ชม./สปั ดาห)
ท ๑๒๑๐๑ รายวิชาพน้ื ฐาน ๘๔๐
ค ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ ๒๐๐ 21
ว๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร ๒ ๒๐๐ ๕
ส ๑๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ๒ ๕
ส ๑๒๑๐๒ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๒ ๘๐ ๒
พ ๑๒๑๐๑ ประวัตศิ าสตร ๒ ๘๐ ๒
ศ ๑๒๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๒ ๔๐ ๑
ง ๑๒๑๐๑ ศลิ ปะ ๒ ๔๐ ๑
อ ๑๒๑๐๑ การงานอาชีพ ๒ ๔๐ ๑
ภาษาองั กฤษ ๒ ๔๐ ๑
อ ๑๒๒๐๑ ๑๒๐ ๓
ส 12202 รายวิชาเพิม่ เติม ๘๐ ๓
*ภาษาอังกฤษ ๘๐ ๒
**การปอ งกันการทุจริต ๔๐ ๑
๑๒๐ ๓
กจิ กรรมพัฒนาผเู รียน ๔๐ ๑
แนะแนว
กิจกรรมนกั เรียน ๓๐ ๑
๔๐ ๑
• ลูกเสือ - ยวุ กาชาด ๑๐
• ชมุ นมุ ดนตรี ๑,๐8๐ ๒๗
กจิ กรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณะประโยชน
รวมเวลาเรียนทั้งสน้ิ

หมายเหตุ
๑. * ชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๑ - ๓ จดั การเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ เปนรายวชิ าพืน้ ฐาน ๑๒๐

ชม./ป และจดั เปนรายวชิ าเพ่ิมเตมิ ๘๐ ชม./ป รวมเวลาเรียนภาษาอังกฤษท้งั หมด จำนวน ๒๐๐ ชม./ป
๒. วิชาหนาทพี่ ลเมอื ง บูรณาการกบั การเรียนรูและวดั ผลรวมในรายวชิ าพ้ืนฐาน สังคมศกึ ษา ศาสนา

และวฒั นธรรม
3. ** หลกั สตู รตานทุจรติ ศกึ ษา วิชาการปองกนั การทุจริต เปนรายวิชาเพม่ิ เตมิ และหรอื กิจกรรมพฒั นา

ผเู รยี นหรอื กิจกรรมเสรมิ หลกั สูตร 40 ชม ตอ ป ตามคำส่ังกระทรวง ที่ สป 1137/2561
4. กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี นจัดเปนกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพมิ่ เวลาร”ู บงั คบั ตามหลกั สูตร

ประกอบดวยกิจกรรมแนะแนว กจิ กรรมนักเรยี น และกิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน

สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษาพิษณโุ ลก เขต 1 ๒๔

โครงสรางหลกั สูตรสถานศกึ ษา โรงเรียน………………….
ระดบั ประถมศึกษาชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี 3

รหสั กลมุ สาระการเรียนรู/กจิ กรรม เวลาเรยี น เวลาเรยี น
(ชม./ป) (ชม./สปั ดาห)
รายวิชาพื้นฐาน ๘๔๐ 21
ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ๒๐๐ ๕
ค ๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตร ๓ ๒๐๐ ๕
ว๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ๓ 80 2
ส ๑๓๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๓ ๘๐ ๒
ส ๑๓๑๐๒ ประวัติศาสตร ๓ ๔๐ ๑
พ ๑๓๑๐๑ สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๓ ๔๐ ๑
ศ ๑๓๑๐๑ ศิลปะ ๓ ๔๐ ๑
ง ๑๓๑๐๑ การงานอาชีพ ๓ ๔๐ ๑
อ ๑๓๑๐๓ ภาษาอังกฤษ ๓ ๑๒๐ ๓
รายวิชาเพิ่มเตมิ 120 ๓
อ ๑๓๒๐๑ *ภาษาองั กฤษ ๘๐ ๒

ส 1๓202 **การปอ งกันการทจุ รติ ๔๐ ๑

กจิ กรรมพัฒนาผเู รียน 120 ๓
แนะแนว ๔๐ ๑
กจิ กรรมนกั เรียน
• ลูกเสอื - ยุวกาชาด ๓๐ ๑
• ชมุ นุมดนตรี ๔๐ ๑

กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน ๑๐ ๒๗
รวมเวลาเรียนทงั้ สน้ิ ๑,๐๘๐
หมายเหตุ
๑. * ชัน้ ประถมศึกษาปท่ี ๑ - ๓ จัดการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ เปนรายวชิ าพ้ืนฐาน ๑๒๐

ชม./ป และจดั เปนรายวิชาเพิม่ เตมิ ๘๐ ชม./ป รวมเวลาเรยี นภาษาองั กฤษทัง้ หมด จำนวน ๒๐๐ ชม./ป
๒. วิชาหนาที่พลเมือง บูรณาการกับการเรยี นรูแ ละวดั ผลรวมในรายวชิ าพื้นฐาน สังคมศกึ ษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
3. ** หลกั สตู รตานทุจริตศกึ ษา วิชาการปองกนั การทุจริต เปน รายวิชาเพมิ่ เติมและหรอื กิจกรรมพฒั นา
ผูเ รยี นหรือกจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู ร 40 ชม ตอป ตามคำส่งั กระทรวง ท่ี สป 1137/2561

4. กิจกรรมพฒั นาผเู รยี นจัดเปน กิจกรรม “ลดเวลาเรยี น เพ่มิ เวลารู” บังคับตามหลกั สูตร
ประกอบดวยกิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรยี น และกิจกรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน

สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาพิษณโุ ลก เขต 1 ๒๕

โครงสรา งหลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี น………………….
ระดับประถมศกึ ษาชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 4

รหสั กลุมสาระการเรยี นรู/ กจิ กรรม เวลาเรียน เวลาเรียน
(ชม./ป) (ชม./สปั ดาห)
รายวิชาพ้นื ฐาน ๘๔๐ 21
ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย๔ ๑๖๐ ๔
ค ๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร๔ ๑๖๐ ๔
ว๑๔๑๐๑ วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลย๔ี 80 2
ส ๑๔๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๔ ๘๐ ๒
ส ๑๔๑๐๒ ประวัตศิ าสตร ๔ ๔๐ ๑
พ ๑๔๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๔ ๘๐ ๒
ศ ๑๔๑๐๑ ศิลปะ ๔ ๘๐ ๒
ง ๑๔๑๐๑ การงานอาชีพ ๔ ๔๐ ๑
อ ๑๔๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๔ ๘๐ ๒
ส 1๔202 รายวิชาเพ่มิ เตมิ 1๒๐ ๓
๔๐ ๑
**การปอ งกันการทจุ รติ

กจิ กรรมพัฒนาผเู รียน 1๒๐ ๓
แนะแนว ๔๐ ๑
กิจกรรมนักเรยี น ๓๐ ๑
๔๐ ๑
• ลูกเสือ - ยุวกาชาด
• ชมุ นมุ ดนตรี
กจิ กรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณะประโยชน ๑๐
รวมเวลาเรยี นท้ังสนิ้ ๑,๐๘๐ ๒๗
หมายเหตุ
๑. วชิ าหนา ท่ีพลเมอื ง บูรณาการกับการเรยี นรแู ละวัดผลรวมในรายวชิ าพนื้ ฐาน สงั คมศึกษา ศาสนา
และวฒั นธรรม
2. ** หลกั สตู รตา นทจุ ริตศึกษา วิชาการปองกนั การทุจริต เปน รายวิชาเพ่ิมเตมิ และหรือกิจกรรมพฒั นา
ผูเรยี นหรอื กิจกรรมเสริมหลกั สูตร 40 ชม ตอ ป ตามคำส่ังกระทรวง ท่ี สป 1137/2561
3. กิจกรรมพฒั นาผูเ รยี นจัดเปนกจิ กรรม “ลดเวลาเรยี น เพ่มิ เวลารู” บังคับตามหลกั สตู ร
ประกอบดว ยกิจกรรมแนะแนว กจิ กรรมนักเรียน และกิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน

สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาพิษณโุ ลก เขต 1 ๒๖

โครงสรางหลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรียน………………….
ระดบั ประถมศึกษาชนั้ ประถมศึกษาปที่ 5

รหสั กลมุ สาระการเรยี นรู/กจิ กรรม เวลาเรียน เวลาเรียน
(ชม./ป) (ชม./สปั ดาห)
รายวิชาพื้นฐาน ๘๔๐ 21
ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย๕ ๑๖๐ ๔
ค ๑๕๑๐๑ คณติ ศาสตร๕ ๑๖๐ ๔
ว๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตรและเทคโนโลย๕ี ๑๒๐ ๓
ส ๑๕๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๕ ๘๐ ๒
ส ๑๕๑๐๒ ประวตั ิศาสตร ๕ ๔๐ ๑
พ ๑๕๑๐๑ สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๕ ๘๐ ๒
ศ ๑๕๑๐๑ ศลิ ปะ ๕ ๘๐ ๒
ง ๑๕๑๐๑ การงานอาชีพ ๕ ๔๐ ๑
อ ๑๕๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๔ ๘๐ ๒
ส 1๕202 รายวชิ าเพิ่มเติม 1๒๐ ๓
๔๐ ๑
**การปองกันการทุจริต

กิจกรรมพฒั นาผเู รยี น 1๒๐ ๓
แนะแนว ๔๐ ๑
กจิ กรรมนักเรยี น ๓๐ ๑
๔๐ ๑
• ลกู เสือ - ยวุ กาชาด
• ชุมนมุ ดนตรี ๑๐
กิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณะประโยชน
รวมเวลาเรยี นทัง้ สน้ิ ๑,๐๘๐ ๒๗
หมายเหตุ
๑. วิชาหนา ทีพ่ ลเมอื ง บูรณาการกับการเรยี นรแู ละวัดผลรวมในรายวิชาพนื้ ฐาน สังคมศึกษา ศาสนา
และวฒั นธรรม
2. ** หลกั สูตรตา นทจุ รติ ศกึ ษา วิชาการปองกันการทุจรติ เปน รายวิชาเพิ่มเติมและหรือกิจกรรมพฒั นา
ผเู รียนหรือกิจกรรมเสริมหลกั สตู ร 40 ชม ตอ ป ตามคำสั่งกระทรวง ท่ี สป 1137/2561
3. กิจกรรมพฒั นาผูเรยี นจัดเปนกิจกรรม “ลดเวลาเรยี น เพม่ิ เวลาร”ู บงั คบั ตามหลกั สตู ร
ประกอบดว ยกิจกรรมแนะแนว กจิ กรรมนกั เรยี น และกจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน

สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาพิษณโุ ลก เขต 1 ๒๗

โครงสรา งหลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี น………………….
ระดบั ประถมศกึ ษาชนั้ ประถมศึกษาปที่ 6

รหสั กลุม สาระการเรียนร/ู กิจกรรม เวลาเรยี น เวลาเรยี น
(ชม./ป) (ชม./สปั ดาห)
รายวิชาพ้นื ฐาน (๘๔๐)
ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย๖ ๑๖๐ ๔
ค ๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร๖ ๑๖๐ ๔
ว๑๖๑๐๑ วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลย๖ี ๑๒๐ ๓
ส ๑๖๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๖ ๘๐ ๒
ส ๑๖๑๐๒ ประวัติศาสตร ๖ ๔๐ ๑
พ ๑๖๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๖ ๘๐ ๒
ศ ๑๖๑๐๑ ศิลปะ ๖ ๘๐ ๒
ง ๑๖๑๐๑ การงานอาชีพ ๖ ๔๐ ๑
อ ๑๖๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๖ ๘๐ ๒
ส 1๖202 รายวิชาเพมิ่ เตมิ ๘๐ ๓
๔๐ ๑
**การปอ งกนั การทุจริต

กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น (๑๒๐) ๓
แนะแนว ๔๐ ๑
กิจกรรมนักเรยี น ๓๐ ๑
๔๐ ๑
• ลูกเสอื - ยวุ กาชาด
• ชุมนุมดนตรี
กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน ๑๐
รวมเวลาเรยี นทงั้ สน้ิ ๑,๐๘๐ ๒๗
หมายเหตุ
๑. วิชาหนา ที่พลเมอื ง บรู ณาการกบั การเรียนรแู ละวดั ผลรวมในรายวิชาพ้ืนฐาน สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
2. ** หลกั สตู รตานทุจรติ ศกึ ษา วชิ าการปองกันการทุจริต เปนรายวิชาเพ่มิ เตมิ และหรอื กิจกรรมพฒั นา
ผเู รียนหรอื กจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู ร 40 ชม ตอป ตามคำส่ังกระทรวง ที่ สป 1137/2561
3. กิจกรรมพฒั นาผเู รียนจัดเปนกจิ กรรม “ลดเวลาเรยี น เพมิ่ เวลารู” บงั คับตามหลกั สตู ร
ประกอบดวยกิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนกั เรยี น และกจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน

สำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาพิษณุโลก เขต 1 ๒๘

มาตรฐานการเรยี นรูและตวั ชว้ี ดั และลักษณะตัวชวี้ ัด

มาตรฐานการเรียนรู

การพัฒนาผูเรียนใหเกิดความสมดุล ตองคำนึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปญญา
หลักสูตรโรงเรียน.......................................... พุทธศักราช ……………….. ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ จงึ กำหนดใหผ เู รยี นเรียนรู ๘ กลมุ สาระการเรียนรดู ังนี้

๑. ภาษาไทย
๒. คณิตศาสตร
๓. วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี
๔. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
๕. สขุ ศึกษาและพลศึกษา
๖. ศลิ ปะ
๗. การงานอาชพี
๘. ภาษาตางประเทศ

ในแตละกลุมสาระการเรียนรูไดกำหนดมาตรฐานการเรียนรูเปนเปาหมายสำคัญของการพัฒนา
คุณภาพผเู รยี น มาตรฐานการเรยี นรูระบุสิ่งที่ผูเ รียนพงึ รู ปฏบิ ตั ิได มคี ณุ ธรรมจริยธรรม และคานิยมท่ีพึงประสงค
เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากนั้นมาตรฐานการเรียนรูยังเปนกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนพัฒนาการศึกษา
ทั้งระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรูจะสะทอนใหทราบวาตองการอะไร จะสอนอยางไร และประเมินอยางไร
รวมทั้งเปนเครื่องมือในการตรวจสอบเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาโดยใชระบบการประเมินคุณภาพภายใน
และการประเมินคุณภาพภายนอก ซึ่งรวมถึงการทดสอบระดับเขตพื้นที่การศึกษา และการทดสอบระดับชาติ
ระบบการตรวจสอบเพอื่ ประกันคุณภาพดังกลาวเปนส่ิงสำคัญท่ชี วยสะทอ นภาพการจัดการศกึ ษาวาสามารถพัฒนา
ผเู รียนใหมคี ณุ ภาพตามท่ีมาตรฐานการเรียนรกู ำหนดเพยี งใด

สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาพษิ ณโุ ลก เขต 1 ๒๙

ตัวชวี้ ัด

ตัวชี้วัดระบุสิ่งที่นักเรียนพึงรูและปฏิบัติได รวมทั้งคุณลักษณะของผูเรียนในแตละระดับชั้น ซึ่งสะทอนถึง
มาตรฐานการเรียนรู มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเปนรูปธรรม นำไปใชในการกำหนดเนื้อหา จัดทำหนวยการ
เรียนรู จดั การเรียนการสอน และเปนเกณฑสำคญั สำหรับการวดั ประเมนิ ผลเพื่อตรวจสอบคณุ ภาพผเู รยี น

ตวั ช้วี ัดช้นั ป เปน เปา หมายในการพฒั นาผเู รียนแตล ะช้นั ปในระดับการศึกษาภาคบังคบั
(ประถมศกึ ษาปท ี่ ๑ – มัธยมศกึ ษาปท ่ี ๓)

หลกั สูตรไดม ีการกำหนดรหัสกำกับมาตรฐานการเรยี นรแู ละตัวชี้วดั เพื่อความเขาใจและใหสื่อสาร
ตรงกัน ดงั นี้
ว ๑.๑ ป. ๑/๒

ป.๑/๒ ตัวช้วี ดั ช้ันประถมศึกษาปที่ ๑ ขอ ท่ี ๑
๑.๑ สาระที่ ๑ มาตรฐานขอ ท่ี ๑
ว กลุมสาระการเรียนรูว ิทยาศาสตร

สำนักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาพษิ ณโุ ลก เขต 1 ๓๐

สาระและมาตรฐานการเรียนรู

หลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรยี น…………………………………………….. พุทธศกั ราช ………………….. ตามหลกั สตู ร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กำหนดมาตรฐานการเรียนรูใน ๘ กลุมสาระการเรียนรูมี 31
สาระ จำนวน 55 มาตรฐาน ดงั นี้

ภาษาไทย
กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทยมี 5 สาระ จำนวน 5 มาตรฐาน
สาระที่ ๑ การอาน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก ระบวนการอานสรา งความรูแ ละความคดิ เพ่อื นำไปใชตดั สินใจ แกป ญหาในการ
ดำเนินชีวิตและมนี ิสยั รักการอา น
สาระท่ี ๒ การเขยี น
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก ระบวนการเขียน เขียนส่อื สาร เขยี นเรยี งความ ยอความ และเขยี นเร่อื งราวใน
รูปแบบตา งๆ เขยี นรายงานขอ มลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควา อยางมี
ประสิทธิภาพ
สาระที่ ๓ การฟง การดู และการพดู
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟง และดอู ยา งมวี ิจารณญาณ และพดู แสดงความรู ความคิด ความรสู ึก
ในโอกาสตางๆ อยางมวี ิจารณญาณ และสรางสรรค
สาระที่ ๔ หลกั การใชภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา
ภูมปิ ญญาทางภาษา และรกั ษา ภาษาไทยไวเ ปนสมบตั ิของชาติ
สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดี และวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคาและ
นำมาประยุกตใชใ นชีวิตจรงิ

คณิตศาสตร
กลุมสาระการเรยี นรูคณติ ศาสตรม ี 3 สาระจำนวน 7 มาตรฐาน
สาระท่ี ๑ จำนวนและพชี คณิต
มาตรฐาน ค ๑.๑ เขาใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน

ผลท่เี กดิ ขนึ้ จากการดำเนนิ การ สมบตั ขิ องการดำเนินการ และนำไปใช
มาตรฐาน ค ๑.๒ เขาใจและวเิ คราะหแบบรูป ความสัมพนั ธ ฟง กช นั ลำดับและอนุกรม และนำไปใช
มาตรฐาน ค ๑.๓ ใชนพิ จน สมการ และอสมการอธิบายความสัมพนั ธห รอื ชว ยแกปญหาทีก่ ำหนดให
สาระที่ ๒ การวัดและเรขาคณิต
มาตรฐาน ค ๒.๑ เขาใจพ้ืนฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งท่ตี อ งการวัด และนำไปใช
มาตรฐาน ค ๒.๒ เขาใจและวิเคราะหรูปเรขาคณิต สมบัตขิ องรูปเรขาคณิต ความสัมพนั ธร ะหวาง

รปู เรขาคณิตและทฤษฎีบททางเรขาคณติ และนำไปใช

สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพิษณโุ ลก เขต 1 ๓๑

สาระที่ ๓ สถติ แิ ละความนา จะเปน
มาตรฐาน ค ๓.๑ เขา ใจกระบวนการทางสถิติ และใชค วามรทู างสถิติในการแกป ญ หา

มาตรฐาน ค ๓.๒ เขาใจหลกั การนบั เบอ้ื งตน ความนาจะเปน และนำไปใช

วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
กลมุ สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยมี ี 4 สาระจำนวน 10 มาตรฐาน
สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตรช วี ภาพ

มาตรฐาน ว ๑.๑ เขาใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธระหวางสิ่งไมมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต
และความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตตาง ๆ ในระบบนิเวศ การถายทอด
พลังงาน การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปญหาและ
ผลกระทบที่มีตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม แนวทางในการอนุรักษ
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละการแกไขปญ หาสิ่งแวดลอม รวมท้งั นำความรไู ปใชประโยชน

มาตรฐาน ว ๑.๒ เขาใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเขาและออกจาก
เซลล ความสัมพันธของโครงสราง และหนาที่ของระบบตาง ๆ ของสัตวและมนุษยที่
ทำงานสัมพันธกัน ความสัมพันธของโครงสราง และหนาที่ของอวัยวะตาง ๆ ของพืชท่ี
ทำงานสัมพนั ธก ัน รวมทงั้ นำความรูไ ปใชประโยชน

มาตรฐาน ว ๑.๓ เขา ใจกระบวนการและความสำคัญของการถายทอดลกั ษณะทางพันธุกรรม
สารพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลตอสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทาง
ชวี ภาพและววิ ฒั นาการของสิง่ มชี วี ิต รวมทัง้ นำความรไู ปใชป ระโยชน

สาระท่ี ๒ วิทยาศาสตรกายภาพ

มาตรฐาน ว ๒.๑ เขาใจสมบัติของสสาร องคประกอบของสสาร ความสัมพันธระหวางสมบัติของสสารกับ
โครงสรางและแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลง
สถานะของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี

มาตรฐาน ว ๒.๒ เขา ใจธรรมชาติของแรงในชวี ิตประจำวนั ผลของแรงทก่ี ระทำตอ วตั ถุ ลกั ษณะ
การเคล่ือนทแี่ บบตาง ๆ ของวัตถุ รวมทง้ั นำความรูไ ปใชป ระโยชน

มาตรฐาน ว ๒.๓ เขาใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ
ระหวางสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของคล่นื ปรากฎการณท่ี
เกยี่ วขอ งกบั เสียง แสง และคลื่นแมเหลก็ ไฟฟา รวมทง้ั นำความรูไ ปใชป ระโยชน

สาระท่ี ๓ วทิ ยาศาสตรโลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว ๓.๑ เขาใจองคประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกดิ และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซีดาว
ฤกษ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธภายในระบบสุริยะท่ีสงผลตอสิ่งมีชีวิตและการ
ประยกุ ตใ ชเ ทคโนโลยีอวกาศ

สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาพษิ ณุโลก เขต 1 ๓๒

มาตรฐาน ว ๓.๒ เขาใจองคประกอบและความสัมพนั ธของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง
สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี ภายในโลก และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟาอากาศและ
ภูมิอากาศโลก รวมทัง้ ผลตอส่ิงมีชีวติ และสงิ่ แวดลอ ม

มาตรฐาน ว ๔.๑ เขาใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยเี พอ่ื การดำรงชวี ติ ในสงั คมทีม่ ีการ
มาตรฐาน ว ๔.๒ เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วใชความรูและทักษะทางดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และ
ศาสตรอื่น ๆเพื่อแกปญหาหรือพัฒนางานอยางมีความคิดสรางสรรคดวยกระบวนการ
ออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใชเทคโนโลยีอยางเหมาะสมโดยคำนึงถึงผลกระทบตอชีวิต
สังคม และส่ิงแวดลอ ม
เขาใจและใชแ นวคดิ เชงิ คำนวณในการแกป ญ หาท่พี บในชีวติ จริงอยางเปน
ขั้นตอนและเปนระบบ ใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู การทำงาน
และการแกป ญ หาไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ รูเทาทนั และมจี ริยธรรม

สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม
กลมุ สาระการเรียนรูส งั คมศกึ ษาศาสนาและวัฒนธรรมมี 5 สาระ จำนวน 11 มาตรฐาน
สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม
มาตรฐาน ส ๑.๑ รู และเขาใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือ

ศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกตอง ยึดมั่น และปฏิบัติตาม
หลกั ธรรม เพ่ืออยูรวมกันอยางสันตสิ ุข
มาตรฐาน ส ๑.๒ เขาใจตระหนักและปฏบิ ตั ติ นเปนศาสนิกชนทีด่ ีและธำรงรกั ษาพระพทุ ธ ศาสนา
หรือศาสนาท่ีตนนบั ถอื
สาระท่ี ๒ หนาท่พี ลเมอื ง วฒั นธรรม และการดำเนนิ ชวี ิตในสังคม
มาตรฐาน ส ๒.๑ เขา ใจและปฏบิ ัติตนตามหนาที่ของการเปนพลเมืองดี มีคานิยมทดี่ งี ามและธำรง
รักษาประเพณีและวฒั นธรรมไทย ดำรงชวี ติ อยรู วมกันในสงั คมไทย และ สังคม
โลกอยางสนั ติสขุ
มาตรฐาน ส ๒.๒ เขาใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธำรง
รักษาไวซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน
ประมุข
สาระท่ี ๓ เศรษฐศาสตร
มาตรฐาน ส ๓.๑ เขาใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช
ทรัพยากรทีม่ ีอยูจำกัดไดอ ยางมีประสทิ ธิภาพและคุมคา รวมท้ังเขาใจหลักการ
ของเศรษฐกิจพอเพียง เพอ่ื การดำรงชีวิตอยา งมีดุลยภาพ
มาตรฐาน ส ๓.๒ เขาใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจตาง ๆ ความสัมพันธทางเศรษฐกิจ และ
ความจำเปน ของการรว มมอื กันทางเศรษฐกจิ ในสงั คมโลก

สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาพิษณโุ ลก เขต 1 ๓๓

สาระท่ี ๔ ประวตั ิศาสตร เขา ใจความหมาย ความสำคญั ของเวลาและยุคสมัยทางประวตั ิศาสตร
มาตรฐาน ส ๔.๑ สามารถใชว ธิ กี ารทางประวตั ิศาสตรมาวเิ คราะหเหตุการณตางๆ อยางเปน
ระบบ
มาตรฐาน ส ๔.๒ เขาใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปจจุบัน ในดานความสัมพันธ
และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณอยางตอเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและ
มาตรฐาน ส ๔.๓ สามารถวิเคราะหผ ลกระทบทเี่ กิดขนึ้
สาระที่ ๕ ภมู ิศาสตร เขาใจความเปนมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปญญาไทยมีความรัก
ความภมู ใิ จและธำรงความเปนไทย
มาตรฐาน ส ๕.๑
เขาใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสมั พนั ธข องสรรพสงิ่ ซงึ่ มีผลตอ
มาตรฐาน ส ๕.๒ กันใชแผนทแี่ ละเคร่ืองมือทางภมู ิศาสตรใ นการคน หา วเิ คราะห และสรุปขอ มลู
ตามกระบวนการทางภูมศิ าสตร ตลอดจนใชภ มู ิสารสนเทศอยางมปี ระสิทธภิ าพ
เขา ใจปฏิสมั พนั ธระหวางมนุษยกับสง่ิ แวดลอ มทางกายภาพทกี่ อใหเ กดิ การ
สรางสรรควถิ ีการดำเนินชวี ิต มจี ติ สำนึกและมสี ว นรว มในการจัดการทรัพยากร
และส่ิงแวดลอมเพ่อื การพฒั นาท่ียง่ั ยนื

สุขศึกษาและพลศึกษา

กลมุ สาระการเรยี นรสู ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษามี 5 สาระ จำนวน 6 มาตรฐาน
สาระท่ี ๑ การเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของมนษุ ย

มาตรฐาน พ ๑. ๑ เขาใจธรรมชาตขิ องการเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการของมนุษย

สาระท่ี ๒ ชวี ติ และครอบครัว
มาตรฐาน พ ๒.๑ เขาใจและเห็นคุณคาตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการดำเนิน
ชีวิต

สาระท่ี ๓ การเคล่ือนไหว การออกกำลังกาย การเลน เกม กีฬาไทย และกีฬาสากล
มาตรฐาน พ ๓.๑ เขา ใจ มีทกั ษะในการเคล่อื นไหว กจิ กรรมทางกาย การเลน เกม และกฬี า
มาตรฐาน พ ๓.๒ รักการออกกำลังกาย การเลนเกม และการเลนกีฬา ปฏิบัติเปนประจำอยู
สม่ำเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้ำใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการ
แขงขนั และชน่ื ชมในสนุ ทรยี ภาพของการกีฬา

สาระท่ี ๔ การสรา งเสรมิ สขุ ภาพ สมรรถภาพและการปองกนั โรค
มาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคุณคาและมีทักษะในการสรางเสริมสุขภาพ การดำรงสุขภาพ การ
ปอ งกนั โรคและการสรางเสรมิ สมรรถภาพเพอ่ื สขุ ภาพ

สาระท่ี ๕ ความปลอดภยั ในชวี ติ
มาตรฐาน พ ๕.๑ ปองกันและหลีกเล่ียงปจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพ อุบัติเหตุ การใชยา
สารเสพตดิ และความรุนแรง

สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาพิษณโุ ลก เขต 1 ๓๔

ศิลปะ
กลุมสาระการเรยี นรูศลิ ปะมี 3 สาระ จำนวน 6 มาตรฐาน
สาระที่ ๑ ทัศนศลิ ป
มาตรฐาน ศ ๑.๑ สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห
วพิ ากษ วจิ ารณคุณคางานทศั นศลิ ป ถา ยทอดความรูส กึ ความคิดตอ งานศิลปะ
อยา งอิสระ ชื่นชม และประยุกตใ ชในชีวติ ประจำวัน
มาตรฐาน ศ ๑.๒ เขาใจความสมั พันธระหวางทศั นศลิ ป ประวัตศิ าสตร และวัฒนธรรม เหน็ คุณคา
งานทัศนศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทยและ
สากล
สาระท่ี ๒ ดนตรี
มาตรฐาน ศ ๒.๑ เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคณุ คา
ดนตรี ถายทอดความรสู ึก ความคดิ ตอดนตรีอยางอสิ ระ ช่ืนชม และประยุกตใช
ในชวี ิตประจำวนั
มาตรฐาน ศ ๒.๒ เขาใจความสัมพันธระหวางดนตรี ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคา
ของดนตรีที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน ภูมิปญญาไทยและ
สากล
สาระที่ ๓ นาฏศลิ ป
มาตรฐาน ศ ๓.๑ เขาใจ และแสดงออกทางนาฏศิลปอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ วิจารณ
คุณคานาฏศลิ ป ถายทอดความรูส ึก ความคิดอยา งอิสระ ช่นื ชม และประยุกตใช
ในชวี ิตประจำวัน
มาตรฐาน ศ ๓.๒ เขาใจความสัมพันธระหวางนาฏศิลป ประวัติศาสตรและวัฒนธรรม เห็นคุณคาของ
นาฏศลิ ปที่เปน มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปญญาทอ งถน่ิ ภูมิปญญาไทยและสากล

การงานอาชีพ
กลุมสาระการเรยี นรูก ารงานอาชพี มี 2 สาระ จำนวน 2 มาตรฐาน
สาระท่ี ๑ การดำรงชวี ติ และครอบครัว

มาตรฐาน ง ๑.๑ เขาใจการทำงาน มีความคิดสรางสรรค มีทักษะกระบวนการทำงานทักษะการจัดการ
ทักษะกระบวนการแกป ญหา ทักษะการทำงานรว มกัน และทักษะการแสวงหาความรู
มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทำงาน มีจิตสำนึกในการใชพลังงาน ทรัพยากร และ
ส่ิงแวดลอม เพื่อการดำรงชีวิตและครอบครวั

สาระท่ี 2 การงานอาชีพ

มาตรฐาน ง ๒.๑ เขาใจ มีทักษะที่จำเปน มีประสบการณ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใชเทคโนโลยีเพื่อ
พฒั นาอาชีพ มีคุณธรรม และมเี จตคติทีด่ ีตอ อาชพี

หมายเหต:ุ ปการศกึ ษา 2561 ใหย กเลิกสาระที่ 2 มาตรฐาน ง 2.๑และสาระท่ี 3 มาตรฐาน ง 3.๑

สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาพิษณโุ ลก เขต 1 ๓๕

ในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 1และ4และมัธยมศึกษาปที่ 1 และเปลี่ยนสาระที่ 4 การอาชีพ เปน สาระที่ 2 การ
อาชีพ

ปการศึกษา 2562 ใหย กเลิกสาระท่ี 2 มาตรฐาน ง 2.๑และสาระที่ 3 มาตรฐาน ง 3.๑
ในระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 1,2,4และ5 และมัธยมศึกษาปที่ 1 และ 2 และเปลี่ยนสาระที่ 4 การอาชีพ เปน
สาระท่ี 2 การอาชพี

ปการศกึ ษา 2563 เปนตนไป ใหย กเลกิ และเปลีย่ นชือ่ สาระทุกชัน้ เรยี น

ภาษาตางประเทศ
กลมุ สาระการเรยี นรูภ าษาตา งประเทศมี 4 สาระ จำนวน 8 มาตรฐาน
สาระที่ ๑ ภาษาเพอ่ื การสอื่ สาร
มาตรฐาน ต ๑.๑ เขาใจและตีความเรื่องที่ฟงและอานจากสื่อประเภทตางๆ และแสดงความคิดเห็น
อยา งมีเหตผุ ล
มาตรฐาน ต ๑.๒ มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร แสดงความรูสึก
และความคิดเห็นอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ
มาตรฐาน ต ๑.๓ นำเสนอขอมูลขาวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องตางๆโดย
การพูดและการเขยี น
สาระท่ี ๒ ภาษาและวฒั นธรรม
มาตรฐาน ต ๒.๑ เขาใจความสัมพันธระหวางภาษากับวัฒนธรรมของเจาของภาษา และนำไปใช
ไดอ ยา งเหมาะสมกบั กาลเทศะ
มาตรฐาน ต ๒.๒ เขา ใจความเหมือนและความแตกตา งระหวางภาษาและวัฒนธรรมของเจา ของ
ภาษากับภาษาและวฒั นธรรมไทย และนำมาใชอ ยา งถูกตอ ง และเหมาะสม
สาระท่ี ๓ ภาษากบั ความสัมพนั ธก ับกลุมสาระการเรียนรอู ืน่
มาตรฐาน ต ๓.๑ ใชภาษาตางประเทศในการเชื่อมโยงความรูกับกลุมสาระการเรียนรูอื่น และเปน
พ้นื ฐานในการพฒั นา แสวงหาความรู และเปดโลกทัศนข องตน
สาระท่ี ๔ ภาษากับความสัมพนั ธก บั ชมุ ชนและโลก
มาตรฐาน ต ๔.๑ ใชภ าษาตา งประเทศในสถานการณตางๆ ท้ังในสถานศึกษา ชมุ ชนและสังคม
มาตรฐาน ต ๔.๒ ใชภาษาตางประเทศเปนเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาตอ การประกอบอาชีพ
และการแลกเปลีย่ นเรียนรูกบั สังคมโลก

สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาพิษณโุ ลก เขต 1 ๓๖

การกำหนดรหสั วชิ า

ท ๑๑๑๐๑

หลกั ท่ี 5 และ 6 เปน รหัสตวั เลขแสดงลำดบั ของรายวชิ าแตละกลมุ สาระการเรยี นรูในป/ระดบั การศกึ ษา เดียวกันใน
ระดับประถมศึกษา มธั ยมศึกษาตอนตน หรือมธั ยมศึกษาตอนปลาย มจี ำนวนตงั้ แต 01-99 เหมือนเดิม ดังนี้ รายวชิ าท่ี
กำหนดปท ่เี รียน ใหนับรหสั หลักที่ 5-6 ตอเน่อื งในปเ ดยี วกนั
รายวิชาท่ีไมกำหนดปทเ่ี รยี น ใหนับรหสั หลกั ที่ 5-6 ตอ เน่อื งในระดบั ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน และมัธยมศึกษา
ตอนปลาย

หลกั ท่ี 4 เปน รหสั ตวั เลขแสดงประเภทของรายวิชา ซึ่งกำหนดรหัสตัวเลขไว 2 ตัว เหมอื นเดมิ ดงั น้ี
1 หมายถงึ รายวชิ าพ้ืนฐาน 2 หมายถึง รายวชิ าเพ่มิ เติม

หลกั ท่ี 3 เปน รหัสตัวเลขแสดงปที่เรียนของรายวิชา ซึ่งสะทอ นระดบั ความรแู ละทักษะในรายวิชาท่กี ำหนดไวใ นแตล ะป ซึ่งมกี าร
เปลย่ี นจากรหสั ตัวเลข 4 ตวั เปน 7 ตวั ดงั น้ี

0 หมายถงึ รายวิชาท่ไี มก ำหนดปทีเ่ รียน จะเรียนปใ ดก็ไดในระดบั ประถมศกึ ษา มัธยมศึกษาตอนตน และมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
1 หมายถึง รายวิชาที่เรยี นในปท ี่ 1 ของระดับประถมศกึ ษา มัธยมศึกษาตอนตน และมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ป.1 ม.1 และม.4)
2 หมายถึง รายวิชาที่เรียนในปท่ี 2 ของระดับประถมศึกษา มธั ยมศกึ ษาตอนตน และมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ป.2 ม.2 และม.5)
3 หมายถงึ รายวิชาที่เรียนในปท ่ี 3 ของระดับประถมศึกษา มธั ยมศึกษาตอนตน และมธั ยมศึกษาตอนปลาย (ป.3 ม.3 และ ม.6)
4 หมายถึง รายวิชาท่ีเรยี นในปท ่ี 4 ของระดบั ประถมศกึ ษา (ป.4)
5 หมายถึง รายวชิ าที่เรยี นในปท่ี 5 ของระดบั ประถมศึกษา (ป.5)
6 หมายถึง รายวิชาทเี่ รยี นในปท ี่ 6 ของระดบั ประถมศึกษา (ป.6)

หลกั ท่ี 2 เปน รหสั ตวั เลขแสดงระดับการศกึ ษา มีการเปล่ยี นจากการใชรหัสตัวเลข 4 ตัว เปน 3 ตัว ดงั น้ี
1 หมายถึง รายวชิ าระดบั ประถมศึกษา 2 หมายถึง รายวิชาระดบั มัธยมศึกษาตอนตน
3 หมายถงึ รายวชิ าระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

หลกั ท่ี 1 เปน รหสั ตัวอกั ษรแสดงกลุมสาระการเรยี นรู ซ่งึ กำหนดรหสั ตัวอกั ษรแสดงกลมุ สาระการเรียนรู เหมือนเดิม ดังน้ี
ท หมายถึง กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย ค หมายถึง กลุมสาระการเรยี นรูค ณติ ศาสตร
ว หมายถงึ กลมุ สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตร ส หมายถงึ กลมุ สาระการเรียนรสู ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
พ หมายถงึ กลุมสาระการเรียนรูส ุขศกึ ษาและพลศึกษา ศ หมายถึง กลมุ สาระการเรยี นรูศลิ ปะ
ง หมายถงึ กลุมสาระการเรยี นรกู ารงานอาชพี และเทคโนโลยี อ หมายถึง กลมุ สาระการเรียนรูภาษาตา งประเทศใหใชรหัสของแตล ะภาษา

สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 ๓๗

ตอนท่ี 3
องคป ระกอบที่ 3
คำอธบิ ายรายวิชา

ตอนท่ี 3
องคประกอบที่ 3 คำอธิบายรายวิชา

ตัวอยางคำอธบิ ายรายวชิ า

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียน.................................................... ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ไดกำหนดคำอธิบายรายวิชาของวิชาตาง ๆ ที่สอนในแตละปการศึกษา ซ่ึง
ประกอบดวย ชอ่ื รหสั วชิ า ชือ่ รายวิชา จำนวนชวั่ โมงตอป ผลการเรยี นรูที่คาดหวงั และสาระการเรยี นรูรายป
คำอธิบายรายวิชาจะชวยใหผูสอนจดั หนว ยการเรยี นรูในแตละช้ันป ไดสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู เนื่องจาก
คำอธิบายรายวิชาจะรวมสาระการเรียนรูที่ผูเรียนตองเรียนรูตลอดทั้งป กลุมของสาระการเรียนรูตลอดป จะมี
จำนวนมาก ดังนั้น การจัดเปนหนวยการเรียนรูหลาย ๆ หนวย จะชวยใหกลุมของสาระการเรียนรูมีขนาดเล็กลง
และบูรณาการไดหลากหลายมากขนึ้

โรงเรยี น.............................. ไดก ำหนดรายละเอยี ดของคำอธบิ ายรายวิชาเรยี งตามลำดับไว ดงั น้ี
๑. คำอธบิ ายรายวชิ ากลมุ สาระการเรียนรภู าษาไทย ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี ๑ ถึงชั้นประถมศึกษาปท่ี ๖
๒. คำอธิบายรายวชิ ากลุมสาระการเรยี นรคู ณิตศาสตร ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๑ ถึงชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ ๖
๓. คำอธิบายรายวชิ ากลมุ สาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ช้ันประถมศกึ ษาปท่ี ๑ ถึงช้นั
ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖
๔. คำอธิบายรายวิชากลมุ สาระการเรยี นรสู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชนั้ ประถมศึกษาปที่ ๑
ถงึ ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖
๕. คำอธิบายรายวิชากลมุ สาระการเรียนรูส ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวชิ าประวตั ิศาสตร
ชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ ๑ ถึงชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖
๖. คำอธิบายรายวิชากลุมสาระการเรยี นรสู ขุ ศึกษาและพลศึกษา ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ ๑ ถงึ ช้ัน
ประถมศกึ ษาปท่ี ๖
๗. คำอธิบายรายวิชากลมุ สาระการเรียนรูศ ิลปะ ช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ ๑ ถงึ ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ ๖
๘. คำอธบิ ายรายวชิ ากลมุ สาระการเรยี นรกู ารงานอาชพี ช้ันประถมศึกษาปท ่ี ๑ ถึงชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ ๖
๙. คำอธิบายรายวิชากลมุ สาระการเรยี นรภู าษาตา งประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ช้ันประถมศึกษาปที่ ๑
ถงึ ชนั้ ประถมศึกษาปที่ ๖
๑๐. คำอธิบายรายวชิ าเพมิ่ เติม วิชาภาษาองั กฤษเพ่ือการสือ่ สาร ช้ันประถมศกึ ษาปที่ ๑ ถงึ ช้ัน
ประถมศึกษาปท่ี ๖
๑๑. คำอธบิ ายรายวชิ าเพ่ิมเติม วชิ าหนา ที่พลเมอื ง ช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ ๑ ถงึ ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๖
12. คำอธิบายรายวชิ าเพมิ่ เติม วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นประถมศึกษาปท ี่ ๑ ถงึ ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ ๖
๑3. คำอธบิ ายรายวิชาเพ่มิ เตมิ วชิ าการปองกนั การทจุ ริต ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๑ ถงึ ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖
๑4. คำอธบิ ายรายวชิ ากิจกรรมพฒั นาผเู รียน ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ ๑ ถงึ ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี ๖

ระดบั
ประถมศกึ ษา

รายวชิ าพ้นื ฐาน

รายวชิ าพืน้ ฐานกลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย

ระดับช้ันประถมศกึ ษา จำนวน ๒๐๐ ช่วั โมง
รายวชิ าพนื้ ฐาน จำนวน ๒๐๐ ช่ัวโมง
ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ จำนวน ๒๐๐ ชว่ั โมง
จำนวน ๑๖๐ ชว่ั โมง
ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ จำนวน ๑๖๐ ชว่ั โมง
จำนวน ๑๖๐ ชว่ั โมง
ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓

ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔

ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕

ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๖

รายวชิ าพ้นื ฐานกลุม สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร

ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษา จำนวน ๒๐๐ ช่วั โมง
รายวิชาพน้ื ฐาน จำนวน ๒๐๐ ชว่ั โมง
ค ๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร ๑ จำนวน ๒๐๐ ช่ัวโมง
จำนวน ๑๖๐ ช่ัวโมง
ค ๑๒๑๐๑ คณติ ศาสตร ๒ จำนวน ๑๖๐ ช่ัวโมง
จำนวน ๑๖๐ ชวั่ โมง
ค ๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร ๓

ค ๑๔๑๐๑ คณติ ศาสตร ๔

ค ๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร ๕

ค ๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร ๖

รายวชิ าพืน้ ฐานกลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

ระดับชน้ั ประถมศึกษา

รายวชิ าพน้ื ฐาน จำนวน ๘๐ ชวั่ โมง
ว ๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๑ จำนวน ๘๐ ชว่ั โมง
ว ๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๒ จำนวน ๘๐ ชั่วโมง
ว ๑๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๓ จำนวน ๘๐ ชว่ั โมง
ว ๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ๔ จำนวน ๘๐ ชั่วโมง
ว ๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๕ จำนวน ๘๐ ชั่วโมง
ว ๑๖๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๖

สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาพษิ ณโุ ลก เขต 1 ๔๒

รายวชิ าพ้ืนฐานกลมุ สาระการเรยี นรสู งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ระดับชนั้ ประถมศกึ ษา จำนวน ๘๐ ชัว่ โมง
รายวชิ าพ้นื ฐาน จำนวน ๘๐ ช่ัวโมง
ส ๑๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๑ จำนวน ๘๐ ช่วั โมง
ส ๑๒๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๒ จำนวน ๘๐ ช่วั โมง
ส ๑๓๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๓ จำนวน ๘๐ ชว่ั โมง
ส ๑๔๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๔ จำนวน ๘๐ ช่วั โมง
ส ๑๕๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๕ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง
ส ๑๖๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๖ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง
ส ๑๑๑๐๒ ประวัติศาสตร ๑ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง
ส ๑๒๑๐๒ ประวัตศิ าสตร ๒ จำนวน ๔๐ ช่วั โมง
ส ๑๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร ๓ จำนวน ๔๐ ช่วั โมง
ส ๑๔๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร ๔ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง
ส ๑๕๑๐๒ ประวตั ิศาสตร ๕
ส ๑๖๑๐๒ ประวัติศาสตร ๖

รายวชิ าพ้ืนฐานกลุมสาระการเรยี นรสู ขุ ศึกษาและพลศึกษา

ระดับชน้ั ประถมศกึ ษา

รายวชิ าพื้นฐาน จำนวน ๔๐ ชั่วโมง
พ ๑๑๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๑ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง
พ ๑๒๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๒ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง
พ ๑๓๑๐๑ สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๓ จำนวน ๘๐ ชัว่ โมง
พ ๑๔๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๔ จำนวน ๘๐ ช่วั โมง
พ ๑๕๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๕ จำนวน ๘๐ ช่ัวโมง
พ ๑๖๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๖

รายวชิ าพน้ื ฐานกลมุ สาระการเรยี นรศู ิลปะ

ระดับชนั้ ประถมศกึ ษา

รายวิชาพน้ื ฐาน จำนวน ๔๐ ชวั่ โมง
ศ ๑๑๑๐๑ ศิลปะ ๑ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง

ศ ๑๒๑๐๑ ศิลปะ ๒

สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาพษิ ณุโลก เขต 1 ๔๓

ศ ๑๓๑๐๑ ศลิ ปะ ๓ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง
ศ ๑๔๑๐๑ ศลิ ปะ ๔ จำนวน ๘๐ ช่ัวโมง
ศ ๑๕๑๐๑ ศิลปะ ๕ จำนวน ๘๐ ช่วั โมง
ศ ๑๖๑๐๑ ศลิ ปะ ๖ จำนวน ๘๐ ชั่วโมง

รายวชิ าพน้ื ฐานกลุม สาระการเรียนรกู ารงานอาชพี

ระดับชนั้ ประถมศกึ ษา จำนวน ๔๐ ชวั่ โมง
รายวิชาพน้ื ฐาน จำนวน ๔๐ ช่วั โมง
ง ๑๑๑๐๑ การงานอาชพี ๑ จำนวน ๔๐ ช่ัวโมง
จำนวน ๘๐ ชั่วโมง
ง ๑๒๑๐๑ การงานอาชีพ ๒ จำนวน ๘๐ ชัว่ โมง
จำนวน ๘๐ ชว่ั โมง
ง ๑๓๑๐๑ การงานอาชีพ ๓

ง ๑๔๑๐๑ การงานอาชีพ ๔

ง ๑๕๑๐๑ การงานอาชพี ๕

ง ๑๖๑๐๑ การงานอาชพี ๖

รายวชิ าพน้ื ฐานกลุมสาระการเรียนรภู าษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ)

ระดับชนั้ ประถมศกึ ษา จำนวน ๑๒๐ ช่วั โมง
รายวิชาพน้ื ฐาน จำนวน ๑๒๐ ชว่ั โมง
อ ๑๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑ จำนวน ๑๒๐ ชว่ั โมง
จำนวน ๘๐ ชว่ั โมง
อ ๑๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๒ จำนวน ๘๐ ชั่วโมง
จำนวน ๘๐ ชว่ั โมง
อ ๑๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๓

อ ๑๔๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๔

อ ๑๕๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๕

อ ๑๖๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๖

สำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 ๔๔

คำอธบิ ายรายวิชา

กลมุ สาระการเรยี นรู
ภาษาไทย

โครงสรางหลกั สูตรกลุม สาระการเรียนรภู าษาไทย
ระดับประถมศึกษา

กลุมรายวิชาพ้นื ฐาน

ท่ี รหัสวชิ า ช่อื วชิ า ระดบั ชนั้ จำนวนช่ัวโมง/ป
๑ ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ป. ๑ ๒๐๐
๒ ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ ป. ๒ ๒๐๐
๓ ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ป. ๓ ๒๐๐
๔ ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔ ป. ๔ ๑๖๐
๕ ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ป. ๕ ๑๖๐
๖ ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๖ ป. ๖ ๑๖๐

สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณโุ ลก เขต 1 ๔๖

คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน

ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ กลุมสาระการเรยี นรูภ าษาไทย

ชน้ั ประถมศึกษาปที่ ๑ เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง

....................................................................................................................................................................................

ศึกษาและฝกการอานคำคลองจองและขอความสั้น ๆ บอกความหมายของคำและขอความ ตอบ

คำถามเกี่ยวกับเรื่อง เลาเรื่องยอจากเรื่อง และคาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อาน อานหนังสือตามความสนใจ

อยางสม่ำเสมอ และนำเสนอเรื่องที่อาน บอกความหมายของเครื่องหมายหรือสัญลักษณสำคัญที่มักพบเห็น

ในชีวิตประจำวัน การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนสื่อสารดวยคำและประโยคงาย ๆ การฟงคำแนะนำ

คำสั่งงาย ๆ และปฏิบัติตาม ตอบคำถามและเลาเรื่องที่ฟงและดูทั้งที่เปนความรูและความบันเทิง พูดแสดง

ความคิดเห็น และความรูสึกจากเรื่องที่ฟงและดู พูดสื่อสารไดตามวัตถุประสงค บอกและเขียนพยัญชนะ สระ

วรรณยุกต และเลขไทย เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ เรียบเรียงคำเปนประโยคงาย ๆ บอกขอคิด

ที่ไดจากการอานหรือการฟงวรรณกรรมรอยแกวและรอยกรองสำหรับเด็ก ทองจำบทอาขยานตามที่กำหนดและ

บทรอ ยกรองตามความสนใจ

โดยใชกระบวนการอาน การเขียน ฟง พูดตอบคำถาม กระบวนการคิด การนำเสนอ และ

การอภปิ ราย

เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สื่อสารไดถูกตอง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณคาของการ

อนุรักษภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนำความรูไปใชใหเกิดประโยชนโดยใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพยี งและสามารถนำไปประยุกตใชกับชีวติ ประจำวนั ไดอ ยา งถูกตองเหมาะสม

รหสั ตวั ช้ีวดั

ท ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕, ป.๑/๖, ป.๑/๗, ป.๑/๘
ท ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ท ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕

ท ๔.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ท ๕.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
รวมทงั้ หมด ๒๒ ตวั ชวี้ ัด

สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาพิษณุโลก เขต 1 ๔๗

คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน

ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ กลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย
ชัน้ ประถมศึกษาปท ่ี ๒ เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง

.............................……………………………………………………………………………………………………………………………………

ศึกษาและฝกการอานออกเสียงคำ คำคลองจอง ขอความ และบทรอยกรองงาย ๆ อธิบายความหมาย

ของคำและขอความที่อาน ตั้งคำถามและตอบคำถาม ระบุใจความสำคัญและรายละเอียด แสดงความคิดเห็นและ

คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อาน อานหนังสือตามความสนใจอยางสม่ำเสมอและนำเสนอเร่ืองที่อาน อาน

ขอเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติตามคำสั่งหรือขอเสนอแนะ การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนเรื่องสั้น

เกี่ยวกับประสบการณ เขียนเรื่องสั้นตามจินตนาการ การฟงคำแนะนำ คำสั่งที่ซับซอนและปฏิบัติตาม เลาเรื่อง
ที่ฟงและดูทั้งที่เปนความรูและความบันเทิง บอกสาระสำคัญของเรื่อง ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่อง

ที่ฟงและดู พูดแสดงความคิดเห็นและความรูสึกจากเรื่องที่ฟงและดู พูดสื่อสารไดชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค

การบอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต และเลขไทย เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ เขียนเรียงคำ

เปนประโยคตรงตามเจตนาของการสื่อสาร บอกลักษณะคำคลองจอง เลือกใชภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได

เหมาะสมกับกาลเทศะ การระบุขอคิดที่ไดจากการอานหรือฟงวรรณกรรมสำหรับเด็ก เพื่อนำไปใช

ในชีวิตประจำวัน รองบทเลนสำหรับเด็กในทองถิ่น ทองจำบทอาขยานตามที่กำหนด และบทรอยกรองที่มีคุณคา
ตามความสนใจ

โดยใชกระบวนการอาน เขียน ฟง พูด การสื่อความ กระบวนการคิดวิเคราะห ตีความสรุปความ

การแสวงหาความรู กระบวนการกลมุ การนำเสนอผลงาน

เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สื่อสารไดถูกตอง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณคาของการ
อนุรักษภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนำความรูไปใชใหเกิดประโยชนโดยใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียงและสามารถนำไปประยุกตใชก บั ชีวติ ประจำวันไดอ ยา งถกู ตอ งเหมาะสม

รหสั ตวั ชวี้ ัด
ท ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘

ท ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ท ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕ ป.๒/๖, ป.๒/๗
ท ๔.๑ ป.๒/๑,ป.๒/๒,ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕

ท ๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
รวมท้งั หมด ๒๗ ตัวช้ีวัด

สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาพิษณุโลก เขต 1 ๔๘

คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน

ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ กลมุ สาระการเรียนรูภาษาไทย
ชนั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๓ เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง

....................................................................................................................................................................................

ศกึ ษาและฝกการอานออกเสยี ง และบอกความหมายของคำ คำคลองจอง ขอความ บทรอยกรองงาย ๆ

ตัวการันต คำที่มี ร หัน พยัญชนะและสระไมออกเสียง คำพอง คำพิเศษอื่น ๆ อานจับใจความ นิทานหรือ

เรื่องเกี่ยวกับทองถิ่น เรื่องเลาสั้น ๆ บทเพลงและบทรอยกรอง ขาวเหตุการณในชีวิตประจำวันในทองถิ่นและ

ชุมชน อานหนังสือตามความสนใจ อานขอเขียนเชิงอธิบาย ปฏิบัติตามคำสั่งหรือขอแนะนำ ประกาศ

ปายโฆษณา และคำขวัญ อานขอมูลจากแผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ มารยาทในการอาน การคัดลายมือ
ตัวบรรจงเต็มบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย เขียนบรรยายลักษณะของคน สัตว สิ่งของ สถานที่

บันทึกประจำวัน จดหมายลาครู เรื่องตามจินตนาการจากคำ ภาพ และหัวขอที่กำหนด มารยาทาในการเขียน

การจับใจความ และพูดแสดงความคิดเห็น และความรูสึกจากเรื่องที่ฟงและดูทั้งที่เปนความรูและความบันเทิง

เชนเรื่องเลา และสารคดีสำหรับเด็ก นิทาน การตูน เรื่องขบขัน รายการสำหรับเด็ก ขาว และเหตุการณ

ในชีวิตประจำวัน เพลง พูดสื่อสารในชีวิตประจำวัน มารยาทในการฟง พูด ดู การสะกดคำ แจกลูก

อา นเปน คำ มาตราตวั สะกดทตี่ รงและไมตรงตามมาตารา ผันอักษร คำควบกล้ำ คำที่มีอักษรนำ คำที่ประและไม
ประวิสรรชนีย คำที่ ฤ  คำที่ใชบัน บรร คำที่ใช ร หัน คำที่มีตัวการันต ความหมายของคำ ชนิด

ของคำ การใชพจนานกุ รมแตงประโยคสอื่ สาร ภาษาถิ่น ระบขุ อ คิดจากการอา นวรรณคดี วรรณกรรม และเพลง

พื้นบาน นิทานหรือเรื่องในทองถิ่น เรื่องสั้นงาย ๆ ปริศนาคำทาย บทรอยกรอง เพลงพื้นบาน

เพลงกลอมเดก็ วรรณกรรมและวรรณคดใี นบทเรียนและตามความสนใจ

โดยใชกระบวนการปฏิบัติในการอาน การเขียน การฟง การดู การพูด และการใชภาษาไทย
ใหเกิดความรู ความคิดวิเคราะห การตัดสินใจแกปญหาในการดำเนินชีวิตอยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค

สามารถนำไปใชใ นชวี ติ จรงิ ได
เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สื่อสารไดถูกตอง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณคาของการ

อนุรักษภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนำความรูไปใชใหเกิดประโยชนโดยใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียงและสามารถนำไปประยุกตใชก ับชีวติ ประจำวนั ไดอ ยางถูกตองเหมาะสม

รหัสตวั ชว้ี ัด
ท ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘,ป.๓/๙

ท ๒.๑ ป.๓/๑,ป.๓/๒,ป.๓/๓,ป.๓/๔,ป.๓/๕,ป.๓/๖
ท ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖

ท ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖

ท ๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
รวมทั้งหมด ๓๑ ตัวชวี้ ัด

สำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาพิษณโุ ลก เขต 1 ๔๙

คำอธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน

ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔ กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย

ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ ๔ เวลา ๑๖๐ ชว่ั โมง

....................................................................................................................................................................................

ศึกษาและฝกการอานออกเสียงบทรอยแกว บทรอยกรอง อธิบายความหมายของคำ ประโยค สำนวน

จากเรื่องที่อาน อานเรื่องสั้นแลวสามารถตอบคำถามจากเร่ือง คาดคะเนเหตุการณ สรุปความรูขอคดิ จากเรื่องที่

อานอยางมีเหตุผล อานหนังสือที่มีคุณคาอยางสม่ำเสมอ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อานมารยาทในการ

อานคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด ครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย เขียนสื่อสารโดยใชคำได

ถูกตองเหมาะสมชัดเจน เขียนแผนภาพโครงเรื่อง แผนภาพความคิดเพื่อใชพัฒนางาน เขียนยอความ จดหมาย

เขียนบันทึก เขียนรายงานจากการศึกษาคนควา เขียนเรื่องราวจากจินตนาการ มารยาทในการเขียน จำแนก

ขอเท็จจริง ขอคิดเห็น ความรูสึก ตั้งคำถาม ตอบคำถาม รายงานเรื่อง จับประเด็นที่จะศึกษาจากการฟง

การดู มีมารยาทในการฟง การดู และการพูดการสะกดคำ บอกความหมายของคำในบริบทตาง ๆ ระบุชนิด

และหนาท่ขี องคำในประโยค ใชพ จนานกุ รมคนหาความหมายของคำ แตง ประโยคบทรอ ยกรอง คำขวัญตามหลัก

ภาษา และลักษณะบังคับของคำประพันธ บอกความหมายของสำนวน เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐาน

กับภาษาถิ่นนิทานพื้นบาน นิทานคติธรรม รองเพลงพื้นบาน บทอาขยาน บทรอยกรอง อธิบายขอคิดจากการ

อานเพอื่ นำไปใชในชวี ติ จริง

โดยใชกระบวนการกลุม กระบวนการอาน การเขียน กระบวนการคิดวิเคราะห กระบวนการทางภาษา

กระบวนการส่อื ความ และกระบวนการทำงาน

เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สื่อสารไดถูกตอง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณคาของการ

อนุรักษภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนำความรูไปใชใหเกิดประโยชนโดยใชวิธีการของเศรษฐกิจพอเพียงและ

สามารถนำไปประยกุ ตใชกับชีวติ ประจำวนั ไดอ ยา งถูกตองเหมาะสม

รหสั ตวั ชี้วดั

ท ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘
ท ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘
ท ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖

ท ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗
ท ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
รวมท้ังหมด ๓๓ ตวั ชี้วดั

สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาพษิ ณโุ ลก เขต 1 ๕๐


Click to View FlipBook Version