The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา สพป พิษณุโลก สำหรับประถมศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kodwimol, 2021-09-10 21:03:46

คู่มือจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา สพป พิษณุโลก สำหรับประถมศึกษา

คู่มือจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา สพป พิษณุโลก สำหรับประถมศึกษา

คำอธบิ ายรายวชิ า

ส ๑๒๒๐๑ พุทธศาสนา ๒ กลุม สาระการเรยี นรูสังคมศึกษาฯ

ช้นั ประถมศึกษาปท่ี ๒ เวลา ๔๐ ชัว่ โมง

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

บอกความสำคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ สรุปพระพุทธประวัติตั้งแตประสูติจนถึง
การออกผนวกหรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กำหนด ชื่นชมและบอกอยางจากการดำเนินชีวิตและขอคิด
จากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเลาและศาสนิกชนตัวอยางตามที่กำหนด บอกความหมาย ความสำคัญและ
เคารพพระรัตนตรัย ปฏิบัติตามหลักธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนา หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ
ตามที่กำหนด ชื่นชมการทำความดีของตนเอง บุคคลในครอบครัวและในโรงเรียนตามหลักศาสนา เห็นคุณคา
และสวดมนตแผเมตตามีสติที่เปนพื้นฐานของสมาชิกในพระพุทธศาสนาหรือพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่
ตนนบั ถือตามทีก่ ำหนด บอกชือ่ ศาสนา ศาสดา และความสำคญั ของคมั ภรี ของศาสนาทีต่ นนับถอื และศาสนาอนื่ ๆ

ปฏิบัติตนอยางเหมาะสมตอสาวกของศาสนาที่ตนนับถอื ตามที่กำหนดไดถูกตอง ปฏิบัติตนใน ศาสนพิธี
พิธกี รรมและวันสำคญั ทางศาสนาตามทีก่ ำหนดไดถกู ตอ ง

ผลการเรยี นรู
๑. บอกความสำคญั ของพระพุทธศาสนา
๒. สรุปพุทธประวตั ติ ง้ั แตป ระสูติจนถึงการออกผนวชตามท่กี ำหนด
๓. ช่ืนชมและบอกแบบอยางการดำเนนิ ชีวติ และขอ คดิ จากประวตั ิสาวก ชาดก/เร่ืองเลา

และศาสนิกชนตัวอยางตามทก่ี ำหนด
๔. บอกความหมาย ความสำคัญ และเคารพพระรตั นตรยั ปฏบิ ัตติ ามหลักธรรมโอวาท ๓

ในพระพทุ ธศาสนา ตามทกี่ ำหนด
๕. ชืน่ ชมการทำความดีของตนเอง บุคคลในครอบครวั และในโรงเรียน ตามหลักศาสนา
๖. เหน็ คุณคา และสวดมนต แผเมตตา มีสตทิ ่เี ปนพืน้ ฐานของสมาธใิ นพระพุทธ-ศาสนา หรือการพัฒนา

จิตตามแนวทางของศาสนาที่กำหนด
๗. บอกชือ่ ศาสนา ศาสดา และความสำคญั ของคมั ภีรของศาสนาทตี่ นนับถือและศาสนาอน่ื ๆ
๘. ปฏิบัติตนอยา งเหมาะสมตอ สาวกของศาสนาท่ีตนนบั ถอื ตามท่ีกำหนดไดถูกตอ ง
๙. ปฏิบตั ติ นในศาสนพธิ ี พธิ กี รรม และวันสำคญั ทางศาสนา ตามทีก่ ำหนดไดถ ูกตอง

รวมท้งั หมด ๙ ผลการเรยี นรู

สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาพิษณโุ ลก เขต 1 ๑๕๑

คำอธิบายรายวิชา

ส ๑๓๒๐๑ พทุ ธศาสนา ๓ กลุมสาระการเรียนรสู ังคมศึกษาฯ

ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี ๓ เวลา ๔๐ ช่วั โมง

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

อธิบายความสำคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ ในฐานะที่เปนรากฐานสำคัญของ
วัฒนธรรมไทย สรุปพุทธประวัติตั้งแตการบำเพ็ญเพียรจนถึงปรินิพพาน หรือประวัติของศาสดาที่ตนนับถือ ช่ืน
ชมและบอกแบบอยางการดำเนินชีวิตและขอคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเลาและศาสนิกชนตัวอยางตามที่
กำหนด บอกความหมาย ความสำคัญของพระไตรปฎก หรือคัมภีรของศาสนาที่ตนนับถือ แสดงความ
เคารพพระรัตนตรยั และปฏิบตั ติ ามหลกั ธรรมโอวาท ๓ ในพระพทุ ธศาสนาหรือหลกั ธรรมของศาสนาท่ตี นนบั ถือ
ตามที่กำหนด เห็นคุณคาและสวดมนต แผเมตตามีสติที่เปนพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนา หรือการ
พัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด บอกชื่อ ความสำศัยและปฏิบัติตนไดอยาง
เหมาะสมตอศาสนวตั ถุ ศาสนสถาน และศาสนบคุ คลของศาสดาอืน่ ๆ

ปฏิบัติตนอยางเหมาะสมตอ สาวก ศาสนสถาน ศาสนวตั ถุของศาสนาทีต่ นนับถือตามที่กำหนดไดถ กู ตอ ง
เห็นคณั คาและปฏบิ ตั ิตนในศาสนพิธี พธิ ีกรรม และวนั สำคญั ทางศาสนาตามทก่ี ำหนดไดถ ูกตอ ง แสดงตนเปน
พทุ ธมามกะหรือแสดงตนเปนศาสนิกชนของศาสนาทต่ี นนบั ถอื

ผลการเรยี นรู
๑. อธบิ ายความสำคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาทตี่ นนบั ถือ ในฐานะทเี่ ปน รากฐาสำคัญ

ของวฒั นธรรมไทย
๒. สรปุ พทุ ธประวตั ิตง้ั แตก ารบำเพญ็ เพยี รจนถงึ ปรนิ ิพพาน หรอื ประวตั ขิ องศาสดาทีต่ นนบั ถอื ตามท่ี

กำหนด
๓. ชนื่ ชมและบอกแบบอยางการดำเนินชวี ติ และขอคดิ จากประวตั ิสาวก ชาดก/เรอื่ งเลา และ

ศาสนกิ ชนตวั อยา ง ตามท่ีกำหนด
๔. บอกความหมาย ความสำคัญของพระไตรปฎ ก
๕. แสดงความเคารพพระรัตนตรัย และปฏบิ ตั ิตามหลกั ธรรมโอวาท ๓ ในพระพทุ ธศาสนา หรือ

หลักธรรมของศาสนาท่ีตนนับถอื ตามที่กำหนด
๖. เหน็ คณุ คาและสวดมนต แผเ มตตา มีสติท่เี ปน พน้ื ฐานของสมาธใิ นพระพุทธศาสนา หรอื การพัฒนาจิต

ที่กำหนด
๗. บอกช่อื ความสำคัญและปฏิบัตติ น ไดอยา งเหมาะสมตอ ศาสนวตั ถุ ศาสนสถาน และศาสนบุคคล

ของศาสนาอน่ื ๆ
๘. ปฏบิ ัตติ นอยางเหมาะสมตอ สาวก ศาสนสถาน ศาสนวัตถขุ องศาสนาทต่ี นนบั ถอื ตามทก่ี ำหนดได
๙. เห็นคุณคา และปฏบิ ัติตนในศาสนพธิ พี ิธีกรรม และวันสำคัญทางศาสนา ตามที่กำหนดไดถ กู ตอง
๑๐. แสดงตนเปนพทุ ธมามกะ

รวมทง้ั หมด ๑๐ ผลการเรียนรู

สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาพิษณุโลก เขต 1 ๑๕๒

คำอธบิ ายรายวชิ า

ส ๑4๒๐๑ พุทธศาสนา ๔ กลมุ สาระการเรยี นรสู งั คมศกึ ษาฯ

ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี ๔ เวลา ๔๐ ชวั่ โมง

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

อธิบายความสำคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ และสรุประวัติตั้งแตบรรลุธรรมจนถึง
ประกาศธรรม หรือประวตั ิศาสดาทต่ี นนบั ถอื เห็นคุณคา และปฏิบัติตนตามแบบอยางการดำเนินชีวติ และขอคิด
ประวัติสาวก ชาดก เรอ่ื งเลา ศาสนกิ ชนตวั อยาง และแสดงความเคารพพระรัตนตรัย ปฏิบัติตามไตรสิกขา และ
หลักธรรม โอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนา หรือหลักธรรมที่ตนนับถือตามที่กำหนด ชื่นชมการทำความดีของ
ตนเอง บุคคลในครอบครัว โรงเรียน ชุมชน ตามหลักศาสนา พรอมทั้งแนวทางการปฏิบัติในการดำเนินชีวิต เห็น
คณุ คาการสวดมนต แผเ มตตา มสี ตทิ เ่ี ปน พน้ื ฐานของสมาธใิ นพระพุทธศาสนา หรอื พัฒนาจิตตามแนวทางศาสดา
ที่ตนเองนับถือตามที่ตนกำหนด ปฏิบัติตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ เพื่อการอยูรวมกันเปนชาติไดอยาง
สมานฉันท อธิบายประวัติศาสดาของศาสนาอื่น ๆ โดยสังเขป อภิปรายความสำคัญ และมีสวนรวมในการ
บำรุงรักษาศาสนสถาน มีมรรยาท เปนศาสนิกชนที่ดีปฏิบัติตนในศาสนาพิธี พิธีกรรม และวันสำคัญทางศาสนา
ตามที่กำหนดไดถ กู ตอง

ผลการเรยี นรู
๑. อธบิ ายความสำคญั ของพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาทตี่ นนบั ถอื ในฐานะเปนศนู ยรวมจิตใจ

ของศาสนกิ ชน
๒. สรปุ พทุ ธประวตั ติ ั้งแตบ รรลุธรรมจนถงึ ประกาศธรรมตามท่ีกำหนด
๓. เห็นคณุ คา และปฏิบตั ิตนตามแบบอยา งการดำเนนิ ชีวิตและขอ คดิ จากประวตั สิ าวก ชาดก/

เร่ืองเลา และศาสนิกชนตัวอยาง ตามท่ีกำหนด
๔. แสดงความเคารพ พระรตั นตรัย ปฏิบตั ติ ามไตรสกิ ขาและหลกั ธรรมโอวาท ๓ ใน พระพุทธศาสนา

หรอื หลักธรรมตามทกี่ ำหนด
๕. ช่นื ชมการทำความดีของตนเอง บคุ คลในครอบครวั โรงเรียนและชมุ ชนตามหลักศาสนา

พรอ มทั้งบอกแนวปฏบิ ัติในการดำเนนิ ชีวิต
๖. เหน็ คณุ คาและสวดมนต แผเ มตตา มสี ติท่เี ปน พน้ื ฐานของสมาธใิ นพระพทุ ธศาสนา หรอื การพฒั นา

จติ ตามแนวทางของศาสนาทกี่ ำหนด
๗. ปฏิบตั ติ นตามหลักธรรมของศาสนาทตี่ นนับถือ เพอื่ การอยรู วมกนั เปนชาติไดอ ยางสมานฉนั ท
๘. อธิบายประวัติศาสดาของศาสนาอนื่ ๆ โดยสังเขป
๙. อภปิ รายความสำคญั และมสี ว นรวมในการบำรงุ รักษาศาสนสถานของศาสนาทต่ี นนับถือ
๑๐. มมี รรยาทของความเปนศาสนิกชนที่ดี ตามทก่ี ำหนดปฏบิ ัติตนในศาสนพธิ ี พิธีกรรมและ

วนั สำคัญทางศาสนา ตามทีก่ ำหนดไดถูกตอง

รวมทง้ั หมด ๑๑ ผลการเรยี นรู

สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาพิษณโุ ลก เขต 1 ๑๕๓

คำอธบิ ายรายวิชา

ส ๑๕๒๐๑ พุทธศาสนา ๕ กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศกึ ษาฯ

ช้ันประถมศกึ ษาปที่ ๕ เวลา ๔๐ ชัว่ โมง

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

วิเคราะหความสำคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาทต่ี นเองนบั ถอื ในฐานะที่เปน มรดกทางวฒั นธรรม
และหลักในการพฒั นาชาตไิ ทย เหน็ คุณคา และประพฤตติ นตามแบบอยาง การดำเนินชีวิต และขอ คดิ จากประวัติ
สาวก ชาดก เรื่องเลา และศาสนิกชนตัวอยาง ตามที่กำหนด อธิบายองคประกอบ และความสำคัญของพระ
ไตยปฏก หรือคัมภีรของศาสนาที่ตนนับถือ แสดงความเคารพ พระรัตนตรัย และปฏิบัติตนตามไตรสิกขา และ
หลักธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนาหรอื หลักธรรมของศาสนาที่ตนนบั ถือตามที่กำหนด

เห็นคุณคาการสวดมนต แผเมตตา มีสติที่เปนพื้นฐานของงสมาธิในพระพุทธศาสนา หรือการพัฒนาจิต
ตามแนวทางของศาสนาที่กำหนด ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ เพื่อพัฒนาตนเอง และ
สิง่ แวดลอ ม

จัดพิธีกรรมทางศาสนาท่ีตนนับถืออยางเรยี บงาย มีประโยชน และปฏิบัติตนในศาสนาพธิ ี พิธีกรรม และ
วันสำคญั ทางศาสนาตามทก่ี ำหนด อภปิ รายประโยชนท ่ีไดร บั จากการเขา รว มกิจกรรม มมี ารยาทของการเปน
ศาสนกิ ชนทด่ี ตี ามท่ีกำหนด

ผลการเรยี นรู
๑. วิเคราะหค วามสำคญั ของพระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถอื ในฐานะทีเ่ ปนมรดก

ทางวฒั นธรรมและหลักในการพัฒนาชาติไทย
๒. สรปุ พทุ ธประวัติตัง้ แตเ สด็จกรงุ กบลิ พสั ดจุ นถึงพุทธกจิ สำคัญตามทกี่ ำหนด
๓. เห็นคณุ คา และประพฤติตนตามแบบอยางการดำเนนิ ชีวติ และขอคิดจากประวตั ิสาวกชาดก/เร่ือง

เลา และศาสนกิ ชนตวั อยาง ตามท่ีกำหนด
๔. อธิบายองคประกอบ และความสำคัญของพระไตรปฎก หรือคัมภรี ของศาสนาทีต่ นนบั ถอื
๕. แสดงความเคารพพระรัตนตรัย และปฏบิ ตั ิตามไตรสกิ ขาและหลักธรรมโอวาท ๓ ใน

พระพทุ ธศาสนาหรือหลกั ธรรมของศาสนาตามท่ีกำหนด
๖. เหน็ คุณคา และสวดมนตแผเ มตตา มสี ติที่เปน พนื้ ฐานของสมาธใิ นพระพทุ ธศาสนา หรือการ

พฒั นาจิตตามแนวทางของศาสนาตามท่กี ำหนด
๗. ปฏบิ ัติตนตามหลักธรรมของศาสนาทีต่ นนบั ถอื เพื่อการพฒั นาตนเองและสง่ิ แวดลอ ม
๘. จดั พธิ ีกรรมตามศาสนาทตี่ นนับถืออยางเรยี บงา ย มีประโยชน และปฏิบตั ิตนถกู ตอ ง
๙. ปฏบิ ัติตนในศาสนพธิ ี พธิ กี รรม และวันสำคญั ทางศาสนา ตามที่กำหนด และอภิปราย

ประโยชนท ี่ไดรับจากการเขา รวมกจิ กรรม
๑๐. มีมรรยาทของความเปน ศาสนิกชนท่ีดี ตามทีก่ ำหนด

รวมท้งั หมด ๑๐ ผลการเรยี นรู

สำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาพิษณุโลก เขต 1 ๑๕๔

คำอธบิ ายรายวิชา

ส ๑๖๒๐๑ พุทธศาสนา ๖ กลุม สาระการเรยี นรสู งั คมศึกษาฯ

ชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี ๖ เวลา ๔๐ ชัว่ โมง

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

วิเคราะหความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะเปนศาสนาประจำชาติ หรือความสำคัญของศาสนาท่ี
ตนนับถือ สรุปพุทธประวัติตั้งแตปลงอายุสังขาร จนถึงสังเวชนียสถาน หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือ เห็นคุณคา
ประพฤตติ นเปนแบบอยา งการดำเนนิ ชีวิต และขอ คดิ จากประวัติสาวก ชาดก เรอื่ งเลา และศาสนกิ ตวั อยางตามที่
กำหนด วิเคราะหความสำคัญ และเคารพพระรัตนตรัยปฏิบัติตามไตรสิกขา และหลักธรรมโอวาท ๓ ใน
พระพุทธศาสนา หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด ชื่นชมการทำความดีบุคคลในประเทศตาม
หลักศาสนา พรอมทั้งบอกแนวปฏิบัติในการดำเนินชีวิต เห็นคุณคา และสวดมนต แผเมตตา บริหารจิต เจริญ
ปญญา มีสติที่เปนพื้นฐานของสมาธิ ในพระพุทธศาสนา หรือพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่นับถือตามที่
กำหนด

ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาเพื่อแกปญหาอบายมุข และสิ่งเสพติด อธิบายหลักธรรมสำคัญของ
ศาสนาอื่น ๆ โดยสังเขป อธิบายลักษณะสำคัญของศาสนพิธี พิธีกรรมของศาสนาอื่น ๆ และปฏิบัติตนไดอยาง
เหมาะสม เมือ่ ตองเขารวมพิธี

อธบิ ายความรูเก่ยี วกบั สถานที่ตา ง ๆในศาสนสถาน และปฏิบัตติ นอยางเหมาะสม มมี ารยาทของความ
เปนศาสนิกชนทด่ี ตี ามท่ีกำหนดอธิบายประโยชน การเขา รว มในศาสนพิธี พธิ ีกรรม และกจิ กรรมในวนั สำคญั ทางศาสนา
ตามทก่ี ำหนดและปฏิบัติตนไดถูกตอ ง แสดงตนเปนพุทธมามกะ หรือเปนศาสนกิ ชนที่ดขี องศาสนาทต่ี นนบั ถอื
ผลการเรยี นรู

๑. วเิ คราะหค วามสำคญั ของพระพทุ ธศาสนาในฐานะเปน ศาสนาประจำชาตหิ รอื ความสำคญั ของศาสนาท่นี ับถอื

๒. สรปุ พทุ ธประวัติต้ังแตป ลงอายุสังขารจนถงึ สงั เวชนียสถานตามท่ีกำหนด
๓. เห็นคุณคา และประพฤตติ นตามแบบอยางการดำเนนิ ชีวิตและขอคดิ จากประวัตสิ าวก ชาดก/เรื่องเลา
และศาสนกิ ชนตวั อยางตามท่กี ำหนด
๔. วิเคราะหความสำคัญและเคารพ พระรตั นตรัย ปฏบิ ัตติ ามไตรสิกขาและหลักธรรม
โอวาท ๓ ในพระพทุ ธศาสนา หรอื หลกั ธรรมของศาสนาตามท่ีกำหนด
๕. ช่ืนชมการทำความดีของบุคคลในประเทศตามหลักศาสนาพรอ มทัง้ บอกแนวปฏิบัติในการดำเนินชีวิต
๖. เหน็ คณุ คา และสวดมนตแผเมตตา และบริหารจิตเจริญปญ ญา มสี ติทีเ่ ปน พ้ืนฐานของสมาธิ
ในพระพทุ ธศาสนา หรอื การพฒั นาจิตตามแนวทางของศาสนาตามทกี่ ำหนด
๗. ปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ธรรมของศาสนา ทตี่ นนับถือ เพื่อแกป ญหาอบายมขุ และ สง่ิ เสพติด
๘. อธิบายหลกั ธรรมสำคญั ของศาสนาอื่น ๆ โดยสังเขป
๙. อธิบายลักษณะสำคญั ของศาสนพธิ ีพิธีกรรมของศาสนาอ่นื ๆ และปฏบิ ัติตนไดอยางเหมาะสม
เม่อื ตอ งเขา รว มพธิ ี
๑๐. อธบิ ายความรเู กย่ี วกบั สถานทตี่ า ง ๆ ในศาสนสถาน และปฏิบตั ิตนไดอ ยางเหมาะสม
๑๑. มมี รรยาทของความเปนศาสนิกชนท่ีดี ตามทกี่ ำหนด
๑๒. อธิบายประโยชนข องการเขา รว มในศาสนพธิ ี พิธีกรรม และกจิ กรรมในวันสำคัญทางศาสนาตามท่ี
กำหนด และปฏิบัตติ นไดถ กู ตอ ง
๑๓. แสดงตนเปน พุทธมามกะ รวมท้ังหมด ๑๓ ผลการเรียนรู

สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาพษิ ณุโลก เขต 1 ๑๕๕

โครงสรา งหลักสูตรรายวชิ าเพมิ่ เติม/บูรณาการ

กลมุ สาระการเรยี นรสู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม : รายวชิ าการปอ งกันการทุจริต
ระดบั ประถมศกึ ษา

ท่ี รหสั วชิ า ชือ่ วิชา ระดับชนั้ จำนวนชว่ั โมง/ป

๑ ส ๑๑๒๐๓ การปอ งกันการทจุ รติ ๑ ป.๑ ๔๐
๒ ส ๑๒๒๐๓ การปอ งกนั การทจุ รติ ๒ ป.๒ ๔๐
๓ ส ๑๓๒๐๓ การปองกนั การทุจริต ๓ ป.๓ ๔๐
๔ ส ๑๔๒๐๓ การปองกนั การทุจรติ ๔ ป.๔ ๔๐
๕ ส ๑๕๒๐๓ การปอ งกันการทจุ ริต ๕ ป.๕ ๔๐
๖ ส ๑๖๒๐๓ การปองกันการทจุ ริต ๖ ป.๖ ๔๐

หมายเหตุ รายวิชาเพ่ิมเตมิ สามารถจัดไดตามความเหมาะสม และสามารถนำวชิ าการปองกนั การทุจรติ บรู ณาการ
ในรายวชิ าอืน่ ๆ ได หรอื จดั ในช่วั โมงกิจกรรมเสรมิ หลกั สตู ร

คำอธิบายรายวชิ า

ส ๑๑๒๐๓ การปอ งกันการทจุ รติ ๑ กลมุ สาระการเรยี นรสู ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

ชนั้ ประถมศกึ ษาปที่ ๑ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

รูและเขาใจความหมายของใชสวนตนและของใชสวนรวม สถานที่สวนตนและสถานที่สวนรวม

ผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสวนรวม ระบบคิดฐานสองและระบบคิดฐานสิบ รูและเขาใจความหมาย

ของความละอายและความไมท นตอกำรทุจริต STRONG : จติ พอเพียงตา นทุจรติ และความรับผดิ ชอบ

จำแนกของใชสวนตนและของใชสวนรวม สถานที่สวนตนและสถานที่สวนรวม ผลประโยชนส ว นตนและ

ผลประโยชนสวนรวม

ปฏิบัติตนตามระบบคิดฐานสอง โดยบอกไดวา สิ่งใดถูกหรือผิด ใชหรือไมใช ไดหรือไมได เหมาะสม

หรือไมเหมาะสม มาใชในหองเรียนและชีวิตประจำวัน ปฏิบัติตนในการเขาแถว การทำเวรภายในหองเรียน การ

เลือกหัวหนาหอง การทำความสะอาดหอ งเรยี น การวางรองเทา การประดิษฐสิ่งของจากเศษวัสดอุ ยางเหมาะสม

และถูกตอง ปฏิบัติตนในการตอตานการทุจริต โดยมีความละอายและความไมทนตอการทุจริตในการเขาแถว

การทำเวรภายในหองเรยี น การเลือกหวั หนาหอง การทำความสะอาดหอ งเรยี น การวางรองเทา

ตระหนักและเห็นความสำคัญของการไมทุจริตในการเขาแถว การทำเวรภายในหองเรียน การเลือก

หัวหนาหอ ง เหน็ ความสำคญั ของความรบั ผิดชอบตอสง่ิ ที่ไดร ับมอบหมายทงั้ ภายในหอ งเรียนและในบาน

เห็นความสำคัญของการปฏิบัติตนเปน ผูมีคุณธรรมจรยิ ธรรมเกีย่ วกับความพอเพียง มีวินัย ซื่อสัตยสจุ ริต

และมีจติ สาธารณะในการปอ งกันการทจุ รติ

ผลการเรยี นรู

๑. มีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการแยกแยะระหวา งผลประโยชนสว นตน กับผลประโยชนส ว นรวม

๒. มคี วามรู ความเขาใจเกย่ี วกบั ความละอายและความไมทนตอ การทุจริต

๓. มีความรู ความเขา ใจเกยี่ วกับ STRONG / จติ พอเพยี งตอตา นการทจุ ริต

๔. มคี วามรู ความเขาใจเก่ียวกบั พลเมอื งและมีความรบั ผดิ ชอบตอสังคม

๕. สามารถคดิ แยกแยะระหวา งผลประโยชนส วนตน กบั ผลประโยชนส วนรวมได

๖. ปฏิบตั ติ นเปนผูล ะอายและไมทนตอการทุจรติ ทกุ รปู แบบ

๗. ปฏิบตั ิตนเปน ผทู ่ี STRONG / จติ พอเพยี งตอ ตานการทจุ ริต

๘. ปฏบิ ตั ิตนตามหนา ที่พลเมืองและมคี วามรบั ผดิ ชอบตอสงั คม

๙. ตระหนกั และเห็นความสำคัญของการตอตา นและปอ งกันการทุจรติ

รวมทัง้ หมด ๙ ผลการเรยี นรู

สำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาพิษณุโลก เขต 1 ๑๕๗

คำอธิบายรายวชิ า

ส ๑๒๒๐๓ การปองกันการทจุ ริต ๒ กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๒ เวลา ๔๐ ชวั่ โมง

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

รูและเขา ใจความหมายของสิทธิและหนาทีข่ องพลเมือง รแู ละเขาใจกฎ ระเบียบ กติกาของโรงเรียน และ

เปนผูมีความรับผิดชอบในโรงเรียน แยกแยะระหวางผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสวนรวม ของใชสวน

ตนและของใชส ว นรวม สถานทส่ี ว นตนและสถานที่สวนรวมภายในโรงเรียน ปฏิบตั ติ นตามกฎ ระเบยี บ กตกิ าของ

โรงเรียน ปฏิบัติตนตามระบบคิดฐานสองโดยบอกไดวา สิ่งใดถูกหรือผิด ใชหรือไมใช ไดหรือไมได เหมาะสม

หรือไมเหมาะสม และนำไปใชในโรงเรียนและในชีวิตประจำวัน ตระหนักและเห็นความสำคัญของการเปนผู

ละอายและไมทนตอการทุจริตเกี่ยวกับการใชน้ำ – ไฟฟา การทิ้งขยะ การรับประทานอาหาร และการเลือกต้ัง

ประธานนักเรียน เห็นความสำคัญของการปฏิบัติตนเปนผูมีคุณธรรมจริยธรรมเกี่ยวกับความพอเพียงมีวินัย

ซอ่ื สตั ยส ุจรติ และมีจติ สาธารณะในการปองกันการทจุ รติ

ผลการเรยี นรู

๑. มีความรู ความเขา ใจเกีย่ วกบั การแยกแยะระหวา งผลประโยชนส วนตน กบั ผลประโยชนสวนรวม

๒. มคี วามรู ความเขาใจเกยี่ วกับความละอายและความไมท นตอการทจุ ริต

๓. มีความรู ความเขา ใจเกีย่ วกับ STRONG / จิตพอเพยี งตอ ตา นการทุจรติ

๔. มีความรู ความเขาใจเกีย่ วกับพลเมืองและมีความรบั ผดิ ชอบตอสังคม

๕. สามารถคิดแยกแยะระหวา งผลประโยชนสวนตน กบั ผลประโยชนส วนรวมได

๖. ปฏบิ ัติตนเปนผูล ะอายและไมท นตอการทุจรติ ทุกรูปแบบ

๗. ปฏิบัติตนเปนผูท่ี STRONG / จติ พอเพยี งตอตานการทจุ รติ

๘. ปฏิบัติตนตามหนาทพี่ ลเมอื งและมคี วามรบั ผิดชอบตอสังคม

๙. ตระหนกั และเหน็ ความสำคญั ของการตอ ตานและปองกนั การทจุ ริต

รวมท้ังหมด ๙ ผลการเรยี นรู

สำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาพิษณุโลก เขต 1 ๑๕๘

คำอธิบายรายวิชา

ส ๑๓๒๐๓ การปอ งกันการทุจริต ๓ กลมุ สาระการเรยี นรสู ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

ช้ันประถมศึกษาปท ี่ ๓ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

รูและเขาใจความหมายของการขัดกันหรือขดั แยงกันภายในหองเรยี นและโรงเรยี น รแู ละเขา ใจกฎ กติกา

ระเบยี บ ขอตกลง วัฒนธรรม สทิ ธิ หนา ที่ และการใชสถานที่ สวนตนและสวนรวมภายในหมูบา น

ปฏิบัติตนตามกฎ กติกา ระเบียบ ขอตกลง วัฒนธรรม และการใชสถานที่สวนตนและสวนรวมภายใน

หมูบาน ปฏิบัติตนเปนพลเมืองที่ดีตำมสิทธิ หนาที่ท่ีไดรับในหมูบาน ปฏิบัติตนเปนผูละอายและไมทนตอการ

ทุจริตในการเลือกตัง้ ผใู หญบ าน การทำความสะอาดหมบู า น การใชถนน การทงิ้ ขยะ การใชท างสาธารณะ การใช

พื้นที่สาธารณะการประชาสัมพันธหมูบาน และการใชไฟสาธารณะในหมูบาน ปฏิบัติตนตามระบบคิดฐานสอง

โดยบอกไดวา สิ่งใดถูกหรือผิด ใชหรือไมใช ไดหรือไมได เหมาะสมหรือไมเหมาะสม และนำไปใชในหมูบานและ

ในชวี ติ ประจำวนั มีเจตคติท่ีดใี นการปฏบิ ัตติ นเปน ผูละอายและไมทนตอ การทจุ รติ ในการเลือกต้ัง ผูใ หญบา น การ

ทำความสะอาดภายในหมูบาน การใชถนน และการทิ้งขยะในหมูบาน เห็นความสำคัญของการปฏิบัติตนเปนผูมี

คณุ ธรรมจริยธรรมเกย่ี วกบั ความพอเพียง มวี นิ ยั ซอ่ื สัตยส จุ ริตและมีจติ สาธารณะในการปองกันการทุจริต

ผลการเรยี นรู

๑. มคี วามรู ความเขา ใจเกย่ี วกบั การแยกแยะระหวา งผลประโยชนส วนตน กบั ผลประโยชนส วนรวม

๒. มีความรู ความเขาใจเกย่ี วกบั ความละอายและความไมทนตอการทจุ รติ

๓. มีความรู ความเขา ใจเกย่ี วกบั STRONG / จิตพอเพียงตอ ตา นการทจุ ริต

๔. มีความรู ความเขาใจเกีย่ วกับพลเมืองและมคี วามรับผดิ ชอบตอสงั คม

๕. สามารถคิดแยกแยะระหวา งผลประโยชนสว นตน กับผลประโยชนส ว นรวมได

๖. ปฏิบัตติ นเปน ผูล ะอายและไมทนตอการทุจริตทุกรปู แบบ

๗. ปฏิบตั ติ นเปน ผูท่ี STRONG / จติ พอเพยี งตอตา นการทุจริต

๘. ปฏบิ ัติตนตามหนาท่พี ลเมอื งและมีความรบั ผดิ ชอบตอสงั คม

๙. ตระหนกั และเหน็ ความสำคญั ของการตอตา นและปองกันการทุจริต

รวมทั้งหมด ๙ ผลการเรยี นรู

สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาพษิ ณโุ ลก เขต 1 ๑๕๙

คำอธิบายรายวชิ า

ส ๑๔๒๐๓ การปอ งกันการทจุ ริต ๔ กลมุ สาระการเรียนรูสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

ชัน้ ประถมศึกษาปท ่ี ๔ เวลา ๔๐ ช่วั โมง

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

รูและเขาใจความหมายของจริยธรรมและการทุจริต ผลประโยชนทับซอน รูและเขาใจผลประโยชนสวน

ตนและผลประโยชนสวนรวมในระดับชุมชน แสดงความคิดเห็นและเสนอวิธีการแกไขผลกระทบจากการขัดกัน

ระหวางผลประโยชนสว นตนและผลประโยชนสวนรวมในชมุ ชน ปฏิบัติตามระบบคิดฐานสองโดยบอกไดวา สิ่งใด

ถกู หรอื ผิด ใชห รอื ไมใ ช ไดห รือไมไดเหมาะสมหรือไมเ หมาะสม และนำไปใชในชุมชนและในชวี ิตประจำวัน

ปฏิบัติตนตามสิทธิ หนาที่ กฎ กติกา ระเบียบ ขอตกลง วัฒนธรรมในชุมชน ปฏิบัติตนเปนผูละอายและ

ไมท นตอการทุจรติ ในการท้ิงขยะไมเ ปน ที่ และการละเมิดขอตกลงเก่ยี วกบั การใชสถานทีใ่ นชุมชน

ตระหนักและเห็นความสำคัญของการตอตานการทุจริต เห็นผลกระทบที่เกิดจากการขัดกันระหวาง

ผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสวนรวมในชุมชน เห็นความสำคัญของการปฏิบัติตนเปนผูมีคุณธรรม

จริยธรรมเกี่ยวกบั ความพอเพยี งมีวนิ ยั ซื่อสัตยสจุ ริตและมีจิตสาธารณะในการปอ งกันการทุจริต

ผลการเรยี นรู
๑. มคี วามรู ความเขา ใจเกย่ี วกับการแยกแยะระหวา งผลประโยชนส ว นตน กบั ผลประโยชนสว นรวม
๒. มคี วามรู ความเขา ใจเกย่ี วกบั ความละอายและความไมท นตอ การทจุ ริต
๓. มคี วามรู ความเขา ใจเกี่ยวกบั STRONG / จิตพอเพียงตอตานการทจุ รติ
๔. มคี วามรู ความเขา ใจเก่ียวกบั พลเมืองและมคี วามรบั ผดิ ชอบตอสังคม
๕. สามารถคิดแยกแยะระหวา งผลประโยชนสวนตน กบั ผลประโยชนส วนรวมได
๖. ปฏิบตั ติ นเปน ผลู ะอายและไมท นตอ การทุจรติ ทกุ รูปแบบ
๗. ปฏบิ ตั ิตนเปน ผทู ่ี STRONG / จติ พอเพยี งตอ ตานการทจุ รติ
๘. ปฏิบัติตนตามหนาทพ่ี ลเมอื งและมีความรับผดิ ชอบตอ สังคม
๙. ตระหนกั และเห็นความสำคญั ของการตอ ตา นและปอ งกนั การทุจริต
รวมท้งั หมด ๙ ผลการเรียนรู

สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพิษณุโลก เขต 1 ๑๖๐

คำอธิบายรายวชิ า

ส ๑๕๒๐๓ การปองกนั การทุจริต ๕ กลมุ สาระการเรียนรสู ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

ชั้นประถมศึกษาปท ี่ ๕ เวลา ๔๐ ชวั่ โมง

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

รูและเขาใจผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสวนรวม สาเหตุและรูปแบบการเกิดผลประโยชนทับ

ซอนภายในโรงเรียน รูและเขาใจรูปแบบของการทุจริต ความแตกตางระหวางจริยธรรมและการทุจริตในสังคม

ปจ จุบัน

ปฏิบัติตนตามสิทธิหนาที่ กฎ กติกา ระเบียบ ขอตกลง วัฒนธรรม ในการใชรถใชถนนในที่สาธารณะ

การใชหองสมุดประชาชน การจอดรถในที่สาธารณะ การใชสาธารณูปโภค (ไฟฟา,ประปา) และการใชศาลา

ประชาคม

ปฏิบัติตนตามระบบคิดฐานสองโดยบอกไดวา สิ่งใดถูกหรือผิด ใชหรือไมใช ไดหรือไมได เหมาะสม

หรือไมเ หมาะสม นำไปใชใ นสังคม และในชีวติ ประจำวัน

ปฏิบัติตนเปนผูมีความละอายและไมทนตอการทุจริตในการจอดรถไมเปนที่ การตั้งแผงขายของบนทาง

เทา การเสียภาษี การปฏบิ ตั ติ ามกฎจราจร การปฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย และการใชสทิ ธเิ ลือกตั้ง

ตระหนักและเห็นความสำคัญในการตอตานการทุจริตและเห็นความสำคัญของการปฏิบัติตนเปนผูมีคุณ

ธรรมจริยธรรมเกี่ยวกบั ความพอเพยี ง มีวนิ ัย ซือ่ สัตยส ุจรติ และมีจิตสาธารณะในการปอ งกันการทุจริต

ผลการเรยี นรู

๑. มีความรู ความเขา ใจเกี่ยวกับการแยกแยะระหวา งผลประโยชนส ว นตน กบั ผลประโยชนส ว นรวม

๒. มีความรู ความเขา ใจเก่ยี วกับความละอายและความไมทนตอการทจุ ริต

๓. มคี วามรู ความเขา ใจเกีย่ วกับ STRONG / จติ พอเพยี งตอ ตา นการทุจรติ

๔. มีความรู ความเขา ใจเกยี่ วกบั พลเมอื งและมคี วามรับผดิ ชอบตอ สังคม

๕. สามารถคิดแยกแยะระหวา งผลประโยชนส วนตน กับผลประโยชนส ว นรวมได

๖. ปฏบิ ัติตนเปนผลู ะอายและไมท นตอการทจุ ริตทุกรปู แบบ

๗. ปฏิบัตติ นเปนผูที่ STRONG / จิตพอเพยี งตอตา นการทจุ ริต

๘. ปฏิบัติตนตามหนาท่ีพลเมอื งและมีความรับผดิ ชอบตอ สงั คม

๙. ตระหนกั และเหน็ ความสำคัญของการตอตา นและปอ งกันการทจุ ริต

รวมทง้ั หมด ๙ ผลการเรยี นรู

สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพิษณุโลก เขต 1 ๑๖๑

คำอธิบายรายวชิ า

ส ๑๖๒๐๓ การปอ งกนั การทุจริต ๖ กลมุ สาระการเรยี นรสู งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ ๖ เวลา ๔๐ ชวั่ โมง

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

รูและเขาใจความหมายของคำวา พลเมอื ง ประชำชน ประชำกร ราษฎร และการขดั กนั

รูและเขาใจถึงผลกระทบที่เกิดจากการขัดกันระหวางผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสวนรวม

ระดับประเทศ รูและเขาใจสำเหตุและรูปแบบของการเกิดผลประโยชนทับซอน ความแตกตางระหวางจริยธรรม

และการทจุ รติ ปฏิบตั ิตนตามกฎหมายสง่ิ แวดลอมและกฎหมายการรักษาความสะอาด

ปฏิบัติตนตามระบบคิดฐานสองโดยบอกไดวา สิ่งใดถูกหรือผิด ใชหรือไมใช ไดหรือไมได เหมาะสม

หรอื ไมเ หมาะสม และนำไปใชในชีวิตประจำวัน ปฏิบัตกิ จิ กรรมที่สง ผลใหเกิดความละอายและความไมทนตอการ

ทุจรติ ในการใชพ ้นื ที่สาธารณะ การอนรุ ักษแ หลง น้ำ การเสยี ภาษี การเลอื กตัง้ และกำรอนรุ ักษส ิง่ แวดลอม

เห็นความสำคัญ และมเี จตคติทด่ี ตี อ การตอตานและปองกันการทจุ ริต ตระหนักและเหน็ ความสำคัญของ

การปฏิบัติตนเปนผูมีคุณธรรมจริยธรรมเกี่ยวกับ ความพอเพียง มีวินัย ซื่อสัตยสุจริตและมีจิตสาธารณะในการ

ปองกันการทจุ ริต

ผลการเรยี นรู
๑. มคี วามรู ความเขา ใจเกี่ยวกับการแยกแยะระหวางผลประโยชนส ว นตน กับผลประโยชนสว นรวม
๒. มคี วามรู ความเขาใจเกย่ี วกับความละอายและความไมท นตอการทจุ รติ
๓. มีความรู ความเขาใจเกี่ยวกบั STRONG / จติ พอเพียงตอ ตา นการทจุ รติ
๔. มีความรู ความเขา ใจเกี่ยวกับพลเมอื งและมคี วามรับผดิ ชอบตอสงั คม
๕. สามารถคดิ แยกแยะระหวา งผลประโยชนส วนตน กบั ผลประโยชนส วนรวมได
๖. ปฏบิ ัติตนเปนผูละอายและไมท นตอการทจุ รติ ทกุ รูปแบบ
๗. ปฏิบตั ิตนเปนผูที่ STRONG / จิตพอเพยี งตอ ตา นการทุจรติ
๘. ปฏบิ ัติตนตามหนาท่พี ลเมอื งและมคี วามรบั ผิดชอบตอ สังคม
๙. ตระหนกั และเหน็ ความสำคญั ของการตอตา นและปอ งกันการทุจริต
รวมทัง้ หมด ๙ ผลการเรียนรู

สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาพษิ ณโุ ลก เขต 1 ๑๖๒

คำอธิบายรายวิชา
กิจกรรมพัฒนาผูเ รยี น

กจิ กรรมพฒั นาผเู รียน : กิจกรรมแนะแนว
ระดบั ประถมศกึ ษา

ที่ ชือ่ วชิ า ระดบั ช้ัน จำนวนชว่ั โมง/ป

๑ กิจกรรมแนะแนว ๑ ป.๑ ๔๐

๒ กจิ กรรมแนะแนว ๒ ป.๒ ๔๐

๓ กจิ กรรมแนะแนว ๓ ป.๓ ๔๐

๔ กิจกรรมแนะแนว ๔ ป.๔ ๔๐

๕ กจิ กรรมแนะแนว ๕ ป.๕ ๔๐

๖ กิจกรรมแนะแนว ๖ ป.๖ ๔๐

สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพษิ ณุโลก เขต 1 ๑๖๔

ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ี ๑ - ๖ คำอธิบายกิจกรรมแนะแนว เวลา ๔๐ ชัว่ โมง/ป

.............................................................................................................................................................................
รูจกั และเขา ใจตนเอง รกั และเหน็ คุณคาในตนเองและผูอืน่ มีวุฒภิ าวะทางอารมณ มีเจตคติที่ดีตอการ
มีชีวิตที่ดีมีคุณภาพ มีทักษะในการดำเนินชีวิต สามารถปรับตัวใหดำรงชีวิตอยูในสังคมไดอยางมีความสุข รูจัก
ตนเองในทุกดาน รูความถนัด ความสนใจ และบุคลิกภาพของตนเอง รูและเขาใจโลกของงานอาชีพอยาง
หลากหลาย มีเจตคติที่ดีตออาชีพสุจรติ รูขอมูลอาชีพ สามารถเลือกแนวทางในการประกอบอาชีพไดอยาง
เหมาะสม มีการเตรียมตัวสูอาชีพ สามารถวางแผนเพื่อประกอบอาชีพตามที่ตนเองมีความถนัดและสนใจ มี
คุณลักษณะพื้นฐานที่จำเปนในการประกอบอาชีพและพัฒนางานใหประสบความสำเร็จเพื่อสรางฐานะทาง
เศรษฐกจิ ใหกับตนเอง ครอบครัว ชุมชนและประเทศชาติ
พัฒนาตนเองในดานการเรียนอยางเต็มศักยภาพ รูจักแสวงหาความรูใฝรูใฝเรียนใหเปนคนดีมีความรู
และทักษะทางวิชาการ รูจักแสวงหาและใชขอมูลประกอบการวางแผนการเรียนหรือการศึกษาตอไดอยางมี
ประสิทธิภาพ มีวิธีการเรียนรู มีทักษะการคิด แกปญหาอยางสรางสรรค คิดเปน ทำเปน มีคุณธรรม
จริยธรรม เออื้ อาทรและสมานฉนั ท เพอ่ื ดำรงชีวิตอยูรวมกนั อยา งสงบสุขตามวถิ ชี ีวิตเศรษฐกจิ พอเพยี ง
เพ่อื ใหผ ูเรยี นเกดิ การเรยี นรู รจู กั เขาใจ รักและเห็นคุณคา ในตนเองและผอู ืน่ เกิดการเรยี นรู
สามารถวางแผนการเรยี นรู อาชพี รวมท้งั การดำเนนิ ชวี ิตและมีทักษะทางสังคม เกิดการเรียนรูสามารถปรบั ตัว
ไดอ ยางเหมาะสม อยรู วมกบั ผูอืน่ ไดอ ยางมคี วามสขุ พงึ่ ตนเองไดมที กั ษะในการเลือกแนวทางการศกึ ษา การ
งานและอาชพี ชวี ิตและสังคม มสี ขุ ภาพจิตที่ดีและจิตสำนึกในการทำประโยชนต อครอบครัว สังคมและ
ประเทศชาติและอยรู วมกบั ผอู นื่ ไดอ ยางมคี วามสุข

ผลการเรยี นรู
1. เพ่อื ใหผเู รยี นเกิดการเรยี นรู รูจ ัก เขาใจ รัก และเหน็ คณุ คาในตนเองและผอู นื่
2. เพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรู สามารถวางแผนการเรียน การศึกษาตอ อาชีพ รวมทั้งการ
ดำเนนิ ชวี ติ และมที กั ษะทางสงั คม
3. เพ่ือใหผ เู รยี นเกดิ การเรียนรู สามารถปรับตวั ไดอยางเหมาะสม และอยูร วมกับผูอ่ืนไดอยาง
เหมาะสม

รวมทั้งหมด 3 ผลการเรียนรู

สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 ๑๖๕

กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น : กจิ กรรมนกั เรยี น
ระดบั ประถมศกึ ษา

ท่ี ช่อื วชิ า ระดบั ช้นั จำนวนชว่ั โมง/ป

๑ กิจกรรมลกู เสอื เนตรนารี ๑ ป.๑ ๓๐

กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน ๑ ๑๐

๒ กจิ กรรมลูกเสอื เนตรนารี ๒ ป.๒ ๓๐

กิจกรรมบำเพญ็ ประโยชน ๒ ๑๐

๓ กจิ กรรมลูกเสอื เนตรนารี ๓ ป.๓ ๓๐

กจิ กรรมบำเพ็ญประโยชน ๓ ๑๐

๔ กิจกรรมลูกเสอื เนตรนารี ๔ ป.๔ ๓๐

กิจกรรมบำเพญ็ ประโยชน ๔ ๑๐

๕ กิจกรรมลูกเสอื เนตรนารี ๕ ป.๕ ๓๐

กจิ กรรมบำเพ็ญประโยชน ๕ ๑๐

๖ กิจกรรมลกู เสอื เนตรนารี ๖ ป.๖ ๓๐

กจิ กรรมบำเพญ็ ประโยชน ๖ ๑๐

สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาพษิ ณโุ ลก เขต 1 ๑๖๖

คำอธบิ ายกจิ กรรมนักเรียน (ลกู เสือสำรองดาวดวงที่ 1)
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ ๑ เวลา 3๐ ชวั่ โมง/ป
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เปดประชุมกอง ดำเนินการตามกระบวนการของลูกเสือและจัดกิจกรรมโดยใหศึกษา วิเคราะห
วางแผน ปฏิบัติกิจกรรมตามฐานการเรียนรู โดยเนนระบบหมูและปฏิบัติกิจกรรมตามคำปฏิญาณและกฎของ
ลกู เสือสำรอง เรียนรจู ากการคดิ และปฏบิ ัติจริงใชสัญลกั ษณส มาชิกลกู เสือสำรองท่ีมีความเปนเอกลักษณรวมกัน
ศึกษาธรรมชาติในชุมชนดวยความสนใจ ใฝรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สรุปผลการปฏิบัติกจิ กรรม
ปดประชมุ กอง ในเร่อื งตอไปนี้
๑. เตรียมลูกเสอื สำรอง นยิ ายเมาคลี ประวัติการเริม่ กิจการลูกเสือ การทำความเคารพหมู
(แกรนดฮาวล) การทำความเคารพเปนรายบุคคล การจับมือซาย ระเบียบแถว เบื้องตน คำปฏิญาณ กฎและ
คติพจนของลูกเสอื สำรอง
๒. ลูกเสือสำรองดาวดวงท่ี ๑ อนามยั ความสามารถเชิงทักษะ การสำรวจ การคน หา
ธรรมชาติ ความปลอดภัย บริการ ธงและประเทศตาง ๆ การฝมือ กิจกรรมกลางแจง การบันเทิง การผูก
เงื่อน คำปฏิญาณและกฎของลูกเสือสำรองเพื่อใหมีความรู ความเขาใจในกิจกรรมลูกเสือสำรองดาวดวงที่ ๑
สามารถปฏิบัติตามคำปฏิญาณ กฎ และคติพจนของลูกเสือสำรอง มีนิสัยในการสังเกต จดจำ เชื่อฟงและ
พึ่งตนเอง มีความซื่อสัตย สุจริต มีระเบียบวินัย และเห็นอกเห็นใจผูอื่น รูจักบำเพ็ญตนเพื่อสังคมและ
สาธารณประโยชน รูจักทำการฝมือและฝกฝนทำกิจกรรมตาง ๆ ตามความเหมาะสม รักษาและสงเสริมจารีต
ประเพณี วัฒนธรรมและความมั่นคงของชาติ และสามารถประยกุ ตใ ชห ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ผลการเรยี นรู
๑. มีนสิ ัยในการสงั เกต จดจำ เชื่อฟงและพ่งึ พาตนเองได
๒. มคี วามซอื่ สัตย สุจรติ มรี ะเบยี บวินยั และเห็นอกเหน็ ใจผอู นื่
๓. บำเพ็ญตนเพอ่ื สังคมและสาธารณะประโยชน
๔. ทำการฝมอื และฝก ฝนการทำกจิ กรรมตาง ๆ ตามความเหมาะสม
๕. รักษาและสง เสริมจารีตประเพณี วฒั นธรรมประเพณี ภมู ปิ ญ ญาทองถ่นิ และความมั่นคง
๖. อนุรกั ษท รัพยากรธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ มและลดภาวะโลกรอ น
๗. สามารถประยุกตใ ชห ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งได

รวมท้ังหมด ๗ ผลการเรยี นรู

สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาพษิ ณุโลก เขต 1 ๑๖๗

คำอธิบายกจิ กรรมนกั เรียน(ลกู เสอื สำรองดาวดวงท่ี 2)
ช้นั ประถมศึกษาปที่ ๒ เวลา 3๐ ชว่ั โมง/ป
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เปด ประชมุ กอง ดำเนนิ การตามกระบวนการของลูกเสอื และจัดกิจกรรมใหศ กึ ษา วเิ คราะห วางแผน
ปฏิบัติกิจกรรมตามฐานการเรียนรู โดยเนนระบบหมู และปฏิบัติตามคำปฏิญาณ คติพจนและกฎของลูกเสือ
สำรอง ศึกษาเรียนรูจากการคิดและปฏิบัติจริงใชสัญลักษณสมาชิกลูกเสือสำรองที่มีความเปนเอกลักษณรวมกนั
ศึกษาธรรมชาติในชุมชนดวยความสนใจใฝรูตามวิถีเศรษฐกิจพอเพียง สรุปผลและปฏิบัติกิจกรรม ปดประชุม
กองในเรอื่ งตอ ไปนี้
ลูกเสอื สำรองดาวดวงท่ี ๒ นิยายเมาคลี ประวตั ิการเริม่ กจิ การลกู เสอื การทำความเคารพหมู
(แกรนดฮาวล) การทำความเคารพเปนรายบุคคล การจับมือซาย ระเบียบแถว คำปฏิญาณ กฎ และคติพจน
ของลูกเสือสำรอง อนามัย ความสามารถเชิงทักษะ การสำรวจ การคนหาธรรมชาติการอนุรักษทรัพยากรใน
ชุมชนทองถิ่น ความปลอดภัย บริการ การผูกเงื่อน ธง และประเทศตาง ๆ การฝมือที่ใชวัสดุเหลือใชใน
ทองถิ่น กิจกรรมกลางแจง การบันเทิงที่สงเสริมสุขภาพกายสุขภาพจิตและอนุรักษภูมิปญญาทองถิ่น อนุรักษ
ทรพั ยากรธรรมชาติส่งิ แวดลอ มลดภาวะโลกรอ น
เพื่อใหมีความรู ความเขาใจในกิจกรรมลูกเสือสำรองดาวดวงที่ ๒ สามารถปฏิบัติตามคำปฏิญาณ กฎ
และคติพจนของลูกเสือสำรอง มีนิสัยในการสังเกต จดจำ เชื่อฟงและพึ่งตนเอง มีความซื่อสัตยสุจริต มีระเบียบวินัย
และเห็นอกเห็นใจ รูจักบำเพ็ญเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน รูจักทำการฝมือและฝกฝนทำกิจกรรมตาง ๆ
ตามความเหมาะสม รักษาและสงเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น อนุรักษ
ทรัพยากรธรรมชาติส่ิงแวดลอม ความมั่นคงของชาติ และสามารถประยุกตใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง

ผลการเรยี นรู
1. มนี ิสัยในการสังเกต จดจำ เชือ่ ฟงและพ่ึงตนเองได
2. มีความซอ่ื สตั ย สจุ ริต มรี ะเบียบวนิ ัย และเห็นอกเหน็ ใจผอู ่ืน
3. บำเพ็ญตนเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน
4. ทำการฝมือและฝก ฝนทำกจิ กรรมตาง ๆ ตามความเหมาะสม
5. รกั ษาและสง เสรมิ จารตี ประเพณี วัฒนธรรม ภูมปิ ญ ญาทองถิ่นและความมั่นคงของชาติ
6. อนรุ กั ษท รพั ยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ ม ลดภาวะโลกรอ น สามารถประยุกตใ ช

หลกั ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงได
รวม ๖ ผลการเรยี นรู

สำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 ๑๖๘

ช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ ๓ คำอธิบายกจิ กรรมนักเรยี น(ลูกเสอื สำรองดาวดวงที่ 3)
เวลา 3๐ ชั่วโมง/ป
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เปดประชมุ กอง ดำเนินการตามกระบวนการของลูกเสือ และจดั กจิ กรรมใหศ ึกษา วิเคราะห วางแผน
ปฏิบัติกิจกรรมตามฐานการเรียนรู โดยเนนระบบหมู และปฏิบัติตามคำปฏิญาณ คติพจนและกฎของลูกเสือ
สำรอง ศึกษาเรียนรูจากการคิดและปฏิบัติจริงใชสัญลักษณสมาชิกลูกเสือสำรองที่มีความเปนเอกลักษณรวมกัน
ศึกษาธรรมชาติในชุมชนดวยความสนใจใฝรูตามวิถีเศรษฐกิจพอเพียง สรุปผลและปฏิบัติกิจกรรม ปดประชุม
กองในเรือ่ งตอไปน้ี
ลูกเสอื สำรองดาวดวงท่ี ๓ นิยายเมาคลี ประวตั ิการเร่ิมกิจการลกู เสือ การทำความเคารพหมู (แกรนฮาวล)
การทำความเคารพเปนรายบุคคล การจับมือซาย ระเบียบแถว คำปฏิญาณ กฎ และคติพจนของลกู เสือสำรอง
อนามัย ความสามารถเชิงทักษะ การสำรวจ การคนหาธรรมชาติการอนุรักษทรัพยากรในชุมชนทองถิ่น ความ
ปลอดภัย บริการ การผูกเงื่อน ธง และประเทศตาง ๆ การฝมือที่ใชวัสดุเหลือใชในทองถิ่น กิจกรรมกลางแจง
การบันเทงิ ที่สงเสริมสุขภาพกายสุขภาพจิตและอนุรกั ษภูมิปญ ญาทอ งถ่นิ อนุรกั ษทรพั ยากรธรรมชาติสิ่งแวดลอม
ลดภาวะโลกรอ น
เพื่อใหมีความรู ความเขาใจในกิจกรรมลูกเสือสำรองดาวดวงที่ ๓ สามารถปฏิบัติตามคำปฏิญาณ กฎ
และคติพจนของลูกเสือสำรอง มีนิสัยในการสังเกต จดจำ เชื่อฟงและพึ่งตนเอง มีความซื่อสัตยสุจริต มีระเบียบ
วินัย และเห็นอกเห็นใจ รูจักบำเพ็ญเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน รูจักทำการฝมอื และฝกฝนทำกิจกรรมตา ง
ๆ ตามความเหมาะสม รักษาและสงเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น อนุรักษ
ทรพั ยากรธรรมชาติสง่ิ แวดลอม ความมนั่ คงของชาติ และสามารถประยุกตใชหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ผลการเรียนรู
1. มนี ิสัยในการสังเกต จดจำ เช่อื ฟงและพึ่งตนเองได
2. มีความซื่อสตั ย สุจริต มรี ะเบียบวนิ ัย และเหน็ อกเหน็ ใจผูอนื่
3. บำเพญ็ ตนเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน
4. ทำการฝมอื และฝก ฝนทำกจิ กรรมตาง ๆ ตามความเหมาะสม
5. รักษาและสงเสรมิ จารตี ประเพณี วฒั นธรรม ภูมปิ ญญาทองถ่ินและความมั่นคงของชาติ
6. อนุรักษทรพั ยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอม ลดภาวะโลกรอน สามารถประยกุ ตใ ช

หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงได
รวมทง้ั หมด ๖ ผลการเรยี นรู

สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณโุ ลก เขต 1 ๑๖๙

ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๔คำอธิบายกจิ กรรมนกั เรียน (ลูกเสอื สามัญ (ลูกเสือตรี) )
เวลา 3๐ ช่ัวโมง/ป
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เปดประชุมกอง ดำเนินการตามกระบวนการของลูกเสือ และจัดกิจกรรมโดยใหศึกษา วิเคราะห
วางแผน ปฏิบัติกิจกรรมตามฐานการเรียนรู โดยเนนระบบหมู และปฏิบัติกิจกรรมตามคำปฏิญาณ คติพจน
และกฎของลูกเสือสามัญ เรียนรูจากการคิดและปฏิบัติจริง ใชสัญลักษณสมาชิกลูกเสือสามัญที่มีความเปน
เอกลักษณรวมกัน ศึกษาธรรมชาติในชุมชนดวยความสนใจ ใฝรูและมีจิตสำนึกในการอนุรักษ
ทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรมประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น ลดภาวะโลกรอนและประยุกตใชปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ความรูเกี่ยวกับกระบวนการลูกเสือ ประวัติของ Load Baden Powell พระราชประวัติ
สังเขปของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว วิวัฒนาการของกระบวนการ ลูกเสือไทยและลูกเสือโลก
การทำความเคารพ การแสดงรหัส การจับมือซาย กิจกรรมกลางแจง ระเบียบแถวทามือเปลา ทามือไมพลวง
การใชส ัญญามือและนกหวีด การต้งั แถวและการเรียนแถว
เพื่อใหมีความรู ความเขาใจในกิจกรรมลูกเสือสามัญ สามารถปฏิบัติตามคำปฏิญาณ กฎ และคติพจน
ของลูกเสือสามัญ มีนิสัยในการสังเกต จดจำ เชื่อฟง และพึ่งตนเอง มีความซื่อสัตย สุจริต มีระเบียบวินัย
และเหน็ อกเห็นใจผอู ่ืน บำเพ็ญตนเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน ทำการฝมือและฝกฝนการทำกจิ กรรมตา ง ๆ
ตามความเหมาะสม ความถนัด และความสนใจ รักษาและสงเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรมและความมั่นคง
ประโยชนและสามารถประยกุ ตใ ชหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ผลการเรยี นรู
1. มีนิสัยในการสังเกต จดจำ เชอื่ ฟงและพงึ่ ตนเองได
2. มคี วามซอ่ื สตั ยส ุจรติ มรี ะเบียบ วนิ ยั และเห็นอกเห็นใจผูอื่น
3. บำเพญ็ ตนเพือ่ สงเสรมิ และสาธารณะประโยชน
4. ทำการฝม อื และฝกฝนทำกจิ กรรมตาง ๆ ตามความถนัดและความสนใจ
5. รักษาและสง เสรมิ จารีตประเพณี วฒั นธรรม ภูมปิ ญ ญาทอ งถน่ิ และความมนั่ คงของชาติ
6. อนรุ ักษทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ลดภาวะโลกรอน
7. สามารถประยกุ ตใชห ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
รวมท้ังหมด ๗ ผลการเรียนรู

สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาพิษณโุ ลก เขต 1 ๑๗๐

คำอธิบายกิจกรรมนกั เรียน ( กิจกรรมลกู เสอื สามญั (ลกู เสือโท) )
ชัน้ ประถมศึกษาปท ี่ ๕ เวลา 3๐ ชวั่ โมง/ป
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เปดประชุมกองดำเนินการตามกระบวนการของลูกเสือ และจัดกิจกรรมโดยใหศึกษา วิเคราะห
วางแผน ปฏิบัติกิจกรรมตามฐานการเรียนรู โดยเนนระบบหมู และปฏิบัติกิจกรรมตามคำปฏิญาณ คติพจน
และกฎของลูกเสือสามัญ เรียนรูจากคิดและปฏิบัติจริง ใชสัญลักษณสมาชิกลูกเสือสามัญที่มีความเปน
เอกลักษณรวมกัน ศึกษาธรรมชาติในชุมชนดวยความสนใจ ใฝรู มีจิตสำนึกในการอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติ
วัฒนธรรม ภมู ปิ ญ ญาทอ งถิ่น ลดภาวะโลกรอ นและการประยุกตใ ชปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยใชทักษะ
ในทางวิชาลกู เสอื การรูจ ักดูแลตนเอง การชว ยเหลอื ผูอ่ืน การเดินทางไปยงั สถานท่ีตา ง ๆ ทำงานอดิเรก และ
เรื่องทีส่ นใจ
เพื่อใหมีความรู ความเขาใจในกิจกรรมลูกเสือสามัญ สามารถปฏิบัติตามคำปฏิญาณ กฎ และคติพจน
ของลูกเสือสามัญ มีนิสัยในการสังเกต จดจำ เชื่อฟง และพึ่งตนเอง มีความซื่อสัตย สุจริต มีระเบียบวินัย
และเห็นอกเห็นใจผูอื่น บำเพ็ญตนเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน ทำการฝมือและฝกฝนการทำกิจกรรมตาง
ๆ ตามความเหมาะสม ความถนัด และความสนใจ รักษาและสง เสรมิ จารตี ประเพณี วฒั นธรรมและความมน่ั คง
ประโยชนแ ละสามารถประยุกตใ ชห ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ผลการเรยี นรู
1. มีนสิ ยั ในการสงั เกต จดจำ เชอ่ื ฟงและพึง่ ตนเองได
2. มีความซ่อื สตั ยสจุ รติ มีระเบยี บ วินยั และเห็นอกเหน็ ใจผูอืน่
3. บำเพญ็ ตนเพือ่ สง เสริมและสาธารณะประโยชน
4. ทำการฝมือและฝกฝนทำกจิ กรรมตา ง ๆ ตามความถนดั และความสนใจ
5. รกั ษาและสง เสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรม ภูมปิ ญ ญาทองถ่ิน และความม่นั คงของชาติ
6. อนรุ กั ษทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ ม ลดภาวะโลกรอ น
7. สามารถประยกุ ตใ ชห ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

รวมท้งั หมด ๗ ผลการเรียนรู

สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาพษิ ณโุ ลก เขต 1 ๑๗๑

คำอธิบายกจิ กรรมนักเรียน ( กจิ กรรมลูกเสอื สามญั (ลูกเสอื เอก) )
ชัน้ ประถมศึกษาปที่ ๖ เวลา 3๐ ชัว่ โมง/ป
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เปดประชุมกองดำเนินการตามกระบวนการของลูกเสือ และจัดกิจกรรมโดยใหศึกษา วิเคราะห วางแผน
ปฏิบัติกิจกรรมตามฐานการเรียนรู โดยเนนระบบหมู และปฏิบัติตามคำปฏิญาณ คติพจน และกฎของลูกเสือ
สามัญ วิชาการของลกู เสอื ระเบยี บแถว การพ่งึ ตนเอง การผจญภัย การใชสัญลักษณ สมาชิกลูกเสอื สามญั ท่ี
มีความเปนเอกลักษณรวมกัน เรียนรูจากการคิดและปฏิบัติจริง ศึกษาธรรมชาติ วัฒนธรรมประเพณี ภูมิปญญา
ทองถิ่นดวยความสนใจ ใฝรู และประยุกตใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการปฏิบัติกิจกรรมเพื่อการ
อนุรักษท รพั ยากรธรรมชาติและลดภาวะโลกรอน
เพื่อใหมีความรู ความเขาใจในกิจกรรมลกู เสือสามญั สามารถปฏบิ ัตติ ามคำปฏิญาณ กฎ และคติพจนของ
ลูกเสอื สามัญ มีนิสยั ในการสงั เกต จดจำ เช่อื ฟง และพง่ึ ตนเอง มคี วามซอ่ื สัตย สจุ ริต มีระเบียบวนิ ัยและเหน็
อกเห็นใจผูอื่น บำเพ็ญตนเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน ทำการฝมือและฝกฝนการทำกิจกรรมตาง ๆ ตาม
ความเหมาะสม ความถนัด และความสนใจ รักษาและสงเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรมและความมั่นคง
ประโยชนแ ละสามารถประยกุ ตใ ชหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ผลการเรยี นรู
1. มนี สิ ยั ในการสังเกต จดจำ เชอ่ื ฟง และพึง่ ตนเองได
2. มคี วามซือ่ สตั ยส ุจริต มรี ะเบยี บ วินยั และเห็นอกเห็นใจผอู ่ืน
3. บำเพ็ญตนเพื่อสง เสริมและสาธารณะประโยชน
4. ทำการฝมอื และฝก ฝนทำกจิ กรรมตา ง ๆ ตามความถนัดและความสนใจ
5. รกั ษาและสง เสริมจารตี ประเพณี วฒั นธรรม ภูมิปญ ญาทองถ่นิ และความม่นั คงของชาติ
6. อนรุ ักษท รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ ม ลดภาวะโลกรอ น
7. สามารถประยกุ ตใ ชป รชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

รวมทงั้ หมด ๗ ผลการเรยี นรู

สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาพษิ ณโุ ลก เขต 1 ๑๗๒

กิจกรรมพฒั นาผเู รียน : กจิ กรรมชมุ นุม
ระดบั ประถมศกึ ษา

ที่ ช่ือวิชา ระดับชน้ั จำนวนชว่ั โมง/ป

๑ กจิ กรรมชุมนมุ ๑ ป.๑ ๔๐

๒ กิจกรรมชุมนมุ ๒ ป.๒ ๔๐

๓ กิจกรรมชุมนมุ ๓ ป.๓ ๔๐

๔ กิจกรรมชุมนุม ๔ ป.๔ ๔๐

๕ กจิ กรรมชมุ นุม ๕ ป.๕ ๔๐

๖ กิจกรรมชมุ นุม ๖ ป.๖ ๔๐

สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพษิ ณุโลก เขต 1 ๑๗๓

ระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ 1-3 คำอธิบายรายวิชากจิ กรรมชมุ นุมดนตรี เวลา 40 ชั่วโมง/ป

..............................................................................................................................................................................
ศึกษา อธิบาย สิ่งตาง ๆ ที่กอกำเนิดเสียงที่แตกตางกัน ลักษณะของเสียงดัง-เบา อัตราความเร็วของ
จังหวะ Tempo การอา นบทกลอนและรองเพลงประกอบจังหวะ การมีสว นรว มในกิจกรรมดนตรอี ยา งสนุกสนาน
ความเกี่ยวขอ งของเพลงที่ใชใ นชวี ิตประจำวนั ทม่ี าของบทเพลงในทองถิ่น ความนาสนใจของบทเพลงในทองถิน่
การเคลื่อนไหวลักษณะตาง ๆ การใชภาษาทาและการประดิษฐทาประกอบเพลง การแสดงประกอบเพลงท่ี
เกีย่ วกับธรรมชาติสัตว การเปนผชู มที่ดี การละเลนของเดก็ ไทย การแสดงนาฏศลิ ป
โดยใชทักษะกระบวนการทางดนตรีและนาฏศิลป ในการแสดงออกทางดนตรีและนาฏศิลปอยาง
สรา งสรรค การวิเคราะห วิพากษวิจารณค ุณคางานดนตรีและนาฏศิลป
เพื่อใหเห็นคุณคางานดนตรีและนาฏศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทย
และสากล และเขาใจความสัมพันธระหวางดนตรี-นาฏศิลป กับประวัติศาสตรและวัฒนธรรม และการนำ
ความรูไปประยุกตใ ชในชวี ติ ประจำวนั มจี รยิ ธรรม คุณธรรม และคานิยมทเี่ หมาะสม

ผลการเรยี นรูท ี่คาดหวงั
1. นักเรยี นความรูความเขา ใจพืน้ ฐานดนตรี-นาฏศิลปเ พือ่ ฝกทกั ษะการเรียนรูดนตรี-นาฏศลิ ป
2. นกั เรยี นสามารถแสดงออกทางดนตรีได
3. นักเรียนสามารถใชทักษะกระบวนการทางดนตรีและนาฏศิลป ในการแสดงออกทางดนตรี
และนาฏศิลปอยา งสรา งสรรค
๔. นักเรยี นสามารถวิเคราะห วพิ ากษวิจารณค ุณคา งานดนตรีและนาฏศิลป
๕. นักเรียนเห็นคุณคางานดนตรีและนาฏศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น
ภมู ปิ ญ ญาไทยและสากล

รวมท้งั หมด ๕ ผลการเรยี นรู

สำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพิษณุโลก เขต 1 ๑๗๔

คำอธบิ ายรายวชิ ากจิ กรรมชมุ นมุ พุทธศาสนา

ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปท่ี 4-๖ เวลา 40 ชว่ั โมง/ป
..............................................................................................................................................................................
พุทธศาสนาเปนศาสนาประจำชาติของประเทศไทย สมควรใหผูที่นับถือศาสนาพุทธเรียนรูเพื่อใหเขาใจ
พน้ื ฐานในหลักธรรมคำสอนของพทุ ธศาสนา เรียนรขู น้ั ตอนการปฏิบัตศิ าสนพิธีขั้นพืน้ ฐานในพระพทุ ธศาสนาและ
ฝก ทกั ษะปฏบิ ัติทำความดี ละเวนความชั่ว เพอ่ื ฝก ทำจติ ใจใหผ อ งใสตามหลกั ธรรมทางพุทธศาสนา

ผลการเรียนรทู ี่คาดหวัง
1. นักเรยี นความรูความเขาใจพ้ืนฐานในหลักธรรมคำสอนของพทุ ธศาสนา เพือ่ ฝก ทกั ษะการเรียนรูเศรษฐกจิ
2. นักเรยี นสามารถปฏบิ ัตศิ าสนพธิ ขี ัน้ พ้ืนฐานในพระพุทธศาสนา
3. นกั เรยี นสามารถปฏิบัตทิ ำความดี ละเวน ความชั่ว ทำจิตใจใหผ องใสตามหลกั ธรรมทางพุทธศาสนา

รวมทั้งหมด ๓ ผลการเรยี นรู

สำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 ๑๗๕

กิจกรรมพัฒนาผูเรยี น : กิจกรรมเพอื่ สาธารณประโยชน
ระดบั ประถมศกึ ษา

ท่ี ช่ือวิชา ระดบั ช้นั จำนวนชว่ั โมง/ป

๑ กจิ กรรมเพอื่ สาธารณประโยชน ๑ ป.๑ ๑๐
๒ กิจกรรมเพ่ือสาธารณประโยชน ๒ ป.๒ ๑๐
๓ กิจกรรมเพอื่ สาธารณประโยชน ๓ ป.๓ ๑๐
๔ กิจกรรมเพื่อสาธารณประโยชน ๔ ป.๔ ๑๐
๕ กจิ กรรมเพื่อสาธารณประโยชน ๕ ป.๕ ๑๐
๖ กิจกรรมเพื่อสาธารณประโยชน ๖ ป.๖ ๑๐

สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาพิษณโุ ลก เขต 1 ๑๗๖

คำอธบิ ายรายวชิ ากิจกรรมเพื่อสาธารณประโยชน

ระดับชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี 1-6 เวลา 10 ช่วั โมง/ป
..............................................................................................................................................................................
ฝก ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมดวยความสมัครใจผานกจิ กรรมท่ีหลากหลาย ฝกการทำงานที่สอดคลองกับชีวิตจริง
ตลอดจนสะทอนความรู ทักษะ และประสบการณ สำรวจและใชขอมูลประกอบการวางแผนอยางเปนระบบ
เนนทักษะการคิดวิเคราะห และใชความคิดสรางสรรค การบริการดานตาง ๆ ที่เปนประโยชนตอตนเองและ
สวนรวม เสริมสรางความมีน้ำใจ เอื้ออาทร ความเปน พลเมอื งดแี ละความรบั ผิดชอบตอตนเอง ครอบครวั และ
สังคม คิดออกแบบกิจกรรมบำเพ็ญประโยชนในลักษณะอาสาสมัคร จิตอาสา เพื่อแสดงความรับผิดชอบตอ
สังคมตามแนวทางวถิ ีชีวติ เศรษฐกจิ พอเพยี ง
เพื่อใหผูเรียนบำเพ็ญตนใหเปนประโยชนตอครอบครัว โรงเรียน ชุมชน สังคมและประเทศชาติ
สามารถออกแบบการจัดกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชนอ ยางสรางสรรคต ามความถนัดและความสนใจ
ในลักษณะอาสาสมัคร พัฒนาศักยภาพตนเองในการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชนไดอยางมี
ประสิทธิภาพเพื่อสังคมและสาธารณประโยชนจนเกิดคุณธรรม จริยธรรม ตามคุณลักษณะอันพึงประสงค
มจี ติ สาธารณะและใชเ วลาวางใหเกดิ ประโยชน และสามารถประยุกตใ ชห ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งได

ผลการเรยี นรู
1. บำเพ็ญตนใหเปน ประโยชนต อ ครอบครัว โรงเรยี น ชมุ ชน สังคมและประเทศชาติ
2. ออกแบบการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชนอยางสรางสรรค ตามความถนัด
และความสนใจในลักษณะอาสาสมคั ร
3. สามารถพัฒนาศักยภาพในการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชนไดอยางมี
ประสิทธิภาพ
4. ปฏิบัติกิจการเพื่อสังคมและสาธารณประโยชนจนเกิดคุณธรรม จริยธรรมตามคุณลักษณะ
อันพึงประสงค
5. สามารถประยุกตใ ชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได

รวม ๕ ผลการเรยี นรู

สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาพิษณโุ ลก เขต 1 ๑๗๗

ตอนที่ 4
องคประกอบที่ 4
กจิ กรรมพัฒนาผูเรยี น

ตอนท่ี 4
องคป ระกอบท่ี 4 กิจกรรมพัฒนาผเู รยี น

ตัวอยา งกจิ กรรมพัฒนาผูเรยี น

กจิ กรรมพัฒนาผเู รียน

โรงเรียน........................................... จัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุงใหผูเรียนไดพัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอยางรอบดาน เพื่อความเปน
มนุษยที่สมบูรณ ทั้งรางกาย สติปญญา อารมณและสังคม เสริมสรางใหเปนผูมีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบ
วินยั ปลกู ฝง และสรางจิตสำนึกของการทำประโยชนเพื่อสงั คม สามารถจดั การตนเองได และอยูรวมกับผูอื่นอยาง
มีความสขุ กจิ กรรมพัฒนาผเู รียนมงุ พฒั นาผเู รียนใหใ ชองคความรู ทกั ษะและเจตคตจิ ากการเรยี นรู ๘ กลุม สาระ
การเรียนรู และประสบการณของผูเรียนมาปฏิบัติกิจกรรม เพื่อชวยใหผูเรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ ไดแก
ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแกปญหา ความสามารถในการใช
ทกั ษะชวี ติ และความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี

ซึ่งจะสงผลในการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงค ไดแก รักชาติ ศาสน กษัตริย ซื่อสัตย
สุจริต มีวินัย ใฝเรียนรู อยูอยางพอเพียง มุงมั่นในการทำงาน รักความเปนไทย และมีจิตสาธารณะ อเกิดทักษะ
การทำงานและอยูรวมกบั ผอู ่นื ในสังคมไดอ ยางมคี วามสุข ในฐานะเปนพลเมอื งไทยและพลเมอื งโลก

กิจกรรมพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ทั้ง ๓ ลักษณะ
คือ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน และกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน เมื่อผูเรียนไดปฏิบัติ
กิจกรรมแลวนำไปสูเปาหมาย เพื่อเสริมสรางสมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียนตาม
หลกั สูตรแกนกลางขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

โครงสรางกจิ กรรมพฒั นาผเู รียน

โครงสรางเวลาการจดั กิจกรรมพัฒนาผูเรียนในแตล ะระดับชนั้ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษา
ขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

ระดับประถมศกึ ษา ประถมศึกษาตอนตน ประถมศึกษาตอนปลาย
กจิ กรรม ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖
๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ *
กจิ กรรมแนะแนว ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐
กิจกรรมนกั เรยี น
*
- กจิ กรรมลกู เสือ-เนตรนารี / ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
ยวุ กาชาด/ กิจกรรมผบู ำเพ็ญประโยชน
๖๐
- กจิ กรรมชมุ นุม ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
กิจกรรมเพอื่ สาธารณประโยชน
รวมชว่ั โมงตลอดป

ระดบั มัธยมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอนตน มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
กจิ กรรม ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ ม.๕ ม.๖
๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ *
กิจกรรมแนะแนว
กจิ กรรมนกั เรยี น ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ *

- กจิ กรรมลกู เสอื -เนตรนารี / ๓๕ ๓๕ ๓๕ ๓๐ ๓๐ ๓๐ *
ยวุ กาชาด/ กิจกรรมผบู ำเพ็ญประโยชน ๔๕ ๖๐
/ นกั ศึกษาวชิ าทหาร ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๓๖๐

- กจิ กรรมชมุ นุม
กิจกรรมเพอ่ื สาธารณประโยชน

รวมชัว่ โมงตลอดป

หมายเหตุ *
ตามหลักการของหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ไดกำหนดโครงสรางเวลา
ในการจดั กจิ กรรมพฒั นาผเู รียนในชั้นประถมศึกษาปท่ี ๑ ถงึ ชั้นมธั ยมศึกษาปท ี่ ๓ ปล ะ ๑๒๐ ชั่วโมง และ
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔-๖ จำนวน ๓๖0 ชั่วโมง เปนเวลาสำหรับปฏิบัติกิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน และ
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน สำหรับกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชนใหสถานศึกษาจัด
เวลาใหผ เู รียนไดปฏิบตั กิ จิ กรรม ดงั น้ี
 ระดับชนั้ ประถมศกึ ษา รวม ๖ ป ๖๐ ช่ัวโมง
 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน รวม ๓ ป ๔๕ ชัว่ โมง
 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย รวม ๓ ป ๖๐ ชวั่ โมง
การจัดสรรเวลาของกิจกรรมพัฒนาผูเรียนใหขึ้นกับการบริหารจัดการของสถานศึกษา ทั้งนี้ใหเปนไป
ตามโครงสรางเวลาของหลักสูตร และผูเรียนตองไดรับการพัฒนาและฝกปฏิบัติกิจกรรมทั้ง ลักษณะ อยาง
สม่ำเสมอและตอเนอ่ื งทกุ ปจนจบการศึกษาตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาพษิ ณุโลก เขต 1 ๑๘๐

โรงเรียน........................................... จัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ โดยแบง ออกเปน ๓ ลักษณะ ดงั น้ี

๑. กจิ กรรมแนะแนว
เปนกิจกรรมท่สี ง เสรมิ และพฒั นาผูเรียนใหรจู กั ตนเอง รรู กั ษสิง่ แวดลอ ม สามารถคดิ ตัดสนิ ใจ

คิดแกปญหา กำหนดเปาหมาย วางแผนชีวิตทั้งดานการเรียน และอาชีพ สามารถปรับตนไดอยางเหมาะสม
นอกจากนี้ยังชวยใหครูรูจักและเขาใจผูเรียน ทั้งยังเปนกิจกรรมที่ชวยเหลือและใหคำปรึกษาแกผูปกครองในการ
มสี ว นรว มพัฒนาผเู รียน

วตั ถปุ ระสงค
๑. เพ่อื ผูเ รียนคนพบความถนดั ความสามารถ ความสนใจของตนเอง รักละเหน็ คณุ คาในตนเองและ
ผอู ืน่
๒. เพือ่ ใหผ เู รยี นแสวงหาความรจู ากขอ มูล ขา วสาร แหลง เรยี นรู ท้ังดา นการศกึ ษา อาชพี สวนตวั สังคม
เพ่ือนำไปใชในการวางแผน เลอื กแนวทางการศกึ ษาอาชีพไดอยางเหมาะสมสอดคลอ งกบั ศกั ยภาพของตนเอง
๓. เพือ่ ใหผเู รียนไดพ ัฒนาบคุ ลิกภาพ และรับตัวอยใู นสงั คมไดอยางมคี วามสขุ
๔. เพอ่ื ใหผ เู รยี นมคี วามรู มที กั ษะ มีความคดิ สรา งสรรค ในงานอาชีพและมเี จตคตทิ ดี่ ตี ออาชีพสจุ รติ
๕. เพื่อใหผเู รียนมีคา นยิ มทดี่ งี ามในการดำเนินชีวติ สรางเสรมิ วินยั คุณธรรมและจรยิ ธรรมแกน กั เรียน
๖. เพือ่ ใหผเู รยี นมจี ิตสำนึกในการรบั ผิดชอบตอ ตนเอง ครอบครัว สังคม และประเทศชาติ

๒. กิจกรรมนกั เรยี น
เปนกิจกรรมที่มุงพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเปนผูนำผูตามที่ดี ความรับผิดชอบการทำงาน

รวมกัน การรูจักแกปญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การชวยเหลือแบงปนกัน เอื้ออาทร และ
สมานฉันท โดยจัดใหสอดคลองกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผูเรียน ใหไดปฏิบัติดวย
ตนเองในทุกขั้นตอน ไดแก การศึกษาวิเคราะหวางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมิน และปรับปรุงการทำงาน
เนนการทำงานรวมกนั เปนกลุม ตามความเหมาะสม และสอดคลองกับวฒุ ภิ าวะของผูเ รยี น บรบิ ทของสถานศึกษาและ
ทอ งถนิ่

ประกอบดว ย
๒.๑ กิจกรรมลกู เสอื เนตรนารี ยวุ กาชาด ผบู ำเพญ็ ประโยชน

วัตถุประสงค
พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ.๒๕๕๑ มาตรา ๘ ไดกำหนดวัตถุประสงคของการฝกอบรม เพื่อพัฒนา
ลูกเสือทั้งทางกาย สติปญญา จิตใจ และศีลธรรมใหเปนพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ และชวยสรางสรรค
สังคม เพื่อใหเกิดความสามัคคี และความเจริญกาวหนา ทั้งนี้เพื่อความสงบสุข และความมั่งคงของ
ประเทศชาติตามแนวทางดงั ตอไปนี้

๑. ใหม ีนสิ ัยในการสงั เกต จดจำ เช่ือฟง และพ่ึงตนเอง
๒. ใหมีความซื่อสตั ยสุจรติ มีระเบยี บวนิ ยั และเห็นอกเหน็ ใจผูอ่ืน
๓. ใหรจู ักบำเพ็ญตนเพอ่ื สาธารณประโยชน

๔. ใหร จู ักทำการฝมอื และฝกฝนการทำกิจกรรมตา ง ๆ ตามความเหมาะสม
๕. ใหรูจกั รักษาและสง เสรมิ จารีตประเพณี วฒั นธรรม และความม่งั คงชองชาติ
แนวการจดั กิจกรรม
กจิ กรรมลูกเสือ เนตรนารี ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๑-๓
เปดประชุมกอง ดำเนินการตามกระบานการของลูกเสือ และจัดกิจกรรมใหศึกษาวิเคราะห วางแผน
ปฏิบัติกิจกรรมตามมาตรฐาน โดยเนนระบบหมู สรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม ปดประชุมกอง โดยใหผูเรียน
ศึกษาและฝกปฏบิ ตั ิดังนี้
1. เตรียมลูกเสอื สำรอง นยิ ายเรอ่ื เมาคลี ประวัติการเร่มิ กิจกรรมลูกเสือสำรอง การทำ
ความเคารพเปนหมู (แกรนดฮาวล) การทำความเคารพเปนรายบุคคล การจบั มือซา ย ระเบยี บแถวเบอ้ื งตน คำ
ปฏญิ าณ กฎ และคตพิ จนของลกู เสือสำรอง
2. ลกู เสอื สำรองดาวดวงที่ ๑ , ๒ และ ๓ อนามยั ความสามารถเชิงทกั ษะ การสำรวจ
การคน หาธรรมชาติ ความปลอดภัย บรกิ าร ธง และประเทศตา ง ๆ การฝม อื กจิ กรรมกลางแจง การบันเทิง
การผูกเงื่อน คำปฏิญาณ และกฎของลูกเสือสำรองโดยใชกระบานการทำงาน กระบวนการแกปญหา
กระบวนการกลุม กระบวนการจัดการ กระบวนการคิดริเริ่ม สรางสรรค กระบวนการฝกปฏิบัติ ทางลูกเสือ
กระบวนการทางเทคโนโลยี และภูมปิ ญ ญาทองถ่นิ ไดอ ยางเหมาะสม
เพื่อใหมีความรู ความเขาใจในกิจกรรมลูกเสือ สามารถปฏิบัติตามคำปฏิญาณ กฎ และคติพจนของ
ลูกเสือสำรอง มีนิสัยในการสังเกต จดจำ เชื่อฟง และพ่ึงตนเอง ซื่อสัตย สุจริต มีระเบียบวินัย และเห็นอก
เห็นใจผูอื่น บำเพ็ญตนเพื่อสาธารณประโยชน รูจักทำการฝมือ พัฒนากาย จิตใจ และศีลธรรม ทั้งนี้โดยไม
เกี่ยวของกับลัทธิทางการเมืองใด ๆ สนใจและอนุรักษธรรมชาติและสิ่งแวดลอม นำไปใชในชีวิตประจำวันได
อยางมปี ระสทิ ธิภาพ
กิจกรรมลูกเสือ - เนตรนารี ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี ๔-๖
เปด ประชมุ กอง ดำเนินการตามกระบวนการของลูกเสือ และจดั กิจกรรมใหศ ึกษา วิเคราะห วางแผน
ปฏิบัติกิจกรรมตามมาตรฐาน โดยเนนระบบหมู สรุปการปฏิบัติกิจกรรม ปดประชุมกอง โดยใหผูเรียนศึกษา
และปฏิบตั ิในเรื่อง
1. ลูกเสอื ตรี ความรูเ ก่ียวกบั ขบวนการลกู เสอื คำปฏญิ าณและกฎของลูกเสอื สามญั กิจกรรม
กลางแจง ระเบยี บแถว
2. ลกู เสอื โท การรูจักดูแลตนเอง การชว ยเหลอื ผอู ่ืน การเดนิ ทางไปยงั สถานทต่ี างๆ ทกั ษะทางวชิ า
ลูกเสอื งานอดเิ รกและเร่อื ทีน่ าสนใจ คำปฏิญาณ และกฎของลูกเสือ ระเบยี บแถว
3. ลูกเสือเอก การพงึ่ พาตนเอง การบรกิ าร การผจญภยั วิชาการของลกู เสือ ระเบยี บแถว โดยใช
กระบวนการทำงาน กระบวนการแกปญหา ระบวนการกลุม กระบวนการจัดการ กระบวนการคิดริเร่ิม
สรางสรรค กระบวนการฝกปฏิบัติทางลูกเสือ กระบวนการทางเทคโนโลยี และภูมิปญญาทองถิ่นไดอยาง
เหมาะสม
เพื่อใหมีความรูความเขาใจในกิจกรรมลูกเสือ สามารถปฏิบัติตามคำปฏิญาณ กฎ และคติพจนของ
ลูกเสือสามัญ มีนิสัยในการสังเกต จดจำ เชื่อฟง และพึ่งตนเอง ซื่อสัตย สุจริต มีระเบียบวินัย และเห็นอก
เห็นใจผูอื่น บำเพ็ญตนเพื่อสารธารณประโยชน รูจักทำการฝมือ พัฒนากาย จิตใจ และศีลธรรม ทั้งนี้โดยไม
เกี่ยวของกับลัทธิทางการเมืองใด ๆ สนใจและอนุรักษธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และนำไปใชในชีวิตประจำวัน
ไดอยางมีประสิทธิภาพ

สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาพิษณุโลก เขต 1 ๑๘๒

หมายเหตุ ผเู รียนไดป ฏิบตั กิ ิจกรรม และผา นการทดสอบแลว จะไดร บั เคร่อื งหมายลกู เสอื ตรี ลูกเสอื
โท และลูกเสอื เอก
กิจกรรมการอยูคายพักแรมของลูกเสอื -เนตรนารี

การอยูคายพักแรม เปนหัวใจของลูกเสือ ลูกเสือทุกคนตางก็มีโอกาสที่จะอยูคายพักแรม เนื่องจากตาม
ขอบังคับของคณะลูกเสือแหงชาติ วาดวยการปกครอง หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ พ.ศ.๒๕๐๙ ขอ ๒๗๓-
๒๗๙ กำหนดไววา ใหผูกำกับกลุมหรือผูกำกับลูกเสือนำลูกเสือไปฝกเดินทางไกลและแรมคืน ในปหนึ่งไมนอย
กวา ๑ ครง้ั ครงั้ หนึ่งใหพ ักแรมอยางนอย ๑ คืน

การเดินทางไกลและแรมคืน มีวัตถุประสงคเพื่อฝกใหลูกเสือมีความอดทน อยูในระเบียบวินัย รูจักชวย
ตัวเอง รูจักอยูและทำงานรวมกับผูอื่น ตลอดจนเรียนวิชาลูกเสือเพิ่มเติม ผูบังคับบัญชาลูกเสือจำเปนตอง
วางแผนนำลูกเสือไปเดนิ ทางไกลและแรมคืนไวใ หพรอ มกอนและเนิ่น ๆ ดงั นั้น บทบาทผูบ งั คบั บญั ชาลูกเสือท่ีมี
หนาที่รับผิดชอบตอลูกเสือ ตองานการอยูคายพักแรมและตามหนาที่ของตนเอง จึงจำเปนตองหาโอกาสให
ลูกเสือของตนไดม โี อกาสในการอยูค า ยพกั แรมเสมอ

อนึ่ง ผบู งั คับบัญชาลกู เสือตองเขาใจวา กจิ กรรมการอยคู า ยพักแรมนี้ เปน กจิ กรรมสำหรับเด็ก มใิ ช
กจิ กรรมของผใู หญ ความสำเร็จคอื กิจกรรมทตี่ อบสนองความตอ งการของเดก็ ไดแ ก การผจญภยั การไดเ พอ่ื น
ไดเ รียนรูส ง่ิ ใหม ไดค วามสนกุ และความสขุ พรอมทั้งเกดิ ทศั นคตทิ ี่ดตี อการไปอยคู ายพักแรมดวย ถอื วาส่งิ นเี้ ปน
จดุ หมายทีส่ ำคญั
วิชาพเิ ศษลกู เสือ

ลกู เสอื ท้งั ๔ ประเภททเ่ี รียนหลกั สตู รกจิ กรรมลกู เสอื สำรอง ลกู เสือสามญั ลกู เสอื สามญั รนุ ใหญ และ
ลกู เสอื วิสามัญ อาจสอบวชิ าพเิ ศษไดต ามหลักสตู รทก่ี ำหนดไว วิชาเหลา น้ี มงุ หมายใหลูกเสือไดแสดงออก ซ่งึ
ทักษะและความสนใจของตนเองกับเพอื่ ใหไ ดมีสว นในการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมรวมกบั ลูกเสอื อ่นื ๆ ดวย

๒.๒ กจิ กรรมชุมนุม ชมรม
วตั ถุประสงค

๑. เพอื่ ใหผเู รยี นไดปฏิบตั ิกจิ กรรมตามความสนใจ ความถนดั และความตอ งการของตน
๒. เพอ่ื ใหผเู รยี นไดพฒั นาความรู ความสามารถดานการคดิ วเิ คราะห สังเคราะห ใหเกิด
ประสบการณทงั้ ทางวชิ าการและวิชาชีพตามศักยภาพ
๓. เพ่อื สงเสริมใหผ ูเรียนใชเ วลาใหเ กดิ ประโยชนตอ ตนเองและสว นรวม
๔. เพอ่ื ใหผูเรยี นทำงานรว มกับผอู ่ืน ไดต ามวถิ ีประชาธิปไตย
แนวการจัดกจิ กรรม
การจัดกิจกรรมตามความสนใจ (ชุมนุม) ผูเรียนสามารถเลือกเขาเปนสมาชิกชมรม วางแผนการ
ดำเนินกิจกรรมรวมกัน โดยมีชมรมที่หลากหลาย เหมาะสมกับเพศ วัย และความสนใจของผูเรียน ประกอบดวย
กิจกรรมดานคุณธรรม จริยธรรม วัฒนธรรม อนุรักษสิ่งแวดลอม สงเสริมประชาธิปไตย สงเสริมการเรียนรู และ
คา ยวิชาการ การศกึ ษาดงู าน การฝก ปฏิบตั ิ การบรรยายพเิ ศษดงั ตวั อยา งพอสงั เขปตอ ไปน้ี
๑. กิจกรรมพัฒนาวฒุ ิภาวะทางอารมณ ศลี ธรรมและจริยธรรม จดั สอนจรยิ ธรรมในหองเรียน จัด
ใหมีการปฏิบัติกิจกรรมเนื่องในวันสำคัญทั้งทางชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย โดยผูเรียนมีสวนรวมในการจัด
กจิ กรรมทง้ั ในดา นวฒั นธรรม ประเพณี กฬี า และศลี ปะ

สำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาพษิ ณโุ ลก เขต 1 ๑๘๓

๒. กิจกรรมพัฒนาทักษะชวี ิต จดั กิจกรรมแขงขันกีฬาสที ุกชว งชัน้ โดยผูเรียนไดฝกทกั ษะการ
ทำงาน และการแกป ญหาทกุ ขั้นตอน

๓. กจิ กรรมสง เสรมิ นสิ ัยรกั การทำงาน จัดกจิ กรรมวนั วชิ าการโดยผเู รียนมโี อกาสปฏบิ ตั ิจริง
และฝก ทกั ษะการจัดการ

๔. กจิ กรรมเพ่อื อนรุ ักษส ิ่งแวดลอ มและวฒั นธรรม โดยจดั กิจกรรมสืบสานวฒั นธรรมไทย เชน
ประเพณไี หวครู ประเพณีลอยกระทง

๕. กจิ กรรมสง เสรมิ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย จัดใหมกี ารเลือกคณะกรรมการ
นักเรียนโดยใหนำกระบวนการประชาธปิ ไตยไปใชใ นการรว มวางแผนดำเนินงานพัฒนาโรงเรียน

๖. กิจกรรมคนดีของสังคม จัดใหมกี ารบรรยายใหค วามรู เพอื่ ปองกนั ปญ หาโรคตดิ ตอ
รา ยแรงปญ หายาเสพตดิ ปญหาวยั รุน ใหค วามรเู พอ่ื ปลกู ฝงใหเปน สุภาพบรุ ษุ สุภาพสตรี

๗. กิจกรรมสง เสริมการเรียนรู โดยจัดแหลงเรียนรู ไดแก หองสมุด หอ งปฏิบตั กิ ารทางภาษา
หองปฏิบัตกิ ารทางวิทยาศาสตร หอ งเทคโนโลยีสารสนเทศ

๘. กจิ กรรมสง เสริมสุขภาพและอนามัย ใหบ รกิ ารหองพยาบาล มีบรกิ ารใหค วามรูแกผูเรยี น
เพอ่ื ปองกันโรคระบาดอยา งทันเหตุการณ

๓. กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน
เปนกิจกรรมที่สงเสริมใหผูเรียนบำเพ็ญตนใหเปนประโยชนตอสังคม ชุมชน และทองถิ่นตาม

ความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละตอสังคม มีจิต
สาธารณะ เชน กิจกรรมอาสาพัฒนาตาง ๆ กิจกรรมสรางสรรคสังคม การจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนยึดหลัก
การบูรณาการ และสนองตามความสนใจและความตองการของผเู รยี นเปนสำคญั
วตั ถปุ ระสงค

๑. เพื่อใหผูเ รียนบำเพญ็ ตนใหเ ปนประโยชนตอครอบครวั โรงเรยี น ชุมชน และประเทศชาติ
๒. เพ่ือใหผูเรยี นออกแบบกิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารประโยชนอ ยา งสรางสรรคตามความถนดั
และความสนใจในลกั ษณะอาสาสมัคร
๓. เพอื่ ใหผ เู รยี นพฒั นาศักยภาพในการจดั กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชนไดอยา งมี
ประสิทธิภาพ
๔. เพ่อื ใหผูเรียนปฏบิ ัติกจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชนจนเกิดคณุ ธรรม จรยิ ธรรมตาม
คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค
๕. เพ่ือใหผเู รยี นมจี ิตสาธารณะและใชเ วลาวา งใหเกิดประโยชน
แนวการจัดกิจกรรม
การจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน เปนกิจกรรมที่สงเสริมใหผูเรียนไดทำประโยชน
ตามความสามารถ ความถนัดและความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม
ความเสียสละตอสังคม มีจิตใจมุงทำประโยชนตอครอบครัว ชุมชนและสังคมกิจกรรมสำคัญ ไดแก กิจกรรม

สำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 ๑๘๔

บำเพ็ญประโยชน กิจกรรมสรา งสรรคสังคม กจิ กรรมดำรงรักษา สืบสาน ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม กิจกรรม
พัฒนานวตั กรรมและเทคโนโลยี

เวลาเรียนสำหรับกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชนในสวนกิจกรรมเพื่อสังคมและ
สาธารณประโยชน จัดสรรเวลาใหผูเรียนระดับประถมศึกษาปที่ ๑-๖ รวม ๖ ป จำนวน ๖๐ ชั่วโมง (เฉลี่ยปละ
๑๐ ชั่วโมง)

การจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน ในระดับประถมศึกษาปที่ ๑-๖ เปนการจัด
กิจกรรมภายในเวลาเรียน โดยใหผูเรียนรายงานแสดงกรเขารวมกิจกรรมลงในสมุดบันทึก และมีผูรับรองผลการ
เขารว มกิจกรรมทกุ คร้งั

การประเมนิ ผลกิจกรรมพฒั นาผูเรยี น
การประเมนิ ผลการจดั กิจกรรมพฒั นาผเู รยี น เปนเงื่อนไขสำคัญประการหนึ่ง สำหรบั การผา นชวงช้ันหรือ

จบหลักสูตร ผูเรียนตองเขารวมและปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ตลอดจน ผานการประเมินตามเกณฑที่
สถานศกึ ษากำหนดตามแนวประเมนิ ดังน้ี

1. ประเมนิ การรวมกิจกรรมพฒั นาผเู รียนตามวตั ถปุ ระสงค ดว ยวธิ กี ารท่ีหลากหลาย ตามสภาพจรงิ ให
ไดผ ลการประเมนิ ที่ถกู ตอง ครบถวน

2. ครูทีป่ รึกษากจิ กรรม ผูเรียนและผปู กครอง จะมีบทบาทในการประเมินดงั นี้
2.1 ครทู ป่ี รกึ ษากจิ กรรมพัฒนาผูเ รยี น
- ตองดแู ลและพัฒนาผเู รยี นใหเกดิ คณุ ลักษะตามวตั ถุประสงคของกิจกรรม
- ตองรายงานเวลา และพฤตกิ รรมการเขารว มกิจกรรม
- ตอ งศึกษาติดตาม และพฒั นาผูเ รียนในกรณีผูเ รยี นไมเ ขา รว มกจิ กรรม
2.2 ผเู รยี น
- ปฏบิ ตั ิกิจกรรมใหบรรลตุ ามวัตถุประสงค
- มีหลกั ฐานแสดงการเขา รวมกจิ กรรมไมนอ ยกวา 80% หรือตามเกณฑที่สถานศึกษา

กำหนด พรอ มท้งั แสดงการปฏบิ ัติกิจกรรม และพฒั นาการดานตางๆ
- ถา ไมเกิดคุณลกั ษณะตามวตั ถปุ ระสงค ตองปฏิบตั ิกิจกรรมเพ่ิมเตมิ ตามที่ครทู ่ปี รกึ ษา

กจิ กรรมอบรม หรอื ใหความเห็นชอบตามทีผ่ ูเ รียนเสนอ
- ประเมินตนเองและเพอื่ นรว มกิจกรรม

2.3 ผูป กครองนกั เรียน
- ผปู กครองใหค วามรวมมอื ในการตดิ ตามพัฒนาการของผเู รยี นกบั สถานศกึ ษาเปน ระยะ ๆ
- ผูปกครองบนั ทึกความเหน็ สรุปพัฒนาการและการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมของผเู รยี น

3. เกณฑการผานกจิ กรรมพฒั นาผูเรียน
3.1 ผเู รยี นมีเวลาเขา รวมกจิ กรรมไมต ำ่ กวา รอยละ 80 หรอื ตามทีส่ ถานศกึ ษากำหนด
3.2 ผเู รยี นผานจดุ ประสงคที่สำคญั ของแตละกจิ กรรม

สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาพิษณโุ ลก เขต 1 ๑๘๕

ตอนท่ี 5
องคประกอบที่ 5
เกณฑก ารจบการศกึ ษา

ตอนท่ี 5
องคประกอบที่ 5 เกณฑการจบการศกึ ษา

การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู

จุดมงุ หมายของการวดั และประเมินผลการเรยี นรู
การวัดและประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนตองอยูบนหลักการพื้นฐานสองประการ ประการแรกคือ
การวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาผูเรียนโดยเก็บรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับผลการเรียนและการเรียนรูของผูเรียนใน
ระหวางการเรียนการสอนอยา งตอเนือ่ ง บันทึก วิเคราะห แปลความหมายขอมูล แลวนำมาใชในการสงเสรมิ หรือ
ปรับปรุงแกไขการเรียนรูของผูเรียนและการสอนของครู การวัดและประเมินผลกับการสอนจึงเปนเรื่องที่สัมพันธ
กัน หากขาดสิ่งหนึ่งสิ่งใดการเรียนการสอนก็ขาดประสิทธิภาพ การประเมินระหวางการเรียนการสอนเพ่ือ
พัฒนาการเรียนรูเปนการวัดและประเมินผลเพื่อการพัฒนา (Formative Assessment) ที่เกิดขึ้นในหองเรียน
ทุกวัน เปนการประเมินเพื่อใหรูจุดเดน จุดที่ตองปรับปรุง จึงเปนขอมูลเพื่อใชในการพัฒนาในการเก็บขอมูล
ผูสอนตองใชวิธีการและเครื่องมือการประเมินที่หลากหลาย เชน การสังเกต การซักถาม การระดมความคิดเห็น
เพื่อใหไดมติขอสรุปของประเด็นที่กำหนด การใชแฟมสะสมงาน การใชภาระงานที่เนนการปฏิบัติ การประเมิน
ความรูเดิม การใหผูเรียนประเมินตนเอง การใหเพื่อนประเมินเพื่อน และการใชเกณฑการใหคะแนน (Rubrics)
สิ่งสำคัญที่สุดในการประเมินเพื่อพัฒนา คือ การใหขอมูลยอนกลับแกผูเรียนในลักษณะคำแนะนำที่เชื่อมโยง
ความรูเดิมกับความรูใหมทำใหการเรียนรูพอกพูน แกไขความคิด ความเขาใจเดิมที่ไมถูกตอง ตลอดจนการให
ผูเ รียนสามารถตง้ั เปา หมายและพัฒนาตนได
จุดมงุ หมายประการทสี่ อง คอื การวัดและประเมนิ ผลเพื่อตัดสินผลการเรยี น เปน การประเมิน
สรุปผลการเรียนรู (Summative Assessment) ซ่ึงมหี ลายระดับ ไดแก เมือ่ เรยี นจบหนว ยการเรียนรู จบรายวชิ า
เพอื่ ตัดสินใหคะแนน หรอื ใหระดับผลการเรยี น ใหก ารรบั รองความรูค วามสามารถของผูเรียนวา ผานรายวชิ า
หรอื ไม ควรไดร ับการเล่ือนชน้ั หรือไม หรอื สามารถจบหลกั สูตรหรอื ไม ในการประเมินเพือ่ ตดั สนิ ผลการเรียนท่ีดี
ตองใหโ อกาสผเู รยี นแสดงความรคู วามสามารถดวยวธิ ีการทหี่ ลากหลายและพิจารณาตดั สินบนพ้นื ฐานของ
เกณฑผ ลการปฏบิ ตั มิ ากกวา ใชเ ปรยี บเทยี บระหวา งผูเรียนและเพอ่ื ตัดสนิ ผลการเรยี น
ในการพฒั นาคณุ ภาพการเรยี นรขู องผเู รียนใหประสบผลสำเรจ็ นนั้ ผเู รยี นจะตอ งไดร บั การพัฒนาและ
ประเมินตามตัวช้วี ดั เพ่อื ใหบรรลุตามมาตรฐานการเรยี นรู สะทอนสมรรถนะสำคัญ และคุณลกั ษณะ อัน
พึงประสงคของผูเรียนซึ่งเปนเปาหมายหลักในการวดั และประเมินผลการเรียนรูในทุกระดับไมวาจะเปนระดบั ชั้น
เรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู เปน
กระบวนการพัฒนาคุณภาพผูเรียนโดยใชผลการประเมินเปนขอมูลและสารสนเทศที่แสดงพัฒนาการ
ความกาวหนาและความสำเร็จทางการเรียนของผูเรียน ตลอดจนขอมูลที่เปนประโยชนตอการสงเสริมใหผูเรียน
เกิดการพฒั นาและเรยี นรูอยา งเตม็ ตามศกั ยภาพ
การวดั และประเมินผลการเรียนรแู บงออกเปน ๔ ระดับ ไดแกร ะดบั ชนั้ เรียน ระดับสถานศกึ ษา ระดบั
เขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาและระดบั ชาติ โดยมีรายละเอยี ด ดงั นี้
๑. การประเมินระดับชั้นเรียน เปนการวัดและประเมินผลทอ่ี ยใู นกระบวนการจัดการเรียนรู ผูสอน
ดำเนินการเพื่อพัฒนาผูเรียนและตัดสินผลการเรียนในรายวิชา/กิจกรรมที่ตนสอน ในการประเมินเพื่อการพัฒนา
ผูสอนประเมินผลการเรียนรูตามตัวชี้วัดที่กำหนดเปนเปาหมายในแตละหนวยการเรียนรู เปนปกติและสม่ำเสมอ
ในการจัดการเรียนการสอน ดวยใชเทคนิควิธีการประเมินอยางหลากหลาย เชน การซักถาม การสังเกต การ
ตรวจการบาน การประเมินโครงงาน การประเมินชิ้นงาน/ ภาระงาน แฟมสะสมงาน การใชแบบทดสอบ
การแสดงออกในการปฏิบัติผลงาน การแสดงกิริยาอาการตาง ๆ ของผูเรียนตลอดเวลาที่จัดกิจกรรม เพื่อดูวา

บรรลตุ ัวชวี้ ดั หรือมแี นวโนมวา จะบรรลตุ ัวช้ีวดั เพยี งใด แลว แกไ ขขอ บกพรอ งเปน ระยะ ๆ อยางตอ เนอ่ื ง ฯลฯ โดย
ผูสอนเปนผูประเมินเองหรือเปดโอกาสใหผูเรียนประเมินตนเอง เพื่อนประเมินเพื่อน ผูปกครองรวมประเมิน ใน
กรณที ่ีไมผ านตัวชีว้ ัดใหม กี ารสอนซอมเสริม

การประเมินระดับชั้นเรียนเปนการตรวจสอบวา ผูเรียนมีพัฒนาการความกาวหนา ในการเรียนรู
อันเปนผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม และมากนอยเพียงใดมีสิ่งที่จะตองไดรับการพัฒนา
ปรับปรุงและสงเสริมในดานใด นอกจากนี้ยังเปนขอมูลใหผูสอน ใชปรับปรุงการเรียนการสอนของตนดวย ทั้งนี้
โดยสอดคลอ งกบั มาตรฐานการเรยี นรแู ละตวั ช้วี ดั

๒. การประเมินระดับสถานศึกษา เปนการประเมินที่สถานศึกษาดำเนินการเพื่อเปนการตรวจสอบ
ผลการเรียน และตัดสินผลการเรียนของผูเรียนเปนรายป/รายภาค ผลการประเมินการอาน เขียน คิดวิเคราะห
และคุณลักษณะอันพึงประสงค และกิจกรรมพัฒนาผูเรียน การอนุมัติผลการเรียน การตัดสินการเลื่อนชั้นเรียน
นอกจากนี้เพื่อใหไดขอมูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษา วาสงผลตอการเรียนรูของผูเรียนตาม
เปาหมายหรือไม ผูเรียนมีสิ่งที่ตองไดรับการจุดพัฒนาในดานใด รวมทั้งสามารถนำผลการเรียนของผูเรียนใน
สถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑระดับชาติและระดับเขตพื้นที่การศึกษา ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะ
เปนขอมูลและสารสนเทศเพื่อการปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน
ตลอดจนเพ่อื การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามแนวทางการประกันคณุ ภาพการศึกษา
และการรายงานผลการจัดการศึกษาตอคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ผูปกครอง และชุมชน

๓. การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา เปนการประเมินคุณภาพผูเรียนในระดับเขตพื้นท่ี
การศึกษาตามมาตรฐานการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เพื่อใชเปน
ขอ มลู พน้ื ฐานในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพื้นทีก่ ารศึกษา ตามภาระความรบั ผดิ ชอบ สามารถ
ดำเนนิ การโดยประเมินคุณภาพผลสมั ฤทธ์ขิ องผูเรียนดวยวิธกี าร และเครื่องมือท่ีเปนมาตรฐาน ขอ สอบมาตรฐาน
ซึ่งที่จัดทำและดำเนินการโดยเขตพื้นที่การศึกษา หรือดวยความรวมมือกับหนวยงานตนสังกัด/หนวยงานท่ี
เกี่ยวของ ในการดำเนินการจัดสอบ นอกจากนี้ยังสามารถดำเนินการได ดวยการตรวจสอบ ทบทวนขอมูลจาก
การประเมนิ ระดับสถานศกึ ษาในเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

๔. การประเมินระดับชาติ เปนการประเมินคุณภาพผูเรียนในระดับชาติตามมาตรฐานการเรียนรู
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สถานศึกษาตองจัดใหผูเรียนทุกคนที่เรียนใน
ชั้นประถมศึกษาปที่ ๓ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ และชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ เขารับการ
ประเมิน ผลจากการประเมินใชเปนขอมูลในการเทียบเคียงคุณภาพการศึกษาในระดับตา ง ๆ เพื่อนำไปใชในการ
วางแผนยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ตลอดจนเปนขอมูลสนับสนุนการตัดสินใจในระดับนโยบายของ
ประเทศ

ขอมูลการประเมินในระดับตาง ๆ ขางตน เปนประโยชนตอสถานศึกษาในการตรวจสอบ ทบทวน
พัฒนาคุณภาพผูเรียน ถือเปนภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาที่จะตองจัดระบบดูแลชวยเหลือ ปรับปรุง
แกไข สงเสริมสนับสนุน เพื่อใหผูเรียนไดพัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพื้นฐานความแตกตางระหวางบุคคลท่ี
จำแนกตามสภาพปญหาและความตองการ ไดแก กลุมผูเรียนทั่วไป กลุมผูเรียนที่มีความสามารถพิเศษ กลุม
ผูเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ กลุมผูเรียนที่มีปญหาดานวินัย และพฤติกรรม กลุมผูเรียนที่ปฏิเสธ
โรงเรียน กลุมผูเรียนที่มีปญหาทางเศรษฐกิจ และสังคม กลุมผูเรียนท่ีพิการทางรางกายและสติปญญา เปนตน
ขอมูลจากการประเมินจึงเปนหัวใจของสถานศึกษาในการดำเนินการชวยเหลือผูเรียนไดทันทวงที เปนโอกาสให
ผูเรยี นไดรับการพัฒนาและประสบความสำเร็จในการเรียน

สำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 ๑๘๘

สถานศึกษาในฐานะผูรับผิดชอบจัดการศึกษา จะตองจัดทำระเบียบวาดวยการวัดและประเมินผล
การเรียนของสถานศึกษาใหสอดคลองและเปนไปตามหลักเกณฑและแนวปฏิบัติที่เปนขอกำหนดของหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ เพ่อื ใหบคุ ลากรท่เี กย่ี วของทุกฝา ยถือปฏบิ ัตริ ว มกนั

สำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพิษณุโลก เขต 1 ๑๘๙

เกณฑก ารวดั และประเมนิ ผลการเรยี น

๑. การตัดสิน การใหร ะดับและการรายงานผลการเรยี น
๑.๑ การตดั สินผลการเรียน
ในการตัดสินผลการเรียนของกลุมสาระการเรียนรู การอาน คิดวิเคราะห และเขียน

คุณลักษณะอันพึงประสงค และกิจกรรมพัฒนาผูเรียนนัน้ ผูสอนตองคำนึงถึงการพัฒนาผูเรียนแตละคนเปนหลัก
และตองเก็บขอมูลของผูเรียนทุกดานอยางสม่ำเสมอและตอเนื่องในแตละภาคเรียน รวมทั้งสอนซอมเสริมผูเรียนให
พฒั นาจนเตม็ ตามศักยภาพ

ระดับประถมศึกษา
(๑) ผูเรียนตองมีเวลาเรยี นไมนอยกวารอยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นทัง้ หมด
(๒) ผเู รียนตอ งไดรับการประเมนิ ทุกตวั ช้ีวดั และผา นตามเกณฑท ่ีสถานศกึ ษากำหนด
(๓) ผูเรยี นตอ งไดรับการตดั สนิ ผลการเรยี นทกุ รายวชิ า
(๔) ผูเรียนตองไดรับการประเมิน และมีผลการประเมินผานตามเกณฑที่สถานศึกษากำหนดใน
การอาน คดิ วิเคราะห และเขียน คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค และกิจกรรมพัฒนาผเู รียน
๑.๒ การใหร ะดบั ผลการเรยี น
ระดบั ประถมศกึ ษา

ในการตัดสินเพื่อใหระดับผลการเรียนรายวิชา สถานศึกษาสามารถใหระดับผลการเรียนหรือ
ระดับคุณภาพ การปฏิบัติของผูเรียน เปนระบบตัวเลข ระบบตัวอักษร ระบบรอยละ และระบบที่ใชคำสำคัญ
สะทอ นมาตรฐาน

การประเมินการอาน คิดวิเคราะหและเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงคนั้นให้ผลการ
ประเมนิ ผา่ น และไมผ่ า่ น กรณที ผ่ี า่ นใหระดับผลการประเมินเปน ดีเยย่ี ม ดี และผาน

การประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียน จะตองพิจารณาทั้งเวลาการเขารวมกิจกรรม การปฏิบัติ
กิจกรรม และผลงานของผูเรียนตามเกณฑที่สถานศึกษากำหนด และใหผลการประเมินเขารวมกิจกรรมเปนผาน
และไมผ าน

๑.๓ การรายงานผลการเรียน
การรายงานผลการเรียนเปนการสื่อสารใหผูปกครองและผูเรียนทราบความกาวหนาในการ

เรียนรูของผูเรียน ซึ่งสถานศึกษาตองสรปุ ผลการประเมิน และจัดทำเอกสารรายงานใหผูปกครองทราบเปน ระยะ
ๆ หรอื อยา งนอยภาคเรียนละ ๑ คร้ัง

การรายงานผลการเรียนสามารถรายงานเปนระดับคุณภาพการปฏิบัติของผูเรียนที่สะทอน
มาตรฐานการเรียนรูก ลุมสาระการเรียนรู

๒. เกณฑการจบการศกึ ษา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กำหนดเกณฑกลางสำหรับการจบ

การศึกษาเปน ๓ ระดับ คอื ระดับประถมศกึ ษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน และระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

สำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาพิษณโุ ลก เขต 1 ๑๙๐

๒.๑ เกณฑการจบระดบั ประถมศกึ ษา
(๑) ผูเรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติม โดยเปนรายวิชาพื้นฐานตาม

โครงสรางเวลาเรียนที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กำหนด และรายวิชา/
กจิ กรรมเพ่มิ เติมตามทสี่ ถานศึกษากำหนด

(๒) ผูเรียนตองมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐาน ผานเกณฑการประเมินตามที่สถานศึกษา
กำหนด

(๓) ผูเรียนมีผลการประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียนในระดับผานเกณฑการประเมิน
ตามทสี่ ถานศกึ ษากำหนด

(๔) ผูเรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคในระดับผานเกณฑการประเมินตามท่ี
สถานศึกษากำหนด

(๕) ผูเรียนเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียนและมีผลการประเมินผานเกณฑการประเมินตามที่
สถานศกึ ษากำหนด

(๖) ผูเรียนมีผลการประเมินสมรรถนะสำคัญในระดับผานเกณฑการประเมินตามท่ี
สถานศึกษากำหนด

สำหรับการจบการศึกษาสำหรับกลุมเปาหมายเฉพาะ เชน การศึกษาเฉพาะทาง การศึกษาสำหรับ
ผูมีความสามารถพิเศษ การศึกษาทางเลือก การศึกษาสำหรับผูดอยโอกาส การศึกษาตามอัธยาศัย ให
คณะกรรมการของสถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา และผูที่มีสวนเกี่ยวของ ดำเนินการวัดและประเมินผลการ
เรยี นรตู ามหลักเกณฑใ นแนวปฏบิ ตั ิการวัดและประเมินผลการเรียนรูของหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สำหรับกลุมเปาหมายเฉพาะ

สำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาพิษณโุ ลก เขต 1 ๑๙๑

เอกสารหลกั ฐานการศึกษา

เอกสารหลักฐานการศึกษาเปนเอกสารท่ีสำคัญท่ีใชบันทึกผลการเรียน ขอมูลและสารสนเทศ ท่ี
เกี่ยวขอ งกบั พฒั นาการของผเู รยี นในดา นตาง ๆ แบงออกเปน ๒ ประเภท ดงั นี้

๑. เอกสารหลักฐานการศกึ ษาท่กี ระทรวงศึกษาธกิ ารกำหนด
๑.๑ ระเบียนแสดงผลการเรียน (ปพ.๑) เปนเอกสารสำหรับบันทึกขอมูลผลการเรียนของ

ผูเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ไดแก ผลการเรียนตามกลุมสาระ
การเรียนรู แสดงผลการเรียนและรับรองผลการเรียนของผูเรียนตามรายวิชา ผลการประเมินการอาน คิด
วิเคราะหและเขียน ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคของสถานศึกษา และผลการประเมินกิจกรรม
พัฒนาผูเรียน สถานศึกษาตองจัดทำบันทึกขอมูล และออกเอกสารนี้ใหผูเรียนเปนรายบุคคล เมื่อผูเรียนจบ
การศึกษาระดับหรือเมื่อผูเรียนออกจากสถานศึกษาในทุกกรณี เพื่อใชแสดงผลการเรียนตามหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ระดบั ประถมศึกษา(ช้ันประถมศกึ ษาปท ี๖่ ) จบการศกึ ษาภาคบังคบั (ช้ัน
มธั ยมศกึ ษาปท ่๓ี ) และจบการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน(ชนั้ มัธยมศึกษาปท ่ี ๖) หรอื เมื่อลาออกจากสถานศกึ ษา ในทุก
กรณี

๑.๒ ประกาศนียบตั ร (ปพ.๒) เปน เอกสารแสดงวุฒกิ ารศึกษาทม่ี อบใหแ กผูจบการศึกษา ภาค
บังคับ และผูสำเร็จการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เพื่อ
รบั รองศกั ดิแ์ ละสิทธิ์ของผสู ำเร็จการศึกษาตามวฒุ แิ หง ประกาศนยี บัตรน้ัน

๑.๓ แบบรายงานผูสำเร็จการศึกษา (ปพ.๓) เปนเอกสารสำหรับอนุมัติการจบหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ของผูเรียนในแตละรุนการศึกษา โดยบันทึกรายช่ือ
และขอมูลทางการศึกษาของผูจบการศึกษาระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖) ผูจบการศึกษาภาค
บงั คับ (ช้นั มธั ยมศึกษาปที่ ๓) และผูจ บการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน (ชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี ๖) ใชเ ปน เอกสารสำหรับตัดสิน
และอนุมัติผลการเรียนใหผูเรียนเปนผูสำเร็จการศึกษา และใชในการตรวจสอบยืนยัน และรับรองความสำเร็จ
และวุฒิการศึกษาของผูสำเร็จการศึกษาแตละคนตลอดไป โดยบันทึกรายชื่อและขอมูลของผูจบการศึกษาระดับ
ประถมศึกษา(ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖) ผูจบการศึกษาภาคบังคับ (ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓) และผูจบการศึกษาขั้น
พนื้ ฐาน (ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที่ ๖)

๒. เอกสารหลกั ฐานการศึกษาทส่ี ถานศกึ ษากำหนด
เอกสารที่สถานศึกษาจัดทำขึ้นเพื่อบันทึกพัฒนาการ ผลการเรียนรู และขอมูลสำคัญ เกี่ยวกับ

ผูเรียน เชน แบบรายงานประจำตัวนักเรียน แบบบันทึกผลการเรียนประจำรายวิชา ระเบียนสะสม ใบรับรองผล
การเรียน และเอกสารอน่ื ๆ ตามวัตถปุ ระสงคของการนำเอกสารไปใช

๒.๑ แบบบนั ทึกผลการเรียนประจำรายวิชา เปนเอกสารท่สี ถานศกึ ษาจัดทำขึน้ เพ่อื ใหผสู อน
ใชบันทึกขอมูลการวัดและประเมินผลการเรียนตามแผนการจัดการเรียนรูและประเมินผลการเรียน และใชเปน
ขอมูลในการพิจารณาตัดสินผลการเรียนแตละรายวิชา เอกสารนี้ควรจัดทำเพ่ือบันทึกขอมูลของผูเรียนเปนราย
หอง

๒.๒ แบบรายงานประจำตวั นกั เรยี น เปนเอกสารทสี่ ถานศึกษาจัดทำขนึ้ เพอ่ื บันทึกขอมลู
การประเมินผลการเรียนรู และพัฒนาการดานตาง ๆ ของผูเรียนแตละคนตามเกณฑการตัดสินการผานระดับช้ัน
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ รวมทั้งขอมูลดานอื่น ๆ ของผูเรียนทั้งที่บาน
และโรงเรียน เปนเอกสารรายบุคคล สำหรับสื่อสารใหผูปกครองของผูเรียนแตละคนไดทราบผลการเรียนและ
พฒั นาการดานตา ง ๆ ของผูเรยี น และรว มมอื ในการพัฒนาผเู รยี นอยา งตอ เน่ือง

สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาพษิ ณุโลก เขต 1 ๑๙๒

๒.๓ ใบรบั รองผลการเรยี น เปน เอกสารท่ีสถานศึกษาจดั ทำขึ้นเพือ่ รับรองสถานภาพความเปน
ผูเรียนในสถานศึกษาที่กำลังศึกษาอยูหรือรับรองผลการเรียน หรือวุฒิของผูเรียนเปนการชั่วคราวตามที่ผูเรียน
รองขอ ทั้งกรณีที่ผูเรียนกำลังศึกษาอยูในโรงเรียนหรือเม่ือจบการศึกษาไปแลว แตกำลังรอรับหลกั ฐานการศึกษา
ระเบยี นแสดงผลการเรยี นเปนตน

ใบรบั รองผลการเรียนมีอายุการใชง านชว่ั คราว โดยปกติประมาณ ๓๐ วัน ซง่ึ ผเู รยี น
สามารถนำไปใชเปนหลักฐานแสดงคุณสมบัติของผูเรียนในการสมัครเขาศึกษาตอ สมัครเขาทำงาน หรือเมื่อมี
กรณอี ่นื ใดที่ผูเรียนแสดงคณุ สมบัตเิ กี่ยวกบั วฒุ ิความรู หรอื สถานภาพการเปน ผเู รยี นของตน

๒.๔ ระเบยี นสะสม เปน เอกสารท่สี ถานศกึ ษาจัดทำข้นึ เพอื่ บันทึกขอ มลู เก่ียวกับพฒั นาการ
ของผูเรียนในดานตาง ๆเปนรายบุคคลอยางตอเนื่อง ตลอดชวงระยะเวลาการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขน้ั พื้นฐาน ๑๒ ป ระเบยี นสะสมใหข อมูลที่เปนประโยชนในการแนะแนวทางการศกึ ษาและ การ
ประกอบอาชีพของผูเรียน การพัฒนาปรับปรุงบุคลิกภาพ การปรับตัวของผูเรียน และผลการเรียน ตลอดจน
รายงานกระบวนการพัฒนาคุณภาพของผูเรียนระหวางสถานศึกษากับบา น และใชเปนหลักฐานในการตรวจสอบ
คุณสมบตั ิของผูเรียนตามความเหมาะสม

สำนักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาพษิ ณโุ ลก เขต 1 ๑๙๓

การเทียบโอนผลการเรียน

สถานศึกษาสามารถเทียบโอนผลการเรียนของผูเรียนจากสถานศึกษาไดในกรณีตาง ๆ ไดแก การยาย
สถานศึกษา การเปลี่ยนรูปแบบการศึกษา การยายหลักสูตร การออกกลางคัน และการขอกลับเขารับการศึกษา
ตอ การศึกษาจากตางประเทศ และขอเขาศึกษาตอในประเทศ นอกจากนี้ ยังสามารถเทียบโอนความรู ทักษะ
ประสบการณจากแหลงการเรียนรูอื่น ๆ เชน สถานประกอบการ สถาบันทางศาสนา สถาบันการฝกอบรมอาชีพ
การจัดการศกึ ษาโดยครอบครัว เปน ตน

การเทียบโอนผลการเรียนควรดำเนินการในชว งกอ นเปด ภาคเรยี น หรอื ตนภาคเรียนทีส่ ถานศึกษารบั ผู
ขอเทียบโอนเปนผูเรียน ทั้งน้ี ผูเรียนที่ไดรับการเทียบโอนผลการเรียนตองศึกษาตอเนื่องในสถานศึกษาที่รับ
เทียบโอนอยางนอย ๑ ภาคเรียน โดยสถานศึกษาที่รับผูเรียนจากการเทียบโอนควรกำหนดรายวิชา/จำนวน
หนว ยกิต ท่ีจะรบั เทียบโอนตามความเหมาะสม

การพิจารณาการเทยี บโอน สามารถดำเนนิ การได ดังน้ี
๑. พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา และเอกสารอื่น ๆ ที่ใหขอมูลแสดงความรู ความสามารถของ
ผเู รยี น
๒. พิจารณาจากความรูความสามารถของผูเรียน โดยการทดสอบดวยวิธีการตาง ๆ ทั้งภาคความรู
และภาคปฏิบตั ิ
๓. พิจารณาจากความสามารถและการปฏิบตั ใิ นสภาพจรงิ
การเทยี บโอนผลการเรยี นใหด ำเนนิ การในรปู ของคณะกรรมการการเทียบโอน จำนวนไมน อ ยกวา
๓ คน แตไ มควรเกิน ๕ คน และใหเปน ไปตามประกาศ หรือแนวปฏิบัติของกระทรวงศึกษาธิการ

สำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาพิษณโุ ลก เขต 1 ๑๙๔

ตอนที่ 6
การตรวจสอบ
องคประกอบหลักสตู ร
สถานศกึ ษา

ตอนท่ี 6
การตรวจสอบองคป ระกอบหลกั สูตรสถานศกึ ษา
แบบตรวจสอบองคประกอบหลกั สตู รสถานศึกษา

ระดับการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน
การตดิ ตาม ตรวจสอบหลกั สูตรสถานศกึ ษา
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การบรหิ ารจัดการเวลาเรยี นของสถานศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน
การปรับมาตรฐานตัวชีว้ ัดและสาระการเรยี นรแู กนกลาง กลมุ สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตร
สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรมในสว นของภูมิศาสตร และประกาศสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พืน้ ฐานเร่อื งการบรหิ ารจดั การหลกั สตู รสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน กลุมสาระการเรยี นรูค ณติ ศาสตรและ
วทิ ยาศาสตร(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
วตั ถุประสงค
๑. เพื่อตรวจสอบหลักสตู รสถานศกึ ษาวามอี งคประกอบครบถว นและสอดคลองกบั หลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
๒. เพ่ือตรวจสอบโครงสรา งหลักสูตรและการบรหิ ารจัดการเวลาเรยี นของสถานศึกษาใหเปน ไปตาม
หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ และประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการเร่ือง การบรหิ าร
จัดการเวลาเรยี นของสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
๓. เพอ่ื ตรวจสอบมาตรฐานตวั ช้ีวัดและสาระการเรยี นรแู กนกลางกลมุ สาระการเรยี นรูว ิทยาศาสตร
คณิตศาสตร สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรมในสวนของภมู ิศาสตร ใหถ ูกตอ งเหมาะสมกับการบริหารจัดการ
หลกั สตู รสถานศึกษาข้ันพนื้ ฐาน กลมุ สาระการเรียนรคู ณติ ศาสตรแ ละวิทยาศาสตร ศาสนาและวัฒนธรรมในสวน
ของภูมศิ าสตร (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
๔. เพ่ือนำผลการตรวจสอบไปปรับปรงุ แกไขหลักสูตรสถานศึกษาใหม ีคณุ ภาพยิง่ ขน้ึ
วิธีดำเนนิ การ
๑. สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาพษิ ณโุ ลก เขต ๑ แตง ตั้งคณะกรรมการ การตดิ ตาม
ตรวจสอบและพฒั นาหลกั สตู ร เพื่อยกระดบั คุณภาพการจดั การศึกษาระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐานของโรงเรียน
ในสงั กดั
๒. สำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาพิษณโุ ลก เขต ๑ จัดทำเคร่อื งมอื การตดิ ตาม
ตรวจสอบและพฒั นาหลักสตู ร เพ่ือยกระดบั คณุ ภาพการจัดการศกึ ษาระดบั การศึกษาข้นั พนื้ ฐานของโรงเรียน
ในสงั กัด
๓. สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาพิษณโุ ลก เขต ๑ ดำเนนิ การการติดตาม ตรวจสอบ
และพฒั นาหลกั สตู ร เพ่อื ยกระดับคณุ ภาพการจัดการศึกษาระดบั การศึกษาขัน้ พนื้ ฐานของโรงเรยี นในสงั กดั
๔. สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพษิ ณุโลก เขต ๑ รายงานผล และแจง การตดิ ตาม
ตรวจสอบและพัฒนาหลกั สูตร เพ่ือยกระดับคณุ ภาพการจัดการศึกษาระดบั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานของโรงเรียน
ในสงั กดั

แบบตรวจสอบองคป ระกอบหลกั สตู รสถานศึกษา
ระดับการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน

โรงเรียน ……………………………….สำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาพิษณุโลก เขต ๑
คำชแ้ี จง

ใหศกึ ษานเิ ทศกห รอื ผทู ่ีเกี่ยวของดำเนนิ การตรวจสอบองคประกอบหลักสตู รโรงเรยี น ตามลำดับดงั น้ี
๑. ตรวจสอบองคป ระกอบหลักสูตรสถานศกึ ษาตามรายการท่กี ำหนดแลวเขียนเคร่อื งหมายลงในชอง
ผลการตรวจสอบตามความเปนจริง
๒. บนั ทกึ แนวทางในการปรบั ปรุง/แกไ ขแตล ะรายการเพ่ือใหโ รงเรียนนำไปใชประโยชนใ นการปรบั ปรงุ
และพัฒนาหลกั สูตรโรงเรียนตอไป
๓. หากมีขอคดิ เห็นหรือขอ เสนอแนะอ่ืน ใหบันทึกลงในขอ เสนอแนะ อ่นื ๆ
๔. สรปุ ผลการตรวจสอบภาพรวมองคป ระกอบหลักสูตรโรงเรยี น โดยเขยี นเคร่อื งหมายลงในตาราง
แสดงผล การตรวจสอบภาพรวมองคป ระกอบหลกั สตู รโรงเรียน
การใหระดบั คณุ ภาพ
คณะกรรมการฯ ใหระดบั คุณภาพตามท่ไี ดพ ิจารณาตรวจสอบหลกั สูตรสถานศึกษาโดยเขียนครือ่ งหมาย
 ลงในชอ งระดับคณุ ภาพ ดังน้ี
ระดับคณุ ภาพ ๑ หมายถึง ครบถว น ถูกตอ ง สอดคลอ ง เหมาะสม ทกุ รายการ
ระดับคณุ ภาพ ๐ หมายถึง มคี รบทกุ รายการ แตมีบางรายการควรปรบั ปรงุ แกไ ข ไมม ี มไี มค รบทุก

รายการ ไมส อดคลอ ง ตองปรบั ปรุงแกไข หรอื เพิ่มเติม
การแปลผลระดบั คณุ ภาพ

คาระดบั คะแนนเฉลี่ย ๙๐-๑๐๐ ระดบั คณุ ภาพ ๕ แปลผล ดเี ย่ยี ม
คาระดับคะแนนเฉล่ีย ๗๕-๘๙ ระดับคณุ ภาพ ๔ แปลผล ดมี าก
คาระดับคะแนนเฉล่ีย ๖๐-๗๔ ระดับคณุ ภาพ ๓ แปลผล ดี
คา ระดับคะแนนเฉลี่ย ๕๐-๕๙ ระดบั คณุ ภาพ ๒ แปลผล พอใช
คา ระดบั คะแนนเฉลยี่ ๐-๔๙ ระดับคณุ ภาพ ๑ แปลผล ปรับปรุง

สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาพษิ ณุโลก เขต 1 ๑๙๗

องคประกอบของหลกั สตู รโรงเรยี น………………………………… ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ
รายการ

ปกหลักสูตรโรงเรียน
ประกาศโรงเรียนเร่ืองใหใ ชหลกั สตู ร
สารบญั
๑. สว นนำ
๑.๑ ความนำ
แสดงความเชอ่ื มโยงระหวา งหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กร
หลักสูตรระดับทองถน่ิ จุดเนน และความตอ งการของโรงเรียน
๑.๒ วิสยั ทัศน
๑.๒.๑ แสดงภาพอนาคตท่ีพึงประสงคของผูเรยี นท่สี อดคลองกบั วสิ ยั ทศั นข องหลักสูตรแกน
การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ อยา งชัดเจน
๑.๒.๒ แสดงภาพอนาคตที่พึงประสงคของผูเรยี นสอดคลอ งกบั กรอบหลักสตู รระดับทอ งถิ่น
๑.๒.๓ แสดงภาพอนาคต ที่พึงประสงค ของผเู รยี น ครอบคลมุ สภาพความตอ งการของโรงเร
ชุมชน ทอ งถน่ิ
๑.๒.๔ ชัดเจนสามารถปฏบิ ตั ิได
๑.๓ สมรรถนะสำคญั ของผเู รียน
สอดคลอ งกับหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๑.๔ คุณลักษณะอันพึงประสงค
๑.๔.๑ สอดคลอ งกับหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
๑.๔.๒ สอดคลอ งกบั เปา หมายจุดเนน กรอบหลักสูตรระดบั ทอ งถิ่น
๑.๔.๓ สอดคลอ งกบั วสิ ยั ทัศนของโรงเรยี น

กษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ หนงั สอื /คำสง่ั /ประกาศทเ่ี ปน หลักฐาน
ระดบั ขอเสนอแนะ สกู ารปฏิบัตขิ องสถานศึกษา
คณุ ภาพ ปรบั ปรงุ /
0 1 แกไ ข

-หนังสือหลักสตู รแกนกลาการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
รอบ -นโยบาย จุดเนนของสถานศึกษา
-หนังสือหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
นกลาง พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
-นโยบาย จดุ เนนของสถานศึกษา

รียน
-หนังสือหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
-หนงั สอื หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน
พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
-นโยบาย วสิ ัยทศั น จดุ เนน ของสถานศกึ ษา

สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาพษิ ณุโลก เขต 1 198

๒. โครงสรา งหลกั สตู รสถานศึกษา
๒.๑ โครงสรา งเวลาเรยี น
๒.๑.๑ ระบเุ วลาเรยี นของ ๘ กลมุ สาระการเรยี นรู ท่ีเปน เวลาเรียนพ้ืนฐานและเพม่ิ เตมิ จำแ
ละชัน้ ปอ ยางชัดเจน

๒.๑.๒ เวลาเรยี นของรายวชิ าพ้ืนฐานในระดับประถมศกึ ษาท้งั ๘ กลมุ สาระ เทา กบั ๘๔๐ ช
** สำหรบั ภาษาอังกฤษ ป.๑- ป.๓ ให จดั เปน รายวิชาพื้นฐาน จำนวน ๒๐๐ ช่ัวโมง ตอป ห
จัดเปนรายวิชาพืน้ ฐาน อยางนอย ๑๒๐ ชั่วโมงตอ ป และจัดเปน รายวิชาเพ่มิ เตมิ และหรือกจิ
พัฒนาผเู รยี นหรือกจิ กรรมเสริมหลกั สตู ร ๘๐ ชม ตอ ป
**วชิ าสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 80 ช่วั โมงตอ ปประวตั ศิ าสตร 40 ช่วั โมงตอ ปร วม
ชวั่ โมงตอป
**รายวชิ าเพิม่ เติมปละไมนอยกวา ๔๐ ชั่วโมง
** กิจกรรมพฒั นาผเู รยี น ๑๒๐ ชวั่ โมงตอป
๒.๑.3 เวลาเรยี นของรายวิชาพ้ืนฐานในระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตนทัง้ ๘ กลมุ สาระ เทา กบั ๘8๐ ช
**วิชาสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 120 ชัว่ โมงตอปประวัตศิ าสตร 40 ช่วั โมงตอปรว
160 ชว่ั โมงตอ ป
**รายวิชาเพิม่ เติมปล ะไมนอยกวา ๒๐0 ชวั่ โมง
** กิจกรรมพฒั นาผเู รียน๑๒๐ ชว่ั โมงตอป


Click to View FlipBook Version