The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฏาคม-ธันวาคม 2565): วารสารการวิจัยการศึกษาขั้นพื้นฐาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by avelinox101, 2023-01-04 04:01:52

ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฏาคม-ธันวาคม 2565): วารสารการวิจัยการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฏาคม-ธันวาคม 2565): วารสารการวิจัยการศึกษาขั้นพื้นฐาน

วารสารการวจิ ยั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน
OBEC Basic Education Research journal

ผจู้ ดั พมิ พ์ สำนกั พัฒนำนวตั กรรมกำรจดั กำรศกึ ษำ
ท่ีปรึกษาบรรณาธิการ สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขั้นพน้ื ฐำน
บรรณาธิการ ดร.อัมพร พนิ ะสำ
เลขำธิกำรคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้นั พื้นฐำน
ดร.ภูธร จนั ทะหงษ์ ปุณยจรัสธำรง
ผูอ้ ำนวยกำรสำนักพฒั นำนวตั กรรมกำรจดั กำรศกึ ษำ

กองบรรณาธิการผทู้ รงคณุ วฒุ อิ าวโุ ส ประธำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขัน้ พื้นฐำน
คุณหญงิ กษมำ วรวรรณ ณ อยธุ ยำ คณะครุศำสตร์ จุฬำลงกรณม์ หำวทิ ยำลยั
รองศำสตรำจำรย์ สริ ิพนั ธ์ุ สุวรรณมรรคำ ผเู้ ชี่ยวชำญพิเศษ
ดร.เบญจลักษณ์ นำ้ ฟ้ำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขนั้ พ้ืนฐำน
คณบดีคณะศึกษำศำสตร์ มหำวิทยำลัยศิลปำกร
ผู้ชว่ ยศำสตรำจำรย์ มำเรยี ม นลิ พนั ธ์ุ

กองบรรณาธิการ คณะครุศำสตร์ มหำวิทยำลยั รำชภฏั พระนคร
รองศำสตรำจำรย์ ดร.ทิวัตถ์ มณโี ชติ คณะสังคมศำสตรแ์ ละศิลปศำสตร์
รองศำสตรำจำรย์ ดร.เกตุมณี มำกมี มหำวิทยำลยั นอรท์ เชียงใหม่
คณะศึกษำศำสตร์ มหำวิทยำลัยนเรศวร
รองศำสตรำจำรย์ ดร.จติ มิ ำ วรรณศรี ข้ำรำชกำรบำนำญ วิทยำลยั กำรฝกึ หัดครู
ผู้ชว่ ยศำสตรำจำรย์ ดร.ไพรชั สู่แสนสุข มหำวิทยำลยั รำชภัฏพระนคร
คณะศกึ ษำศำสตร์ มหำวิทยำลัยสงขลำนครินทร์
ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ ดร.ชวลิต เกดิ ทพิ ย์ คณะครศุ ำสตร์อตุ สำหกรรมและเทคโนโลยี
ผู้ชว่ ยศำสตรำจำรย์ ดร.ศิริรัตน์ เพช็ รแ์ สงศรี สถำบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้ำคุณทหำรลำดกระบัง
คณะศึกษำศำสตร์ มหำวทิ ยำลัยศิลปำกร
ผชู้ ว่ ยศำสตรำจำรย์ ดร.สำยสดุ ำ เตยี เจริญ คณะครศุ ำสตร์ มหำวิทยำลัยรำชภฏั อดุ รธำนี
ผู้ชว่ ยศำสตรำจำรย์ ดร.ร่งุ ทิวำ จันทน์วัฒวงษ์ คณะมนุษยศำสตร์และสังคมศำสตร์
นำงสำวกนกวรรณ นวำวัตน์ มหำวทิ ยำลัยรำชภฏั เพชรบูรณ์
คณะศกึ ษำศำสตร์ วทิ ยำลัยครูสุริยเทพ
ดร.ศรสี มร พุ่มสะอำด มหำวิทยำลยั รงั สติ
คณะศึกษำศำสตร์ วิทยำลัยนำนำชำติเซนต์เทเรซำ
ดร.มณเฑยี ร ชมดอกไม้

ดร.อมรทพิ ย์ เจรญิ ผล มหำวทิ ยำลัยรำชธำนี วิทยำเขตอุดรธำนี
นำงสำววีณำ อคั รธรรม ข้ำรำชกำรบำนำญ
(ท่ีปรกึ ษำสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขน้ั พนื้ ฐำน)
นำงสำวประภำพรรณ เส็งวงศ์ ข้ำรำชกำรบำนำญ (ศึกษำนิเทศกเ์ ช่ยี วชำญ)
ดร.อรนชุ มั่งมสี ขุ ศิริ ผเู้ ชี่ยวชำญสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้ันพ้นื ฐำน
ดร.วรรณำ ช่องดำรำกุล ผเู้ ชี่ยวชำญสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้ันพืน้ ฐำน

ฝ่ายประสานงานกองบรรณาธิการและการจัดการ

กลมุ่ วจิ ัยและส่งเสรมิ กำรวจิ ยั ทำงกำรศกึ ษำ สำนกั พฒั นำนวตั กรรมกำรจัดกำรศึกษำ

สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขัน้ พ้ืนฐำน

นำงสำวดจุ ดำว ทพิ ย์มำตย์ ผู้อำนวยกำรกลมุ่ วิจัยและส่งเสรมิ กำรวิจัยทำงกำรศึกษำ

นำงสำวกัญญำพร ไทรชมภู นกั วิชำกำรศกึ ษำชำนำญกำร

นำงสำวสุวรรณำ กล่ินนำค นกั วิชำกำรศกึ ษำชำนำญกำร

นำงสำวสนุ ิศำ หวังพระธรรม นักวชิ ำกำรศกึ ษำชำนำญกำร

นำยพูนลำภ มำกบญุ นักวิชำกำรศกึ ษำปฏิบตั ิกำร

วตั ถุประสงค์
1. เพอื่ เผยแพร่บทควำมวิจยั ทำงกำรศกึ ษำในระดับกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำนของครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ

สงั กัดสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขัน้ พน้ื ฐำน และหนว่ ยงำนภำยนอก
2. เพือ่ เป็นส่อื กลำงในกำรนำเสนอองค์ควำมร้ทู ่ไี ด้จำกกำรศกึ ษำในระดับกำรศึกษำขั้นพืน้ ฐำน

กาหนดการเผยแพร่
ปลี ะ 2 ฉบับ (มกรำคม – มถิ นุ ำยน และ กรกฎำคม – ธนั วำคม)

ข้อมูลการตดิ ต่อ
บรรณำธกิ ำรวำรสำรกำรวิจยั กำรศึกษำขั้นพืน้ ฐำน
สำนักพัฒนำนวตั กรรมกำรจัดกำรศึกษำ สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขนั้ พ้ืนฐำน
ถนนรำชดำเนนิ นอก เขตดสุ ติ กรุงเทพมหำนคร 10300
โทรศพั ท์ 02- 2885882-3
E-mail : [email protected]

.........................................................................................................................................................................
* บทควำมทุกเรื่องได้รับกำรพิจำรณำ (Peer Review) จำกผู้ทรงคุณวุฒิ
** บทควำมหรือข้อคิดเห็นใดๆ ในวำรสำร ถอื เป็นควำมคิดเห็นของผู้เขียน กองบรรณำธิกำรไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป
*** กองบรรณำธิกำรไม่สงวนสิทธิ์ในกำรคัดลอกบทควำมเพ่ือกำรศึกษำแตใ่ ห้อำ้ งอิงแหล่งทีม่ ำให้ครบถ้วนสมบูรณ์

วารสารการวิจยั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน

ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

บทบรรณาธกิ าร

วารสารการวิจัยการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งมั่นที่จะเป็นแหล่งเผยแพร่บทความวิจัยทางการศึกษา
ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของครูและบุคลากรทางการศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน และหน่วยงานภายนอกที่มีคุณภาพ ซึ่งบทความที่นาเสนอได้รวบรวมมาจากข้อค้นพบในการวิจัย
โดยครู ผู้บริหารสถานศึกษา และศึกษานิเทศก์ สาหรับวารสารการวิจัยการศึกษาขั้นพื้นฐานปีที่ 2 ฉบับที่ 2
เดือนกรกฎาคม – เดือนธันวาคม พ.ศ. 2565 ฉบับน้ี นาเสนอบทความวิจัยในการพัฒนาคุณภาพการจัด
การศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน 12 เรื่อง ซึ่งเป็นการวิจัยด้านการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา พัฒนาการจัดการเรียนรู้
พัฒนาการนเิ ทศเพ่อื ยกระดบั คุณภาพการจัดการศึกษา และพัฒนาครแู ละผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา

กองบรรณาธิการวารสารหวังเป็นอย่างยิ่งว่า วารสารการวิจัยการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีที่ 2 ฉบับที่ 2
(กรกฎาคม – ธันวาคม 2565) ฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ขอขอบพระคุณผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ได้พิจารณาและให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงบทความวิจัยให้ถูกต้อง
ตามระเบียบวธิ ีการวิจัย และคณะจัดทาวารสารทกุ ท่าน ทรี่ ่วมจัดทาวารสารการวจิ ัยการศึกษาข้นั พืน้ ฐานฉบับน้ี
สาเร็จอย่างดียงิ่

นายภธู ร จนั ทะหงษ์ ปณุ ยจรัสธารง
บรรณาธกิ าร
ธันวาคม 2565



วารสารการวิจยั การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน

ปีที่ 2 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

สารบญั

บทบรรณาธกิ าร หนา้

บทความวิจัย 1

1. การประเมินโครงการเสริมสร้างคณุ ธรรมอัตลักษณข์ องโรงเรียนบ้านวงั เต่า 13
สงั กัดสานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 30
ขจรศักด์ิ เขยี วน้อย

An Evaluatio of The Enhanced Moral Identity Project of Banwangtao School
under Nakhon Si Thammarat Primary Educational Service Area Office 2

Kajornsak Khiawnoi

2. การพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนมัธยมศกึ ษาด้วยรปู แบบการนิเทศ SOLE
จามรี เชือ้ ชยั

Developing the Educational Quality of Secondary Schools by Using SOLE Model
Jamaree Chueachai

3. ความสมั พันธ์ระหวา่ งองค์กรแห่งการเรยี นร้กู ับการบรหิ ารงานวชิ าการของ
สถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน อาเภอสรวย สังกัดสานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา
ประถมศึกษาเชยี งราย เขต 2
จริ าวฒั น์ วชิ ัยศิริ

The relationship between learning organization and academic administration
of basic education institutes Mae suai district under Chiang rai primary educational
service area office 2

Jirawat Wichaisiri

วารสารการวิจยั การศึกษาข้ันพื้นฐาน

ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

สารบญั หน้า

4. ผลการจัดการเรยี นรู้ เร่อื ง รักษ์ปา่ น่าน ด้วยกระบวนการทางภูมิศาสตร์ 48
ที่มีต่อผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นและความสามารถในการคดิ เชงิ ระบบของนกั เรียน 64
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จังหวัดน่าน 84
นพดล สมใจ

The Effect of Instructional Management with The use of Geographic Process in
The Topic of Conservation of Nan Forest on Learning Achievement and Systematic
Thinking Ability of Prathom Suksa V Student in Nan Province

Noppadon Somjai

5. การพัฒนารปู แบบการนเิ ทศภายในตามความตอ้ งการจาเปน็ ในการพฒั นาระบบนิเทศภายใน
ของโรงเรยี นโคกลาพานวิทยา สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลพบรุ ี เขต 1
นนั ทิยา ทองหล่อ

A Development Internal Supervision Model Base on Need of Internal supervision system
development in Koklamphan Wittaya School on Lopburi Primary Educational Service Area Office 1

Nanthiya Thonglor

6. คณุ ลกั ษณะของผบู้ รหิ ารมืออาชพี ในสถานศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ตามความคดิ เหน็ ของ
ขา้ ราชการครู สงั กัดสานกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 4
ปญั ญา ตรีเลิศพจนก์ ุล

The Opinion of Administrators and Teachers About The Trait of Professional
Administrors in Sisaket Educational Service Area Office 4

Panya Treetertpojkul



วารสารการวิจัยการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน

ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

สารบญั หน้า

7. การพัฒนาการนเิ ทศภายในโรงเรียนวดั จนั ทนาราม (ศรรี องเมืองอุทิศ) จงั หวัดจนั ทบรุ ี 98
ด้วยเทคนิค LD-DL
พรทพิ ย์ ตรสี กลุ วงษ์

The development of Watchanthanaram srirong mueang utit School Internal
Supervision with LD-DL technic

Porntip Treesakulwong

8. ความสมั พนั ธ์ระหว่างภาวะผ้นู าทางวิชาการของผ้บู ริหารสถานศกึ ษากับการดาเนนิ งาน 125
ประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา อาเภอแม่สรวย สงั กัดสานักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษา
ประถมศึกษาเชยี งราย เขต 2
พลอยณชิ ชา วิชัยศริ ิ

The relationship beteween school principal’s academic leadership and internal quality
assurance operation of school in Mae Suai District under the Office of Chiang Rai Primary
Education Service Area 2.

Ploynichcha Wichaisiri

9. การพัฒนาทกั ษะพืน้ ฐานทางคณติ ศาสตรข์ องเดก็ ปฐมวัยทไ่ี ด้รับ 141
การจัดกิจกรรมเกมการศกึ ษา
ววิ ฒั น์ ค่ามาก

The development of the basic mathematic skills of early childhood children
using educational game activities

Wiwat Khamak



วารสารการวิจยั การศึกษาขัน้ พื้นฐาน

ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

สารบัญ หน้า

10. รปู แบบการจัดการเรยี นรดู้ ้วยไมโครเลริ น์ นงิ่ เพอ่ื พัฒนาทกั ษะการสอื่ สารของนกั เรียน 154
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 สงั กดั สานกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษาลพบุรี
สาธิต ศรวี รรณะ - ดวงใจ พุทธเษม

A Model of micro Learning for Development Communication Skills for 168
Mathayomsuksa 5 students under The Secondary Educational Service
Area Office Lop Buri

Sathit Sriwanna - Duangjai Puttasem

11. การประเมนิ โครงการส่งเสริมคุณธรรมศีลธรรมนาการศกึ ษาจังหวัดกาแพงเพชร
สุชาดา ปญุ ปนั

The Evaluation Project of Moral Promotion and Supporting in Kamphaengphet

Suchada Poonpan

12. ความต้องการจาเป็นในการส่งเสริมสมรรถนะการจดั ประสบการณ์ตามแนวคิดพหุปญั ญา 181
สาหรบั ครปู ฐมวยั สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 2
อุษณีย์ พนั ธุมเสน

Tachceonrdeสaeุชndาcsดeaาwssปiethญุssปtmhันeenctoinncperpotmoof tminuglteipxpleerinietnetlilaigleonrcgeasnifzoinrgeacorlmy cpheitlednhcoioesd in
teacher

of Chiang Mai Primary Education Service Area Office 2

Usanee Pantumsen

รายชื่อผ้ทู รงคุณวฒุ ปิ ระเมินบทความ 200
คณะจดั ทาวารสารการวิจัยการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน 201



วารสารการวจิ ัยการศึกษาขนั้ พื้นฐาน

ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

การประเมนิ โครงการเสรมิ สรา้ งคณุ ธรรมอตั ลักษณข์ องโรงเรยี นบา้ นวงั เต่า
สงั กัดสานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 2
An Evaluatio of The Enhanced Moral Identity Project of Banwangtao School
under Nakhon Si Thammarat Primary Educational Service Area Office 2

ขจรศกั ดิ์ เขยี วนอ้ ย*
Kajornsak Khiawnoi

บทคัดย่อ
การประเมินในครั้งนี้ใช้รูปแบบการประเมินแบบ CIPPIEST มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินโครงการ

เสริมสร้างคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนบ้านวังเต่า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
นครศรีธรรมราช เขต 2 และ 2) เปรียบเทียบผลการประเมินโครงการเสริมสร้างคุณธรรมอัตลักษณ์
ของโรงเรียนบ้านวังเต่า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2
กับเกณฑ์การประเมินที่กำหนด ผู้ประเมินได้เก็บข้อมูลเชิงปริมาณกับกลุ่มตวั อย่าง จำนวน 145 คน เครื่องมอื
ทใ่ี ช้ในการเก็บและรวบรวมข้อมลู เป็นแบบประเมิน วิเคราะหข์ อ้ มูลโดยใชโ้ ปรแกรมสำเรจ็ รปู ทางสถิติ

ผลการประเมินโครงการเสริมสร้างคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนบ้านวังเต่า สังกัดสำนักงาน
เขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 พบว่า

1. ผลการประเมินโครงการเสริมสร้างคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนบ้านวังเต่า
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด
เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการถ่ายทอดส่งต่อ มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมา คือ ด้านประสิทธิผล
ดา้ นผลกระทบ ดา้ นบรบิ ท ด้านปจั จัยนำเขา้ ดา้ นความย่ังยนื และด้านกระบวนการ ตามลำดับ

2. ผลการประเมินโครงการเสริมสร้างคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนบ้านวังเต่า
สงั กัดสำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 2 ( ̅=5.52, S.D.=0.28) มคี วามแตกตา่ ง
กับเกณฑ์การประเมนิ ที่กำหนด ( =5.20) อยา่ งมนี ยั สำคญั ทางสถิตทิ ร่ี ะดบั 0.01

คำสำคญั : การประเมนิ โครงการ / คณุ ธรรมอตั ลักษณ์

* ผอู้ านวยการโรงเรยี น ดร., โรงเรียนบ้านวงั เต่า, สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 2
School director Dr., Banwangtao School, Nakhon Si Thammarat Primary Educational Service Area Office 2

1

วารสารการวิจยั การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน

ปีที่ 2 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

Abstract
This evaluation was based on the CIPPIEST evaluation model, aims to 1 ) to assess the

enhanced moral identity project of Banwangtao school under Nakhon Si Thammarat primary
educational service area office 2, and 2) Compare the enhanced moral identity project of
Banwangtao school under Nakhon Si Thammarat primary educational service area office 2
evaluation results with the specified assessment criteria. The assessors collected quantitative
data with a sample of 1 4 5 people. The tool used for collecting and collecting data was an
assessment. Data were analyzed using statistical software packages.

The results of the evaluation of the enhanced moral identity project of Banwangtao
school under Nakhon Si Thammarat primary educational service area office 2, it was found that

1 . The results of the evaluation of the enhanced moral identity project of
Banwangtao school under Nakhon Si Thammarat primary educational service area office 2
overall was at the highest level. When considering each aspect, it was found that Transportability
was the most average. Followed by Effectiveness, Impact, Context, Input, Sustainability
evaluation, and Process evaluation respectively.

2. The results of the evaluation of the enhanced moral identity project of
Banwangtao school under Nakhon Si Thammarat primary educational service area office 2
( ̅=5.52, S.D.=0.28) there was a statistically significant difference from the specified evaluation
criteria (μ=5.20) at the 0.01 level.

Keywords : Project Evaluation / Moral Identity

บทนา
สภาพของสังคมไทยในปัจจุบันนี้เป็นที่ทราบกันดีว่าเกิดปัญหาขึ้นมากมายทั้งในด้านความเป็นอยู่

เศรษฐกิจ สังคม การเมือง ส่วนหนึ่งที่ทาให้เกิดวิกฤตการณ์แบบนี้นั้น เพราะว่าสังคมไทยเรานั้นหันไปนิยม
วัฒนธรรมตะวันตกที่เน้นการบริโภควัตถุต่าง ๆ จนเกิดความสับสน ระบบสังคมท่ีเคยดีงามของไทยได้รับ
ผลกระทบอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ อันสืบเนื่องมาจากการให้ความสาคัญในด้านเศรษฐกิจ ซึ่งเป็นการพัฒนา
ทางด้านวตั ถมุ ากกวา่ พฒั นาสังคมในด้านอนื่ ๆ โดยเฉพาะการพฒั นาทางดา้ นจิตใจ จงึ ทาใหเ้ กดิ ปญั หาย่อหย่อน

2

วารสารการวิจัยการศึกษาขน้ั พื้นฐาน

ปที ี่ 2 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

ของคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีการประพฤติปฏิบัติที่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตวั มากกว่าประโยชน์สว่ นรวม ยังส่งผลไป
ถึงปญั หาตา่ ง ๆ ท่ีเกดิ ขึน้ ในสงั คมไทย อาทิ เกดิ ปญั หาทจุ ริตคอรัปชน่ั ปัญหายาเสพติด ปญั หาหย่าร้าง ปัญหา
นักเรียนตีกัน การหลงมัวเมาในอบายมุข การปล่อยตัวปล่อยใจ ขาดระเบียบวินยั ไร้ทิศทางของชีวติ ฟุ่มเฟือย
และอ่ืน ๆ อีกมากมาย หากปล่อยไว้จะเป็นผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศด้วย (กรมการศาสนา
กระทรวงวัฒนธรรม, 2555: 5) นอกจากนั้น ยังพบว่าเยาวชนห่างไกลจากหลักธรรมคาสอนทางศาสนา
ทั้งที่สังคมไทยเรานั้นแต่ไหนแต่ไรมาเป็นอยู่กันอย่างพอเพียงแบบพึง่ พาอาศัยกันและกันหรอื อยู่กันแบบพี่นอ้ ง
โดยยดึ หลกั ธรรมคาสอนทางศาสนาเป็นหลกั ในการดารงชวี ติ ดงั ท่ไี ด้ทราบกันอยู่มาโดยตลอดว่าชีวิตคนไทยน้ัน
ดาเนนิ ไปในรปู แบบวิถชี วี ติ ท่ีเรยี กกันว่า “วิถีไทย” แต่เมือ่ ไมใ่ สใ่ จกับหลักธรรมคาสอนทางศาสนาแลว้ ผลท่ีเห็น
ได้เด่นชัดคือเยาวชนไทยบางกลุ่มยงั ขาดคุณธรรม ซึ่งถ้าไม่ได้รับการอบรมสั่งสอนและปลูกฝังในเรื่องคุณธรรม
อยา่ งเพยี งพอตงั้ แตเ่ ลก็ แล้ว เติบใหญไ่ ปก็จะเปน็ ภาระของสังคม แต่เมอ่ื เกดิ ปัญหาเหล่าน้ีข้ึนมาแล้ว ผูท้ ม่ี สี ่วนเก่ียวข้อง
จาเปน็ ต้องรบี ดาเนินการเพ่อื แกป้ ญั หาดังท่กี ล่าวมาแล้วขา้ งต้น

คุณธรรมจึงเป็นสง่ิ สาคญั ต่อการจดั การเรยี นการสอน ดงั พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
และที่แก้ไขเพิ่มเติม ในหมวด 1 มาตรา 6 ที่ได้กาหนดใหก้ ารจดั การศึกษาต้องเปน็ ไปเพือ่ พัฒนาคนไทยใหเ้ ปน็
มนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริ ยธรรมและวัฒนธรรม
ในการดารงชีวติ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ทั้งน้ี ต้องยึดแนวทางการจัดการศึกษาในหมวด 4
มาตรา 23 ที่ระบุว่าการจัดการศึกษาต้องเน้นให้ความสาคัญท้ังความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรยี นรู้ และบูรณาการ
ตามความเหมาะสม และในมาตรา 24 (4) ได้กาหนดกระบวนการเรียนรู้โดยจัดกระบวนการสอนผสมผสาน
ความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะ อันพึงประสงค์
ไว้ในทกุ รายวชิ า ทั้งน้ี สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน ไดก้ าหนดตวั ชีว้ ดั ความสาเร็จของนโยบาย
ที่ 1 ด้านการจัดการศึกษาเพื่อความม่ันคง ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 จัดการศึกษาเพื่อความมัน่ คง ประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2561 ให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร และค่านิยมหลักของ
คนไทย 12 ประการ ร้อยละ 100 และผเู้ รยี นร้อยละ 100 มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกี่ยวกับภัยคกุ คามในรูปแบบใหม่
(สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน, 2561: 10)

โรงเรียนบ้านวงั เต่า ไดร้ บั การคดั เลือกจากสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน ตามประกาศ
ลงวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2561 ให้เป็นหน่วยขับเคลื่อนโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ประจาสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 เพื่อทาหน้าที่เป็นแหล่งเรียนรู้ ศึกษาดูงาน และฝึกอบรมครู
และบุคลากรทางการศึกษา รวมถึงสนับสนุนการดาเนินงานของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาในด้านบุคลากร
และองคค์ วามรูใ้ ห้กบั โรงเรยี นในสานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาตามวตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ โรงเรียนบ้านวงั เต่า

3

วารสารการวจิ ัยการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน

ปที ่ี 2 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

ได้ตอบสนองเจตนารมณ์ดงั กล่าว โดยพัฒนานกั เรียน ให้ตระหนักรู้ เขา้ ใจ และมีกระบวนการคิดอย่างมีเหตุผล
ซึมซับคุณค่าแห่งคุณธรรมความดีอยา่ งเป็นธรรมชาติ สร้างความรู้สึกผิดชอบชั่วดี และภูมิใจในการทาความดี
ตลอดจนสร้างเครือข่ายชมุ ชนองค์กรแหง่ คณุ ธรรมด้วยการขอความร่วมมือจากหน่วยงานและองค์กรที่ทางาน
ด้านคุณธรรมอย่างเป็นรูปธรรม ชัดเจนและมีความต่อเนื่อง โรงเรียนบ้านวังเต่า (2560: 93) จึงได้บรรจุ
“โครงการเสริมสร้างคุณธรรมอัตลักษณ์” ไว้ในแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัติราชการประจาปี
การศึกษา โดยมีกิจกรรมต่าง ๆ จานวน 6 กิจกรรม ได้แก่ 1) กิจกรรม H2 (Heart) 2) กิจกรรมค่ายคุณธรรม
อตั ลกั ษณ์ 3) กิจกรรมบนั ทึกความดี 4) กิจกรรมโครงงานคุณธรรม 5) กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น (ลูกเสือ-เนตรนารี)
และ 6) กิจกรรมวันสาคัญ ซึ่งได้ดาเนินการอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง นาไปสู่การพัฒนาและปรับเปลี่ยน
พฤตกิ รรมไดอ้ ยา่ งย่งั ยืน และนาไปขยายผลตอ่ เครือข่ายได้

จากที่กล่าวมาข้างต้น ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะประเมินโครงการเสริมสร้างคุณธรรมอัตลักษณ์
ของโรงเรียนบ้านวังเต่า สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2
โดยการประเมินในครั้งน้ี ผู้ประเมินเลือกรูปแบบการประเมนิ แบบ CIPPIEST ซึ่งเป็นมิติการประเมินที่เพิ่มข้ึน
จากการขยายการประเมินผลผลิตตามรูปแบบการประเมินแบบซิปป์ (CIPP Model) ของสตัฟเฟิลบีมและ
ชิงคฟิล (Stufflebeam; & Shinkfield, 2007: 334-346) แบบเดิม ทั้งนี้เพราะรูปแบบการประเมินแบบ CIPPIEST
เป็นรูปแบบท่ีมีระบบการประเมนิ ท่ีครอบคลุมในทุก ๆ ด้านที่ลุ่มลึกขึ้น โดยผลการประเมินที่ได้จะทาให้เข้าใจ
พฤตกิ รรมของบุคคลและองคก์ รในลักษณะพฤติกรรมศาสตร์ได้อย่างครอบคลุมและสมบูรณม์ ากขนึ้ อันจะเป็น
ประโยชน์ในการพัฒนาทางด้านการศึกษาได้อย่างต่อเนื่อง อนึ่ง ข้อค้นพบนี้จะนาไปสู่การวางแผนพัฒนา
โครงการเสริมสร้างคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรยี นบา้ นวงั เต่า สังกดั สานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษา
นครศรธี รรมราช เขต 2 ในปีการศกึ ษาอ่ืน ทั้งในระดบั นโยบายและระดับปฏิบัติให้เกิดประสิทธิผลมากย่ิงขึ้นต่อไป

วัตถปุ ระสงคข์ องการวิจัย
1. เพอ่ื ประเมนิ โครงการเสริมสร้างคุณธรรมอตั ลกั ษณ์ของโรงเรยี นบา้ นวงั เต่า สงั กัดสานกั งานเขตพื้นที่

การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 ด้านบริบท ดา้ นปัจจยั นาเข้า ด้านกระบวนการ ดา้ นผลกระทบ
ดา้ นประสิทธิผล ดา้ นความยง่ั ยนื และด้านการถา่ ยทอดส่งต่อ

2. เพื่อเปรียบเทียบผลการประเมินโครงการเสริมสร้างคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนบ้านวังเต่า
สงั กดั สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 2 กบั เกณฑ์การประเมนิ ทก่ี าหนด

4

วารสารการวิจัยการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน

ปที ่ี 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

วิธีดาเนนิ การวิจัย
1.1 การประเมินโครงการเสริมสร้างคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนบ้านวังเต่า สังกัดสานักงาน

เขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 2
1) กล่มุ ผใู้ หข้ ้อมลู
1. กลุ่มผู้ให้ข้อมูลด้านบริบท ด้านปัจจัยนาเข้า และด้านกระบวนการ คือ ครูโรงเรียนบ้านวังเต่า

จานวน 11 คน กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน 7 คน (ไม่รับรวมตัวแทนครูและผู้อานวยการสถานศึกษา)
และศึกษานิเทศก์ประจาศูนย์เครือข่ายการศึกษาที่ 2 จตุภูมิทุ่งสง จานวน 1 คน รวมจานวนทั้งสิ้น 19 คน
ซ่งึ ไดม้ าจากประชากรทง้ั หมด

2. กลุ่มผู้ให้ข้อมูลด้านผลกระทบ ด้านประสิทธิผล ด้านความยั่งยืน และด้านการถ่ายทอดส่งต่อ
มีจานวนท้ังสน้ิ 145 คน ไดแ้ ก่

- ครูโรงเรยี นบา้ นวังเตา่ จานวน 11 คน ซึง่ ไดม้ าจากประชากรท้งั หมด
- กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน 7 คน (ไม่นับรวมตัวแทนครู
และผู้อานวยการสถานศึกษา) ซงึ่ ได้มาจากประชากรทัง้ หมด
- ศึกษานิเทศก์ประจาศูนย์เครือข่ายการศึกษาที่ 2 จตุภูมิทุ่งสง จานวน 1 คน
ซึง่ ได้มาจากประชากรทัง้ หมด
- นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาของโรงเรียนบ้านวังเต่า ปีการศึกษา 2563
ซึ่งผู้ประเมินได้กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางเครจซีแ่ ละมอร์แกน (Krejcie; & Morgan, 1970: 608)
ทร่ี ะดบั ความเชื่อม่ัน 95% ได้จานวนรวมทั้งส้ิน 63 คน โดยใชว้ ิธกี ารสมุ่ แบบอย่างงา่ ย (Simple random sampling)
- ผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนบ้านวังเต่า โดยใช้กลุ่มตัวอย่างผู้ปกครองนักเรียน
ทน่ี กั เรียนเป็นกลมุ่ ตวั อยา่ ง จานวน 63 คน

2) เคร่ืองมอื ที่ใช้ในการประเมนิ
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน คือ แบบประเมินเกี่ยวกับความคิดเห็นที่มีต่อโครงการเสริมสร้าง

คุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนบ้านวังเต่า สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2
จานวน 7 ฉบับ ซง่ึ แตล่ ะฉบับมขี น้ั ตอนการสรา้ งดงั นี้

5

วารสารการวิจยั การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

ปที ่ี 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

ข้นั วเิ คราะห์
1. ศึกษาและทาความเข้าใจข้อมูลโครงการเสริมสรา้ งคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียน

บา้ นวังเต่า สังกัดสานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 2
2. ศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกย่ี วข้องกับการประเมินโครงการ
3. เข้าร่วมประชุมและศึกษารายงานประชุมการดาเนินงานโครงการเสริมสร้างคุณธรรม

อตั ลักษณข์ องโรงเรยี นบ้านวังเต่า สังกดั สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2
ขัน้ ออกแบบ
1. กาหนดจดุ ประสงค์ ขอบเขตข้อคาถาม รปู แบบของแบบประเมิน และเกณฑก์ ารประเมิน
2. สร้างแบบประเมินโครงการเสริมสร้างคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนบ้านวังเต่า

สงั กัดสานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 2 ซงึ่ มลี ักษณะเปน็ แบบมาตรประมาณค่า
6 ระดับ (Rating scale) จากแสดงระดับความสอดคล้องน้อยที่สุดให้ 1 คะแนน จนถึงแสดงระดับความสอดคล้อง
มากทสี่ ดุ ให้ 6 คะแนน

ข้นั พัฒนา
1. นาร่างแบบประเมินโครงการเสริมสร้างคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนบ้านวังเต่า

สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 ที่สร้างขึ้นไปให้ผู้เชี่ยวชาญจานวน 7 คน
ตรวจสอบและขอคาแนะนาพร้อมปรับปรุงแกไ้ ขเน้ือหาในข้อคาถามให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และเนื้อหา
ของการประเมิน แล้วนาแบบประเมินที่ได้ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ ตรวจสอบ
ความเท่ียงตรงของเน้ือหา (Content Validity) ความเหมาะสมของภาษาท่ใี ช้ (Wording) และความชัดเจนของ
ข้อคาถาม โดยให้ผ้เู ช่ยี วชาญแต่ละท่านพจิ ารณาลงความเหน็ และใหค้ ะแนนคาถามแต่ละข้อ

2. นาผลคะแนนทีไ่ ด้จากผู้เชี่ยวชาญแต่ละคนมาคานวณแล้วหาค่าดัชนีความสอดคล้อง
(Item Objective Congruence: IOC) และคัดเลือกข้อคาถามที่มีค่าดัชนีความสอดคล้องตั้งแต่ 0.60 ขึ้นไป
โดยแบบประเมนิ ท่ีใช้ในครั้งนี้ มคี ่าดัชนคี วามสอดคลอ้ งอยู่ระหวา่ ง 0.71 – 1.00

3. นาแบบประเมินที่ได้รับคาแนะนาและข้อเสนอแนะจากผู้เชี่ยวชาญมาปรับปรุงแก้ไข
บางข้อ เพื่อใหง้ ่ายตอ่ ความเขา้ ใจและความถูกต้องของการใชภ้ าษา แล้วไปทดลองใช้ (Try out) กับครู กรรมการ
สถานศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน ศกึ ษานิเทศก์ นักเรียน และผู้ปกครองนักเรยี น ที่ไมใ่ ชก่ ลมุ่ ตัวอย่าง จานวน 30 คน

4. ตรวจสอบคณุ ภาพเครอื่ งมือโดยหาค่าอานาจจาแนกรายข้อ การหาสหสัมพันธ์ระหว่าง
คะแนนรายข้อกับคะแนนรวม (ไพศาล วรคา, 2558: 303) และค่าความเชื่อมั่นของแบบประเมิน (Reliability)
ดว้ ยวธิ ีของครอนบาค (Cronbach, 1987; อา้ งถึงใน ไพศาล วรคา, 2558: 288)

6

วารสารการวจิ ัยการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน

ปที ่ี 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

ขั้นนาไปใช้และประเมินผล
1. จัดทาแบบประเมินโครงการเสริมสร้างคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนบ้านวังเต่า

สงั กดั สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 2 ฉบบั สมบูรณ์
2. นาแบบประเมนิ ไปใช้กบั กลมุ่ เปา้ หมาย

3) การเก็บรวบรวมข้อมูล
ผ้ปู ระเมนิ ดาเนินการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ตามข้นั ตอน ดังนี้
1. ผู้ประเมินออกหนงั สอื ขอความอนเุ คราะหใ์ นการเก็บรวบรวมข้อมูลไปยงั กลุ่มเป้าหมาย
2. ผู้ประเมินติดตามแบบประเมินกลับคืนมาด้วยตนเอง และได้รับกลับคืนมาทั้งหมด

คดิ เป็นรอ้ ยละ 100
4) การวเิ คราะห์ข้อมลู
1. ผ้ปู ระเมนิ นาแบบประเมนิ ที่ได้รับกลบั คืนมา มาตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์ท่กี าหนดไว้
2. วิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น เพื่อให้ทราบลักษณะการแจกแจงของตัวแปรแต่ละตัว

เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย เพื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวแปร สังเกตได้
ที่เป็นตัวแปรต่อเนื่อง และการวิเคราะห์ค่าร้อยละสาหรับตัวแปรนามบัญญัติที่เป็นข้อมูลพื้นฐานด้วยโปรแกรม
สาเรจ็ รปู ทางสถิติ

3. แปลความหมายค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงการเสริมสร้างคุณธรรม
อตั ลักษณข์ องโรงเรยี นบ้านวังเตา่ สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 2

4. กาหนดค่าน้าหนักและเกณฑ์การประเมินโครงการเสริมสร้างคุณธรรมอัตลักษณ์ของ
โรงเรยี นบ้านวังเตา่ สงั กัดสานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 2 โดยให้ผู้เชี่ยวชาญ
จานวน 7 คน พิจารณาความเหมาะสมของรายการประเมิน การกาหนดคา่ นา้ หนัก และเกณฑก์ ารประเมนิ

5. เปรียบเทียบผลการประเมินโครงการเสรมิ สร้างคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรยี นบา้ นวงั เต่า
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 กับเกณฑ์การประเมินที่กาหนด
( ̅ =5.20) โดยใช้สถติ กิ ารทดสอบทกี รณกี ลมุ่ ตัวอย่าง 1 กลมุ่ (One sample t-test)

7

วารสารการวิจัยการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน

ปที ี่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

ผลการวิจัย
1. ผลการวิเคราะห์ระดับการประเมินโครงการเสริมสรา้ งคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรยี นบา้ นวังเต่า

สงั กัดสานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2
ตาราง 1 คา่ เฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดบั ผลการประเมนิ โครงการเสริมสรา้ งคณุ ธรรมอัตลกั ษณ์

ของโรงเรียนบ้านวังเต่า สงั กดั สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 2
โดยภาพรวม

รายการประเมิน ผลการประเมินโครงการโดยภาพรวม

1. การประเมนิ บริบท ̅ S.D. ระดบั
(Context evaluation)
5.52 0.49 มากที่สดุ
2. การประเมนิ ปจั จัยนาเขา้
(Input evaluation) 5.51 0.45 มากที่สุด

3. การประเมนิ กระบวนการ 5.35 0.46 มากที่สุด
(Process evaluation)
5.56 0.54 มากทสี่ ุด
4. การประเมินผลกระทบ
(Impact evaluation) 5.56 0.50 มากท่สี ุด

5. การประเมินประสทิ ธผิ ล 5.40 0.64 มากท่ีสดุ
(Effectiveness evaluation)
5.71 0.38 มากทส่ี ุด
6. การประเมนิ ความยั่งยืน 5.52 0.28 มากท่ีสุด
(Sustainability evaluation)

7. การประเมนิ การถ่ายทอดส่งต่อ
(Transportability evaluation)
รวม

จากตาราง 1 พบว่า ผลการประเมินโครงการเสริมสร้างคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนบ้านวังเต่า
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด
( ̅=5.52, S.D.=0.28)

8

วารสารการวิจัยการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน

ปีท่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการถ่ายทอดส่งต่อ (Transportability) มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด
( ̅=5.71,S.D.=0.38) รองลงมา คือ ด้านประสิทธิผล (Effectiveness) ( ̅=5.56, S.D.=0.50) ด้านผลกระทบ
(Impact) ( ̅=5.56, S.D.=0.54) ด้านบริบท (Context) ( ̅=5.52, S.D.=0.49) ด้านปัจจัยนาเข้า (Input)
( ̅=5.51, S.D.=0.45) ด้านความยั่งยืน (Sustainability evaluation) ( ̅=5.40, S.D.=0.64) และ
ด้านกระบวนการ (Process evaluation) ( ̅=5.35, S.D.=0.46) ตามลาดับ

2. ผลการวเิ คราะห์เปรียบเทยี บผลการประเมินโครงการเสริมสร้างคุณธรรมอัตลกั ษณ์ของโรงเรียน
บา้ นวังเตา่ สังกดั สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 2 กับเกณฑ์การประเมิน
ที่กาหนด
ตาราง 2 ผลการประเมนิ โครงการเสริมสรา้ งคณุ ธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรยี นบา้ นวงั เตา่ สงั กดั สานกั งาน

เขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 กับเกณฑ์การประเมินที่กาหนด ( =5.20)

รายการ ̅ S.D. t p
ผลการประเมินโครงการเสริมสร้างคณุ ธรรมอัตลักษณ์
ของโรงเรยี นบ้านวงั เต่า สังกัดสานักงานเขตพืน้ ที่ 5.52 0.28 10.558 0.000**
การศกึ ษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2

จากตาราง 2 พบว่า ผลการประเมินโครงการเสริมสร้างคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนบ้านวังเต่า
สงั กดั สานักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 ( ̅=5.52, S.D.=0.28) มคี วามแตกต่าง
กบั เกณฑ์การประเมินทกี่ าหนด ( =5.20) อย่างมนี ัยสาคัญทางสถิตทิ ่รี ะดบั 0.01

สรปุ ผลการวจิ ยั อภปิ รายผลการวจิ ยั และขอ้ เสนอแนะ
1. สรปุ และอภิปรายผลการวจิ ัย
1.1 ผลการประเมินโดยภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด เนื่องจากทุกด้าน

มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุดเช่นกัน ทั้งนี้เป็นเพราะการวางแผนโครงการในแต่ละปีการศึกษา
ทางโรงเรียนได้มีการเตรียมความพร้อมในการดาเนินงานโครงการ และได้ให้ความสาคัญกับการศึกษา
ที่เป็นการถ่ายทอดความรู้ ทักษะ และเจตคติ และเป็นกระบวนการเรียนรู้การพัฒนาคนให้มีการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมในแนวทางที่ดี เพ่ือใหบ้ รรลถุ งึ ขดี ความสามารถสงู สุด โดยอาจพจิ ารณาได้ 2 ลักษณะ คอื การศึกษา

9

วารสารการวิจยั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน

ปที ี่ 2 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

ในฐานเป็นสังคมประกิตที่ถ่ายทอดความรู้และวัฒนธรรมจากคนรุ่นหนึ่งไปสู่อีกรุ่นหนึ่ง และการศึกษา
ในสถาบนั การศึกษาทีด่ าเนนิ การตามบทบาทหน้าทขี่ องสถาบัน โดยมีกระบวนการดาเนนิ การทเ่ี ปน็ ระบบชัดเจน
จึงต้องดาเนินวิถีชีวิตแห่งความพอเพียง นั่นคือ การจัดการศึกษายึดหลัก “3 ห่วง 2 เงื่อนไข” ซึ่ง 3 ห่วง คือ
ทางสายกลาง ประกอบไปด้วย ห่วงที่ 1 คือ พอประมาณ หมายถึง พอประมาณในทุกอย่าง ความพอดีไม่มาก
หรือว่าน้อยจนเกินไป โดยต้องไม่เบียดเบียนตนเอง หรือผู้อื่นให้เดือดร้อน ห่วงที่ 2 คือ มีเหตุผล หมายถึง
การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัย
ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทานั้น ๆ อย่างรอบคอบ และห่วงที่ 3 คือ
มภี มู คิ ุม้ กันที่ดีในตวั เอง หมายถงึ การเตรยี มตวั ใหพ้ รอ้ มรบั ผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านการต่าง ๆ ที่จะ
เกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดข้ึนในอนาคตทั้งใกล้และไกล ส่วน 2
เงื่อนไขตามแนวเศรษฐกจิ พอเพียง ได้แก่ เงื่อนไขที่ 1 เงื่อนไขความรู้ คือ มีความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการตา่ ง ๆ
ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบ
การวางแผน และความระมัดระวังในขั้นตอนปฏิบัติ และเงื่อนไขที่ 2 เงื่อนไขคุณธรรม คือ มีความตระหนัก
ในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต และนาเอา
คุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการ ได้แก่ ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย์ มีวินัย สุภาพ สะอาด สามัคคี และมีน้าใจ ซึ่งเปน็
ทศิ ทางของสานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 ในดา้ นพนั ธกิจท่ีพัฒนาคุณภาพ
ผู้เรยี นส่มู าตรฐานสากล โดยกาหนดเป้าประสงค์ใหน้ ักเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐาน มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
เพ่มิ สูงข้ึน มที ักษะทเี่ ป็นสากล มที กั ษะการอา่ นการเขยี น การคานวณ มคี ุณธรรม จริยธรรม และมีสุขภาวะท่ีดี
โดยมโี ครงการโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. เปน็ ส่วนหนึง่ ของการขับเคลือ่ นดังกล่าว

7. ผลการประเมินโครงการเสริมสร้างคณุ ธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนบ้านวังเตา่ สงั กัดสานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 ( ̅=5.52, S.D.=0.28) มีความแตกต่างกับเกณฑ์
การประเมินที่กาหนด ( =5.20) อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ทั้งนี้ อาจเป็นเพราะโรงเรียนบ้านวังเต่า
ได้รับการคัดเลือกจากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามประกาศลงวันที่ 22 มกราคม
พ.ศ. 2561 ให้เป็นหน่วยขับเคลื่อนโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. ประจาสานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา
นครศรีธรรมราช เขต 2 เพ่อื ทาหนา้ ที่เป็นแหลง่ เรยี นรู้ ศึกษาดูงาน และฝึกอบรมครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
รวมถงึ สนับสนนุ การดาเนินงานของสานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาในด้านบุคลากรและองค์ความรู้ให้กับโรงเรียน
ในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาตามวัตถุประสงค์ของโครงการ โรงเรียนบ้านวังเต่าได้ตอบสนองเจตนารมณ์
ดังกล่าว โดยพัฒนานักเรียน ให้ตระหนักรู้ เข้าใจ และมีกระบวนการคิดอย่างมีเหตุผล ซึมซับคุณค่าแห่งคุณธรรม
ความดอี ย่างเป็นธรรมชาติ สรา้ งความรู้สกึ ผิดชอบชั่วดี และภูมิใจในการทาความดี ตลอดจนสร้างเครือข่าย

10

วารสารการวจิ ยั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน

ปที ี่ 2 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

ชุมชนองค์กรแห่งคุณธรรมด้วยการขอความร่วมมือจากหน่วยงานและองค์กรที่ทางานด้านคุณธรรมอย่างเป็น
รูปธรรม ชัดเจน และมีความต่อเนื่อง สอดคล้องกับผลวิจัยของอมรรัตน์ ประทัศน์ (2555: บทคัดย่อ) ได้ทา
การประเมิน โครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ
เตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า โดยใช้รูปแบบจาลองซิปป์ (CIPP model) ผลการวิจัย ได้ว่า ผลการประเมิน
โครงการผ่านเกณฑ์การประเมินทุกรายการ และสอดคล้องกับผลวิจัยของโฉมยงค์ คงประดิษฐ์ (2556: บทคัดย่อ)
ได้ศึกษาการประเมินโครงการเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับนานาชาติ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
โดยใช้รูปแบบการประเมินแบบ CIPP Model ที่ผลการประเมินสงู กวา่ เกณฑท์ ่ีตัง้ ไว้

2. ข้อเสนอแนะในการนาผลการวจิ ัยไปใช้
2.1 ข้อเสนอแนะเพอื่ นาผลการประเมินไปใช้
1.1 โรงเรยี นไดข้ อ้ มลู ท่เี ปน็ ประโยชน์ต่อการวางแผนดาเนินงานของโครงการในปตี อ่ ๆ ไป
1.2 โครงการมีรูปแบบการประเมินที่ชัดเจน เพื่อเป็นแบบอย่างให้โครงการอื่น ๆ ทั้งใน

และนอกโรงเรียนได้ศกึ ษาและนาไปปรบั ใช้ใหเ้ หมาะกับบริบทของแตล่ ะโครงการ
2.2 ข้อเสนอแนะเพื่อการประเมนิ ครงั้ ต่อไป
2.1 ควรศึกษาและพฒั นากจิ กรรมตา่ ง ๆ ให้มีตัวชว้ี ัดทชี่ ัดเจนในทุกปีการศึกษา
2.2 ควรเปรียบเทยี บผลการประเมินโครงการของผมู้ สี ่วนเกี่ยวขอ้ งในแตล่ ะปโี ดยภาพรวม
2.3 ศึกษาและการวางแผน ออกแบบการประเมิน เพื่อให้ได้ความคิดเห็นของผูท้ ี่มีส่วนได้

สว่ นเสียให้สามารถเกดิ ขึน้ ในทกุ ขน้ั ตอนของการประเมนิ เพือ่ ให้ได้ขอ้ มูลเชิงลกึ

เอกสารอ้างองิ
กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม. (2555). รายงานการสัมมนาทางวิชาการเรือ่ งรปู แบบการสง่ เสริมคุณธรรม

จริยธรรมในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชมุ ชนสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย.
กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2546). พระราชบัญญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติ พุทธศักราช 2542 และที่แกไ้ ขเพิ่มเตมิ
(ฉบบั ที่ 2) พทุ ธศักราช 2545. กรุงเทพฯ: องค์การรับสง่ สนิ คา้ และพสั ดุภัณฑ์.
------------. (2547). พระราชบัญญตั ิระเบียบราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พุทธศกั ราช 2546.

กรุงเทพฯ: องคก์ ารรบั ส่งสนิ คา้ และพัสดุภัณฑ์.
โฉมยงค์ คงประดษิ ฐ.์ (2556). การประเมินโครงการเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดบั นานาชาติ

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์. ปรญิ ญานิพนธ์ วท.ม (วทิ ยาการการประเมิน). กรงุ เทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ.

11

วารสารการวจิ ัยการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน

ปีท่ี 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

ประคอง กรรณสูต. (2538). สถิติเพ่อื การวจิ ยั ทางพฤติกรรมศาสตร์. พมิ พ์ครง้ั ที่ 2. กรุงเทพฯ:
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

รัตนะ บวั สนธ.์ (2556). การประเมนิ โครงการ: การวจิ ยั เชิงปรมิ าณ. กรงุ เทพฯ: คอมแพคปริ๊น.
________. (2556). “รูปแบบการประเมนิ CIPP และ CIPPIEST มโนทศั นท์ ี่คลาดเคล่อื นและ

ถกู ต้องในการใช้,” วารสารศิลปากรศึกษาศาสตรว์ ิจัย. ปีท่ี 5 (2) : 2-9.กรกฎาคม – ธันวาคม.
สมคดิ พรมจุ้ย. (2552). เทคนคิ การประเมินโครงการ. พมิ พค์ ร้ังที่ 6. กรุงเทพฯ: จตุพรดไี ซน์.
สานกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2. (2561). รายงานการประเมนิ ตนเอง

ประจาปีการศกึ ษา 2560. นครศรธี รรมราช: สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษา
นครศรีธรรมราช เขต 2.
สานักพฒั นานวัตกรรมการจดั การศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2561).
มาตรฐานและตัวชี้วดั โรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. กรุงเทพฯ: สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน.
สพุ กั ตร์ พิบลู ย์. (2551). ชุดเสรมิ ทกั ษะการประเมินโครงการ. นนทบุรี: จตพุ ร ดไี ซน.์
สุวิมล ตริ กานนั ท์. (2550). การประเมินโครงการ: แนวทางสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย.
สุวิมล ว่องวาณชิ . (2551). การประเมนิ ความตอ้ งการจาเป็นในประมวลสาระชดุ วิชาการประเมนิ และ
การจัดการการประเมนิ . พิมพค์ ร้ังที่ 4. นนทบุรี: มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช.
Krejcie, Robert V; & Morgan, Dayle W. (1970, Autumn). Determing Sample Size For Research
Activities. Education and Psychological Measurement. 30 (3): 608 - 610.
Stufflebeam, Daniel L. (1971). The Relevance of the CIPP Evaluation Model for Educational
Accountability. Atlantic City, N.J.
Stufflebeam, D.L. and W. J. Webster (1989). Evaluation as an Administrative Function, in N.J.
Boyan (Ed), Hand Book of Research on Educational Administration, London: Longman:
569-601.
Stufflebeam and Daniel, (2003). The CIPP model for Evaluation. International Handbook of
Educational Evaluation, p.31-62.
Stufflebeam, Daniel L.; and Shinkfield, Anthony J. (2007). Evaluation Theory, Models, & Application,
San Francisco: John Wilwy.

12

วารสารการวิจัยการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน

ปีท่ี 2 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

การพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษาของโรงเรียนมัธยมศึกษา
ด้วยรปู แบบการนเิ ทศ SOLE

Developing the Educational Quality of Secondary Schools
by Using SOLE Model

จามรี เชื้อชยั *

Jamaree Chueachai

บทคัดย่อ

การพัฒนาคุณภาพการจัดการศกึ ษาของโรงเรียนมัธยมศึกษาด้วยรูปแบบการนิเทศ SOLE มีวตั ถุประสงค์
คือ เพื่อศึกษาสภาพการนิเทศการจัดการศึกษาโรงเรียนมัธยมศึกษา เพื่อพัฒนารูปแบบการนิเทศเพื่อพัฒนา
คุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรยี นมัธยมศึกษา และเพอ่ื ศกึ ษาผลการใช้รปู แบบการนิเทศเพือ่ พฒั นาคุณภาพ
การศึกษาของโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา ตัวอยา่ ง คอื โรงเรียนในสหวิทยาเขต 7 สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
มัธยมศึกษา เขต 29 จานวน 7 โรงเรยี น ตัวแปรอิสระ คอื รูปแบบการนิเทศเพ่ือพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
ตัวแปรตาม คือ คุณภาพของรูปแบบการนิเทศ ดาเนินการวิจัยและพฒั นาตามวตั ถุประสงค์ 3 ระยะ เครื่องมือ
ที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบวิเคราะห์เอกสาร, ประเด็นสนทนากลุ่ม, รูปแบบการนิเทศ SOLE, แบบประเมิน
ความเหมาะสมของรูปแบบ และแบบประเมินรูปแบบการนิเทศตามการรับรู้ของผู้เกี่ยวข้อง สถิติที่ใช้ใน
การวิเคราะหข์ อ้ มูล คือ ความถ่ี รอ้ ยละ คา่ เฉลีย่ ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน และวเิ คราะหข์ ้อมลู เชิงเนอื้ หา ผลการวจิ ัย
พบวา่ 1) สภาพที่พบมากท่สี ดุ คือด้านวิชาการ ไดแ้ ก่ นิเทศการจดั การศึกษาดว้ ยรูปแบบและวิธีการเชิงระบบน้อย
นานวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้น้อยและสะท้อนผลการนิเทศ เพื่อพัฒนาและปรับปรุงน้อย และ
ต้องการมีคู่มือและเครื่องมือการนิเทศการจัดการศึกษาที่ครอบคลุมและชัดเจน สอดคล้องกับสภาพความต้องการ
บูรณาการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลเหมาะสม 2) รูปแบบการนิเทศเพ่ือพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษา
ของโรงเรียนมธั ยมศึกษามี 4 องค์ประกอบ คือ หลกั การ วตั ถปุ ระสงค์ กระบวนการนิเทศ และเงอื่ นไขความสาเร็จ
คุณภาพตามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ และการทดลองใช้อยู่ในระดับมากที่สุด และ 3) ผลการพัฒนาคุณภาพ
การจัดการศึกษาหลังการนิเทศ สงู กว่ากอ่ นการนเิ ทศ อย่างมนี ยั สาคัญทางสถติ ิท่ีระดบั .01

คาสาคัญ : รปู แบบการนิเทศ/ การนิเทศการศกึ ษา/ การจัดการศกึ ษา

*ศึกษานิเทศกช์ านาญการพเิ ศษ, สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี อานาจเจริญ
Senior Professional Level Supervisor, The Secondary Educational Service Area Office Ubon Ratchathani
Amnat Charoen

13

วารสารการวจิ ยั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน

ปที ี่ 2 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

ABSTRACT
Developing educational management quality of the secondary schools by using SOLE

model focused on the objectives: to study the needs; to develop a supervision model and to study
the results. The samples were 7 schools of group 7 under the secondary educational service area
office 29. The independent variable is the supervision model for developing the quality of educational
management. The dependent variable is the quality of the supervision model. This research
consisted of 3 phases. The research tools were the document analysis form, group discussion topics,
the supervision model, and a form to evaluate the appropriateness. The statistics used in the
data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation and content analysis.
The results showed as the following: 1) The necessity condition showed that academic
administration was found at the most: supervising with a less systematic model and method,
applying less innovation and digital technology, and reflecting with useless aspects leading to
development and improvement. The most wanted aspect was to have a comprehensive and
clear supervision manual relevant to the needs and the use of new supervision model applying
innovation and digital technology appropriately. 2) The model is called SOLE. There were 4
components: principles, purposes, processes and conditions with the highest level of appropriateness
according to experts and examination. 3) The results of improving the quality of education
management after supervision higher than before supervision statistically significant at the .01 level

Key Words : Supervision Model/ Educational Supervision/ Educational Management

14

วารสารการวิจยั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน

ปที ่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

บทนา
ตามพระราชบญั ญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพม่ิ เติมฉบบั ที่ 2 (พ.ศ. 2545) และฉบบั ที่ 3

(พ.ศ. 2553) การศึกษาเป็นกระบวนการที่ช่วยพัฒนาคนให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา
สามารถอยู่ดารงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข โรงเรียนเป็นหน่วยงานหรือองค์กรที่ได้รับการยอมรับ
และยกยอ่ งใหเ้ ป็นหนว่ ยงานพฒั นาคน ให้มคี ณุ ภาพและมาตรฐานตามเจตนารมณ์แหง่ พระราชบัญญตั ิการศึกษา
แห่งชาติ การจัดการศึกษาจึงเป็นกระบวนการเชิงระบบที่มีความหลากหลาย ตอบสนองความต้องการของ
นกั เรยี นไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหง่ ชาติ, 2545: 12)

การจดั การศึกษาเพ่ือพัฒนาผู้เรียนในยุคพลวัต สะท้อนใหเ้ หน็ ผลการประเมินตัวชี้วัดตามมาตรการ
ปรบั ปรุงประสทิ ธภิ าพในการปฏิบัตริ าชการ ประจาปี พ.ศ. 2562 ของสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษา
อยูใ่ นระดบั คุณภาพ จานวน 9 เขต จาก 42 เขต (สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน, 2563: 45) ผล
การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2562 ลดลงทุกระดับชั้น (วิษณุ ทรัพย์
สมบัติ, 2563: 9) และผลการประเมิน PISA 2018 ผู้เรียนไทยมีคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยของประเทศสมาชิก
OECD (องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา, 2563: 86) ซึ่งผลการดาเนินงานของ
ทัง้ สองส่วนสวนทางกับทรัพยากรด้านการศกึ ษาของประเทศท่ีเพม่ิ ขนึ้

จากการศกึ ษาสภาพการนิเทศการจดั การศกึ ษาของโรงเรียนมัธยมศกึ ษา พบว่า โรงเรยี นดาเนินการ
นิเทศด้วยวิธีการยืดหยุ่นตามสถานการณ์ ไม่ได้ใช้กระบวนการเชิงระบบหรือเครื่องมือที่มีคุณภาพ และครู
มีความมน่ั ใจในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลน้อย ไม่เปดิ ใจสะทอ้ นผลเพื่อพัฒนา จัดกิจกรรมการเรียนรู้ไม่สอดคล้อง
กับการเปลี่ยนแปลงหรือความต้องการของผู้เรียน และพบความต้องการคือเครื่องมือนิเทศการจัดการศึกษา
ท่ีครอบคลุม ด้วยรูปแบบการนิเทศแนวใหม่บูรณาการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลอย่างเหมาะสม
และพัฒนาครใู ห้มีความรู้ความสามารถดา้ นการวิจัยและนาผลการวิจัยมาใช้ประโยชน์ให้มากท่ีสุด (ปฏิวัติ แก้วรัตนะ,
2558: 176-183; วิไล ปรึกษากร, 2558: 276-278; ศรันย์ภัทร์ อินทรรักษาทรัพย์, 2558: 1336-1337;
แสงเดือน คงนาวัง, 2559 82-83; วันชัย อยู่ตรง, 2560: 86-94; ณัฐชา จันทร์ดา, 2561: 217-219;
ศิริวรรณ เมืองประเสริฐ, 2561: 20; สารินทร์ เอี่ยมครอง, 2561: 81-85; ธริศร เทียบปาน, 2562: 119-121;
สภุ จั ฉรา กาใจ, 2562: 101-102; สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน, 2563: 6; Ibrahim Ali, 2017:
326-329; Zhang and Usaho, 2018: 117-119)

15

วารสารการวจิ ยั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน

ปีท่ี 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

เม่อื พจิ ารณาบริบทสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 29 พบว่า ผลการประเมินตัวชี้วัด
ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 อยู่ที่ระดับ
มาตรฐานขน้ั ต้น ดว้ ยค่าร้อยละ 67.99 (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน, 2563: 6) ผลการทดสอบ
ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานปีการศึกษา 2562 มีค่าเฉลี่ยลดลงทุกระดับชั้นและต่ากว่าระดับประเทศ
(สานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 29, 2563: 12) และผลการนิเทศบรู ณาการเพื่อยกระดับคุณภาพ
การศึกษา ปีงบประมาณ 2562 พบว่า โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 29
กาหนดประเด็นและเป้าหมายการจัดการศึกษาแตกต่างกนั สอดคล้องกับนโยบายและเป้าหมายการยกระดับ
คุณภาพการศึกษาระดับชาติ กระทรวง หรือสานักงานพื้นที่การศึกษาน้อย บูรณาการโดยขาดการวิเคราะห์
เช่อื มโยง นาสู่การปฏบิ ตั ไิ มต่ รงตามความตอ้ งการหรอื บริบท ขาดความตอ่ เน่ือง ขาดนวตั กรรมในการขับเคลื่อน
การจัดการศึกษานามาซึ่งข้อสรุปไม่ชัดเจนและไม่ครอบคลุมประเด็นสาคัญ (สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มธั ยมศกึ ษา เขต 29, 2563: 8)

การบริหารจัดการศกึ ษา กระบวนการจัดการเรยี นรู้ และกระบวนการนิเทศการศึกษา ช่วยยกระดับ
คุณภาพการศึกษาและผลสัมฤทธิ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากเป็นกระบวนการทางานเชิงระบบร่วมกัน
ระหวา่ งผนู้ ิเทศและผรู้ บั การนเิ ทศในการช่วยเหลอื ส่งเสริมสนับสนนุ ให้คาปรกึ ษา ประกอบกบั นานวัตกรรมและ
เทคโนโลยดี ิจิทลั มาประยกุ ตใ์ ช้อย่างเหมาะสม และบรู ณาการหลกั การ แนวคิด ทฤษฎี การบริหารจดั การศึกษา
เชิงระบบของ Deming (2004) ที่มุ่งเน้นกระบวนการเชิงระบบร่วมกับการนิเทศของ Glickman (2007: 299)
ให้ความช่วยเหลือครูโดยตรง และพัฒนากลุ่มเรียนรู้ทางวิชาชีพ และกระบวนการวิจัยปฏิบัติการ (ศรันยภ์ ัทร์
อินทรรักษาทรัพย์, 2558: 1336-1337; วันชัย อยู่ตรง, 2560: 86-94; ณัฐชา จันทร์ดา, 2561: 217-219;
ศริ วิ รรณ เมอื งประเสริฐ, 2561: 20; Glickman, 2007) (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2545: 12)

จากความเป็นมาและความสาคญั ข้างตน้ ผวู้ ิจยั จึงสนใจพฒั นารูปแบบการนิเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพ
การจัดการศึกษาของโรงเรยี นมธั ยมศึกษา สาหรับผู้บริหารสานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา ศึกษานิเทศก์ ผู้บริหาร
โรงเรียน ครู หรือผู้ที่สนใจได้นาไปใช้เพื่อกาหนดทิศทางและเป้าหมายในการดาเนินการพัฒนาคุณภาพ
จดั การศึกษาของโรงเรียน และการนเิ ทศการจดั การศกึ ษา สกู่ ารพัฒนาคุณภาพผ้เู รียนให้ดยี งิ่ ข้นึ ตอ่ ไป

16

วารสารการวจิ ยั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน

ปีท่ี 2 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

วัตถุประสงคก์ ารวิจยั
การวิจยั คร้ังนีม้ วี ัตถปุ ระสงค์ ดงั นี้
1. เพือ่ ศึกษาสภาพการนิเทศการจัดการศกึ ษาโรงเรียนมัธยมศกึ ษา
2. เพื่อพัฒนารปู แบบการนิเทศเพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาของโรงเรียนมธั ยมศึกษา
3. เพอ่ื ศึกษาผลการใช้รปู แบบการนเิ ทศเพอื่ พัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของโรงเรียนมัธยมศึกษา

วธิ ีดาเนินการวจิ ยั
ดาเนินการวิจยั และพฒั นา 5 ระยะ ดังน้ี
ระยะที่ 1 การศกึ ษาสภาพการนิเทศการจดั การศกึ ษา ดาเนินการ 2 วธิ ี ดังนี้
วิธีที่ 1 การวิเคราะห์เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1) เป้าหมาย คือ เอกสารและงานวิจัยที่

เกี่ยวขอ้ งกบั ระเบียบ กฎหมาย นโยบายการจัดการศกึ ษาและการนเิ ทศการศกึ ษาทั้งในประเทศและต่างประเทศ
2) ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย คือ สภาพการนิเทศการจัดการศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษา 3) เครื่องมือที่ใช้ใน
การวจิ ัย คอื แบบบันทึกผลการวิจยั 4) การเก็บรวบรวมข้อมูล ใชว้ ิธีการรวบรวมเอกสารและงานวิจัยทเี่ ก่ียวขอ้ ง
30 เรอื่ ง และ 5) การวิเคราะห์ขอ้ มูลดว้ ยความถ่ี รอ้ ยละ และสงั เคราะห์เน้ือหา

วธิ ีที่ 2 การวเิ คราะหค์ วามคิดเห็นของผู้มีส่วนเก่ียวขอ้ งดว้ ยการสนทนากลมุ่ 1) ประชากร คือ
ขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา สังกดั สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 29 ประกอบด้วย
ผอู้ านวยการโรงเรยี น 81 คน ผู้ชว่ ยผ้อู านวยการโรงเรยี น 324 คน และครู 3,700 คน ตัวอย่าง คอื ผู้อานวยการ
โรงเรียน 10 คน ผู้ช่วยผู้อานวยการโรงเรียน 10 คน และครู 10 คน รวม 30 คน ได้มาโดยการสุ่ม
แบบหลายขัน้ ตอน 2) ตัวแปร ทีใ่ ชใ้ นการวจิ ยั คอื สภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา 3) เครือ่ งมือ
ที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ ประเด็นสนทนากลุ่มเกี่ยวกับสภาพการจัดการศึกษา จานวน 1 ฉบับ
4) การเก็บรวบรวมข้อมูล ดาเนินการโดยประสานผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ประชุมชี้แจง สนทนากลุ่มตามประเด็น
โดยแบ่งเป็น 3 กล่มุ คอื ผู้อานวยการโรงเรียน ผู้ชว่ ยผอู้ านวยการโรงเรียน และครู และ 5) การวิเคราะห์ข้อมูล
คือ ความถี่ ร้อยละ และวิเคราะห์ข้อมลู เชิงเนอื้ หา

17

วารสารการวิจยั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน

ปที ่ี 2 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

สรุปการศึกษาสภาพความต้องการจาเปน็ ด้านการจดั การศึกษา ดงั น้ี
ศึกษาเอกสาร ทฤษฎี และงานวจิ ยั เก่ียวกับการจัดการศกึ ษาและการนเิ ทศการศกึ ษา

วิเคราะหเ์ อกสารและงานวิจยั ทเี่ ก่ยี วข้อง สรา้ งประเดน็ สนทนากลมุ่
สงั เคราะห์ตัวชีว้ ัดท่ีเก่ียวข้อง เก็บรวบรวมขอ้ มูลดว้ ยการสนทนากลุ่ม

สังเคราะห์เนื้อหา

สภาพการนเิ ทศการจัดการศึกษา

ระยะท่ี 2 การพัฒนารูปแบบการนิเทศ ดาเนนิ การ 2 ขน้ั ตอน คอื
ขน้ั ตอนท่ี 1 การพัฒนารปู แบบการนิเทศตามการประเมนิ ของผู้เชย่ี วชาญ 1) กลมุ่ เปา้ หมาย คือ

ผู้เชี่ยวชาญประเมินรูปแบบการนิเทศ 7 คน 2) ตัวแปรอิสระ คือ รูปแบบการนิเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพการจดั
การศึกษาของโรงเรยี นมัธยมศึกษา ตัวแปรตาม คือ ความเหมาะสมของรูปแบบการนิเทศ 3) เครื่องมือทีใ่ ช้ใน
การเก็บรวบรวมข้อมูล คือ รูปแบบการนิเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา และแบบประเมินความเหมาะสม
ของรูปแบบ 4) การเก็บรวบรวมขอ้ มลู ผวู้ ิจัยนาส่งเครื่องมือดว้ ยตนเองและจัดสง่ ทางไปรษณีย์ รวบรวมเอกสาร
คืนได้ 7 คน คิดเป็นร้อยละ 100 และ 5) การวิเคราะห์ข้อมูล ด้วยค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสรุป
ขอ้ เสนอแนะเพิม่ เติม

ขั้นตอนที่ 2 การทดลองใช้ 1) กลุ่มเป้าหมาย คือ โรงเรียนในสหวิทยาเขต 2 สังกัดสานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 29 จานวน 7 โรงเรียน 2) ตัวแปรอิสระ คือ รูปแบบการนิเทศเพ่ือพัฒนา
คุณภาพการจัดการศึกษา ตัวแปรตาม คือ คุณภาพของรูปแบบการนิเทศ 3) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม
ขอ้ มูล คือ รปู แบบการนเิ ทศเพือ่ พฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษาของโรงเรยี นมัธยมศกึ ษา และแบบนิเทศการจัด
การศึกษา 4) การเก็บรวบรวมข้อมูล เริ่มจากสารวจความต้องการของสหวิทยาเขต ประชุมชี้แจงผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
นเิ ทศการจัดการศึกษาตามรูปแบบ และ 5) การวิเคราะห์ขอ้ มูล ยึดเกณฑก์ ารให้คะแนนแบบแจกแจงระดับปฏิบัติ
5 ระดบั และแปลผลการประเมินตามเกณฑ์คะแนนเฉลย่ี ของ บญุ ชม ศรสี ะอาด

18

วารสารการวจิ ัยการศึกษาขน้ั พื้นฐาน

ปีท่ี 2 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

สรุปการดาเนินการวจิ ยั ระยะ 2 ดังภาพ

กฎหมาย ระเบยี บ ข้อปฏิบตั ิ สภาพความต้องการจาเป็นด้านการ
นโยบายดา้ นการจดั การศกึ ษา จดั การศึกษา (ผลการศกึ ษาระยะที่ 1)

ทฤษฎีและแนวปฏบิ ัตดิ ้านการ รูปแบบการนเิ ทศการจัดการศึกษา
นเิ ทศการศึกษา

เทคโนโลยดี ิจิทัลเพอื่ การ ผ้เู ชยี่ วชาญ
จดั การศึกษา ประเมนิ

ทบทวน ปรับปรุง ไม่เหมาะสม

เหมาะสม

ทดลองภาคสนาม

สรปุ คุณภาพของรูปแบบ

ระยะที่ 3 การนาไปใช้ ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ใช้จริงกับตัวอย่างการวิจัย 1) เป้าหมาย คือ
โรงเรียนในสหวิทยาเขต 7 สังกัดสานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 29 จานวน 7 โรงเรียน และใช้
กับกลุ่มอื่นเพื่อขยายผล 1) ประชากร คือ โรงเรียน ในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 29
รวม 81 โรงเรียน 2) ตัวแปรอิสระ คือ รูปแบบการนิเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน
มัธยมศึกษา ตัวแปรตาม คือ คุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษา (3) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บ
รวบรวมข้อมูล คือ รูปแบบการนิเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรยี นมัธยมศึกษา แบบนิเทศ
การจัดการศึกษา และแบบประเมินรูปแบบการนิเทศตามการรับรู้ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (4) การเก็บรวบรวม
ข้อมูล ประชุมชี้แจงผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง นิเทศการจัดการศึกษาตามรูปแบบและประเมินรูปแบบโดยผู้เกี่ยวข้อง
และ (5) การวิเคราะหข์ อ้ มูล ไดแ้ ก่ คา่ เฉลย่ี ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน และเปรยี บเทียบคณุ ภาพการจัดการศึกษา
โดยการทดสอบคา่ t (Dependent Sample t-test)

19

วารสารการวิจัยการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

ปีท่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

สรปุ แนวทางการดาเนินการวิจัยระยะดังกล่าว ดงั ภาพ
การนาไปใช้

การนาไปใช้จริงกับตัวอยา่ งการวจิ ยั การนาไปใชก้ ับกลุม่ อน่ื เพื่อขยายผล

ประชุมช้แี จงผ้มู สี ว่ นเกย่ี วข้อง นาเสนอและประชาสมั พันธร์ ูปแบบ
การนิเทศ
ประเมินคุณภาพการจดั การศึกษากอ่ นการ
นิเทศตามรูปแบบ สารวจความตอ้ งการของโรงเรียน

นิเทศการจดั การจดั การศึกษาตามรปู แบบ ประชุมชีแ้ จงผมู้ ีส่วนเกีย่ วข้อง

ประเมินคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาระหว่างการ ประเมนิ การจดั การศกึ ษาก่อนใชร้ ปู แบบ
นเิ ทศและสะทอ้ นผล การนเิ ทศ

ประเมนิ คณุ ภาพการจัดการศกึ ษาหลังส้นิ สดุ นเิ ทศการจดั การศึกษาตามรปู แบบ/
กระบวนการนิเทศตามรปู แบบ ประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษาระหวา่ งการ

ประเมนิ รปู แบบการนิเทศการจัดการศึกษา ประเมนิ ผลกนาิเรทจศดั การศกึ ษา
ตามการรบั ร้ขู องผู้เกีย่ วข้อง หลังกระบวนการนเิ ทศส้ินสุด

วิเคราะหข์ ้อมลู เปรียบเทียบผลการจดั การศกึ ษาก่อนและ
หลังการนเิ ทศตามรปู แบบการนเิ ทศ
สรปุ และรายงานผลคณุ ภาพ
การจัดการศกึ ษาของโรงเรียน สรุปและรายงานผลคณุ ภาพ
การจัดการศกึ ษา

20

วารสารการวจิ ัยการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน

ปที ี่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

สรุป การพัฒนารูปแบบการนิเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษา
ด้วยรูปแบบการนิเทศ SOLE ดาเนนิ การวิจัยโดยใช้ระเบียบวธิ วี ิจัยและพัฒนา ดังน้ี

ศึกษาสภาพความต้องการจาเป็นด้านการจดั การศึกษาของโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา

พัฒนารูปแบบการนเิ ทศเพ่อื พฒั นาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นมัธยมศกึ ษา

นารูปแบบการนเิ ทศการจัดการศึกษาไปใชจ้ ริงเพ่อื ศึกษาผลการจัดการศกึ ษา

ประเมนิ รปู แบบการนเิ ทศการจดั การศกึ ษาจากผลการจดั การศกึ ษา

สรปุ และรายงานผล

ประชาสมั พันธ์และเผยแพร่รปู แบบการนเิ ทศการจัดการศึกษา

ผลการวจิ ยั
นาเสนอผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ตามวตั ถปุ ระสงค์ของการวิจยั ดังนี้
1. สภาพการนเิ ทศการจัดการศึกษาทพ่ี บมากที่สุดจากการวิเคราะห์เอกสารและงานวิจยั ที่เก่ียวข้อง

คือ 1) ด้านการบริหารงานวิชาการ - โรงเรียนนิเทศ กากับ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานวิชาการ
ไม่เป็นระบบและไม่สะทอ้ นผลเปิดใจเพือ่ พัฒนา 2) ด้านการบริหารงานงบประมาณ – โรงเรียนมีและใช้ระบบ
การควบคุมและการตรวจสอบไม่ชัดเจน 3) ด้านการบริหารงานบุคคล - ส่งเสริมพัฒนาบุคลากรไม่ทั่วถึง
4) ด้านการบริหารงานทั่วไป - จัดกิจกรรมส่งเสริมผู้เรียนไม่สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน จากการ
สนทนากลุ่ม มีดังนี้ 1) ด้านการบริหารงานวิชาการ - โรงเรียนดาเนินการนิเทศ กากับ ติดตามงานในลักษณะ
วิธีการที่ยืดหยุ่นตามสถานการณ์ ไม่ได้ใช้กระบวนการเชิงระบบหรือเครื่องมือทีม่ คี ุณภาพ และครูมคี วามมัน่ ใจ
ในการใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ัลเพอื่ การจัดการเรยี นรูน้ อ้ ย 2) ดา้ นการบรหิ ารงานงบประมาณ -โรงเรียนนานวัตกรรม
และเทคโนโลยีดิจิทัล มาใช้ดาเนินงานหรือพัฒนางานน้อย และไม่เปิดใจสะท้อนผลเพื่อการพัฒนา
3) ดา้ นการบรหิ ารงานบุคคล - โรงเรียนสง่ เสริมพัฒนาบุคลากรและนกั เรยี นไมท่ ัว่ ถงึ กากับ ตดิ ตามไม่ตอ่ เนื่อง

21

วารสารการวิจัยการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน

ปที ี่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

และ 4) ด้านการบริหารงานทั่วไป – โรงเรียนจัดกิจกรรมส่งเสริมผู้เรียนหลากหลายแต่ไม่สอดคล้องกับ
การเปลี่ยนแปลงหรือความต้องการของผู้เรียน ทั้งนี้มีความต้องการพัฒนามากที่สุด 3 อันดับแรก คือ
1) อยากให้พัฒนาคู่มือและเครื่องมือ การนิเทศการจัดการศึกษาที่ครอบคลุมและชัดเจน และตอบสนองสภาพ
ความตอ้ งการ 2) อยากใหม้ รี ูปแบบการนิเทศแนวใหม่บูรณาการใชน้ วัตกรรมและเทคโนโลยดี ิจิทัลอย่างเหมาะสม
และ 3) อยากพฒั นาครูให้มีความรู้ความสามารถด้านการวจิ ัยและนาผลการวิจยั มาใช้ประโยชน์

2. รปู แบบการนิเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษา เรียกว่า SOLE
มี 4 องคป์ ระกอบ คอื หลักการของรูปแบบ วัตถปุ ระสงคข์ องรปู แบบ กระบวนการนเิ ทศและเงอ่ื นไขความสาเร็จ
คุณภาพตามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ และการทดลองใช้อยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅= 4.85,4.68) รูปแบบ
มลี กั ษณะดังภาพที่ 1

2. ผลการนารูปแบบการนิเทศไปใช้
2.1 ผลการน าไปใช้จริงกับตัวอย่างการวิจัยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅=4.75)

เมื่อพิจารณารายโรงเรียน พบว่า ทุกโรงเรียนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาได้ในระดับมากที่สุด ( ̅=4.53-5.00)
และผลการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาหลังการนิเทศสูงกว่าก่อนการนิเทศ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
ที่ระดับ .01 และผลการประเมินคุณภาพของรูปแบบการนิเทศตามการรับรู้ของผู้อานวยการโรงเรียน
ผชู้ ว่ ยผอู้ านวยการโรงเรียน และครู ในภาพรวมอยูใ่ นระดบั มากทีส่ ดุ ( ̅=4.88)

การทดลอง N ̅ S.D. คา่ เฉลี่ย สว่ น t P
ของผลต่าง เบีย่ งเบน
ก่อนการนเิ ทศ ของผลตา่ ง
หลังการนเิ ทศ
7 2.80 .31 1.94 .16 18.79** .00
7 4.74 .15

**มนี ัยสาคัญทางสถติ ิทร่ี ะดับ .01

22

วารสารการวจิ ัยการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน

ปที ี่ 2 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

2.2 ผลการนาไปใชก้ บั กลุ่มอื่นเพอ่ื ขยายผล ซ่ึงเปน็ โรงเรียนในสังกดั สานักงานเขตพื้นท่ี
การศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 29 จานวน 81 โรงเรยี น ภาพรวมอยู่ในระดบั มากทส่ี ุด ( ̅ = 4.57)

หลกั การ (Principle) ขั้นตอนการนเิ ทศ SOLE Model
การมีเป้าหมายร่วมกัน การมีส่วนร่วม การทางาน (Supervision Processes)
เชิงระบบ และการสะท้อนผลเพื่อพัฒนา
1. มองตนเตรียมพร้อม (Searching)
วตั ถปุ ระสงค์ของรูปแบบ − วเิ คราะห์ประเมนิ ตนอง
เพ่อื พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรยี นมธั ยมศึกษา − กาหนดเป้าหมาย
− เรียนรู้ทักษะสื่อสารออนไลน์และ
เงอื่ นไขความสาเร็จ การใช้รูปแบบ
รบั ผดิ ชอบ เปดิ ใจสะท้อนผล และขับเคลื่อนบูรณา
การเชงิ ระบบดว้ ยนวัตกรรมและเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล 2. ล้อมวงบรหิ ารจดั การ (Organizing)
− กาหนดหน้าทปี่ ฏบิ ตั งิ าน
− สร้างนวัตกรรมปฏิบตั ิงาน
− พฒั นางานตามเปา้ หมาย
− ปรบั ปรุงตอ่ เนื่อง

3. แลกเปล่ยี นเรียนรู้ (Learning)
− สรา้ งมนษุ ยสมั พันธ์
− ตัง้ คาถาม
− อภปิ ราย
− ทบทวนผลการปฏิบตั งิ าน
− ตัดสินใจแกไ้ ข

4. ประเมนิ และเผยแพร่ผลการปฏบิ ตั งิ าน
(Evaluating and Extending)
− วิเคราะหแ์ ละประเมินผล
− แลกเปล่ยี นเรยี นรู้
− เสนอแนะ
− วางแผนใหม่

ภาพท่ี 1 รปู แบบการนิเทศเพอ่ื พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรยี นมธั ยมศึกษา

23

วารสารการวจิ ยั การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน

ปที ี่ 2 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

สรปุ ผลการวจิ ัย
1. สภาพความต้องการจาเป็นด้านการนิเทศการจัดการศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษา

ด้านการบริหารงานวิชาการพบสภาพความต้องการจาเป็นมากที่สุด และต้องการมากที่สุด คือ คู่มือและ
เครื่องมือการนิเทศการจัดการศึกษาโรงเรียนมัธยมศึกษาที่ครอบคลุมและชัดเจน และใช้รูปแบบการนิเทศ
แนวใหม่บรู ณาการนวตั กรรมและเทคโนโลยีดจิ ิทลั

2. รูปแบบการนิเทศเพ่ือพัฒนาคุณภาพการจัดการศกึ ษาของโรงเรียนมัธยมศึกษา เรียกว่า SOLE
มี 4 องคป์ ระกอบ คือ หลักการ วัตถปุ ระสงค์ กระบวนการนเิ ทศ และเงอื่ นไขความสาเร็จ มคี า่ ความเหมาะสม
อยูใ่ นระดับมากที่สดุ

3. ผลการนาไปใช้จริงกับตัวอย่างการวิจัยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅=4.75) การพัฒนา
คุณภาพการจัดการศึกษาหลังการนิเทศสูงกว่าก่อนการนิเทศ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01
ผลการประเมินคณุ ภาพของรูปแบบการนิเทศตามการรบั รู้ผู้เกี่ยวขอ้ งในภาพรวมอยใู่ นระดบั มากท่ีสุด ( ̅=4.88)
และผลการนาไปใชก้ บั กลมุ่ อ่นื เพื่อขยายผล ภาพรวมอยใู่ นระดบั มากที่สดุ ( ̅=4.57)

อภปิ รายผลการวิจยั
การอภิปรายผลนาเสนอดงั นี้
1. สภาพความต้องการจาเป็นด้านการนิเทศการจัดการศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษา พบว่า

ด้านการบริหารงานวิชาการมีสภาพความตอ้ งการจาเปน็ มากที่สุด ไดจ้ ากการวเิ คราะห์เอกสาร และได้จากการ
สนทนากลุ่ม ประเด็นที่พบมากที่สุด คือ การนิเทศการจัดการศึกษาที่ใช้รูปแบบและวิธีการเชิงระบบน้อย
นานวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้น้อย และสะท้อนผลการนิเทศนาสู่การพัฒนาและปรับปรุงได้น้อย
ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากการบริหารงานวิชาการ มีจุดประสงค์ที่จะพัฒนานักเรียนให้มีความรู้ ความสามารถ
มคี ุณธรรม จริยธรรม งานวชิ าการเป็นเป็นหัวใจของการศึกษา นอกจากนกี้ ารนิเทศยังเป็นการสร้างความม่ันใจ
ในการปฏิบัติงานมากขึ้น เพราะเป็นกระบวนที่สะท้อนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน นางานเชิงระบบ
ประสบผลสาเรจ็ ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ผูม้ สี ่วนเก่ียวขอ้ งควรใช้รูปแบบ วธิ ีการ นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัล
ที่หลากหลาย พร้อมทัง้ เปิดใจสะทอ้ นผลเพื่อการพัฒนา สอดคลองกับงานวิจยั ท่ีแสดงให้เห็นวา่ การนิเทศเปน็
กระบวนการดาเนินงานที่ช่วยจาแนกความต้องการของบคุ ลากรในโรงเรยี นให้มีความชดั เจนในเรื่องเปา้ หมาย
และจุดมุ่งหมายทางการศึกษา (ปฏิวัติ แก้วรัตนะ, 2558: 176-183) โดยสภาพปัจจุบันของการนิเทศการจัด
การศกึ ษาท่พี บมากท่ีสุดคือ การมีส่วนรว่ มในการกาหนดและยอมรับในเป้าหมาย การมีสว่ นรว่ มสะทอ้ นผล

24

วารสารการวจิ ัยการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน

ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

การพัฒนาอย่างสร้างสรรค์ การใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีขับเคลื่อนการดาเนินงานทุกรูปแบบ (วิไล ปรึกษากร,
2558: 276-278; แสงเดือน คงนาวัง, 2559: 82-83; ธริศร เทียบปาน, 2562: 119-121; สุภัจฉรา กาใจ,
2562: 101-102; Ibrahim Ali, 2017: 326-329; Zhang and Usaho, 2018: 117-119) น อ ก จ า ก น้ี
สารินทร์ เอี่ยมครอง (2561) ยังได้เสนอแนวทางการบรหิ ารงานวิชาการของสถานศึกษา ด้วยการจัดทาเอกสาร
คูม่ อื การนิเทศการจดั การศกึ ษาและกาหนดหลักเกณฑ์และปฏทิ นิ ในการนเิ ทศอย่างชดั เจน

2. รูปแบบการนิเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษา เรียกว่า
SOLE Model มี 4 องค์ประกอบ คือ หลักการของรูปแบบ วัตถุประสงค์ของรูปแบบ กระบวนการนิเทศ
และเงื่อนไขความสาเร็จ กระบวนการนิเทศประกอบด้วย 4 ขั้นตอน 1) มองตนเตรียมพร้อม 2) ล้อมวงบริหาร
จัดการ 3) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และ 4) ประเมินและเผยแพร่ผลการปฏิบัติงาน มีค่าความเหมาะสมอยู่ในระดับ
มากที่สุด เมื่อเทียบกับเกณฑ์คะแนนเฉลี่ยของบุญชม ศรีสะอาด ซึ่งมีคุณภาพตามเกณฑ์ที่กาหนด การที่ได้
ข้อสรุปเช่นนี้อาจเน่ืองมาจาก รูปแบบการนิเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษา
ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น เรียกว่า SOLE มีข้อสังเกตที่สาคัญ ดังนี้ 1) ได้ผ่านกระบวนการวิเคราะห์ สังเคราะห์
และบูรณาการแนวคิด ทฤษฎีอย่างรอบด้าน และเหมาะสมตามหลักวิชาการ 2) ได้รับการสร้างและพัฒนา
ตามขั้นตอนอย่างมีระบบและรัดกุม 3) สอดคล้องกับสภาพความต้องการจ าเป็น 4) สอดคล้องกับ
การเปลี่ยนแปลงทางด้านกฎหมาย ระเบียบ นโยบาย และแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา
5) ครอบคลุมการดาเนินการทุกด้านและแต่ละด้านมีองค์ประกอบและกระบวนการชัดเจน 6) สะท้อน
องค์ประกอบ และกระบวนการนิเทศเชิงระบบ 7) ประยุกต์ใช้ทักษะและเครื่องมือและเทคโนโลยีดิจิทัล
ให้เกิดประโยชนส์ ูงสดุ และ 8) สามารถนาไปใช้พัฒนาการจดั การศกึ ษาได้

โดยข้อสังเกตทั้ง 8 ประการ สอดคล้องกับแนวคิด ทฤษฎี และผลการวิจัย ดงั นี้ การนิเทศการศึกษา
เป็นกิจกรรมที่ดาเนินไปอย่างมีระบบด้วยบรรยากาศแห่งความร่วมมือสร้างสรรค์ ในการให้ความช่วยเหลือ
ประสานความสัมพันธ์ และสร้างขวัญกาลังใจ ด้วยอาศัยเทคโนโลยีดิจทิ ัลมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด รูปแบบ
การนิเทศเป็นแนวทางที่ช่วยแก้ปัญหาและเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการศึกษาได้ดี ดาเนินการนิเทศ
โดยผ้มู ีสว่ นเกี่ยวข้องที่ได้รับมอบหมาย ดว้ ยรูปแบบการนิเทศทพ่ี ฒั นาขน้ึ ได้ดาเนนิ การอย่างเป็นระบบ สรุปได้
ว่าการพัฒนารูปแบบการนิเทศดังกล่าวดาเนินการอย่างเป็นระบบนามาซึ่งคุณภาพที่สามารถนาไปใช้นิเทศ
พัฒนาการจัดการศึกษาได้ (แสงเดือน คงนาวัง, 2559: 82-83; นัยนา ฉายวงค์, 2560: 209-221; นิรันดร กากแก้ว,
2560: 86; พาสนา ชลบุรพันธ์, 2560: 171-178; อนุตรศักดิ์ วิชัยรัตน์, 2560: 86-87; บุญสุ่ม อินกองงาม,
2561: 42-45; วชิ นยี ์ ทศศะ, 2561: 131-150; ศลิ า สงอาจนิ ต์, 2561: 170; วชิรา เครอื คาอา้ ย, 2562 : 127-131;

25

วารสารการวจิ ยั การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน

ปที ่ี 2 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

สุภัจฉรา กาใจ, 2562: 43-45; ชาคริยา ชายเกลี้ยง, 2563: 128) การกาหนดองค์ประกอบของรูปแบบ
การนิเทศออกแบบตามแนวคิด ทฤษฎีเป็นหลัก ดังพบใน พงษ์ศักดิ์ ทองไชย (2558: 361-362) ได้พัฒนา
รูปแบบการนิเทศ ซึ่งมี 2 องค์ประกอบ ได้แก่ กระบวนการนิเทศและปัจจัยเชิงบวกสนับสนุน เช่น ทักษะ
และเทคโนโลยีดิจิทัล ขณะที่ พาสนา ชลบุรพันธ์ (2560: 171-178) และวชิรา เครือคาอ้าย (2562: 127-131)
ได้พัฒนารูปแบบ 3 องค์ประกอบ ได้แก่ หลักการ เงื่อนไข และกระบวนการ นอกจากนี้ยังพบองค์ประกอบ 4 ส่วน
ได้แก่ หลักการของรูปแบบ วัตถุประสงค์ของรูปแบบ กระบวนการนเิ ทศ และการประเมินรูปแบบ (อนุตรศักดิ์
วชิ ัยรัตน์, 2560: 86-87; ศลิ า สงอาจินต์, 2561: 170) และ 6 องค์ประกอบ ได้แก่ หลกั การ วัตถุประสงค์ เนอ้ื หาและ
สาระสาคญั กระบวนการนิเทศ การประเมนิ รปู แบบ และเง่อื นไขความสาเร็จ (ชาคริยา ชายเกลี้ยง, 2563: 128)

3. ผลการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษา ทั้งจากการนาไปใช้จริงและ
การขยายผลอย่ใู นระดบั มากที่สดุ ( ̅=4.75 และ 4.57) เม่ือเทียบกับเกณฑ์ของบญุ ชม ศรสี ะอาด มคี ุณภาพตาม
เกณฑท์ ี่กาหนด การที่ไดข้ อ้ สรุปเช่นนีอ้ าจเน่ืองมาจาก รูปแบบการนเิ ทศการศกึ ษาทพี่ ฒั นาข้ึนมขี อ้ สังเกตสาคัญ
ดังน้ี 1) ไดผ้ า่ นกระบวนการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และบูรณาการ แนวคดิ ทฤษฎีรอบด้าน และถูกต้องตามหลัก
วชิ าการ 2) ได้รับการพัฒนาตามขั้นตอนอย่างมีระบบ 3) สอดคลอ้ งกับสภาพความต้องการจาเป็นผู้ท่ีเกี่ยวข้อง
4) สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน 5) ครอบคลุมการดาเนินการจัดการศึกษาทุกด้าน 6) สะท้อน
องค์ประกอบ และกระบวนการนิเทศเชิงระบบ 7) ประยุกต์ใช้ทักษะและเทคโนโลยีดิจิทัลที่ให้เกิดประโยชน์
สงู สดุ และ 8) สามารถนาไปใชพ้ ฒั นาการจดั การศกึ ษาได้

โดยข้อสังเกตท้ัง 8 ประการ สอดคล้องกับแนวคิด ทฤษฎี และผลการวิจัย ดังน้ี การนิเทศการศึกษา
เป็นกระบวนการของความร่วมมือบนฐานการวิจัยระหว่างผู้นิเทศและผูร้ ับการนิเทศอยา่ งต่อเนื่อง ด้วยการใช้
วิธีการที่หลากหลาย เป็นการช่วยเหลืออยา่ งเปิดเผย มีเป้าหมายเพื่อพฒั นาปรับปรุงคุณภาพการจัดการศกึ ษา
ให้บรรลุเป้าหมาย การนิเทศเป็นกระบวนการเชงิ ระบบ กล่าวได้ว่า รูปแบบการนิเทศการศึกษาเป็นนวัตกรรม
ที่ได้รับการสร้างและพัฒนาอย่างเป็นระบบบนพื้นฐานของหลักการและทฤษฎีที่ถูกต้อง สอดคล้องกับสภาพ
บรบิ ทและความต้องการจาเปน็ ผู้ทมี่ ีสว่ นเกี่ยวขอ้ งกับการจัดการศึกษาจงึ มีความชดั เจนและม่ันใจในการปฏิบัติ
หน้าที่เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ (แสงเดือน คงนาวัง, 2559: 82-83; นัยนา ฉายวงค์,
2560: 209-221; นิรันดร กากแก้ว, 2560; พาสนา ชลบุรพันธ์, 2560: 171-178; อนุตรศักดิ์ วิชัยรัตน์, 2560: 68-87;
บุญสุ่ม อนิ กองงาม, 2561 : 42-45; วชิ นยี ์ ทศศะ, 2561 : 150; ศลิ า สงอาจนิ ต์, 2561 :170; วชิรา เครืออา้ ย,
2562: 127-131; สุภัจฉรา กาใจ, 2562: 101-102; ชาคริยา ชายเกลี้ยง, 2563: 5351-5355; Lele, 2018;
Hartono, 2019; Khun-inkeeree, 2019; Bondar, 2020)

26

วารสารการวจิ ัยการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน

ปที ี่ 2 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

ขอ้ เสนอแนะ
1. ขอ้ เสนอแนะในการนาผลการวิจยั ไปใชป้ ระโยชน์
1.1 ผู้บริหารโรงเรียนควรกาหนดนโยบายส่งเสริมการจัดการศึกษาในโรงเรียนด้วยการบูรณาการ

นเิ ทศภายในเช่ือมโยงกับการนเิ ทศภายนอกอยา่ งเปน็ ระบบและต่อเนอ่ื ง
1.2 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและโรงเรียนสามารถนารูปแบบการนิเทศการจัดการศึกษา

ดงั กลา่ วไปแนะนาและสง่ เสรมิ ให้ครปู ฏิบตั หิ น้าท่ีทไี่ ดร้ ับหมายให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
2. ขอ้ เสนอแนะในการทาวจิ ัยคร้งั ตอ่ ไป
2.1 ควรวจิ ัยและพฒั นารูปแบบการบริหารงานวชิ าการของสถานศกึ ษาในสังกัด
2.2 ควรวิจัยและพัฒนารูปแบบการนิเทศที่ส่งเสริมสมรรถภาพการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน

หรอื การวิจยั ทางการศึกษาของครหู รือบคุ ลากรทีเ่ กย่ี วข้อง

เอกสารอา้ งองิ
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช2551. กรุงเทพฯ:
กระทรงศึกษาธกิ าร.
คณะกรรมการการศกึ ษาแห่งชาติ, สานักงาน. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และ
ทีแ่ กไ้ ขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ.2545. กรุงเทพฯ: สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาแหง่ ชาติ
สานกั นายกรัฐมนตรี.
ชาครยิ า ชายเกล้ยี ง. (2563). “รูปแบบการนเิ ทศแบบผสมผสานเพ่อื ส่งเสรมิ การวจิ ัยของครูระดับ
มธั ยมศกึ ษา”. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน.์ 6(10), 128.
ณัฐชา จันทร์ดา. (2561). “การพัฒนารูปแบบการนิเทศงานวิชาการภายในโรงเรียนของสถานศึกษา
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 จังหวัดชลบุรี”. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญา
ดษุ ฎีบณั ฑิต. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบรู พา.

27

วารสารการวิจัยการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน

ปีท่ี 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

ธริศร เทยี บปาน. (2562). “การพฒั นารปู แบบการบริหารงานวชิ าการเพือ่ ยกระดบั คณุ ภาพผเู้ รียน
โรงเรยี นการกุศลของวดั ในพระพุทธศาสนาในเขตจงั หวดั ภาคใต้”. วิทยานพิ นธ์
ศึกษาศาสตรดษุ ฎีบณั ฑิต. สงขลา: มหาวทิ ยาลยั หาดใหญ่.

นพพรพรรณ ญาณโกมุท. (2558). “การพัฒนารูปแบบการนิเทศภายในตามแนวคิดการศึกษาชั้นเรียน”.
วารสารวชิ าการสถาบนั การพลศกึ ษา. 7(3), 131-134.

นัยนา ฉายวงค์. (2560). “การพัฒนารูปแบบการนิเทศตามแนวคิดการเรียนรู้แบบผสมผสานเพื่อเสริมสรา้ ง
ความสามารถด้านการวิจัยในชั้นเรียนของครูสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
นครพนม เขต 1”. วทิ ยานพิ นธ์ปรัชญาดษุ ฎีบัณฑติ . สกลนคร: มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สกลนคร.

บญุ ชม ศรีสะอาด. (2554). การวิจัยเบอ้ื งต้น. (พมิ พ์คร้งั ที่ 999). กรุงเทพฯ: บริษัทสวุ รี ิยาสาส์น จากัด.
บุญสุ่ม อินกองงาม. (2561). “การพัฒนารูปแบบการนิเทศภายในด้านการวิจัยการเรียนการสอนของ

ครูผู้สอน สถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในเครือข่าย
การนเิ ทศกลุ่มจังหวดั เครือข่ายที่ 15”. วารสารวทิ ยาลัยนครราชสมี า. 12(1), 43-45.
พาสนา ชลบุรพันธ์. (2560). “รูปแบบการนิเทศการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการพัฒนาทกั ษะการ
คิดของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน”. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต.
กรงุ เทพมหานคร: มหาวทิ ยาลัยธุรกิจบณั ฑิตย์.
วชิรา เครือคาอ้าย. (2562). “การพัฒนารูปแบบการนิเทศโดยใช้กระบวนการชี้แนะและระบบพี่เลี้ยง
เพื่อส่งเสริมศักยภาพการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สังกัดสานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน จงั หวัดเชียงใหม”่ . วารสารสมาคมนักวิจยั . 24(1), 127-131.
วันชัย อยู่ตรง. (2560). “การพัฒนารูปแบบการนิเทศการสอนที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษา
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 2”. วารสารจันทรเกษมสาร.
23(44), 86-94.
วิชนยี ์ ทศศะ. (2561). “รปู แบบการนิเทศภายในสาหรับโรงเรยี นขนาดเล็ก”. วารสารวถิ สี งั คมมนุษย.์ 6(1),
131-150.
ศิริวรรณ เมืองประเสริฐ. (2561). “การพัฒนารูปแบบการนิเทศทางคลินิกแบบมีส่วนร่วมของกลุ่ม
การพยาบาล โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์”. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาส
ราชนครินทร.์ 10(2), 20.

28

วารสารการวจิ ยั การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน

ปีที่ 2 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

ศิลา สงอาจินต์. (2561). “การพัฒนารูปแบบการนิเทศการสอนเพื่อพัฒนาสมรรถภาพการจัดการเรียนรู้
ของครูตามทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษาในสังกัดเทศบาลนครตรัง”.
วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ).
10(20), 170.

สุภัจฉรา กาใจ. (2562). “แนวทางการบริหารปัจจัยท่ีส่งผลต่องานนิเทศภายในของโรงเรียนนาโบสถ์พิทยาคม
อำเภอวังเจา้ จังหวัดตาก”. วทิ ยานพิ นธ์ครศุ าสตรมหาบณั ฑติ . เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยราชภัฏ
เชยี งใหม.่

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 29. (2563). รายงานผลการนิเทศ ติดตามและประเมินผล
การจัดการศึกษา ประจาปกี ารศึกษา 2562. อบุ ลราชธานี: ยงสวัสด์ิอินเตอร์กรุ๊ป.

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (13 มกราคม 2563). “การประเมินตัวชี้วัดตามมาตร
การปรับปรงุ ประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสานักงาน
เขตพื้นทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษา”. ประกาศสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน.

อนุตรศักดิ์ วิชยั รตั น์. (2560). “การพฒั นารูปแบบการนเิ ทศการสอนที่ส่งผลตอ่ คุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษา
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 2”. วารสารจันทรเกษมสาร.
23(44), 86-94.

Deming in Mycoted. (2004). Plan Do Check Act (PDCA) (Online). Available
http://www.mycoted.com/creativity/techniques/pdca.php

Ibrahim A Ali. (2017). “Educational Management, Educational Administration and
Educational Leadership: Definitions and General concepts”. SAS Journal of
Medicine. 3(12): 326-329.

Shuyao Zhang and Kitpinit Usaho. (2018). “Factors Affecting School Administration
Effectiveness in Public Upper Secondary Schools of Heze City, Shandong
Province, the People’s Republic of China”. EAU HERITAGE JOURNAL. 9(3), 117-119.

29

วารสารการวจิ ยั การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน

ปีท่ี 2 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งองค์กรแห่งการเรียนร้กู บั การบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา
ข้นั พ้นื ฐาน อาเภอแม่สรวย สังกดั สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งราย เขต 2
The relationship between learning organization and academic administration

of basic education institutes Mae suai district
under Chiang rai primary educational service area office 2

จริ าวัฒน์ วิชัยศิริ*
Jirawat Wichaisiri

บทคดั ย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับองค์กรแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

อาเภอแม่สรวย สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 2) เพื่อศึกษา ระดับการบริหาร
งานวิชาการของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน อาเภอแม่สรวย สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
เชียงราย เขต 2 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรแห่งการเรียนรู้กับการบริหารงานวิชาการของ
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน อาเภอแมส่ รวย สังกดั สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาเชียงราย เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง
ได้แก่ ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา จานวน 260 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็น
แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่
คา่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความเทีย่ งตรง ค่าสัมประสทิ ธ์สิ หสมั พนั ธ์ของเพียรส์ ัน

ผลการวิจัยพบว่า 1) องคก์ รแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน อาเภอแม่สรวย สงั กัดสานักงาน
เขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 ในภาพรวมมคี า่ เฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด 2) การบริหารงาน
วิชาการของสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน อาเภอแม่สรวย สงั กดั สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2
ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก 3) องค์กรแห่งการเรียนรู้กับการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา
ข้นั พ้ืนฐาน อาเภอแม่สรวย สงั กดั สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 โดยรวมมีความสัมพันธ์
กันทางบวกในระดบั ตา่ อย่างมนี ยั สาคัญทางสถติ ิทร่ี ะดบั .05

คาสาคัญ : องคก์ รแหง่ การเรยี นร/ู้ การบรหิ ารงานวิชาการ

* ครู, โรงเรยี นบ้านมังกาล่า, สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2

Teacher, Banmangkala School, Chiang Rai Primary Educational Service Area Office 2

30

วารสารการวิจัยการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน

ปที ่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

Abstract

The purpose of this study were to 1) study the level of the learning organization of
basic education institutes Mae Suai District under Chiang Rai Primary Education Service Area
office 2 2) study the level of academic administration of basic education institutes Mae Suai
District under Chiang Rai Primary Education Service Area office 2 3) analyze the relationship
between learning organization and academic administration of basic education institutes Mae
Suai District under Chiang Rai Primary Education Service Area office 2. A sample was selected
form 51 school, There are 260 of administrators teacher and education personnel of basic
education institutes Mae Suai District under Chiang Rai Primary Education Service Area office 2
by using Stratified Random Sampling. The tools used in this research are 5 level of questionnaire.
The statistical treatment used frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pearson
correlation.

The results of the study were as follow: 1) The learning organization of basic education
institutes Mae Suai District under Chiang Rai Primary Education Service Area office 2 at the
“ highest” level. 2) The academic administration of basic education institutes Mae Suai District
under Chiang Rai Primary Education Service Area office 2 at the “high” level. 3) The relationship
between learning organization and academic administration of basic education institutes Mae
Suai District under Chiang Rai Primary Education Service Area office 2 revealed that the overall
were moderate positive correlation and statistically significant at .05 level.

Keywords : Learning organization/ Academic administration

บทนา
โลกในทศวรรษปจั จุบันเป็นยคุ สมยั ศตวรรษที่ 21 ท่ีเทคโนโลยมี ีความสาคญั ในการพฒั นาประเทศชาติ

ในปัจจุบันนั้นก่อให้เกิดระบบเศรษฐกิจแบบใหม่ที่ต้องการคนทางานในภาคความรู้ ข้อมูลข่าวสาร และ
ด้านบริการมากกวา่ ภาคการผลิต ซึ่งปัจจุบนั เป็นหน้าที่ของหุ่นยนตห์ รือกลไกคอมพิวเตอร์เข้ามาแทนที่ ดังน้ัน
คนในศตวรรษน้ี จงึ ตอ้ งมีทักษะการคิด ทักษะการแกป้ ญั หา ทกั ษะการทางานร่วมกันเป็นทีม ทกั ษะการใช้ชีวิต
และสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองอย่างมีความสุขตามยุคสมัยที่เปลี่ยนไป การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานต้อง

31

วารสารการวิจัยการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน

ปที ี่ 2 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

สอดคลอ้ งกับสภาพความเปลย่ี นแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมและความเจรญิ ก้าวหนา้ ทางวิทยาการ เปน็ การสร้าง
กลยุทธ์ใหม่ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้สามารถตอบสนองความต้องการของบุคคล สังคมไทย ผู้เรียน
มีศักยภาพในการแข่งขนั และรว่ มมืออยา่ งสร้างสรรค์ในสงั คมโลก (สานกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2559)

การบริหารสถานศึกษาจึงต้องเกิดการพฒั นาให้สถานศกึ ษาเปน็ องค์กรแห่งการเรียนรู้ ซ่ึงเป็นแนวคิด
พื้นฐานท่ีเอ้อื ให้กระบวนการการบริหารเชงิ คุณภาพประสบความสาเร็จ โดยมมี าตรฐานเชิงคุณภาพเป็นตัวช้ีวัด
ทีส่ าคัญ องค์กรรปู แบบใหม่จะต้องเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์ เพอื่ ใหเ้ ช่ือมโยงกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมที่มี
ข้อกาหนดจากประชาคมโลกและการชิงชัยที่มีมากขึ้น การพัฒนาบุคลากรในองค์กรทุกระดับจะต้องเกิดข้ึน
เพื่อการพฒั นาแบบยั่งยืน เราจาเป็นต้องให้คุณคา่ กับการศึกษาตลอดชีวิต เพราะการปฏิบัตหิ น้าท่ีของคนและ
ใช้ทกุ สิ่งจากการปฏิบตั ิเปน็ รากฐานคลงั ความรู้ทส่ี าคัญประกอบกับการใช้กลยุทธ์การคน้ หาความรู้ การแบ่งปัน
ความรู้ การสร้างองค์ความรู้ และการใช้ความรู้ร่วมกันอย่างไม่หยุดยั้ง ซึ่งจะเป็นทางปฏิบัติที่วางไว้ใน
การผลักดันแนวทางสู่การกระทาให้เกิดความสาคัญอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อสร้างบุคคลแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้ และสังคมแห่งการเรียนรู้ อันจะนาไปสู่การพัฒนาความมีประสิทธิผลของโรงเรียน
(กฤติยา จันทรเสนา, 2556) และองค์กรแห่งการเรียนรู้ยังเป็นแนวคิดที่มุ่งพัฒนาศักยภาพของบุคลากร
ในระยะยาว เน้นการพัฒนาโดยการเริ่มที่ตัวบุคคลผ่านการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอยู่ตลอดเวลา
เพื่อเพิ่มศักยภาพของตนเองและองค์กร (วิสุทธิ์ แว่นแก้ว, 2554) ซึ่งสถานศึกษาที่มีความสาเร็จเป็นองค์กร
แห่งการเรียนรู้มีลักษณะประกอบด้วย การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ การมีกลยุทธ์ทาง
วิชาการที่เป็นเลิศ การจัดการเรียนการสอนเชิงสร้างสรรค์ที่ส่งเสริมประสิทธิภาพในการเรียนรู้ของนักเรียน
การเสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน การพัฒนาบุคลากรอย่างกว้างขวาง การใช้ภาวะผู้นาแบบมีส่วนร่วม
และการส่งเสริมให้ผู้ปกครองนักเรียนและชุมชนเข้ามามสี ่วนร่วม เพื่อเสริมสร้างศักยภาพของเยาวชนไทยใหม้ ี
คุณภาพทัดเทยี มกบั สงั คมโลก (ยุกตนันท์ หวานฉา่ , 2555)

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้กาหนดขอบข่ายงานบริหารไว้ 4 งาน คือ
งานวิชาการ งานบุคคล งานงบประมาณ งานบริหารทั่วไป ภารกิจหลักเหล่านี้ต้องได้รับการจัดการที่ดี
โดยมวี ิธีการอยา่ งไร ถึงจะทาใหส้ ถานศกึ ษามีคุณภาพได้ โดยเฉพาะการบรหิ ารงานในดา้ นวิชาการ ซงึ่ ถือว่าเป็น
ภารกิจที่ยิ่งใหญ่และเป็นหัวใจสาคัญ ส่วนงานด้านอื่น ๆ เป็นองค์ประกอบที่จะทาให้สถาบันดาเนินไปด้วย
ความราบรนื่ เทา่ น้นั และงานวชิ าการ ได้แก่ งานดา้ นเกยี่ วกับตวั ครู งานด้านเก่ยี วกบั ตัวนักเรยี น งานด้านการจัด
โปรแกรมการเรียนการสอน งานด้านการจัดอุปกรณ์การสอน และงานด้านเกี่ยวกับบุคลากรด้านการสอน
และทีป่ รากฏในคู่มือการบริหารการศึกษาข้นั พื้นฐานทเี่ ปน็ นิติบคุ คล งานท่เี ปน็ หัวใจของการบรหิ ารโรงเรียน คือ
งานวิชาการ เพราะจุดหมายของการมโี รงเรยี นโดยส่วนรวม คือการจัดการเรียนการสอนให้ผ้เู รียนมีความสามารถ

32

วารสารการวิจยั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน

ปีที่ 2 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

ดารงชวี ิตอยไู่ ดด้ ว้ ยความสขุ ตามนโยบายการจดั การศกึ ษาของชาติ ซ่งึ เป็นจดุ หมายตา่ งกนั ไปตามแต่ละระดบั ชั้น
(กระทรวงศึกษาธิการ, 2546) ซึ่ง พรธิดา พูลถาวร (2560) ได้ศึกษาแนวทางการบริหารงานวิชาการของ
สถานศึกษาที่ได้คะแนน O-NET สูงสุดในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3: กรณีศึกษา
โรงเรยี นบา้ นสัตหบี พบว่า แนวทางการบริหารงานวิชาการของโรงเรยี นบา้ นสัตหีบ ท่สี ง่ ผลใหไ้ ดค้ ะแนน O-NET
สูงสุดในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3 สามารถสรุปเป็นประเด็นตามลาดับ
ความสาคัญไดท้ ง้ั ส้ิน 5 ประเด็น คือ 1) ภาวะผ้นู าของผ้อู านวยการโรงเรียนในการกากับดูแลวางแผน หลักสูตร
และผลักดันนโยบายต่าง ๆ ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโรงเรียน 2) ผู้อานวยการโรงเรียนมีวิสัยทัศน์
ในการจัดสรรทรัพยากรนาเข้าอย่างที่ดี อีกทั้งการจัดครูผู้สอนให้ตรงตามสาระการเรียนรู้และความสามารถ
จึงส่งผลต่อการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3) ส่งเสริมให้ครูใช้ผลิตและพัฒนาสื่อการเรียน
การสอนเพื่อเพิ่มทักษะการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ 4) การจัดระบบนิเทศภายในเพื่อหาแนวทางการพัฒนางาน
ร่วมกัน และ 5) โรงเรยี นได้นาผลการประเมนิ ไปปรบั ปรงุ และพัฒนาการเรยี นร้ขู องผเู้ รียน และการสอนของครู

จากความสาคัญของขอบข่ายงานบริหาร ทส่ี านักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐานได้กาหนดไว้
พบว่า งานวิชาการเป็นงานที่สาคัญ ที่ส่งผลต่องานต่าง ๆ ในโรงเรียนทั้งทางตรงและทางอ้อม รวมทั้งการจัด
การเรยี นการสอนที่สง่ ผลตอ่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นรู้ของผู้เรยี น ซงึ่ การตรวจสอบและประเมนิ คุณภาพภายใน
สถานศึกษาที่ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.2554-2558) จากสานักงานรับรองมาตรฐาน
และประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์กรมหาชน) ซึ่งพบว่า สถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีผลการประเมินที่ไม่ได้
รับการรองรับ มีจานวน 36 แห่ง จากข้อมูลพบว่าเป็นสถานศึกษา อาเภอแม่สรวย สังกัดสานักงานเขตพื้นที่
การศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งราย เขต 2 จานวน 18 แห่ง และเมือ่ นามาวิเคราะห์พบว่า สาเหตุของการไม่ได้รับ
การรับรอง เนื่องจากไมผ่ ่านตวั บ่งชี้ที่ 5 คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน (สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา
ประถมศกึ ษาเชยี งราย เขต 2, 2559: 26) ประกอบกบั การวัดผลจากผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นและผลการทดสอบ
ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Educational Test: O-NET) และผลการจัดสอบ
ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (National Test: NT) จากรายงานผลการจัดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
ขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Educational Test: O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2562
ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 (2563: 47-48) มีผลดาเนินงานด้านคุณภาพ
การศึกษาด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน อ.แม่สรวย สังกัดสานักงานเขต
พน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 ประจาปกี ารศึกษา 2562 ระดับช้ัน ป.6 ผลการทดสอบ O-NET

33

วารสารการวิจยั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน

ปที ี่ 2 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

พบว่า มีผลสัมฤทธิ์เฉลี่ยของรายวิชาภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษต่ากว่าระดับจังหวัด
อยู่ 34 โรงเรียน จาก 51 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 66.67 และมีการรายงานผลการจัดสอบทางการศึกษา
ระดับชาติข้ันพื้นฐาน (National Test: NT) ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2562 ของสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 พบว่า มีผลดาเนินงานด้านคุณภาพการศึกษา ด้านผลสัมฤทธิ์ทาง
การเรียนของนักเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน อ.แม่สรวย สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
เชียงราย เขต 2 ประจาปีการศึกษา 2562 ระดับชั้น ป. 3 มีผลสัมฤทธิ์เฉลี่ยด้านความสามารถด้านภาษา
ความสามารถด้านคานวณ และความสามารถด้านเหตุผลในการสอบ NT ต่ากว่าระดับจังหวัดอยู่ 32 โรงเรียน
จาก 51 โรงเรียน คิดเป็นรอ้ ยละ 62.75 เชน่ กัน

จากปัญหาดังกล่าว จะเห็นได้ว่า ผลสัมฤทธิ์ของการบริหารงานวิชาการไม่เป็นไปตามเป้าหมาย
เพราะขาดองค์ประกอบต่าง ๆ ในการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้จึงทาให้ผู้วิจัยมีความสนใจที่จะศึกษา
ความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรแห่งการเรียนรู้กับการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาขั้นพื้ นฐาน อาเภอแม่สรวย
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 ซึ่งผลจากการวิจัยครั้งนี้คาดว่าจะใช้เป็น
แนวทางสาหรับผู้บริหารสถานศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษาในการพัฒนาการบรหิ ารให้มีประสิทธิผล
ยิง่ ขน้ึ ต่อไป

วัตถปุ ระสงคใ์ นการศึกษา
1. เพื่อศึกษาระดับองคก์ รแห่งการเรียนรู้ของสถานศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน อาเภอแมส่ รวย สงั กัดสานักงาน

เขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาเชียงราย เขต 2
2. เพ่ือศกึ ษาระดับการบริหารงานวชิ าการของสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน อาเภอแม่สรวย สงั กัดสานักงาน

เขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งราย เขต 2
3. เพื่อศึกษาความสัมพันธร์ ะหวา่ งองค์กรแห่งการเรียนรู้กับการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา

ขัน้ พื้นฐาน อาเภอแม่สรวย สังกัดสานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาเชียงราย เขต 2

34

วารสารการวิจัยการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน

ปที ี่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

วิธีดาเนินการวจิ ยั

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรแห่งการเรียนรู้กับการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา
ขัน้ พ้นื ฐาน อาเภอแมส่ รวย สังกดั สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งราย เขต 2 ผ้วู ิจยั ไดด้ าเนนิ การ
วิจยั ตามลาดบั ขั้นตอน ดงั นี้

1. ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา

ขั้นพื้นฐาน อาเภอแม่สรวย สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 จานวน 51 โรงเรียน
รวมทั้งสิ้น 744 คน ประกอบด้วย ผู้บริหาร จานวน 51 คน ครูผู้สอน จานวน 502 คน และบุคลากรทาง
การศึกษา จานวน 191 คน กาหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางสาเร็จรูปของเครจซี่และมอร์แกน
(Krejcie and Morgan, 1970: 608–609) เทยี บขนาดของประชากรท่ี 800 คน ไดก้ ลมุ่ ตวั อยา่ งท้งั ส้ิน 260 คน
โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) แล้วนามากาหนดสัดส่วน ตามขนาด
ของกลุ่มประชากรในแตล่ ะสถานศกึ ษา

เครอ่ื งมอื ท่ใี ชใ้ นการวจิ ัย มลี กั ษณะเป็นแบบสอบถาม 1 ชุด แบง่ ออกเป็น 2 ตอน ดงั น้ี
ตอนท่ี 1 แบบสอบถามเก่ยี วกบั องค์กรแหง่ การเรยี นรู้ของสถานศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน อาเภอแม่สรวย
สังกัดสานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 ประกอบด้วย 5 ด้าน จานวน 25 ขอ้ มีลักษณะ
เป็นแบบมาตราสว่ นประมาณคา่ (Rating scale) 5 ระดับ ตามแบบของลเิ คริ ์ท (Likert, 1967: 247)
ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับการบริหารงานวชิ าการของสถานศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน อาเภอแม่สรวย
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 ประกอบด้วย 17 ด้าน จานวน 87 ข้อ
มลี กั ษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณคา่ (Rating scale) 5 ระดับ ตามแบบของลเิ คริ ์ท (Likert, 1967: 247)

2. การสร้างเครือ่ งมอื ท่ใี ชใ้ นการวจิ ยั
ผู้วจิ ยั ไดด้ าเนนิ การตามข้ันตอนในการสรา้ งเคร่อื งมอื สาหรบั การศกึ ษาวิจยั ดงั น้ี
2.1 ศกึ ษาทฤษฎแี ละงานวจิ ัยท่เี กยี่ วกับองค์กรแหง่ การเรยี นรู้และการบรหิ ารงานวิชาการ
2.2 นาแนวคิด ทฤษฎีและขอ้ มูลต่าง ๆ มาสรา้ งแบบสอบถาม จานวน 2 ตอน
2.3ดาเนินการสร้างเครื่องมือในการทาแบบสอบถามที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างองค์กร

แหง่ การเรยี นรู้กับการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาข้นั พืน้ ฐาน อาเภอแม่สรวย สังกัดสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 เป็นแบบสอบถามที่มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า
(Rating scale) 5 ระดบั มากที่สดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อยทสี่ ุด

35

วารสารการวจิ ัยการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน

ปที ี่ 2 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

2.4 นาแบบสอบถามที่สร้างเสร็จแล้วเสนอผู้เชี่ยวชาญ จานวน 3 ท่าน ตรวจสอบความชัดเจน
ของภาษาในข้อคาถามและครอบคลุมเนื้อหา ตรวจสอบความเที่ยงตรงด้านเนื้อหา (Content validity)
และปรับปรุงแก้ไขวิธีที่ใช้ในการตรวจสอบคือการหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับเนื้อหา
หรอื IOC ซึ่งมคี า่ อยู่ระหว่าง 0.67 – 1.00

2.5 นาแบบสอบถามที่ผู้วิจยั สรา้ งขนึ้ เสนอต่ออาจารย์ท่ีปรกึ ษาเพื่อตรวจแก้ไขใหเ้ กิดความถูกต้อง
และแก้ไข ปรบั ปรงุ ใหส้ มบูรณ์

2.6 นาเครื่องมือที่ปรับปรุงแก้ไขแล้วไปทาการทดลองใช้ (Try-out) กับกลุ่มตัวอย่างที่ไม่ใช่
ประชากร จานวน 30 คน แล้วนาเครื่องมือที่ได้กลับคืนมา คานวณหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) โดยใช้
สัมประสิทธิแ์ อลฟา (α-Coefficient) ตามวิธีของครอนบาค (Cronbach, 1990: 202-204) ได้ค่าความเชือ่ มนั่
เท่ากบั 0.86

2.7 นาแบบสอบถามท่ีผ่านการตรวจสอบความเช่ือม่นั และมีความสมบูรณ์ไปใช้ในการเก็บข้อมูล
จากกลุ่มตัวอยา่ งตอ่ ไป

3. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู
การเกบ็ รวบรวมข้อมูลได้ดาเนนิ ตามขน้ั ตอน ดงั น้ี
3.1 นาหนังสือขอความอนุเคราะหใ์ นการเก็บรวบรวมข้อมูลจากวิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา

ถึงผู้อานวยการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน อาเภอแม่สรวย สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
เชียงราย เขต 2 ในการขอเก็บข้อมูลจากผู้บริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา

3.2 ผ้วู ิจัยนาแบบสอบถามพร้อมหนังสือขอความร่วมมือสง่ ให้ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา
ที่เป็นกลุ่มตัวอย่างทุกคน แบ่งแจกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ด้วยตนเอง และขอรับแบบสอบถามคืน ใช้เวลาใน
การเก็บรวบรวมข้อมลู 40 วนั

3.3 นาแบบสอบถามไปตรวจสอบความสมบูรณ์และดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูล โดยเก็บ
แบบสอบถามด้วยตนเอง ซึ่งผู้วิจัยเก็บแบบสอบถามมาได้ทั้งหมด จานวน 260 ฉบับ มีความสมบูรณ์จานวน
260 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 100

36

วารสารการวิจยั การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน

ปีที่ 2 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

4. การวเิ คราะหข์ อ้ มูล
การวิเคราะห์ข้อมลู สาหรับการวจิ ัยในคร้ังน้ี ผู้วจิ ยั ดาเนินการวเิ คราะหข์ อ้ มูล ดังตอ่ ไปนี้
4.1 นาแบบสอบถามท่ไี ดจ้ ากการเกบ็ จากสถานศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน อาเภอแม่สรวย สังกดั สานักงาน

เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 ทั้ง 51 แห่ง ที่ใช้เป็นกลุ่มตวั อย่างมาตรวจสอบความถกู ต้อง
และมีความสมบูรณใ์ นการกรอกข้อมูล

4.2 นาข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถาม มาจัดข้อมูล ลงรหัส ทาการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม
สาเร็จรปู ทางสถิติ จากเครื่องคอมพวิ เตอร์

4.3 วิเคราะห์ข้อมูลแบบสอบถามตอนที่ 1 องค์กรแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา เป็นแบบสอบถาม
แบบมาตรวัดค่าประเมินค่า (Rating Scale) โดยตรวจคะแนนตามเกณฑ์น้าหนัก 5 ระดับ นาไปบันทึก
และวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน แล้วนาผลที่ได้มาแปลความหมาย รายข้อ รายด้าน
และความหมายในภาพรวม

4.4 วิเคราะห์ข้อมูลแบบสอบถามตอนท่ี 2 การบรหิ ารงานวิชาการของสถานศึกษา เปน็ แบบสอบถาม
แบบมาตรวัดค่าประเมินค่า (Rating Scale) โดยตรวจคะแนนตามเกณฑ์น้าหนัก 5 ระดับ นาไปบันทึกและ
วิเคราะห์คา่ เฉลย่ี และคา่ เบยี่ งเบนมาตรฐาน แล้วนาผลที่ไดม้ าแปลความหมาย รายขอ้ รายด้านและความหมาย
ในภาพรวม

4.5 นาข้อมูลท่ีไดแ้ ปลความหมายของความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรแห่งการเรยี นรูก้ ับการบรหิ าร
งานวิชาการของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน อาเภอแม่สรวย สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
เชียงราย เขต 2 โดยใช้วิธีการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson’ Product Moment
Correlation Coefficient)

ผลการวิจยั
1. ผลการศึกษาองค์กรแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน อาเภอแม่สรวย สังกัดสานักงาน

เขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชียงราย เขต 2
ตาราง 1 ค่าเฉลี่ยและค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานขององค์กรแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

อาเภอแม่สรวย สงั กดั สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาเชยี งราย เขต 2 โดยรวม (Xtot)

37

วารสารการวจิ ยั การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน

ปีท่ี 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

องคก์ รแห่งการเรยี นรู้ n=260 การแปลความหมาย

ดา้ นการเปน็ บุคคลรอบรู้ (X1) X̅ S.D. มาก
ด้านการมีวสิ ัยทศั นร์ ่วมกัน (X2) 4.49 0.28 มากทีส่ ุด
ดา้ นการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทมี (X3) 4.50 0.29
ด้านการคิดอย่างเป็นระบบ (X4) 4.48 0.27 มาก
ด้านการจดั การความรู้ (X5) 4.51 0.24 มากทีส่ ุด
4.52 0.27 มากที่สดุ
เฉล่ยี รวม 4.50 0.17 มากท่สี ุด

จากตาราง 1 พบว่า คา่ เฉลย่ี และคา่ ความเบ่ียงเบนมาตรฐานขององค์กรแห่งการเรียนรขู้ องสถานศึกษา

ขั้นพื้นฐาน อาเภอแม่สรวย สังกัดสานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาเชียงราย เขต 2 โดยรวมอยูใ่ นระดบั

มากที่สุด (X̅ = 4.50, S.D. = 0.17) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่ สุด คือ

ดา้ นการจัดการความรู้ (X̅ = 4.52, S.D. = 0.27) รองลงมา คือ ด้านการคดิ อย่างเป็นระบบ (X̅ = 4.51, S.D. = 0.24)

และด้านทม่ี ีคา่ เฉลี่ยนอ้ ยท่ีสุด คอื ด้านการเรียนร้รู ่วมกันเป็นทีม (X̅ = 4.48, S.D. = 0.27)

2. ผลการศึกษาการบรหิ ารงานวชิ าการของสถานศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน อาเภอแม่สรวย สังกัดสานกั งาน

เขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาเชียงราย เขต 2

ตาราง 2 ค่าเฉลี่ยและค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานของการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

อาเภอแม่สรวย สงั กดั สานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาเชียงราย เขต 2 โดยรวม (Ytot)

การบรหิ ารงานวชิ าการ n=260 การแปล
ความหมาย
1. การพัฒนาสาระหลักสูตรทอ้ งถิน่ (Y1) X̅ S.D.
2. การวางแผนงานดา้ นวิชาการ (Y2) 4.55 0.25 มากทส่ี ดุ
3. การจดั การเรียนการสอนในสถานศึกษา(Y3) 4.50 0.31 มากที่สุด
4. การพัฒนาหลักสตู รของสถานศึกษา (Y4) 4.50 0.26 มากที่สดุ
5. การพฒั นากระบวนการเรยี นรู้ (Y5) 4.51 0.27 มากทส่ี ดุ
6. การวดั ผล ประเมินผล และดาเนนิ การเทยี บโอนผลการเรียน (Y6) 4.49 0.23
7. การวจิ ัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาในสถานศกึ ษา (Y7) 4.49 0.33 มาก
8. การพฒั นาและส่งเสริมให้มแี หล่งเรยี นรู้ (Y8) 4.51 0.26 มาก
4.47 0.35 มากทีส่ ุด
มาก

38

วารสารการวิจัยการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน

ปีท่ี 2 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

ตาราง 2 (ต่อ) n=260 การแปล
X̅ S.D. ความหมาย
การบรหิ ารงานวิชาการ 4.52 0.32 มากทสี่ ุด
4.48 0.23
9. การนเิ ทศการศึกษา (Y9) 4.48 0.23 มาก
10. การแนะแนว (Y10) 4.47 0.28 มาก
11. การพัฒนาระบบประกนั คุณภาพภายในและมาตรฐานการศกึ ษา (Y11) 4.48 0.29 มาก
12. การสง่ เสรมิ ชุมชนใหม้ ีความเข้มแข็งทางวิชาการ (Y12) มาก
13. การประสานความรว่ มมอื ในการพัฒนาวิชาการกับสถานศกึ ษาและองค์กร 4.49 0.24
อ่นื (Y13) มาก
14. การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร 4.46 0.25
หนว่ ยงาน สถานประกอบการ และสถาบนั อนื่ ที่จัดการศกึ ษา (Y14) มาก
15. การจัดทาระเบียบและแนวปฏิบตั เิ ก่ยี วกับงานดา้ นวชิ าการของสถานศึกษา 4.45 0.34
(Y15) 4.47 0.23 มาก
16. การคดั เลอื กหนงั สอื แบบเรยี นเพอ่ื ใชใ้ นสถานศึกษา (Y16) 4.49 0.13 มาก
17. การพัฒนาและใชส้ ื่อและเทคโนโลยเี พอ่ื การศกึ ษา (Y17) มาก

เฉลี่ยรวม

จากตาราง 2 พบว่า ค่าเฉลี่ยและค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานของการบริหารงานวิชาการของ
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน อาเภอแม่สรวย สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2
โดยรวมอยู่ในระดับมาก (X̅ = 4.49, S.D. = 0.13) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด
คือ การพัฒนาสาระหลกั สูตรท้องถิน่ (X̅ = 4.55, S.D. = 0.25) รองลงมา คือ การนิเทศการศึกษา (X̅ = 4.52,
S.D. = 0.32 และดา้ นทม่ี ีคา่ เฉลีย่ นอ้ ยท่ีสุด คือ การคัดเลือกหนังสือแบบเรียนเพ่ือใช้ในสถานศึกษา (X̅ = 4.45,
S.D. = 0.34)

3. ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรแห่งการเรียนรู้กับการบริหารงานวิชาการของ
สถานศึกษาข้ันพืน้ ฐาน อาเภอแมส่ รวย สังกัดสานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชยี งราย เขต 2

39

วารสารการวิจยั การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

ปที ี่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

ตาราง 3 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างองค์กรแหง่ การเรียนรู้กับการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา
ขั้นพื้นฐาน อาเภอแม่สรวย สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2
โดยภาพรวม

การบรหิ ารงานวชิ าการ (Y)

องค์กรแห่ง Y1 Y2 Y3 Y4 Y5 Y6 Y7 Y8 Y9 Y10 Y11 Y12 Y13 Y14 Y15 Y16 Y17 Ytot
การเ ีรยน ู้ร (X)
̅ 4 . 4 . 4 . 4 . 4 . 4 . 4 . 4 . 4 . 4 . 4 . 4 . 4 . 4 . 4 . 4 . 4 . 4.49
55 50 50 51 49 49 51 47 52 48 48 47 48 49 46 45 47

X̅ . 0 . 0 . 0 . 2 . 1 - . 1 . 0 . 0 . 1 . 0 - . 1 . 0 . 0 . 1 . 0 .16**
X1 4.4 7 5 7 3 * 1 . 0 4* 7 4 0 8 . 3 3* 0 4 8 * 9

9

*2 0*

X2 4.5 . 0 . 1 . 0 . 1 . 1 . 0 . 1 . 1 . 1 . 2 . 1 . 0 . 1 . 0 . 0 . 1 . 0 .22**
0 3 8 * 2 7 * 5* 9 4* 2* 2 2 * 0 0 2 7 8 1 6

** *

X3 4.4 . 0 . 1 . 1 . 1 . 2 . 0 . 1 . 1 . 0 . 2 . 1 . 0 . 2 . 0 . 1 . 0 - .24**
8
3 2 4* 6 * 6 * 3 6* 8 * 8 2 * 2 3 1 * 6 0 7 . 0
X4 4.5
1 ** ** * 3

X5 4.5 - . 1 . 0 . 1 . 1 . 0 . 0 . 0 . 0 . 1 . 1 . 1 . 0 . 1 . 1 . 0 - .18**
2
. 4 8 * 5 6 * 7 * 7 8 6 7 4* 4* 0 9 0 2 8 . 0

0* ** 6

. 1 . 0 . 1 . 1 . 5 . 0 . 1 . 1 . 0 . 2 . 0 . 0 . 0 . 1 . 0 . 0 . 0 .14**

1 4 0 2 0 0 0 1 2 3 * 3 1 2 3* 8 1 7

*

Xtot 4.5 . 0 . 1 . 1 . 2 . 2 . 0 . 1 . 1 . 1 . 2 . 1 . 0 . 1 . 1 . 1 . 1 . 0 .29**
0 6 7 * 2 6 * 3 * 5 9 * 7 * 0 8 * 4* 3 8 * 1 3* 4* 5

* ** ** * *

หมายเหตุ : * แทนผลการทดสอบมนี ัยสาคญั ทางสถติ ทิ ีร่ ะดบั .05

** แทนผลการทดสอบมนี ยั สาคัญทางสถิติทรี่ ะดบั .01

จากตารางที่ 3 พบว่า แสดงให้เห็นว่าความสัมพนั ธ์ระหว่างองค์กรแห่งการเรียนรู้กับการบริหารงาน
วิชาการของสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน อาเภอแม่สรวย สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชียงราย
เขต 2 ในภาพรวมมีความสัมพันธ์กันในระดับต่า (r = 0.29) อย่างมนี ยั สาคญั ทางสถิติท่ีระดับ .05 เมื่อพิจารณา
เป็นรายด้าน พบว่า องค์กรแห่งการเรียนรู้ (Xtot) มีความสัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิผลในการบริหารงาน

40

วารสารการวจิ ัยการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน

ปีที่ 2 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

วิชาการจานวน 10 ด้าน ด้านที่มีค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธส์ ูงสุด คือ การแนะแนว (Y10) (r = 0.28) รองลงมา
คือ การพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา (Y4) (r = 0.26) และด้านที่มีค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์ต่าสุด คือ
การจัดทาระเบียบและแนวปฏบิ ัติเกีย่ วกบั งานดา้ นวชิ าการของสถานศกึ ษา (Y15) (r = 0.13)

สรุปผลการวิจยั
จากการวิเคราะหข์ อ้ มลู ผวู้ จิ ยั สรุปผลการวจิ ยั ได้ ดังน้ี
1. องค์กรแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน อาเภอแม่สรวย สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ี

การศึกษาประถมศกึ ษาเชียงราย เขต 2 ผลการวิจัยพบว่า ในภาพรวมมคี ่าเฉลี่ยอยูใ่ นระดับมากท่ีสุด ซึ่งมีดา้ น
ทม่ี ีค่าเฉลย่ี อยใู่ นระดับมากทส่ี ุด จานวน 3 ดา้ น เรยี งตามลาดับคา่ เฉลีย่ สูงไปหาต่า ดงั นี้ ดา้ นการจัดการความรู้
ด้านการคิดอยา่ งเปน็ ระบบ และดา้ นการมวี ิสยั ทัศน์ร่วมกนั

2. ประสทิ ธผิ ลในการบริหารงานวิชาการของสถานศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน อาเภอแมส่ รวย สังกัดสานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 ผลการวิจัยพบว่า ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก
ซึ่งมีด้านที่มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุดจานวน 6 ด้าน เรียงตามลาดับค่าเฉลี่ยสูงไปหาต่า ดังนี้ การพัฒนา
สาระหลักสูตรท้องถ่ิน, การนิเทศการศึกษา, การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษา, การพัฒนา
หลักสูตรของสถานศกึ ษา, การจดั การเรยี นการสอนในสถานศกึ ษา และด้านการมวี ิสัยทัศนร์ ว่ มกนั

3. ความสัมพันธร์ ะหวา่ งองคก์ รแห่งการเรียนรกู้ ับการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
อาเภอแม่สรวย สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 โดยรวมอยู่ในระดับต่า
อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า องค์กรแห่งการเรียนรูม้ ีความสัมพันธ์
ทางบวกกับการบรหิ ารงานวิชาการ จานวน 10 ด้าน มีค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธเ์ รียงลาดบั จากสูงไปตา่ ดังนี้
การแนะแนว การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาในสถานศึกษา การประสานความร่วมมือในการพัฒนาวิชาการกับสถานศึกษาและองค์กรอื่น
การมีวิสัยทศั นร์ ่วมกนั และการพัฒนาและส่งเสริมให้มีแหลง่ เรียนรู้ การพฒั นาระบบประกันคณุ ภาพภายในและ
มาตรฐานการศึกษา และการคัดเลือกหนังสือแบบเรียนเพื่อใช้ในสถานศึกษา และการจัดทาระเบียบและ
แนวปฏิบัติเก่ยี วกับงานดา้ นวชิ าการของสถานศกึ ษา ตามลาดบั

41

วารสารการวจิ ัยการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน

ปที ่ี 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

อภิปรายผล
1. ผลการศึกษาองค์กรแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน อาเภอแม่สรวย สังกัดสานักงาน

เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 พบว่า ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ซึ่งพบว่า
ด้านที่มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด คือ ด้านการจัดการความรู้ ทั้งนี้เนื่องจากผู้บริหาร ครู และบุคลากร
ทางการศึกษา มีการจัดการความรู้โดยการแสวงหาความรู้และจัดการความรู้นั้น ๆ ซึ่งสมาชิกในองค์กร
มีการแสวงหาความรู้จากแหล่งต่าง ๆ ทั้งภายนอกและภายในองค์กร มีการแลกเปลี่ยนสารสนเทศแบบระบบเปิด
ในองค์กร โดยนานวัตกรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ให้เกิดประโยชน์ สร้างฐานข้อมูลที่ตอบสนองต่อ
การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างกันของบุคลากรอย่างอิสระ และส่งเสริมให้บุคลากรได้นาความรู้จาก
ภายนอกมาใช้พัฒนางานอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับงานวิจัยของ วรรณา เฟื่องฟู (2558) ได้ทาการศึกษา
ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับการ เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของ
สถานศึกษา สังกดั สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต 2 พบวา่ ระดับของการเป็นองค์การ
แห่งการเรียนรู้โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลาดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านการเพิ่ม
บทบาทให้กับบุคลากร, ด้านการปรับเปลี่ยนองค์การ และด้านพลวัตแห่งการเรียนรู้, ด้านการจัดการความรู้,
ด้านการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ตามลาดับ และยังสอดคล้องกับงานวิจัยของ วัฒนสิน บุสดี (2559) ได้ศึกษา
รูปแบบองคก์ รแห่งการเรียนร้ขู องโรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 19 พบว่า ระดับ
ของการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เรียงตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังน้ี
ด้านการเรยี นรู้ ดา้ นเทคโนโลยี ด้านบุคลากร ดา้ นองค์การ และดา้ นการจดั การความรู้

2. ผลการศึกษาการบรหิ ารงานวิชาการของสถานศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน อาเภอแม่สรวย สังกัดสานกั งาน
เขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 พบวา่ ในภาพรวมมคี ่าเฉลีย่ อยู่ในระดบั มาก ซ่ึงพบว่าด้านที่มี
ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด คือ การพัฒนาสาระหลักสูตรท้องถิ่น ทั้งนี้เนื่องจาก ผู้บริหาร ครู และบุคลากร
ทางการศึกษา ใหค้ วามสาคัญกับการพัฒนาสาระหลักสตู รทอ้ งถน่ิ มกี ระบวนการวิเคราะห์กรอบสาระการเรียนรู้
ท้องถิ่นของสถานศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับ สานักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ (2556) ได้กาหนดขอบข่ายและภารกิจด้านการบริหารวิชาการ ซึ่งสถานศึกษาจะต้องมี
การบริหารจัดการให้มีประสิทธิผลซ่งึ ประกอบไปด้วย 17 ด้าน โดยมดี ้านที่ 1 คอื การพัฒนาหรือการดาเนนิ การ
เกี่ยวกับการให้ความเห็นการพัฒนาสาระหลักสูตรท้องถิ่น โดยวิเคราะห์กรอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นท่ี
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาจัดทาไว้ วิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษาเพื่อกาหนดจุดเน้นหรือประเด็น
ที่สถานศึกษาให้ความสาคัญ ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษาและชุมชนเพื่อนามาเป็น
ข้อมูลจัดทาสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นของสถานศึกษาให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น จัดทาสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นของ

42


Click to View FlipBook Version