The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฏาคม-ธันวาคม 2565): วารสารการวิจัยการศึกษาขั้นพื้นฐาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by avelinox101, 2023-01-04 04:01:52

ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฏาคม-ธันวาคม 2565): วารสารการวิจัยการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฏาคม-ธันวาคม 2565): วารสารการวิจัยการศึกษาขั้นพื้นฐาน

วารสารการวิจยั การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน

ปีท่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

ตารางที่ 4 ความต้องการจาเป็นในการส่งเสริมสมรรถนะการจัดประสบการณ์ ตามแนวคิดพหุปัญญา
สาหรับครปู ฐมวัย สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 2 ด้านเจตคติ

สมรรถนะ สภาพที่ควรจะเปน็ สภาพท่เี ป็นอยู่ PNImodified ลำดบั
การจดั ประสบการณ์ X S.D X S.D (I-D)/D
4.44 0.61 3.83 0.66
ตามแนวคดิ พหปุ ัญญา 4.51 0.54 3.93 0.62 0.16 1
4.43 0.61 3.86 0.61
1. มีแนวคิดวา่ เด็กจะเรียนรไู้ ดด้ ี ตอ้ ง 4.36 0.65 3.84 0.64 0.15 2
ได้รับการพฒั นาพหปุ ัญญาท้งั 8 ด้าน 4.36 0.65 4.01 0.72
2. มคี วามเชือ่ ว่าสามารถพฒั นาปญั ญาแต่ 4.24 0.67 4.02 0.70 0.15 2
ละดา้ นของเดก็ ให้สงู ขน้ึ ได้
4.24 0.66 4.05 0.70 0.14 3
3. ตระหนกั ในจัดประสบการณส์ ่งเสริม 4.35 0.67 4.00 0.71
พหุปญั ญาในกจิ กรรมหลกั 6 กจิ กรรม 0.09 5
4. ตระหนักในออกแบบหน่วยการเรียนรู้ 4.35 0.65 3.93 0.67
และแผนการเรียนรู้ที่สง่ เสรมิ พหปุ ญั ญา 4.39 0.67 4.05 0.69 0.05 7
ให้เดก็ ในแต่ละดา้ นให้ไดม้ ากที่สุด
5. เห็นความสำคญั ในการเขา้ ร่วมอบรม 0.05 7
พัฒนาเรอื่ ง การส่งเสรมิ พหุปญั ญา 0.09 5
ทุกครงั้ ที่มีโอกาส
6. เห็นความสำคัญของการจัด 0.11 4
ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ตามแนวคิดพหุ 0.08 6
ปัญญา เหมาะสมกับวยั ความต้องการ
ความสนใจของเดก็
7. เหน็ ดว้ ยวา่ การจดั การเรยี นรู้ ตาม
แนวคิดพหปุ ัญญาทำใหค้ รูผู้สอนเข้าใจ
เด็กมากข้ึน
8. เห็นความสำคญั ของจดั ประสบการณ์
การเรียนรูต้ ามแนวคดิ พหุปญั ญา เพราะ
คิดวา่ จะสามารถคัดกรองความสามารถ

ของเดก็ ได้ และชว่ ยให้ครสู ามารถส่งเสริม
สตปิ ัญญาของเดก็ ได้อย่างถกู ตอ้ ง
9. มีความกระตอื รอื ร้นในการจดั
ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ตามแนวคิด
พหปุ ัญญา
10. มีความพึงพอใจเม่อื เห็นนักเรยี น
มีพฒั นาการสงู ขึ้นจากการส่งเสริม
พหปุ ัญญาในแตล่ ะดา้ น

193

วารสารการวจิ ยั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน

ปีท่ี 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

ตารางที่ 4 (ตอ่ )

สมรรถนะ สภาพที่ควรจะเป็น สภาพทเ่ี ป็นอยู่ PNImodified ลำดับ
การจดั ประสบการณ์ X S.D (I-D)/D
4.10 0.73
ตามแนวคดิ พหุปญั ญา X S.D 4.10 0.73

12. เกดิ ความภาคภูมใิ จในการพัฒนาเดก็ 4.22 0.71 3.98 0.68 0.03 8

ได้เตม็ ตามศักยภาพ

13. มคี วามเชื่อวา่ การจดั ประสบการณ์ 4.18 0.71 0.02 9

การเรียนรตู้ ามแนวคดิ พหปุ ัญญา สามารถ

พัฒนาการเด็กทง้ั 4 ด้าน

เฉลี่ย 4.43 0.65

*PNImodified > 0.30 = มคี วามต้องการจาเป็น

จากตารางที่ 4 ความต้องการจาเป็นในการส่งเสริมสมรรถนะการจัดประสบการณ์ ตามแนวคิด
พหปุ ญั ญา สาหรับครปู ฐมวยั สานักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 2 ดา้ นเจตคติ พบว่า
สมรรถนะการจดั ประสบการณต์ ามแนวคิดพหปุ ญั ญา ทเี่ ปน็ อยู่ อยู่ในระดับมาก (X = 3.98 , S.D. = 0.68)
และสมรรถนะการจัดประสบการณ์ ตามแนวคิดพหุปัญญา ที่ควรจะเป็น อยู่ในระดับมาก (X = 4.43 ,
S.D. = 0.65) และไม่มีความต้องการจาเป็นในการส่งเสริมสมรรถนะการจัดประสบการณ์ ตามแนวคิด
พหุปัญญา สาหรบั ครปู ฐมวยั สานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 2 ดา้ นเจตคติ

ตารางที่ 5 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความต้องการจาเป็นในการส่งเสริมสมรรถนะการจัดประสบการณ์
ตามแนวคิดพหุปญั ญา จาแนกตามเพศ และวฒุ ิการศกึ ษา

N X S.D df t P-Value

เพศ ชาย 2 1.22 0.35 94 1.331 .186
หญงิ 94 0.63 0.62

วฒุ ิการศกึ ษา ปรญิ ญาตรี 70 0.75 0.64 94 2.861 .005
ปรญิ ญาโท 26 0.35 0.49

จากตารางท่ี 5 การเปรยี บเทยี บความต้องการจาเปน็ ในการส่งเสริมสมรรถนะการจดั ประสบการณ์
ตามแนวคิดพหุปัญญา จาแนกตามเพศ เพศชาย (X = 1.22 , S.D. = 0.35) เพศหญิง (X = 0.63, S.D. = 0.62)
คา่ สถติ ิ t =1.331 ค่า P-Value = .186 แสดงวา่ ครปู ฐมวัยเพศชายและเพศหญงิ มีความต้องการจาเปน็ ใน

194

วารสารการวิจัยการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน

ปีท่ี 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

การส่งเสริมสมรรถนะการจัดประสบการณ์ ตามแนวคิดพหุปัญญา ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
ระดับ .05 และการเปรียบเทียบความต้องการจาเป็นในการส่งเสริมสมรรถนะการจัดประสบการณ์
ตามแนวคิดพหุปัญญา จาแนกตามวุฒิการศึกษา พบว่า ระดับปริญญาตรี (X = 0.75 , S.D. = 0.64)
ระดับปริญญาโท (X = 0.35 , S.D. = 0.49) ค่าสถิติ t =2.861 ค่า P-Value = .005 แสดงว่า ครูปฐมวยั
ทมี่ ีวฒุ ิการศกึ ษาระดบั ระดบั ปรญิ ญาตรีมคี วามต้องการจาเปน็ ในการส่งเสริมสมรรถนะการจัดประสบการณ์
ตามแนวคิดพหุปัญญา มากกว่าระดับปริญญาโท และครูที่มีวุฒิการศกึ ษาระดับปริญญาตรีและปริญญาโท
มีความต้องการจาเป็นในการส่งเสริมสมรรถนะการจัดประสบการณ์ ตามแนวคิดพหุปัญญาแตกต่างกัน
อย่างมนี ัยสาคัญทางสถิตริ ะดบั .05

อภปิ ราย และข้อเสนอแนะ

1. ความตอ้ งการจาเป็นในการสง่ เสริมสมรรถนะการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดพหุปัญญา สาหรับ
ครูปฐมวัย สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 พบว่า ครูมีความต้องการจาเป็น
ในการส่งเสริมสมรรถนะการจดั ประสบการณ์ตามแนวคิดพหปุ ัญญา สาหรับครูปฐมวัย สานักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 โดยภาพรวมพบว่า สมรรถนะการจัดประสบการณ์ตามแนวคิด
พหุปัญญา สภาพที่เป็นอยู่และสมรรถนะท่ีควรจะเป็น อยู่ในระดับมาก โดยสภาพที่ควรจะเป็นสูงกว่า
สภาพที่เป็นอยู่ สอดคล้องกับ สุธี ไทยเกิด (2563) ที่ได้ทาการศึกษา การประเมินความต้องการจาเป็น
ในการพัฒนาสมรรถนะของครูวิทยาลัยเทคนิคสุราษฎรธ์ านี เพอ่ื ส่งเสริมการจัดการเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21
พบวา่ ครมู ีสมรรถนะที่เปน็ อยู่ระดับมากและสมรรถนะทีค่ วรจะเป็นระดับมากเชน่ กนั โดยมีสมรรถนะท่ีควร
จะเป็นสูงกว่าสมรรถนะที่เป็นอยู่ และเมื่อพิจารณาผลการศึกษารายด้านพบว่า ครูมีความต้องการจาเปน็
ในการส่งเสริมสมรรถนะการจัดประสบการณ์ ตามแนวคิดพหุปัญญา ด้านทักษะ โดยเฉพาะจัดทาแผน
การจัดประสบการณ์ตามแนวคิดพหุปัญญา ครบองค์ประกอบของแผนการจัดประสบการณ์
และยังสอดคล้องกับ วิไลพร เมฆไตรรัตน์ (2555) ท่ีได้ศึกษา ผลการพัฒนารูปแบบการส่งเสริมสมรรถนะ
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามแนวคิดพหุปัญญาครูปฐมวัย โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ภาคเหนือตอนล่าง พบว่า ครูมีความต้องการจาเป็นในการส่งเสริมสมรรถนะการจัดประสบการณ์
ด้านความรู้ ทักษะและเจตคติ โดยมีสมรรถนะที่จาเป็นสูงกว่าสมรรถนะที่มีอยู่จริง และเมื่อพิจารณา
รายดา้ นพบว่าครูปฐมวยั สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 มคี วามต้องการจาเป็น
ในการส่งเสริมสมรรถนะการจัดประสบการณ์ ตามแนวคิดพหุปัญญา ด้านทักษะเป็นอันดับแรก รองลงมา
คือ ด้านความรู้ ส่วนด้านเจตคติมีความต้องการจาเป็นอันดับสุดท้าย สอดคล้องกับ ชยพล ธงภักดี
และจักรพงษ์ พร่องพรมราช (2564) ที่ได้ศึกษาความต้องการจาเป็นในการพัฒนาสมรรถนะการจัด
การเรยี นรู้ของครูในศตวรรษที่ 21 ในสถานศึกษาขน้ั พื้นฐาน จงั หวัดนครราชสีมา ภาพรวมของผลการจัด

195

วารสารการวจิ ยั การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน

ปที ่ี 2 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

เรียงลาดับความสาคัญของความต้องการจาเป็น พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความต้องการจาเป็นที่มีค่าสูงสุด
ซึ่งมีความสาคัญเปน็ ลาดับแรก คือ ด้านทักษะ ได้แก่ ความรู้ความสามารถแก้ปัญหาและพัฒนาการเรียนรู้
ของนักเรียนโดยใช้กระบวนการวิจัย ความรู้ความสามารถในการเลือกใช้เครื่องมือวัดและประเมินผล
อย่างหลากหลาย และสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้/ตัวชี้วัด มีความรู้ความสามารถในการสร้าง
บรรยากาศทางกายภาพและทางจิตใจเพ่อื ส่งเสรมิ การจัดการเรียนรใู้ ห้มีประสิทธิภาพ ตามลาดบั นอกจากนี้
ญาณภทั ร สหี ะมงคล (2564) ได้ศึกษาความต้องการการเสรมิ สรา้ งสมรรถนะครูด้านการวดั และประเมินผล
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 สาหรับสถานศึกษา สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
พบว่า ดัชนีความตอ้ งการจาเป็นในการเสริมสร้างสมรรถนะด้านทกั ษะมากท่ีสุด รองลงมา คือ ความรู้ และ
คุณลักษณะ ตามลาดบั และจันทมิ า จนั ทรประสาท และคณะ (2060) ศกึ ษาผลการประเมินความต้องการ
จาเป็นในการพัฒนาสมรรถนะด้านการวัดและประเมินผลการศึกษาของครูโรงเรียนสังกัดมูลนิธิ
แหง่ สภาครสิ ตจักรในประเทศไทย พบว่า สภาพทเี่ ป็นอยกู่ บั สภาพท่ีควรจะเป็นรวมทกุ ด้านมีค่าเท่ากับ .21
เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านทักษะมีค่าดัชนีลาดับความสาคัญของความต้องการจาเป็นสูงที่สุด
เป็นลาดับแรก รองลงมาเป็น ด้านความรู้ และด้านคุณลักษณะ ตามลาดับ ทั้งนี้จะเห็นได้ว่าครูปฐมวัย
สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 มีความตอ้ งการจาเป็นในการส่งเสริมสมรรถนะ
การจัดประสบการณ์ ตามแนวคิดพหุปัญญา อยู่ในระดับมาก โดยต้องการได้รับการส่งเสริมสมรรถนะ
ด้านทักษะมากที่สุด ซึ่งสามารถใช้เป็นข้อมูลสารสนเทศที่สาคัญนี้ ในการวางแผนการส่งเสริมสมรรถนะ
ให้กบั ครไู ดต้ รงตามความตอ้ งการได้อยา่ งมากท่สี ดุ

2. ผลการเปรียบเทียบความต้องการจาเป็นในการส่งเสริมสมรรถนะครูส่งเสริมสมรรถนะการจัด
ประสบการณต์ ามแนวคิดพหุปญั ญา สาหรบั ครปู ฐมวัย สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่
เขต 2 จาแนกตามเพศ พบว่า เพศชายและเพศหญิง ไม่มีความแตกต่างกันในความต้องการจาเป็น
สอดคล้องกับการศึกษาเพ่อื เปรยี บเทยี บระดับความตอ้ งการจาเปน็ ของนสิ ิตท่ีมีปัจจัยสว่ นบุคคลแตกต่างกัน
พบว่า เพศของนิสิตเปน็ ปัจจัยทไ่ี มส่ ่งผลตอ่ ความแตกต่างของระดับความตอ้ งการจาเปน็ ของนิสัย ส่วนปัจจยั
ที่ส่งผลต่อความจาเป็น ได้แก่ ภูมิลาเนา และสาขาวิชา ส่วนการเปรียบเทียบความต้องการจาเป็น
ในการส่งเสริมสมรรถนะการจัดประสบการณ์ ตามแนวคิดพหุปัญญา จาแนกตาม วุฒิการศึกษา พบว่า
ทั้ง 2 กลุ่มแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติระดับ .05 ซึ่งสอดคล้องกับ ศิริพร อาจปักษา และ ธีระศักดิ์
อุ่นอารมณ์เลิศ (2558) ได้ศึกษาความต้องการจาเป็นในการพัฒนาตนเองของครู สถานศึกษาสังกัด
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน จังหวัดราชบุรี พบว่า ครูที่จบการศึกษาในระดับปริญญาตรี
มีความตอ้ งการจาเป็นในการพัฒนาตนเองมากกว่าระดบั อ่ืน ๆ นอกจากน้ี จันทมิ า จนั ทรประสาท และคณะ
(2060) ได้ทาการเปรียบเทียบความต้องการจาเป็นในการพัฒนาสมรรถนะด้านการวัดและประเมินผล
ของครูโรงเรยี นสงั กัดมลู นธิ ิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย เมอ่ื จาแนกตามระดับการศึกษา พบว่า

196

วารสารการวิจัยการศึกษาขัน้ พื้นฐาน

ปที ่ี 2 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

ครูระดับปริญญาตรีมีความต้องการจาเป็นสูงสุด มากกว่าครูที่จบการศึกษาในระดับอื่น ๆ และยังมีความ
สอดคล้องกับหนึ่งฤทัย ไชยยา (2549) ที่ศึกษาการประเมินความต้องการจาเป็นของครู เพื่อส่งเสริม
และพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของเด็กพิเศษ ผลการเปรียบเทียบความต้องการจาเป็นของครูในการจัด
การเรียนรว่ มเพือ่ ส่งเสรมิ และพัฒนาศักยภาพเด็กพิเศษ จาแนกตามตัวแปรระดับการศึกษา พบว่า ครูที่มี
การศึกษาระดับปริญญาตรี มีความต้องการจาเป็นของครูจาแนกตามตัวแปรประสบการณ์การเรียนร่วม
มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 แสดงให้เห็นว่า ครูปฐมวัยในระดับปริญญาตรี
ควรไดร้ บั การสง่ เสริมสมรรถนะการจดั ประสบการณ์ ตามแนวคิดพหปุ ัญญามากกว่าปริญญาโท

ข้อเสนอแนะในการนาผลวิจยั ไปใช้
ควรนาผลการวิจัยไปศึกษาเพื่อพัฒนารูปแบบหรือวิธีการส่งเสริมสมรรถนะครูที่ส่งผลในการจัด

ประสบการณต์ ามแนวคดิ พหุปัญญา ไดต้ รงกับความต้องการ

ขอ้ เสนอแนะในการทาวิจยั คร้ังตอ่ ไป
1. ควรมีการศกึ ษาวิจัยเกย่ี วกบั การส่งเสรมิ สมรรถนะครูในระดับการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน
2. ควรมีการศึกษารูปแบบหรอื วิธกี ารสง่ เสรมิ สมรรถนะครูท่สี ง่ ผลในการจัดประสบการณ์

ตามแนวคดิ พหปุ ัญญา
3. ควรมีการศึกษาวิจัยเปรียบเทียบความต้องการจาเป็นในการส่งเสริมสมรรถนะการจัดประสบ การณ์

ตามแนวคิดพหปุ ญั ญา สาหรบั ครูในสงั กัดอ่นื ๆ
4. ควรมีการเพิ่มประเด็นคาถามหรือรายการประเมินในตอนที่ 2 เพื่อให้ผู้สนใจได้เห็นกรอบ

แบบสอบถาม

197

วารสารการวจิ ยั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน

ปที ่ี 2 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

เอกสารอ้างอิง

เกศรินทร์ ไกลบาป. (2554). การสารวจความตอ้ งการจาเปน็ ของนิสิตชน้ั ปีที่ 1 คณะวิทยาศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั บูรพา จังหวดั ชลบุร.ี (ออนไลน์). สืบค้นจาก http://www.lib.buu.ac.th/st/
ST0002591.pdf

จนั ทมิ า จันทรประสาท และคณะ. (2560). การประเมนิ ความต้องการจาเปน็ ในการพฒั นาสมรรถนะ
ด้านการวัดและประเมนิ ผลการศกึ ษาของครู โรงเรียนในสังกดั มูลนธิ แิ หง่ สภาคริสตจกั ร
ในประเทศไทย. Veridian E-Journal, Slipakorn University ฉบับภาษาไทย
สาขามนุษยศาสตรส์ งั คมศาสตรแ์ ละศิลปะ, 10(3), 1577-1595.

ชยพล ธงภักดี และ จักรพงษ์ พร่องพรมราช. (2564). รปู แบบการพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรยี นรู้ของครู
ในศตวรรษท่ี 21 สาหรบั สถานศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน จังหวดั นครราชสีมา. วารสารชมุ ชนวิจัย
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า, 15(4), 70-84.

ญาณภัทร สีหะมงคล. (2564). การพฒั นาโปรแกรมเสรมิ สร้างสมรรถนะครูด้านการวัดและประเมนิ ผล
การเรยี นรู้ ในศตวรรษท่ี 21 สาหรบั สถานศึกษา สงั กัดสถาบันการอาชวี ศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.
วารสารชมุ ชนวิจัย มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสมี า, 15(4), 169-181.

นลินี เวชการมา. (2556). การพัฒนากิจกรรมเสริมสร้างทักษะทางคณิตศาสตร์ ตามแนวทฤษฎีพหุปัญญา
ช้นั อนุบาลปที ี่ 2. (วิทยานพิ นธป์ รญิ ญาครุศาสตรมหาบัณฑติ ). มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสกลนคร.

วไิ ลพร เมฆไตรรตั น.์ (2555). การพฒั นารปู แบบการส่งเสริมสมรรถนะการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้
ตามแนวคดิ พหปุ ญั ญาสาหรบั ครูปฐมวยั โรงเรยี นสาธติ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ภาคเหนอื ตอนลา่ ง.
(วทิ ยานพิ นธด์ ษุ ฎีบัณฑติ ). มหาวิทยาลัยราชภฏั นครสวรรค.์

ศิรพร อาจปกั ษา และธรี ะศกั ดิ์ อนุ่ อารมณ์เลิศ. (2558). การประเมนิ ความต้องการจาเป็นในการพฒั นา
ตนเองของครู สถานศกึ ษาสังกดั สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จงั หวัดราชบุร.ี
Veridian E-Journal, Slipakorn University ฉบบั ภาษาไทย สาขามนษุ ยศาสตร์
สังคมศาสตร์และศลิ ปะ, 8(2), 1251-1264.

สธุ ี ไทยเกดิ . (2563). การประเมินความตอ้ งการจาเปน็ ในการพัฒนาสมรรถนะของครวู ทิ ยาลยั เทคนคิ
สุราษฎร์ธานี เพ่อื ส่งเสริมการจดั การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21. วารสารวิชาการสถานบนั
การอาชีวศกึ ษา, 5(2), 14-25.

สุวิมล ว่องวานชิ . (2558). การวจิ ยั ประเมนิ ความต้องการจาเปน็ . พมิ พ์คร้งั ท่ี 3. กรุงเทพมหานคร:
สานกั พมิ พแ์ หง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

198

วารสารการวจิ ัยการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน

ปีท่ี 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 2. (2562). รายงานผลการประเมินพฒั นาการ
นักเรียนทจี่ บหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศักราช 2560 ปีการศกึ ษา 2561. เชียงใหม:่
สานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 2.

สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2560). หลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช 2560.
กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พช์ มุ นุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จากัด.

______. (2562). รายงานผลการประเมินพัฒนาการนกั เรยี นทจี่ บหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย
พทุ ธศักราช 2560 ปีการศึกษา 2561. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พ์อักษรไทย.

หนึ่งฤทัย ไชยยา. (2549). การประเมินความต้องการจาเป็นของครูเพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ
การเรียนรู้ของเด็กพิเศษ ในโรงเรียนที่จัดการเรียนร่วม. (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร
มหาบณั ฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Gardner, H. (1999). Intelligence reframed: Muitiple intelligences for the 21st century.
New York: Simon and Schuster.

Kornhaber, M.L. (2001). ‘Howard Gardner’ in J.A.Palmer (ed.) Fifty modern thinkers on
education from Piaget to the present. London: Rout Ledge.

199

วารสารการวิจยั การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน

ปีที่ 2 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

รายชื่อผู้ทรงคณุ วฒุ ปิ ระเมินบทความวิจยั (Peer Review)

ปที ่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

1. รองศาสตราจารย์ ดร.เกตุมณี มากมี คณะสงั คมศาสตร์และศิลปศาสตร์

มหาวทิ ยาลยั นอร์ท เชียงใหม่

2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชวลิต เกดิ ทิพย์ ภาควชิ าการบรหิ ารการศึกษา

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์

3. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ไพรัช ส่แู สนสขุ ขา้ ราชการบานาญ วิทยาลัยการฝึกหัดครู

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

4. ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.ร่งุ ทิวา จันทนว์ ฒั นวงษ์ คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั อุดรธานี

5. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศริ ิรัตน์ เพ็ชร์แสงศรี ภาควชิ าครุศาสตร์อตุ สาหกรรม

คณะครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรมและเทคโนโลยี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบงั

6. ดร.มณเฑียร ชมดอกไม้ คณะศึกษาศาสตร์ วทิ ยาลยั นานาชาตเิ ซนตเ์ ทเรซา

7. ดร.ศรีสมร พุ่มสะอาด คณะศึกษาศาสตร์ วิทยาลยั ครสู รุ ยิ เทพ

มหาวทิ ยาลยั รงั สติ

8. ดร.อมรทิพย์ เจรญิ ผล คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชธานี

วทิ ยาเขตอดุ รธานี

9. นางสาวรัตนทพิ ย์ เอ้ือชัยสิทธิ์ ข้าราชการบานาญ (ศึกษานิเทศกเ์ ชย่ี วชาญ)

10. นางเปรมจติ ชมชืน่ ข้าราชการบานาญ (ศึกษานเิ ทศกช์ านาญการพเิ ศษ)

200

วารสารการวิจัยการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
ปีที่ 2 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

คณะจัดทำวำรสำรกำรวิจัยกำรศกึ ษำข้ันพื้นฐำน

ปที ่ี 2 ฉบับท่ี 2 (กรกฎำคม – ธนั วำคม 2565)

ทปี่ รึกษำ
นายภูธร จันทะหงษ์ ปณุ ยจรสั ธารง ผู้อานวยการสานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศกึ ษา

สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน

นางอรนชุ มั่งมสี ขุ ศริ ิ ผเู้ ช่ียวชาญด้านพัฒนานวตั กรรมการเรยี นรู้

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

บรรณำธกิ ำรตน้ ฉบับ ผอู้ านวยการกลมุ่ วิจัยและส่งเสรมิ การวจิ ัยทางการศกึ ษา
นางสาวดุจดาว ทิพย์มาตย์ สานักพัฒนานวัตกรรมการจดั การศกึ ษา
นางสาวกัญญาพร ไทรชมภู สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
นางสาวสวุ รรณา กล่ินนาค นกั วชิ าการศึกษาชานาญการ
นางสาวสุนิศา หวงั พระธรรม สานกั พฒั นานวัตกรรมการจัดการศกึ ษา
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน
นักวิชาการศึกษาชานาญการ
สานักพฒั นานวัตกรรมการจดั การศกึ ษา
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน
นกั วชิ าการศกึ ษาชานาญการ

นายพนู ลาภ มากบญุ สานักพฒั นานวัตกรรมการจดั การศกึ ษา
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน
นักวชิ าการศกึ ษาปฏบิ ัติการ

ดแู ลระบบวำรสำร สานักพฒั นานวตั กรรมการจดั การศึกษา
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน

นายเจียมพล บญุ ประคม ศกึ ษานเิ ทศกช์ านาญการพเิ ศษ

นายภาณุวัชร ปรุ ณะศริ ิ สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาหนองบัวลาภู เขต 2
นางปารชิ าติ ปติ พิ ฒั น์ ศึกษานเิ ทศก์ชำนาญการพเิ ศษ
นายพรชัย ถาวรนาน สำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษามัธยมศึกษาบรุ รี ัมย์
ศกึ ษานเิ ทศกช์ านาญการพิเศษ
สานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาหนองบัวลาภู เขต 2
นกั วชิ าการศึกษาชานาญการ
สานักพัฒนานวตั กรรมการจัดการศกึ ษา
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน

201

วารสารการวิจัยการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน
ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

ออกแบบปก ศึกษานิเทศกช์ ำนาญการพิเศษ
นายภาณุวชั ร ปุรณะศิริ สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษาบรุ รี มั ย์

จัดรูปแบบวำรสำร นกั วิชาการศกึ ษาชานาญการ
นางสาวกญั ญาพร ไทรชมภู สานกั พัฒนานวัตกรรมการจดั การศกึ ษา
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน
นางสาวสนุ ศิ า หวงั พระธรรม นกั วิชาการศึกษาชานาญการ
สานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศกึ ษา
นายพุฒิพงศ์ ทรัพย์สมบัติ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน
สานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศกึ ษา
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน

202


Click to View FlipBook Version