The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฏาคม-ธันวาคม 2565): วารสารการวิจัยการศึกษาขั้นพื้นฐาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by avelinox101, 2023-01-04 04:01:52

ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฏาคม-ธันวาคม 2565): วารสารการวิจัยการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฏาคม-ธันวาคม 2565): วารสารการวิจัยการศึกษาขั้นพื้นฐาน

วารสารการวจิ ัยการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน

ปีที่ 2 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

ด้วยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 มาตรา 258 จ โดยสรุปได้บัญญัติให้มี
การดาเนินการปฏิรูปประเทศดา้ นการศกึ ษา ครอบคลุมให้เดก็ เล็กไดร้ ับการดูแลและพัฒนากอ่ นเข้ารับการศึกษา
เพื่อให้เด็กเล็กได้รับการพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาให้สมกับวัย โดยไม่เก็บ
ค่าใช้จ่าย ให้ดาเนินการตรากฎหมายเพื่อจัดตั้งกองทุนเพื่อลดความเหลื่อมล้าทางการศึกษาให้มีกลไก
และระบบการผลิตคัดกรองและพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพครูและอาจารย์ให้ได้ผู้มีจิตวิญญาณของความเป็นครู
มีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง ได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสมกับความสามารถและประสิทธิภาพ
ในการสอน รวมทั้งมีกลไกสร้างระบบคุณธรรมในการบริหารงานบุคคลของผู้ประกอบวิชาชีพครูให้มี
การปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนทุกระดับ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามความถนัดและปรับปรงุ
โครงสรา้ งของหน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ งเพื่อบรรลุเป้าหมายดังกล่าว โดยสอดคล้องกันท้ังในระดบั ชาติและระดับพื้นท่ี
(รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2560, 2560: 79–80)

การพัฒนาเดก็ ปฐมวยั มีแนวทางที่ชัดเจนในการจัดประสบการณก์ ารเรียนรบู้ ูรณาการวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ให้กับเด็กปฐมวัยได้อย่างมีคุณภาพ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัย
ให้เป็นไปตามวัยทั้งด้านร่างกาย ด้านอารมณ์และจิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา ตลอดจนเป็นการปู
พื้นฐานทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ทักษะการคิดและแก้ปัญหา ปลูกฝังเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้
และการใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและคณิตศาสตร์ ในชีวิตประจาวนั อย่างสร้างสรรค์ และส่งเสริมให้เดก็
มีความรู้ความเข้าใจและทักษะพื้นฐานเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและคณิตศาสตร์ เพื่อนามาใช้ใน
การดูแลตนเองและสิ่งแวดล้อม รวมถึงสามารถใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสมปลอดภัยตามวัย ซึ่งเป็น
การวางรากฐานให้เด็กเติบโตขึ้นเป็นพลเมืองที่สร้างสรรค์ และเป็นนักสร้างนวัตกรรมต่อไปในอนาคต
(สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี, 2563: คานา) ดังนั้น การเรียนคณิตศาสตร์สาหรบั
เดก็ ปฐมวัยจึงเป็นการฝึกเหตุผลทางคณิตศาสตร์ ดว้ ยการเรียนเกี่ยวกับสัญลักษณ์ตัวเลข จานวน การอ่านค่า
การนับ การบวก และการบอกเหตุผล โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ต้องสอดคล้องกับวัยและพัฒนาการ
ของเด็ก เด็กได้ลงมือปฏิบัติ ได้คิด บรรยากาศการเรียนการสอนต้องไม่เคร่งเครียด กิจกรรมได้รับการวางแผน
อย่างดี ครมู ีปฏิสัมพนั ธ์กับเดก็ และสรา้ งความคุน้ เคยกับตัวเลข (กลุ ยา ตนั ติผลาชวี ะ, 2555: 165)

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ได้กาหนดประสบการณส์ าคญั ที่สง่ เสริมพัฒนาการ
ด้านสติปัญญาให้เด็กปฐมวัยได้รับรู้เรียนรู้สิ่งต่าง ๆ รอบตัวผ่านการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม บุคคล
และสื่อต่าง ๆ ด้วยกระบวนการเรียนรูท้ ีห่ ลากหลาย เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กพฒั นาการใชภ้ าษา จินตนาการ
ความคิดสร้างสรรค์ การแก้ปัญหา การคิดเชิงเหตุผล การคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ รอบตัว และมีความคิด
รวบยอดทางคณิตศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานของการเรียนรู้ต่อไป (สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, 2560: 38)
ซึ่งสอดคล้องกับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มุ่งหวังให้เด็กทุกคนได้เตรียม
ความพร้อมดา้ นต่าง ๆ คณติ ศาสตร์เป็นการศกึ ษาทาความเขา้ ใจเพือ่ อธิบายและแก้ปญั หาเก่ยี วกับ

143

วารสารการวจิ ัยการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน

ปที ี่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

โครงสร้าง (Structure) ลาดับ (Order) และความสัมพันธ์ (Relation) ของสิ่งต่าง ๆ ในเชิงจานวน
แบบรูปการวัดเรขาคณิต และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้ทักษะและกระบวนในการแก้ปัญหา
การสื่อสารและการสื่อความหมาย การเชื่อมโยง การให้เหตุผล และการคิดสร้างสรรค์ ธรรมชาติของ
คณิตศาสตร์มีลักษณะเป็นนามธรรม มีความถูกต้องเที่ยงตรง คงเส้นคงวา มีระเบียบแบบแผน เป็นเหตุเป็นผล
และมีความสมบูรณ์ในตัวเอง เป็นภาษาสากลที่ทุกคนเข้าใจตรงกันในการสื่อสาร สื่อความหมายและ
ถา่ ยทอดความรูร้ ะหวา่ งศาสตรต์ า่ ง ๆ เป็นท้ังศาสตรแ์ ละศลิ ป์ทเี่ กี่ยวกับแบบรูปและความสัมพนั ธ์ เพ่ือให้ได้
ข้อสรุปและนาไปใช้ประโยชน์ ความรู้เชิงคณิตศาสตร์มีลักษณะเหมือนบันไดเวียน มีความต่อเนื่องกัน
มีลาดับความยากง่ายที่เป็นพ้ืนฐานในการเรียนรู้ขั้นต่อ ๆ ไป ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีพื้นฐานที่เพียงพอสาหรบั
การเรียนรู้ในเรื่องนั้น ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์เป็นความสามารถที่จะนาความรู้ไปประยุกต์ใช้
ในการเรยี นรสู้ ง่ิ ต่าง ๆ เพื่อให้ไดม้ าซ่งึ ความรแู้ ละนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวนั ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ได้แก่ การใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาอย่างง่ายในชีวิตประจาวันด้วยตนเอง การให้เหตุผล
ประกอบการตัดสินใจและสรุปผลในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตรอ์ ย่างง่าย ๆ การใชภ้ าษาและสัญลักษณ์
ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนาเสนอเพือ่ ถ่ายทอดความคิดทางคณิตศาสตร์
ของตนเองให้ผู้อื่นเข้าใจด้วยวิธีต่าง ๆ การเชื่อมโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์ไปใช้ในชีวิตประจาวันและ
เชื่อมโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์ในการเรียนรู้เรื่องอื่น ๆ รวมไปถึงการคิดสร้างสรรค์ในการขยายแนวคิด
หรือสรา้ งแนวคดิ ใหมเ่ พอื่ ปรบั ปรุง พัฒนาความรู้ การเรยี นรู้คณิตศาสตรจ์ งึ มเี ป้าหมายเพือ่ สง่ เสรมิ ให้ผู้เรียน
ได้พัฒนาความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ ความรู้สึกเชิงจานวนควบคู่ไปกับการพัฒนาทักษะและ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์ผ่านกระบวนการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติกับสื่อที่เป็นรูปธรรมและ
การแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผลเป็นระบบ
สามารถประยุกต์ใช้คณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาและใช้ในชีวิตประจาวันได้ (สถาบันส่งเสริมการสอน
วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี, 2563: 50)

เกมการศึกษา เปน็ เกมการเล่นที่ชว่ ยพฒั นาสตปิ ญั ญา ช่วยสง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ เกดิ การเรียนรูเปน็ พนื้ ฐาน
การศึกษา รูจักสังเกต คิดหาเหตุผล และเกิดความคิดรวบยอด เกี่ยวกับสี รูปร่าง จานวน ประเภท
และความสัมพนั ธ์เกีย่ วกับพื้นท่ี ระยะ มีกฎเกณฑ์กติกาง่าย ๆ เด็กสามารถเลน่ คนเดียวหรอื เล่นเป็นกลุ่มได้
(สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, 2561: 79) ดังที่ทิศนา แขมมณี (2555: 365-369) ที่กล่าวว่า
การสอนโดยใช้เกมเปน็ วิธกี ารทีช่ ว่ ยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างสนุกสนานและทา้ ทายความสามารถ โดยผู้เรียน
เปน็ ผ้เู ลน่ เอง ทาใหไ้ ดร้ บั ประสบการณ์ตรง เปน็ วิธกี ารทเี่ ปดิ โอกาสให้ผู้เรยี นมีส่วนรว่ มสงู เกดิ การเรยี นรู้จาก
การเล่น ทาให้การเรียนรู้นั้นมีความหมายและอยู่คงทน ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของกนกพิชญ์ ศรีสวัสด์ิ
(2555: 84) ไดท้ าวจิ ยั เร่ือง การพฒั นากจิ กรรมเกมการศึกษาด้านการเรียงลาดบั เพ่อื ส่งเสริมทักษะพ้ืนฐาน
ทางคณติ ศาสตรข์ องเดก็ ปฐมวัย ผลการทดลอง พบวา่ นกั เรยี นทเี่ รียนรดู้ ้วยแผนการจัดกิจกรรมเกมการศกึ ษา

144

วารสารการวจิ ยั การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน

ปีท่ี 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

ด้านการเรียงลาดับ มีคะแนนเฉลี่ยหลังการเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
การจดั ประสบการณโ์ ดยใช้เกมการศกึ ษาอาจให้เด็กเลน่ เปน็ กลุ่ม หรอื เล่นรายบคุ คล การเล่นเป็นกลุ่มทาให้
เด็กมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เด็กเก่งสามารถช่วยเหลือเด็กที่อ่อนให้สามารถเล่นเกมได้
การเล่นเกมการศึกษาเป็นสิ่งที่ช่วยให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรงจากการเล่นเกมซ้า ๆ เด็กจะรู้จักสังเกต
เปรียบเทียบ จานวน รูปทรง ประเภท และการคิดหาเหตุผล (เยาวรัตน์ ทัศเกตุ, 2541: 30) ดังท่ี
สุณี บุญพิทักษ์ (2557: 276-277) กล่าวว่า เกมการศึกษาเปน็ สื่ออุปกรณ์ช่วยสอน ทาให้เด็กได้พัฒนาการ
คิดหาเหตุผล การสังเกต การประสานสัมพันธ์ระหว่างมือกับตา การทบทวนเนื้อหาที่ได้เรียนรู้จากหน่วย
การเรียน และทักษะพื้นฐานสาคัญต่าง ๆ ซึ่งถือว่าเป็นกิจกรรมที่ฝึกเตรียมความพร้อมสนองตอบต่อ
พฒั นาการตามวัย

จากเหตุผลและความสาคัญดังที่กล่าวมาข้างต้น ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะนากิจกรรม
เกมการศกึ ษามาเป็นเคร่ืองมอื ในการสง่ เสริมทักษะพนื้ ฐานทางคณติ ศาสตร์ ดา้ นการจบั คู่ การจัดหมวดหมู่
การเปรียบเทียบ และการเรียงลาดับของเด็กปฐมวัย ซึ่งจะสร้างความแปลกใหม่ในการเรียนรู้ สนุกสนาน
เพลิดเพลิน เด็กปฐมวัยเกิดการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง เพื่อส่งเสริมความรู้และทักษะพื้นฐาน
ทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย โดยยึดประสบการณ์สาคัญด้านสติปัญญา ซึ่งกาหนดไว้ในหลักสูตร
การศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ได้แก่ การสังเกตการจับคู่ การจาแนก การเปรียบเทียบ
และการเรียงลาดับ เพอ่ื ให้เด็กปฐมวัยมีความสามารถทางคณิตศาสตร์ทีด่ ีย่ิงขึน้ และสามารถนาความรู้ท่ีได้
ไปใช้ในชีวติ ประจาวัน และเป็นพืน้ ฐานสาคญั ในการศึกษาวิชาคณิตศาสตร์ในระดับทีส่ งู ขึ้นต่อไป

วัตถุประสงคก์ ารวิจยั
1. เพอ่ื พัฒนาเกมการศึกษา สาหรบั เด็กปฐมวยั ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80
2. เพอ่ื ศกึ ษาค่าดัชนีประสทิ ธผิ ลการเรยี นรดู้ ว้ ยเกมการศึกษา
3. เพอ่ื เปรยี บเทยี บทักษะพนื้ ฐานทางคณิตศาสตร์ของเดก็ ปฐมวยั ก่อนและหลังการจดั กจิ กรรม

เกมการศึกษา

กรอบแนวคดิ การวิจยั
จากการศกึ ษาเอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วขอ้ ง พบว่า การจัดประสบการณ์การเรยี นรทู้ ่เี ด็กได้ลงมือ

กระทา และได้สัมผสั กับประสบการณ์จริง โดยผา่ นกิจกรรมที่จงู ใจทาใหเ้ ด็กเกิดการเรยี นรู้และมีเจตคติท่ีดี
มีความเชื่อมั่น กระตือรือร้นต่อการเรียน สามารถนาความรู้ไปใช้ได้อย่างต่อเนื่อง (กุลยา ตันติผลาชีวะ,
2555: 52) ซึ่งสอดคล้องกับ วไลพร เมฆไตรรัตน์ (2549: 186) กล่าวว่า การจัดประสบการณ์ให้เด็กได้รับ
ประสบการณ์ตรงจากการเล่น การลงมือปฏบิ ตั ิ จะทาให้เดก็ เกดิ การเรียนรทู้ ่ีดี

145

วารสารการวจิ ัยการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน

ปที ี่ 2 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

การพฒั นาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรผ์ ่านกระบวนการเรียนรดู้ ว้ ยการลงมอื ปฏิบัติกับสื่อ
ที่เป็นรูปธรรมและการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล
เปน็ ระบบสามารถประยุกต์ใชค้ ณิตศาสตร์ในการแก้ปญั หาและใช้ในชีวิตประจาวนั ได้ (สถาบนั ส่งเสรมิ การสอน
วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี, 2563: 50) ซึ่งสอดคล้องกับ กุลยา ตันติผลาชีวะ (2555: 165) การเรียนคณิตศาสตร์
สาหรับเด็กปฐมวัย จึงเป็นการฝึกเหตุผลทางคณิตศาสตร์ ด้วยการเรียนเกี่ยวกับสัญลักษณ์ตัวเลข จานวน
การอา่ นค่า การนับ การบวก และการบอกเหตุผล โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ต้องสอดคล้องกับวยั และพัฒนาการ
ของเดก็ เดก็ ไดล้ งมือปฏิบตั ิ ไดค้ ดิ บรรยากาศการเรียนการสอนต้องไมเ่ คร่งเครียด กจิ กรรมได้รับการวางแผน
อยา่ งดี ครมู ีปฏิสมั พันธก์ ับเด็ก และสรา้ งความค้นุ เคยกับตวั เลข

เกมการศึกษา เป็นเกมการเล่นที่ช่วยพัฒนาสติปัญญา ช่วยส่งเสริมให้เด็กเกดิ การเรยี นรู้เปน็ พื้นฐาน
การศึกษา รูจักสังเกต คิดหาเหตุผล และเกิดความคิดรวบยอด เกี่ยวกับสี รูปร่าง จานวน ประเภท
และความสัมพันธ์เกี่ยวกับพื้นที่ ระยะ มีกฎเกณฑ์กติกาง่าย ๆ เด็กสามารถเล่นคนเดียวหรือเล่นเป็นกลุ่มได้
(สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, 2561: 79) ซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทก่ี ล่าวว่า ควรให้เด็กเรียนรผู้ ่านการสัมผัส สารวจ ทดลอง และลงมือกระทาต่อวัตถุดว้ ยตนเอง

ด้วยเหตุผลดังกล่าว ทาให้ผู้วิจัยนาเกมการศึกษา มาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาทักษะพื้นฐานทาง
คณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย ให้เด็กได้ลงมือกระทากับวัตถุของจริงที่หลากหลายและเหมาะสม กับวัย
จากท่ีกล่าวมาข้างต้น สามารถกาหนดเป็นกรอบแนวคิดการวจิ ยั ดังแผนภาพที่ 1

หลักการและแนวคิด ตัวแปรต้น
1. การพฒั นาทักษะและกระบวนการทาง การจดั กิจกรรมเกมการศึกษา
คณิตศาสตรผ์ ่านกระบวนการเรยี นรู้ด้วย 1. ขน้ั นา
การลงมือปฏบิ ตั ิกบั ส่อื ทีเ่ ป็นรูปธรรม 2. ขน้ั ดาเนนิ กิจกรรม
และการแก้ปัญหาในสถานการณ์ตา่ ง ๆ 3. ขน้ั สรุป
2. เกมการศึกษา เป็นเกมการเล่นทชี่ ่วยพฒั นา
สติปัญญา ช่วยส่งเสริมใหเดก็ เกิดการเรียนรู้ ตวั แปรตาม
เป็นพืน้ ฐานการศึกษา รู้จักสังเกต คิดหาเหตุผล ทักษะพื้นฐานทางคณติ ศาสตร์
และเกิดความคิดรวบยอด 1. ทักษะการจับคู่
3. ทฤษฎพี ัฒนาการทางสติปญั ญาของเพียเจต์ 2. ทักษะการจดั หมวดหมู่
ใหเ้ ดก็ เรยี นรู้ผ่านการสัมผัส สารวจ ทดลอง และ 3. ทกั ษะการเปรียบเทยี บ
ลงมอื กระทาต่อวตั ถดุ ว้ ยตนเอง 4. ทักษะการเรียงลาดับ

ภาพท่ี 1 แสดงกรอบแนวคิดการวจิ ยั

146

วารสารการวจิ ยั การศึกษาขัน้ พื้นฐาน

ปีท่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

ประชากรและกลมุ่ เป้าหมาย
1. กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ เด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีท่ี 3 โรงเรียนบ้านหนองสระพังโนนสะอาด

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จานวน 12 คน
ไดม้ าโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selecting)

เครือ่ งมือวจิ ยั
เครอื่ งมือทใ่ี ช้ในการวจิ ยั ครั้งนปี้ ระกอบด้วย
1. เกมการศึกษาเป็นเกมการเล่นที่ช่วยพัฒนาสติปัญญา ช่วยส่งเสริมให้เด็กเกิดการเรียนรู้

เป็นพ้นื ฐานการศึกษา เช่น เกมการจับคู่ เกมการจดั หมวดหมู่ เกมการเปรยี บเทยี บ และเกมการเรียงลาดับ
2. แผนการจัดประสบการณ์เกมการศึกษา สาหรับเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 3 จานวน 16 แผน

แผนละ 20 นาที ประกอบด้วย 4 หน่วยการจัดการเรียนรู้ ได้แก่ หน่วยที่ 1 หน่วยสัตว์น้า หน่วยที่ 2 หน่วย
แมลงตวั น้อย หน่วยท่ี 3 หน่วยไข่ ไข่ ไข่ และหน่วยที่ 4 หน่วยคณติ ศาสตร์นา่ รู้

3. แบบประเมินวัดทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ สาหรับเด็กปฐมวัยชัน้ อนุบาลปีท่ี 3 เป็นข้อสอบ
แบบปรนยั ชนิดเลือกตอบ 3 ตวั เลอื ก 4 ด้าน ด้านละ 5 ข้อ รวมทงั้ จานวน 20 ขอ้ ซง่ึ มีขั้นตอนการสร้าง ดงั น้ี

3.1 ศกึ ษาเอกสาร ตารา งานวิจยั ทเี่ กีย่ วข้อง โดยศกึ ษาวธิ กี ารสร้างแบบประเมินและวิธีการ
ตรวจสอบหาคณุ ภาพของแบบประเมิน (บุญชม ศรสี ะอาด, 2560)

3.2 นาข้อมูลที่ได้จากการศึกษาเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาสร้างแบบประเมินวัดทักษะ
พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ ด้วยการจัดกิจกรรมเกมการศึกษา สาหรับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3 แบบปรนัยชนดิ
เลอื กตอบ 3 ตวั เลอื ก

3.3 วเิ คราะหเ์ นอ้ื หาและหาผลการเรยี นร้ทู ่ีคาดหวัง เพอ่ื นามาสร้างแบบประเมินวัดทักษะ
พ้ืนฐานทางคณิตศาสตรด์ ้วยการจัดกิจกรรมเกมการศึกษา สาหรับนกั เรยี นชนั้ อนบุ าลปีที่ 3

3.4 สร้างแบบประเมินวัดทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ แบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ
3 ตัวเลือก โดยใหค้ รอบคลมุ เนือ้ หา และผลการเรยี นรู้ที่คาดหวัง จานวน 20 ขอ้ ซ่ึงประกอบดว้ ยแบบวัดทักษะ
การจับคู่ จานวน 5 ข้อ แบบวัดทักษะการจัดหมวดหมู่ จานวน 5 ข้อ แบบวัดทักษะการเปรียบเทียบ จานวน 5 ข้อ
และแบบวัดทกั ษะการเรียงลาดบั จานวน 5 ขอ้

3.5 นาแบบประเมินวัดทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ ไปให้ผู้เชี่ยวชาญ เพื่อประเมิน
ความสอดคลอ้ งระหว่างขอ้ สอบ รายขอ้ กบั จุดประสงค์การเรียนรู้ โดยกาหนดเกณฑใ์ หค้ ะแนน ดังน้ี

+1 เม่อื แนใ่ จวา่ ข้อสอบสอดคล้องกบั จดุ ประสงค์การเรียนรู้
0 เมอื่ ไม่แนใ่ จว่าขอ้ สอบสอดคล้องกบั จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
- 1 เม่ือแน่ใจว่าขอ้ สอบไม่สอดคลอ้ งกับจุดประสงค์การเรียนรู้

147

วารสารการวจิ ยั การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน

ปที ่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

คานวณค่า IOC (Index of Item-Objective Congruence) ของข้อสอบรายข้อแล้วคัดเลือกขอ้ สอบ
ทีม่ ีคา่ IOC ตง้ั แต่ 0.60 ถงึ 1.00 เพ่ือนาไปทดลองใชห้ าค่าอานาจจาแนก ค่าความยากงา่ ยและค่าความเชื่อมั่น
ของแบบประเมินวัด โดยแบบประเมินวัดทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ จานวน 20 ข้อ มีค่า IOC ระหว่าง
0.80 – 1.00

3.6 นาแบบประเมินวัดทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ ที่ผ่านการตรวจจากผู้เชี่ยวชาญ
และปรับปรงุ แก้ไขแลว้ นาไปทดลองใช้ (Try out) กับเด็กปฐมวยั ทไี่ ม่ใชก่ ลุ่มตัวอย่าง

3.7 จัดพมิ พ์แบบประเมนิ วัดทกั ษะพืน้ ฐานทางคณิตศาสตร์ ทีผ่ า่ นการตรวจสอบคณุ ภาพแล้ว
จานวน 20 ข้อ และคู่มือประกอบการใช้แบบประเมินวัดทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
ซึ่งประกอบด้วย คาชี้แจง คาแนะนาในการใช้แบบประเมินวัด การเตรียมตัวก่อนสอบ คาสั่ง เวลาที่ใช้ในการสอบ
เพอ่ื นาไปใช้ในการประเมินวดั จรงิ กบั กลุ่มตัวอยา่ งตอ่ ไป

การเกบ็ รวบรวมข้อมลู

ผู้วิจัยได้ดาเนินการเก็บรวบรวมขอ้ มูลดว้ ยตนเองกบั เดก็ ปฐมวัยชั้นอนุบาลปีท่ี 3 โรงเรยี นบา้ นหนอง
สระพังโนนสะอาด สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 3 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา
2564 กล่มุ เป้าหมายในการวิจัยครัง้ น้ี จานวน 12 คน โดยดาเนินการตามขน้ั ตอน ดังนี้

1. ประเมินวัดทกั ษะกอ่ นเรยี น (Pretest) กบั เด็กปฐมวัยกลุ่มเปา้ หมาย โดยใช้แบบประเมนิ วัดทักษะ
พืน้ ฐานทางคณิตศาสตรท์ ่ผี ูว้ ิจัยสรา้ งขึน้ จานวน 20 ข้อ

2. จดั กจิ กรรมตามแผนการจดั จัดประสบการณ์กจิ กรรมเกมการศกึ ษา เพอ่ื พฒั นาทักษะพน้ื ฐานทาง
คณติ ศาสตรก์ ับกลุม่ เป้าหมายตามลาดบั แผนจนครบทง้ั 16 แผน แผนละ 20 นาที จานวน 16 วัน ในวนั อังคาร
และวันพุธ วันพฤหัสบดีและวันศุกร์ เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้
เมอื่ สนิ้ สดุ กจิ กรรมแต่ละแผน

3. ในแต่ละวันทีจ่ ดั ประสบการณ์ ผวู้ จิ ยั ไดด้ าเนนิ การหาประสทิ ธิภาพของแผนการจัดกจิ กรรมโดยหา
จากคะแนนเฉล่ียของการประเมนิ พฤติกรรมระหว่างเรยี นมาคานวณหาค่าร้อยละ (E1) เปรยี บเทียบกับคะแนน
เฉลี่ยร้อยละจากการทาแบบประเมนิ วัดทักษะหลงั เรียน (E2) โดยนามาเปรียบเทียบกันในรปู แบบ E1 / E2

4. ประเมินวดั ทกั ษะหลังเรยี น (Posttest) กบั นักเรียนกลุม่ เป้าหมายหลังสิ้นสุดการทดลอง ผู้วิจัยใช้
แบบประเมินวัดทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ฉบับเดิม ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น จานวน 20 ข้อ ประกอบด้วย
ด้านจับคู่ จานวน 5 ข้อ ด้านจัดหมวดหมู่ จานวน 5 ข้อ ด้านเรียงลาดับ จานวน 5 ข้อ และด้านเปรียบเทียบ
จานวน 5 ขอ้ ประเมินเดก็ ปฐมวัยกลุ่มเปา้ หมายอกี ครั้ง

5. นาคะแนนที่ได้จากการประเมินวัดไปทาการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการทางสถิติ t-test
(dependent Samples)

148

วารสารการวิจัยการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน

ปีท่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

การวิเคราะห์ขอ้ มูล
การวจิ ัยคร้งั น้ี ผูว้ จิ ยั ได้ดาเนินการวิเคราะหข์ ้อมูล ดังนี้
1. วิเคราะห์ค่าประสิทธิภาพของเกมการศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของ

เด็กปฐมวัย โดยใช้ (IOC Index of Consistency) หาความสอดคล้องของแผนการจัดประสบการณ์
และจุดประสงค์ของแผนการจัดประสบการณ์และประสิทธภิ าพของส่อื การสอนโดยใช้สูตรการหาคา่ E1 / E2

2. วิเคราะห์ค่าดัชนีประสิทธิผลของแผนการจัดเกมการศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐานทาง
คณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย (E.I.: The effectiveness index) โดยวิเคราะห์คะแนนก่อนจัดกิจกรรมและ
หลงั จดั กจิ กรรมเมือ่ เทียบกบั คะแนนเต็มตามวธิ ขี อง (Goodman and Schnider) มคี า่ เท่ากับ 0.7009 คิดเป็น
ร้อยละ 70.09

3. เปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการจัดกิจกรรม
เกมการศึกษา

สถิติทใี่ ชใ้ นการวิจัย
1. หาคา่ เฉลยี่ ของคะแนนประเมนิ วดั ทักษะกอ่ นเรียนและหลงั เรยี น ( ̅)
2. หาค่าความเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.)
3. คา่ ดชั นปี ระสิทธิผล
4. สถิติเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างคะแนนทดสอบหลังเรียนกับคะแนนทดสอบก่อนเรียน

ใชส้ ถติ ิ t-test (dependent Samples)

สรปุ ผลการวิจัย
1. เกมการศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย มีประสิทธิภาพเท่ากับ

89.35/85.41 ซึ่งสงู กวา่ เกณฑท์ ก่ี าหนดไว้
2. ค่าดัชนีประสิทธิผลของเกมการศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย

มีค่าเท่ากบั 0.7009 คดิ เปน็ ร้อยละ 70.09
3. ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรข์ องเด็กปฐมวยั หลังการจัดกิจกรรมเกมการศึกษาสูงกวา่ กอ่ นการจัด

กิจกรรมเกมการศึกษาอย่างมนี ยั สาคญั ทางสถิติทีร่ ะดบั .05

149

วารสารการวิจยั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน

ปที ี่ 2 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

อภปิ รายผล

จากการวิจัยเรื่อง การพัฒนาทักษะพืน้ ฐานทางคณิตศาสตร์ของเดก็ ปฐมวัย ที่ได้รบั การจัดกิจกรรม
เกมการศึกษาสามารถนามาอภปิ รายผล ได้ดังนี้

1. ประสิทธิภาพของเกมการศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
มีประสิทธิภาพเท่ากับ 89.35/85.41 หมายความว่า เด็กปฐมวัยมีคะแนนเฉลี่ยจากการจัดกิจกรรมเกมการศึกษา
คิดเป็นร้อยละ 89.35 และได้คะแนนเฉลี่ยจากการทาแบบประเมินวัดทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของ
เด็กปฐมวัย 4 ด้าน ด้านละ 5 ข้อ ประกอบด้วย ด้านการจับคู่ ด้านการจัดหวดหมู่ ด้านการเปรียบเทียบ
ดา้ นการเรียงลาดับ รวมจานวน 20 ขอ้ คดิ เป็นร้อยละ 85.41 แสดงว่าการจัดกิจกรรมเกมการศึกษาเพื่อพัฒนา
ทกั ษะพน้ื ฐานทางคณิตศาสตร์ของเดก็ ปฐมวัยมีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้คือ 80/80 ทัง้ นี้ เนื่องจาก
กิจกรรมเกมการศึกษาเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่เปิดโอกาสให้เด็กทุกคนได้มีส่วนร่วมในการทากิจกรรมด้วยตนเอง
เด็กได้ฝึกการสังเกต สารวจ เล่น และฝึกคิดแก้ปัญหาด้วยตนเอง ผ่านสื่อกิจกรรมที่มีความหลากหลาย
ซึ่งเป็นไปตามหลักการและแนวทางการจัดประสบการณ์ของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560
กลา่ วไว้ว่า การจดั ประสบการณ์สาหรับเด็กปฐมวยั ตอ้ งจัดในลักษณะบูรณาการผ่านการเล่น การลงมือกระทา
ผา่ นประสาทสัมผัสทั้งหา้ และสนองความต้องการ ความสนใจของเด็ก (สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา,
2560) และในการจัดทาแผนการจัดประสบการณ์กิจกรรมเกมการศกึ ษา ผูว้ จิ ยั ได้ดาเนินการสร้างแผนการจัด
ประสบการณ์กิจกรรมเกมการศึกษาอย่างเป็นระบบตามขั้นตอน เริ่มจากการศึกษาหลักสูตรคู่มือต่าง ๆ
รูปแบบการเรยี นการสอน แผนการจัดประสบการณก์ ารวเิ คราะห์เนื้อหาการเรยี นรู้ให้ครอบคลุมกับจดุ ประสงค์
การเรยี นรู้ การวัดประเมินผลและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมการศกึ ษา ทง้ั ยงั ผ่านการปรับปรุงแก้ไข
ตามคาแนะนาของที่ปรึกษาและผ้เู ชี่ยวชาญท่ีมปี ระสบการณ์กอ่ นนามาใชจ้ รงิ กับกลุ่มตัวอย่าง ซง่ึ สอดคล้องกับ
ผลงานวจิ ัยของ ธัญพร ผยุ บัวค้อ (2562) การจัดกจิ กรรมเกมการศกึ ษาจากเมล็ดพชื เพื่อสง่ เสรมิ ทักษะพื้นฐาน
ทางคณติ ศาสตร์ของเดก็ ปฐมวัย มคี า่ เทา่ กับ 84.72/84.38 ซ่งึ สูงกวา่ เกณฑท์ ่กี าหนด 80/80 และยงั สอดคล้อง
กบั งานวิจัยของ อชั ราภรณ์ ฟักปลัง่ (2564) การพฒั นาเกมการศกึ ษาโดยใช้ส่ือจากธรรมชาตเิ พอื่ ส่งเสริมทักษะ
พน้ื ฐานทางคณิตศาสตร์สาหรับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 มคี ่าเทา่ กับ 77.35/76.17 ซงึ่ สูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนด 75/75

2. ค่าดัชนีประสิทธิผลเกมการศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
มีค่าเท่ากับ 0.7009 คิดเป็นร้อยละ 70.09 การจัดกิจกรรมเกมการศึกษาเป็นกิจกรรมที่ยึดเด็กเป็นสาคัญ
เปิดโอกาสให้เด็กได้เรียนรู้ผ่านการเล่น การสังเกต การลงมือปฏิบัติ ฝึกการคิด การแก้ปัญหา การวิเคราะห์
และสรุปผลการเรียนรู้ที่ได้จากการเล่น ซึ่งเด็กมีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ร่วมกันในกลุ่ม ทาให้การจัด
กิจกรรมการเรียนรู้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎีทางด้านการพัฒนาทางสติปัญญาของ

150

วารสารการวจิ ัยการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน

ปที ่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2563) สอดคล้องกับงานวิจยั ของ ธญั พร ผุยบัวค้อ (2562) การจัดกจิ กรรม
เกมการศึกษาจากเมล็ดพืช เพื่อส่งเสริมทักษะพ้ืนฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย มีค่าดัชนีประสิทธิผล
เทา่ กับ 0.7074 แสดงว่าผเู้ รยี นมคี วามก้าวหน้าเพิ่มขึน้ รอ้ ยละ 70.74

3. ทกั ษะพน้ื ฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย หลงั การจัดกจิ กรรมเกมการศึกษาสงู กวา่ ก่อนการจัด
กิจกรรมเกมการศึกษา อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และมีค่าเฉลี่ยทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์
ในแต่ละด้านหลังการจดั กิจกรรมเกมการศกึ ษา สูงกว่ากอ่ นการจัดกิจกรรมเกมการศึกษา ทงั้ น้ีเพราะกิจกรรม
เกมการศกึ ษาเป็นกจิ กรรมทีก่ ระตุ้นความสนใจของเดก็ และเด็กได้เรยี นรูจ้ ากสอื่ ทเี่ ปน็ ของจรงิ ผา่ นการเล่นได้
ฝึกการคิด การแก้ปัญหา ทาให้เกิดความสนุกสนานไม่เบื่อหน่าย เด็กทุกคนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ร่วมกัน
ครูผู้สอนคอยกระตุน้ และให้ความชว่ ยเหลือเพอ่ื เด็กแต่ละคนสามารถพฒั นาศกั ยภาพของตนเองได้อย่างเต็มท่ี
จึงส่งผลให้เด็กมีทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์เพิ่มขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของ
ไวก็อตสกี้ กล่าวไว้ว่า การเรียนรู้เป็นกระบวนการพัฒนาผ่านการมีประสบการณ์ การช่วยเหลือจากผู้ใหญ่
ความสนใจของเด็ก การมีปฏิสัมพันธ์กับสังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม (สถาบันส่งเสริมการสอน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2563) และเมื่อเปรียบเทียบค่าเฉล่ีย ร้อยละของทักษะ พื้นฐานทางคณิตศาสตร์
ในแตล่ ะด้าน พบว่า ทกั ษะดา้ นการเรียงลาดับมคี า่ เฉลย่ี รอ้ ยละหลงั การจดั กจิ กรรมเกมการศึกษาน้อยทสี่ ุด คือ
มีค่าเฉลี่ย 3.25 คิดเป็นร้อยละ 65 ที่เป็นเช่นนี้เพราะเด็กปฐมวัยมีขีดจากัดในการเรียนรู้ สามารถเข้าใจและ
เชื่อมโยงสิ่งต่าง ๆ ได้น้อย อีกทั้งยังขาดประสบการณ์ในการเรียงลาดับจึงส่งผลให้คะแนนเฉลี่ย ร้อยละ
ในด้านการเรียงลาดับมีค่าน้อยกว่าด้านอื่น ๆ ซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ที่กล่าวว่า เด็กอายุ 5 – 6 ปี มีพัฒนาการทางสติปัญญาอยู่ในขั้นก่อนปฏิบัติการคิด เป็นวัยที่มีข้อจากัดทาง
การรบั รู้ เด็กจะก้าวจากการรับรมู้ ิติเดียวไปสูก่ ารรับรู้หลาย ๆ มติ ิ และเร่ิมมคี วามคิดรวบยอดเกย่ี วกับสิ่งตา่ ง ๆ
รอบตัวมากขึ้น (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2563) ซึ่งสอดคล้องกับผลการวจิ ัยของ
นุจิรา เหล็กกล้า (2561) การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางด้านคณิตศาสตร์โดยใช้เกมการศึกษาของเด็กปฐมวัย
ชั้นปีที่ 2 โรงเรียนบ้านบางแก้วหลังการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้เกมการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะ
พื้นฐานทางด้านคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยชัน้ ปีที่ 2 พบว่าเด็กปฐมวัยมีทักษะพื้นฐานทางด้านคณิตศาสตร์
สูงกว่าก่อนการจดั ประสบการณอ์ ยา่ งมีนัยสาคัญทางสถิติท่รี ะดับ .05 และมคี วามพงึ พอใจต่อการพฒั นาทักษะ
พ้ืนฐานทางคณิตศาสตร์โดยใช้เกมการศกึ ษาในระดบั มาก

ขอ้ เสนอแนะ
ขอ้ เสนอแนะต่อการนาผลการวิจัยไปใช้
1. ควรมีการเปรียบเทียบผลของการจัดกิจกรรมเกมการศึกษากับการจัดกิจกรรมอื่น ๆ เช่น

การละเล่นพื้นบ้าน การเล่นอิสระ เปน็ ต้น
2. ควรมีการศึกษากิจกรรมเกมการศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย

ในดา้ นอ่นื ๆ เช่น การคิดแกป้ ัญหา การคิดอยา่ งมีเหตุผล เป็นตน้

151

วารสารการวิจัยการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน

ปที ี่ 2 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

เอกสารอ้างองิ

กนกพิชญ์ ศรสี วสั ด.ิ์ (2555). การพฒั นากจิ กรรมเกมการศึกษาดา้ นการเรียงลาดับเพ่อื ส่งเสริมทักษะพ้ืนฐาน
ทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย. (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบณั ฑิต). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม.

กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2562). ปฏริ ูปการศึกษาไทย รายงานของคณะกรรมการอสิ ระเพื่อการปฏริ ปู
การศกึ ษา. กรุงเทพมหานคร: คณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศกึ ษา.

กุลยา ตนั ตผิ ลาชีวะ. (2555). การจัดกิจกรรมการเรยี นรสู้ าหรับเด็กปฐมวัย. กรงุ เทพ: เบรน – เบสบุคส์.
ทิศนา แขมมณี. (2555). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้ เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ.

กรุงเทพมหานคร: ด่านสุทธาการพมิ พ.์
ธญั พร ผุยบวั คอ้ . (2562). การจดั กจิ กรรมเกมการศกึ ษาจากเมลด็ พืช เพ่ือส่งเสริมทักษะพน้ื ฐาน

ทางคณติ ศาสตรข์ องเด็กปฐมวัย. (วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญามหาบัณฑิต). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัย
ราชภัฏมหาสารคาม.
นจุ ิรา เหล็กกลา้ . (2561). การพฒั นาทกั ษะพืน้ ฐานทางด้านคณิตศาสตรโ์ ดยใชเ้ กมการศกึ ษาของ
เด็กปฐมวัยชั้นปีที่ 2 โรงเรียนบ้านบางแก้ว. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). ฉะเชิงเทรา:
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ราชนครนิ ทร์.
บญุ ชม ศรสี ะอาด. (2560). การวจิ ยั เบือ้ งตน้ น ฉบบั ปรบั ปรุงใหม่ คร้ังท่ี 10. กรงุ เทพมหานคร:
บริษัท สุวีริยาสาส์น จากัด.
“รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2560”, ราชกิจจานุเบกิ ษา. เล่ม 134 ตอนท่ี 40 ก,
หนา้ 1-90, 6 เมษายน 2560.
วไลพร เมฆไตรรตั น.์ (2549). การจัดประสบการณ์สาหรับเด็กปฐมวัย. นครสวรรค:์ คณะครศุ าสตร์
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครสวรรค์.
สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท.). (2563). กรอบการเรยี นรู้และแนวทางการจัด
ประสบการณก์ ารเรียนรู้บรู ณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และคณติ ศาสตร์ ในระดับปฐมวัยตาม
หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2560. กรงุ เทพมหานคร: บริษทั โกโก พรน้ิ ท์ (ไทยแลนด)์ จากดั .
สุณี บุญพิทักษ์. (2557). วิจัยชั้นเรียนปฐมวัย: หลักการปฏิบัติจากประสบการณ์. กรุงเทพมหานคร:
ปัญญาชน.
สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2560). หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560.
กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พช์ มุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จากัด.

152

วารสารการวิจัยการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน

ปที ี่ 2 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

______________. (2561). คูม่ ือหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2560 (สาหรับเดก็ อายุ 3 - 5 ปี).
(พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด.

อัชราภรณ์ ฟักปลัง่ . (2564). การพัฒนาเกมการศึกษาโดยใช้ส่ือจากธรรมชาตเิ พ่อื ส่งเสรมิ ทกั ษะพ้ืนฐานทาง
คณิตศาสตร์สาหรับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). พิษณุโลก:

มหาวทิ ยาลยั นเรศวร.

153

วารสารการวิจยั การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน

ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

รปู แบบการจัดการเรียนรู้ด้วยไมโครเลิร์นนิง่ เพอ่ื พัฒนาทักษะการสือ่ สาร ของนักเรยี น
ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 สงั กัดสานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษาลพบุรี
A Model of Micro Learning for Development Communication
skills for Mathayomsuksa 5 students under
The Secondary Educational Service Area Office Lop Buri

สาธิต ศรีวรรณะ*
Sathit Sriwanna
ดวงใจ พทุ ธเษม**
Duangjai Puttasem
บทคัดยอ่

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์องค์ประกอบการพัฒนารูปแบบ
การจัดการเรียนรู้ด้วยไมโครเลิร์นนิ่งเพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสาร 2) การทดสอบประสิทธิภาพของรูปแบบ
การจดั การเรียนรู้ด้วยไมโครเลิรน์ น่งิ เพื่อพัฒนาทักษะการส่ือสาร ประชากรคือนักเรียนโรงเรียนในสหวิทยาเขต
วงศ์พระจันทร์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาลพบุรี จานวนนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 5 ทั้งหมด 709 คน กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนโรงเรียนในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศกึ ษาลพบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จานวน 100 คน การได้มาซึ่งจานวนกลุ่มตัวอย่างจะเป็นการตอบรับจาก
โรงเรียนที่ได้ส่งหนังสือเชิญ โดยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ดังนี้ 1) รูปแบบการจัดการเรียนการสอนด้วย
ไมโครเลิร์นนิ่งเพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสาร 2) แบบประเมินการพัฒนาทักษะการสื่อสารจากการเรียนการสอน
ด้วยไมโครเลิร์นนิ่ง 3) แบบการทดสอบประสิทธิภาพไมโครเลิร์นนิ่งเพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสาร (E1/E2)
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบทีแบบกลุ่มตัวอย่างเดียวเทยี บ
กบั เกณฑ์ และการทดสอบประสิทธภิ าพ ผลการวจิ ัยพบว่า 1) ผลการศึกษาองค์ประกอบการพัฒนารูปแบบ
การจัดการเรียนรู้ดว้ ยไมโครเลิรน์ นิ่ง เพือ่ พฒั นาทักษะการสื่อสาร พบว่า การจดั การเรียนรู้ดว้ ยไมโครเลิร์นน่ิง
เพ่อื พฒั นาทักษะการสื่อสารองค์ประกอบคือ การเนน้ เน้ือหาน้อยแตเ่ รียนรู้ได้มาก คลปิ วดิ ที ศั น์ท่ีจูงใจผู้เรียน

*ครูผชู้ ว่ ย, โรงเรยี นยางรากวิทยา สานักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษามัธยมศึกษาลพบรุ ี.
Assistant Teachers, Yangrakwittaya School The Secondary Educational Service Area Office Lop Buri
** ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร., สาขาวิชาคอมพวิ เตอร์ศกึ ษา คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครสวรรค์.
Assistant Professor Dr., Program of Education Program in Computer Education Nakhon Sawan Rajabhat
University.

154

วารสารการวจิ ัยการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน

ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

แบบฝกึ หัดทีม่ ีชีวติ และสิง่ สาคัญคือการใช้เทคโนโลยี การใช้อปุ กรณ์มอื ถือของผู้เรียนเอง 2) ผลการประเมิน
ทักษะการสื่อสาร อยู่ในระดับมาก ( ̅=3.57, S.D.= 0.45) 3) ผลการการทดสอบประสิทธิภาพของ
กระบวนการ (Process-E1) และทดสอบประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (Product-E2) ในขั้นทดลองใช้เบื้องต้น
แบบเดี่ยว (1:1) และการนาสื่อหรือชุดการสอนที่ทดสอบผ่านเกณฑ์ความก้าวหน้าทางการเรียน
เกณฑ์ประสทิ ธิภาพ E1/ E2 ตามเกณฑ์ 75/75 สาหรบั พทุ ธิพิสยั และทักษะพสิ ยั แล้ว มคี ะแนนเฉลี่ยความรู้
หลังเข้ารว่ มกิจกรรมสูงกวา่ ก่อนเข้าร่วมกิจกรรมอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และมีความพึงพอใจ
อยูใ่ นระดบั มากทสี่ ดุ

คาสาคัญ : ไมโครเลิรน์ นิ่ง/ ทักษะการสอื่ สาร/ ทดสอบประสิทธภิ าพ

ABSTRACT

The objectives of this research were 1) to study, analyze and synthesize the
elements of micro-learning management model to develop communication skills.
2) to test the effectiveness of the micro-learning model. For communication skills.
The population was students at United Campus Wong Prachan. Under the Lop-buri
Secondary Education Service Area Office. The total number of students in Mathayomsuksa
5 students, 709 people. The sample group was students at schools in the Lop-buri
Secondary Education Service Area Office. 100 students in Mathayomsuksa 5. The acquisition of
the sample size was the acceptance from the school that has sent the invitation letter. The
tools of research were as follows: 1) a model of teaching and learning by using micro-
learning to develop communication information skills. 2) an assessment form for the
development of communication information skills from teaching by using micro-learning.
3) Micro-Learning Performance Test for Developing Communication information Skills
(E1/E2). The learning achievement was analyzed by using mean, standard deviation,
Developmental Testing of Media and Instructional Package and a t–test for dependent
sample statistics. The results of the research were as follows: 1) The results of the study on
the components of the development of the model of learning management by micro-
learning to improve communication skills revealed that the learning management by micro-
learning to develop communication skills was little focus on content but learning a lot.
Video clips that motivate students live exercises and it's important to use technology using the

155

วารสารการวิจยั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน

ปที ่ี 2 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

learners' own mobile devices. 2) the results of the communication skills assessment at the
highlevel ( ̅ = 3.57, SD = 0.45) 3) Process performance test results (Process-E1) and result
performance test (Product-E2) in a single preliminary trial (1:1) and the introduction of
materials or teaching kits that pass the learning progress criteria. Performance Criteria E1/ E2
Based on 75/75 Criteria for Scientist Range and Skill Range already. The mean knowledge
scores after participating in the activities were significantly higher than before at the .05
level. and have the highest level of satisfaction.

Keywords : micro-learning/ Communication Skill/ Effectiveness Testing

บทนา
การพัฒนาประเทศให้มีความเจริญก้าวหน้าทันต่อการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในทุกด้านของ

สังคมยุคปัจจุบัน สิ่งที่ต้องคานึงถึงเป็นอันดับแรก คือ การพัฒนาคุณภาพของคนในประเทศให้มีศักยภาพ
และสามารถดารงตนอยู่ในสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะเรื่องของการจัดการศึกษาในยุคสังคม
แหง่ การเรียนรู้ (Knowledge-based Society) จาเป็นต้องพฒั นาคนให้เป็นบุคคลแหง่ การเรียนรู้สอดคล้อง
กับรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2560 มาตรา 257 (4) (ทิพย์วรรณม, 2564: 35) สาหรบั
ปัจจุบันมนุษย์มีวิวัฒนาการการสื่อสารครบถ้วนทั้งทักษะการพูด การฟัง การอ่าน และการเขียน
ยิ่งไปกว่านั้นได้รับแรงหนุนจากระบบอินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นระบบการสื่อสารขนาดใหญ่ที่มีความรวดเร็ว
เข้าถึงง่าย และครอบคลุมการสื่อสารวงกว้างไปทั่วโลก การสื่อสารยุคปัจจุบันจึงมีความเสี่ยงในการสร้าง
ผลกระทบทางลบต่อผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการสื่อสารได้ง่ายขึ้น (บัณฑิกา และคนอ่ืน ๆ, 2563: 413)
เน้นการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาของ
กระทรวงศึกษาธิการ โดยผู้เรียนจะต้องมีทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศสื่อ
และเทคโนโลยี ทักษะอาชีพและอาชีพ อีกทั้งการดารงชีวิตในสังคมให้เกิดความสุข (เบญจวรรณ และคนอื่น ๆ.
2559: 208 - 222)

ปัจจุบันการเรียนรู้ในรูปแบบใหม่ได้ถูกพัฒนามาอย่างต่อเนื่องไปพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงทาง
เทคโนโลยี รูปแบบการเรียน การทางาน รวมถึงรูปแบบการใช้ชีวิตของคนรุ่นใหม่ก็เปลี่ยนแปลงไป
เป็นที่ชัดเจนว่าสังคมการเรียนรู้ในยุคปัจจุบันสื่อเทคโนโลยีและทรัพยากรต่าง ๆ มีความซับซ้อนและ
มีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลข่าวสารอยู่ตลอดเวลา การแลกเปลี่ยนเรียนรู้จะต้องมีความรวดเร็วและเข้าใจง่าย
สามารถอ่านได้รู้เรื่องภายในระยะเวลาไม่กี่นาที โดยแนวทางการเรียนรู้รูปแบบใหม่ที่กาลังเป็นเทรนด์
(trend) คอื การเรียนรู้แบบไมโครเลิรน์ นิง (microlearning) ซ่ึงเปน็ สื่อทางเลอื กใหม่ทเี่ หมาะต่อการเรียนรู้

156

วารสารการวิจัยการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน

ปที ี่ 2 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

ในยุคนี้ โดยการเรียนรู้ที่มีเนื้อหาสั้น ๆ ยาว 3-5 นาที หรืออาจสั้นกว่านี้ที่ออกแบบมาเพื่อตอบสนอง
ผลการเรียนรทู้ เ่ี น้นเฉพาะเรอื่ งเปน็ สอ่ื ทเี่ น้นการเรียนการสอนที่มีความยืดหยุน่ ให้ผเู้ รียนได้ ศกึ ษาดว้ ยตนเอง
สามารถเรียนรู้ได้อยา่ งตอ่ เนอ่ื งเหมาะสมกับผเู้ รียนท่ีมคี วามแตกตา่ งกนั อีกทงั้ สามารถนาเข้าไปอยใู่ นรปู แบบ
ของโซเซียลมีเดีย (social media) ที่เรียกวา่ โซเซียลไมโครเลริ น์ นงิ (social microlearning) และสามารถ
ตอบสิ่งที่ต้องการได้ทันทีผ่านอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิส์ อย่างเช่น สมาร์ทโฟน (smartphone) โน้ตบุ๊ก
(notebook) แท็บเล็ต (tablet) หรือแล็ปท็อป (laptop) ได้ การเรียนรู้รูปแบบไมโครเลิร์นิง ในการจัด
การศึกษาและการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 จึงไม่ใช่กระบวนการถ่ายทอดความรู้แต่คือการส่งเสริมทักษะ
รปู แบบใหม่ ๆ ซงึ่ เป็นทางเลอื กในการส่งเสริมความรทู้ ี่มีประสิทธิภาพ (ศิริลกั ษณ์ และคนอื่น ๆ, 2564: 67-78)

ผวู้ จิ ยั เห็นความสาคญั ของการพัฒนาทักษะการส่ือสาร ดว้ ยตนเองจากเทคโนโลยีใกล้ตัวท่ีช่วยสร้าง
โอกาสการเข้าถึงทรัพยากรทางการศึกษาได้อย่างเท่าเทียม ช่วยลดความเหลื่อมล้า ประหยัด สะดวก
ปลอดภยั เหมาะสมกับสภาวการณ์ปัจจุบนั ทง้ั ยงั สร้างความยั่งยืนด้านการศึกษาของคนในชาติ เปน็ ประโยชน์ต่อ
การพัฒนาผูเ้ รียนทั่วประเทศ จึงทาการศึกษารูปแบบการจัดการเรียนรูด้ ้วยไมโครเลิร์นน่ิงเพื่อพัฒนาทักษะ
การสื่อสาร เพื่อช่วยให้การฝึกฝนและพัฒนาทักษะการสื่อสารในชีวิตประจาวันของนักเรียนให้มีความสะดวก
ตอ่ เนอื่ ง เท่าทันตอ่ การเปลีย่ นแปลงของสังคม เปน็ ประโยชนต์ อ่ นักเรียน ดา้ นการเรียนการสอนด้วยรูปแบบ
การจัดการเรียนรู้ด้วยไมโครเลริ ์นนิ่งและส่ือการสอนใหม่ ๆ ที่สามารถพัฒนาผูเ้ รียนได้ตามบรบิ ทของสังคม
และชุมชน รองรบั ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษทีส่ อดคลอ้ งกับการดาเนินชวี ิตในศตวรรษที่ 21

วัตถปุ ระสงค์การวจิ ยั
1. ศึกษา วิเคราะห์ และสงั เคราะหอ์ งค์ประกอบการพัฒนารูปแบบการจดั การเรยี นรูด้ ้วยไมโครเลริ ์นนิง่

เพือ่ พัฒนาทกั ษะการส่ือสาร
2. การทดสอบประสทิ ธภิ าพของรูปแบบการจัดการเรียนรดู้ ้วยไมโครเลริ ์นน่ิงเพอ่ื พัฒนาทักษะ

การสื่อสาร

วิธดี าเนนิ การวจิ ยั

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร คือ นักเรียนโรงเรียนในสหวิทยาเขตวงพระจันทร์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษาลพบุรี จานวนนักเรียนระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 ท้ังหมด 709 คน
กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนโรงเรียนในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาลพบุรี
ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 จานวน 100 คน ซ่ึงประชากรนักเรยี นนน้ั อยู่ในโรงเรยี นเครอื ข่ายในสหวิทยาเขต

157

วารสารการวิจัยการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน

ปที ี่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

วงศ์พระจนั ทร์ สงั กัดสานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษาลพบรุ ี ทท่ี างผ้วู จิ ยั ส่งหนังสอื เชิญกล่มุ ตัวอยา่ ง
และการได้มาซ่ึงจานวนกลุ่มตัวอย่างจะเป็นการตอบรับจากโรงเรียนทไ่ี ด้ส่งหนังสือเชญิ และการได้มา
ของกลุ่มตัวอยา่ งจะเป็นความสมัครใจของกลุ่มตัวอยา่ งในการตอบแบบสารวจ โดยไม่มีการขู่บงั คับแต่อยา่ งใด

ตวั แปรที่ศึกษา
ตวั แปรตน้ รูปแบบการจัดการเรียนร้ดู ว้ ยไมโครเลิร์นนงิ่
ตัวแปรตาม ทักษะการสื่อสาร ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ี
การศกึ ษามัธยมศึกษาลพบรุ ี

วธิ ดี าเนนิ การวจิ ยั
งานวิจัยเรื่อง รูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยไมโครเลิร์นนิ่งเพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสาร ของนักเรียน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาลพบุรี เป็นงานวิจัยเชิงพัฒนา
(Research and Development) ผู้วิจยั ได้แบ่งวิธดี าเนินงานวิจัยออกเป็น 4 ระยะ ดังนี้คือ

ระยะที่ 1: ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลเอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการ
เรยี นรู้ดว้ ยไมโครเลริ น์ นง่ิ เพื่อพัฒนาทกั ษะการสื่อสาร

ผู้วจิ ยั ได้สงั เคราะห์องคป์ ระกอบจากการศึกษาทฤษฎีและงานวิจยั ท่ีเกี่ยวข้องเพื่อออกมาเป็นกรอบ
แนวคิดของรูปแบบสาหรับใช้ในการพัฒนาเป็นรูปแบบการจัดการเรียนการสอนด้วยไมโครเลิร์นนิ่ง
นอกจากนยี้ ังมีการศกึ ษาเกี่ยวกบั ทฤษฎีการเรยี นรู้แบบไมโครเลิร์นน่ิง ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน และทฤษฎี
ทกั ษะการส่อื สาร แสดงดงั ตารางที่ 1
ตารางท่ี 1 การสังเคราะห์ข้ันตอนการเรยี นการสอนดว้ ยไมโครเลริ ์นน่ิง

ขัน้ ตอนการเรยี นรู้ BridgeLearningSolutions,
2016
Salas, 2017
Omer Jomah and Team,
2016
Amanda Major and Tina
Calandrino, 2018
Rebeca P. D´ıaz
Redondo & Team, 2020
Paulo Ricardo Soares
Zereu & Team, 2019
Kimberly D. Manning
and Team, 2021

กาหนดวัตถุประสงค์ ✓ ✓✓

เดยี ว

นาเสนอสาระสาคญั ✓ ✓✓✓✓✓

กจิ กรรมเฉพาะเร่อื ง ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

ประเมินผลสรปุ ✓✓✓✓✓✓✓

158

วารสารการวจิ ัยการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน

ปีที่ 2 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

ตารางที่ 1 (ตอ่ ) การสังเคราะหข์ น้ั ตอนการเรยี นการสอนด้วยไมโครเลริ ์นนิง่

ข้ันตอนการเรยี นรู้ ศยามน ิอนสะอาด, 2021
ศิริลักษ ์ณ ุบญมา ัพนธ์,
ศยามน ิอนสะอา, 2021
พรกมล เทพสุภรณ์กุล และ
คณะ, 2021
สรลักษณ์ ลีลา และคณะ,
2019
วิสิฐ ้ตังส ิถต ุกล, 2021
ข ัวญชนก พุทธ ัจนทร์, 2021
ภู่ วิทย ัพนธ์, 2021

กาหนดวัตถุประสงค์ ✓ ✓ ✓✓

เดียว

นาเสนอสาระสาคญั ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

กิจกรรมเฉพาะเรือ่ ง ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

ประเมนิ ผลสรุป ✓✓✓✓✓✓✓

จากตารางที่ 1 แสดงการสังเคราะห์กระบวนการเรียนรู้ด้วยไมโครเลิร์นนิ่ง ซึ่งจากการศึกษาข้อมูลพบว่า
ทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยไมโครเลิร์นนิ่ง เป็นการเรียนรู้จากการเรียนรู้ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้สั้น ๆ และ
เฉพาะเจาะจงตามเนื้อหาสาระที่สาคัญ (Content) เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ด้วยไมโครเลิรน์ นงิ่
สามารถใช้เครื่องมือได้มากมาย เช่น คลิปวิดีทัศน์ อุปกรณ์เคลื่อนที่ เว็บไซต์ ฯลฯ ขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ของ
ผู้เรียนที่จะสะดวกในการใช้งาน โดยใช้เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้สั้น ๆ และการเรียนรู้ด้วยไมโครเลิร์นน่ิง
โดยมเี ทคโนโลยีทีเ่ หมาะสมส่งผลตอ่ ความสามารถในการพัฒนาทกั ษะการสอ่ื สารไดใ้ นระดบั มาก

159

วารสารการวจิ ัยการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน

ปที ่ี 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

ระยะที่ 2: ออกแบบกรอบแนวคิดของรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบจุลภาคด้วยไมโครเลิร์นนิ่ง
เพ่อื พฒั นาทกั ษะการสื่อสาร

วตั ถุประสงค์ เนอ้ื หา กิจกรรมการเรยี นรู้ด้วยไมโครเลิรน์ นง่ิ
การเรียนรทู้ ี่ สาระสาคัญ 1. กาหนดวตั ถปุ ระสงค์เดยี ว
เฉพาะเจาะจง (Content) 2. การนาเสนอเนื้อหาสาระสน้ั ๆ
3. การเรยี นรู้ดว้ ยกิจกรรมเฉพาะ
4. การประเมินผล
(Prachyanun. 2019)

การสรา้ งแบบจาลองตามการสังเคราะห์ ออกแบบบทเรยี นออนไลน์

การหาพ้ืนทแ่ี หล่งที่อยู่ของบทเรียน จดั ทาบทเรยี นออนไลน์
ออนไลน์ (Web-Based Learning)
การพัฒนาทกั ษะการสื่อสาร (ทักษะการ
พดู การฟัง การอ่านและการเขยี น)
(Bantika Jaruma and Payom
Konnaimuang. 2020)

ภาพท่ี 1 กรอบแนวคดิ การจัดการเรียนรู้ดว้ ยไมโครเลริ ์นนิ่งเพ่อื พัฒนาทักษะการสอ่ื สาร
ระยะที่ 3: พัฒนารปู แบบการจดั การเรยี นรู้ดว้ ยไมโครเลริ น์ น่ิงเพอ่ื พัฒนาทักษะการสื่อสาร

ผู้วิจัยได้พัฒนารูปแบบให้สอดคล้องกับหลักการวิธีการเชิงระบบ (System Approach) โดยผ่าน
ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบการจัดการเรียนรู้และเนื้อหาในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน
ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ คือ ปัจจัยนาเข้า กระบวนการจัดการเรียนรู้ ผลผลิต และข้อมูลป้อนกลับ
ดงั แสดงรายละเอียดในภาพท่ี 2

160

วารสารการวิจยั การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน

ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

ปจั จัยนาเข้า (Input) กระบวนการจดั การเรียนรู้ (Process) ผลผลิต (Output)

การจัดการเรียนรู้ด้วย การแนะนาการใช้ ประสิทธิภาพของ
ไมโครเลิร์นน่งิ ระบบบทเรยี น การจัดการเรียนรู้
ด้วยไมโครเลิร์น
บทเรยี นออนไลน์ ออนไลน์ นิง่ (E1/E2)
(Web-Based (ปฐมนเิ ทศ)
Learning) ทกั ษะการส่ือสาร
ทาแบบทดสอบ (ทักษะการพดู
ก่อนเรยี น การฟงั การอ่าน
และการเขยี น)
กิจกรรมการเรยี นรู้ (Bantika
- คลิปวดิ ที ศั น์ Jaruma and
- เนอ้ื หา Content Payom
- แบบฝึกหดั มีชวี ิต Konnaimuang.
2020)

ทาแบบทดสอบ
หลงั เรยี น

ขอ้ มูลป้อนกลับ
(Feedback)

ภาพท่ี 2 รปู แบบการจัดการเรยี นรู้แบบจลุ ภาคด้วยไมโครเลิรน์ น่งิ เพ่อื พฒั นาทักษะการส่ือสาร

161

วารสารการวจิ ัยการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน

ปที ี่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

ส่วนท่ี 1 ปจั จยั นาเขา้ (Input) ประกอบด้วย
1) การเรยี นรู้ด้วยไมโครเลริ น์ น่ิง ประกอบด้วย การกาหนดวัตถปุ ระสงคเ์ ดยี ว การนาเสนอเนื้อหา

สาระสาคัญสัน้ ๆ การปฏบิ ตั ิกิจกรรมเฉพาะและประเมนิ ผล
2) บทเรียนออนไลน์ (Web-Based Learning) จากเวบ็ ไซต์ตา่ ง ๆ รายวิชาภาษาอังกฤษ กลุ่มสาระ

การเรียนรูภ้ าษาตา่ งประเทศ เพ่ือพฒั นาทักษะการสอ่ื สาร ดงั ภาพท่ี 3

ภาพท่ี 3 บทเรียนออนไลน์
หมายเหต.ุ จาก https://www.bbc.co.uk/learningenglish/english/course/intermediate
ส่วนท่ี 2 กระบวนการจัดการเรยี นรู้ (Learning Process)

1) การแนะนาการใช้ระบบบทเรยี นออนไลน์ การใช้ช่อื (User) การต้ังรหสั ผ่าน (Password) และ
การกรอกขอ้ มูลส่วนบคุ คล

2) การทาแบบทดสอบก่อนเรยี นเพอื่ ประเมนิ ความรู้ของผเู้ รียนก่อนการเรยี นรู้

162

วารสารการวิจัยการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน

ปีท่ี 2 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

3) กจิ กรรมการเรียนรจู้ าก คลิปวิดีทัศน์ เนอื้ หาสาระสาคัญ แบบฝกึ หดั มีชีวิต (Worksheet, Googleform)
Google Doc., kahoot, Mentimiter, Wordwall และแอปพลเิ คชน่ั Speak It Right) ดงั ภาพที่ 4

หมายเหตุ จาก https://www.bbc.co.uk/learningenglish/english/course/test-your-level/unit-
1/session-1

4) การทาแบบทดสอบหลงั เรยี นเพอ่ื ประเมินความรูข้ องผูเ้ รยี นหลงั การเรียนรู้
ส่วนที่ 3 ผลผลิต (Output)

1) ผู้สอนเป็นผู้พิจารณาตามความเหมาะสมโดยพิจารณาพิสัยการเรียนที่จาแนกเป็นพุทธิพิสัย
(Cognitive Domain) จิตพิสัย (Affective Domain) และทักษะพิสัย (Skill Domain) 75/75 เพราะเป็น
ระดับความพอใจต่าสุด จงึ ไม่ควรตง้ั เกณฑ์ไว้ต่ากว่าน้ี หากตง้ั เกณฑ์ไว้เทา่ ใด กม็ ักได้ผลเท่านั้น ดังจะเห็นได้
จากระบบการสอนของไทยปจั จุบัน

2) ทักษะการสื่อสาร โดยทักษะการพูดที่มีประสิทธิภาพต้องฝกึ การใชว้ ัจนภาษาและอวัจนภาษา
ให้เหมาะสม ทักษะการฟังทม่ี ีประสิทธิภาพต้องฝึกตวั เองท้ังขั้นก่อนฟัง ขน้ั ขณะฟงั และขั้นหลังฟังพร้อมท้ัง
การฝึกมารยาท สาหรับทักษะการอ่าน ควรฝึกตามหลัก สุ. จิ. ปุ. ลิ อันเป็นแนวคิดทางพระพุทธศาสนา
และควรฝึกเตรียมความพร้อมก่อนอ่าน คิดวิเคราะห์ และจดบันทึก ส่วนทักษะการเขียนควรฝึกตั้งแต่
การคดิ ประเดน็ การทบทวนวรรณกรรม การวางโครงเรือ่ ง การลงมอื เขยี น และการตรวจทานข้อมลู
ส่วนที่ 4 ข้อมูลป้อนกลับ (Feedback) โดยสามารถวัดได้จากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้และความสามารถ
ทกั ษะการสือ่ สาร
ระยะที่ 4 ศึกษาประสิทธภิ าพรูปแบบการจดั การเรียนรดู้ ว้ ยไมโครเลิร์นนง่ิ เพอ่ื พฒั นาทักษะการสื่อสาร

ผู้วิจัยนาสื่อและรูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยไมโครเลิร์นนิ่งไปทดสอบด้วยกระบวนการสอง
ข้นั ตอน คอื การทดสอบประสิทธิภาพใชเ้ บอ้ื งตน้ (Try Out) และทดสอบประสทิ ธิภาพสอนจริง (Trial Run)
เพ่ือหาคณุ ภาพของสอื่ ตามข้นั ตอนท่ีกาหนดใน 3 ประเด็น คือ การทาใหผ้ ู้เรยี นมคี วามรู้เพมิ่ ข้ึน การชว่ ยให้

163

วารสารการวิจัยการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน

ปที ี่ 2 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

ผู้เรียนผ่านกระบวนการเรียนและทาแบบประเมินสุดท้ายได้ดี และการทาให้ผู้เรียนมีความพึงพอใจ นาผล
ทไ่ี ดม้ าปรบั ปรุงแกไ้ ข

ผู้วิจัยได้สร้างแบบประเมินความเหมาะสมในการออกแบบและพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน
ด้วยไมโครเลริ ์นน่ิงเพอ่ื พฒั นาทักษะการสื่อสารท่ีพฒั นาข้นึ แบ่งขอ้ คาถามออกเปน็ 2 ตอน คอื ตอนท่ี 1 คือ
รายละเอียดโดยภาพรวมของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยไมโครเลิร์นนิ่งเพื่อพัฒนาทักษะก ารสื่อสาร
และ ตอนที่ 2 คือรายละเอียดองค์ประกอบของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยไมโครเลิร์นนิ่งเพื่อพัฒนา
ทักษะการสื่อสาร การประเมินผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยใช้รูปแบบการประเมินทางสถิติคือ ค่าเฉลี่ย
เลขคณติ ( ̅) และ ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.) ซงึ่ แบบประเมนิ เปน็ แบบมาตราสว่ นประมาณคา่ (Rating
Scale) ตามวิธีของ ลิเคิร์ท (Likert Scale. 1950: Unpage) 5 ระดับ โดยมีเกณฑ์การแปลความหมาย
เพ่ือหาขอ้ สรปุ ของผลการประเมนิ ความเหมาะสมของรปู แบบท่ีพฒั นาขึ้น

ผลการวจิ ยั

ผลการศึกษาการออกแบบและพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยไมโครเลิร์นนิ่งเพื่อพัฒนา
ทักษะการส่ือสาร แบง่ การนาเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู ออกเปน็ ดังนี้

1) ผลการศกึ ษา วเิ คราะห์ และสังเคราะห์องค์ประกอบการพฒั นารปู แบบการจดั การเรียนรดู้ ้วย
ไมโครเลิร์นนิ่งเพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสาร พบว่า มีองค์ประกอบคือ 1.1) บทเรียนออนไลน์ (Web-Based
Learning) 1.2) และเน้ือหาสาระสาคญั (Content)

2) การประเมนิ ไดว้ า่ ผลการศึกษารปู แบบการจดั การเรยี นรู้เพ่ือพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ
ในภาพรวมระดับความเหมาะสมของรูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ
ด้าน อยู่ในระดับมาก ( ̅=3.57, S.D.= 0.45) พิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านรูปแบบการฝึกทักษะ
การสื่อสารภาษาอังกฤษ อยู่ในระดับปานกลาง ประกอบด้วย การฝึกทักษะการพูด ( ̅=3.59, S.D.= 0.48)
การฝึกทักษะการอ่าน ( ̅=3.57, S.D.= 0.45) การฝึกทักษะการฟัง ( ̅=3.57, S.D.= 0.45) และการฝึก
ทกั ษะการเขยี น ( ̅=3.49, S.D.= 0.43)

3) ผลการทดสอบประสิทธภิ าพของกระบวนการ (Process-E1) และทดสอบประสิทธิภาพของผลลพั ธ์
(Product-E2) ในขนั้ ทดลองใช้เบ้ืองต้น แบบเด่ียว (1:1) และการนาส่ือหรือชุดการสอนที่ทดสอบผ่านเกณฑ์
ความก้าวหน้าทางการเรียน เกณฑ์ประสิทธิภาพ E1/ E2 ตามเกณฑ์ 75/75 ส าหรับพุทธิพิสัย
และทักษะพิสัยแลว้

164

วารสารการวิจัยการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน

ปีที่ 2 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

อภปิ รายผลการวจิ ัย
การพัฒนารปู แบบการจัดการเรียนรู้ด้วยไมโครเลริ ์นนิ่งเพ่อื พฒั นาทักษะการส่ือสาร เปน็ การพัฒนา

รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมความสามารถทักษะการสื่อสารได้เป็นอย่างดี และยังเพิ่มประสิทธิภาพ
ในการเรยี นรูไ้ ปสูผ่ ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนที่สงู ข้นึ อีกท้ังผ้เู รยี นมเี จตคติที่ดีตอ่ การเรยี นวิชาภาษาอังกฤษจาก
การเรียนรู้ผ่านไมโครเลิร์นนิ่ง ผลการประเมินทักษะการสื่อสาร อยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅= 4.60, S.D.= 0.51)
ผลการศึกษาดังกล่าว สอดคล้องกับผลงานวิจัยของศิริลักษณ์ บุญมาพันธ์ และคณะ (2564) การพัฒนา
บทเรียนไมโครเลิร์นนิ่งบนเครือข่ายสังคมออนไลน์ ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์
สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับ ผลงานวิจัยของสรลักษณ์ ลีลา และคณะ
(2562) การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบจุลภาคด้วยหนังสือมีชีวิตเพื่อส่งเสริมการคิดเชิงประมวลผล
และสอดคล้องกับผลงานวิจัยของรังษิมา เสถียรกิจ และศิริณา จิตต์จรัส รูปแบบการพัฒนาทักษะ
การสื่อสารภาษาอังกฤษด้านอาชีพ สาหรับครู กศน. ประสิทธิภาพของกระบวนการ (Process-E1) และ
ทดสอบประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (Product-E2) ในขัน้ ทดลองใชเ้ บื้องต้น แบบเดยี่ ว (1:1) และการนาสือ่

หรือชุดการสอนที่ทดสอบผ่านเกณฑ์ความก้าวหน้าทางการเรียน เกณฑ์ประสิทธิภาพ E1/ E2 ตามเกณฑ์
75/75 สาหรับวิทยพิสัยและทักษะพิสัยแล้ว ซึ่งมีความสอดคล้องกับผลงานวิจัยของบัณฑิกา จารุมา
และพะยอม ก้อนในเมือง วิธีพัฒนาทักษะการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับ
ผลงานวิจัยของไพศาล สุขใจรุ่งวัฒนา เรื่อง รูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยไมโครเลิร์นนิ่งเพื่อพัฒนาทักษะ
การส่อื สารทพ่ี ัฒนาขึ้นช่วยส่งเสริมกระบวนการเรียนรขู้ องผู้เรยี นวชิ าภาษาองั กฤษได้ดี เนื่องจากการเรียนรู้
วิชาภาษาอังกฤษเป็นการใช้ทักษะการอ่าน การฟัง การพูด และการเขียนที่มีความซับซ้อนขึ้นเป็นลาดับ
การเรียนรู้จากส่วนยอ่ ยเพื่อเช่ือมโยงไปยังเนอื้ หาท่ซี บั ซ้อนจากกระบวนการเรียนรู้ดว้ ยไมโครเลิร์นนิ่งจึงเป็น
แนวทางการพัฒนาผ้เู รียนให้เกิดความสามารถทกั ษะการสอื่ สารไดเ้ ป็นอยา่ งดี

ขอ้ เสนอแนะ
1. รูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยไมโครเลิร์นนิ่งเพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารเป็นการเรียนรู้

ด้วยกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเองและการเรียนรู้ผ่านสื่อออนไลน์ เพื่อการพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ที่ดี
และตอ่ เนื่องควรส่งเสรมิ การใช้งานระบบอนิ เทอร์เน็ตทีเ่ หมาะสมและเพียงพอต่อผเู้ รยี น

2. การจัดการเรียนรู้ด้วยไมโครเลิร์นนิ่งสามารถเรียนรู้ได้ในผู้เรียนทุกระดับที่สามารถใช้งาน
อุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนิกส์รองรบั แอพพลิเคชนั่ หรือโทรศัพทม์ ือถือได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ

165

วารสารการวจิ ยั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน

ปีที่ 2 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

3. ควรมีการวิจัยและพัฒนา เพื่อส่งเสริมให้มีการผลิตสื่อ การสรรหาสื่อ จากช่องทางต่าง ๆ
เพื่อเป็นเครื่องมือในการพัฒนาความสามารถทางการสื่อสารภาษาอังกฤษ และพัฒนารูปแบบการจัด
การเรยี นการสอนโดยใชส้ ่ือ และเทคโนโลยสี ารสนเทศทีห่ ลากหลายและปฏบิ ัตไิ ดจ้ ริง

เอกสารอ้างอิง

ขวัญชนก พทุ ธจันทร.์ (2563). ปัญญาประดิษฐ์ (AI: Artificial Intelligence). สืบคน้ เมื่อวนั ที่ 18 มีนาคม 2565
จาก https://www.lib.ku.ac.th/2019/index.php/covid-19/1045-artificialintelligence

ทิพย์วรรณ สขุ ใจรุ่งวฒั นา, และคนอื่น ๆ. (2563). การประเมนิ หลกั สูตรศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต
สาขาวิชาพฒั นศึกษา (หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วารสารศลิ ปากรการศกึ ษาศาสตรว์ ิจยั มหาวิทยาลัยศิลปากร. ปที ่ี 14(2): 63 – 78.

บณั ฑกิ า จารมุ า และพยอม กอ้ นในเมอื ง. (2563). วธิ ีพัฒนาทกั ษะการส่ือสารทมี่ ีประสิทธิภาพ.
วารสาร มจร มนุษยศาสตร์ ปริทรรศน.์ มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณ์ราชวทิ ยาลยั .
ปที ่ี 6(1): 406 - 413.

เบญจวรรณ ถนอมชยธวัช และคนอนื่ ๆ. (2559). ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21: ความทา้ ทายในการพฒั นา
นกั ศึกษา. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้. ปที ่ี 3(2): 208 – 222.

พรกมล เทพสุภรณกลุ , สญั ชัย พฒั นสิทธ์ิ และณฐั พล ราไพ. (2564). การพัฒนาไมโครเลิรนนิงเพอื่ การฝก
อบรมขาราชการทหารโรงเรียนนายทหารชั้นผูบงั คบั หมวดกรมยทุ ธศึกษาทหารอากาศ.
RMUTI JOURNAL Humanities and Social Sciences. (8)2: 17 – 30.

ไพศาล สุขใจรงุ่ วฒั นา. (2562). การศกึ ษาปัจจัยที่สง่ ผลตอ่ พฤติกรรมการเรียนวชิ าภาษาจนี ของนักศกึ ษา
มหาวทิ ยาลัยมหิดล. Journal of Humanities and Social Sciences Thonburi University.
ปที ่ี 13(1): 90 – 99.

รงั ษมิ า เสถียรกจิ และศริ ิณา จิตต์จรสั . (2564). รูปแบบการพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ
ด้านอาชพี สาหรบั ครู กศน. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร. ปีที่ 19(1): 301 – 321.

วสิ ิฐ ต้ังสถติ กลุ . (2564). แนวคิดไมโครเลิรน์ นงิ (Microlearning) กบั การเล่าเรือ่ งขา้ มสื่อในยุคดิจทิ ัล.
ปญั ญาพัฒน์ วารสารพัฒนาข้าราชการ กทม. ปีที่ 5(1): 10 – 15.

ศยามน อินสะอาด. (2064). การออกแบบไมโครเลริ ์นนิงยคุ ดิจิทัล. วารสารเทคโนโลยีและส่ือสารการศึกษา.
สานกั เทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช. 16(20): 16 – 31.

166

วารสารการวจิ ัยการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน

ปที ี่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

ศริ ิลกั ษณ์ บุญมาพนั ธ์, ศยามน อินสะอาด และสุพจน์ องิ อาจ. (2564). การพัฒนาบทเรียนไมโครเลิรน์ นงิ
บนเครอื ข่ายสังคมออนไลน์ตามแนวคอนสตรัคตวิ สิ ต์เพ่ือสง่ เสรมิ การคิดวเิ คราะหส์ าหรับนักเรยี น
ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 6. วารสารเทคโนโลยีและสอ่ื สารการศึกษา. ปีท่ี 16(21): 65 – 78.

สรลักษณ์ ลลี า, ศศิธร ชูแก้ว และปรชั ญนันท์ นิลสขุ . (2562). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้
แบบจลุ ภาคดว้ ยหนงั สอื มีชวี ติ เพ่อื สง่ เสริมการคิดเชงิ ประมวลผล. การประชุมวิชาการระดบั ชาติ
สารสนเทศศาสตรว์ ิชาการ 2019, 25-26 มถิ ุนายน 2562

Bridges Learning Solutions. (2022). Applied Behavior Analysis. Building functional skills
using a positive behavior approach. (online).
https://www.bridgeslearningsolutions.com/services, May 8, 2021.

Omer Jomah. (2016). Micro Learning: A Modernized Education System. Broad Research in
Artificial Intelligence and Neuroscience. 11(1): 215 – 224.

Major, Amanda & Calandrino, Tina (2018) "Beyond Chunking: Micro-learning Secrets for
Effective Online Design," FDLA Journal: 3(13): 1 - 5.

Rebeca Pilar Díaz Redondo & et.al. (2021). Integrating micro-learning content in traditional
e-learning platforms Multimedia Tools and Applications. 80: 3121–3151.

167

วารสารการวิจยั การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน

ปีที่ 2 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

การประเมินโครงการสง่ เสริมคุณธรรมศีลธรรมนาการศึกษาจังหวัดกาแพงเพชร
The Evaluation Project of Moral Promotion and Supporting in Kamphaengphet

สุชาดา ปุญปนั *
Suchada Poonpan

บทคัดยอ่

การศึกษาครั้งนี้ มวี ตั ถุประสงค์เพ่ือประเมินปัจจัยนาเข้า กระบวนการดาเนินงาน และผลผลิตของโครงการ
ตลอดจนศึกษาปัจจัยความสาเร็จในการดาเนินโครงการสง่ เสริมคณุ ธรรมศีลธรรมนาการศกึ ษาจังหวัดกาแพงเพชร
โดยใช้กรอบการประเมินเชิงระบบ (Systematic Approach) เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ 1) แบบสอบถาม
ความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมโครงการ 2) แบบสอบถามผู้บริหารและครูเกี่ยวกับปัจจัยความสาเร็จของโครงการ
สาหรับโรงเรียนทีผ่ ่านการประเมิน กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาโรงเรยี นในสังกัด
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาแพงเพชร เขต 1 ที่เข้าโครงการ จานวน 220 คน ซึ่งได้มา

โดยการสุ่มอย่างง่าย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ค่าเฉลี่ย ( ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD.) และการ
วเิ คราะห์เนื้อหา (Content Analysis)

ผลการศึกษา พบว่า 1) ผลการประเมินปัจจัยนาเข้าของโครงการ พบว่า ความพึงพอใจต่อการดาเนินงาน
โครงการส่งเสริมคุณธรรมศีลธรรมนาการศึกษาจังหวัดกาแพงเพชร ภาพรวมมีความพึงพอใจระดับมาก
โดยมคี า่ เฉล่ยี เท่ากับ 4.39 2) ผลการประเมินกระบวนการดาเนนิ งานตามโครงการ พบวา่ ผู้เขา้ รว่ มโครงการฯ
ในภาพรวมมีระดบั ความพึงพอใจระดับมาก โดยมคี า่ เฉลย่ี เท่ากบั 4.15 3) ผลการประเมินผลผลติ ของโครงการ
พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการฯ พึงพอใจผลการดาเนินงานโครงการส่งเสริมคุณธรรมศีลธรรมนาการศึกษา
จงั หวดั กาแพงเพชรในภาพรวมมีความเหมาะสม ระดับมาก โดยมีคา่ เฉลย่ี เท่ากับ 4.44 4) ผลการศึกษาปัจจัย
ความสาเร็จของการดาเนินโครงการพบว่า 4.1) สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษากาแพงเพชร เขต 1
มีแผนงานโครงการที่มีนโยบายจุดเน้นในการพัฒนาขับเคลื่อนปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม สู่สถานศึกษา
4.2) มีกระบวนการประชุมชี้แจงผู้บริหารให้มีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักเห็นความสาคัญส่งผลให้โรงเรียน
สามารถบริหารจัดการโครงการส่งเสริมคุณธรรมศีลธรรมนาการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม 4.3) โรงเรียน
มีการส่งเสริมสนับสนุนครู ผู้ปกครอง ชุมชน มามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม 4.4) มีระบบติดตาม นิเทศ
ประเมินผลอย่างต่อเนื่องชัดเจน 4.5) มีการเปิดโอกาสให้โรงเรียนเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลการดาเนิน
กิจกรรมของโรงเรยี น ทาใหเ้ กดิ การแลกเปลย่ี นเรียนรู้จากโรงเรียนอนื่ ๆ ไดอ้ ย่างดี 4.6) ผอู้ านวยการสานักงาน
เขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษากาแพงเพชร เขต 1 ให้การส่งเสริมสนับสนุนโรงเรียนในการร่วมโครงการอยา่ งเต็มที่

คาสาคญั : ประเมินโครงการ/สง่ เสริมคณุ ธรรมศีลธรรม

*ศึกษานิเทศกช์ านาญการพเิ ศษ, สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษากาแพงเพชร เขต 1
Supervisor Senior Professional Level, Kamphaengphet Primary Educational Service Area Office 1

168

วารสารการวจิ ัยการศึกษาขนั้ พื้นฐาน

ปที ี่ 2 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

Abstract
The research purposes were 1) to evaluate the moral promotion and supporting project

in Kamphaengphet; there were 3 objectives, 1.1) to evaluate the input of moral promotion
and supporting project in Kamphaengphet 1.2) to evaluate the process of moral promotion
and supporting project in Kamphaengphet, and 1.3) to evaluate the output of moral promotion
and supporting project in Kamphaengphet. 2) to study the key success factors of the moral
promotion and supporting project in Kamphaengphet. The research tools were 2 questionnaires
for teachers and educational personnel in school of Kamphaengphet Primary Educational
Service Area Office 1. The samples were 220 teachers and educational personnel in school who
worked and joined this project. The data were analyzed by using Mean, Standard Deviation,
and Content Analysis.

The research results were as follows; 1. The input evaluation of moral promotion and
supporting project in Kamphaengphet was in the high level. 2. The process evaluation of moral
promotion and supporting project in Kamphaengphet was in the high level. 3. The output evaluation
of moral promotion and supporting project in Kamphaengphet was in the high level. 4. The key
success factors of the moral promotion and supporting project in Kamphaengphet were;
4.1) The Kamphaengphet Primary Educational Service Area Office 1 set the plan, policy, and focus
in moral promotion and supporting. 4.2) There were the good processes that gave the knowledge
for school about moral promotion and supporting management. 4.3) The participation
management of school, teachers, and community. 4.4) The staff set the follow up and
evaluation system clearly. 4.5) The schools can share the activities of moral promotion and
supporting project for learning together. 4.6) The director of Kamphaengphet Primary Educational
Service Area Office 1 supported the schools to join this project continuously.

Key Words : Project Evaluation/ Moral Supporting and promoting

บทนา
สภาพความเป็นจริงในปัจจุบันพบว่า คนไทยกาลังประสบปัญหาวกิ ฤตค่านิยม จรยิ ธรรม และพฤติกรรม

เชื่อมโยงถึงการดาเนินชีวิต ความประพฤติ ความคิด ทัศนคติและคุณธรรมของคนในสงั คมเป็นผลกระทบจาก
การเลอื่ นไหลของวัฒนธรรมต่างชาติท่ีเข้าสู่ประเทศไทยผ่านสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศ สอ่ื สรา้ งสรรค์ยังมีน้อย
ส่ือที่เป็นภัยและผิดกฎหมายมีการเผยแพร่มากขนึ้ แม้มีมาตรการปราบปรามอย่างเข้มงวด เวบ็ บรกิ ารทางเพศ

169

วารสารการวิจัยการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน

ปที ี่ 2 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

เพิ่มขึน้ 3 เท่าตวั ขณะทค่ี นไทยโดยเฉพาะเด็กและเยาวชนยงั ไม่สามารถคดั กรองและเลือกรับวฒั นธรรมต่าง ๆ
ได้อยา่ งเหมาะสม ประกอบกบั สถาบันทางสงั คม อาทิ สถาบนั ครอบครัว สถาบนั ศาสนา และสถาบันการศึกษา
มีบทบาทน้อยลง ในการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมและพัฒนาศักยภาพคนไทยโดยเฉพาะเด็กและเยาวชน
(สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2560: 50) ซึ่งสอดคล้องกับปัญหาเด็กและ
เยาวชนเป็นปัญหาระดับชาติที่ทุกภาคส่วนต่างวิตกกังวลว่าเดก็ และเยาวชน วัยเรยี น มพี ฤตกิ รรม ที่เน้นวัตถุนิยม
บริโภคนิยม ขาดจิตสานึกสาธารณะ และให้ความสาคัญ กับเรื่องส่วนตนมากกว่าสว่ นรวม นโยบายของรัฐบาล
จึงได้ให้ความสาคัญ และมุ่งมั่นที่จะแก้ไขปัญหาสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาที่สะท้อนถึงวิกฤตการณ์
ด้านคุณธรรม จริยธรรมของคนในชาติ โดยให้น้อมนาหลักคาสอนของศาสนา วัฒนธรรม และความเป็นไทย
มาสร้างสรรค์สังคมให้เกิดความเข็มแข็งอย่างมีคุณภาพและมีคุณธรรม โดยส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีบทบาท
ในการปลูกฝัง คุณธรรม จรยิ ธรรม สร้างค่านิยม จิตสานึกที่ดีให้แก่ประชาชน ให้การพฒั นาประเทศมีความสมดุล
ทั้งทางด้านวัตถุและจิตใจ พร้อมท่ีจะการไปสู่สังคมแห่งคุณธรรมตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และโมเดล
ประเทศไทย 4.0 (กระทรวงศึกษาธิการ, 2561) นอกจากนี้จะเห็นได้ว่าการที่จะทาให้คนเป็นคนดี มีคุณธรรม
จริยธรรมและคา่ นิยมทพี่ งึ ประสงคไ์ ด้น้นั ทกุ ฝา่ ยจะตอ้ งรว่ มมอื ชว่ ยกนั ในการส่งเสริมบทบาทครอบครวั องค์กร
ทางการศาสนา โรงเรียน ชุมชนองค์กรพัฒนาเอกชน ภาคธุรกิจเอกชน มีส่วนร่วมในการพัฒนา เพื่อให้เป็น
การสง่ เสริมให้คนไทยเป็นคนดี มคี ณุ ธรรม มรี ะเบยี บวินัย ช่อื สตั ย์สจุ ริต มีความสามัคคี ความรักชาติ มีจิตสานึก
รับผดิ ชอบต่อสังคม และลดปญั หาทจุ ริตประพฤติมิชอบ

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้มีนโยบายในการพัฒนาคุณธรรมให้กับเยาวชนของชาติ
ที่จาเป็นต้องดาเนินการจัดทา "โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ." เพื่อพัฒนาโรงเรียนในระดับการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน ให้นักเรียน ครู ผู้บริหารและบุคลากรทางการศึกษาตระหนักรู้ เข้าใจ และมีกระบวนการคิด
อย่างมีเหตุผล ซึมซับคุณค่าแห่งคุณธรรมความดีอย่างเป็นธรรมชาติ และสร้างความรู้สึกผิดชอบชั่วดี รวมท้ัง
สร้างเครือข่ายชุมชนองค์กรแห่งคุณธรรม โดยประสานความร่วมมือจากหน่วยงาน และองค์กรที่ทางาน
ด้านคุณธรรมอยา่ งเปน็ รูปธรรมท่ีชัดเจน รูปแบบของโรงเรยี นคุณธรรมน้ัน เป็นเรือ่ งที่ไม่ซับซ้อนและทาไดง้ ่าย
เป็นการลงทุนต่า แต่ได้กาไรมาก และสามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของนักเรียนได้จริง โดยหลักการของ
โรงเรยี นคณุ ธรรมสามารถนาไปใช้ได้กับโรงเรียนในทกุ ศาสนา ไม่ผูกขาดกับศาสนาใดศาสนาหน่ึงเปรียบเสมือน
เป็นคุณธรรมสากล ที่จะช่วยให้พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ในโรงเรียน "ลดลง" และส่งเสริมให้เกิดพฤติกรรม
ที่พึงประสงค์ "เพิ่มขึ้น" ซึ่งนับเป็นการพัฒนาเยาวชน ผู้ปกครอง และชุมชน ได้อย่างยั่งยืน (สานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน, 2560: 104)

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาแพงเพชร เขต 1 ได้จัดทาโครงการส่งเสริมคุณธรรม
ศีลธรรมนาการศึกษา โดยร่วมกับบริษทั เฉาก๊วยชากงั ราว จากัด มีวัตถุประสงคเ์ พื่อส่งเสริมนกั เรียนให้รักชาติ
ศาสนา และพระมหากษัตริย์ การเป็นผู้มีคุณธรรมศีลธรรม และสามารถปฏิบัติทักษะมัคนายกน้อยได้

170

วารสารการวจิ ัยการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน

ปีท่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

ซ่ึงมโี รงเรียนในสังกัดสนใจสมัครเขา้ ร่วมโครงการในปกี ารศึกษา 2563 จานวน 165 โรงเรยี น ทงั้ น้ีเม่ือดาเนิน
กจิ กรรมตามโครงการมาจบปีการศกึ ษา

ผู้ศึกษาในฐานะศึกษานิเทศก์ผู้รับผิดชอบโครงการดังกล่าว จึงได้ศึกษาวิจัยเพื่อประเมินโครงการ
ส่งเสริมคุณธรรมศีลธรรมนาการศึกษา โดยใช้รูปแบบการประเมินในการศึกษาครั้งนี้ คือรูปแบบเชิงระบบ
(Systematic Approach) ที่แบ่งเป็นปัจจัยนาเข้า (Input) กระบวนการ (Process) และผลผลิต (Output)
ทั้งนี้ เพื่อนาผลมาใช้ในการปรับปรุง แก้ไข และพัฒนางานการส่งเสริมคุณธรรม ซึ่งเป็นคุณลักษณะที่สาคัญ
สาหรับเด็ก เยาวชน และประชาชน ในสังคมยุคปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง อันจะส่งผลให้เกิดคุณภาพ
ด้านคุณลักษณะของผูเ้ รยี นอย่างย่งั ยนื ตอ่ ไป

วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัย

1. เพื่อประเมนิ โครงการสง่ เสรมิ คุณธรรมศีลธรรมนาการศกึ ษาจังหวัดกาแพงเพชร โดยมีวัตถุประสงค์
ยอ่ ยได้แก่

1.1 เพ่อื ประเมนิ ปัจจยั นาเข้าของการดาเนนิ โครงการส่งเสรมิ คุณธรรมศีลธรรมนาการศึกษา
จงั หวัดกาแพงเพชร

1.2 เพื่อประเมินกระบวนการดาเนินโครงการส่งเสริมคุณธรรมศีลธรรมนาการศึกษา
จังหวดั กาแพงเพชร

1.3 เพ่ือประเมินผลการดาเนินโครงการส่งเสรมิ คุณธรรมศีลธรรมนาการศึกษาจังหวัดกาแพงเพชร
2. เพื่อศึกษาปัจจัยความสาเร็จในการดาเนินโครงการส่งเสริมคุณธรรมศีลธรรมนาการศึกษา
จงั หวัดกาแพงเพชร

วิธีดาเนินการวิจยั
1. ประชากร กลุ่มตัวอยา่ งและวิธกี ารสมุ่ กลุ่มตัวอย่าง
วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 ศึกษาผลการประเมินโครงการส่งเสริมคุณธรรมศีลธรรมนาการศึกษา

จงั หวดั กาแพงเพชร
1) ประชากร ได้แก่ ครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนในสังกัดสานักงาน

เขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษากาแพงเพชร เขต 1 ทีเ่ ข้าโครงการ จานวน 495 คน
2) กลมุ่ ตัวอย่าง ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาโรงเรยี นในสังกัดสานักงานเขตพน้ื ท่ี

การศึกษาประถมศึกษากาแพงเพชร เขต 1 ที่เข้าโครงการ จานวน 220 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย
(Simple Random Sampling) โดยการคานวณตามสตู ร ทาโรยามาเน่ ในการกาหนดจานวนกลมุ่ ตวั อย่าง

วตั ถปุ ระสงคข์ ้อที่ 2 ศกึ ษาปัจจัยความสาเร็จในการดาเนินโครงการส่งเสรมิ คุณธรรมศลี ธรรม
นาการศกึ ษาจังหวัดกาแพงเพชร

171

วารสารการวจิ ยั การศึกษาขั้นพื้นฐาน

ปีท่ี 2 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

กล่มุ เป้าหมาย ได้แก่ ผู้บริหารและครูในโรงเรยี นทผ่ี ่านการประเมินตามตัวชีว้ ัดของโครงการสง่ เสรมิ
คณุ ธรรมศีลธรรมนาการศกึ ษาจากโรงเรียนในสังกดั สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษากาแพงเพชร เขต 1
จานวน 30 คน

2. เครือ่ งมอื ท่ีใชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มลู

ในการศกึ ษาครงั้ นี้ เคร่อื งมือทใี่ ช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ได้แก่
1) แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้เขา้ ร่วมโครงการ ซ่ึงเป็นแบบสอบถามชนดิ เลอื กตอบ

(checklist) และแบบมาตราสว่ นประมาณคา่ (rating scale) และคาถามปลายเปิด (opened-end)
2) แบบสอบถามผู้บริหารและครูเกี่ยวกับปัจจัยความส าเร็จของโครงการ

โดยสอบถามโรงเรยี นทผี่ ่านการประเมนิ ตามตวั ชวี้ ดั ของเกณฑ์การประเมนิ โครงการ

3. การเก็บรวบรวมข้อมลู
ในการเก็บรวบรวมข้อมูลการสารวจความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมโครงการส่งเสริมคุณธรรม
ศีลธรรมนาการศกึ ษา มขี ั้นตอนในการเกบ็ รวบรวมข้อมูลดังน้ี

1) แตง่ ตงั้ คณะกรรมการดาเนินงาน/กจิ กรรมการเก็บรวบรวมขอ้ มูล
2) วางแผนการเกบ็ รวบรวมข้อมูล และเตรียมประสานงานกลมุ่ เป้าหมายในการเกบ็
รวบรวมข้อมูล
3) ดาเนินการจัดทาแบบสอบถามความคดิ เห็น ตามกรอบเน้ือหาในการดาเนนิ งาน
4) นาแบบสอบถามเสนอผเู้ ชย่ี วชาญซง่ึ มีความรู้ความสามารถด้านการบรหิ ารโครงการ
ด้านการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จานวน 3 คน เพื่อตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา (Content validity)
ผ้เู ชยี่ วชาญประกอบด้วย
4.1) ดร.สุพล จนั ต๊ะคาด ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
กาแพงเพชร เขต 1
4.2) ดร.สามารถ กมขุนทด ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สานักงานเขตพื้นท่ี
การศกึ ษาประถมศึกษากาแพงเพชร เขต 2
4.3) ดร.เสริมวฒุ ิ สวุ รรณโรจน์ ประธานโครงการสง่ เสริมคุณธรรมศลี ธรรมนาการศึกษา
5. นาแบบสอบถามที่ผ่านการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญมาวิเคราะห์หาดัชนีความสอดคล้อง
(Item objective congruence : IOC) โดยคัดเลือกข้อที่มีค่าดัชนีความสอดคล้องตั้งแต่ 0.50 ขึ้นไป รวมท้ัง
ปรับปรงุ ตามขอ้ เสนอแนะของผู้เช่ยี วชาญ โดยมีเกณฑ์การประเมนิ ดังน้ี

172

วารสารการวิจัยการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน

ปที ่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

ให้ +1 แนใ่ จว่าข้อคาถามมีความสอดคล้องเหมาะสมกบั เนอ้ื หาและโครงสรา้ ง
ให้ 0 ไมแ่ น่ใจว่าข้อคาถามมีความสอดคลอ้ งเหมาะสมกบั เน้อื หาและโครงสรา้ ง
ให้ -1 แนใ่ จวา่ ข้อคาถามไมม่ ีความสอดคลอ้ งเหมาะสมกับเน้อื หาและโครงสรา้ ง
ในที่นี้ผู้ศึกษาคัดเลือกค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง 0.50 - 1.00 พร้อมทั้งปรับปรุงแบบสอบถาม
ตามขอ้ เสนอแนะของผู้เช่ียวชาญ
6. ผศู้ ึกษานาแบบสอบถามทผ่ี เู้ ช่ียวชาญตรวจสอบความตรงด้านเนื้อหาและปรบั ปรงุ แก้ไขแล้ว
ไปทดลอง (try Out) กับผู้ที่มีคุณสมบัติเหมือนกับประชากร ซึ่งไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งน้ี ได้แก่
ผูบ้ ริหารสถานศึกษา ครูผ้สู อนของสถานศึกษา ในสงั กดั สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษากาแพงเพชร
เขต 1 จานวน 30 คน เพื่อพิจารณาหาความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบสอบถามโดยหาค่าสัมประสิทธ์ิ
สหสัมพันธ์แอลฟา (Alpha coefficient) ของครอนบาค (Cronbach) โดยได้คา่ สัมประสิทธ์ิสหสัมพนั ธ์แอลฟา
(Alpha coefficient) ของแบบสอบถามท้งั ฉบบั เทา่ กบั .8511
7. ผู้ศึกษาดาเนินการแจกแบบสารวจความคิดเห็นด้วยตนเอง พร้อมอธิบายรายละเอียด
การตอบแบบสอบถาม ก่อนตรวจสอบความสมบรู ณ์ของการตอบแบบสอบถาม
8. ดาเนินการวางแผนกรอบการวิเคราะห์ ข้อมูลผลการสารวจความคิดเห็น และจัดทาร่าง
การรายงานผลการดาเนนิ การ เพื่อจดั ทารายงานตอ่ ไป

4. การวิเคราะห์ข้อมูล
1) ขอ้ มลู จากการสอบถามระดับความคิดเห็นของผู้เข้ารว่ มโครงการ และผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสีย

ท่ตี อบแบบสอบถามแบบมาตราสว่ นประมาณค่า 5 ระดบั เกีย่ วกบั ระดบั ความพึงพอใจ โดยผูศ้ กึ ษาใช้โปรแกรม
คอมพิวเตอร์สาเร็จรปู วิเคราะห์ และนาเสนอในรูปตาราง บรรยายตามสภาพซ่ึงสถติ ิที่วิเคราะห์คือหาค่าเฉล่ีย
( X ) และค่าความเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) โดยไดก้ าหนดค่าเฉลี่ยในการแปลความหมายไว้ดังน้ี

4.01 -5.00 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจมากท่สี ุด
3.50-4.00 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจมาก
2.50 -3.49 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจปานกลาง
1.50-2.49 หมายถึง มีความพงึ พอใจนอ้ ย
0.00-1.49 หมายถึง มีความพงึ พอใจน้อยทสี่ ดุ
2) ขอ้ มูลจากการสอบถามปัจจยั ความสาเร็จของการดาเนนิ โครงการส่งเสรมิ คุณธรรมศีลธรรม
นาการศึกษาจังหวัดกาแพงเพชร เป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ ผู้ศึกษาวิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา
(Content Analysis) และบรรยายตามสภาพ

173

วารสารการวิจยั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน

ปที ่ี 2 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

5. สถิติทใ่ี ชใ้ นการวิจัย
1) คา่ เฉลี่ย (Mean) หรือเรยี กวา่ ค่ากลางเลขคณติ ค่าเฉล่ยี คา่ มชั ฌิมเลขคณิต เปน็ ต้น

X = x

n
เมอื่ X แทน คา่ เฉล่ีย

X แทน ผลรวมของคะแนนทัง้ หมดของกลุม่
n แทน จานวนของคะแนนในกลุม่

2) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เป็นการวัดการกระจายที่นิยมใช้กันมาก
เขยี นแทนดว้ ย S.D. หรือ S

S.D. =  (X - X)2
n–1

หรือ
S.D. = nX2 - (X)2
n(n – 1)

เมอ่ื S.D. แทน ค่าสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน
X แทน คา่ คะแนน
n แทน จานวนคะแนนในแตล่ ะกลุ่ม
 แทน ผลรวม

สรุปผลการวจิ ยั
1. ผลการประเมินปัจจัยนาเข้าของโครงการ พบว่า ความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมโครงการฯ เกี่ยวกับ

ความพึงพอใจตอ่ การดาเนนิ งานโครงการส่งเสริมคุณธรรมศีลธรรมนาการศกึ ษา จงั หวัดกาแพงเพชรด้านปัจจัย
นาเข้าในภาพรวมมีความพึงพอใจในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.39 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า
ปัจจัยนาเข้าในการดาเนินโครงการส่งเสริมคุณธรรมศีลธรรมนาการศึกษาจังหวัดกาแพงเพชร ที่มีระดับความ
พึงพอใจสูงสุดคือ งบประมาณที่เพียงพอในการดาเนินกิจกรรมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.87 รองลงมาคือ ระยะเวลา
ทดี่ าเนินกจิ กรรม มีค่าเฉลย่ี เทา่ กบั 4.52 และ บุคลากรในการดาเนินงานคา่ เฉล่ยี เท่ากบั 4.12 ตามลาดับ

174

วารสารการวจิ ัยการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน

ปีท่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

2. ผลการประเมินกระบวนการดาเนินงานตามโครงการ พบว่า ความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมโครงการ
มี ร ะ ดั บคว าม พ ึ ง พ อ ใจขอ ง ก ร ะ บว น ก าร ด าเน ิ น ง านโ คร ง ก าร ส่ ง เสร ิ ม คุ ณธ ร ร ม ศี ลธ ร ร ม น าก าร ศึ ก ษา
จังหวัดกาแพงเพชร ในภาพรวมมีความเหมาะสมในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.15 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ
พบวา่ กระบวนการดาเนนิ งานของโครงการเรือ่ งการมีส่วนร่วมในการดาเนินกิจกรรมมีค่าเฉลี่ยสูงสดุ คือ 4.90
รองลงมาคือ การกาหนดวัตถุประสงค์ของโครงการ มคี ่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.87 และการบริหารจัดการกิจกรรมต่าง ๆ
มคี า่ เฉลี่ยเท่ากบั 4.56 ตามลาดบั

3. ผลการประเมินผลผลิตของโครงการ พบวา่ ความคดิ เห็นของผู้เขา้ ร่วมโครงการฯ เกยี่ วกับความพึงพอใจ
ของการดาเนินงานโครงการส่งเสริมคุณธรรมศีลธรรมนาการศึกษาจังหวัดกาแพงเพชรด้านผลผลิตของ
การดาเนินโครงการในภาพรวมมีความเหมาะสมในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.44 เมื่อพิจารณาเป็น
รายข้อ พบว่ารายการที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดได้แก่ นักเรียนสามารถปฏิบัติตนเป็นมัคนายกน้อยได้ โดยมีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ 4.68 รองลงมาคือนักเรียนสามารถอาราธนาศีล อาราธนาธรรม อาราธนาพระปริตร มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ
4.60 และนกั เรียนสามารถนาหลกั ธรรมมาใช้ในการปฏบิ ตั ติ น มคี ่าเฉลยี่ เท่ากบั 4.55 ตามลาดับ

4. ผลการศกึ ษาปัจจัยความสาเร็จของการดาเนินโครงการ พบว่า มปี จั จยั ทส่ี าคัญดังนี้
1) สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาแพงเพชรเขต 1 มีแผนงานโครงการที่มี

จุดเน้นตามนโยบายการพฒั นาขับเคลอ่ื นปลูกฝังคณุ ธรรม จรยิ ธรรม สูส่ ถานศึกษา
2) มกี ระบวนการประชุมช้แี จงผูบ้ รหิ ารใหม้ ีความรู้ความเขา้ ใจ ตระหนกั เห็นความสาคัญส่งผล

ใหโ้ รงเรียนสามารถบรหิ ารจดั การโครงการส่งเสริมคุณธรรมศีลธรรมนาการศึกษาอยา่ งเปน็ รปู ธรรม
3) โรงเรยี นมีการส่งเสริมสนบั สนนุ ครู ผู้ปกครอง ชมุ ชน มามีสว่ นร่วมในการจัดกจิ กรรม
4) มรี ะบบติดตาม นิเทศ ประเมินผลอยา่ งตอ่ เน่ืองชดั เจน
5) มีการเปิดโอกาสให้โรงเรียนเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ขอ้ มูลการดาเนนิ กิจกรรมของโรงเรียน

ทาใหเ้ กิดการแลกเปลยี่ นเรยี นรจู้ ากโรงเรยี นอ่นื ๆ ไดอ้ ย่างดี
6) ผูอ้ านวยการสานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษากาแพงเพชร เขต 1 ให้การส่งเสริม

สนับสนนุ โรงเรยี นในการรว่ มโครงการอยา่ งเต็มท่ี

การอภิปรายผล

จากผลการศกึ ษา ผศู้ ึกษามปี ระเด็นที่นามาอภปิ รายได้ดังนี้
1. ปัจจัยนาเข้าของโครงการ พบว่า ผลการประเมินความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมโครงการส่งเสริม
คุณธรรมศีลธรรมนาการศึกษาจังหวัดกาแพงเพชร เกี่ยวกับความพึงพอใจต่อการดาเนินงานโครงการส่งเสริม
คุณธรรมศีลธรรมนาการศึกษาจังหวัดกาแพงเพชร ด้านปัจจัยนาเข้าในภาพรวมมีความพึงพอใจในระดับมาก
เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ปัจจัยนาเข้าในการดาเนินโครงการส่งเสริมคุณธรรมศีลธรรมนาการศึกษา
จงั หวดั กาแพงเพชร ทีม่ ีระดบั ความพึงพอใจสงู สุดคือ งบประมาณที่เพียงพอในการดาเนนิ กิจกรรม รองลงมาคือ

175

วารสารการวจิ ัยการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน

ปีที่ 2 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

ระยะเวลาที่ดาเนินกิจกรรม และบุคลากรในการดาเนินงาน ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ โรงเรียนได้รับงบประมาณ
สนับสนุนจากบริษัทเฉาก๊วยชากังราว จากัด เพื่อนามาดาเนินกิจกรรมต่างๆ ในโครงการซึ่งหากพิจารณา
กิจกรรมในโครงการ เช่น การฝึกนักเรียนปฏิบัติตนเป็นมัคนายกน้อย หรือ การอาราธนาศีล อาราธนาธรรม
เป็นกิจกรรมการฝึกหัดเพื่อให้เกิดทักษะ และความชานาญ ไม่ได้เป็นกิจกรรมที่ต้องใช้วัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้
งบประมาณ จึงทาให้โรงเรยี นเหน็ วา่ งบประมาณมีความเพยี งพอในการดาเนินงานโครงการดังกลา่ ว

2. ผลการประเมินกระบวนการดาเนินงานตามโครงการ พบว่าความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมโครงการฯ
มีระดับความพึงพอใจของกระบวนการดาเนินงานโครงการส่งเสริมคุณธรรมศีลธรรมนาการศึกษา จังหวัด
กาแพงเพชรในภาพรวมมีความเหมาะสมในระดับมาก เมอื่ พจิ ารณาเปน็ รายข้อ พบว่า กระบวนการดาเนินงาน
ของโครงการเร่อื งการมสี ่วนร่วมในการดาเนนิ กิจกรรมมคี า่ เฉลย่ี สงู สุด รองลงมาคอื การกาหนดวตั ถปุ ระสงค์ของ
โครงการ และการบริหารจัดการกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งนี้ อาจเป็นเพราะการดาเนินงานกิจกรรมในโครงการ
ซ่ึงเป็นกจิ กรรมทางพระพุทธศาสนา ไม่ว่าจะเป็นการฝึกปฏิบัติเพอ่ื ให้เกิดทักษะมัคนายกน้อย เป็นการส่งเสริม
นักเรยี นให้นักเรียนสามารถปฏิบัติในพธิ ีกรรมทางศาสนา ให้ความรู้ดา้ นศาสนพธิ ี การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง
และชุมชน ตลอดจนวัดทตี่ อ้ งมามีสว่ นร่วม จึงเป็นกระบวนการสาคญั ท่โี รงเรียนเหน็ ว่าการมสี ่วนร่วมจึงมีระดับ
ความพงึ พอใจท่ีสงู กว่าประเด็นอน่ื ๆ ซึ่งผลการศึกษามคี วามสอดคล้องกับการกล่าวของ บุญมี แท่นแกว้ (2562 : 25)
ได้กล่าวว่า จริยธรรม หมายถึงธรรมชาติหรือหลักธรรม ที่บุคคลควรประพฤติ จัดว่าเป็นคุณธรรมที่แสดงออก
ทางร่างกายในลักษณะที่ดีงามถูกต้องอันเป็นสิ่งที่ประสงค์ของสังคม และจริยธรรมจะมีได้จาต้องอาศัย
หลักคาสอนทางศาสนาอันได้แก่ศีล (Precept) หมายถึงหลัก หรือกฎเกณฑ์การประพฤติปฏิบัติเพื่อคัดหรือ
ฝึกหัดกายและวาจาให้เรียบร้อยให้เป็นปกติ กล่าวคือจะพูดหรือทาสิ่งใดให้เป็นไปตามปกติ อย่าให้ผิดปกติ
(ผิดศีล) เช่น พูดให้ถูกต้องให้เป็นธรรม กระทาให้ถูกต้องให้เป็นธรรม จึงเป็นผลของการมีศีลหรือมีคุณธรรม
ในจิตใจ เม่อื มคี ุณธรรมในจิตใจแลว้ ก็เปน็ เหตใุ ห้ประพฤตจิ รยิ ธรรมไดแ้ ละศลี จึงเป็นโครงสรา้ งจรยิ ธรรม

3. ผลการประเมินผลผลิตของโครงการ พบว่า ความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมโครงการฯ เกี่ยวกับ
ความพึงพอใจของการด าเนินงานโครงการส่งเสริมคุณธรรมศีลธรรมน าก ารศึกษาจังหวัดก าแพงเพชร
ด้านผลผลิตของการดาเนินโครงการในภาพรวมมีความเหมาะสมในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า
รายการที่มีคา่ เฉลี่ยสูงสุดได้แก่ นักเรียนสามารถปฏิบตั ิตนเป็นมัคนายกน้อยได้ รองลงมาคือ นักเรียนสามารถ
อาราธนาศลี อาราธนาธรรม อาราธนาพระปรติ ร และนกั เรยี นสามารถนาหลักธรรมมาใช้ในการปฏิบัตติ น ทั้งนี้
อาจเป็นเพราะโครงการส่งเสริมคุณธรรมศีลธรรมนาการศึกษามีการกาหนดตัวชี้วดั และเกณฑ์ในการประเมนิ
ที่ชัดเจน ที่โรงเรียนสามารถนาตัวชี้วัดต่าง ๆ มาส่งเสริมให้นักเรียนฝึกปฏบิ ัติได้ถูกต้องชัดเจน ทาให้โรงเรียน
มีความพึงพอใจในผลผลติ ที่เกิดกบั นกั เรยี นท่ีเป็นรูปธรรม และประเมินได้อยา่ งเท่ยี งตรงและชัดเจน นอกจากนี้
มีความสอดคล้องกับงานวจิ ัยของ สังวาลย์ สิทธิวงค์ (บทคัดย่อ, 2563) ที่ศึกษาวิจัยเชิงปฏิบัตกิ ารแบบมีส่วนรว่ ม
เพื่อส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมอันพึงประสงค์ของนักเรียนโรงเรียนโพธิแสนวิทยา สานักงาน
เขตพน้ื ท่กี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 พบว่า การพัฒนาการสง่ เสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ ม

176

วารสารการวจิ ัยการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน

ปีที่ 2 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

อันพึงประสงค์ของนักเรียนโรงเรียนโพธิแสนวิทยา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 ควรใช้
แนวทางการพัฒนา 5 แนวทาง ดังน้ี 1) การอบรมให้ความร้ดู ้านคุณธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นิยมอันพึงประสงค์
2) การสอนบูรณาการสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมอันพึงประสงค์ 3) การจัดกิจกรรมวันสาคัญ
4) กิจกรรมเข้าคา่ ยโครงการอบรมคุณธรรม จริยธรรมและคา่ นยิ มอนั พึงประสงค์ และ 5) กจิ กรรม 3 ดี วถิ ธี รรม

4. ผลการศกึ ษาปจั จัยความสาเรจ็ ของการดาเนนิ โครงการ พบวา่
1) สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาแพงเพชรเขต 1 มีแผนงาน โครงการที่มี

จุดเน้นนโยบายท่ีชัดเจนในการพัฒนาขับเคลื่อนปลูกฝังคณุ ธรรม จรยิ ธรรม สู่สถานศึกษา
2) มกี ระบวนการประชมุ ช้แี จงผูบ้ รหิ ารให้มคี วามรู้ความเขา้ ใจ ตระหนกั เหน็ ความสาคัญสง่ ผล

ให้โรงเรียนสามารถบริหารจดั การโครงการสง่ เสริมคุณธรรมศีลธรรมนาการศึกษาอยา่ งเปน็ รปู ธรรม
3) โรงเรยี นมกี ารส่งเสรมิ สนับสนนุ ครู ผู้ปกครอง ชุมชนมามสี ่วนร่วมในการจัดกิจกรรม
4) มรี ะบบตดิ ตาม นิเทศ ประเมินผลอยา่ งตอ่ เน่อื งชัดเจน
5) มกี ารเปิดโอกาสใหโ้ รงเรียนเผยแพร่ประชาสมั พันธข์ ้อมูลการดาเนนิ กิจกรรมของโรงเรยี น

ทาใหเ้ กิดการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้จากโรงเรยี นอ่ืนๆได้อยา่ งดี
6) ผอู้ านวยการสานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษากาแพงเพชร เขต 1

ให้การส่งเสริมสนับสนุนโรงเรียนในการร่วมโครงการอย่างเต็มท่ี จะเห็นได้ว่าผลการศึกษาปัจจัยความสาเร็จ
ในการดาเนนิ โครงการจะต้องมอี งค์ประกอบท้ังเรือ่ งบุคลากร งบประมาณ และการบรหิ ารจดั การ ซงึ่ สอดคล้อง
กับแนวคิดเชิงระบบและการบริหารแบบ 4 M คือ Man Money Management Material ที่ถือเป็นปัจจัย
สาคัญในการช่วยขับเคลื่อนให้โครงการสามารถดาเนินได้อย่างประสบความสาเร็จ นอกจากนี้ กระบวนการ
มีสว่ นรว่ มถือเป็นอีกปจั จยั ทช่ี ่วยสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้การดาเนินโครงการในสถานศึกษาประสบความสาเรจ็ ทั้งนี้
กระบวนการมีส่วนร่วม มีขั้นตอนตั้งแต่ร่วมวางแผน ร่วมกาหนดวัตถุประสงค์ ร่วมกิจกรรม ร่วมประเมิน
และร่วมรับผลประโยชน์สถานศึกษา เปิดโอกาสให้ครู ผู้ปกครอง และชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมทุกขั้นตอน
การดาเนินงานโครงการจะประสบความสาเรจ็ อีกทั้งมีความสอดคลอ้ งกบั งานวิจยั ของ มานพ จาดเปรม (2560)
ได้ศึกษาวิจัยเรื่องแนวทางการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียนในโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศกึ ษาตาก เขต 1 ผลการวจิ ัยพบวา่ 1) การส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมของนกั เรยี นมกี ารปฏบิ ัติ
ในภาพรวมอย่ใู นระดับมาก 2) ปญั หาการส่งเสริมคณุ ธรรมจริยธรรมของนกั เรยี นในโรงเรยี นพบว่า ด้านกิจกรรม
การเรียนการสอนมีปัญหามากที่สุด เรื่องขาดการส่งเสริมสนับสนุนครูผู้สอน และ 3) ผลการศึกษาแนวทาง
การส่งเสริมคณุ ธรรมจรยิ ธรรม คือ ควรสง่ เสรมิ อบรมครูใหจ้ ัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการเน้ือหาคุณธรรม
จริยธรรมกับทุกสาระการเรียนรู้ และการมีส่วนร่วมของโรงเรียนและชุมชนในการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม
ทง้ั ทีบ่ า้ นและทโ่ี รงเรียน

177

วารสารการวจิ ยั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน

ปที ี่ 2 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

ข้อเสนอแนะ

จากผลการวจิ ยั ครง้ั นีผ้ ู้ศกึ ษามขี อ้ เสนอแนะเพอ่ื ประโยชน์กับหนว่ ยงานทางการศึกษา ดังน้ี
1. ขอ้ เสนอแนะสาหรับการนาผลการศึกษาไปใช้
1) ผบู้ ริหารสถานศกึ ษาอืน่ ๆ สามารถนารปู แบบการประเมนิ โครงการไปประยกุ ตใ์ ช้

เพื่อได้ข้อมลู สารสนเทศสาหรบั การพฒั นาการจัดกจิ กรรม/โครงการส่งเสริมคุณธรรม
2) โรงเรยี นควรจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาท่ีส่งเสริมคุณธรรมศีลธรรมของ

นกั เรยี น ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา และผู้ท่ีเก่ียวขอ้ ง
3) ผู้บริหารและครคู วรจดั กจิ กรรมท่ีสง่ เสริมคณุ ธรรมศลี ธรรมนาการศึกษานักเรียน

อย่างตอ่ เนอ่ื ง
4) ควรสง่ เสรมิ ให้ผู้ปกครองนักเรียนมีสว่ นร่วมในการส่งเสริมคุณธรรมศีลธรรม

ใหแ้ ก่นักเรียน
5) ควรส่งเสริมให้นักเรียนพัฒนาตนเอง โดยพานักเรียนไปร่วมกิจกรรมจิตอาสา

มัคนายกนอ้ ยในชุมชน ทอ้ งถ่นิ ตนเอง
6) ควรสง่ เสริมการมสี ว่ นรว่ มของชุมชน ท้องถ่นิ ในการจดั กิจกรรมสง่ เสรมิ คณุ ธรรม

ศีลธรรม

2. ขอ้ เสนอแนะสาหรบั การศกึ ษาครัง้ ต่อไป
1) ควรศึกษาการประเมินผลการดาเนนิ งานโครงการส่งเสรมิ คณุ ธรรมศีลธรรม

นาการศกึ ษา โดยใช้รปู แบบการประเมนิ อืน่ ๆ
2) ควรศึกษาสภาพปญั หาและแนวทางการพฒั นาการดาเนนิ งานโครงการส่งเสรมิ

คณุ ธรรมศีลธรรมนาการศึกษา
3) ควรศึกษาความคงทนของพฤตกิ รรมและความสามารถของนักเรยี นท่เี ขา้ โครงการ

ส่งเสริมคณุ ธรรมศีลธรรมนาการศึกษา
4) ควรศึกษาเปรียบเทียบผลการดาเนินโครงการส่งเสริมคุณธรรมและคุณลักษณะ

ทพี่ ึงประสงค์ของนกั เรยี นตามตัวช้ีวดั ของโครงการอ่ืน เช่น โรงเรยี นวิถพี ทุ ธ โรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
5) ควรศึกษาผลการพัฒนาสื่อ นวัตกรรมที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการสอดแทรก

คุณธรรมศลี ธรรม
6) ควรศึกษารูปแบบการมีส่วนร่วมของสถานศึกษา ชุมชนในการพัฒนาคุณธรรม

นกั เรยี นอยา่ งยง่ั ยนื

178

วารสารการวิจยั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน

ปที ี่ 2 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

เอกสารอ้างอิง

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2543). แนวทางการบริหารโรงเรียนโดยใช้ปัจจัยองค์รวมและปัจจัย
สนบั สนุน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ครุ สุ ภาลาดพรา้ ว.

การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน, สานักงานคณะกรรมการ. (2560). แนวทางการขบั เคลื่อนโครงการโรงเรียนคณุ ธรรม
สพฐ.ปงี บประมาณ 2560.กรุงเทพฯ: คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน.

เกษม วฒั นชยั . (2552). องคก์ ารที่มคี ุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล. กรุงเทพฯ : สานักพมิ พ์ จากัด
(มหาชน) สาขาบางกะปิ. วทิ ยานพิ นธว์ ทิ ยาศาสตรมหาบัณฑติ (รฐั ศาสตร)์ .

คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ, สานักงาน. “แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคม แห่งชาติ
ฉบบั ทสี่ บิ เอ็ด พ.ศ. 2555-2559”. (ออนไลน)์ . เข้าถงึ ได้จาก:
http://www. nesdb.go.th/download/ article/article_20160323112431.pdf. 26 ตุลาคม 2562.

ชัยพร วิชชาวุธ และคนอ่ืนๆ . (2561). พฤตกิ รรมจริยธรรมในสังคมไทยปจั จบุ ัน: ศึกษาคามแนวทาง
จติ วทิ ยาสังคม. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.

ชาย โพธิสิตา. (2550). ศาสตร์และศิลป์แห่งการวิจัยเชงิ คณุ ภาพ. กรุงเทพฯ : อมรปร๊ินต้งิ .
ดวงเดอื น พนั ธมุ นาวนิ . (2544). ทฤษฎีตน้ ไมจ้ รยิ ธรรม : การวิจัยและการพัฒนางานบูรณาการ ครง้ั ที่ 4.

กรงุ เทพฯ: สานกั กจิ การโรงพิมพท์ หารผ่านศึก.
ทิศนา แขมมณ.ี (2549). การพฒั นาคุณธรรมจริยธรรมและคา่ นยิ ม : จากทฤษฎีสกู่ ารปฏิบตั ิ. กรุงเทพฯ:

เสรมิ สนิ พรีเพรส ซิสเทม็ .
ธนภัทร จนั ทร์สวา่ ง. (2552). การศึกษาคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ด้านการปฏบิ ตั ติ นเป็นประโยชนต์ ่อ

สว่ นรวมของนักเรียนช่วงชัน้ ที่ 2 โรงเรยี นในสังกัดกรุงเทพมหานคร. ปรญิ ญานิพนธ์.กศ.ม.
(การวดั ผลการศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ.
บุญมี แทน่ แกว้ . (2562). จรยิ ธรรมกบั ชวี ิต. พิมพค์ ร้งั ที่ 6. กรุงเทพมหานคร: โอเดยี นสโตร.์
ประชุม รอดประเสรฐิ , (2544). การบริหารโครงการ. กรงุ เทพมหานคร: เนตกิ ุลการพมิ พ์.
พรสวรรค์ พงษ์ด.ี (2551). แนวทางการจดั การเรียนรู้เพอื่ สง่ เสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม และคา่ นิยม
ทพ่ี งึ ประสงค์ของผบู้ ริหาร ครูและผปู้ กครองนักเรียนในโรงเรยี นสังกัดสานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา
นครสวรรค์ เขต 3. วิทยานพิ นธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตร.ี
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺ โต). (2549). พจนานกุ รมพุทธศาสน์ ฉบบั ประมวลธรรม. กรงุ เทพฯ: มหาจุฬาลงกรณ์
ราชวทิ ยาลัย.
พสิ ณุ ฟองศร.ี (2533). เทคนคิ วธิ ปี ระเมนิ โครงการ. กรงุ เทพฯ: พรอพเพอร์ดีพ้ รนิ ท์ จากัด.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2546 ). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ: นานมบี ุคพับลิเคช่ัน จากัด.
สมคดิ พรมจยุ้ . (2542). เทคนคิ การประเมนิ โครงการ. (พมิ พค์ ร้ังที่ 4). นนทบรุ ี: จตพุ ร ดีไซน์.

179

วารสารการวิจยั การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน

ปที ี่ 2 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

มานพ จาดเปรม. (2558). แนวทางพัฒนาการสง่ เสรมิ คุณธรรมจรยิ ธรรมของนักเรียนในโรงเรยี น.
สงั กดั สานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 1. วิทยานพิ นธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต
มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเลย.

สมหวัง พิธยิ านุวัฒน.์ (2549). ความรพู้ น้ื ฐานสาหรับการประเมินโครงการทางการศึกษา". ในสมหวัง
พริ ิยานวุ ัฒน์ บรรณาธกิ าร รวมบทความทางการประเมนิ โครงการ พิมพค์ รงั้ ท่ี 3. กรงุ เทพฯ:
สานกั พมิ พจ์ ุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั .

สุวิมล ตริ กานนั ท์. (2545). การประเมนิ โครงการและแนวทางส่กู ารปฏบิ ตั ิ. (พมิ พ์ครั้งที่ 4). กรงุ เทพฯ:
โรงพมิ พ์ศนู ย์สง่ เสรมิ วิชาการ.

ศนู ย์วจิ ัยเอแบคนวัตกรรมทางสังคม. (2551). การจัดการและธุรกิจ. มหาวิทยาลยั อัสสัมชญั .
สงั วาลย์ สิทธวิ งค์. การวิจยั เชงิ ปฏบิ ตั ิการแบบมสี ่วนรว่ มเพอื่ สง่ เสรมิ คุณธรรมจรยิ ธรรมและค่านิยมอันพึง

ประสงค์ของนักเรยี นโรงเรยี นโพธแิ สนวิทยา, สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 23.
มหาวิทยาลยั ราชภัฎสกลนคร.

180

วารสารการวิจยั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน

ปีที่ 2 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

ความต้องการจาเป็นในการสง่ เสรมิ สมรรถนะการจดั ประสบการณ์ตามแนวคดิ พหุปญั ญา
สาหรบั ครูปฐมวัย สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 2

The needs assessment in promoting experiential organizing competencies
in accordance with the concept of multiple intelligences for early

childhood teacher of Chiang Mai Primary Education Service Area Office 2

อษุ ณีย์ พันธมุ เสน*
Usanee Pantumsen

บทคดั ย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความต้องการจาเป็นในการส่งเสริมสมรรถนะการจัด
ประสบการณ์ตามแนวคิดพหุปัญญา สาหรับครูปฐมวัย สานักงานพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2
2) เพื่อเปรียบเทียบความต้องการจาเป็นในการส่งเสริมสมรรถนะการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดพหุปัญญา
สาหรบั ครปู ฐมวัย สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 เมอ่ื จาแนก ตามตัวแปร เพศ
และวุฒิการศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นครูระดับปฐมวัย ในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
เชียงใหม่ เขต 2 จานวน 96 คน ตามตารางการกาหนดขนาดจานวนกลุม่ ตวั อยา่ งของ เครจซ่ี และมอร์แกน
เครื่องมอื ที่ใช้ในการวจิ ัย ได้แก่ แบบสอบถามความต้องจาเปน็ ในการสง่ เสรมิ สมรรถนะการจดั ประสบการณ์
ตามแนวคิดพหุปัญญา สาหรับครูปฐมวัย สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2
วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ สถิติค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การเรียงลาดับความสาคัญของข้อมูล
(PNImodified) เพ่ือศึกษา และ t-test เพอื่ เปรียบเทยี บ

ผลการวิจัยพบว่า 1) ความต้องการจาเป็นในการส่งเสริมสมรรถนะการจัดประสบการณ์ ตามแนวคิด
พหุปัญญา สาหรับครูปฐมวัย สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 โดยภาพรวม พบว่า
สมรรถนะการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดพหุปัญญา สภาพที่เป็นอยู่ อยู่ในระดับมาก และสมรรถนะ
การจัดประสบการณ์ตามแนวคิดพหุปัญญา สภาพที่ควรจะเป็น อยู่ในระดับมาก หากพิจารณาในรายละเอียด
พบวา่ ครูปฐมวยั มคี วามตอ้ งการจาเปน็ ในการสง่ เสริมสมรรถนะการจัดประสบการณ์ ตามแนวคดิ พหุปัญญา
ดา้ นทักษะ เป็นอนั ดบั แรก รองลงมา คือ ด้านความรู้ ส่วนดา้ นเจตคติมีความตอ้ งการจาเป็นอันดับสุดท้าย
2) การเปรยี บเทียบความตอ้ งการจาเป็นในการส่งเสรมิ สมรรถนะการจดั ประสบการณต์ ามแนวคดิ พหุปัญญา
สาหรับครูปฐมวัย เมอื่ จาแนกตามตวั แปร เพศ พบวา่ เพศชาย และเพศหญิง มคี วามต้องการจาเปน็

*ศึกษานเิ ทศก์ชานาญการพิเศษ, สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 2
Senior Professional Level Supervisor, Chiang Mai Primary Educational Service Area Office 2

181

วารสารการวจิ ัยการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน

ปีที่ 2 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

ในการส่งเสริมสมรรถนะการจัดประสบการณ์ ตามแนวคิดพหุปัญญาไม่แตกต่างและเมื่อเปรียบเทียบ
วุฒิการศึกษา พบว่า วุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรี และปริญญาโท มีความต้องการจาเป็นในการส่งเสริม
สมรรถนะการจัดประสบการณ์ตามแนวคดิ พหุปญั ญาแตกต่างกัน

คำสำคญั : สมรรถนะ/ การจัดประสบการณ์/ พหปุ ญั ญา

ABSTRACT

The objectives of this research were 1 ) to study the needs and requirements for
promoting competency in experiential management according to the concept of multiple
intelligences for early childhood teacher of Chiang Mai Primary Educational Service Area
Office, Region 2 2 ) to compare Needs which are needed to promote competency in
multi-wisdom experience management for early childhood teachers in Chiang Mai Primary
Educational Service Area Office 2 when classified by variables, gender and educational
background. The sample group was teachers who performed teaching duties at the
pre-primary level under the Chiang Mai Primary Educational Service Area Office 2 while the
selected samples are according to the size table of the sample group Krejcie and Morgan of
96 early childhood teachers.The research instrument was the Needs Questionnaire to Promote
Competency in Multiple Intelligences for Early Childhood Teachers. Chiang Mai Primary
Education Service Area Office 2, data were analyzed using mean statistics. Standard deviation
t-test and the order of the importance of the data with (PNImodified)

The results showed that 1) The need is necessary to enhance teacher competency,
enhance experiential competency. according to the concept of multiple intelligences for
early childhood teacher of Chiang Mai Primary Education Service Area Office 2, as a whole,
found that experience organizing competence According to the existing multiple intelligence
concept, it was at a high level and the competence in organizing experiences. According to
the concept of multiple intelligences, it should be at a high level The Chiang Mai Primary
Education Service Area Office, Region 2 , has a necessary need to promote competence in
organizing experiences. According to the concept of multiple intelligences, skills were first,
followed by knowledge. It has the last essential requirement 2 ) Comparison of needs and
necessities to promote competency in the concept of multiple intelligences for early
childhood teachers, when classified by gender, male and female concluded that the need

182

วารสารการวจิ ัยการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน

ปีท่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

is necessary to enhance teacher competency, enhance experiential competence according
to the concept of multiple intelligences, both groups were not significantly different at .
05 level and educational qualifications. Bachelor’s Degree and Master’s Degree concluded
that the need is necessary to promote teacher competency to enhance experiential
competency. According to the concept of multiple intelligences, both groups differed at
statistical significance at the .05 level.

Keywords: Competence/ Experience Management/ Multiple Intelligences

บทนา

การจดั การศึกษาของไทยมีการเปล่ียนแปลงไปอย่างมากนับตง้ั แต่มกี ารประกาศใช้พระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 โดยเฉพาะความมุ่งหมายและหลักการจัดการศึกษาที่ต้องเป็นไป
เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม
มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิตอย่างมีความสุข และได้อธิบายความหมายของการจัดการศึกษาไว้ว่า
การศึกษา คือ กระบวนการเรียนรูเ้ พ่ือความเจรญิ งอกงามของคนและสังคมการจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า
ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคญั ท่ีสุด กระบวนการ
จัดการศึกษาต้องพัฒนาผู้เรยี นเต็มศักยภาพ (สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแหง่ ชาต,ิ 2545) หลักสูตร
การศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 2560 สาหรบั เด็กอายุ 3-6 ปี เป็นการจัดการศกึ ษาในลกั ษณะของการอบรม
เลี้ยงดแู ละให้การศกึ ษา เด็กจะไดร้ บั พฒั นาการทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คม และสติปัญญาตามวัย
และความสามารถของแต่ละบุคคล โดยมีจุดมุ่งหมาย มุ่งให้เด็กมีพัฒนาการตามวัย และมีความพร้อม
ในการเรียนรู้ตอ่ ไป ดงั นี้ 1) ร่างกายเจริญเตบิ โตตามวัย แข็งแรง และมีสุขนิสัยที่ดี 2) สุขภาพจิตดี มีสุนทรียภาพ
มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรรม และจติ ใจท่ีดีงาม 3) มที กั ษะชีวติ และปฏิบัติตนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มวี นิ ัย และอยรู่ ว่ มกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุข 4) มีทกั ษะ การคิด การใช้ภาษาสื่อสาร และการแสวงหาความรู้
ได้เหมาะสมกับวยั (สานักงานวิชาการและมาตรฐานทางการศกึ ษา, 2560)

การเปลี่ยนแปลงการจัดการศึกษาดังกล่าว ทาให้มีการเสนอรูปแบบการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับ
ความมุ่งหมาย และหลักการจัดการศึกษามากมาย อาทิ การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน การจัดการเรยี นรู้
แบบส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ การจัดการเรียนรู้แบบโมเดลซิปปา การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ เป็นต้น
การจดั การเรียนรู้ทก่ี ล่าวมาน้ัน เปน็ การจัดการเรียนรู้ในแนวใหม่แทนการจดั การเรยี นรู้ที่ครูเป็นศูนย์กลาง
และเป็นการจดั เรียนรูท้ เ่ี นน้ ผูเ้ รียนเปน็ สาคญั ที่มุ่งพฒั นาผูเ้ รียนตามธรรมชาติ สอดคลอ้ งกบั ความสนใจและ
ความถนัดของผู้เรยี น ซง่ึ มีงานวิจยั ท่เี กีย่ วข้องกับสมองของมนุษยท์ าให้เราร้วู ่าเด็กทกุ คนมีศกั ยภาพอยู่ในตัว
ตัง้ แตเ่ กดิ ถ้าได้รับการกระตนุ้ สง่ เสรมิ การพัฒนาสมองและการเรยี นรอู้ ย่างเหมาะสม จะทาให้พัฒนาการได้

183

วารสารการวิจัยการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน

ปีที่ 2 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

อย่างมีคุณภาพ โดยเฉพาะในทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of Multiple Intelligences) ของ โฮเวิร์ด การ์ดเนอร์
นักจิตวิทยาและนักการศึกษาคนสาคัญที่ได้ให้ความสนใจศึกษาเกี่ยวกับสติปัญญา และได้รับการยอมรับ
และมีอิทธิพลอย่างมากในการจัดการศึกษา โดยทฤษฎีดังกล่าวได้อธิบายไว้ว่า สมองของมนุษย์น้ัน
มีหลายด้านที่มีความสาคัญเท่าเทียมกันขึ้นอยู่กับว่าใครจะโดดเด่นในด้านไหนบ้าง แล้วแต่ละด้านผสมผสานกัน
แสดงออกมาเป็นความสามารถในเรื่องใดเป็นลักษณะเฉพาะตัวของแต่ละคนไป ซึ่ง โฮเวิร์ด การ์ดเนอร์
(Gardner, 1999) ได้เสนอทฤษฎพี หุปญั ญาไว้ 7 ด้าน คือ 1) ด้านภาษา 2) ด้านตรรกศาสตร์-คณิตศาสตร์
3) ด้านดนตรี 4) ด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว 5) ด้านภาพมิติสัมพันธ์ 6) ด้านความเข้าใจผู้อื่น และ
7) ด้านความเข้าใจตนเอง จากนั้น โฮเวิร์ด การ์ดเนอร์ และคณะ ได้พิจารณาเพิ่มพหุปัญญาอีก 3 ด้าน
คือ ดา้ นธรรมชาติ ดา้ นจิตวิญญาณ และดา้ นการดารงชีวิต แต่ในด้านจิตวิญญาณมักถูกมองว่าเป็นส่ิงเดียว
กับศาสนา ทฤษฎขี องการ์ดเนอร์ จึงไมก่ ล่าวถงึ ด้านจติ วิญญาณอกี แม้ทฤษฎดี ังกลา่ วจะไม่ได้รบั การยอมรับ
จากนักจิตวิทยาทั้งหมด แต่ก็เป็นที่ยอมรับอย่างมากในวงการศึกษา โดยนักการศึกษา คอร์นฮาเบอร์
(Komhaber, 2001) ได้ให้เหตุผลสนับสนุนแนวคิดของการ์ดเนอร์ ว่าทฤษฎีนี้ใช้ได้จริง เพราะจะส่งเสริม
การเรยี นรู้ของผเู้ รียนอย่างหลากหลาย การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ตามทฤษฎพี หุปญั ญาเป็นการจัดกิจกรรม
ที่ส่งเสริมให้เด็กนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ ครูต้องจัดกิจกรรมเพื่อให้เด็กได้แสดงความสามารถ
ที่หลากหลายเพอ่ื สนองตอบความสามารถเฉพาะของเดก็ แตล่ ะคนท่ีมีแตกต่างกัน

จากการรายงานผลการประเมินพัฒนาการนักเรียนระดบั ปฐมวัย ปีการศึกษา 2561 ผลการประเมิน
พัฒนาการในภาพรวมทุกด้าน ระดับประเทศ นกั เรียนส่วนใหญ่มีพัฒนาการอย่ใู นระดับดีสูงสุด คิดเป็นร้อยละ
87.00 ส่วนท่ีเหลืออยู่ในระดับพอใช้ ร้อยละ 13.00 (สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน, 2562)
และในระดับสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 ผลการประเมินพัฒนาการอยู่ใน
ระดับดีสูงสุด คิดเป็นร้อยละ 82.95 สว่ นท่ีเหลืออยู่ในระดับพอใช้ รอ้ ยละ 16.16 (สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2, 2562) จะเห็นได้ว่าผลการประเมินระดับเขตพื้นที่น้อยกว่าระดับประเทศ
ในทุกด้าน มีความจาเป็นที่ต้องได้รับการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กให้อยู่ในระดับดีเพิ่มมากขึ้น ซึ่งพัฒนาการ
เด็กทั้ง 4 ด้าน ตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2560 มีความ
สอดคล้องกบั ทฤษฎีพหุปญั ญาทั้งหมด ดงั น้ัน นอกจากการจัดประสบการณ์ตามหลักสตู รแลว้ ควรมีการจัด
ประสบการณ์เพื่อส่งเสริมพหุปัญญาของเด็กให้เด็กมีพัฒนาการดียิ่งขึ้นด้วย และจากการนิเทศครูปฐมวัย
ทผ่ี ่านมา พบว่า ปญั หาของครูในการจดั ประสบการณต์ ามแนวทางพหุปัญญา คือ ครผู ้สู อนจดั ประสบการณ์
การเรียนรู้เป็นไปตามที่หลักสูตรกาหนดแต่เพียงเท่านั้น แต่ยังไม่ได้มีการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริม
พหุปัญญาของเด็กแต่ละคนที่มีความแตกต่างกัน เนื่องจากยังขาดความรู้ความเข้าใจที่ชัดเจน กล่าวคือ
ครูผู้สอนที่จัดการศึกษาระดับปฐมวัยเพื่อให้เด็กมีความพร้อมในทุกด้าน มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
สอดคลอ้ งกบั หลกั สตู ร แนวทางการจัดประสบการณ์ ตามแนวทางท่กี าหนดไว้ในหลักสตู ร โดยไมส่ ามารถ

184

วารสารการวิจัยการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน

ปที ่ี 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

พัฒนาแนวทางการจัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับการพัฒนาความสามารถทางสมองของเด็กปฐมวัย
ซึ่งเป็นพื้นฐานที่สาคัญของพัฒนาการด้านต่าง ๆ จึงมีความจาเป็นต้องส่งเสริมครูปฐมวัยให้มีสมรรถนะ
ในการจัดประสบการณ์ด้านการจัดการเรียนรู้ ซึ่งเป็นหนึ่งสมรรถนะประจาสายงานอย่างต่อเนื่อง
และเพื่อให้ครูปฐมวัยมีสมรรถนะในการจัดประสบการณ์ ที่จะส่งผลต่อการพัฒนาการของเด็ก (วไลภรณ์
เมฆไตรรตั น,์ 2555) การพัฒนากจิ กรรมเสรมิ สร้างทกั ษะพ้ืนฐานทางคณิตศาสตรต์ ามแนวทฤษฎีพหุปัญญา
ชน้ั อนุบาลปที ่ี 2 เด็กท่ไี ดร้ ับการจัดประสบการณ์ดว้ ยกิจกรรมเสริมสรา้ งทักษะพ้นื ฐานทางคณิตศาสตร์ตาม
แนวทฤษฎีพหปุ ัญญา มีทักษะพืน้ ฐานทางคณิตศาสตร์หลังการเรียนสงู กว่าก่อนการเรียน ส่วนการจัดศนู ย์
การเรียนรู้แบบเน้นกิจกรรมตามแนวพหุปัญญา ที่มีต่อความสามารถด้านคณิตศาสตร์และด้านภาษาของ
เด็กปฐมวัย จะเห็นไดว้ ่าเด็กปฐมวัยทีไ่ ด้รบั การจัดศนู ย์การเรียนรู้แบบเน้นกจิ กรรมตามแนวทางพหปุ ัญญา
มีความสามารถด้านคณิตศาสตร์และด้านภาษาสูงกว่าการจัดมุมประสบการณ์ตามคู่มือครูของ
กรมการปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน และความสามารถด้านคณิตศาสตร์และด้านภาษาของเด็กปฐมวัยหลังการจัด
ศูนย์การเรียนรู้แบบเน้นกิจกรรมตามแนวพหุปัญญาสูงกว่าก่อนเรียน (นลินี เวชกามา, 2556 ; ลัดดาวัลย์
นชุ นารถ, 2561)

ทั้งนี้เพื่อให้การส่งเสริมสมรรถนะครู ให้มีทิศทาง แนวทางที่มีความเป็นไปได้ และมีโอกาส
เกิดสัมฤทธิผลตามที่มุ่งหวัง การประเมินความต้องการจาเปน็ จะมีประโยชน์อย่างมาก ทั้งยังได้ข้อมูลที่ใช้
เป็นหลักเทียบความสาเร็จของการดาเนนิ การ ทาใหส้ ามารถวางแผนการปฏิบตั ิภายใต้ทางเลอื กที่เหมาะสม
เป็นเทคนิคที่ช่วยให้เกิดการใช้ทรัพยากรในการดาเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ คุ้มค่า และสามารถ
ตรวจสอบได้ (สุวิมล ว่องวาณิช, 2558) ดังนั้น การส่งเสริมสมรรถนะการจัดประสบการณ์ ตามแนวคิด
พหุปัญญา สาหรับครูปฐมวัย จาเป็นต้องมีการศึกษาความต้องการจาเป็นในการส่งเสริมสมรรถนะการจดั
ประสบการณ์ เพ่ือสามารถใช้ในการวางแผนการพัฒนาได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

จากความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา ทาให้ผู้วิจัยมีความสนใจศึกษาความต้องการจาเป็น
ในการส่งเสริมสมรรถนะการจดั ประสบการณ์ตามแนวคิดพหุปัญญา สาหรับครูปฐมวัย สานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 เพื่อใช้ในการวางแผนการพัฒนารูปแบบ วิธีการในการส่งเสริม
สมรรถนะการจัดประสบการณ์ให้กับครูปฐมวัย ให้ครูสามารถจัดประสบการณ์ได้สอดคล้องกับ
ความสามารถของเดก็ แตล่ ะคน เด็กมีพฒั นาการตามวยั และมคี วามพร้อมในการเรยี นรู้ตอ่ ไป

185

วารสารการวิจัยการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน

ปที ่ี 2 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

วตั ถุประสงค์

1. เพื่อศึกษาความต้องการจาเป็นในการส่งเสริมสมรรถนะการจัดประสบการณ์ตามแนวคิด
พหุปญั ญา สาหรบั ครูปฐมวยั สานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 2

2. เพื่อเปรยี บเทียบความต้องการจาเป็นในการส่งเสริมสมรรถนะการจัดประสบการณ์ตามแนวคิด
พหุปัญญา สาหรับครูปฐมวัย สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 เมื่อจาแนกตาม
ตัวแปร เพศ และวุฒิการศกึ ษา

นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ

ความต้องการจำเป็น หมายถึง ความแตกต่างระหว่างสภาพที่เป็นอยู่กับสภาพที่ควรจะเป็น
ในการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรตู้ ามแนวคดิ พหุปัญญา ด้านความรู้ ด้านทกั ษะ ด้านเจตคติ ของครปู ฐมวัย
ท่มี ่งุ เน้นการจัดประสบการณ์ใหเ้ ด็กมีพัฒนาการสมวัย

สภาพที่เป็นอยู่ หมายถึง สภาพที่เป็นอยู่ปัจจุบันในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามแนวคิด
พหุปัญญาด้านความรู้ ด้านทักษะ ด้านเจตคติ ของครูปฐมวัย ที่มุ่งเน้นการจัดประสบการณ์ให้เด็ก
มีพฒั นาการสมวัย

สภาพที่ควรจะเป็น หมายถึง สิ่งที่ความคาดหวัง ความต้องการที่จะพัฒนาตนเองไปถึงขีดสูงสุด
ในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ตามแนวคิดพหปุ ัญญา ด้านความรู้ ด้านทักษะ ดา้ นเจตคติ ของครูปฐมวยั
ทม่ี ุ่งเน้นการจัดประสบการณใ์ ห้เด็กมพี ฒั นาการสมวัย

สมรรถนะการจดั ประสบการณ์ตามแนวคิดพหปุ ญั ญา หมายถึง ความสามารถในการจดั กจิ กรรมทาง
การเรยี นรขู้ องครปู ฐมวยั ประกอบด้วย ความรู้ ทกั ษะ ทศั นคติ เกี่ยวกับการจัดประสบการณ์ทีส่ ่งเสริมพหุปัญญา
ทุกด้านของผู้เรียน ได้แก่ ด้านภาษา ด้านตรรกศาสตร์และคณิตศาสตร์ ด้านดนตรีและจังหวะ ด้านร่างกาย
และการเคลือ่ นไหว ด้านภาพมติ ิสมั พนั ธ์ ด้านความเขา้ ใจผอู้ ืน่ ด้านความเขา้ ใจตนเอง ดา้ นธรรมชาติและการดำรง
อยขู่ องชีวติ

ความรู้การจัดประสบการณ์ตามแนวคิดพหุปัญญา หมายถึง ความรู้ที่เกี่ยวกับการจัดประสบการณ์
การเรียนรูต้ ามแนวคิดพหุปัญญา ครอบคลุมเนื้อหาเก่ียวกับแนวคิด ทฤษฎี หลักการ กระบวนการจัดการเรียนรู้
การวัดและประเมินผล

ทกั ษะการจดั ประสบการณ์ตามแนวคิดพหุปญั ญา หมายถึง ความสามารถในการจัดประสบการณ์ตาม
แนวคิดพหุปัญญาอย่างชำนาญ ครอบคลุมการวางแผน การออกแบบการจัดประสบการณ์ การจัดประสบการณ์
ทีห่ ลากหลาย การใช้สอื่ และแหลง่ เรียนรู้ การวัดและการประเมินผล ไดอ้ ย่างเหมาะสม ได้อย่างคล่อง

เจคตติ ่อการจดั ประสบการณ์ตามแนวคิดพหปุ ัญญา หมายถึง ความเช่อื ความศรัทธา ความรสู้ กึ นึกคิด
ท่ีมีต่อการจดั ประสบการณต์ ามแนวคดิ พหปุ ัญญาทส่ี ะทอ้ นให้เหน็ คณุ ค่า ความสำคัญ ความพึงพอใจ และแนวโน้ม
ในการจัดประสบการณต์ ามแนวคิดพหุปัญญา

186

กรอบการวจิ ัย วารสารการวจิ ยั การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน

ตัวแปรต้น ปที ่ี 2 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)
- สมรรถนะการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดพหปุ ัญญา
ด้านความรู้ ด้านทกั ษะ ด้านเจตคติ ตัวแปรตาม
- เพศ ความต้องการจาเป็นในการสง่ เสริม
- วฒุ กิ ารศกึ ษา
สมรรถนะการจัดประสบการณ์
ตามแนวคิดพหปุ ญั ญา

วธิ ีดาเนินการวิจยั

การศึกษาความตอ้ งการจาเป็นในการส่งเสริมสมรรถนะการจัดประสบการณ์ ตามแนวคิดพหุปัญญา
สาหรับครูปฐมวัย สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา
ความตอ้ งการจาเป็นในการส่งเสรมิ สมรรถนะการจดั ประสบการณ์ตามแนวคิดพหุปัญญา สาหรบั ครูปฐมวัย
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 และเปรียบเทียบความต้องการจาเป็น
ในการส่งเสริมสมรรถนะการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดพหุปัญญา จาแนกตามตัวแปร เพศ และวุฒิ
การศึกษาเก็บข้อมูลจากครูที่ปฏิบัติหน้าที่สอนในระดับปฐมวัย ในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 โดยใช้แบบสอบถามความต้องการจาเป็นในการส่งเสริมสมรรถนะการจัด
ประสบการณ์ตามแนวคิดพหุปญั ญา สาหรับครูปฐมวัย สานกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม่
เขต 2 โดยผ้วู จิ ยั ไดก้ าหนดระเบียบ วธิ กี ารศกึ ษาไวด้ ังต่อไปน้ี

ประชากร และกลมุ่ ตัวอย่าง

ประชากรในการวิจัยครั้งน้ี เป็นครูที่ปฏิบัติหน้าที่สอนในระดับปฐมวัย ในสังกดั สานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 จานวน 91 โรงเรยี น ทั้งสน้ิ 122 คน (สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา
ประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 2, 2564)

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นครูที่ปฏิบัติหน้าที่สอนในระดับปฐมวัย ในสังกัดสานักงาน
เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 ด้วยวิธีสุ่มอย่างง่าย (Simple random Sampling)
จานวนตามตาราง การกาหนดขนาดจานวนกลุ่มตวั อย่างของ เครจซีแ่ ละมอร์แกน (Krejcie and Morgan)
ได้กลุม่ ตัวอย่างจานวน 96 คน

187

วารสารการวจิ ัยการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน

ปที ี่ 2 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

เครื่องมอื ท่ีใช้ในการวจิ ัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามความต้องการจาเป็นในการส่งเสริมสมรรถนะการจัด

ประสบการณ์ตามแนวคิดพหุปัญญา สาหรับครูปฐมวยั สานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม่
เขต 2 โดยผู้วิจยั ไดร้ วบรวมแนวคิดและข้อมูลเกยี่ วกับความตอ้ งการจาเป็นในการสง่ เสริมสมรรถนะการจัด
ประสบการณ์ตามแนวคิดพหุปัญญา โดยศึกษาจากบทความ งานวิจัย และเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
โดยแบบสอบถามมลี กั ษณะเป็นแบบมาตราสว่ นประเมนิ ค่า 5 ระดบั แบ่งเปน็ 2 ตอน ดังน้ี

ตอนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม เป็นแบบกาหนดเลือก (Checklist)
โดยสอบถามเก่ยี วกบั เพศและวฒุ ิการศึกษา

ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามความต้องการจาเป็นในการส่งเสริมสมรรถนะการจัดประสบการณ์
ตามแนวคิดพหุปัญญา สาหรับครูปฐมวัย มีลักษณะมาตรประมาณค่า 5 ระดับ โดยแบ่งเป็น 3 ด้าน
ดา้ นความรู้ ด้านทักษะ และด้านเจตคติ มีขอ้ คาถามทง้ั ส้นิ จานวน 38 ขอ้

นาแบบสอบถามที่สร้างขึ้นให้ผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน ตรวจสอบคุณภาพความเหมาะสมและความถูกต้อง
ทางภาษา ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาข้อคาถามในแบบสอบถามแล้วคานวณหาค่า IOC เท่ากับ 0.76
แล้วพิจารณาค่า IOC รายข้อ จากน้ันปรบั ปรุงขอ้ คาถามให้มีความเหมาะสมตามคาแนะนาของผ้ทู รงคุณวฒุ ิ

การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
1. ขอความร่วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง จากครูที่ปฏิบัติหน้าที่สอนในระดับปฐมวยั
ในสังกดั สานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 2
2. จัดเตรียมเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามความต้องการจาเป็นในการส่งเสริม
สมรรถนะ การจัดประสบการณ์ ตามแนวคิดพหุปัญญา สาหรับครูปฐมวัย ทาการตรวจสอบความถูกต้อง
ของเครื่องมอื อีกครง้ั
3. นาเครื่องมือที่ได้พัฒนาอย่างสมบูรณ์แล้ว ทาการจัดพิมพ์ข้อคาถามใน Google form และส่ง
เครื่องมือใหก้ บั ครูปฐมวัยในสงั กัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 และติดตาม
การตอบกลบั แบบสอบถามตามวันและเวลาท่กี าหนด
4. ตรวจสอบและคัดแยกแบบสอบถามที่มีการตอบกลับสมบูรณ์ออก และเลือกเก็บข้อมูล
แบบสอบถามท่สี มบูรณ์ จานวน 96 ชุด
5. นาขอ้ มูลได้รบั การตรวจสอบความถกู ตอ้ งแลว้ มาวิเคราะหข์ อ้ มูลตอ่ ไป

188

วารสารการวจิ ัยการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน

ปีที่ 2 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

การวเิ คราะห์ข้อมูล
1. การศึกษาความต้องการจาเป็นในการส่งเสริมสมรรถนะการจัดประสบการณ์ ตามแนวคิดพหุปัญญา

สาหรับครูปฐมวัย สานักงานพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 วิเคราะห์โดยใช้ค่าเฉลี่ย
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการเรยี งลาดบั ข้อมลู ความตอ้ งการจาเปน็ โดยใชส้ ตู ร

PNImodified =(ID-D)

2. การเปรยี บเทยี บความต้องการจาเป็นในการสง่ เสรมิ สมรรถนะการจดั ประสบการณต์ ามแนวคดิ
พหปุ ญั ญาจาแนกตามตัวแปรและวฒุ ิการศกึ ษา โDดยการวเิ คราะห์ t-test

ผลการวจิ ยั
ความต้องการจาเปน็ ในการสง่ เสริมสมรรถนะครูส่งเสริมสมรรถนะการจดั ประสบการณ์ ตามแนวคิด

พหปุ ญั ญาสาหรับครปู ฐมวัย สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 2

ตารางที่ 1 ความต้องการจาเป็นในการส่งเสริมสมรรถนะการจัดประสบการณ์ ตามแนวคิดพหุปัญญา
สาหรบั ครปู ฐมวยั สานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 โดยภาพรวม

สมรรถนะ สภาพท่ีควรจะเปน็ สภาพที่เป็นอยู่ PNImodified ลำดบั
การจัดประสบการณ์ (I-D)/D
X S.D 2
ตามแนวคิดพหปุ ัญญา X S.D 3.23 0.60 0.25 1
3.42 0.63 0.31* 3
1. ดา้ นความรู้ 4.03 0.76 3.98 0.68 0.11
3.54 0.64 0.12
2. ดา้ นทักษะ 4.49 0.54

3. ดา้ นเจตคติ 4.43 0.65

เฉลยี่ 4.32 0.65

*PNImodified > 0.30 = มคี วามตอ้ งการจำเป็น

จากตารางที่ 1 พบว่า ความตอ้ งการจาเป็นในการส่งเสริมสมรรถนะการจัดประสบการณ์ ตามแนวคิด
พหุปัญญา สาหรับครูปฐมวัย สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 โดยภาพรวมพบว่า
สมรรถนะการจัดประสบการณ์ ตามแนวคิดพหุปญั ญา ที่เปน็ อยู่ อยใู่ นระดับมาก (X = 3.54 , S.D. = 0.64)
และสมรรถนะการจัดประสบการณ์ ตามแนวคดิ พหุปญั ญา ทค่ี วรจะเป็น อยใู่ นระดับมาก (X = 4.32, S.D. = 0.65)

189

วารสารการวจิ ัยการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน

ปีท่ี 2 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)

หากพิจารณาในรายละเอียดพบว่าครูปฐมวัย สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2
มีความต้องการจาเป็นในการส่งเสริมสมรรถนะการจัดประสบการณ์ ตามแนวคิดพหุปัญญาด้านทักษะ
เป็นอนั ดบั แรก (PNImodified = 0.31) รองลงมา คือ ดา้ นความรู้ (PNImodified = 0.25) ส่วนดา้ นเจตคติมคี วาม
ต้องการจาเป็นอนั ดบั สุดทา้ ย (PNImodified = 0.11)
ตารางที่ 2 ความต้องการจาเป็นในการส่งเสริมสมรรถนะการจัดประสบการณ์ ตามแนวคิดพหุปัญญา
สาหรบั ครูปฐมวยั สานกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 2 ดา้ นความรู้

สมรรถนะ สภาพท่คี วรจะเป็น สภาพท่ีเป็นอยู่ PNImodified ลำดบั
การจดั ประสบการณ์ X S.D (I-D)/D
3.24 0.56
ตามแนวคิดพหุปัญญา X S.D 3.23 0.55
3.25 0.63
1. มคี วามรู้และเขา้ ใจเกีย่ วกับทฤษฎี 3.95 0.73 0.22 5
3.24 0.66
พหปุ ัญญา 3.18 0.56

2. มคี วามรู้และเข้าใจเกย่ี วกับพหุปญั ญา 3.98 0.77 3.30 0.67 0.23 4
3.32 0.66
ทงั้ 8 ด้าน 3.26 0.60
3.18 0.62
3. มีความรู้เกยี่ วกบั การจัดทำหลกั สตู ร 3.93 0.80 3.15 0.56 0.21 6

สถานศกึ ษาปฐมวยั บูรณาการตามแนวคดิ

พหุปัญญา

4. มีความรใู้ นการออกแบบหน่วยการจัด 3.96 0.83 0.22 5
0.38* 1
ประสบการณต์ ามแนวคิดพหุปัญญา

5. มีความรูใ้ นการจดั ทำแผนการจัด 4.40 0.75

ประสบการณ์การเรยี นรตู้ ามแนวคิด

พหุปัญญา

6. มคี วามร้ใู นการจดั ประสบการณ์ 4.03 0.79 0.22 5
0.21 6
การเรียนรู้ทีส่ ง่ เสรมิ พหปุ ญั ญาให้กบั เด็ก 0.22 5
0.28 2
7. มีความเข้าใจการจดั สภาพแวดล้อมที่ 4.03 0.77 0.27 3

เออ้ื ต่อการส่งเสรมิ พหุปัญญาให้กับเดก็

8. มีความเข้าใจการใช้ส่อื และแหลง่ 3.97 0.75

การเรียนรู้ ตามแนวคดิ พหปุ ัญญา

9. มคี วามรเู้ กย่ี วกบั วธิ ีการวัดและ 4.08 0.74

ประเมินพัฒนาการตามแนวคิดพหุปัญญา

10. มีความรแู้ ละเข้าใจเก่ียวกับการ 4.01 0.72

กำหนดเกณฑก์ ารใหร้ ะดบั คุณภาพเพื่อ

ประเมินพฒั นาการตามแนวคดิ พหปุ ญั ญา

190

วารสารการวิจัยการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน

ปที ่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

ตารางท่ี 2 (ต่อ)

สมรรถนะ สภาพทค่ี วรจะเปน็ สภาพท่เี ปน็ อยู่ PNImodified ลำดับ
การจัดประสบการณ์ X S.D (I-D)/D
3.16 0.56
ตามแนวคิดพหุปญั ญา X S.D
3.23 0.60
11. มีความรูแ้ ละเข้าใจเกี่ยวกับการสร้าง 4.03 0.76 0.28 2

เครือ่ งมือการประเมินพฒั นาการท่ี

หลากหลายตามแนวคิดพหุปญั ญา

เฉล่ยี 4.03 0.76

*PNImodified > 0.30 = มีความต้องการจำเปน็

จากตารางที่ 2 พบว่า ความต้องการจาเปน็ ในการส่งเสริมสมรรถนะการจดั ประสบการณ์ ตามแนวคดิ
พหุปัญญา สาหรับครปู ฐมวัย สานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 2 ดา้ นความรู้พบว่า
สมรรถนะการจัดประสบการณ์ ตามแนวคดิ พหปุ ัญญา ท่เี ป็นอยู่ อยูใ่ นระดบั ปานกลาง (X = 3.23 , S.D. = 0.60)
และสมรรถนะการจัดประสบการณ์ ตามแนวคิดพหุปัญญา ที่ควรจะเป็น อยู่ในระดับมาก (X = 4.03,
S.D. = 0.76) หากพิจารณาในรายละเอียดพบว่า ครูปฐมวัย สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
เชียงใหม่ เขต 2 มคี วามตอ้ งการจาเป็นในการสง่ เสริมสมรรถนะการจัดประสบการณ์ ตามแนวคดิ พหปุ ญั ญา
ด้านความรู้ มคี วามรใู้ นการจัดทาแผนการจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้ตามแนวคดิ พหุปัญญา (PNImodified = 0.38)

ตารางที่ 3 ความต้องการจาเป็นในการส่งเสริมสมรรถนะการจัดประสบการณ์ ตามแนวคิดพหุปัญญา

สาหรับครูปฐมวยั สานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 2 ดา้ นทกั ษะ

สมรรถนะ สภาพทค่ี วรจะเปน็ สภาพท่เี ป็นอยู่ PNImodified ลำดบั
การจัดประสบการณ์ X S.D X S.D (I-D)/D
4.68 0.47 3.54 0.63
ตามแนวคิดพหุปัญญา 4.60 0.57 3.28 0.56 0.32* 6

1. วิเคราะหส์ ตปิ ญั ญาแต่ละดา้ น 4.32 0,59 3.21 0.56 0.40* 2
ของเด็กได้ 4.74 0.44 3.24 0.58
2. จดั ทำหลักสตู รสถานศึกษาปฐมวัย 0.35* 5
ตามแนวคดิ พหุปญั ญาครบองค์ประกอบ 4.37 0.49 3.45 0.63 0.46* 1
ของหลักสตู ร
3. ออกแบบหนว่ ยการจัดประสบการณ์ 0.27 8
ตามแนวคดิ พหปุ ญั ญาครบทั้ง 8 ด้าน
4. จัดทำแผนการจัดประสบการณ์
ตามแนวคดิ พหปุ ญั ญา ครบองคป์ ระกอบ
ของแผนการจัดประสบการณ์
5. จัดกิจกรรมการเรยี นรู้ท่สี ง่ เสรมิ ปญั ญา
ของเดก็ แต่ละด้าน

191

วารสารการวิจัยการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน

ปที ี่ 2 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)

ตารางที่ 3 (ต่อ)

สมรรถนะ สภาพท่ีควรจะเปน็ สภาพทเ่ี ป็นอยู่ PNImodified ลำดับ
การจัดประสบการณ์ X S.D (I-D)/D
3.50 0.67
ตามแนวคดิ พหปุ ญั ญา X S.D 3.43 0.63

6. ใช้กิจกรรมกระตนุ้ ความสนใจและ 4.39 0.57 3.39 0.61 0.25 9
3.42 0.64
สง่ เสริมปัญญาของเด็กตลอดเวลา 3.46 0.65
3.40 0.62
7. จัดสภาพแวดลอ้ มท้งั ภายในและ 4.54 0.52 3.36 0.67 0.32* 6
3.73 0.80
ภายนอกห้องเรยี นส่งเสรมิ พหปุ ญั ญา 3.70 0.72
3.42 0.63
ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

8. ใช้สอื่ และแหล่งการเรยี นรู้ ตาม 4.28 0.61 0.36* 4
0.31* 7
แนวคดิ พหปุ ัญญาไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ 0.37* 3
0.36* 4
9. กำหนดวธิ กี ารวัดประเมินผลด้วย 4.47 0.56 0.25 10
0.19 11
วธิ กี ารทห่ี ลากหลาย 0.18 12

10. กำหนดเกณฑ์การวดั ประเมินผลได้ 4.74 0.44

ตรงกบั ปญั ญาของเดก็

11. สรา้ งเครื่องมือวัดผลได้เหมาะสมกบั 4.61 0.53

ปญั ญาของเด็ก

12. กำหนดให้เด็ก ผูป้ กครอง มสี ่วนรว่ ม 4.21 0.66

ในการประเมนิ

13. ประเมินพัฒนาการเด็กครบทั้ง 4 ดา้ น 4.43 0.63

14. นำผลการประเมินมาใช้ส่งเสริม 4.36 0.67

พฒั นาการของเดก็

เฉลยี่ 4.49 0.54

*PNImodified > 0.30 = มีความต้องการจำเปน็

จากตารางที่ 3 พบว่า ความต้องการจาเป็นในการส่งเสริมสมรรถนะการจัดประสบการณ์
ตามแนวคิดพหุปัญญา สาหรับครูปฐมวัย สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2
ด้านทักษะ พบว่า สมรรถนะการจัดประสบการณ์ ตามแนวคิดพหุปัญญา ที่เป็นอยู่ อยู่ในระดับปานกลาง
(X = 3.42 , S.D. = 0.63) และสมรรถนะการจัดประสบการณ์ ตามแนวคิดพหุปัญญา ที่ควรจะเป็น
อยูใ่ นระดบั มาก (X = 4.49, S.D. = 0.65) หากพจิ ารณาในรายละเอียดพบว่าครูปฐมวัย สานกั งานเขตพ้ืนที่
การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 มีความต้องการจาเป็นในการส่งเสริมสมรรถนะการจัดประสบการณ์
ตามแนวคิดพหุปญั ญา ด้านทกั ษะ จัดทาแผนการจัดประสบการณ์ ตามแนวคดิ พหปุ ัญญา ครบองค์ประกอบ
ของแผนการจดั ประสบการณ์ (PNImodified = 0.46) เป็นอนั ดบั แรก รองลงมา คือ จัดทาหลกั สูตรสถานศึกษา
ปฐมวัย ตามแนวคิดพหุปัญญาครบองค์ประกอบของหลักสูตร (PNImodified = 0.40) และกาหนดเกณฑ์
การวดั ประเมนิ ผลได้ตรงกับปัญญาของเดก็ (PNImodified = 0.37) เป็นอันดับสาม

192


Click to View FlipBook Version