วารสารการวิจยั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน
ปที ่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)
ก็ตามต้องเผชิญกับการเปล่ียนแปลง จากผลที่เกิดจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ
การแข่งขันท่ีไร้พรมแดน ภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ เพราะฉะนั้นผู้บริหารจึงต้องมีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล มีความสามารถ
ในการใช้เทคโนโลยีใหม่ ๆ เพ่ือกระตุ้นและส่งเสริมให้ผู้ร่วมงานในองค์กรได้ใช้เต็มศักยภาพของตนเอง โดยใช้
มนุษยสัมพันธ์เพ่ือให้บุคลากรทางานให้เกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งผู้บริหารต้องมีการพัฒนาตัวเองตลอดเวลา
โดยการเข้าฝึกอบรม ศึกษาดูงานท้ังในและต่างประเทศ เพื่อนาความรู้นั้นมาพัฒนาองค์กรให้มีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน
ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของรุ่งกานต์ มณีฉาย (2559: 67) ได้ทาการวิจัยเรื่องคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของ
ผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2 ผลการวิจัยพบว่า
1. คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา
สุราษฎร์ธานี เขต 2 โดยรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาแต่ละด้านสรุปผลได้ดังน้ี
1.1 ด้านบุคลิกภาพ พบว่า คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาโดยรวมและรายข้อทุกข้อ
อยู่ในระดับมาก โดยเรยี งลาดับจากมากไปนอ้ ย 3 อันดับแรก ไดแ้ ก่ผบู้ รหิ ารมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง ผู้บริหาร
มีสุขภาพจิตที่ดี และผู้บริหารสุขุมรอบคอบในการปฏิบัติงาน อันดับสุดท้าย ได้แก่ ผู้บริหารมีความเชื่อม่ันในตนเอง
1.2 ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม พบวา่ คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ของผูบ้ ริหารสถานศึกษาโดยรวมและรายข้อทุกข้อ
อยู่ในระดับมาก โดยเรียงลาดบั จากมากไปนอ้ ย 3 อันดับแรก ได้แก่ผู้บริหารมีคุณธรรมในจิตใจ ผู้บริหารเปน็ ผู้
มองโลกในแง่ดี และผู้บริหารมีความเมตตากรุณาต่อผู้ร่วมงาน อันดับสุดท้ายได้แก่ ผู้บริหารมีความยุติธรรม
ต่อผู้ร่วมงาน 1.3 ด้านความรู้ความสามารถ พบว่า คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาโดยรวม
และรายข้อทุกข้ออยูใ่ นระดับมาก โดยเรียงลาดบั จากมากไปน้อย 3 อันดับแรก ได้แก่ผู้บรหิ ารสามารถกระตุ้น
ให้ผู้ร่วมงานเกิดความมั่นใจในการทางาน ผู้บริหารสามารถติดตามงานของผู้ร่วมงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และผู้บริหารสามารถตดิ ตอ่ สื่อสารกบั ผู้ร่วมงานได้เป็นอย่างดีอันดับสุดท้าย ได้แก่ ผู้บริหารรบั ฟังความคดิ เหน็
จากเพื่อนร่วมงาน 1.4 ด้านมนุษยสัมพันธ์ พบว่า คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาโดยรวม
และรายข้อทุกข้ออยู่ในระดับมาก โดยเรียงลาดับจากมากไปน้อย 3 อันดับแรก ได้แก่ผู้บริหารเป็นกันเองกับ
ผู้ร่วมงาน ผู้บริหารใส่ใจในรายละเอียดการทางานของผู้ร่วมงานและผู้บริหารมีความจริงใจต่อผู้ร่วมงาน
อันดบั สดุ ทา้ ยไดแ้ ก่ ผูบ้ ริหารรจู้ ักผ่อนหนัก ผ่อนเบา 1.5 ดา้ นความเป็นผ้นู า พบว่าคุณลกั ษณะทีพึงประสงค์ของ
ผู้บริหารสถานศึกษาโดยรวมและรายข้อทุกข้ออยู่ในระดับมาก โดยเรียงลาดับจากมากไปน้อย 3 อันดับแรก
ไดแ้ ก่ ผ้บู รหิ ารเปน็ ท่ีรกั และนบั ถอื ของผรู้ ่วมงาน ผู้บริหารเป็นผนู้ าในการเปล่ียนแปลงที่ดี และผ้บู ริหารสามารถ
ควบคุมทกุ สถานการณ์ได้ อันดบั สุดท้ายได้แก่ ผู้บริหารสามารถควบคุมอารมณข์ องตนเองได้
93
วารสารการวิจัยการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน
ปีท่ี 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)
2. การเปรียบเทียบความคิดเห็นของข้าราชการครูต่อคุณลักษณะของผู้บริหารมืออาชีพในสถานศึกษา
ขั้นพื้นฐาน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 4 จาแนกตามตาแหน่ง ประสบการณ์
ในการทางาน ขนาดสถานศึกษา ดงั นี้
2.1 ข้าราชการครูที่มีตาแหน่งต่างกันมีความคิดเห็นต่อคุณลักษณะของผู้บริหารมืออาชีพ
ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต 4 โดยภาพรวมและ
รายด้านแต่ละด้านคือ ด้านความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงานในหน้าที่ ด้านทักษะการบริหาร ด้านความเป็นผู้นา
ด้านบุคลิกภาพ ด้านมนุษยสัมพันธ์ ด้านคุณธรรม จริยธรรม ไม่แตกต่างกัน ซึ่งอาจเป็นเพราะว่าตาแหน่ง
การปฏิบัติงานนั้นอยู่ในสายบังคับบัญชา ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นงานที่เป็นภารกิจหลักของสถานศึกษา เนื่องด้วย
ผู้บริหารสถานศึกษาทาหน้าที่บริหารงาน และตอ้ งเป็นผ้นู าทาง การศึกษาในสถานศึกษา ท่ีจะตอ้ งแสดงออกมา
ตามเป้าหมายขององค์กรทีต่ ั้งไว้ ส่วนหัวหน้า ฝ่ายบริหารสถานศึกษา จะเป็นผู้รับหน้าที่นาคาสั่งจากผู้บริหาร
สถานศึกษา ไปกระจายงานตามสายบังคับบัญชา ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของอุไรรัตน์ ดอกพิกุล (2559: 85)
ได้ศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
บุรรี มั ย์ เขต 4 มีวัตถุประสงคเ์ พ่ือ 1) ศกึ ษาความคิดเห็นของผู้บรหิ าร และครูเกีย่ วกับคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์
ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 4 2) เปรียบเทียบ
ความคิดเห็นของผู้บริหาร และครูเกี่ยวกับคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสานักงาน
เขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาบุรีรมั ย์ เขต 4 จาแนกตามสถานภาพตาแหนง่ ขนาดของโรงเรยี น ผลการวิจัย
พบว่า 1. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
บรุ รี ัมย์ เขต 4 ตามความคดิ เหน็ ของผู้บริหาร และครู โดยรวมและรายดา้ นอยใู่ นระดับมาก 2. การเปรียบเทียบ
ความคิดเห็นของผู้บริหาร และครูเกี่ยวกับคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสานักงาน
เขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 4 จาแนกตามสถานภาพตาแหน่ง โดยรวมและรายดา้ นไม่แตกต่างกัน
2.2 ข้าราชการครูที่มีประสบการณ์ในการทางานต่างกันมีความคิดเห็นต่อคุณลักษณะของ
ผู้บริหารมืออาชีพในสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 4
โดยภาพรวมและรายด้านแต่ละด้านคือ ด้านความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงานในหน้าที่ ด้านทักษะการบริหาร
ด้านความเป็นผู้นา ด้านบุคลิกภาพ ด้านมนุษยสัมพันธ์ ด้านคุณธรรม จริยธรรม ไม่แตกต่างกัน ซึ่งอาจเป็น
เพราะว่าผูอ้ านวยการและครูต่างมีความเห็นตอ่ คุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ของผู้บรหิ ารสถานศึกษาไม่แตกต่างกัน
ซึ่งในปัจจุบันผู้บริหารสถานศึกษาได้บริหารโดยกาหนดแผนงานและโครงการใหม่ ๆ อยู่เสมอ มีวิสัยทัศน์
ทก่ี ว้างไกล และก้าวทันต่อวิทยาการใหม่ ๆ ต่อความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยี รบั ฟังความคิดเห็น
94
วารสารการวิจัยการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
ปที ี่ 2 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)
และส่งเสริมให้โอกาสทุกคนมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา ให้เกียรติ และความเป็นกันเองแก่ผู้ร่วมงาน
ดว้ ยความจรงิ ใจ ให้กาลังใจและยอมรับผู้ใต้บงั คับบญั ชาอย่างมีเหตุผล และยตุ ิธรรม ซง่ึ สอดคล้องกับงานวิจัย
ของศุภมาส วิสัชนาม (2560: 74) ได้ทาการวิจัยคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษา
สงั กัดสานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาจนั ทบรุ ี การวจิ ยั คร้ังนี้มวี ัตถุประสงคเ์ พื่อศึกษาและเปรียบเทยี บ
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี
จาแนกตามเพศ วุฒิการศึกษา ประสบการณ์ในการปฏิบัตงิ าน และขนาดของสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน
การวิจัยได้แก่ ครูผู้สอนในสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี จานวน 333 คน
ผลการเปรียบเทียบคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของครูผู้สอน
สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี จาแนกตามประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน โดยรวม
และรายดา้ นแตกตา่ งกนั อย่างไมม่ นี ยั สาคญั ทางสถิติ
2.3 ข้าราชการครูที่ปฏิบัติหน้าที่ในขนาดสถานศึกษาที่ต่างกนั มีความคิดเห็นต่อคุณลักษณะ
ของผู้บริหารมืออาชีพในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 4
โดยภาพรวมและรายด้านแต่ละด้านคือ ด้านความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงานในหน้าที่ ด้านทักษะการบริหาร
ด้านความเป็นผู้นา ด้านบุคลิกภาพ ด้านมนุษยสัมพันธ์ ด้านคุณธรรม จริยธรรม ไม่แตกต่างกัน ซึ่งอาจเป็น
เพราะว่าผู้บริหารสถานศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารหารงานของโรงเรียนอย่างต่อเนือง
โดยจัดประชุม สัมมนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ท้ังจากวิทยากรภายในและภายนอกมีการติดตาม นิเทศ การสร้างขวัญ
และกาลงั ใจให้แก่ข้าราชการครูโรงเรยี นขนาดต่าง ๆ เสรมิ สร้างประสิทธิภาพในการปฏิบตั ิราชการ โดยกาหนด
หลักสูตรการพัฒนาให้สอดคล้องกับความต้องการจาเป็นในการพัฒนาตนเองของบุคลากรทางการศึกษา
และสถานศึกษา การพิจารณาความดีความชอบ และเสริมสร้างขวัญและกาลังใจให้แก่บุคลากรในสถานศึกษา
ด้วยความโปร่งใสเป็นธรรม การพัฒนาบุคลากรตามมาตรฐานวิชาชีพ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของลานนา รักงาม
(2562: 69) ไดท้ าการศึกษาคณุ ลักษณะทีพ่ ึงประสงคข์ องผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในอาเภอแม่สาย
สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 จากการวิเคราะห์ขอ้ มูลโดยการเปรียบเทยี บ
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาในศตวรรษท่ี 21 ในอาเภอแม่สาย สังกัดสานักงานเขตพ้นื ท่ี
การศึกษาประถมศึกษา เชียงราย เขต 3 จาแนกตามตาแหน่ง วุฒิการศึกษา ประสบการณ์ในการทางาน
และขนาดของสถานศึกษา จากการศึกษาสามารถสรุปได้ดังนี้ จาแนกตามขนาดของสถานศึกษา พบว่า
โดยภาพรวมไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านวิสัยทัศน์
ดา้ นคุณธรรมจริยธรรม ด้านการสอ่ื สารและเทคโนโลยี และดา้ นการสร้างพลงั และแรงบนั ดาลใจเชงิ บวก
95
วารสารการวิจัยการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
ปที ี่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)
ไม่มีความแตกต่างกันอย่างนัยสาคัญทางสถิติ ส่วนด้านที่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติท่ี
ระดับ .05 ได้แก่ ดา้ นการสร้างเครือขา่ ยชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ และดา้ นความรู้ ความสามารถทางวิชาการ
ข้อเสนอแนะ
ข้อเสนอแนะท่ัวไป
1. ด้านบุคลิกภาพ ผู้บริหารควรส่งเสริมเร่ืองมีความเชื่อมั่นในตนเอง ความกระตือรือร้น
ในการทางาน และผูบ้ ริหารควรแต่งกายสภุ าพเรียบรอ้ ย
2. ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ผ้บู ริหารควรส่งเสริมความยุติธรรมต่อผู้รว่ มงาน การปฏบิ ตั ติ นอยใู่ น
ศีลธรรม ประพฤตติ นใหน้ ่าเล่ือมใส ศรัทธา โดยการจัดใหม้ ีการอบรมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ตามสถานที่เหมาะสม
3. ด้านความรู้เกย่ี วกับการปฏิบัติงานในหน้าท่ี ผู้บริหารควรส่งเสริมเร่ืองการรบั ฟังความคิดเห็น
จากเพ่ือนร่วมงาน เข้าใจบทบาทหน้าท่ีของผู้นาที่ดี เพื่อให้งานน้ันสาเร็จลุล่วงตามเป้าหมาย มีความรู้รอบตวั
ทนั ตอ่ เหตุการณบ์ ้านเมืองและโลก โดยการจดั อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารในเรืองใหม่ ๆ ในโรงเรยี น
4. ด้านมนุษยสัมพันธ์ ผู้บริหารควรส่งเสริมการรู้จักผ่อนหนัก ผ่อนเบา ยกย่องให้เกียรติ
แกผ่ ้รู ว่ มงานอย่างเท่าเทียมกัน และพูดจาสภุ าพกับทกุ คน
5. ด้านความเป็นผู้นา ผู้บริหารควรส่งเสริมความสามารถในการควบคุมอารมณ์ของตนเองได้
มีความสามารถในการพูดจงู ใจให้เพ่ือนร่วมงานคลอ้ ยตามได้ สามารถสรา้ งทมี งานท่ีดไี ด้
6. ด้านทักษะการบริหาร ผู้บริหารควรส่งเสริมในการอบรมพัฒนาการใช้ทักษะในการบริหาร
ในลักษณะของทกั ษะต่าง ๆ
ข้อเสนอแนะในการวจิ ยั ครง้ั ต่อไป
1. ควรมกี ารศึกษาวธิ ีการพฒั นาคุณลกั ษณะของผู้บริหารมอื อาชพี ในสถานศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน
2. ควรมีการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะของผู้บริหารมืออาชีพในสถานศึกษา
ข้ันพน้ื ฐานกบั ประสทิ ธภิ าพและคุณภาพทางการศกึ ษาของโรงเรียน
3. ควรมกี ารศกึ ษาปัจจยั ท่ีสง่ ผลต่อคณุ ลกั ษณะของผู้บรหิ ารมอื อาชพี ในสถานศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน
96
วารสารการวจิ ัยการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน
ปีท่ี 2 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)
เอกสารอา้ งองิ
รุ่งกานต์ มณฉี าย. (2559). คุณลักษณะท่พี งึ ประสงคข์ องผบู้ รหิ ารสถานศึกษาสังกดั สานกั งานเขตพ้นื ท่ี
การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2. วทิ ยานิพนธ์หลกั สตู รการศึกษามหาบัณฑิต
สาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบรู พา.
ลานนา รักงาม. (2562). การศึกษาคณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ของผบู้ ริหารสถานศึกษาในศตวรรษท่ี 21
ในอาเภอแมส่ าย สงั กดั สานกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาเชียงราย เขต 3. การศึกษา
ค้นคว้าด้วยตนเองปริญญาการศกึ ษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา มหาวิทยาลยั พะเยา.
ศริ ิชยั กาญจนวาสี. (2555). ทฤษฎีการทดสอบแบบดังเดมิ . กรุงเทพฯ: สานกั พิมพ์แหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั .
ศภุ มาส วิสชั นาม. (2560). คณุ ลักษณะที่พงึ ประสงคข์ องผู้บริหารสถานศึกษา สงั กัดสานกั งานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี. วทิ ยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชการบริหารการศึกษา
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ราไพพรรณี.
สานักงานปฏริ ูปการศึกษา. (2544). 108 คูณ 2 ปัญหาปฏิรูปการศึกษา. กรงุ เทพฯ: สานักงานปฏิรูปการศึกษา.
เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. (2541). จากรามเกียรติ์สู่การประเมนิ . กรุงเทพฯ: ปารชิ าติเครือ่ งเขยี น.
อไุ รรตั น์ ดอกพิกลุ . (2 5 5 9 ) . คุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาสังกดั สานกั งานเขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษาประถมศึกษาบรุ ีรมั ย์ เขต 4. วิทยานิพนธ์ครศุ าสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการบริหาร
การศึกษา มหาวทิ ยาลัยราชภัฎบุรรี มั ย.์
Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities.
Educational and Psychological Measurement.
97
วารสารการวจิ ัยการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน
ปที ี่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)
การพฒั นาการนิเทศภายในโรงเรียนวัดจนั ทนาราม (ศรรี องเมอื งอทุ ศิ ) จังหวดั จันทบรุ ี
ด้วยเทคนิค LD-DL
The development of Watchanthanaram srirong mueang utit School
Internal Supervision with LD-DL technic
พรทพิ ย์ ตรีสกลุ วงษ์*
Porntip Treesakulwong
บทคดั ยอ่
การวิจัยปฏิบัติการนี้ดำเนินการภายใต้แนวคิด “ทุกคนสามารถเป็นผู้นิเทศได้จากการเรียนรู้ และลงมือ
ปฏิบัติ” ด้วยเทคนิค LD-DL วัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาการดำเนินงานนิเทศภายในโรงเรียนวัดจันทนาราม
(ศรีรองเมืองอุทิศ) จังหวัดจันทบุรี ด้วยเทคนิค LD-DL 2) เพื่อศึกษาผลการนิเทศภายในโรงเรียนวัดจันทนาราม
(ศรีรองเมืองอุทิศ) จังหวัดจันทบุรี ด้วยเทคนิค LD-DL ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID-19
กลุ่มผรู้ ว่ มวจิ ัยและให้ขอ้ มูลสำคญั จำนวน 6 คน กลมุ่ เปา้ หมาย จำนวน 60 คน เคร่อื งมอื ทใ่ี ช้ในเก็บรวบรวมข้อมูล
คือ แบบบันทึกการประชุม แบบสัมภาษณ์ และแบบสอบถามความพึงพอใจ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการ
วิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย (µ)
และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (σ)
ผลการวิจัย พบว่า 1) การพัฒนาการดำเนินงานนิเทศภายในโรงเรียนวัดจันทนาราม (ศรีรองเมืองอุทิศ)
จังหวัดจันทบุรี ด้วยเทคนิค LD-DL ทั้ง 2 วงรอบ ส่งผลให้ผู้นิเทศมีความรู้ความเขา้ ใจ ตระหนักถงึ ความสำคัญของ
การนิเทศภายในทั้งงานหลัก งานส่งเสริมสนับสนุน นอกจากนี้ยังเป็นการสร้างความมั่นใจ ความเป็นผู้นำในเชิง
วิชาการและการนิเทศงาน คิดเป็นร้อยละ 83.33 2) ผลของการนิเทศภายในโรงเรียนวัดจันทนาราม (ศรีรองเมืองอุทิศ)
ด้วยเทคนิค LD-DL ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 ครูและบุคลากรทางการศึกษา สามารถ
การนำความรู้ความเข้าใจไปพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน อยู่ในระดับมากที่สุด (µ = 4.52, σ = 0.61)
และมีความพึงพอใจต่อการพัฒนาการนิเทศภายในโรงเรียนวัดจันทนาราม (ศรีรองเมืองอุทิศ) จังหวัดจันทบุรี
ด้วยเทคนคิ LD-DL อย่ใู นระดับมากที่สดุ (µ = 4.56, σ = 0.55)
คาสาคญั : การนิเทศภายใน/ เทคนิค LD-DL
* ผอู้ านวยการโรงเรยี น, โรงเรยี นวัดจนั ทนาราม (ศรีรองเมอื งอุทิศ), สานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาจันทบรุ ี เขต 1
School director, Wat Chantanaram School (Srirongmuanguthit), Chanthaburi Primary Educational Service
Area Office 1
98
วารสารการวจิ ยั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน
ปที ่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)
Abstract
This action research is carried out under the concept of "Everyone can be a supervisor
by learning and doting" with LD-DL technique which are aimed at 1 ) To develop internal
supervision in Wat Chantanaram School (Sri Rong Muang Uthit), Chanthaburi with LD-DL
technique 2) To study the results of internal supervision in Wat Chantanaram School (Sri Rong
Muang Uthit), Chanthaburi with LD-DL technique under the covid-1 9 pandemic situation.
The sample in research were 6 participants. Sixty teachers were the target group. And the
research instruments consisted of meeting notes, interviews form, and satisfaction survey.
The qualitative data was analyzed by content analysis and quantitative data using statistics
including percentage, average (μ), and standard deviation (σ)
The findings showed that 1) The development of internal supervision in Wat Chantanaram
School (Sri Rong Muang Uthit), Chanthaburi with LD-DL techniques for all second cycles.
They affect to 83.33 % of supervisors to understand and realize to the Internal Supervision,
main tasks, promotion and support process. In addition, it comes with the confidence and
the academic leadership 2) Watchanthanaram school internal supervision results with LD-DL
technique under the covid-19 pandemic situation, teachers and all educational members are
able to improve their knowledge for teaching management methods to students. Taking as
the maximum level of µ = 4.52, σ = 0.61. Moreover, they are satisfied with the internal
supervision performance with LD-DL techniques. As the maximum level of (µ = 4.56, σ = 0.55)
99
วารสารการวิจยั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน
ปีท่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)
บทนา
เป้าหมายสูงสุดของการจัดการศึกษา คือคุณภาพผู้เรียนเป็นสาคัญ จึงได้มีการบัญญัติไว้ใน
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 หมวดที่ 6 มาตรา
ที่ 47 ให้มีระบบประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ อันประกอบด้วย
ระบบประกันคุณภาพภายใน และระบบประกันคุณภาพภายนอก โดยกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการไว้ใน
กฎกระทรวงว่าด้วย ระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา พ.ศ. 2553 ซึ่งได้มี
การกาหนดให้มีการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา การติดตามและการตรวจสอบคุณภาพ และมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนดสาหรับการประกันคุณภาพภายใน ซึ่งกระทา
โดยบุคลากรของสถานศึกษานั้นหรือโดยหน่วยงานต้นสังกัดที่มีหน้าที่กากับดูแลสถานศึกษา และกาหนดให้
การนิเทศภายในเป็นส่วนหนึ่งของเกณฑ์การประเมินด้วยในมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกัน
คณุ ภาพภายใน มาตรฐานที่ 10 สถานศกึ ษามีการจัดหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ
ผู้เรียนอย่างรอบด้านตัว บ่งชี้ที่ 10.15 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) กาหนดให้มีการนิเทศภายใน
กากับ ติดตาม ตรวจสอบ และนาผลไปปรับปรุง เพื่อให้ผู้บริหารสถานศึกษาได้ตระหนัก เห็นความสาคัญและ
นาไปปฏบิ ัตใิ นโรงเรียนใหม้ ีประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผลอยา่ งเปน็ รูปธรรม
การนิเทศภายใน คือ การปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างผู้บริหารสถานศึกษากับครูในสถานศึกษาน้ัน
ในการปรบั ปรุงแก้ไขพัฒนาการปฏิบัติงานของครูให้มีประสิทธภิ าพและส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน (สุรศักดิ์ ปาเฮ,
2555: 71) ซึ่งการนิเทศภายในช่วยให้บุคลากรพัฒนางานในสถานศึกษาได้ตรงและสอดคล้องกับสภาพปัญหา
เนื่องจากเป็นผู้ใกล้ชิดและรับทราบบริบทในการปฏิบัติงานดีที่สุด แต่การนิเทศจะประสบผลสาเร็จได้นั้น
จาเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากทุก ๆ ฝ่าย ซึ่งประกอบด้วย ผู้บริหารหรือผู้นิเทศที่ผู้บริหารมอบหมาย ครู
และบุคลากรทางการศึกษาที่เป็นผู้รับการนิเทศ ความรู้ความเข้าใจ ความสามารถของผู้นิเทศ การยอมรับของ
ผู้รับการนิเทศ และการนาผลการนิเทศไปใช้ปรับปรุงงานนั้น ๆ ซึ่งหากมีการจัดระบบการนิเทศที่ถูกต้อง
เหมาะสมกบั งานน้ัน ๆ จะชว่ ยการนเิ ทศมปี ระสทิ ธิภาพและส่งผลตอ่ การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาได้จรงิ
ในสถานการณ์ปัจจุบันที่มีการระบาดของโรค COVID-19 ส่งผลต่อการดาเนินชีวิตประจาวันของผู้คน
ที่ต้องมีการเปลี่ยนแปลงในทุกมิติ ทั้งด้านการดารงชีวิตประจาวัน การประกอบอาชีพ การจัดกิจกรรมต่าง ๆ
รวมทงั้ กิจกรรม การเรยี นการสอนในทุกระดับ โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานส่วนใหญ่ที่จัดการเรียน
การสอนในสถานศึกษา (On Site) ต้องมีการปรับตัวครั้งใหญ่ เนื่องจากไม่สามารถเปิด ทาการเรียนการสอน
แบบ On Site ได้ ตามมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรค COVID- 19 ของกระทรวงสาธารณสุข
100
วารสารการวิจยั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน
ปีท่ี 2 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)
กระทรวงศึกษาธิการ จึงประกาศกาหนดแนวทางการในการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบต่าง ๆ 5 รูปแบบ
ดังนี้ การเรียนแบบ On-site คือ การเดินทางมาเรียนที่โรงเรียนซึ่งเหมาะสาหรับโรงเรียนที่มีปริมาณ
นักเรียนน้อย สามารถจัดพื้นที่แบบเว้นระยะห่างและเข้มงวด การสวมหน้ากากอนามัยตามมาตรการ
ด้านสาธารณสุข การเรียนแบบ On-Air ผา่ นระบบมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม หรอื DLTV การเรียน
แบบ On-Line ครูผู้สอนทาการสอนผ่านระบบอิเล็คทรอนิค การเรียนแบบ On-demand ผ่านระบบ
แอปพลิเคชัน และการเรียนแบบ On-hand ครูผู้สอนจัดทาเอกสารใบงานให้นักเรียนทาที่บ้าน อย่างไรก็ตาม
การเรียนการสอนทั้ง 5 รูปแบบ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความปลอดภัยและความเหมาะสมของแต่ละพื้นที่
บนพื้นฐานความปลอดภัยทั้งครูผู้สอนและนักเรียนเป็นอันดับแรก การจัดการเรียนการสอนรูปแบบ On-Line
และ On-demand ต้องอาศัยสื่ออุปกรณ์เทคโนโลยี และอินเตอร์เน็ต ในการเชื่อมต่อกับนักเรียนแบบทางไกล
อันเป็นแนวทางการสอนแบบใหมท่ ่ีครผู ู้สอนต้องมีการปรบั ตวั เรียนรู้ และนามาจัดการเรียนการสอนให้ได้
โรงเรียนวัดจันทนาราม (ศรีรองเมืองอุทิศ) เป็นโรงเรียนขนาดกลาง ที่จัดการศึกษาพิเศษเรียนรวม
เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล 1 ถึง มัธยมศึกษาปีท่ี 3 นักเรียนส่วนใหญ่อยู่ในครอบครัวที่มีฐานะยากจนถึง
ปานกลาง และมีการย้ายถิ่นตามผู้ปกครองที่มาประกอบอาชีพ พื้นฐานการเรียนรู้อยู่ในระดับปานกลาง
และมนี ักเรียนทม่ี คี วามต้องการพิเศษเรียนรวม บคุ ลากรมคี วามหลากหลาย ท้งั ดา้ นวัยวุฒิ คุณวฒุ ิ ประสบการณ์
ในการทางาน ความรู้ความสามารถ ในฐานะผู้บริหารสถานศึกษา มีความประสงค์จะพัฒนาคุณภาพการจัด
การศึกษาทั้งในการจัดการศึกษาพิเศษ และการจัดการศึกษาแบบปกติ จาเป็นต้องมีการเปลี่ยนแปลงแนวคิด
แนวปฏิบัติของบุคลากร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสถานการณ์ที่มีการแพร่ระบาดของโรค COVID- 19 ที่ส่งผล
กระทบต่อกิจกรรมการเรียนรู้ การบริหารการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ให้เกิดประสิทธิผลและมีประสิทธิภาพ
จะต้องอาศัยความร่วมมือจากบุคลากรทุกคนที่จะเรียนรู้และทาความเข้าใจการเปลี่ยนแปลงทั้งระบบ
ซ่ึงการนิเทศภายในมีความสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่ง ผู้วิจัยจึงมีแนวคิดในการพัฒนาเทคนิคการนิเทศภายใน
แบบ LD-DL มาใช้ในการนิเทศภายใน เพื่อสร้างแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาต่อไป
เนื่องจากการนิเทศด้วยเทคนิค LD-DL มีแนวคิดมาจาก (ยืนยง ราชวงษ์: 2553) ว่าการนิเทศที่ส่งผลต่อ
การพฒั นาหรือการเปล่ียนแปลงท่ีดีท่ีสุดคือการนิเทศจากผู้ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานนั้น เพราะสามารถรับรู้
และเข้าใจสภาพปัญหาและแนวทางแก้ไขการปฏิบัติงานของตนเองได้ดีกว่าผู้ที่ไมไ่ ด้เกี่ยวข้องกบั การปฏบิ ัติงาน
นั้น และในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID- 19 ผู้บริหารไม่สามารถทาการนิเทศตามแผนที่วางไว้
เนื่องจากสถานการณ์ปัจจุบันต้องใช้กระบวนการในการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลายรูปแบบ จึงต้อง
มีการพัฒนาเทคนิคการนิเทศให้เหมาะสมกับสถานการณ์ เพื่อให้การนิเทศภายในเกิดประสิทธิผลอย่าง
101
วารสารการวจิ ัยการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน
ปีท่ี 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)
มีประสิทธิภาพ ผู้วิจัยจงึ ศึกษาวิเคราะหแ์ ละหาแนวทางในการพัฒนาเทคนิค การนิเทศแบบ LD-DL ขึ้นมาจาก
แนวคดิ วา่ ทุกคนสามารถเปน็ ผนู้ เิ ทศไดจ้ ากการเรยี นรู้และลงมือปฏบิ ัติ
2. วตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั
2.1 เพื่อพัฒนาการดาเนินงานนิเทศภายในโรงเรียนวัดจันทนาราม (ศรีรองเมืองอุทิศ) จังหวัดจันทบุรี
ดว้ ยเทคนคิ LD-DL
2.2 เพื่อศึกษาผลของการนิเทศภายในโรงเรียนวัดจันทนาราม (ศรีรองเมืองอุทิศ) จังหวัดจันทบุรี ด้วยเทคนิค
LD-DL ภายใตส้ ถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID- 19
3. วิธีดาเนินการวจิ ัย
การวิจยั คร้ังนีใ้ ช้หลกั การวิจัยเชิงปฏิบัตกิ าร (Action Research) โดยใชก้ ระบวนการทางานที่เป็นวงจร
PAOR ตามแนวคิดของ Kemmis และ Mc Taggart (ประวติ เอราวรรณ์, 2545: 142; อา้ งอิงมาจาก Kemmis and
McTaggart, 1998: 11-15) ซึ่งมีองค์ประกอบ 4 ขั้นตอน โดยดาเนินการเป็น 2 วงรอบ (Spiral) แต่ละวงรอบ
ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1. ขั้นตอนการวางแผน (Planning: P) 2. ขั้นการปฏิบัติ (Action: A)
3. ข้นั การสงั เกตการณ์ (Observation: O) 4. ขั้นการสะทอ้ นผล (Reflection: R)
3.1 กลมุ่ ผรู้ ่วมวจิ ัยและผูใ้ ห้ข้อมลู ประกอบด้วย
3.1.1 ผูร้ ่วมวจิ ยั และกลุ่มผใู้ ห้ขอ้ มูลสาคญั จานวน 6 คน ของโรงเรยี นวัดจันทนาราม (ศรรี องเมืองอุทิศ)
จังหวัดจันทบุรี เข้าร่วมการปฏิบัติหน้าที่การเป็นผู้นิเทศ ให้การสนับสนุนการนิเทศ เป็นผู้สะท้อนผลการนิเทศ
ภายในด้วยเทคนิค LD-DL ประกอบดว้ ย
- ผู้วจิ ัย (ผู้อานวยการโรงเรียน)
- รองผู้อานวยการโรงเรียน
- หัวหนา้ งานบรหิ ารวิชาการ
- หวั หน้างานบริหารงานทวั่ ไป
- หัวหนา้ ฝา่ ยบรหิ ารงบประมาณ
- หวั หนา้ ฝา่ ยบุคคล
3.1.2 กลุ่มเป้าหมาย จานวน 60 คน ประกอบด้วย ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ของโรงเรยี นวัดจนั ทนาราม (ศรรี องเมอื งอุทิศ) จังหวัดจนั ทบุรี ที่ปฏิบัตหิ นา้ ทใี่ นปกี ารศกึ ษา 2564
102
วารสารการวจิ ัยการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
ปที ่ี 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)
3.2 ขอบเขตการวิจยั
3.2.1 ด้านเนื้อหา การวิจัยครั้งนี้กาหนดขอบเขตด้านเนื้อหาของการนิเทศภายในสถานศึกษา
ด้านงานวิชาการ ประกอบด้วย
1) งานหลัก เป็นงานที่มีความสาคัญอย่างยิ่ง ประกอบด้วย งานหลักสูตร การเรียนการสอน การวัดและ
ประเมนิ ผลการเรยี นการสอน ดังน้ี
(1) งานหลักสูตร ได้แก่ การปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับสภาพของท้องถิ่น การสร้าง
หลักสูตรเพื่อสนองความต้องการของผู้เรียนท้องถิ่น การจัดแผนการเรียนการสอน (การจัดการเรียนปกติ และ
การจดั การศึกษาพิเศษ) การจดั ทาแผนการสอน การจัดตารางสอน การจดั ครผู ู้สอนการจัดชั้นเรียน (จัดนักเรียน
เข้าแผนการเรียน) การจดั กิจกรรมในหลักสูตร และการผลิตส่อื และอปุ กรณก์ ารสอน ฯลฯ
(2) การเรียนการสอน ได้แก่ การพัฒนาเทคนิควิธีการสอน การพัฒนาเทคนิคในการจัดกิจกรรม
การเรียนการสอน และการพฒั นาเทคนคิ ในการใชส้ ่ือและอุปกรณก์ ารสอน ฯลฯ
(3) การวัดและประเมินผลการเรียนการสอน ได้แก่ การสร้างข้อทดสอบ การวัดและประเมินผล
งานทะเบยี นวดั ผล และรายงานความกา้ วหนา้ ของนักเรยี น
2) งานสนับสนุนวิชาการ เป็นงานที่จะช่วยส่งเสริมหรือสนับสนุนให้งานหลักดาเนินไปอย่างมีคุณภาพ
งานสนับสนุนวิชาการที่ผู้บริหารอาจจะจัดให้มีการนิเทศ เพื่อประโยชน์ต่อการเพิ่มประสิทธิภาพในการ
ปฏิบัติงานหลักตามโครงสร้างการบริหารงาน 4 ฝ่าย ประกอบด้วย 1) งานบุคลากร ได้แก่ งานอัตรากาลัง
และงานสง่ เสริมประสิทธภิ าพบุคลากร 2) งานงบประมาณ ได้แก่ งานการเงนิ และงานพัสดุ 3) งานบรหิ ารทั่วไป
ได้แก่ งานอาคารสถานที่ งานกิจการนักเรียนและระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน งานธุรการ และงานเครือข่าย
การศึกษาในชมุ ชน
3.2.2 แนวทางการดาเนินงานนเิ ทศภายในดว้ ยเทคนิคการนิเทศแบบ LD-DL
1) หลักการของเทคนิค LD-DL คือ การเรียนรู้และลงมือปฏิบัติและการลงมือปฏิบัติ เพื่อสร้าง
การเรียนรู้ โดยนามาจากคาภาษาอังกฤษ 2 คา คือ Learn (การเรียนรู้) และ DO (การลงมือปฏิบัติ) ซึ่งในที่น้ี
ได้กาหนดหลักการของเทคนิคเป็น 2 แบบ คือ LD มาจาก Learn to Do คือ การเรียนรู้สิ่งที่ต้องการปฏิบัติให้
เข้าใจก่อนแล้วนาไปปฏิบัติ และไม่ควรปฏิเสธว่าทาไม่ได้ ถ้ายังไม่ได้เรียนรู้สิ่งนั้นให้เข้าใจ DL มาจาก Do to
Learn คือ การวิเคราะหส์ ิ่งท่ีปฏิบตั ิเพื่อให้เกดิ การเรียนรใู้ หม่ และหรือการนาศักยภาพท่ีซ่อนเร้นออกมาปฏิบัติ
แลว้ สรา้ งการเรียนรจู้ ากการปฏบิ ตั นิ ัน้ เพื่อพัฒนาหรือเปน็ แบบอย่างในการพฒั นา (Best Practice)
103
วารสารการวจิ ัยการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน
ปที ี่ 2 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)
2) แนวคิดของการพฒั นาเทคนิค LD–DL เพือ่ การนเิ ทศภายใน ดังนี้
(1) การเปลย่ี นแปลงดา้ นเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมทางการเรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 อยา่ งรวดเร็ว
และรุนแรงทั่วโลก มีผลกระทบต่อการดาเนินชีวิตและการปฏิบัติงานต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นวิธีการติดต่อสื่อสาร
การทาธุรกิจการนาเสนอข้อมูลข่าวสารความรู้หรือเนื้อหาต่าง ๆ ช่องทางการติดต่อสื่อสาร สื่ออุปกรณ์ที่
เกี่ยวข้องได้แก่ โทรศัพท์สมาร์ทโฟน ระบบปฏิบัติการแอพพลิเคชั่นต่าง ๆ ที่ใช้ในชีวิตประจาวัน ทาให้ทุกคน
ตอ้ งปรบั ตัวและเรียนรู้กับส่งิ ต่าง ๆ ทกี่ ล่าวมาเพอื่ การดารงชีวิตประจาวัน
(2) พลวัตของการเป็นสังคมหลากหลายวัย (Generations) สังคมปัจจุบันเป็นสังคมที่มีผู้คน
อย่รู ว่ มกันอยา่ งหลากหลายวยั (Generations) ซึ่งต้องมีวิถชี ีวติ รว่ มกันต้องปฏบิ ตั ิกจิ กรรม ประกอบการงานต่าง
ๆ ร่วมกัน ทาให้เกิดช่องว่างระหว่างวัย ทั้งด้านทัศนคติในการใช้ชีวิต ความรู้ความสามารถ วิถีชีวิตประจาวัน
ของคนรุ่นใหม่ ๆ ที่แตกต่างจากคนรุ่นก่อน ก็เป็นสิ่งที่คนทุก ๆ วัยต้องมีการเรียนรู้และปรับตัวเข้าหากัน
ทาความเข้าใจซง่ึ กนั และกัน เพอื่ ใหส้ ามารถอยู่รว่ มกนั ไดอ้ ย่างปกติสขุ
(3) ความจ าเป็นในการใช้ชีวิตแบบ New Normal การใช้ชีวิตแบบ New Normal
เป็นผลกระทบมาจากการเกิดโรค COVID- 19 ที่ระบาดไปทั่วโลก ส่งผลให้สังคมเปลี่ยนแปลงเพราะวิถีชีวิต
ที่เปล่ยี นไป คนต้องปรับตัวในการใช้ชวี ิตประจาวันการทากจิ กรรมต่าง ๆ การประกอบอาชีพ การทากิจการงาน
ทั้งหลาย รวมทั้งด้านการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษาต้องเปลี่ยนแปลงไป และทุกคนต้องเรียนรู้ที่จะ
เปลีย่ นแปลง เพอื่ ใหช้ ีวิตสามารถดารงอยูไ่ ด้อยา่ งปลอดภัยและมีปกติสุข
(4) การสร้างความเข้าใจเพื่อการยอมรับและลดข้อขัดแย้งในการเปลี่ยนแปลงใด ๆ
การเปลี่ยนแปลงสิง่ ทบ่ี คุ คลปฏบิ ัตมิ ายาวนานเป็นเรื่องยาก โดยเฉพาะในองคก์ รที่มีความหลากหลายของบุคคล
หลากหลายรุ่น ซึ่งมีจุดเด่น จุดด้อยที่แตกต่างกันไป ผู้นาการเปลี่ยนแปลงต้องสร้างภาวะผู้นาให้เกิดแกบ่ ุคคล
ในองค์กร ซง่ึ แตล่ ะคนมคี วามสามารถ ที่แตกตา่ งกนั และนามาใช้ปฏบิ ตั ไิ ด้อยา่ งเหมาะสมกบั สถานการณ์
(5) การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของบุคลากรภายในองค์กร ในการพัฒนาองค์กรที่ยั่งยืน
ประการหนึ่ง คือ การส่งเสริมและการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในการปฏิบัติงาน ซึ่งถือเป็นความสาเร็จ
ที่สร้างความภาคภูมิใจให้กับบุคลากรภายในเป็นขวัญกาลังใจและจะช่วยสร้างศรัทธาในการร่วมพัฒนาองค์กร
อยา่ งตอ่ เนอ่ื งและย่ังยนื
104
วารสารการวจิ ยั การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน
ปีที่ 2 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)
3.2.3 กลยุทธ์ที่ใชใ้ นการพฒั นาระบบนเิ ทศภายใน ประกอบไปด้วย
1) การประชุมบุคลากรประจาเดือน เพื่อมอบนโยบาย และแนวคิดในการบริหารจัดการ รวมทั้ง
เพือ่ ติดตามความก้าวหน้าของการดาเนนิ งาน
2) การประชุมบุคลากรที่เป็นคณะทางานกลุ่มย่อยในการทากิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียน
เพื่อปรึกษาหารือรับทราบปัญหาและอานวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของบุคลากรอย่างต่อเนื่อง
เพื่อประสิทธิภาพในการปฏบิ ัติงาน
3) การเสรมิ แรงทางบวกด้วยการใหก้ าลังใจ กลา่ วช่นื ชม มอบเกียรติบัตรประกาศเกียรตคิ ุณ
3.3 เครอื่ งมือท่ีใชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมลู เคร่อื งมือการวิจยั ครัง้ นีม้ ี 2 ชนดิ ดงั น้ี
1) แบบบันทกึ การประชุม เก็บข้อมลู การประชมุ บุคลากรประจาเดือนและการประชมุ คณะทางาน
กล่มุ ย่อย
2) แบบประเมนิ จานวน 2 ฉบับ มรี ายละเอียดดงั น้ี
ฉบับที่ 1 แบบประเมินบุคลากรด้านการจัดการเรียนการสอนสาหรับการนิเทศภายใน
เพ่ือการพฒั นาคณุ ภาพการจดั การเรียนรู้ ประกอบด้วยองคป์ ระกอบ 4 องค์ประกอบ คอื
(1) คุณลกั ษณะในการปฏิบตั ิงาน
(2) การนาหลกั สตู รสถานศึกษาส่กู ารจดั การเรยี นรู้
(3) กระบวนการจดั การเรียนรู้
(4) การวัดและประเมนิ ผล
ซ่ึงเป็นแบบสอบถามประเภทแบบมาตรประมาณคา่ 5 ระดบั (Rating Scale)
ฉบับท่ี 2 แบบประเมนิ ความพงึ พอใจการนิเทศภายในด้วยเทคนคิ LD–DL แบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ
ตอนที่ 1 เป็นข้อคาถามเกี่ยวกับสถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามลักษณะ
แบบตรวจสอบรายการ (Checklist)
ตอนท่ี 2 เปน็ ข้อคาถามเกยี่ วกับความพึงพอใจ การนิเทศภายในด้วยเทคนคิ LD–DL
ประกอบดว้ ยองค์ประกอบ 5 องค์ประกอบ คือ
(1) งานหลกั สตู รสถานศกึ ษา
(2) งานการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้
(3) งานบุคลากร
105
วารสารการวิจยั การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน
ปีที่ 2 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)
(4) งานงบประมาณ
(5) งานบริหารทั่วไป
ซึ่งเป็นแบบสอบถาม แบบมาตรประมาณคา่ 5 ระดับ (Rating Scale)
3) การสร้างและตรวจสอบคณุ ภาพ เคร่อื งมือวจิ ัย มขี ั้นตอนการสร้าง ดังนี้
(1) ศึกษาวิเคราะห์เอกสาร ตารา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นพื้นฐานในการกาหนด
องค์ประกอบของการประเมิน
(2) สร้างแบบประเมินตามขอบเขตของเนื้อหา ครอบคลุมวัตถุประสงค์การวิจัย ตรวจสอบความ
เหมาะสมของเนือ้ หา
(3) นาแบบสอบถามที่สร้างเสร็จแล้วให้ผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 5 ท่าน ตรวจสอบความเที่ยงตรง
เชิงเนื้อหา (Content Validity) ในด้านความครอบคลุมครบถ้วนของเนื้อหาในประเด็นและสาระสาคัญตรง
ตามวัตถุประสงค์ หลังจากนั้นจึงนาข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิมาปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้ได้แบบสอบถาม
ที่มคี วามสมบรู ณ์พรอ้ มนาไปเกบ็ ข้อมลู จริง ได้ค่า IOC ของความเท่ยี งตรงเชิงเน้ือหา
แบบประเมิน ฉบบั ที่ 1 แบบประเมินการนิเทศภายในด้วยเทคนิค LD-DL ดา้ นการจัดการเรียนการสอน
สาหรบั เพ่ือการพฒั นาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ มคี า่ IOC ของความเทย่ี งตรงเชิงเน้ือหาระหวา่ ง 0.96 - 1.00
แบบประเมิน ฉบบั ที่ 2 แบบประเมินความพงึ พอใจการนิเทศภายในดว้ ยเทคนคิ LD–DL มคี ่า IOC
ของความเท่ียงตรงเชิงเนือ้ หาระหว่าง 0.97 - 1.00
3.4 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู
3.4.1 ผู้วจิ ยั เก็บรวบรวมขอ้ มูลจากเครื่องมือตา่ ง ๆ ดว้ ยตนเอง ระหว่างวันท่ี 16 พฤษภาคม 2564 ถงึ 31
มีนาคม 2565 ดังน้ี
ระยะที่ 1 ผู้วิจัยศึกษาสภาพปัญหาการนิเทศภายในโรงเรียนวัดจันทนาราม (ศรีรองเมืองอุทิศ)
เก็บรวบรวมข้อมูล และดาเนินการประชาสัมพันธ์ให้ครูและบุคลากร รับทราบถึงแนวทางการพัฒนาการนิเทศภายใน
วัตถุประสงค์ของการพัฒนาการนิเทศภายในด้วยเทคนิค LD-DL จัดทาปฏิทินและกาหนดการปฏิบัติการนิเทศ
ร่วมกบั กล่มุ ผ้รู ่วมวิจยั เร่มิ ต้นสร้างความรูค้ วามเขา้ ให้กับกลุ่มผรู้ ่วมวจิ ยั เพ่ือการดาเนินงานในแนวทางเดียวกัน
โดยใชก้ ลยุทธก์ ารประชมุ บุคลากรประจาเดือน เพ่อื มอบนโยบาย และแนวคิดในการบริหารจดั การ รวมทัง้ กากับ
ติดตามความก้าวหน้าของการดาเนนิ งาน ระยะเวลาการดาเนินการต้ังแต่เดือนพฤษภาคม 2564 ถงึ มนี าคม 2565
วิธีการเกบ็ รวบรวมข้อมูล โดยการสงั เกต และสมั ภาษณ์แบบไม่มโี ครงสรา้ ง จากกล่มุ ผูใ้ ห้ข้อมลู สาคัญ
106
วารสารการวจิ ยั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน
ปีท่ี 2 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)
ระยะท่ี 2 ผวู้ จิ ัยและผ้รู ว่ มวิจัย ดาเนินการในวงรอบที่ 1 ตามปฏทิ ินทกี่ าหนดด้วยกระบวนการวจิ ัย
เชิงปฏิบัติการ 4 ขั้นตอน ประกอบด้วย ขั้นตอนการวางแผน (Planning: P) ขั้นการปฏิบัติ (Action: A)
ขั้นการสังเกตการณ์ (Observation: O) และขั้นการสะท้อนผล (Reflection: R) โดยใช้กลยุทธ์การประชุม
บุคลากรประจาเดือน การประชุมคณะทางานกลุ่มย่อย เพื่อปรึกษาหารือ รับทราบปัญหาและอานวย
ความสะดวกในการปฏิบัติงานของบุคลากรอย่างต่อเน่ือง เพอื่ ประสิทธิภาพในการปฏบิ ัติงาน และการเสริมแรง
ทางบวกด้วยการให้กาลังใจ กล่าวชื่นชม มอบเกียรติบัตรประกาศเกียรติคุณ ดาเนินการตั้งแต่เดือนพฤษภาคม
2564 ถึง ตุลาคม 2564 เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสังเกต บันทึกการประชุม และสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง
จากกลุ่มผใู้ หข้ อ้ มูลสาคัญ
ระยะที่ 3 ผู้วิจัยและผู้ร่วมวิจัย รวมกันสะท้อนผลการดาเนินการในวงรอบที่ 1 เพื่อปรึกษาหารือ
รับทราบปัญหาและร่วมกันออกแบบวางแผนการดาเนินงานในวงรอบที่ 2 อย่างมีประสิทธิภาพ ตามปฏิทิน
ทก่ี าหนด ความตระหนกั ในบทบาทหน้าที่ มีทกั ษะและความมน่ั ใจในการปฏิบตั ิ กล้าใหค้ าปรึกษา โดยใชก้ ลยุทธ์
การประชมุ บคุ ลากรประจาเดือน การประชมุ คณะทางานกลุ่มย่อย เพื่อปรึกษาหารือ รับทราบปญั หาและอานวย
ความสะดวกในการปฏิบัติงานของบุคลากรอย่างต่อเนื่องเพื่อประสิทธิภาพในการปฏบิ ัติงาน และการเสริมแรง
ทางบวกด้วยการให้กาลังใจ กล่าวชน่ื ชม มอบเกยี รติบตั รประกาศเกียรติคุณ ดาเนินการต้งั แต่เดือนพฤศจิกายน
2564 ถึง มีนาคม 2565 เก็บรวบรวมข้อมูลโดย การสังเกต บันทึกการประชุม สัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง
และเก็บข้อมูลจากแบบประเมินบุคลากรด้านการจัดการเรียนการสอนสาหรับการนิเทศภายในเพื่อการพัฒนา
คณุ ภาพการจัดการเรยี นรู้ และการประเมนิ ความพึงพอใจต่อการพัฒนาการนิเทศภายในโรงเรียนวดั จันทนาราม
(ศรีรองเมืองอทุ ศิ ) จงั หวดั จันทบรุ ี ด้วยเทคนคิ LD-DL ภายใต้สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรค COVID-19
3.4.2 วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) และวิเคราะห์ข้อมูล
เชิงปริมาณดว้ ยสถิติเชงิ พรรณนา ไดแ้ ก่ ค่ารอ้ ยละ คา่ เฉลี่ย (µ) และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (σ)
4. ผลการวจิ ัย
การวิจัยปฏิบัติการนี้ดาเนินการภายใต้แนวคิด “ทุกคนสามารถเป็นผู้นิเทศได้จากการเรียนรู้และลงมือ
ปฏิบตั ิ” ดว้ ยเทคนคิ LD-DL วัตถปุ ระสงคเ์ พ่อื 1) เพ่อื พฒั นาการดาเนนิ งานนิเทศภายในโรงเรยี นวดั จันทนาราม
(ศรรี องเมืองอุทิศ) จังหวดั จันทบรุ ี ดว้ ยเทคนิค LD-DL 2) เพือ่ ศกึ ษาผลการนิเทศภายในโรงเรียนวดั จนั ทนาราม
(ศรีรองเมืองอุทิศ) จงั หวดั จันทบุรี ด้วยเทคนคิ LD-DL ภายใตส้ ถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID-19
107
วารสารการวิจยั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน
ปที ี่ 2 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)
1. การพัฒนาการนิเทศภายในโรงเรียนวัดจันทนาราม (ศรีรองเมืองอุทศิ ) จงั หวัดจันทบรุ ีดว้ ยเทคนิค LD-DL
ใหม้ ีประสทิ ธิภาพ ผลปรากฏดงั น้ี
วงรอบที่ 1 จัดการประชุมกลุ่มยอ่ ย จานวน 2 คร้ัง เพื่อชแ้ี จงแนวทางปฏบิ ัตกิ ารนเิ ทศ และเพือ่ ตดิ ตาม
ผลการดาเนินงานของผูป้ ฏิบัตหิ น้าท่ีนิเทศ (กลุ่มผู้ร่วมวิจัย) โดยการรวบรวมข้อมูลของการนเิ ทศงานแตล่ ะฝ่าย
และร่วมกันอภิปรายผล เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและแนวทางดาเนินงาน ตามเทคนิคกระบวนการของ
LD-DL สาหรับการนิเทศงานหลัก งานส่งเสริมและสนับสนุน โดยกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ 4 ขั้นตอน
ประกอบด้วย ขั้นตอนการวางแผน (Planning: P) ขั้นการปฏิบัติ (Action: A) ขั้นการสังเกตการณ์ (Observation: O)
และข้นั การสะท้อนผล (Reflection : R) ผลการดาเนินการในวงรอบที่ 1 พบว่า ผู้วิจัยและผู้ร่วมวิจัยวิเคราะห์สภาพ
ปัจจุบัน กาหนดปัญหาและความต้องการ จัดลาดับความสาคัญของปัญหา กาหนดทางเลือกและประเด็น
การนิเทศสาหรับการนิเทศงานหลัก งานส่งเสริมและสนับสนุน ที่จะปรับปรุง/พัฒนาอย่างชัดเจน จัดทาคาสั่ง
ผู้รับผิดชอบ จัดทาปฏทิ นิ การปฏบิ ตั ิการนเิ ทศ จัดทาเครอื่ งมอื การนิเทศ ดาเนินการนิเทศภายในด้วยเทคนิค LD
(Learn to Do) และ DL (Do to Learn) ของโรงเรียน สร้างความมั่นใจในการปฏิบัติการนิเทศ และการให้
คาปรึกษา แนะนาด้วยบรรยากาศของการเป็นกัลยาณมิตร แต่ด้วยเทคนิคการนิเทศแบบ LD-DL เป็นแนวคิด
ใหมท่ ีน่ ามาปฏบิ ัติ ทาใหผ้ ลการนิเทศยังไม่มีประสทิ ธภิ าพเท่าท่ีควรจงึ นาไปพัฒนาต่อในวงจรรอบท่ี 2
วงรอบที่ 2 การสะท้อนผลจากการปฏิบัติในวงจรรอบที่ 1 ปัญหาที่พบคือ ผลการนิเทศยังไม่มี
ประสิทธภิ าพเท่าท่ีควร เนอ่ื งจากผทู้ ี่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าท่ีเป็นผูน้ ิเทศ ยงั ขาดความมั่นใจในการนิเทศ
ไม่กล้าสะท้อนผลการนิเทศทีแ่ ท้จริง ผู้วิจัยในฐานะผู้บริหาร จึงจัดการประชุมกลุม่ ย่อยครั้งท่ี 2 เพื่อสะท้อนผล
การนิเทศ และร่วมกันวางแผน เพื่อกาหนดขั้นตอนกระบวนการปฏิบัติการนิเทศด้วยเทคนิค LD- DL ให้เกิด
ความชดั เจนยิ่งขน้ึ และปฏิบัตกิ ารนเิ ทศงานและงานส่งเสริมและสนับสนุน ไดแ้ ก่ งานบุคลากร งานงบประมาณ
และงานบรหิ าร
ทว่ั ไป ผ้วู ิจัยมกี ารสังเกตการณ์และสะทอ้ นผล โดยกลยทุ ธก์ ารเสริมแรงอีกครงั้ พบว่า ผรู้ ่วมวิจัยมคี วาม
เข้าใจในกระบวนการพฒั นาการนิเทศภายในด้วยเทคนิค LD-DL มากขึ้น และยังมีความตระหนักในบทบาทหน้าที่
มที ักษะและความมั่นใจในการปฏิบัติ กล้าใหค้ าปรึกษา สามารถปฏบิ ัติการนิเทศได้ตามแนวทางทไ่ี ด้รว่ มกันวางแผนและ
ออกแบบไว้ จึงได้เทคนคิ ใหม่ ที่เหมาะสมกบั บริบทของโรงเรียน ดังน้ี
108
วารสารการวจิ ัยการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
ปที ี่ 2 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)
เทคนคิ ของ LD (Learn to Do) คือ
1. กาหนดประเดน็ การนิเทศอยา่ งชดั เจน
2. ระบสุ ิง่ ท่ีตอ้ งเรยี นรจู้ ากประเด็นการนเิ ทศ
3. ระบุวธิ กี ารเรยี นรู้สง่ิ ที่ต้องการเรยี นรู้
4. ระบภุ าระงานที่ตอ้ งปฏิบตั ิจากการเรียนรู้
การนาเทคนคิ LD (Learn to Do) ใช้ในการนเิ ทศภายใน ดังนี้
1. ผูน้ ิเทศจดั ทาตารางเหตผุ ลสมั พนั ธ์ LD (Learn to Do) สาหรับประเดน็ ในการนเิ ทศงานหลัก
และงานส่งเสริมสนบั สนุนงานหลักในช่องคอลมั น์ท่ี 1
2. ผู้นิเทศวิเคราะห์สิง่ ท่ตี ้องเรียนร้จู ากประเด็นการนิเทศหลกั และเขยี นเนือ้ หานน้ั ในชอ่ งคอลัมน์ที่ 2
3. ผูร้ บั การนิเทศกาหนดวิธีการเรียนรู้ด้วยตนเองวา่ สามารถใช้การเรียนรจู้ ากทางใดบ้างลงในช่องคอลัมน์ท่ี 3
4. ผ้รู ับการนเิ ทศระบภุ าระงานที่ต้องปฏิบัติ ตามประเด็นของการนเิ ทศในช่องคอลมั น์ท่ี 4
5. ผรู้ ับการนิเทศปฏบิ ตั ิตามภาระงานท่รี ะบุไวใ้ นภาระงานที่ตอ้ งปฏิบัติ
เทคนิคของ DL (Do to Learn) คือ
1. กาหนดประเดน็ การนิเทศอย่างชดั เจน
2. ระบสุ ง่ิ ทป่ี ฏิบัติตามภาระงาน
3. ระบกุ ระบวนการท่ีทาให้เกดิ การเรยี นรู้จากการปฏบิ ัติ
4. ระบคุ วามรู้ที่เกิดขึ้น/ความรู้ท่ีได้/ผลทเี่ กิดจากการเรยี นรใู้ นขัน้ LD
การนาเทคนิค DL (Do to Learn) ไปใชใ้ นการนเิ ทศภายใน ดงั น้ี
1. ผู้รบั การนเิ ทศระบุประเดน็ การนิเทศในขัน้ LD ในตารางชอ่ งคอลัมน์ท่ี 1
2. ผู้รบั การนเิ ทศระบุภาระงานท่ีปฏิบัตจิ ากขนั้ ตอน LD มาเขียนในชอ่ งคอลมั น์ท่ี 2
3. ผ้รู บั การนเิ ทศระบแุ นวทางการเรียนรู้ที่ใชห้ รอื คน้ พบใหม่ในชอ่ งคอลัมน์ที่ 3
4. ผรู้ บั การนิเทศระบุการเรยี นรูท้ เี่ กิดข้นึ หรือความรู้ที่ไดจ้ ากการปฏบิ ัติงานในขน้ั ตอน LD
5. รายงานผลการเรียนรู้หรอื ความรทู้ ่ไี ดค้ ้นพบจากขน้ั ตอน LD
109
วารสารการวิจยั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
ปที ่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)
ผลการวิจยั จากการนาแนวปฏบิ ตั ิการนเิ ทศแบบ LD-DL ด้วยการประชุมกลุม่ ย่อยนาเสนอไวใ้ นตารางที่ 1-4
ตารางที่ 1 เทคนคิ LD (Learn to Do) เพื่อนิเทศงานหลัก
กาหนดประเด็น ส่ิงท่ีต้องเรยี นรู้ วธิ ีการเรยี นรู้ ภาระงานท่ีตอ้ งปฏิบตั ิ
การนเิ ทศ
องค์ประกอบ ศึกษาด้วยตนเองจาก 1.วิเคราะหห์ ลักสตู รรายสาระ
งานหลกั ของครู ของหลกั สูตร แหลง่ เรียนรตู้ ่างๆ และระดับชั้น
1.งานหลกั สูตร ต้องการความชว่ ยเหลือ 2.จัดทากาหนดการสอน
รปู แบบการจดั การเรียนรู้/เทคนคิ จากผู้นเิ ทศ 3.ออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้ที่
2. งานการเรยี นการสอน การจัดการเรยี นรทู้ ี่นามาใช้ สอดคล้องกบั หลกั สตู รสถานศึกษา
มีรายละเอยี ด ศึกษาด้วยตนเองจากแหล่ง และหลกั สตู รท้องถนิ่
3. งานการวดั และ สาคญั อย่างไร เรยี นรตู้ ่างๆ 4.จัดทาแผนการวดั ประเมนิ ผล
ประเมินผลการเรยี นรู้ ต้องการความชว่ ยเหลอื 5.จดั ทาแผนการจัดการเรยี นรู้
1.ความจาเป็นในการวดั และ จากผูน้ ิเทศ 1.จดั ทาแผนการจดั การเรยี นรทู้ มี่ ี
ประเมินผลการเรยี นรู้แตล่ ะชนิด องคป์ ระกอบครบถ้วน
2.ประเภทเคร่อื งมือวดั ผลการเรียนรู้ ศึกษาดว้ ยตนเองจากแหลง่ 2.เสนอขออนุมตั ใิ ชแ้ ผนลว่ งหน้า
3.คณุ ภาพของเครือ่ งมอื เรียนรตู้ ่างๆ 3.จัดทาทะเบยี นส่อื การเรียนรู้
วัดและประเมนิ ผลท่ดี ี ต้องการความช่วยเหลอื 4.สรา้ งและพัฒนาสอื่ การเรียนรู้
4.การหาคณุ ภาพเครอ่ื งมอื วดั จากผนู้ เิ ทศ (ระบ.ุ .....) อยา่ งน้อยภาคเรยี นละ 1 ช้นิ
ประเมนิ ผล 1.จดั ทาเครอื่ งมือวดั และ
ประเมนิ ผลการเรียนรู้
2.การสรา้ งและพัฒนาเครอ่ื งมือวดั
และประเมนิ ผลทมี่ ีคณุ ภาพ
สอดคลอ้ งกับการจัดการเรยี นรู้
110
วารสารการวิจยั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน
ปที ี่ 2 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)
ตารางที่ 2 เทคนคิ DL (Do to Learn) เพ่ือนิเทศงานหลัก
กำหนดประเด็นการ สง่ิ ที่ปฏิบัติ กระบวนการเกิดการ การเรียนรู้ท่ีเกดิ ข้ึน/ความรู้ที่ได้
นิเทศอย่างชัดเจน เรียนรจู้ ากการปฏบิ ตั ิ
หลกั สตู รรายสาระ 1.การออกแบบหน่วยการเรยี นรูท้ ี่
1.งานหลกั สตู ร หนว่ ยการเรยี นรรู้ ายสาระ ฐานความรูเ้ ดิมและหรอื เหมาะสมและสอดคลอ้ งกบั บรบิ ท
ความสนใจของตน หรือสถานการณ์ปจั จุบัน
คน้ พบจากการปฏบิ ตั ิงาน 2.การพฒั นาหลกั สตู รท้องถิน่
3.แนวทางในการประเมินหลักสตู ร
2. งานการเรยี นการสอน มีการจัดการเรยี นรูอ้ ยา่ ง ฐานความรเู้ ดมิ และหรือ 1.การจัดทำแผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่
หลากหลาย ความสนใจของตน เหมาะสมกบั ผูเ้ รยี น หรอื เหมาะสมกับ
ค้นพบจากการปฏบิ ตั งิ าน เนอื้ หาสาระ
2.นวัตกรรมการสอนท่ีทนั สมยั
3. งานการวัดและ 1.การใช้เคร่อื งมือวดั และ ฐานความร้เู ดมิ และหรือ น่าสนใจและใช้ประโยชนไ์ ดอ้ ยา่ ง
ประเมินผลการเรยี นรู้ ประเมนิ ผลท่ีมคี ณุ ภาพและ ความสนใจของตน มคี ณุ ภาพ
ใชไ้ ด้อยา่ งเหมาะสมกับ คน้ พบจากการปฏบิ ตั งิ าน 3.มสี ่ือการเรียนร้อู ยา่ งหลากหลาย
การเรยี นรู้ มากขนึ้
1.แนวทางการวัดและประเมนิ ผล
กิจกรรมการเรียนรตู้ า่ ง ๆ
2.การเลือกเคร่อื งมือวัดและ
ประเมินผลได้ถกู ต้องเหมาะสม
กับส่งิ ท่ตี ้องการวดั
111
วารสารการวิจยั การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน
ปที ่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)
ตารางท่ี 3 เทคนคิ LD (Learn to Do) เพ่อื นิเทศงานสง่ เสริมและสนบั สนนุ
กำหนดประเดน็ การ สง่ิ ท่ีต้องเรยี นรู้ วธิ ีการเรยี นรู้ ภาระงานที่ต้องปฏบิ ตั ิ
นเิ ทศอยา่ งชดั เจน
1.วชิ าเอก ตรวจสอบเอกสารทเ่ี กย่ี วข้อง 1.การจัดวางตวั บุคคลใหเ้ หมาะสม
1.งานบุคลากร 2.ความสามารถพิเศษ สอบถาม กบั งาน
2. งานงบประมาณ 3.ความสนใจ สงั เกตคณุ ลักษณะ 2.การส่งเสริมและพฒั นาคณุ สมบตั ิ
4.บุคลิกภาพในการปฏบิ ัตงิ าน และพฤติกรรม 3.จัดทำทะเบยี นประวัติบคุ ลากร
3. งานบริหารทัว่ ไป 1.จำนวนงบประมาณและ ตรวจ สอบเอกสารท่ี
แหล่งงบประมาณ เก่ยี วขอ้ ง 1.วิเคราะหผ์ ลการใชง้ บประมาณ
ความต้องการจำเป็น และ การประชุมวางแผน ด้านความตอ้ งการจำเป็น ความ
จัดทำเอกสารหลักฐานท่ีเป็น รายงานผลการดำเนนิ งาน คมุ้ ค่าและประสิทธิภาพจากรายงาน
ระบบ ระเบยี บถกู ตอ้ ง รายงานผลการดำเนนิ งาน 2.จดั ทำแผนการบรหิ ารงบประมาณ
ตรวจสอบได้ ใหส้ อดคล้องกับความตอ้ งการจำเปน็
สำรวจตรวจสอบสภาพจรงิ ตามแผนพัฒนาคณุ ภาพและ
1.การจดั ทำข้อมลู สารสนเทศ ศกึ ษารายงาน และเอกสาร แผนปฏิบตั ิการ
ทเี่ ก่ียวข้อง ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง 3.แนวทางแกไ้ ขปญั หาในการ
2.การกำกบั ตดิ ตามดูแล เบกิ จ่ายงบประมาณท่จี ำเป็นต่อการ
การปฏิบตั งิ าน ปฏบิ ัตงิ านขององค์กร
1.แนวทางแก้ไขปญั หาระยะส้ัน
ระยะกลาง และระยะยาว
2.การวางแผนการดำเนินงานเดมิ ที่มี
ประสิทธภิ าพเพ่ิมข้ึน
ตารางท่ี 4 เทคนิค DL (Do to Learn) เพ่ือนเิ ทศงานส่งเสริมและสนับสนุน
กำหนดประเด็นการ ส่งิ ทป่ี ฏบิ ตั ิ กระบวนการเกดิ การ การเรียนรู้ทีเ่ กิดข้นึ /ความรทู้ ี่ได้
นเิ ทศอยา่ งชดั เจน เรียนรู้จากการปฏิบัติ
1.การจดั ครเู ข้าสอนในแตล่ ะชั้น 1.ทราบความสามารถแทจ้ ริง
1.งานบคุ ลากร เรยี นตามความสามารถ ประเมินผลความก้าวหน้า ของบคุ ลากร
ความถนดั และเหมาะสม ของการปฏิบัติ 2.ทราบความสามารถหรือศักยภาพ
2.การจดั วางตวั บุคคลเหมาะสม สอบถามผเู้ กี่ยวขอ้ ง ซอ่ นเร้น
กับงานแตล่ ะฝา่ ย สังเกตคณุ ลกั ษณะ 3.การส่งเสริมสนับสนุนอย่างถูกตอ้ ง
ตามความรคู้ วามสามารถ และพฤตกิ รรม
ความถนัดและความสนใจ
112
วารสารการวจิ ยั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน
ปที ี่ 2 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)
กำหนดประเดน็ การ สิง่ ทป่ี ฏิบัติ กระบวนการเกดิ การ การเรียนรู้ท่ีเกดิ ข้นึ /ความรูท้ ่ีได้
นเิ ทศอยา่ งชดั เจน
1.การวเิ คราะหแ์ ละจดั ทำ เรียนรจู้ ากการปฏิบัติ 1.การจัดทำเอกสารการเบกิ จา่ ย
2. งานงบประมาณ แผนการบรหิ ารงบประมาณ 2.กระบวน การใชง้ บประมาณและ
ท่ีสอดคล้อง ตรวจสอบเอกสาร การจัดทำเอกสารลา้ งหนี้ทมี่ ี
3. งานบริหารท่วั ไป ทเี่ กย่ี วขอ้ ง ประสิทธภิ าพ
การประชุมวางแผน 3.จดั ระบบ ระเบยี บเกี่ยวกบั เอกสาร
ทางการเงิน บัญชแี ละพัสดุอยา่ ง
1.การใช้ประโยชนจ์ ากอาคาร สำรวจตรวจสอบ ถกู ต้องและประชมุ ช้ีแจงแนวปฏิบตั ิ
สถานที่ สภาพจริง 4.จดั ทำคมู่ อื การบริหารงาน
2.ระบบการสอื่ สารและ ศกึ ษารายงาน และ งบประมาณ
เทคโนโลยีภายในสถานศึกษา เอกสารท่เี กยี่ วขอ้ ง 1.กำกับ ติดตาม ดแู ลการปฏบิ ตั ิงาน
3.งานกิจกรรมนกั เรียนและการ กิจกรรม ตา่ ง ๆ
ดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี น 2.จัดทำข้อมลู สารสนเทศทเี่ ก่ยี วขอ้ ง
4.งานสาธารณปู โภค ในแต่ละประเดน็ เพอ่ื นำไปวาง
5.งานซ่อมบำรุงวสั ดุอปุ กรณ์ แผนการส่งเสริมและพฒั นาในแต่
ตา่ งๆ ละงาน แต่ละกิจกรรมอย่างเหมาะสม
และสอดคลอ้ งกบั งบประมาณ
2. ผลของการนิเทศภายในโรงเรียนวัดจันทนาราม (ศรีรองเมืองอุทิศ) จังหวัดจันทบุรี ด้วยเทคนิค LD-DL
ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ผู้วิจัยนาเสนอผลเชิงคุณภาพและผลเชิงปริมาณใน
ประเดน็ ตอ่ ไปน้ี
2.1 การพัฒนาศักยภาพบุคลากรในระดับหัวหน้าฝ่าย ซึ่งเป็นผู้ร่วมวิจัยการนิเทศภายในด้วยเทคนิค
LD-DL จานวน 6 คน มีขอบข่ายการพัฒนา 2 เรื่อง คือ การส่งเสริมภาวะผู้นาในการนิเทศภายใน และความรู้
ความเข้าใจในการใช้เทคนิค LD-DL เพื่อการนิเทศภายใน นาเสนอข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content
Analysis) ดังน้ี
ผู้วจิ ยั ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมลู ทร่ี วบรวมจากการสังเกตพฤติกรรมการทางาน การแสดงความคิดเห็น
ในการประชุมกลุ่ม การจดั ทาตารางเหตุผลสัมพนั ธ์ในการนาเทคนิค LD-DL ของแตล่ ะฝ่ายไปใช้ พบว่า หัวหน้าฝ่าย
ได้พฒั นาความรคู้ วามเขา้ ใจในการนเิ ทศจากการได้ร่วมประชุมกลุ่มยอ่ ยรว่ มกบั ผบู้ ริหาร เพ่อื วางแผนการทางาน
113
วารสารการวจิ ยั การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน
ปที ี่ 2 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)
ร่วมกัน ทาให้ได้ข้อมูลเพื่อวางแผนทั้งด้านงบประมาณ บุคลากร และวิธีการที่จะนามาใช้ในการดาเนินงาน
และทาให้ทุก ๆ ฝ่ายมองเห็นความเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน ทาให้มีการป้องกันและสามารถแก้ไขปัญหาได้ทัน
การณ์ นอกจากนั้นการร่วมประชุมกลุ่มย่อยช่วยให้การทางานเร็วขึ้น เพราะสามารถหาข้อมูลของฝ่ายนั้น ๆ
ตามความต้องการจาเป็นได้ทันที นอกจากนั้นการเลือกใช้สื่อและเทคโนโลยีในการติดต่อสื่อสารสารสนเทศ
ต่าง ๆ ผ่านสมาร์ทโฟน เช่น การส่งข้อมูล การประชุม การติดตามงานผ่านระบบไลน์กลุ่มต่าง ๆ ทาให้ได้
ขอ้ มลู ทถี่ ูกต้อง รวดเรว็ ชว่ ยลดความผดิ พลาดของขอ้ มลู และมีการปฏบิ ตั ิที่ได้ผลสาเร็จตามเป้าหมาย ผนู้ เิ ทศจงึ
เกดิ ความม่ันใจในการนิเทศมากข้ึน นอกจากน้ันสิ่งทช่ี ว่ ยเสริมสร้างความมนั่ ใจให้ผู้นิเทศมือใหม่ คือ การให้แรง
เสริมทางบวกจากผู้บริหารด้วยการให้กาลังใจ ชื่นชมและส่งเสริมให้มีการแสดงออกถึงภาวะผู้นาด้วยการเป็น
วิทยากรจัดอบรมปฏิบัติการเพ่ือส่งเสรมิ และพัฒนาศักยภาพให้แกบ่ ุคลากรในโรงเรียนวัดจันทนารามครอบคลุม
การปฏบิ ัติงานทัง้ 4 ฝา่ ย
2.2 การศกึ ษาคณุ ภาพของการนเิ ทศภายในดว้ ยเทคนคิ LD-DL ผูว้ ิจยั ได้นาเสนอขอ้ มูลจากการรวบรวม
ข้อมูลการนิเทศภายในครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนวัดจันทนารามฯ จานวน 60 คน และจากการประเมิน
ความพงึ พอใจของบุคลากรต่อการนิเทศภายในดว้ ยเทคนคิ LD-DL นาเสนอผลในตารางท่ี 5 - 6
114
วารสารการวจิ ยั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน
ปีที่ 2 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)
ตารางที่ 5 แบบประเมินการนเิ ทศภายใน ดว้ ยเทคนิค LD-DL เพือ่ การพฒั นาคณุ ภาพการจดั การเรียนรู้
รายการประเมนิ µ σ แปลผล
กระบวนการจัดการเรียนรู้ 4.13 1.02 มาก
10. ครูผู้สอนจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ตามแผนการจดั การเรยี นร้แู ละ 4.43 0.62 มาก
เนน้ การพัฒนาผเู้ รยี นความสามารถและทักษะของผู้เรยี นศตวรรษท่ี 21
(3Rs x8Cs x2Ls) 4.47 0.59 มาก
4.48 0.62 มาก
11. ครูผสู้ อนมกี จิ กรรมการเรียนรทู้ ่หี ลากหลายตอบสนองตอ่ 4.83 0.37 มากที่สดุ
ความแตกต่างของผ้เู รียนสร้างประสบการณใ์ หมใ่ นการเรยี นรู้ 4.80 0.40 มากท่สี ุด
โดยเนน้ ใหผ้ ้เู รยี นมสี ่วนรว่ มในกระบวนการเรยี นรู้ และม่งุ เน้น 4.53 0.67 มากทีส่ ุด
กระบวนการ Active Learning 4.53 0.62 มากทส่ี ดุ
4.30 0.61 มาก
12. ครผู ู้สอนจดั กจิ กรรมการเรยี นรสู้ ่งเสรมิ การมปี ฏิสมั พันธ์ระหวา่ ง
ผู้เรยี นกบั ครูและระหว่างผเู้ รียนดว้ ยกันเอง เปิดโอกาส ใหผ้ ้เู รยี น
มีการปฏบิ ตั จิ รงิ มีความท้าทายและมรี ะดบั ความยากง่ายเหมาะสม
กับช่วงวัย ซ่ึงสามารถปฏบิ ตั จิ รงิ มีความท้าทายและมรี ะดบั ความยากงา่ ย
เหมาะสมกับชว่ งวยั ซง่ึ สามารถสะท้อน การเรียนรดู้ ว้ ยตนเองได้
13. ครูผสู้ อนส่งเสรมิ กิจกรรมให้นกั เรยี นมที กั ษะการส่ือสาร เช่น
การนาเสนอ การอภิปรายในกลมุ่ หรอื เสนอแนวทางในการปฏิบัตติ น
ในชีวิตประจาวนั
14. ครผู ู้สอนสอดแทรกความรทู้ ัว่ ไปในชวี ติ ประจาวัน และสอดแทรก
คณุ ธรรม จรยิ ธรรมในการดารงชีวติ
15. ครูผู้สอนเปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รยี นมีส่วนร่วมในกจิ กรรม อยา่ งเหมาะสม
และทวั่ ถึง
16. ครูผสู้ อนใช้เทคนคิ การตง้ั คาถามกระต้นุ ผ้เู รียน ให้เกดิ กระบวน
การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ การคิดสร้างสรรคห์ รอื การคิดเพือ่ แกป้ ัญหาใหม่ ๆ
17. ครูผสู้ อนใช้สอื่ นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศ ในการจดั
กิจกรรมการเรียนรู้ใหเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์ในปจั จุบัน (ท้งั ON Line
และ ON Site)
18. ครูผสู้ อนมกี ารกระตุ้นความสนใจในการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น
ดว้ ยส่ือเทคโนโลยสี ารสนเทศ (Line Facebook Youtube เป็นตน้ )
115
วารสารการวิจัยการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน
ปีที่ 2 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)
รายการประเมนิ µ σ แปลผล
กระบวนการจัดการเรียนรู้
19. ครผู สู้ อนมีการช้แี นะการเรยี นรู้ การศกึ ษาค้นคว้า และแหล่งเรียนรู้
เพ่ิมเตมิ 4.57 0.56 มากทส่ี ุด
20. ครผู ู้สอนมีการเสรมิ แรงใหก้ บั ผู้เรยี น ตลอดการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 4.63 0.55 มากทีส่ ดุ
21. ครูผู้สอนจัดบรรยากาศใหเ้ ออื้ ตอ่ การเรยี นการสอนใหผ้ ู้เรียน
เรยี นรอู้ ยา่ งมีความสขุ 4.58 0.59 มากท่ีสุด
เฉลย่ี รายดา้ น 4.53 0.60 มากท่ีสุด
การวดั และประเมินผล
22. ครผู ูส้ อนมวี ิธีการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ของผเู้ รยี นเหมาะสม
สอดคล้องกบั จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 4.47 0.67 มาก
23. ครูผสู้ อนให้ผ้เู รยี นมสี ่วนรว่ มในการวดั และประเมินผลการเรยี นรู้
ของตนเองและเพ่ือนร่วมในชน้ั เรยี น 4.52 0.65 มากทส่ี ุด
24. ครูผสู้ อนมีการประเมินผลทห่ี ลากหลาย และเนน้ การประเมนิ ผล
ตามสภาพจริง 4.60 0.61 มากที่สดุ
25. ครูผู้สอนจัดทาขอ้ สอบที่ไดม้ าตรฐานตามตวั ช้ีวดั และจดุ ประสงค์
การเรยี นรู้ 4.43 0.67 มาก
เฉล่ียรายด้าน 4.50 0.65 มากที่สุด
เฉลย่ี รวม 4.52 0.61 มากที่สดุ
จากตารางท่ี 5 พบวา่ คุณภาพการนเิ ทศภายในด้วยเทคนิค LD-DL ด้านคุณลักษณะของการปฏิบัติงาน
ค่าเฉลี่ยของระดับคุณภาพอยู่ในระดับมากที่สุด (µ=4.54, σ=0.58) รองลงมาคือ ด้านกระบวนการจัด
การเรียนรู้ (µ=4.53, σ=0.60) การวัดและประเมินผล (µ=4.52, σ=0.61) และ การนาหลักสูตรสถานศึกษา
สู่การจัดการเรียนรู้ (µ=4.47, σ=0.62) และคุณภาพในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ((µ=4.52, σ=0.61)
และเม่อื พจิ ารณาคณุ ภาพรายด้าน พบว่า
ด้านคุณลักษณะของการปฏิบัติงานค่าเฉลย่ี ของระดบั คุณภาพอยู่ในระดับมากท่ีสดุ (µ=4.54, σ=0.58)
และรายการที่มีระดับคุณภาพสูงสุดคือ ครูผู้สอนสามารถควบคุมความเป็นระเบียบในชั้นเรียน
(µ=4.80,σ=0.40)
116
วารสารการวจิ ยั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
ปที ี่ 2 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)
ด้านกระบวนการจัดการเรียนรู้ (µ=4.53, σ=0.60) รายการที่มีระดับคุณภาพสูงสุดคือ ครูผู้สอน
สอดแทรกความรู้ทั่วไปในชวี ิตประจาวัน และสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมในการดารงชีวิต (µ=4.83, σ=0.37)
ด้านการวัดและประเมินผล (µ=4.52, σ=0.61) รายการที่มีระดับคุณภาพสูงสุดคือ ครูผู้สอน
มีการประเมินผลท่ีหลากหลายและเนน้ การประเมนิ ตามสภาพจรงิ (µ=4.60, σ=0.61)
ด้านการนาหลักสูตรสถานศึกษาสู่การจัดการเรียนรู้ (µ=4.47, σ=0.62) รายการที่มีระดับคุณภาพสูงสุดคือ
ครูผู้สอนสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ได้สอดคลอ้ งกับตัวชี้วัด/มาตรฐานและเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญและ
สอดคล้องกบั สถานการณ์ปัจจบุ ัน (On-Line, On-Air, On-Demand, On-Hand และ On-Site) (µ=4.70, σ=0.46)
ตารางที่ 6 ประเมินความพงึ พอใจ การนิเทศภายในดว้ ยเทคนคิ LD–DL
รายการประเมิน µ σ แปลผล
งานหลกั สูตรสถานศกึ ษา 4.33 0.62 มาก
4.40 0.61 มาก
1. การนิเทศช่วยในการพฒั นาการจดั ทำหลกั สตู ร และการนำผล 4.42 0.64 มาก
การประเมนิ หลักสตู รไปใช้ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 4.53 0.62 มากทส่ี ุด
4.53 0.56 มากท่สี ุด
2. การนเิ ทศช่วยในการพฒั นาหลักสตู รท้องถน่ิ ให้มคี วามชัดเจน 4.67 0.47 มากทส่ี ุด
สามารถบรู ณาการเขา้ กับหลกั สูตรรายสาระการเรยี นรไู้ ด้ 4.60 0.49 มากทส่ี ุด
4.43 0.62 มาก
3. การนิเทศชว่ ยใหค้ รวู เิ คราะหห์ ลกั สตู รรายสาระการเรยี นรู้ 4.63 0.48 มากทสี่ ดุ
และระดบั ช้ันไดด้ ้วยความเขา้ ใจ
4.52 0.56 มากทส่ี ุด
4. การนิเทศชว่ ยให้ครูกำหนดการสอนได้ชัดเจนและเหมาะสม
กับสถานการณ์ปัจจบุ ัน 117
5. การนเิ ทศช่วยให้ครอู อกแบบหนว่ ยการเรยี นรทู้ สี่ อดคลอ้ งกบั หลักสตู ร
สถานศกึ ษา หลกั สตู รท้องถิ่น และสถานการณป์ ัจจบุ นั
6. การนเิ ทศช่วยให้ครูมีการพฒั นาแผนการจดั การเรียนรทู้ ่ีมี
องคป์ ระกอบครบถ้วน
7. การนเิ ทศช่วยใหค้ รวู เิ คราะหป์ ัญหาการจดั การเรยี นรู้ ของผู้เรยี น
รายบุคคลได้อย่างชัดเจน
8. การนิเทศช่วยใหค้ รหู าสาเหตุของปญั หาในการจัดการเรียนรู้
และสง่ เสรมิ การจดั การเรยี นรู้ใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ
9. การนิเทศช่วยทำใหค้ รูจัดทำแผนการจดั การเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกบั
ผูเ้ รยี นและสถานการณป์ ัจจุบัน
10. การนเิ ทศช่วยใหค้ รูพัฒนาส่อื นวัตกรรมในการจดั การเรียนรู้
ท่ีสอดคลอ้ งกับสถานการณ์ปจั จุบนั เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาการเรยี นรู้
ของผู้เรยี น
วารสารการวิจัยการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
ปีท่ี 2 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)
รายการประเมนิ µσ แปลผล
งานหลกั สตู รสถานศึกษา มาก
มากท่ีสุด
11. การนเิ ทศชว่ ยยกระดบั การเลอื กใชส้ ่ือ นวตั กรรม เพื่อแก้ปญั หา
มากทส่ี ุด
และพฒั นาการเรียนรขู้ องผเู้ รียน 4.47 0.62 มากทีส่ ุด
เฉลีย่ รายดา้ น 4.50 0.57 มาก
มากทส่ี ุด
งานการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ มากทส่ี ุด
12. การนเิ ทศชว่ ยใหค้ รูสร้างและพัฒนาเคร่ืองมือวัดและประเมนิ ผล มากที่สุด
มากท่สี ุด
ท่มี ีคุณภาพสอดคล้องกบั การจดั การเรยี นรู้ 4.55 0.56 มากที่สุด
มากทส่ี ดุ
13. การนิเทศชว่ ยใหค้ รูพฒั นารูปแบบ วิธีการ การวัดประเมนิ ผล มากทส่ี ดุ
ทห่ี ลากหลายและเหมาะสมกับผเู้ รยี น 4.52 0.56 มากท่ีสดุ
มากที่สุด
14. การนเิ ทศชว่ ยใหค้ รอู อบแบบข้อสอบทีไ่ ด้มาตรฐานตามตัวชี้วัดและ
จุดประสงค์กการเรียนรู้ 4.47 0.62
15. การนิเทศช่วยให้ครสู รา้ งข้อสอบทสี่ ามารถวดั ความรู้ กระบวนการ
ทักษะท่ีสอดคล้องกบั การจัดการเรียนรู้ 4.60 0.49
เฉลี่ยรายด้าน 4.53 0.56
งานบคุ ลากร
16. การนิเทศชว่ ยในการพัฒนา สง่ เสรมิ สนบั สนนุ งานบุคลากรให้มี
ประสทิ ธภิ าพและเป็นปัจจบุ ันมากย่งิ ขึ้น 4.63 0.48
17. การนิเทศชว่ ยในการจัดวางตำแหน่งบคุ ลากรให้เหมาะสมกบั งาน 4.63 0.48
18. การนิเทศช่วยในการสืบทราบศักยภาพทีแ่ ท้จรงิ และศักยภาพซ่อนเรน้
ของบุคลากร 4.53 0.50
19. การนเิ ทศช่วยจัดระบบและพฒั นาคมู่ ือการบริหารงานบคุ ลากรให้มี
ขน้ั ตอนทชี่ ดั เจนย่งิ ขน้ึ 4.62 0.49
เฉลีย่ รายด้าน 4.60 0.49
งานงบประมาณ
20. การนเิ ทศชว่ ยพัฒนาแผนการบริหารงานงบประมาณใหส้ อดคล้องกบั
ความตอ้ งการจำเป็นตามแผนพฒั นาคุณภาพและ แผนปฏบิ ตั กิ าร 4.53 0.62
21. การนเิ ทศช่วยในการวางแผนและวเิ คราะหผ์ ลการใชง้ บประมาณ
ด้านความตอ้ งการจำเปน็ ความคมุ้ คา่ และประสทิ ธิภาพจากรายงานต่าง ๆ 4.50 0.59
118
วารสารการวจิ ยั การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน
ปีท่ี 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)
รายการประเมนิ µ σ แปลผล
งานงบประมาณ
22. การนเิ ทศช่วยจดั ระบบ ระเบยี บเกย่ี วกับเอกสารทางการเงนิ
บญั ชีและพัสดุอย่างถูกตอ้ ง 4.70 0.46 มากท่สี ดุ
23. การนเิ ทศชว่ ยการจดั ทาเอกสารการเบกิ จา่ ยกระบวนการในการ
จัดสรรงบประมาณ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 4.52 0.59 มากที่สดุ
งานงบประมาณ
24. การนเิ ทศช่วยแก้ไขปัญหาในการเบกิ จ่ายงบประมาณที่จาเปน็ ต่อ
การปฏิบัติงานขององค์กร ไดอ้ ย่างถูกต้อง โปรง่ ใสและตรวจสอบได้ 4.60 0.55 มากที่สดุ
25. การนิเทศชว่ ยจัดระบบและพัฒนาคู่มือการบรหิ ารงานงบประมาณ
ใหม้ ีขัน้ ตอนการดาเนนิ งานทง่ี า่ ยตอ่ มาปฏบิ ัติ 4.53 0.50 มากท่ีสดุ
26. การนิเทศชว่ ยในวางแผนการส่งเสริมและพัฒนางาน แตล่ ะกจิ กรรม
อยา่ งเหมาะสมและสอดคล้องกับงบประมาณ 4.60 0.58 มากทส่ี ุด
27. การนิเทศช่วยในการวางแผนการดาเนินงานโครงการ/กจิ กรรม
อย่างเป็นระบบและมปี ระสิทธภิ าพเพิ่มขน้ึ 4.72 0.45 มากที่สดุ
28. การนเิ ทศช่วยสนบั สนนุ และพฒั นาการดาเนนิ งาน ใหบ้ รรลตุ าม
วตั ถปุ ระสงคแ์ ละเป้าหมายของโครงการ/กิจกรรม 4.70 0.53 มากทส่ี ดุ
29. การนเิ ทศชว่ ยพฒั นาระบบข้อมลู สารสนเทศและสื่อสารด้วย
เทคโนโลยี ที่สอดคลอ้ งกบั สถานการณ์ในปัจจบุ ัน 4.52 0.56 มากทีส่ ดุ
30. การนิเทศช่วยจดั ระบบและพัฒนาคมู่ ือการบริหารงานบรหิ ารทัว่ ไป
ให้มีขนั้ ตอนท่ชี ดั เจนย่ิงขน้ึ 4.67 0.47 มาก
เฉลี่ยรายด้าน 4.64 0.52 มากทส่ี ุด
เฉลีย่ รวม 4.56 0.55 มากที่สดุ
จากตารางที่ 6 พบว่า ความพึงพอใจการนิเทศภายในด้วยเทคนิค LD–DL มคี วามพงึ พอใจสงู สุดและอยู่ใน
ระดับมากที่สุด คือด้านบริหารงานทั่วไป (µ=4.64 σ=0.52) รองลงมาคือด้านงานบุคลากร (µ=4.60 σ=0.49)
งานงบประมาณ (µ=4.56 σ=0.57) และด้านงานหลักสูตรสถานศึกษา (µ=4.50 σ=0.49) ตามล าดับ
และในภาพรวมมีความพึงพอใจในระดับมากทีส่ ุด (µ=4.56 σ=0.55) และเม่อื พจิ ารณาคุณภาพรายดา้ น พบวา่
119
วารสารการวจิ ัยการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
ปที ี่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)
ด้านบริหารงานทั่วไป (µ=4.64 σ=0.52) รายการที่มีระดับคุณภาพสูงสุดคือ การนิเทศช่วยใน
การวางแผนการดาเนินโครงการ/กิจกรรมอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น (µ=4.72,σ=0.45)
งานบุคลากร (µ=4.60 σ=0.49) รายการที่มีระดับคุณภาพสูงสุดคือ การนิเทศช่วยในการพัฒนา ส่งเสริม
สนับสนนุ งานบุคลากรใหม้ ีประสทิ ธภิ าพและเปน็ ปัจจบุ นั มากยิ่งข้นึ (µ=4.63, σ=0.48)
งานงบประมาณ (µ=4.56 σ=0.57) รายการที่มีระดับคุณภาพสูงสุดคือ การนิเทศช่วยจัดระบบ
ระเบียบ เกีย่ วกับเอกสารทางการเงิน บญั ชีและพสั ดุอยา่ งถกู ตอ้ ง (µ=4.70, σ=0.46)
ด้านงานหลักสูตรสถานศึกษา (µ=4.50 σ=0.49) รายการที่มีระดับคุณภาพสูงสุดคอื การนิเทศช่วยให้
ครูมกี ารพัฒนาแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ีมอี งคป์ ระกอบครบถว้ น (µ=4.67, σ=0.47)
5. สรุปและอภปิ รายผล
สรุปผล
การพฒั นาการนเิ ทศภายในแบบ LD-DL ของโรงเรยี นวัดจนั ทนาราม (ศรีรองเมืองอทุ ิศ) จงั หวดั จนั ทบุรี
มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อพัฒนาการดำเนินงานนิเทศภายในโรงเรียนวัดจันทนาราม (ศรีรองเมืองอุทิศ)
จังหวัดจันทบุรี ด้วยเทคนิค LD-DL และ 2) เพื่อศึกษาผลของการนิเทศภายในโรงเรียนวัดจันทนาราม
(ศรีรองเมืองอุทิศ) จังหวัดจันทบุรี ด้วยเทคนิค LD-DL ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID- 19
มขี อ้ สรุปผลการวิจยั ดงั น้ี
5.1 การดำเนินการนิเทศภายในด้วยเทคนิคการนิเทศแบบ LD-DL เป็นการพัฒนาวิธีการในการนิเทศ
ภายใน โดยการพัฒนาบุคลากรภายในองค์กรให้เป็นผู้นำและสามารถปฏิบัติงานนิเทศภายใน โดยมีเป้าหมาย
เพื่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ภายใต้แนวคิด “ทุกคนสามารถเป็น ผู้นิเทศได้ จากการเรียนรู้
และลงมือปฏบิ ัติ” ไมว่ ่าผูส้ อนจะจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนในรปู แบบใดกส็ ามารถติดตามการปฏบิ ตั งิ านผ่าน
กระบวนการนเิ ทศแบบ LD-DL ได้ กระบวนการของ LD-DL คอื การศกึ ษาและเรยี นรูส้ ิ่งที่ต้องปฏิบัติ และลงมือ
ปฏิบัติ (LD) และเมื่อปฏิบัติจนเกิดความชำนาญในระดับหนึ่ง จะเกิดการเรียนรู้และสามารถพัฒนาเป็น
องค์ความรู้เพิ่มเติมหรืออาจเกิดองค์ความรู้ใหม่จากการแก้ปัญหาที่พบจากการลงมือปฏิบัติจริง และสามารถ
ถ่ายทอดความรู้นั้นแก่ผู้อื่นได้ (DL) ซึ่งมีเครื่องมือสำคัญในการนิเทศคือ ตาราง LD-DL เป็นตารางเหตุผล
สมั พันธท์ จ่ี ะช่วยให้ผปู้ ฏิบตั งิ านได้เรยี นร้งู านทต่ี นเองปฏบิ ัตวิ า่ มภี าระงานใดทีต่ ้องทำและจะมวี ธิ ีแนวทางอย่างไร
ให้งานนั้นบรรลุผลตามที่ต้องการโดยจะแบ่งเป็นตาราง LD และตาราง DL ซึ่งมีองค์ประกอบที่เหมือนและต่างกัน
ในแต่ละจุด ดงั นี้
ตาราง LD ประกอบด้วยข้อมูล 4 คอลัมน์ คอื คอลมั น์ท่ี 1 กำหนดประเด็นการนิเทศอย่างชัดเจน
คอลมั น์ท่ี 2 ส่งิ ท่ตี ้องเรียนรู้ คอลัมน์ที่ 3 วิธกี ารเรียนรู้ คอลมั น์ท่ี 4 ภาระงานทีต่ ้องปฏบิ ัติ
ตาราง DL ประกอบด้วยข้อมูล 4 คอลมั น์ คือ คอลมั น์ท่ี 1 กำหนดประเดน็ การนิเทศอยา่ งชดั เจน
120
วารสารการวจิ ัยการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน
ปที ่ี 2 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)
คอลัมน์ท่ี 2 ส่งิ ท่ีตอ้ งปฏบิ ตั ิ คอลมั น์ที่ 3 กระบวนการเกดิ การเรียนรจู้ ากการปฏิบตั ิ
คอลัมน์ท่ี 4 การเรียนร้ทู เ่ี กิดข้ึน/ความรู้ทีไ่ ด้
กำหนดขอบข่ายการนิเทศจากภาระงานในสถานศึกษา 2 งาน ได้แก่ งานหลักของครูคือ (1) งานหลักสูตร
(2) งานการเรียนการสอน (3) งานการวัดและประเมินผลการ งานส่งเสริมและสนับสนุนคือ (1) งานบุคลากร
(2) งานงบประมาณ (3) งานบริหารท่ัวไป
5.2 ศึกษาคุณภาพของการนิเทศภายในด้วยเทคนิค LD-DL พบว่า ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด
((µ=4.52, σ=0.61) และด้านคณุ ลักษณะของการปฏบิ ัติงาน มคี ่าเฉล่ยี ของระดบั คุณภาพอยู่ในระดับมากท่ีสุด
(µ=4.54, σ=0.58) รองลงมือคือด้านกระบวนการจัดการเรียนรู้ (µ=4.53, σ=0.60) การวัดและประเมินผล
(µ=4.52, σ=0.61) และการนาหลกั สตู รสถานศกึ ษาสู่การจดั การเรียนรู้ (µ=4.47, σ=0.62)
5.3 ผลการประเมินความพึงพอใจต่อเทคนิคการนิเทศภายในด้วยเทคนิค LD-DL ในภาพรวมทุกด้าน
มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด (µ=4.56 σ=0.55) และด้านที่มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจสูงสุด คือด้าน
บริหารงานทั่วไป (µ=4.64 σ=0.52) รองลงมาคือด้านงานบุคลากร (µ=4.60 σ=0.49) ด้านงานงบประมาณ
(µ=4.56 σ=0.57) และ ด้านงานหลกั สตู รสถานศกึ ษา (µ=4.50 σ=0.49) ตามลาดบั
ด้านกระบวนการจัดการเรียนรู้ (µ=4.53, σ=0.60) รายการที่มีระดับคุณภาพสูงสุดคือ ครูผู้สอน
สอดแทรกความรูท้ ั่วไปในชีวิตประจาวัน และสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมในการดารงชวี ิต (µ=4.83, σ=0.37)
ด้านการวัดและประเมินผล (µ=4.52, σ=0.61) รายการที่มีระดับคุณภาพสูงสุดคือ ครูผู้สอน
มกี ารประเมินผลที่หลากหลายและเนน้ การประเมินตามสภาพจรงิ (µ=4.60, σ=0.61)
ด้านการนาหลักสูตรสถานศึกษาสู่การจัดการเรียนรู้ (µ=4.47, σ=0.62) รายการที่มีระดบั คุณภาพสูง
สุดคือ ครูผู้สอนสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ได้สอดคล้องกับตัวชี้วัด/มาตรฐานและเน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ และสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน (On-Line, On-Air, On-Demand, On-Hand และ On-Site)
(µ=4.70, σ=0.46)
อภปิ รายผลการวจิ ยั
จากผลการวิจัยในประเด็นคุณภาพของเทคนิคการนิเทศ พบว่า คุณลักษณะของบุคลากรมีค่าเฉลี่ยสูง
ทีส่ ดุ ทงั้ น้ี อาจเป็นเพราะเทคนิคการนิเทศแบบ LD-DL ตอบสนองต่อสภาพการปฏิบัตงิ านของครผู ู้สอน ซึ่งเป็น
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ด้วยรูปแบบของการนิเทศเป็นการเน้นให้ครูผู้สอนได้ศึกษาและ
พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนด้วยตนเองให้มากที่สุดด้วยการทำความเข้าใจกับรายละเอียดของประเด็นต่าง ๆ
มคี วามยดื หยนุ่ ในเร่ืองของรูปแบบการจดั การเรียนการสอนอยา่ งหลากหลาย มีโอกาสในการสืบค้นขอ้ มลู จาก
121
วารสารการวจิ ยั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน
ปีท่ี 2 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)
สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างกว้างขวางมากขึ้น ส่งผลให้บรรยากาศการในการจัดการเรียนการสอน
มีความผ่อนคลาย ครมู ีเวลาในการสร้างสรรค์วธิ กี ารส่อื สารองค์ความรู้กับนักเรยี น เนอ่ื งจากเปน็ การจัดการเรยี น
รปู แบบใหม่ทต่ี อ้ งอาศัยสอ่ื เทคโนโลยตี า่ ง ๆ ในการเขา้ ถึงนกั เรยี นมากข้นึ
ด้านความพึงพอใจต่อเทคนิคการนิเทศภายในแบบ LD-DL โดยภาพรวมทุกด้านมีความพึงพอใจ
ในระดับมากที่สุด ประเด็นที่มีระดับความพึงพอใจเฉลี่ยสูงสุดคือด้านงานบริหารทั่วไป ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ
ผู้ที่ปฏิบัติงานเป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่นิเทศด้วย การทำตารางLD-DL เพื่อการนิเทศช่วยให้เห็นรายละเอียดของ
การปฏิบัติงานต่าง ๆ และเกิดความเข้าใจประเด็นของการนิเทศมากขึ้น เกิดการพัฒนาภาวะผู้นำในการเป็น
ผู้นิเทศเพราะผูท้ ี่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าท่ีเป็นผู้นิเทศ ต้องมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะและความมั่นใจ
ในการปฏบิ ตั ิ กลา้ ใหค้ าปรึกษา สามารถสะทอ้ นผลการดาเนนิ งานในแต่ละประเด็น
จากความตงั้ ใจและพัฒนาตนเองของผปู้ ฏิบตั ิหน้าที่เปน็ ผู้นิเทศสง่ ผลให้การพัฒนาการดาเนินงานนิเทศ
ภายในโรงเรียนวัดจันทนาราม (ศรีรองเมืองอุทิศ) จังหวัดจันทบุรี ด้วยเทคนิค LD-DL บรรลุตามวัตถุประสงค์
ครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถนาความรู้ความเข้าใจที่ได้รับจากการนิเทศไปพัฒนาคุณภาพการจัด
การเรียนรู้ พัฒนางานสง่ เสรมิ งานสนับสนุนและยังมคี วามพึงพอใจตอ่ การพฒั นาการนิเทศภายในของโรงเรียน
ด้วยเทคนิค LD-DL อีกด้วย สอดคล้องกับงานวิจัยของ นิศาชล วุฒิสาร (2556 : บทคัดย่อ) ที่พบว่า
การประชุมกลุ่มย่อยช่วยให้ผู้ร่วมวิจัยมีความรู้ความเข้าใจสามารถวางแผน กาหนดทางเลือก และออกแบบ
ระบบการนเิ ทศภายใน การเสรมิ แรงช่วยใหผ้ นู้ เิ ทศและ ผูร้ ับการนเิ ทศสามารถนาความรทู้ ี่ได้รบั ไปปฏิบัติจริงได้
อย่างเหมาะสม และเกิดประโยชนต์ อ่ งานของตนเอง การพฒั นาในวงรอบที่ 2 โดยใช้กลยทุ ธก์ ารเสริมแรงอกี คร้ัง
ซงึ่ ช่วยให้ผรู้ ่วมวจิ ยั เกิดความม่ันใจและความชานาญในการปฏบิ ัติการนเิ ทศเพ่ิมข้ึน และสอดคล้องกับสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2551 : 52) ได้กล่าวไว้ว่า ครูที่ปฏิบัติงานในโรงเรียนมีความแตกต่างกัน
ทั้งด้านความรู้ ความสามารถในการปฏิบัติงาน เจตคติต่อวิชาชีพ บุคลิกภาพ และความต้องการของผู้บริหาร
จึงจาเป็นต้องเพิ่มพูนความรู้ และประสบการณ์ในการทางานของครู เพื่อสร้างขวัญและกาลังใจในการทางาน
ใหด้ ีย่งิ ขนึ้ การนเิ ทศภายในจึงเป็นเครื่องมือสาคญั ในการทผี่ ู้บริหารจะชว่ ยให้ประสบความสาเร็จในการรวมพลัง
และพฒั นาครู
122
วารสารการวิจยั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน
ปที ่ี 2 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)
6. ขอ้ เสนอแนะ
การพัฒนาการนิเทศภายในโรงเรียนวัดจันทนาราม (ศรีรองเมืองอุทิศ) จังหวัดจันทบุรี ด้วยเทคนิค
LD-DL มีข้อเสนอแนะ ดงั น้ี
6.1 ข้อเสนอแนะในการนาํ ไปใช้
6.1.1 โรงเรียนควรนำแนวทางการนเิ ทศภายในด้วยเทคนิค LD-DL ไปใช้เป็นแนวทางในการพฒั นา
ระบบงานอนื่ ๆ ต่อไป
6.1.2 การให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการดำเนินงานนิเทศภายในทุกขั้นตอน ทำให้บุคลากรทุกคน
มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักในความสำคัญของการปฏิบัติงานนิเทศภายในโรงเรียน ส่งผลให้การนิเทศ
ภายในมรี ะบบ และประสิทธิภาพมากขน้ึ
6.2 ข้อเสนอแนะสำหรับการศึกษาครง้ั ตอ่ ไป
6.2.2 ควรศึกษารูปแบบ วิธีการ กลวิธีการ นิเทศภายในให้มีความสอดคล้องและเกิดประโยชน์ต่อ
ระบบการบริหารจดั การสถานศึกษาในทกุ ๆ ดา้ น
6.2.3 การนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาช่วยในการดำเนินการนเิ ทศภายในจะสามารถนิเทศไดอ้ ยา่ งไม่มี
ขอ้ จำกดั ทำไดท้ ุกทท่ี กุ สถานการณ์
เอกสารอ้างอิง
กติ มิ า ปรีดดี ิลก. (2545). การบรหิ ารและการนเิ ทศการศกึ ษาเบื้องตน้ . กรงุ เทพฯ: อกั ษรพิพฒั น์.
ชารี มณีศรี. (2552). การนเิ ทศการศกึ ษา. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พร์ งุ่ วัฒนา.
ดารณยี ์ พยคั ฆ์กลุ และ วรี ะศักด์ิ ชมภคู ำ. (2559). การพัฒนาสมรรถนะการนิเทศการศึกษาสคู่ วามเปน็
ศึกษานเิ ทศกม์ อื อาชพี .
นศิ าชล วุฒิสาร “การพัฒนาระบบนเิ ทศภายในโรงเรยี นคลองขามวทิ ยาคาร อำเภอยางตลาด
จังหวดั กาฬสินธ์ุ”วารสารบณั ฑิตศกี ษา มหาวทิ ยาลัยราชภฎั มหาสารคาม ปีที่ 10, ฉบบั ท่ี 50
(กันยายน - ตลุ าคม 2556) : 123 )
ประวติ เอราวรรณ์. (2545). การวจิ ยั ปฏิบตั กิ าร, กรงุ เทพฯ: ยูแพคอนิ เตอร.์
ยืนยง ราชวงษ์ (2553) รายงานการวจิ ัยการนิเทศภายใน เปน็ หัวใจของการพฒั นาคณุ ภาพ. สืบค้นเม่อื
12 เมษายน 2565 / จาก https://www.gotoknow.org/user/yuenyong
รักพงษ์ บญุ ศริ .ิ (2559). รายงานการวจิ ยั รูปแบบการนเิ ทศภายในดา้ นวชิ าการเคร่อื งโรงเรียนประถมศกึ ษา
ขนาดเลก็ . อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏอบุ ลราชธานี.
วชิรา เครือคำอา้ ย. (2558). ตำราการนเิ ทศการศกึ ษา. เชยี งใหม่: ส.การพิมพ์.
123
วารสารการวิจัยการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน
ปีท่ี 2 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)
สมโภชน์ อเนกสุข (2556). วิธีการทางสถิติสำหรับการวจิ ยั .พิมพค์ รง้ั ที่ 6 ชลบรุ ี: คณะศกึ ษาศาสตร์
มหาวิทยาลยั บูรพา.
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน. (2551). การนิเทศการศึกษาโรงเรียนประถมศึกษาอยา่ งเป็นระบบ.
กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์ครุ ุสภา.
สำเร็จ ยรุ ชยั และคณะ. (2560). การพฒั นาแนวทางการนเิ ทศภายในแบบมสี ่วนรว่ ม สำหรบั สถานศกึ ษา
ขนาดเล็กสงั กดั สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 1.
วารสารบณั ฑติ เอเซีย. 7 (พิเศษ).
124
วารสารการวิจัยการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน
ปีที่ 2 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)
ความสัมพันธร์ ะหว่างภาวะผนู้ าทางวชิ าการของผู้บรหิ ารสถานศึกษากับการดาเนนิ งาน
ประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา อาเภอแมส่ รวย สังกัดสานกั งานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งราย เขต 2
The relationship beteween school principal’s academic leadership and
internal quality assurance operation of school in Mae Suai District under
the Office of Chiang Rai Primary Education Service Area 2
พลอยณิชชา วชิ ัยศิริ*
Ploynichcha Wichaisiri
บทคดั ย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา
อาเภอแม่สรวย สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 2) เพื่อศึกษาระดับ
การดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา อาเภอแม่สรวย สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหาร
สถานศึกษากับการดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหาร ครูผู้สอน
และบุคลากรทางการศึกษาของสถานศึกษา อาเภอแม่สรวย สังกัดสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษา
เชียงราย เขต 2 ใช้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง จานวน 260 คน กาหนดสัดส่วนตามขนาดกลุ่มตัวอย่างด้วย
ตารางสาเร็จรูปของเครจซี่มอร์แกน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม
ข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.87 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์
ข้อมลู ได้แก่ คา่ เฉลีย่ สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน ความเทย่ี งตรง คา่ สมั ประสทิ ธ์ิสหสมั พนั ธข์ องเพยี ร์สัน
ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา อาเภอแม่สรวย
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 โดยรวมรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุด
2) การดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดอาเภอแม่สรวย สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาเชียงราย เขต 2 ในภาพรวมรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุด 3) ความสมั พนั ธ์ระหว่างภาวะผู้นา
ทางวิชาการของผู้บริหารสถานศกึ ษากับการดาเนินงานประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา อาเภอแม่สรวย
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 โดยภาพรวมมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับสูง
อย่างมีนยั สาคัญทางสถติ ิท่รี ะดับ .01
คาสาคญั : ภาวะผู้นาทางวชิ าการของผบู้ ริหารสถานศึกษา/ การดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
* ครู, โรงเรียนบ้านวาวี , สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งราย เขต 2
Teacher, Banvavee School, Chiang Rai Primary Educational Service Area Office 2
125
วารสารการวิจยั การศึกษาข้ันพื้นฐาน
ปที ่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)
Abstract
The objectives of this research were 1) to study the level of the school principal’s
academic leadership in Mae Suai District under the Office of Chiang Rai Primary Education
Service Area 2, 2) to study the level of the internal quality assurance operation of school
in Mae Suai District under the Office of Chiang Rai Primary Education Service Area 2 and
3) to study the relationship between school principal’s academic leadership and internal
quality assurance operation of school in Mae Suai District under the Office of Chiang Rai
Primary Education Service Area 2. The 260 samples were selected by using finished table
(programmed table of Krejcie and Morgan) to find the Stratified Random Sampling. The tools
used in this research are 5 level of questionnaire, and reliability value is 0.87. The statistic
of data analysis were average (mean), standard deviation and Pearson's coefficient analysis.
The results of research finds that 1) the school principal’s academic leadership in
Mae Suai District under the office of Chiang Rai Primary Education Service Area 2 was at the
highest level. 2) the internal quality assurance operation in school in Mae Suai District under
the office of Chiang Rai Primary Education Service Area 2 was at the highest level.
3 ) the relationship between school principal’s academic leadership and internal quality
assurance operation of school in Mae Suai District under the office of Chiang Rai Primary
Education Service Area 2 was overall and each individual aspect positively related at high
level with statistical significance of .01
Keywords : Academic leadership/ Quality assurance in school
บทนา
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 หมวดที่ 1
บทท่ัวไป ในมาตรา 6 กลา่ วถึงการศึกษาไว้ว่า การจดั การศึกษาต้องเป็นไปเพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์
ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกายจิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดารงชีวิต
และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข และมาตรา 9 การจัดระบบ โครงสร้าง และกระบวน
การจัดการศึกษาให้ยึดหลัก ดังนี้ 1) มีเอกภาพด้านนโยบายและมีความหลากหลายในการปฏิบัติ
2) มีการกระจายอานาจไปสู่เขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษาและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
126
วารสารการวิจัยการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน
ปีท่ี 2 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)
3) มีการกาหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับและทุกประเภท
การศึกษา ซึ่งได้กาหนดไว้ใน หมวดที่ 6 ว่าด้วยเรื่องมาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
ซึ่งโดยหลักการสากลถือว่า การประกันคุณภาพเป็นเรื่องสาคัญที่จะต้องดาเนินการควบคูก่ ันไปกับการจัด
การศกึ ษา (สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา (องค์กรมหาชน), 2546) ซ่ึงในหมวด
6 มาตรา 47 ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน และการศึกษาระดับอุดมศึกษา ประกอบด้วย ระบบการประกันคุณภาพภายใน
และระบบการประกันคุณภาพภายนอก และมาตรา 48 กาหนดให้หน่วยงานต้นสังกัด และสถานศึกษา
จัดให้มีระบบการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา และใหถ้ ือว่าการประกันคุณภาพภายใน เป็นส่วนหนึ่ง
ของกระบวนการบรหิ ารการศึกษาทตี่ ้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมกี ารจัดทารายงานประจาปีเสนอต่อ
หน่วยงานต้นสังกัดหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน และเพื่อรองรับการประเมินคณุ ภาพ
ภายนอก มาตรา 49 ให้มีสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษามีฐานะเป็นองค์การมหาชน
ทาหน้าที่พัฒนาเกณฑ์ วิธีการประเมินคุณภาพภายนอกและทาการประเมินผลการจัดการศึกษา ที่มิใช่
การจัดการอุดมศึกษาซึ่งอยู่ในอานาจหน้าที่ของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม
หรือกระทรวงอื่น เพื่อให้มีการตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา โดยคานึงถึงความมุ่งหมาย หลักการ
และแนวการจัดการศึกษาในแต่ละระดับตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้ ให้มีการประเมินคุณภาพ
ภายนอกของสถานศึกษาทุกแห่ง อย่างน้อยหนึ่งครั้งในทุกห้าปี นับตั้งแต่การประเมินครั้งสุดท้าย และเสนอผล
การประเมนิ ตอ่ หน่วยงานท่เี กี่ยวข้องและสาธารณชน (กระทรวงศึกษาธิการ, 2545)
จะเห็นได้ว่า การประกันคุณภาพการศึกษาเป็นกลไกสาคัญประการหนึ่งที่สามารถขับเคล่ือน
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ดาเนินไปอย่างต่อเนื่อง ปฏิบัติงานได้อย่างเป็นระบบ มีคุณภาพ
ตามมาตรฐานน้นั สถานศึกษาจงึ มีบทบาทสาคัญสูงสุดต่อการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน การบริหารจัดการ
ของสถานศึกษาให้ได้คุณภาพและมาตรฐานตามที่กาหนดนั้น จึงเป็นงานที่สาคัญของผู้บริหารที่จะต้อง
รับผิดชอบในการใช้หลักการในการบริหารงานให้มีประสิทธภิ าพและส่งผลต่อการพัฒนาการศึกษาเป็นอย่างมาก
ผู้บริหารจะต้องมีภาวะผู้นา โดยใช้กระบวนการที่มีอิทธิพลในการจูงใจ และปฏิสัมพันธ์ให้ทุกคนใน
สถานศึกษาที่มีผู้บริหารท่ีมภี าวะผู้นาที่ดีย่อมส่งผลให้เกิดคุณภาพ (สัมมา รธนิธย์, 2556) วีรยุทธ์ ชาตะกาญจน์
(2551) ได้กล่าวถึงสถานศึกษาที่จะประสบความสาเร็จมักจะมีผู้บริหารที่มีความสามารถในการเป็นผู้นา
บทบาทของผ้บู รหิ ารสถานศึกษาคือผู้อานวยความสะดวก (Facilitator) เปน็ ผ้นู า (Leader) เปน็ ผสู้ นับสนุน
(Supporter) และเป็นผู้นานวัตกรรม (Innovation) เข้ามาสู่สถานศึกษาและเป็นผู้ผลักดันการปฏิรูปการศึกษา
ให้ก้าวหน้า โดยเฉพาะในส่วนการจัดการเรียนการสอนนั้น ผู้บริหารสถานศึกษาจึงจะต้องมีภาวะผู้นา
และมีลักษณะเฉพาะหลายประการท่ีจะช่วยสง่ เสริมให้ผูเ้ รียนมพี ฒั นาการทางการเรียนให้มากข้ึน ผู้บริหาร
สถานศกึ ษาควรตอ้ งมีภาวะผูน้ าทางวิชาการ ในการแสดงบทบาทหน้าที่อย่างสร้างสรรค์ที่สามารถโน้มน้าว
127
วารสารการวิจยั การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน
ปที ี่ 2 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)
จูงใจ ให้บุคลากรในสถานศึกษาและผู้เกี่ยวข้องเข้าใจและตระหนักในจุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษา
เพือ่ พัฒนางานวิชาการ ซ่งึ เก่ียวขอ้ งโดยตรงกับคณุ ภาพของการจดั การเรยี นการสอนและคุณภาพของผู้เรยี น
อันเป็นภารกจิ หลักของสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายทีก่ าหนดไว้ (ขวัญใจ ขุนทานาย, 2553) ซึ่งผู้บรหิ าร
งานวิชาการต้องมีความรับผิดชอบโดยตรงกับผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของนักเรียน ต้องเพิ่มความตระหนกั
และการมีภาวะผู้นาทางวิชาการ จะทาให้คุณภาพการศึกษาบรรลุตามจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้ ผู้บริหาร
ต้องเรียนรู้และทาความเข้าใจเกี่ยวกับด้านการกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายของสถานศึกษา
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงและการบริหารจัดการหลักสูตร การนิเทศและประเมินการสอนของครู
การติดตามประเมนิ ผลผูเ้ รียน การจัดการเรียนรู้ การพัฒนาแหล่งเรียนรู้และสง่ เสริมบรรยากาศการเรียนรู้
ทางวิชาการ การพัฒนาวิชาชีพครู โดยเฉพาะการพัฒนาด้านการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อพัฒนา
คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา โดยผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้กากับดูแลรับผิดชอบ เพื่อดาเนินการให้
นกั เรียนมคี วามก้าวหน้าทางการศึกษา
จากการตรวจสอบและประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาท่ีไดร้ ับการประเมินคุณภาพภายนอก
รอบสาม (พ.ศ.2554-2558) จากสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)
แบ่งเป็นข้อมูลสถานศึกษาระดับปฐมวัย และสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษาปฐมวัยที่ไม่ได้รับรอง
มาตรฐานจากการประเมินคุณภาพรอบสาม จานวน 4 แห่ง จากข้อมูลแล้วพบว่า เป็นสถานศึกษา อาเภอ
แมส่ รวย สังกัดสานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาเชยี งรายเขต 2 จานวน 2 แหง่ สถานศึกษาระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ไม่ไดร้ ับการรองรับ จานวน 36 แห่ง จากข้อมูลแล้วพบว่า เป็นสถานศึกษา อาเภอ
แม่สรวย สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 จานวน 18 แห่ง และเมื่อวเิ คราะห์
พบว่า สาเหตุของการไมไ่ ดร้ บั การรองรบั เนื่องจากไม่ผา่ น ตัวบ่งชี้ท่ี 5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผ้เู รียน
(สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาเชยี งราย เขต 2, 2559)
ดว้ ยความเป็นมาและความสาคัญของปญั หาดงั กลา่ ว ผูว้ จิ ยั จงึ สนใจทจ่ี ะศึกษา เรือ่ ง ความสมั พนั ธ์
ระหวา่ งภาวะผนู้ าทางวิชาการของผบู้ ริหารสถานศึกษากับการดาเนินงานประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา
อาเภอแมส่ รวย สงั กัดสานกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งราย เขต 2 เพ่ือนาข้อมูลจากการวิจัย
ในครั้งน้ี ใช้เป็นแนวทางปรับปรุงและพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา ให้เกิด
ประโยชนส์ ูงสุดต่อการบริหารงานดา้ นวชิ าการ นาไปสู่การพัฒนาประเทศไทยใหเ้ ป็นประเทศท่ีพัฒนาแล้ว
มีความมนั่ คง ม่งั ค่ัง และย่งั ยืนต่อไป
128
วารสารการวจิ ยั การศึกษาขัน้ พื้นฐาน
ปที ี่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)
วัตถุประสงค์ในการศกึ ษา
1. เพื่อศึกษาระดับภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา อาเภอแม่สรวย
สงั กดั สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาเชียงราย เขต 2
2. เพื่อศึกษาระดับการดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา อาเภอแม่สรวย
สงั กัดสานักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งราย เขต 2
3. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับ
การดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา อาเภอแม่สรวย สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาเชยี งราย เขต 2
วิธีดาเนินการวจิ ัย
การวิจัยเรื ่อง ความ สั มพ ันธ์ ระห ว่ าง ภาวะ ผู ้น าทางวิ ชาก าร ข อง ผู ้บ ริ หาร สถ าน ศึก ษ า กั บ
การดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา อาเภอแม่สรวย สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาเชยี งราย เขต 2 ผู้วจิ ยั ไดด้ าเนินการวิจยั ตามขัน้ ตอน ดงั น้ี
1. ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหาร ครูผู้สอน และบุคลากรทางการศึกษา
ของสถานศึกษา อาเภอแม่สรวย สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2
จานวน 51 สถานศึกษา จานวน 744 คน ประกอบด้วย ผู้บริหาร จานวน 51 คน ครูผู้สอน จานวน
502 คน บุคลากรทางการศึกษา จานวน 191 คน รวมทั้งสิ้นจานวน 744 คน กาหนดขนาดของ
กลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางสาเร็จรูปของเครจซี่และมอร์แกน (Krejcie and Morgan, 1970)
เทียบขนาดของประชากรท่ี 800 คน ได้กลุ่มตัวอย่างท้ังสิ้น 260 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น
(Stratified Random Sampling) แล้วนามากาหนดสัดส่วน ตามขนาดของกลุ่มประชากรในแต่ละ
สถานศึกษา
เครื่องมอื ทใ่ี ช้ในการวจิ ัย มีลักษณะเป็นแบบสอบถาม 1 ชดุ แบ่งออกเปน็ 3 ตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถามเกยี่ วกบั ข้อมูลท่ัวไปของผ้ตู อบแบบสอบถามซึง่ ประกอบดว้ ย เพศ
อายุ ระดับการศึกษา ตาแหน่งในการปฏิบัติหน้าที่ และประสบการณ์ในการทางาน ลักษณะเป็น
แบบสอบถามแบบเลือกตอบ (Check List) จานวน 5 ข้อ
ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารของสถานศึกษา
อาเภอแม่สรวย สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงรายเขต 2 จานวน 40 ข้อ ลักษณะ
เป็นแบบสอบถามแบบมาตราสว่ นประมาณคา่ (Rating Scale) 5 ระดบั ตามแนวคิดของลิเคอรธ์ (Likert)
129
วารสารการวิจัยการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน
ปีที่ 2 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)
ตอนที่ 3 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับการดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
อาเภอแม่สรวย สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 ทั้ง 8 ด้าน
ตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 จานวน 40 ข้อ
เป็นแบบมาตราส่วนประมาณคา่ (Rating Scale) 5 ระดบั ตามแนวคดิ ของ ลเิ คอร์ธ (Likert)
1. การสร้างเครื่องมือทีใ่ ชใ้ นการวิจัย
ผู้วิจัยได้ดาเนนิ การตามขั้นตอนในการสร้างเคร่อื งมือสาหรบั การศกึ ษาวจิ ยั ดงั นี้
1.1 ศึกษาทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาทางวิชาการของ
ผ้บู ริหารสถานศึกษาและการดาเนนิ งานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
1.2 นาแนวคิด ทฤษฎแี ละขอ้ มลู ต่าง ๆ มาสรา้ งแบบสอบถาม จานวน 3 ตอน
1.3 ดาเนินการสร้างเครื่องมือในการทาแบบสอบถามที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่าง
ภาวะผู้นาทางวิชาการของผูบ้ ริหารสถานศึกษากับการดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา อาเภอ
แม่สรวย สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 เป็นแบบสอบถามที่มีลักษณะ
เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดบั มากที่สุด มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อยที่สดุ
1.4 นาแบบสอบถามทีส่ รา้ งเสร็จแลว้ เสนอผ้เู ช่ียวชาญ จานวน 3 ทา่ น ตรวจสอบความชดั เจน
ของภาษาในข้อคาถามและครอบคลุม เนื้อหา ตรวจสอบความเที่ยงตรงด้านเนื้อหา (Content validity)
และปรับปรุงแก้ไขวิธีที่ใช้ในการตรวจสอบคือ การหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับเน้อื หา
หรือ IOC ซึ่งมีคา่ อยู่ระหวา่ ง 0.67 – 1.00
1.5 นาแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อตรวจแก้ไขให้เกิด
ความถูกต้อง และแก้ไข ปรบั ปรงุ ให้สมบูรณ์
1.6 นาเคร่อื งมือทีป่ รับปรุงแก้ไขแล้วไปทาการทดลองใช้ (Try-out) กับกลุ่มตัวอย่างท่ีไม่ใช่
ประชากร จานวน 30 คน แล้วนาเครอ่ื งมือท่ไี ด้กลับคนื มา คานวณหาค่าความเชอื่ ม่นั (Reliability) โดยใช้
สมั ประสิทธ์ิแอลฟา (α-Coefficient) ตามวธิ ขี องครอนบาค (Cronbach, 1990) ไดค้ า่ ความเช่ือมั่นเท่ากับ 0.87
1.7 นาแบบสอบถามท่ีผา่ นการตรวจสอบความเชื่อม่ัน และมีความสมบูรณ์ไปใช้ในการเก็บ
ข้อมลู จากกลุ่มตวั อยา่ งตอ่ ไป
2. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู
การเก็บรวบรวมขอ้ มูลไดด้ าเนนิ ตามข้ันตอน ดังน้ี
2.1 นาหนังสือขอความอนุเคราะห์ในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากวิทยาลัยการศึกษา
มหาวิทยาลัยพะเยา ถึงผู้อานวยการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน อาเภอแม่สรวย สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ี
การศกึ ษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 ในการขอเก็บขอ้ มลู จากผู้บรหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา
130
วารสารการวจิ ัยการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
ปีท่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)
2.2 ผู้วิจัยนาแบบสอบถามเก็บรวบรวมข้อมูลโดยส่งทางไปรษณีย์ โดยการนาส่งด้วยตัวเอง
ให้กับงานสารบรรณของสถานศึกษา อาเภอแม่สรวย สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
เชียงราย เขต 2 และเก็บข้อมูลแบบสอบถามออนไลน์โดยใช้ google form และขอรับแบบสอบถามคืน
ใชเ้ วลาในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู 20 วัน
2.3 นาแบบสอบถามไปตรวจสอบความสมบูรณ์และดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูล โดยเก็บ
แบบสอบถามด้วยตนเอง ซึ่งผู้วิจัยเก็บแบบสอบถามมาได้ทั้งหมด จานวน 260 ฉบับ มีความสมบูรณ์
จานวน 260 ฉบับ คดิ เป็นร้อยละ 100
3. การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ขอ้ มลู สาหรบั การวิจัยในครงั้ น้ี ผู้วิจัยดาเนนิ การวเิ คราะหข์ อ้ มูล ดังตอ่ ไปนี้
3.1 ความคดิ เห็นเกี่ยวกบั ระดบั ภาวะผ้นู าทางวิชาการของผูบ้ รหิ ารของสถานศึกษา และระดบั
การดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา อาเภอแม่สรวย สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาเชียงรายเขต 2 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
(Standard Deviation)
3.2 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา
กับการดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา อาเภอแม่สรวย สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 ใช้การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ (Rxy) ของเพียร์สัน (Pearson’s
product moment coefficient) และแปลความหมายของคะแนน การแปลความหมายค่าสัมประสิทธ์ิ
สหสัมพันธ์ (r)
131
วารสารการวิจัยการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน
ปที ี่ 2 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)
ผลการวจิ ัย
1. ผลการศึกษาภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บรหิ ารสถานศึกษา อาเภอแม่สรวย สังกัดสานักงาน
เขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งราย เขต 2
ตาราง 1 แสดงค่าเฉลย่ี และคา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน ของระดบั ภาวะผูน้ าทางวชิ าการของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา
อาเภอแม่สรวย สงั กัดสานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งราย เขต 2
ภาวะผู้นาทางวิชาการของผ้บู ริหาร n=260 การแปล
X̅ S.D. ความหมาย
มากทสี่ ุด
1 ด้านการกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายของ 4.52 0.37
สถานศึกษา
2 ดา้ นแนวโนม้ การเปลยี่ นแปลงและการบริหารจดั การหลกั สตู ร 4.54 0.37 มากทส่ี ุด
3 ดา้ นการนเิ ทศและประเมินผลการสอนของครู 4.55 0.35 มากทส่ี ดุ
4 ด้านการตดิ ตามประเมนิ ผลผู้เรียน 4.52 0.40 มากท่ีสุด
5 ดา้ นการจดั การเรยี นรู้ 4.54 0.34 มากท่ีสดุ
6 ด้านการพัฒนาแหล่งเรียนรู้และสง่ เสรมิ บรรยากาศ 4.55 0.35 มากท่ีสุด
การเรยี นร้ทู างวชิ าการ
7 ด้านการพฒั นาวชิ าชีพครู 4.51 0.35 มากท่ีสุด
รวมเฉลี่ย 4.53 0.27 มากทส่ี ดุ
จากตาราง 1 พบว่า ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับภาวะผู้นาทางวิชาการของ
ผู้บริหารสถานศึกษา อาเภอแม่สรวย สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2
โดยรวมรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุด (X̅ = 4.53, S.D. = 0.27) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ด้านที่มากที่สุด
2 ดา้ น คอื ด้านการนเิ ทศและประเมินผลการสอนของครู (X̅ = 4.55, S.D. = 0.35) และด้านการพัฒนาแหล่ง
เรยี นรแู้ ละส่งเสรมิ บรรยากาศการเรียนรู้ทางวิชาการ และทีม่ คี า่ เฉล่ียน้อยท่ีสุด คอื ด้านการพัฒนาวิชาชีพครู
(X̅ = 4.51, S.D. = 0.37)
132
วารสารการวิจัยการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน
ปีท่ี 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)
2. ผลการศึกษาการดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา อาเภอแม่สรวย สานักงาน
เขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชียงราย เขต 2
ตาราง 2 แสดงคา่ เฉลีย่ และค่าเบย่ี งเบนมาตรฐานระดับการดาเนนิ งานประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา
สังกัดอาเภอแมส่ รวย สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาเชียงราย เขต 2
การดาเนนิ งานประกนั คณุ ภาพ n=260 การแปล
ภายในสถานศกึ ษา X̅ S.D. ความหมาย
1 การกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา 4.56 0.35 มากที่สุด
2 การจัดทาแผนพฒั นาการจดั การศึกษาของสถานศึกษาทมี่ ุ่ง 4.56 0.37 มากที่สดุ
คุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
3 การจัดระบบบรหิ ารและสารสนเทศ 4.57 0.34 มากทส่ี ุด
4 การดาเนินการตามแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา 4.56 0.38 มากท่สี ุด
5 การจดั ใหม้ กี ารติดตามตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษา 4.53 0.36 มากทีส่ ุด
6 การจดั ใหม้ กี ารประเมนิ คุณภาพภายนอกตามมาตรฐานของ 4.54 0.37 มากทส่ี ดุ
สถานศกึ ษา
7 การจดั ทารายงานประจาปีทีเ่ ปน็ รายงานประเมินคุณภาพภายใน 4.54 0.36 มากที่สุด
8 การจดั ให้มีการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาอยา่ งตอ่ เน่อื ง 4.53 0.34 มากทส่ี ุด
รวมเฉล่ีย 4.52 0.31 มากที่สุด
จากตาราง 2 พบว่า คา่ เฉล่ียและค่าเบย่ี งเบนมาตรฐานของระดับการดาเนนิ งานประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษา สงั กดั อาเภอแม่สรวย สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 ในภาพรวมรายด้าน
อย่ใู นระดบั มาก (X̅ = 4.52, S.D. = 0.31) เมื่อพจิ ารณาเปน็ รายด้าน ดา้ นทม่ี ากท่สี ดุ คือ การจดั ระบบบริหารและ
สารสนเทศ (X̅ = 4.57, S.D. = 0.34) และด้านท่ีมคี ่าเฉล่ียนอ้ ยท่ีสดุ คือ การจดั ให้มกี ารติดตามตรวจสอบคุณภาพ
การศกึ ษา (X̅ = 4.53, S.D. = 0.36)
133
วารสารการวิจัยการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน
ปีท่ี 2 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)
3. ผลการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บรหิ ารสถานศึกษากับการดาเนินงาน
ประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา อาเภอแมส่ รวย สังกัดสานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2
ตาราง 3 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผนู้ าทางวิชาการของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษากบั การดาเนนิ งานประกนั คุณภาพ
ภายในสถานศึกษา อาเภอแม่สรวย สงั กัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาเชียงราย เขต 2
ภาวะผนู้ าทาง การดาเนินงานประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา (Y)
วชิ าการ (X) Y1 Y2 Y3 Y4 Y5 Y6 Y7 Y8 Ytot
X1 .40** .46** .38** .42** .43** .34** .36** .42** .56**
X2 .49** .39** .45** .51** .39** .36** .43** .40** .60**
X3 .34** .36** .37** .45** .44** .39** .38** .36** .54**
X4 .46** .44** .42** .41** .37** .32** .34** .44** .56**
X5 .45** .47** .46** .49** .39** .38** .38** .42** .60**
X6 .36** .48** .36** .41** .45** .36** .50** .48** .60**
X7 .37** .40** .44** .37** .49** .41** .35** .39** .56**
Xtot .54** .56** .54** .58** .55** .48** .52** .55** .76**
หมายเหตุ: ** มนี ยั สาคัญทางสถิติที่ระดบั .01
จากตารางที่ 3 พบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับ
การดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา อาเภอแม่สรวย สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 โดยภาพรวมมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับสูง อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
ทีร่ ะดบั .01 (r = .76)
เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษามีความสัมพันธ์
ทางบวกกับการดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา ในระดบั ปานกลาง อย่างมนี ยั สาคัญทางสถิติ
ที่ระดับ .01 เมื่อเรียงลาดับด้านที่มีความสัมพันธ์ระดับปานกลางเท่ากัน 3 ด้าน คือ ด้านแนวโน้ม
การเปลี่ยนแปลงและการบริหารจัดการหลักสูตร (X2) (r = .60) ด้านการจัดการเรียนรู้ (X5) (r = .60)
ด้านการพัฒนาแหล่งเรียนรู้และส่งเสริมบรรยากาศการเรียนรู้ทางวิชาการ (X6) (r = .60) รองลงมา คือ
ดา้ นการกาหนดวสิ ยั ทศั น์ พนั ธกิจ และเปา้ หมายของสถานศึกษา (X1) (r = .56) ด้านการตดิ ตามประเมินผล
ผู้เรียน (X4) (r = .56) ด้านการพัฒนาวิชาชีพครู (X7) (r = .56) และด้านการนิเทศและประเมินการสอน
ของครู (X3) (r = .54) ตามลาดบั
134
วารสารการวิจัยการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน
ปที ี่ 2 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)
สรุปผลการวจิ ยั
จากการวเิ คราะหข์ ้อมูล ผวู้ ิจัยสรปุ ผลการวจิ ัยได้ ดังนี้
1. ผลการศึกษาระดับภาวะผู้น าทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาอาเภอแม่สรวย
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 โดยรวมรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุด
เมื่อพิจารณาเป็นรายดา้ น โดยเรียงลาดบั ค่าเฉลี่ยจากมากไปนอ้ ย ด้านที่มีคา่ เฉลี่ยมากที่สุดเทา่ กนั 2 ด้าน
คือ ด้านการนิเทศและประเมินผลการสอนของครู และด้านการพัฒนาแหล่งเรียนรู้และส่งเสริมบรรยากาศ
การเรียนรูท้ างวิชาการ รองลงมา คอื ด้านการจัดการเรียนรู้ ด้านแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงและการบริหาร
จัดการหลักสูตร ด้านการกาหนดวิสัยทัศน์พันธกิจ และเป้าหมายของสถานศึกษา ด้านการติดตามประเมินผล
ผเู้ รยี น และดา้ นการพฒั นาวชิ าชีพครู
2. ผลการศึกษาระดับการดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา อาเภอแม่สรวย
สังกัดสานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 ในภาพรวมรายดา้ นอยู่ในระดบั มากทีส่ ดุ
เมือ่ พิจารณาเปน็ รายด้าน โดยเรยี งลาดบั ค่าเฉล่ียจากมากไปน้อย ดงั น้ี การจัดระบบบรหิ ารและสารสนเทศ
การกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา การจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ท่ีมุ่งคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาการดาเนินการตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ
สถานศึกษา การจัดทารายงานประจาปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน การจัดให้มีการประเมิน
คุณภาพภายนอกตามมาตรฐานของสถานศึกษา การจัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
และการจัดให้มกี ารตดิ ตามตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษา
3. ผลการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับ
การดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา อาเภอแม่สรวย สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาเชยี งราย เขต 2 โดยภาพรวมมคี วามสมั พนั ธ์ทางบวกระดับสูงอยา่ งมีนัยสาคญั ทางสถิติท่ีระดับ
.01 ซงึ่ เปน็ ไปตามสมมติฐานการวจิ ัย
เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษามีความสัมพันธ์
ทางบวกกับการดาเนนิ งานประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา ในระดบั ปานกลางอย่างมนี ัยสาคัญทางสถิติท่ี
ระดับ .01 เมื่อเรียงลาดับดา้ นที่มีความสัมพันธ์มากที่สุดเท่ากนั 3 ด้าน คือ ด้านแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง
และการบริหารจดั การหลกั สูตร ดา้ นการจดั การเรียนรู้ ด้านการพฒั นาแหลง่ เรยี นรู้และสง่ เสริมบรรยากาศ
การเรียนรู้ทางวิซาการ รองลงมาคือ ด้านการกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายของสถานศึกษา
ดา้ นการติดตามประเมนิ ผลผ้เู รียน ดา้ นการพฒั นาวชิ าชพี ครู และดา้ นการนเิ ทศและประเมินการสอนของครู
ตามลาดบั
135
วารสารการวิจยั การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน
ปที ี่ 2 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)
อภปิ รายผล
1. ผลการศึกษาระดับภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา อาเภอแม่สรวย
สังกัดสานักงานเขตฟื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 โดยรวมรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุด
เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลาดับค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย ดังนี้ ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด 2 ด้าน
คือ ด้านการนิเทศและประเมินผลการสอนของครูและด้านการพัฒนาแหล่งเรียนรู้และส่งเสริมบรรยากาศ
การเรียนรู้ทางวิชาการ รองลงมาคือ ด้านการจัดการเรียนรู้ ด้านแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงและการบริหาร
จัดการหลักสูตร ด้านการกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายของสถานศึกษา ด้านการติดตาม
ประเมินผลผู้เรียน และด้านการพัฒนาวิชาชีพครู ตามลาดับ ท้ังนี้เนื่องจากผู้บริหารในแต่ละสถานศึกษา
อาเภอแม่สรวย สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 จัดให้มีระบบนิเทศ
งานวิชาการและการจัดการเรียนรู้ภายในสถานศึกษา มีการแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานในการนิเทศ
ส่งเสริมการศกึ ษาดงู าน แลกเปลี่ยนประสบการณ์ด้านการนิเทศกับสถานศกึ ษาอื่น ๆ และสถานศึกษาท่ไี ด้
มาตรฐาน ส่งเสริมให้ครูมีความรู้ความเข้าใจให้ข้อมูลย้อนกลับแก่บุคลากรด้านวิชาการเพื่อพัฒนา
การจัดการเรียนการสอนที่หลากหลายและมีประสิทธิภาพ มีการดูแล ติดตาม ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอน
ของครูอย่างใกล้ชิด นาข้อมูลจากการนิเทศไปใช้พัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการศึกษา และผู้บริหาร
ในแต่ละสถานศึกษา อาเภอแม่สรวย สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2
มีการสนับสนุนกิจกรรมภายในสถานศึกษาที่นอกเหนือจากการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนส่งเสริม
การพัฒนาและใช้แหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกสถานศึกษาอย่างเหมาะสมและทันสมัยเสริมแรงทางบวกครู
และผู้เรียน ให้ความร่วมมือและเปิดโอกาสให้ผู้ปกครอง และชุมชนใช้แหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษา
มกี ารควบคมุ เวลา และบรรยากาศในการจดั การเรียนการสอนตามธรรมชาติของแตล่ ะวชิ าได้อยา่ งเหมาะสม
ใช้เทคนิคการบริหารงานแบบกัลยาณมิตร และมีเทคนิคการบริหารงานแบบประชาธิปไตยได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพซ่งึ สอดคล้องกับงานวิจยั ของ ธญั ญาภทั ร์ เลาธนงั (2558) ได้ศกึ ษาความสัมพันธร์ ะหวา่ งภาวะ
ผู้นาทางวิชาการกับการส่งเสริมการวิจัยในชั้นเรียนของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 2 พบว่า ผู้บริหารสถานศึกษามีภาวะผู้นาทางวิชาการ
โดยรวมอยู่ในระดับมาก และงานวิจัยของ ภัททิยา ชื่นวิเศษ (2561) ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง
ภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับผลการดาเนินการนิเทศภายในของสถานศึกษาตาม
การรบั รขู้ องครู สังกัดสานักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาพงั งา พบว่า ภาวะผู้นาการทางวชิ าการของ
ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาโดยรวมและรายดา้ นมกี ารปฏบิ ตั ิอยใู่ นระดับมาก
2. การศึกษาระดับการดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา อาเภอแม่สรวย
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 เมื่อพิจารณาเป็นรายดา้ นโดยเรียงลาดับ
136
วารสารการวจิ ยั การศึกษาขัน้ พื้นฐาน
ปที ี่ 2 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)
ค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย ดังนี้ ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ รองลงมา
คือ การกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา การจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ทม่ี ุง่ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา การดาเนินการตามแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของ
สถานศึกษา การจัดทารายงานประจาปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน การจัดให้มีการประเมิน
คุณภาพภายนอกตามมาตรฐานของสถานศึกษา การจัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
และการจดั ใหม้ ีการติดตามตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษา ตามลาดบั
3. การศึกษาผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาทางวิชาการกับการดาเนินงาน
ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา อาเภอแม่สรวย สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
เชียงราย เขต 2 พบว่า โดยภาพรวมมีความสัมพนั ธท์ างบวกระดบั สูงอย่างมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ี่ระดบั .01
ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ ทั้งนี้เนื่องจากภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา
มีความสาคัญจาเป็นอยา่ งยิง่ ต่อการพัฒนาประสิทธิภาพในการบรหิ ารงานวิชาการท่ีจะสง่ ผลต่อการพฒั นา
คุณภาพการศึกษาให้บรรลุเป้าหมาย มีการกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายของสถานศึกษา
มีการร่วมกันกาหนดนโยบายแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง และการบริหารจัดการหลักสูตร มีการนิเทศ
และประเมินการสอนของครู มีการส่งเสริมกากับดูแลให้ครูมีการติดตามประเมินผลผู้เรียน ส่งเสริม
การจัดการเรียนรู้และกิจกรรมที่หลากหลาย พัฒนาแหล่งเรียนรู้และส่งเสริมบรรยากาศการเรียนรู้ ทาง
วิชาการ และมีการกาหนดนโยบาย เป้าหมายในการพัฒนาความก้าวหน้าทางวิชาชีพครู สอดคล้องกับ
งานวิจัยของ ณภัทรารัตน์ ศรีเจริญ (2559) ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาทางวิชาการของ
ผู้บริหารสถานศึกษากับการดาเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาระดับประถมศึกษา
จังหวัดปทุมธานี ระดับความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับ
การดาเนินการประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษาระดบั ประถมศกึ ษา จงั หวัดปทุมธานี มคี วามสมั พันธก์ ันใน
ระดับมาก ทั้งโดยรวมและรายด้าน ด้านที่มีความสัมพันธ์กันมากที่สุด ได้แก่ การส่งเสริมบรรยาก าศ
วัฒนธรรมกับการจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา รองลงมาคือ การติดตามความก้าวหน้า
กบั การจัดทาแผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา และการกาหนดวิสยั ทัศน์พันธกิจกับการกาหนด
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาซงึ่ ทัง้ 3 คู่ มคี วามสมั พนั ธ์ทางบวกในระดบั สงู อย่างมนี ัยสาคญั ทางสถิติ
ทร่ี ะดบั 0.01
137
วารสารการวิจยั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
ปีท่ี 2 ฉบบั ที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)
ขอ้ เสนอแนะ
ข้อเสนอแนะในการนาผลการวจิ ัยไปใช้
จากการศึกษาคว าม สัมพันธ ์ระหว่ างภ าวะผู้น าทางวิ ชาก าร ของผู้บร ิห าร สถ านศึก ษ ากั บ
การดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา อาเภอแม่สรวย สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาเชยี งราย เขต 2 มขี ้อเสนอแนะ ดังนี้
1. จากผลการวิจัยภาวะผู้น าทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา อ าเภอแม่สรวย
สังกัดสานักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 ด้านการพัฒนาวิชาชีพครูมีคา่ เฉลี่ยต่าสุด
ดังนั้นผู้บริหารสถานศึกษาควรมีการกาหนดนโยบาย และเป้าหมายในการพัฒนาความก้าวหน้าทางวิชาชีพครู
อย่างชัดเจน ตลอดจนศึกษาสภาพความจาเป็นและปัญหาในการพัฒนาส่งเสริมครู ส่งเสริม สนับสนุน
การเข้าร่วมอบรม สัมมนา แสวงหาความรู้ความสามารถ ที่เหมาะสมและการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น
สนับสนุนการทาผลงานของครูเพื่อพัฒนาหรือเลื่อนตาแหน่ง เปรียบเทียบการทางานก่อนและหลังการรับ
การพัฒนาอบรม หรือสัมมนาให้เกิดประสิทธิภาพและสามารถนามาพัฒนาตนเองและสถานศึกษา
สร้างขวัญและกาลังใจให้ครูพฒั นาวชิ าชีพอยา่ งตอ่ เน่ือง
2. จากผลการวิจัยการดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดอาเภอแม่สรวย
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 การจัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพ
การศึกษา มคี า่ เฉลี่ยต่าสุด ดังนนั้ สถานศกึ ษาควรมกี ารตดิ ตามตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษาในสถานศึกษา
แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานและกาหนดบทบาทหน้าที่ที่ชัดเจน จัดทาเครื่องมือติดตามตรวจสอบ
คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาทั้งระดับบุคคลและระดับ
สถานศึกษาอย่างน้อยภาคเรียนละ 1 ครั้ง และมีการนาผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาไปใช้
ประโยชนใ์ นการปรับปรุงและพัฒนา
3. จากผลการวิจัยความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับ
การดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา อาเภอแม่สรวย สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 โดยภาพรวมมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับสูง อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
ท่ีระดบั .01 ด้านท่มี ีค่าสมั ประสิทธิ์สหสัมพันธ์สูงสดุ มที ้งั หมด 3 ดา้ น คือ 1) ดา้ นแนวโนม้ การเปลี่ยนแปลง
และการบริหารจัดการหลักสูตรผู้บริหารควรส่งเสริมสถานศึกษาให้ความสาคัญกับการดาเนินงานประกัน
คุณภาพภายในสถานศึกษา โดยผู้บริหารต้องมีภาวะผู้นาทางวิชาการ มาใช้ในการร่วมกันกาหนดนโยบาย
เนอ้ื หาการพฒั นาหลักสูตรตามกรอบแนวคิดของกระทรวง ร่วมกับทุกฝ่ายทเี่ ก่ยี วขอ้ งแตง่ ตง้ั คณะกรรมการ
รบั ผดิ ชอบการพัฒนาหลกั สูตรอย่างเหมาะสม ส่งเสรมิ และผลักดันการนาหลกั สูตรไปใช้ใหเ้ กิดคุณภาพและ
บรรลุเป้าหมายทกี่ าหนด โดยผู้บริหารตอ้ งมีความรอบรู้ และใหค้ าปรกึ ษาในการจัดทาหลักสตู รสถานศึกษา
138
วารสารการวจิ ัยการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน
ปที ่ี 2 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)
แผนการเรยี นร้ทู ีส่ อดคลอ้ งกับจุดมงุ่ หมายของหลักสูตรให้กบั ครูผูส้ อน มกี ารนิเทศ ติดตาม และประเมินผล
การใช้หลักสูตรอย่างต่อเนื่อง 2) ด้านการติดตามประเมินผลผู้เรียน ควรส่งเสริมหน้าที่ของผู้บริหาร
สถานศึกษาในการส่งเสริมกากับดูแลให้ครูวดั ผลและประเมินผลผู้เรียนตามสภาพจริงการกาหนดระเบียบ
แนวปฏบิ ตั ิ การวดั ผลและประเมนิ ผลผู้เรยี นของสถานศึกษาอย่างชัดเจนสง่ เสรมิ ให้ครูจัดทาแผนการวัดผล
ผ้เู รยี นรายวชิ าทสี่ อดคล้องกับมาตรฐาน สาระการเรยี นรู้หน่วยการจัดการเรยี นรู้ และแผนการจดั การเรียนรู้
ให้คาแนะนา คาปรึกษา ตลอดจนการทาวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 3) ด้านการจัดการเรียนรู้
ควรส่งเสริมการจัดการเรียนรู้และกิจกรรมที่หลากหลายเพื่อพัฒนาผู้เรียน โดยยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ
มีการกากับ ติดตามผลการจัดการเรียนรู้อยา่ งเป็นทางการและอย่างไม่เป็นทางการอยู่สม่าเสมอ ผู้บริหาร
ประชุมชี้แจงเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ ดาเนินการ ส่งเสริม ให้ครูผลิต
สื่อนวัตกรรม วัสดุอุปกรณ์ที่หลากหลายมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ ส่งเสริมให้มีการเผยแพร่ผลงาน
ทางวชิ าการ วจิ ัยในชัน้ เรยี นของครู เพื่อแลกเปล่ียนความคิดเหน็ ในการพฒั นาการจัดการเรยี นรู้ ปลูกฝังให้
ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ส่งเสริมผู้เรียนที่มีความสามารถทาง
วชิ าการเพื่อเข้าร่วมการแข่งขนั ตา่ ง ๆ
ข้อเสนอแนะในการวิจยั คร้งั ตอ่ ไป
1. ควรมกี ารวิจยั ทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั ปจั จัยทส่ี ่งผลตอ่ การดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
2. ควรมกี ารวิจัยท่เี กีย่ วข้องกับปัจจยั ของภาวะผู้นาทางวชิ าการทส่ี ่งผลต่อการดาเนินงานประกัน
คณุ ภาพภายในสถานศึกษา
3. ควรมีการวิจัยทเ่ี กี่ยวข้องกับรูปแบบภาวะผู้นาทส่ี ่งเสริมการดาเนนิ งานประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษา
เอกสารอ้างอิง
กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2545). พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 (ฉบบั ท่ี 2) และท่ี
แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ พุทธศักราช 2545. กรงุ เทพฯ: บริษทั สยามสปอรต์ ชินดเิ ค จากดั .
ขวัญใจ ขุนทานาย. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนกับ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนเทศบาล ในกลุ่มการศึกษาที่ 9. วิทยานิพนธ์
ค.ม., มหาวิทยาลยั ราชภัฏเลย, เลย.
ณภทั รารัตน์ ศรเี จริญ. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับ
การดาเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาระดับประถมศึกษา จังหวัดปทุมธานี.
วทิ ยานิพนธ์ ศษ.ม., มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี, ปทุมธานี.
139
วารสารการวิจยั การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน
ปีท่ี 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธนั วาคม 2565)
ปวันรัตน์ โพธิ์จันทร์. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ของผู้บริหารสถานศึกษา กับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูสังกัดสานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3. วิทยานิพนธ์ ค.ม., มหาวิทยาลัยราชภัฏ
บุรรี ัมย,์ บุรรี มั ย์ .
ภัททิยา ชื่นวิเศษ. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับ
ผลการดาเนนิ การนเิ ทศภายในของสถานศกึ ษา ตามการรบั รขู้ องครสู งั กัดสานกั งานเขตพื้นที่
การศกึ ษาประถมศกึ ษาพงั งา. วทิ ยานิพนธ์ ค.ม., มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสรุ าษฎร์ธาน,ี พังงา.
ราชกจิ จานุเบกษา. (2553). กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวธิ กี ารประกันคุณภาพการศึกษา
พ.ศ.2553. เลม่ 127 ตอนท่ี 23ก. หน้า 22-27.
วีรยุทธ ชาตะกาญจน์. (2551). เทคนิคการบริหารสาหรับนักบริหารการศึกษามืออาชีพ. กรุงเทพฯ:
สานกั พมิ พจ์ ฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย.
สัมมา รธนิธย์. (2556). หลัก ทฤษฎีและปฏิบัติการบริหารการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ:
พิมพด์ จี ากดั .
สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศกึ ษา (องค์กรมหาชน). (2546). บันทึก สมศ. 2546.
กรงุ เทพฯ: สานักงานรบั รองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา (องคก์ ารมหาชน).
สานักงานรองรบั มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศกึ ษา (องค์การมหาชน). 2553. กฎกระทรวง ว่าด้วย
ระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 .กรุงเทพฯ: บริษัทพริก
หวานกราฟฟิค จากัด.
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2554). แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐาน
การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานเพ่อื การประกันคณุ ภพภายในของสานกั งานปฏิรูปกรศึกษา. กรงุ เทพฯ:
โรงพมิ พ์สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2. (2559). สรปุ ผลการประเมินคณุ ภาพภายนอก
รอบที่ 3. กลุ่มงานส่งเสริมพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษากลุ่มนิเทศ
ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา . สืบค้นเมื่อ 12 กรกฎาคม 2563, จาก
https://sites.google.com/a/esdc.go.th/sv-sw/Quality-Assurance-in-Education
สานักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาต.ิ (2560). แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สานักงานคณะกรรมการ
พัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาต.ิ
Krejcie and Morgan (1970). Determining sample size for research activities. Educational and
psychological measurement, 30(3), 608-609.
140
วารสารการวิจัยการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน
ปที ี่ 2 ฉบับท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)
การพัฒนาทักษะพ้นื ฐานทางคณิตศาสตรข์ องเดก็ ปฐมวยั
ทีไ่ ด้รบั การจัดกจิ กรรมเกมการศกึ ษา
The development of the basic mathematic skills of early childhood
children using educational game activities
ววิ ฒั น์ ค่ามาก*
Wiwat Khamak
บทคดั ย่อ
การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาเกมการศึกษาสาหรบั เด็กปฐมวัยให้มปี ระสิทธภิ าพ
ตามเกณฑ์ 80/80 2) เพอ่ื ศกึ ษาคา่ ดชั นปี ระสิทธิผลการเรียนรดู้ ้วยเกมการศกึ ษา 3) เพ่อื เปรียบเทียบทักษะ
พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการจัดกิจกรรมเกมการศึกษา กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ใน
การวิจัยครั้งนี้ คือ เด็กปฐมวัยที่กาลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นอนุบาลปีท่ี 3 โรงเรียนบ้านหนองสระพังโนนสะอาด
สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 3 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 จานวน 12 คน
ได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selecting) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย
1) แผนการจัดประสบการณ์กิจกรรมเกมการศึกษาสาหรับเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 3 จานวน 16 แผน
2) แบบประเมินวัดทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีท่ี 3 เป็นข้อสอบแบบปรนัย
ชนิดเลือกตอบ 3 ตัวเลือก จานวน 4 ด้าน ด้านละ 5 ข้อ จานวน 20 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ได้แก่ ค่าเฉลยี่ รอ้ ยละ สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน ค่าดัชนปี ระสิทธิผลและการทดสอบแบบ t-test
ผลการวิจัยพบว่า 1) เกมการศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
มีประสิทธิภาพเท่ากับ 89.35/85.41 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้ 2) ค่าดัชนีประสิทธิผลเกมการศึกษา
เพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย มีค่าเท่ากับ 0.7009 คิดเป็นร้อยละ 70.09
3) ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยหลังการจัดกิจกรรมเกมการศึกษาสูงกว่าก่อนการจัด
กจิ กรรมเกมการศึกษา อย่างมีนัยสาคญั ทางสถิตทิ ่ีระดับ .05
คาสาคญั : เกมการศึกษา/ ทักษะพนื้ ฐานทางคณิตศาสตร์/ เดก็ ปฐมวัย
* ครู, โรงเรียนบา้ นหนองสระพังโนนสะอาด, สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 3
Teacher, Bannorngsarpungnoensa-ard School, Maha Sarakham Primary Educational Service Area Office 3
141
วารสารการวิจยั การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน
ปีท่ี 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)
Abstract
The objectives of this study are 1) to develop educational game activities.
2) to study the learning effectiveness index by using educational game activities, and
3) to compare the basic mathematic skills of early childhood children between before and
after using the educational game activities. The target audience used in this study were 12
early childhood children 3 which are studying in the 2nd semester, academic
year 2021 at Ban norngsarpungnoensa-ard School, Maha Sarakham Primary Educational
Service Area Office 3, and this sample was obtained by purposive selecting. The instruments
of this study were 1) 16 lesson plans using educational game activities 2) the assessment
form for assessing the basic mathematic skills of early childhood children 3 which is
a multiple-choice test with 3 options, 20 items. statistics used in Data analysis was mean,
percentage, standard deviation. Efficacy index and t-test (dependent Samples).
The results of the study showed that 1) The efficiency of educational game
activities was 89.35/85.41, which was higher than the specified criteria. 2) The effectiveness index
of educational game activities was 0.7009 or 70.09 percent. 3) The basic mathematic skills
of early childhood children which were used after using the educational game activities were
higher than before using them which were statistically significant at the .05 level.
Keywords: educational game/ basic math skills/ early childhoo
บทนา
การปฏิรูปการศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิรูปประเทศ เพื่อสนับสนุนการบรรลุตามยุทธศาสตร์ชาติ
ที่กาหนดไว้ในดา้ นต่าง ๆ เนื่องดว้ ยการศกึ ษาเป็นพนื้ ฐานทส่ี าคญั ของการพฒั นาประเทศ ดังนนั้ แผนปฏิรูป
ประเทศด้านการศกึ ษา จึงเปน็ องค์ประกอบสาคญั ท่จี ะสนับสนุนการดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติทุกด้าน
โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ด้านการพฒั นาทรพั ยากรมนุษยข์ องประเทศ ดา้ นความเทา่ เทยี มและความเสมอภาคของ
สังคม และด้านขีดความสามารถในการแข่งขัน การพัฒนาเศรษฐกิจและการกระจายรายได้ประกอบกับ
นโยบายของรัฐบาลทีเ่ กี่ยวกับการศึกษาและยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี การศึกษาจึงเป็นการพัฒนาและ
การสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การมีเปา้ หมายทีจ่ ะพฒั นาประเทศให้
เป็นประเทศไทย 4.0 อกี ประการหนง่ึ ปญั หาการศกึ ษาไทย คอื การดอ้ ยประสิทธภิ าพและด้อยประสิทธิผล
ของระบบการจดั การการศึกษา ปญั หาที่หนกั ที่สุด คือ สงั คมไทยและผู้ท่รี ับผดิ ชอบในวงการต่างๆ ทีเ่ ก่ียวข้องกบั
การศึกษายงั ไมต่ ระหนกั เพียงพอถงึ ความรนุ แรงของสภาพปัญหา (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2562: 2–6)
142