The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by กรกฎ รามแก้ว, 2020-03-04 17:17:19

article_20160627110624

article_20160627110624

ห น้ า | ๖๖

ภำษำกลำง ภำษำถน่ิ ตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย
จวก จ๊วก (จีวกดิน)
จว๊ ก ขาวโจห๊ วดั ก. สับหรอื ฟนั โดยแรงดว้ ยจอบ
จ้วง จ^วง
ว. เปน็ คาแต่งคา ขาว ให้รูว้ า่ สีขาวจริงๆ.
จวด ปล๋ากอื่ หลา่ มา(ทับศัพท์
มลาย)ู ก. กริ ิยาทีเ่ อาภาชนะเชน่ ขันเออื้ มลงไปตักน้าขนึ้ มา
จวน โดยแรง; อาการที่เอาพายพยุ้ น้าโดยเร็วอย่างพาย
จอ แข่ (แข่จีทงิ้ ) เรือแขง่ ; หรือหมายถึงกริ ิยาที่ตีหรือฟันสดุ แขน
จอ๋ เชน่ จว้ งตี จ้วงฟัน
จ่อ น. ชื่อปลาทะเลหลายชนดิ และหลายสกุลในวงศ์
จอก จอ๊ Sciaenidae มที ง้ั ขนาดเลก็ และขนาดใหญ่ปลาย
โหลกจอ๊ ก,โหลกขนั หัวอาจทหู่ รือแหลม ปากเชดิ มากน้อยหรอื งุ้มตา่
จอ๊ ก บ้างมีฟนั แหลมคมหรือละเอียด หางเป็นรปู ตัดมน
จ๊อก หรอื กลม จนแม้กระทงั่ แหลม
จอ้ กแจ้ก
โช้ ว. ใกล้,เกอื บ เช่น เกอื บถึงบ้าน
จอง
จ้อง จ๋อง(จ๋องตั^ว) น. ชอื่ ปที ่ี ๑๑ ของรอบปีนักษัตร มีหมาเปน็
จอ๋ ง จ^อง,เผ่ง เครื่องหมาย, ผ้าขาวท่ีขงึ ไวส้ าหรบั เชิดหนังหรือ
จองหอง หยอ็ ง ฉายภาพยนตร์เป็นต้น
จอด ถอื ดี,อ๊วดดี
จอ๊ ด ก. จดกนั , มุ่ง
จอน
จอ๋ น น. ภาชนะเลก็ ๆ รูปคลา้ ยขันสาหรับตกั นา้ ในขัน
จอ้ น ใหญ่
จอบ จ็อน
จอม จอ๊ บ,จอ๊ บงอ ว. เสียงร้องของไก่เม่อื เวลาเจ็บหรือใกล้จะตาย,
จะ จอ๋ ม เสียงร้องของไกช่ นตวั ท่ีแพ้

จี(จีไป๋) ว. เสยี งดังเชน่ นัน้ , เสยี งของคนมาก ๆ ท่ตี า่ งคน
ต่างพูดกนั จนฟังไม่ไดศ้ ัพท์

ก. จองตัว

ก. มุ่ง, เพง่ ตาดู, คอยดู

น. รม่ ,หงอย,เหงา

ว. เย่อหยงิ่ , ทะนงตัว, ถือดี, อวดดี

ก. หยุดอยหู่ รือทาใหห้ ยุด, หยุดอยชู่ ่ัวคราว,พา่ ยแพ้
, ไม่มีทางสู้, ตาย

น. ชายผมขา้ งหูที่ระลงมาทแ่ี ก้ม, เครือ่ งประดบั หู
อย่ดู า้ นหนา้ กรรเจียก เชน่ กรรเจยี กซอ้ นจอนแกว้
แพรวพราว

น. สัตวพ์ วกกระรอก

น. เครอ่ื งมือสาหรับขุดและสบั ดินชนดิ หนึ่ง

น. ยอดทสี่ งู สุดของสง่ิ ทม่ี ีฐานใหญ่ปลายเรยี วเลก็ ขึน้ ไป
เช่น จอมเขา; ผทู้ ี่ยอดเยยี่ มในหมู่ เชน่ จอมโจร

เป็นกรยิ านเุ คราะห์สาหรับช่วยกริยาอื่น บอกเวลา
ภายหน้า เช่น จะไป

ห น้ า | ๖๗

ภำษำกลำง ภำษำถน่ิ ตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย
จ๊ะ
เออ,ฮือ ว. คาตอ่ ท้ายคาเชญิ ชวนหลงั คา นะ หรือ ซิ เช่น
จะกละ
จะกวด ไปนะจ๊ะ เชิญซิจ๊ะ หรอื ต่อท้ายคาถามเป็นต้น เช่น
จะขาบ,ตะขาบ
อะไรจ๊ะ. จ๊ะ, ก. เจอกนั หรือพ้องกันโดยบังเอญิ
จะเขบ็ ,ตะเข็บ
จะงอย เช่น เดนิ มาจะ๊ กัน แกงจ๊ะกนั
จะปงิ้ ,ตะปิ้ง,จบั ปิ้ง
จะละเมด็ จอื กละ๊ ,ตือกล๊ะ ว. ตะกละ, ตะกลาม, มักกนิ , กนิ ไม่เลอื ก, เหน็ แก่กิน, มัก
จะละเมด็ ใชร้ วมกันว่าจะกละจะกลาม กม็ ,ี ตะกละตะกลาม

จัก ตือก๊วด,แลน น. สตั ว์สีเ่ ท้าตวั คล้ายเห้ยี หางยาว มีลายเป็นจดุ ๆ

จกั ที่เรยี กว่าลายข้าวตอก, เรยี กตะกวด หรอื แลน

จกั จ้,ี จ๊ักจี้ จอื ค้าบ,ตือคา้ บ น. ไมไ้ ผ่ท่ีผา่ ขังปล้องแขวนไวต้ ามยอดไม้ สาหรับ ไล่
จักจ่ัน คา้ งคาว และท่ีพวกตลกใชต้ กี นั เลน่ ; ช่อื นกชนิดหนง่ึ สีตวั

เขยี ว; สตั ว์เล้ือยคลานมตี นี มาก เขย้ี วมพี ิษทาให้ผถู้ ูกกดั

เจ็บปวด

จอื แข็บ,ตือแข็บ น. รอยเยบ็ ทสี่ อยดว้ ยเข็ม; สัตวค์ ลา้ ยตะขาบ แต่

ตัวขนาดตะเขบ็ ผ้า

จืองอ้ ย น. ปลายหรือท่สี ดุ ท่ีมลี กั ษณะโคง้ หรอื งมุ้ ลง

เชน่ จะงอยปากนกแกว้

จือปิง,ตือปงิ ,จาปงิ น. เครอื่ งปดิ ของลับของเด็กหญิง ทาด้วยเงนิ ทอง

หรือนาก

ค้ายต๊าว น. เรยี กไข่เต่าทะเลทุกชนิดวา่ ไข่จะละเม็ด

บ่าวา(ทบั ศัพทม์ ลายู) น. ชื่อปลาทะเลในวงศ์ Stromateidae รูปร่าง

ปอ้ ม ค่อนข้างสั้น ลาตัวแบนข้างมาก หวั เล็กมน

ปากเลก็ เกล็ดเล็ก บริเวณคอดหางไม่มีสนั คม

เหลา ก. ตกแต่ง, ทาใหเ้ รยี บ

(การจักไมไ้ ผห่ รอื หวาย เพอื่ ทา

เครอื่ งจักสาน เช่น การจักไม้

ไผเ่ พ่ือสานกระดง้ จะพูดว่า

“เหลาม่ายพ้ายสานก่ือดัง”)

จือแก๊ะ,ตอื แก๊ะ ก. ทาให้เป็นแฉก ๆ หรอื หยกั ๆ คล้ายฟันเล่ือย,

เอาคมมีดผ่าไมไ้ ผห่ รือหวายให้แตกจากกันเปน็ เสน้

บาง ๆ. ว. เปน็ แฉก ๆ หรือหยกั ๆ

กือเดยื ม ก. อาการท่ีทาให้รู้สกึ เสยี วสะดงุ้ หรอื หัวเราะโดยไม่

ตัง้ ใจเมื่อถูกจี้ทีเ่ อวหรือรักแร้ เปน็ ตน้

ริ่งไร น. ชื่อแมลงพวกหน่งึ ลาตัวยาวตง้ั แต่๒-๑๐ เซนติเมตร

และเรียวลงไปทางหาง หัวและอกกว้าง ปกี มี ๒ คู่ เนือ้ ปีก

เหมือนกันตลอด ปีกเมอื่ พับจะเปน็ รูปหลงั คาคลุมตวั มี

ปากชนดิ เจาะดูดโผลจ่ ากหัวทางดา้ นล่างทีบ่ ริเวณใกล้กบั

อก ตาโตเหน็ ได้ชดั อยตู่ รงมมุ ๒ ขา้ งของหวั ตัวผูม้ ีอวัยวะ

พเิ ศษสาหรบั ทาเสยี งได้ยนิ ไปไกล ระดบั เสียงคอ่ นขา้ งสมา่

เสมอ

ห น้ า | ๖๘

ภำษำกลำง ภำษำถนิ่ ตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย
จกั รยาน รอ็ ดท้ีบ
น. รถถบี , ยานพาหนะประเภทรถที่มลี ้อ ๒ ล้อ ล้อ
จักแหลน่ เช๊ียด หนึ่งอยู่ขา้ งหน้าและอกี ล้อหนึ่งอยขู่ า้ งหลัง มโี ครง
จังหรีด,จ้งิ หรีด จังรี้ด เหลก็ เชื่อมล้อหนา้ กบั ล้อหลงั มคี นั บงั คับด้วยมือติด
ตง้ั อย่บู นลอ้ หน้า ขบั เคลื่อนด้วยกาลงั คนผขู้ ีซ่ ่งึ ใช้
จงั หวดั จงั หวดั เทา้ ถีบบนั ไดรถใหว้ งิ่

จังหนั จังหนั ว. จวนเจยี น, เกือบ, หวุดหวิด, เช่นจกั แหลน่ จะไม่
จัญไร จันไหร,จงั ไหร ทนั รถไฟ
จัด จ^ั ด,แต๊ง,หร่อื ดับ
จัดการ,จดั ตงั้ จ^ั ดก๋าร,จั^ดตั^ง,เหรมิ่ น. ชื่อแมลงพวกหนึ่ง ลาตวั ขนาดปานกลาง หนวดยาว มี
จัน จนั ปกี ๒ คู่ คู่หน้าเนอ้ื ปีกหนากวา่ คูห่ ลงั ปีกเม่ือพับจะหกั เป็น
มุมท่ีด้านขา้ งของลาตวั ปีกค่หู ลังบางพบั ไดแ้ บบพัดสอด
จั่น งวง เขา้ ไปอย่ใู ต้ปกี คหู่ นา้ ปากเป็นชนดิ กัดกิน หวั กบั อกมี
จนั ทร์ จัน ขนาดกวา้ งไลเ่ ลย่ี กัน ตัวผมู้ ีอวยั วะพเิ ศษสาหรบั ทาเสยี ง
เป็นฟันเลก็ ๆ อยตู่ ามเส้นปีกบรเิ วณกลางปีก ใช้กรีดกบั
จันทรุปราคา เดอื นจบั กน๊ั แผน่ ทาเสยี งทอ่ี ยู่บรเิ วณท้องปีกของปกี อีกขา้ งหนึ่ง

จันทนั จ๊นั ทัน น. หนว่ ยการปกครองส่วนภูมิภาคทร่ี วมทอ้ งท่ี
จ่ัว จ๊ัว หลาย ๆ อาเภอเขา้ ดว้ ยกนั และมีฐานะเปน็ นติ ิ
บุคคล มผี ูว้ า่ ราชการจงั หวัดเปน็ หัวหน้าปกครอง,
เมือง, หัวเมือง

น. ขา้ ว, อาหาร, (ใชแ้ ก่พระสงฆ)์

ว. เลวทราม, เป็นเสนยี ด, ไม่เป็นมงคล

ก. ตกแต่ง เช่น จดั บา้ น, ทาให้เรยี บ, วางระเบยี บ,
เรยี งตามลาดับ, เช่น จดั แถว จัดหนังสอื

ก. จดั แจง ,สัง่ งาน, ควบคมุ งาน, ต้งั ขนึ้

น. ช่อื ไม้ตน้ ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ชนดิ หนึง่ ผล
สุกสเี หลือง หอม กินได้, ชนดิ ลกู กลมแป้นกลางบมุ๋
ไม่มีเมลด็ เรยี ก ลกู จนั อิน

น. ดอกหมากหรือดอกมะพร้าวทม่ี ีกาบหุม้ อยู่

น. ดวงเดือน, กล่าวเปน็ บคุ คลวา่ เปน็ เทวดาองค์
หนง่ึ , ในตารานพเคราะห์นบั เอาเปน็ ดาวเคราะห์
ดวงที่ ๒; ชือ่ วันท่ี ๒ ของสปั ดาห์

น. ปรากฏการณท์ ่เี กิดขน้ึ เม่ือดวงอาทิตย์ โลก และ
ดวงจนั ทรโ์ คจรมาอยู่ในแนวเดียวกนั ทาใหเ้ งาของ
โลกตกลงบนดวงจันทร์บางสว่ นหรอื ทั้งหมด

น. ชอ่ื ตวั ไม้เครือ่ งบนแห่งเรือนอยตู่ รงกับข่ือสาหรบั
รับแปลานหรือรับระแนง

น. เครอื่ งบนแห่งเรือนทป่ี ดิ ด้านสกดั หลงั คาสาหรบั
กนั ลมและแดดฝน มีรูปเป็นสามเหลย่ี ม. ก. ลากไพ่
จากกองมาเปิด, เปดิ ไพ่ในกอง

ห น้ า | ๖๙

ภำษำกลำง ภำษำถน่ิ ตำกใบ (เจ๊ะเห) ควำมหมำย
จา่ จา๋ ,นายจ๋า(ปจั จบุ ันใช้ น. ยศทหารและตารวจชน้ั ประทวน เชน่ จ่าตรีจ่า
จา่ หน้า “จา๊ ” สิบตารวจ
จ่า,จ่าหวกั จาน^าซอง ก. เขยี นบอกไว้ขา้ งหน้า เชน่ จ่าหนา้ ซอง, เขียน
จา้ บอกไว้ทีต่ ้นเร่ือง เช่น จ่าหนา้ เรอ่ื ง
จ๋า จอื หวัก,ตือหวัก น. จวกั , ตวัก, เครื่องตกั ข้าวตักแกง เดิมทาดว้ ย
(ภาษากลางเรยี ก กะลามะพรา้ ว มดี า้ ม
เชน่ แม่จา๋ พอ่ จา๋ แด๊ดจ^า,แดด๊ เปรี^ยง ว. จดั , ยิ่ง, แรง เช่น แดดจ้า
หนูจา๋ ) (ภาษาตากใบ เรยี กวา่
แหมเ่ อย้ ,แหม่เฮย้ ,ผ่อเอย้ , น. ชอ่ื ปาล์มชนดิ หน่ึง ขึ้นเป็นกออยู่ตามป่าเลนหรือ
จาก ผอ่ เฮ้ย แตส่ ว่ นมากมักจะ ริมฝัง่ น้ากรอ่ ยตน้ื ๆ ใบใชม้ ุงหลังคาและกรฝุ า ออก
เรียก แหม,ผอ เว้นแต่อยู่ ดอกเปน็ ช่อยาวผลรวมเป็นทะลาย กนิ ได้ เรียกว่า
จาก หา่ งไกลกัน ก็จะมีคาวา่ ลกู จาก; เรยี กขนมชนดิ หนง่ึ ทาดว้ ยแป้งขา้ วเหนียว
จาง เอย้ ,เฮ้ย ตอ่ ท้าย) ผสมมะพร้าวกบั น้าตาล ห่อด้วยใบจากแลว้ ปงิ้ วา่
จ้าง ขนมจาก
และ ก. ออกพ้นไป เชน่ จากบ้านจากเมืองจากลูกจาก
จาน (คาว่า “จ๋า” ภาษาตากใบ เมีย
จาน หมายถงึ เร่อื งทีน่ า่ สงสาร ว. จดื , เผือด, ซดี , คลายไป
จาม กจ็ ะอุทานว่า จ๋า จ๋าแลว้ ก. ให้ทางานหรอื ทาของโดยให้ค่าตอบแทน, ผใู้ ห้
จา๋ ๆและ้ ) ทางานเรียก นายจ้าง หรือผวู้ ่าจา้ ง, ผู้รับทางาน
จา๊ ก เรยี ก ลูกจา้ ง หรือ ผูร้ ับจา้ ง, ผใู้ หท้ าของเรยี ก ผ้วู า่
จา้ ง, ผรู้ ับทาของเรยี ก ผูร้ ับจ้าง
ผราก,จา๊ ก น. ภาชนะรูปแบน ๆ สาหรับใสส่ ิ่งของต่าง ๆ,
ลกั ษณนามเรียกจานที่ไม่มีอะไรบรรจุวา่ ใบ หรอื
จา๋ ง น. จานรองถ้วยกาแฟ
จ^าง ก. อาการของลมทีพ่ ุ่งออกมาทางจมูกและปาก
มกั จะเปน็ ห้วง ๆ ในทนั ทีทันใดโดยไมต่ ้งั ใจ เพราะ
ชาม (ชามข่าว) เกิดระคายเคืองในจมูก

จา๋ น,โหลกจ๋าน
กือจ๋าม

ห น้ า | ๗๐

ภำษำกลำง ภำษำถิ่นตำกใบ (เจ๊ะเห) ควำมหมำย

จาม ฟัน ก. ฟันลงไปเต็มท่ี เชน่ เอาขวานจามหวั

จ่าย เซ่อ (เซ่อกับค^าว) ก. ซอ้ื เชน่ จ่ายกบั ข้าว จา่ ยตลาด

จ่าย เซอ่ เขรื่อง ก. ซอ้ื สิ่งของ

จาร จา๋ น ก. ใช้เหล็กแหลมเขียนลงบนใบลานหรอื ศิลาเป็น

ต้นใหเ้ ปน็ ตวั หนงั สอื

จาว กอื พวม น. พืชทเี่ กิดงอกอยูภ่ ายในผลไม้

- จาวมะพร้าว - กอื พวมพร่าว เช่น จาวมะพรา้ ว จาวตาล

- จาวตาล - กือพวมโนต้

จ้าว จ^าว น. เจา้ มกั ใชก้ ับวิญญาณหรือปศิ าจ

จา จา ก. กาหนดไว้ในใจ, ระลกึ ได้, เชน่ จาหน้าได.้

จา ต^องขัง,ต^องโถด,ขังค่กุ ก. ลงโทษดว้ ยวธิ ีขงั เช่น จาคุก.

จา โพ้กโซ^,ซา้ ยโซ^ ก. ลงโทษดว้ ยวิธีเอาโซต่ รวนล่ามไว้ เชน่ จาโซ่ จาตรวน

จาวัด จาวัด่ ก. อยวู่ ดั หมายความว่า นอน (ใช้แกภ่ กิ ษุสามเณร)

จ้า จ^า,จ^าๆ ก. แทง, ทาเรว็ ๆ, ทาถ่ี ๆ, แจว หรือพายถี่ ๆ

จาเดมิ จ่าเดิม บ. แตต่ ้น, แรก

จานน ยอม,ยอมแพ่ ก. แพ้, ไมม่ ีทางสู้.

จานวน จาหนวน น. หมวด, หมู่, แผนก, กาหนดนับประมาณท่ี

กาหนดไว้, ยอดรวม

จานอง ก่อื ได,ฆฮ่ือได น. ชื่อสญั ญาซงึ่ บคุ คลคนหน่ึง เรียกว่า ผ้จู านอง

(เพยี้ นมาจากมลายู ใน เอาทรัพยส์ นิ ตราไว้แก่บุคคลอีกคนหนง่ึ เรียกวา่

ภาษาตากใบ ไมม่ ีใช้ แตใ่ ช้ ผ้รู ับจานอง เพ่ือเปน็ ประกนั การชาระหน้ี โดยไม่ส่ง

รวมกบั คาว่า “จานา”) มอบทรัพย์สินนัน้ ใหแ้ กผ่ ้รู บั จานอง

จานา จาหนา,ฆฮอื่ ได ก. เอาของไปไว้แทนเงินทกี่ ู้มา

จาปา,จาปี(โดยทวั่ ไป จาก๋า น. ไมต้ ้นสงู ดอกกล่นิ หอมแรง เรม่ิ หอมเวลาเยน็

มักเรยี กรวมกนั ) แต่ ตลอดไปจนกระทัง่ โรย

ถา้ แยกออกได้ ดงั นี้

- จาปา - จาก๋าแด๋ง

- จาปี - จากา๋ ขาว

จาปาดะ จาปอื ดะ๊ ,จาด๊ะ น. ช่อื ขนุนชนดิ มียวงหนาสีเหลืองเจอื แดงเหมือน

ดอกจาปา

จาปนู จาปู๋น(ดอ๊ กป๋นู ) น. ไม้ทรงพุ่ม ไม่ใหญโ่ ตนัก ดอกป้อมส้ันคล้ายดอก

นมแมว กลบี หนาแข็ง สนี วล หอมแรงมาก ส่งกลิ่น

ตอนสายๆ ไปตลอดวนั มีมากในปา่ ปกั ษ์ใต้

จาพวก จาผวก,ผวก น. หมู่, เหล่า, พวก, ประเภท, ชนดิ

จาเพาะ จาเผาะ ว. เฉพาะ, หากแต่, เจาะจง

จ้าม่า อ^วน ว. คาประกอบลักษณะอว้ น ให้ร้วู ่าอ้วนน่ารัก

(โดยมากใช้เฉพาะเด็ก)

ห น้ า | ๗๑

ภำษำกลำง ภำษำถิน่ ตำกใบ (เจ๊ะเห) ควำมหมำย
จาเลย จาเลย,ช่าเลย น. (กฎ) บุคคลผ้ถู กู ฟ้องต่อศาลแล้ว; ผู้ถูกฟ้อง
จาหน่าย ความ.
จาอวด จานา้ ย ก. ขาย, จ่าย, แจก, แลกเปลี่ยน, โอน; เอาออก
จง้ิ จก เช่น จาหนา่ ยจากบัญชี.
แลน็ ตอื หล็อก น. ถ้อยคาชวนใหต้ ลก, ผแู้ สดงการขบขนั . ว.
จง้ิ จอก สาหรบั อวด, สาหรับดู, เล่นขบขัน
จิ้งเหลน จิงจ็อก น. สัตวส์ ีเ่ ทา้ ตัวแบน เทา้ เหนยี ว ชอบเกาะไตต่ าม
จิตใจ ฝาห้องและเพดานได้อยา่ งตุ๊กแก มกั อาศัยตามฝา
จนิ ดา หมาปา๊ ,หมาจงิ จ๊อก เรือน กินแมลงเป็นอาหาร
จมิ้ จงั เหลน น. หมาปา่ ชนิดหนงึ่
น. สัตว์สี่เท้าคลา้ ยกิ้งกา่ เกล็ดเป็นมัน ตวั ค่อนขา้ ง
จิว จติ ใจ๋ แบน
จี่ จินดา๋ น. ใจ, อารมณ์ทางใจ, กะจติ กะใจ
จี้ จ^ิ ม น. ความคดิ , ความนึก
ก. จมุ่ , จุ้ม, เช่น จมิ้ น้าพริก จ้ิมหมกึ ; เอาสงิ่ ใดส่ิง
จ้ี แลก็ หมาก,เอย๊ี ะแรง หน่ึงท่ิมหรอื แทงเบา ๆ เช่น จ้มิ ฟนั , เอาส่งิ ใดสง่ิ
จีน จี๊ หน่ึงแตะ ๆ เชน่ เอามะม่วงจิม้ พรกิ กะเกลอื
โหลกลอแก๊ะ ว. เลก็ มาก, เลก็ ท่สี ุด
จีม,ล่ิม (คาวา่ “ลอแก๊ะ เพี้ยนมา ก. ป้ิง, ยา่ ง.
จบี ,จบี หมาก จากภาษามาลายูคาว่า น. เคร่ืองประดับสาหรับร้อยสายสร้อยสวมคอ
“ลอแกะ”
จวี ร จ^ี ,จ่ี ก. ใชอ้ าวธุ บงั คบั เช่น เอาปนื จ้ีใหป้ ลดทรัพย์ เอา
จืด มดี จ้ีเจ้าของบ้าน
จน่ี น. ช่อื ประเทศหน่งึ อยูเ่ หนือไทยขึน้ ไป มจี านวนคน
มากท่สี ดุ , คนทอ่ี ยใู่ นประเทศจนี ; ช่ือไม้ไผ่ ชนิด
ลิ^ม หนึ่ง ตน้ เล็ก ๆ เรยี ก ไม้ไผ่จนี
ก. เสยี ด, แทรก, เสียบลงไป, แทรกลงไปเพื่อให้
จบ๊ี แนน่
น. ชอื่ ขนมอยา่ งหนึ่ง; เรยี กพลูทีม่ ว้ นพนั สาลแี ล้ว
จวี๊ ร,จีวร ว่า จบี หนง่ึ . ก. ทาริมฝปี ากให้ห่อเขา้ ; (ชบ.) พดู
จด๊ี แทะโลม
น. เครอ่ื งนุ่งหม่ ของพระสงฆ์, ในพระพทุ ธศาสนา
ว. มรี สไม่เค็มไมเ่ ปรี้ยวเปน็ ต้น เชน่ น้าจดื ไข่จดื ;
ไมเ่ ข้ม เช่น หน้าจืด, ไม่ฝาด เชน่ หมากจดื , ไมฉ่ ุน
เช่น ยาจดื ; ไมส่ นุก, ไม่ครึกครน้ื , เช่น งานน้ีจืด

ห น้ า | ๗๒

ภำษำกลำง ภำษำถนิ่ ตำกใบ (เจ๊ะเห) ควำมหมำย
จุ จุ๊ ก. มขี นาด ปรมิ าณ หรอื จานวนบรรจุ เช่น ขวดใบ
น้จี นุ า้ ได้ ๑ ลิตร ลฟิ ต์น้ีจคุ นได้ ๑๐ คน. ว. มาก
จุ๋งจิง,จจู๋ ี ต^ุ งติ^ง เชน่ กนิ จุ
ก. พูดกนั เบา ๆ ดว้ ยอาการสนทิ สนม, ว. อาการท่ี
จดุ จ๊อด(จ๊อดไฟ) พดู กันเบา ๆ ด้วยความสนทิ สนม
จุติ จตุ ติ๊ ก. จุดไฟ
- เทวดามาเกิด - เทวด๋ามาจตุ ต๊ิ ก. เคล่ือน, ตาย, โดยมากใชส้ าหรบั เทวดาและเป็น
จนุ ค่า อาการของจิตดับเม่ือคราวตาย
จุ่น จุน๊ ก. ค้า, ยนั ไว้
จนุ สี กูสี ว. ลกั ษณะสะดือทโ่ี ปนออกมา เรยี กว่า สะดือจุน่
น. ของสงิ่ หนงึ่ เกิดจากสนมิ ทองแดง สีน้าเงินอ่อน
จุ่ม,จุ้ม จ^ุ ม ใช้ทายา
ก. เอาส่ิงใดสิง่ หนงึ่ ชบุ หรอื จุ่มลงไปในของเหลว
จุฬามณี จหุ๊ ลาม่านี เชน่ เอาปากกาจุ้มหมึก
น. ปนิ่ ; มวยผมของพระพทุ ธเจา้ ; ชื่อพระธาตุเจดีย์
จ,ู้ อจี ู้ ไซ บรรจพุ ระเกศธาตขุ องพระพทุ ธเจ้าอย่ทู ด่ี าวดึงส์
จูง จงู๋ เรียกว่า จฬุ ามณเี จดีย์
น. เครอ่ื งดกั ปลาไหล
จู้จี้ กว๋ น,บ๊น ก. พาไปด้วยอาการคล้ายดงึ หรอื ฉุด เชน่ จงู
ควาย จูงเดก็
จูบ ยู้บ ก. งอแง เช่น เดก็ จ้จู ้ี, บ่นจุกจกิ รา่ ไร เชน่ คนแก่จ้จู ้ี;
เจ็ด แจ็ด พถิ ีพถิ นั เกนิ ไป เชน่ ซอื้ ของเลอื กแลว้ เลือกอีกจู้จี้
ก. เอาจมกู สัมผสั สดู แสดงความรกั หรือความใคร่
เจดยี ์ เจด่ ี น. จานวนหกบวกหนง่ึ ; ชือ่ เดือนจันทรคติ เรยี กว่า
เดอื น ๗ ตกในราวเดือนมิถุนายน
เจตนา ต^ั งใจ๋ น. ท่เี คารพนับถือ, ที่สาหรบั บูชา, คนท่ที รงคณุ วฒุ ิ
อนั เป็นทีเ่ คารพนับถือ, สิง่ ซงึ่ ก่อเป็นยอดแหลมเป็น
เจตมลู เพลิง แขด็ ซือหมนู ท่บี รรจสุ ่งิ ที่นับถือมีพระธาตุ เปน็ ต้น
- เจตมลู เพลิงดอก - แข็ดซือหมนู ด๊องแด๋ง ก. ตงั้ ใจ, จงใจ, ม่งุ หมาย. น. ความตง้ั ใจ, ความจง
สแี ดง ใจ, ความมุ่งหมาย.
- เจตมูลเพลงิ ดอก - แขด็ ซือหมูนด๊อกขาว น. ชอื่ ไมพ้ มุ่ ขนาดเล็กหลายชนิด เช่น เจตมูลเพลงิ
สีขาว แดง ดอกสแี ดง และ เจตมูลเพลงิ ขาว ดอกสขี าว,
เจน เจ่น รากของทง้ั ๒ ชนดิ มรี สเผด็ ร้อน ใชท้ ายาได้

ว. คนุ้ , ชนิ , เชน่ เจนตา, ชานาญ เชน่ เจนสังเวยี น,
จาไดแ้ ม่นยา เชน่ เจนทาง

ห น้ า | ๗๓

ภำษำกลำง ภำษำถ่ินตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย
เจ็บ แจบ็
เจรจา ทอื แหลง ก. ป่วยไข้; รู้สึกทางกายเม่อื ถูกทุบตีหรอื เปน็ แผล
เจริญ จอื เหริน
ก. พดู , พูดจากัน, พดู จากันเป็นทางการ.
เจอ,เจอะ พ็อบ
เจ่อ ปลิ^น(ปา๊ กปลิ^น) ก. เติบโต, งอกงาม, ทาให้งอกงาม, เช่น เจริญทาง
เจ้า,เจา้ ของ จ^าว พระราชไมตรเี จริญสัมพนั ธไมตรี, มากขึน้ ; สาธยาย
เจ้ากรรม จ^าวกา , สวด, (ในงานมงคล) เช่น เจรญิ พระพุทธมนต์

เจา้ ชู้ จ^าวโช่ ก. พบ, เหน็ , ประสบ, ประจวบ
เจา้ ที่ จ^าวเถ่
เจ้าภาพ จ^าวผาบ ก. อาการที่ปากบวมย่ืนออกมา
น. ผถู้ ือสิทธิ เปน็ ผปู้ กครอง
เจาะ เจา๊ ะ
เจิ่ง เตม๊ (นา่ มเต๊มถ่อง) น. ผู้เคยมีกรรมมเี วรต่อกันมาแตช่ าตกิ ่อน, ว. ท่ที า
เจมิ เจิม ใหผ้ ดิ หวังหรอื ไดร้ ับความเดือดร้อน เช่น รถเจา้
เจียด เจ๊ยี ด กรรมเกิดเสียขึ้นกลางทางเลยไปไม่ทัน เดก็ เจา้
เจยี น เจี^ยน กรรมว่งิ มาชนเกือบหกล้ม.
เจยี ม เจยี ม(เจียมตวั )
เจียว เค^ี ยว น. ผใู้ ฝ่ในการชู้สาว
เจียว ถอด(ถอดคา้ ย)
เจี๊ยวจ๊าว โช้,โช้หาย น. พระภมู ิ, มักใชเ้ ขา้ ค่กู นั เป็น พระภมู เิ จ้าที่, เจ้าที่
เจ้าทาง : น. เทวดารักษาพ้ืนทีแ่ ละหนทาง
เจือ เจ๊อื น. เจา้ ของงานพธิ หี รือผรู้ ับเป็นเจ้าของงานพิธี
เชน่ เจา้ ภาพงานแต่งงาน เจ้าภาพสวดพระ
อภธิ รรม; เจา้ มอื เชน่ เย็นน้ฉี นั ขอเปน็ เจ้าภาพเล้ียง
ขา้ วเอง

ก. ไช, แทง, ขดุ , ทาใหท้ ะลุ; เฉพาะ. เจาะจง

ก. เต็ม, เหลิง, (มักใช้สาหรบั น้า เช่น นา้ เตม็ ทุ่ง)

ก. เอาแป้งหอมแตม้ เป็นจุด ๆ ท่ีหนา้ ผากหรอื สิง่ ท่ี
ตอ้ งการใหม้ ีสิรมิ งคล
ก. แบง่ ปันแต่น้อย, ขอแบ่งปันบา้ ง, เช่น เขามนี ้อย
ขอเจยี ดเอามาบ้าง

น. ชอื่ อาหาร เป็นปลาทอดราดเคร่อื งปรุงรสหวาน

ก. รจู้ ักประมาณตวั , ประพฤติตนพอประมา
เช่น เจยี มเน้อื เจียมตัว

ก. ทอดดว้ ยน้ามัน, ทอดเอาน้ามนั เชน่ เจยี วมนั
หม.ู
ว. ทที่ อดดว้ ยน้ามนั เช่น ไข่เจียวหอม

ก. ส่งเสียงดังเซง็ แซ่กอ่ ใหเ้ กิดความราคาญ
โดยมากเป็นเสียงผ้หู ญิงหรือเด็ก, ว. อาการทสี่ ง่
เสียงดังเซ็งแซ่กอ่ ให้เกิดความราคาญ โดยมากเปน็
เสียงผู้หญงิ หรอื เด็ก

ก. ปน, ระคน. เจือจาน ก. อุดหนุน, เผือ่ แผ่

ห น้ า | ๗๔

ภำษำกลำง ภำษำถิ่นตำกใบ (เจ๊ะเห) ควำมหมำย
เจอ่ื น เจอ๊ื น
ก. เขา้ หน้าไม่สนิทเพราะหา่ งเหนิ ไปนาน เช่น หมู่นี้
แจ ม^ายฮา้ ง,ม^ายขลาด เขาเจอ่ื นไป; วางหน้าไมส่ นทิ เพราะกระดากอาย
แจ้ แจ^ เนื่องจากถูกจับผิดได้ เชน่ หนา้ เขาเจื่อนไป, เรยี ก
แจก แจ๊ก หนา้ ที่มลี ักษณะเช่นนัน้ ว่า หนา้ เจ่อื น
แจกนั แจ๋กนั
แจง(เทศนแ์ จง) แจ๋ง(เถดแจง๋ ) ว. กระชน้ั ชิด, ไม่คลาด, ไมห่ ่าง, (ใชใ้ นอาการทีค่ ุม
แจง้ แจ^ง หรอื ตดิ ตาม) เช่น คุมแจ ตามแจ.
แจว แจ๋ว
น. ชอ่ื ไกช่ นิดหนึ่ง ตัวเล็กเตี้ย หงอนใหญ่ ตัวผู้มี
แจ๋ว งาม,ใส สีสนั สวยงามกวา่ ไกต่ วั ผู้ชนิดอื่น.
โจก จีก(หัวโจ๊ก)
โจง โจ๋ง(โจ๋งกือเบ๋น) ก. แบง่ หรอื ปนั ให้แก่คนหลาย ๆ คน เช่น แจก
โจทย์ โจ๊ด เสื้อผ้า แจกสตางค์; กระจายออก
โจร โจน๋
โจษ จดี ,โจ๊ดกัน น. ภาชนะสาหรบั ปักดอกไมต้ ั้งเครอื่ งบชู าหรือ
ใจ ใจ๋ ประดบั สถานท่ี มักมีรปู คลา้ ยขวดปากบาน

ใจน้อย ใจ๋นอ่ ย น. เรยี กเทศน์สงั คายนาว่า เทศน์แจง
ไจ ไจ๋
ก. แสดงให้รู้, บอกให้รู้, เช่น แจ้งความประสงค์. ว.
กระจา่ ง, สวา่ ง, ชัด, เชน่ แจง้ ใจ

น. เครื่องมือสาหรบั พยุ้ นา้ ใหเ้ รอื เดนิ ลักษณะคล้าย
พาย แตด่ า้ มยาวเรยี ว มีทม่ี ือจบั เรยี กว่า หมวก
แจว ใช้หแู จวคล้องเขา้ กับหลักแจว. ก. เอาแจวพุ้ย
นา้ ใหเ้ รอื เดนิ

ว. มเี สยี งดงั กงั วานแจม่ ชดั , ใสมาก เช่น นา้ ใสแจว๋

น. หวั หน้า (มักใช้ในทางไมส่ ้ดู ี)

ก. โจงกระเบน ,มว้ นชายผ้านงุ่ แล้วรง้ั ไปเหนบ็ ไว้
ข้างหลงั

น. คกู่ บั จาเลย

น. ผลู้ กั , ผู้ขโมย, ผ้ปู ล้น, ผทู้ ซี่ ่องสุมพรรคพวกทา
การปล้นเขา

ก. พูดอึง, พดู กันเซ็งแซ่, เล่าลอื กนั อ้ืออึง

น. ส่ิงทีท่ าหนา้ ท่ีรู้ รู้สึก นึก และคดิ เชน่ ใจก็คิดว่า
อย่างนัน้ , หัวใจ เช่น ใจเต้น, ลมหายใจ เชน่ กลน้ั
ใจ อึดใจ หายใจ, ความรู้สกึ นึกคดิ เช่น ใจคด ใจ
ซอ่ื ; จุดสาคญั ของบางส่ิงบางอย่าง เช่น ใจมอื ,
บรเิ วณท่ีถือวา่ เปน็ จุดสาคญั ของสถานท่ี เช่นใจ
บา้ นใจเมือง

ว. โกรธง่าย

น. สว่ นของเข็ดด้ายหรอื ไหมที่ผกู คนั่ ไว้เป็นตอนๆ
เพือ่ ไมใ่ ห้ยุ่ง, ลกั ษณนามสาหรับบอกจานวนนับ
เชน่ ด้ายไจหน่ึง

ห น้ า | ๗๕

ฉ ภำษำถิน่ ตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย
ภำษำกลำง ชงี ,ชว้ ย
ซง้ สัย ก. ฉวยเอา, แย่งเอา, วงิ่ ราว, ชิงเอา.
ฉก ชอื น้าก
ฉงน ก. เอะใจ, คลางแคลงใจ, สงสยั
ฉนาก ชอื บั^บ
ชอื ม้วก น. ชื่อปลานา้ เคม็ ตัวคลา้ ยปลาฉลาม ปากเปน็ ฟัน
ฉบับ เลื่อย
ฉมวก ชือหลอง,ทอื หลอง น. แบบ, เรื่อง; เลม่ หนงั สือ, แผ่นจดหมาย.

ฉลอง ชอื ล้าก น. เครอื่ งมือแทงปลาเปน็ ต้น มงี า่ มเปน็ ๑, ๓ หรือ
๕ ขา ทป่ี ลายขาทาเป็นเงย่ี ง มดี า้ มยาว.
ฉลาก ชอื ล้าด
ชอื หลาม ก. ทาบุญหรือบูชาสง่ิ ใดส่ิงหน่ึงเปน็ งานเอิกเกริก
ฉลาด เพ่ือแสดงความปตี ยิ ินดี เชน่ ฉลองพระ ฉลอง
ฉลาม ชือหลู หนังสือ ฉลองอายุ, จัดงานเอิกเกริกเพื่อแสดง
ความยินดใี นโอกาสตา่ ง ๆ เช่น ฉลองปรญิ ญา,
ฉลู ชว้ ย แทน, ทดแทน, เช่น ฉลองคุณ
ช^อ
ฉวย น. สลาก, เครอ่ื งหมายแทนส่งิ ของสาหรับจบั เสยี่ ง
ฉอ้ ชอ้ ด(ทือแหลงช้อดๆ) ทาย; ป้ายบอกช่ือ เชน่ ฉลากยา
ทาด,ี ปรือจอ็ บ
ฉอด ก. เกง่
ฉอเลาะ ฉาน,ค^า
ฉบั น. ชื่อปลานา้ เคม็ ปากคม เป็นปลาทีด่ รุ า้ ย กนิ คน
ฉัน และสัตว์
ฉับ ช้า
น. ชือ่ ปีที่ ๒ ของรอบปีนักษัตร มวี วั เปน็
ฉ่า ช้าก เครอื่ งหมาย.

ฉาก ก. ควา้ จับ หรอื หยิบเอาโดยเรว็ .
ก. โกงเอาดว้ ยกิริยายักยอกหรอื ปิดบัง, บางทีพูด
ควบกับคาอนื่ วา่ ฉ้อโกง.

ว. พดู คล่อง, บางทีซา้ คาวา่ ฉอด ๆ

ว. พดู ออดออ้ นหรือแสดงกริ ิยาทานองน้ันเพื่อให้
เขาเอน็ ดู (มกั ใช้เฉพาะเด็กหรือผหู้ ญงิ )

ส. ข้าพเจา้ , ข้า, (เปน็ คาแทนชื่อผ้พู ดู )

ว. อาการท่พี ดู หรือฟันเป็นตน้ อยา่ งเร็ว เชน่ ฟนั
ฉบั พดู ฉบั ๆ

ว. เสียงออื้ องึ ; เสียงนา้ มันเดือดเมื่อเวลาทอด
ส่งิ ของ; เสยี งลกู คเู่ พลงฉ่อยหรอื เพลงลาตัด ร้องรบั
จงั หวะ

น. เครือ่ งบงั , เครอื่ งก้ัน; เครือ่ งสาหรับวัดมมุ ซ่ึงมี
มมุ ๙๐ องศา, มมุ ซงึ่ กางได้ ๙๐ องศา, การแสดง
ละครตอนหนึ่งๆ เรียก ฉากหน่ึงๆ, สถานทตี่ า่ งๆ ท่ี
จัดข้ึนบนเวทีละครตามเร่ืองราว ท่จี ะแสดง

ห น้ า | ๗๖

ภำษำกลำง ภำษำถิ่นตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย
ฉาด ช้าด,ผาง
ฉาบ ช้าบ ว. เสยี งดังเช่นนนั้ อย่างเสยี งดังเม่อื ตบหนา้ โดยแรง

ฉาว โช้ น. เครือ่ งตีประกอบจังหวะชนิดหน่งึ ทาด้วยโลหะ
ฉ่ิง ช^ิ ง รปู ร่างเป็นแผน่ กลมคลา้ ยจานแต่มปี ุม่ นนู ข้ึนตรง
กลาง เจาะรูตรงกลางป่มุ ไวร้ ้อยเชือกหรอื เสน้ หนัง
ฉวิ สาคึ^ง,สายา้ บ สาหรับถอื ตี: ก. ทา เกลือก หรือเคลอื บแต่ผิว ๆ
ฉี่ ช้ี เชน่ ฉาบปนู ฉาบกลว้ ย

ฉีก ชก้ี ว. ออื้ องึ , เอิกเกริก, เกรยี วกราว
ฉดี ช้ีด
ฉุ ชุ้,บว๋ ม น. เครื่องตกี าหนดจังหวะชนดิ หนึ่ง ทาด้วยโลหะ
ฉดุ หลาก หล่อหนา รูปร่างกลมคลา้ ยถ้วยเจาะรตู รงกลางไว้
ฉดู กอื ช้ดู ร้อยเชือกให้เป็นคู่กันสาหรับถือตีบอกจงั หวะเขา้
เฉพาะ ชือเผาะ,จาเผาะ กบั ดนตรี
เฉลี่ย แบ๊ง(ทอดเสียงยาว)
เฉลยี ง ชือเหลียง,หรอื่ เบยี ง ก. รสู้ ึกไม่พอใจขนึ้ มาทันที

เฉาะ เชา้ ะ,เจ๊าะ ก. ถ่ายปัสสาวะ. น. ปัสสาวะ. ว. เสยี งดงั เชน่ นน้ั
อย่างเสยี งของที่ทอดน้ามัน; อย่างยงิ่ เช่น เงยี บ
เฉียง เช้ยี ง ฉี่ รอ้ นฉ่ี
เฉียด เชีย้ ด
ก. ขาดแยกออกจากกันหรอื ทาให้ขาดหรือแยก
ออกจากกนั เช่น ผ้าฉกี ฉีกผ้าฉีกทเุ รียน
ก. ใช้กาลงั อัดหรือดันให้ของเหลวอย่างน้าพุ่งออก
จากชอ่ งเล็ก ๆ

ว. อ้วน หรือ บวม เปน็ อ้วนฉุ บวมฉุ

ก. ออกแรงลากหรือคร่าสง่ิ ใดสิง่ หนึ่งไป หรอื รัง้ สงิ่
ใดสิง่ หนงึ่ ขน้ึ หรอื ดึงสงิ่ ใดส่งิ หนง่ึ ไว้

ว. อาการที่พงุ่ หรือไปโดยเร็ว เช่น นา้ พุ่งฉดู เรือแลน่ ฉดู

ว. โดยเจาะจง, เพง่ ตรง, ตรงตัว; เผอญิ ; แต่; จากัด
, เท่าน้ี, เทา่ นัน้ .

ก. แบง่ สว่ นให้เทา่ กนั , แจกจา่ ยให้ทว่ั กัน. ว. ท่ีถัว
ให้มีสว่ นเสมอกัน เชน่ รายเฉลย่ี

น. ส่วนของโบสถ์ วิหาร ศาลาการเปรยี ญที่ต่อ
ออกมาโดยรอบ หรือส่วนของเรอื นทีต่ ่อออกมา
ด้านหวั และท้ายเรือน สาหรับน่งั เล่นหรอื เดนิ
ติดตอ่ กัน

ก. เอามีดสบั ลงเป็นที่ ๆ เฉพาะท่ีต้องการแล้วงดั
ใหแ้ ยกออก เช่น เฉาะตาล เฉาะฝรั่ง. น. เรียกเนื้อ
ในตาลอ่อนทีเ่ ฉาะออกมาจากเต้าตาลว่า ตาลเฉาะ

ว. ทแยง, เลยี่ ง.

ก. ผ่านไปในระยะกระช้ันชดิ , จวนถูก เชน่ เฉียด
รางวลั , เกือบ, จวนเจยี น, เชน่ เฉียดตาย

ห น้ า | ๗๗

ภำษำกลำง ภำษำถิน่ ตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย
เฉ่ยี ว เชยี้ ว
ก. กิรยิ าของนกทีโ่ ฉบลงมาคว้าอาหารไปโดยเรว็ ,
เฉอื น เฉียด,เทอ้ื อาการท่ีกระทบหรือเสยี ดสีไปโดยเร็ว เช่น รถเฉี่ยว
เฉอ่ื ย เชื^อย,ชา่ ,ม^ายกอื ด๊วน คน.
แฉก แช้ก
แฉลบ ชอื แลบ้ ก. เชือดแบ่งเอาแต่บางส่วน, หรอื หมายความว่า
แฉะ เปีย๊ กแช้ะ ชนะไปนิดเดยี ว, ชนะอยา่ งหวดุ หวิด
โฉ่ ชู(้ หมินชู้)
โฉฉ่ าว โช,้ โชห้ าย ว. ชา้ , เรือ่ ยๆ, ไม่รบี ร้อน
โฉด ฉ่วั
โฉด เปอ๊ ะ ว. ริ้ว, จัก, แยก; เรยี กพัดยศพระราชาคณะ มียอด
โฉนด ชอื โนด้ ,หนังสือดิน แหลมและรมิ เปน็ จักๆ
โฉบ โชบ้
ก. เลี่ยง, หลีก, ไมไ่ ปโดยตรง.
โฉลก ชอื โล้ก
ก. เปยี กหรือชุ่มนา้ อยู่เสมอ เชน่ ถนนแฉะ ตาแฉะ,
ฉิบ(อ.) เปียกหรือชมุ่ น้าเกินไป เช่น ข้าวแฉะ

ว. คลงุ้ , ฟ้งุ , (มักใช้แก่กลนิ่ ท่ีเนา่ เหม็นหรอื
เรอื่ งราวที่ไม่ดี) เชน่ เหม็นโฉ่

ว. อื้อองึ , เกรียวกราวข้ึน, รกู้ ันท่ัวไป, (ใช้แก่ข่าวที่
ไมด่ ีไม่งาม)

ว. ชวั่

ว. โง,่ เขลา

น. หนงั สือสาคญั ของทางราชการแสดงกรรมสิทธิ์
ทด่ี ิน

ก. โผลงมาควา้ เอาสงิ่ ของไป (ใช้แก่นก) เชน่ กา
โฉบลกู ไก่, ฉวยเอาไปอยา่ งรวดเรว็ เชน่ เดก็ โฉบ
มะม่วงนอกร้ัวไปเสยี แลว้ ; เจตนาไปทใี่ ดท่ีหน่ึง
เชน่ โฉบไปหน้าโรงเรียน

น. โชค, โอกาส; ลักษณะซึ่งมีท้งั ส่วนดีและส่วนไม่
ดี ถา้ ดเี รียกว่า ถูกโฉลกถ้าไม่ดีเรียกวา่ ไม่ถูก
โฉลก มกั กาหนดดว้ ยการดลู ักษณะ วัดขนาด นับ
จานวน เปน็ ตน้ ของคน สัตว์ สง่ิ ของ วา่ เปน็ มงคล
หรือไมเ่ ป็นมงคล

คาทกี่ ล่าวข้นึ ลอยๆจากการทราบข่าวตา่ งๆใน
ทนั ทีทนั ใดโดยอาจจากการบอกเล่าของคนอื่น

ห น้ า | ๗๘

ช ภำษำถิ่นตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย
ช็อก
ภำษำกลำง ฉือ่ ดา๋ ก. ตอ่ ยดว้ ยกาหมัด
ชก ฉื่อนวน
ชฎา น. เครอ่ื งสวมศีรษะรูปคลา้ ยมงกุฎ
ชนวน ฉื่อหนะ
ฉ่ือนั่ก น. หินเนื้อละเอยี ด มีหลายสี; ส่ิงท่ีทาใหเ้ กิดเหตุ
ชนะ ตอ่ เนื่องกนั
ชนัก ฉื่อนาง,ช่ือนาง ก. ทาใหอ้ ีกฝา่ ยหน่งึ พา่ ยแพ้.
ฉ่อื นด่ิ ,เพลง
ชนาง ฉอ่ื บา๋ น. เครื่องแทงดา้ มยาว ปลายเป็นเงยี่ งทาดว้ ยเหลก็ มเี ชือก
ชนิด ติดกบั ดา้ ม เพอื่ ให้สาวกลบั มาได;้ เครอ่ื งผูกคอช้างให้คนข่ี
ชบา ชมโผ,่ ชมุ โผ่,หยอื่ มู ใช้เทา้ คีบกนั ตก
ชายตา๋
ชมพู่ แก๊,ฉื่อรา น. เครื่องดกั ปลาและสัตว์ป่า
ชมา้ ย ฉอ่ื ราผาบ
ชรา ฉื่อโลม น. อย่าง เช่น มี ๒ ชนิด, จาพวก เช่น คนชนิดน้ี
ชราภาพ
ชโลม ฉ่วง น. ชือ่ ไม้พมุ่ ชนิดหนึ่ง ดอกมีสีตา่ ง ๆ พนั ธุ์ที่สีแดง
ฉูด ดอกและยอดใช้ ทายาได้
ช่วง ฉ่วย
ชวด น. ชื่อไมต้ ้นขนาดกลางหลายชนิด ผลกนิ ได้
ช่วย ฉื่อวา
ก. ชายหางตาดดู ้วยความสนใจ
ชวา ฉอ่
ว. แก่, อายแุ ก่
ช่อ ฉ่อง
น. ความแก่ด้วยอายุ
ชอ่ ง ช่อง ก. ลูบไล้ให้เปยี ก เชน่ ชโลมยา ชโลมนา้ มนั ยาง;
ฉอ่ น ทาให้ชุ่มชน่ื เช่น ชโลมใจ
ชอ้ ง
ชอ่ น น. ตอน, ระยะ. ว. สวา่ ง, รุ่งโรจน.์

น. ชอื่ ปที ี่ ๑ ของรอบปีนกั ษตั ร มีหนเู ปน็ เครอ่ื งหมาย.

ก. ทาให้ผอู้ นื่ สาเร็จความประสงค์, ทาใหผ้ ู้อ่ืนได้
ความสะดวก, อดุ หนุน, บารงุ

น. ชอื่ เกาะสาคญั ที่สดุ และเป็นทีต่ ั้งเมืองหลวงของ
ประเทศอินโดนีเซยี

น. ใบไม้หรอื ดอกไม้ท่แี ตกออกเปน็ พวง, เรยี กดอกของ
ตน้ ไมบ้ างชนิดเช่นมะมว่ งและสะเดาที่ออกดอกเลก็ ๆ
เป็นกลมุ่ หรือเป็นพวงวา่ ช่อมะมว่ ง ช่อสะเดา, ใบไม้
หรือดอกไม้ทผ่ี กู เป็นกลมุ่ หรอื เป็นพวง

น. ทีว่ า่ งซง่ึ เป็นทางเข้าออกได้ เชน่ ชอ่ งเขา ช่อง
หน้าตา่ ง ช่องลม; โอกาส เช่น ไม่มีช่องทจ่ี ะทาได้

น. ผมเติมสาหรับแซมผมจรงิ ให้ใหญ่หรอื สงู ขน้ึ

น. ชื่อปลานา้ จดื ชนดิ หน่ึง ลาตวั ทรงกระบอกสว่ นทา้ ย
แบนขา้ งเล็กน้อย มีเกล็ดในแนวเสน้ ข้างตัว เกลด็ ดา้ นหลัง
ลาตัวเป็นสนี า้ ตาลเทาหรือคอ่ นขา้ งดา ดา้ นข้างสีอ่อนกว่า
และมลี ายสีดาพาดเฉียงท้องสขี าว ครบี ตา่ ง ๆ มีจดุ หรอื รว้ิ
สีน้าตาลดา

ห น้ า | ๗๙

ภำษำกลำง ภำษำถน่ิ ตำกใบ (เจ๊ะเห) ควำมหมำย
ช้อน ช่อน
น. เครือ่ งใช้สาหรบั ตกั ของกนิ มที จ่ี ับย่ืนออกมา,
ชอบ ฉอบ ลักษณนาม วา่ คนั , ก. ตักเอาสง่ิ ทอ่ี ยู่ในน้าหรือใน
ของเหลว เชน่ ช้อนปลา ชอ้ นลกู นา้ ชอ้ น
ชะ ฉะ แหน ชอ้ นผง; และหมายถึงอาการท่ีคล้ายคลงึ
ชะเง้อ ฉื่อเหง้อ เช่นนัน้ เช่น ชอ้ นหุ้น; เอามือเป็นตน้ สอดลงไป
ชะโงก ฉอ่ื โหงก ขา้ งลา่ งแล้วยกขน้ึ เช่น ชอ้ นศีรษะ; เหลอื บขึ้น
ชะโด ฉอ่ื โด๊ เชน่ ชอ้ นตา
ชะนี ฉอ่ื นี
ก. พอใจ เช่น ชอบอ่านหนังสือ ชอบเทีย่ ว; ถกู ต้อง
ชะเนาะ ฉ่อื เหนาะ เชน่ คดิ ชอบ ชอบแลว้ ; เหมาะ เช่น ชอบดว้ ย
ชะพลู ฉ้องพลู กาลเทศะ; ถกู ใจ, ถูกกนั , เช่น เขาชอบกันมาก,
ชะมด ฉื่อม็อด บางทใี ชห้ มายความไปในเชงิ ว่ารักใคร่กม็ ี เชน่ หนุม่
สาวชอบกนั ; มสี ิทธิ์ เชน่ ชอบที่จะทาได้
ชะมบ ฉ่อื ม็อบ
ชะมวง ฉอ่ื มวง ก. ทาใหส้ ิง่ ที่ติดอย่หู ลดุ ไปหรือหมดไปดว้ ยน้า
ชะลอ ฉ่อื ลอ
ก. ชูคอขึ้นดู
ชะลอม ฉอื่ ลอม
ก. โผลห่ น้าออกไปดู, ยื่นหน้าออกไป

น. ปลานา้ จดื ชนิดหนึ่งมีเกล็ด ตัวกลมคลา้ ยปลา
ชอ่ นแต่มีลาย โดยมากตวั โตกวา่ ปลาชอ่ น

น. ชื่อสตั วเ์ ล้ียงลูกดว้ ยนม แขนยาวมาก ไม่มหี าง
ขนยาวนุม่ เดนิ ตวั ตง้ั ตรงได้ ห้อยโหนอยู่ตามต้นไม้
สูง ๆ รอ้ งเสียงดัง เสียงร้องแสดงถึงอาณาเขตของ
แต่ละคู่ แต่ละชนดิ มีเสยี งร้องไม่ เหมือนกัน กนิ
ผลไม้และใบไม้

น. ไม้สนั้ ๆ สาหรบั ขนั บิดเชือกที่ผูกให้แนน่ เชน่ ใน
การทาน่ังร้าน

น. ตน้ ไม้ชนิดหนงึ่ , บางทีเรยี ก ชา้ พลู

น. สตั วส์ ่ีเทา้ หน้ายาว ปากเสยี้ ม หางยาว ตัวลาย;
จากลูกอัณฑะชะมดซงึ่ เชด็ ไว้ตามซก่ี รง
เรียก ชะมดเชด็

น. ไมป้ กั เปน็ เคร่อื งหมายสาหรบั ขดุ หลุมจะปลกู เรอื น.

น. ชือ่ ไมต้ น้ ชนิดหน่ึง ใบมรี สเปรย้ี ว ใชเ้ ปน็ ผัก

ก. อาการทล่ี ากเลอ่ื นสิง่ ของที่หนกั ใหค้ ่อย ๆ
เคล่ือนไปจากที่, พยุงไว้, ประคองไว้, ค่อย ๆ
ประคองไป เชน่ โคลงชะลอพระพทุ ธไสยาสน์,
คอ่ ย ๆ พยุงขนึ้ ; ทาให้ชา้ ลง, ทาใหช้ ้าลง เพ่ือรอ
เชน่ ชะลอเวลา ชะลอการเกิด

น. เคร่อื งสานชนิดหน่ึง รปู ทรงกระบอก สานด้วย
ตอก เป็นตน้ ตาห่าง ๆ สาหรบั ใส่ส่ิงของ

ห น้ า | ๘๐

ภำษำกลำง ภำษำถิน่ ตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย
ชะลูด ฉอ่ื หลดู
ชะแลง ฉอ่ื แลง น. ตน้ ไม้ชนิดหนงึ่ เปลือกหอม ใชท้ ายาได.้
ชะอม ฉ่ืออ๋ม
ชะเอม ฉอื เอม๋ น. เคร่ืองมือชนิดหน่งึ ทาดว้ ยท่อนเหลก็ มปี ลาย
ชะโอน ฉื่อโอ๋น แบน สาหรับงัดสงิ่ ของหรอื ขุดดิน

ชกั ช่ัก น. ตน้ ไมช้ นิดหนึง่ มหี นาม ใบเลก็ ๆ คล้ายส้มปอ่ ย

ชักชวน ชวนกนั ,เหระกัน น. ไมเ้ ถาชนดิ หนึง่ มีรสหวาน ใชท้ ายา
ช่ัง ฉั่ง
ชัด ชด่ั น. ตน้ ไมช้ นดิ หนึง่ ขึน้ เปน็ กอ ลาต้นเหมือนต้นหมาก
ชน้ั ช่ัน มหี นาม ใช้ทาเสาบ้านหลังเลก็ ๆ ถ้าผ่าออกเป็นวสั ดุ
ชันนะตุ หัวช้นั ตุ๊ กอ่ สรา้ งได้ เช่น ปูพน้ื บา้ น เรยี กว่า “ฝากฉือ่ โอน”ส่วน
กาบใช้ทาภาชนะตกั น้า เรียกวา่ “ตอื หมา”
ชันสูตร ชนั หนะซู้ด
ก. ฉดุ , ลาก, เหนี่ยว, ร้งั ; ชวน, นา; หกั เอาไว้;
ชั่ว ฉว่ั อาการของคนหรอื สตั ว์ทีเ่ สน้ กระตกุ เมอื่ เวลาเจบ็
หรือจวนตาย
ชวั่ โมง ยาม
ช้า ช่า,ลาหลาบ ก. ชวน, พูดแนะนา

ช่าง ฉา่ ง,ฉั่ง น. มาตราเงนิ , ช่ือมาตราช่ัง, ก. กระทาให้รูน้ า้ หนกั
ช่างเถดิ ,ช่างเถอะ เปรว๊ มนั้ เต๊อะ โดยใช้เครอื่ งชัง่

ว. ประจักษ์แจง้ , แจม่ แจง้ , เชน่ เหน็ ชดั ปรากฏชดั ;
ไมผ่ ิดเพ้ยี น, ไม่แปร่ง, เชน่ พูดชัด

น. ทส่ี าหรบั วางของอย่างหนงึ่ มีพื้นซ้อนกนั คลา้ ยตู้
แตไ่ ม่มบี านปดิ ; ระยะท่ีซ้อนกัน; พ้ืน; ขน้ั ; ลาดบั

น. ชอื่ โรคผิวหนงั ชนดิ หน่งึ เปน็ ทศี่ ีรษะ เกดิ จาก
เช้อื ราบนผวิ หนงั ศีรษะก่อนแลว้ ลกุ ลามกินลึกลงไป
ถงึ รากผม ทาใหผ้ มรว่ ง (มักเกิดแกเ่ ด็กผชู้ าย)

ก. ตรวจสอบเพือ่ หาสาเหตหุ รือหลกั ฐานข้อเทจ็ จริง
เช่นชันสูตรบาดแผล ชนั สตู รพลิกศพ, สอบสวนโดย
เหตผุ ล

น. ระยะ เชน่ น้าลึก ๓ ชวั่ คน , ระยะเวลา, สมัย,
ครัง้ , เชน่ ชวั่ ปูย่ า่ ตายาย ช่วั พ่อช่ัวแม่. ว. เลว,
ทราม, รา้ ย, ไม่ดเี พราะจงใจฝ่าฝนื ศลี ธรรมหรือ
จารตี ประเพณเี ปน็ ตน้ เช่น คนช่วั . ตลอด, สนิ้ ,
เช่น ช่วั อายุ

น. ชว่ั ระยะเวลา 60 นาที

ว. ค่อย ๆ เคลอ่ื นไป, ไม่เรว็ , ไม่ไว, เช่น เดนิ ช้า ว่ิง
ช้า; ลา่ , ไม่ทันเวลาทก่ี าหนด, เชน่ มาชา้ . ว. หยาบ,
ช่ัว, เลว, ทราม, เชน่ ยายเคยลองแตต่ ัวช่ัวตัวชา้ .

น. ผู้หาเลย้ี งชีพด้วยการฝมี ือ, ผ้ชู านาญ

ว. ไมเ่ ปน็ ไร, ชา่ งเถอะ เชน่ คนเราเกดิ หนเดยี วตาย
หนเดียวนั้นกช็ า่ งเถดิ มนั เลือกกันไม่ได้

ห น้ า | ๘๑

ภำษำกลำง ภำษำถิน่ ตำกใบ (เจ๊ะเห) ควำมหมำย
ชา้ ง ช่าง(เสียงยาว)
น. สัตว์สีเ่ ท้า ตัวโตกว่าสตั วส์ เี่ ท้าทัง้ ปวง มงี วงและ
ชาด ฉาด งา เปน็ สตั วก์ นิ พืช; ช่ือต้นไมป้ ่าชนิดหนง่ึ ใชท้ ายา
ได้
ชาดก ชาด็อก
ชาตา,ชะตา ฉอ่ื ต๋า น. วัตถสุ แี ดงสดชนดิ หนงึ่ เป็นผงก็มี เปน็ ก้อนก็มี
ชาติ ฉาด ใช้ทายาไทยหรือประสมกบั น้ามนั สาหรบั
ประทบั ตราหรือทาสง่ิ ของ
ชาน นอ็ กชาน
ชานชาลา ชานฉือ่ ลา น. เรอ่ื งพระพุทธเจา้ ที่มีมาในชาตกิ ่อน ๆ ตามท่ี
กล่าวไวใ้ นคมั ภรี ใ์ นพระพุทธศาสนา
ชาม แหมท่ ^วย
ชา ปัก น. เวลาเกดิ ของคน หรือเวลาสรา้ งสิ่งสาคัญเช่น
ชา้ ช่า บา้ นเมืองเปน็ ต้นท่ีโหรคานวณไว้

ชานาญ ชลอ่ ง,ชา่ นาน น. การเกิด เชน่ ชาตนิ ้ี ชาติหนา้ ; กาเนิด เช่น มี
ชาระ ช่าหระ ชาตมิ ีสกลุ ; เหลา่ กอ, เทอื กเถา, เผ่าพนั ธ์ุ, เชน่ ชาติ
เสือ ชาติขข้ี า้ ; ชนิด, จาพวก, ชั้น, หมู่, ประเทศ;
ชารุด ชา่ รดุ ,เสีย ประชาชนท่ีเปน็ พลเมืองของประเทศ, กลุ่มชนทมี่ ี
ชาแรก แสก ความรสู้ กึ ในเรื่องเชื้อชาติ ศาสนา ภาษา
ชาเลอื ง ซอื เหล๊ือก ประวัตศิ าสตรค์ วามเปน็ มา ขนบธรรมเนยี ม
ประเพณี และวฒั นธรรมอย่างเดยี วกนั หรืออยู่ใน
ปกครองรฐั บาลเดยี วกนั

น. พืน้ เรอื นนอกชายคาที่เรยี กว่า นอกชาน

น. บริเวณสถานีรถไฟหรือสถานีขนสง่ ทผี่ โู้ ดยสาร
มารอขึน้ รถ(ถ้าคาว่า “ฉื่อลา” หมายถงึ ทางเดิน
แถบๆในหมู่บ้าน)

น. ชอ่ื ภาชนะสาหรบั ใส่อาหาร รูปสูง กน้ ลกึ

ก. เอาก่งิ ไม้ทีต่ ดั หรอื ตอนมาปักไวท้ ี่ดนิ แฉะๆ หรอื
แชน่ า้ ไว้ชั่วคราว

ว. น่วมระบมเพราะถูกกระทบกระแทกอย่างแรง
หรือบ่อย ๆ เช่น, มะม่วงช้า, เป็นรอยจา้ ๆ อย่าง
รอยฟกช้าดาเขียว

ก. ชาญ, รูด้ ี, คล่องแคล่ว

ก. ชะล้างใหส้ ะอาด เช่น ชาระรา่ งกาย; สะสาง,
ปรับปรงุ แก้ไขใหด้ ีขนึ้ , เชน่ ชาระ
พระไตรปฎิ ก ชาระพจนานุกรม; พจิ ารณาตดั สนิ
เช่น ชาระความ; ใชใ้ นคาว่า ชาระหนี้

ก. เสื่อมจากสภาพเดมิ จนถึงบกพร่องเสียหายหรือ
บุบสลายไป เช่น หนังสอื ชารุด เกวียนชารุด

ก. แทรก, แหวก, แทรกลงไป, เจอื ปน

ก. ชายตาดู, ดทู างหางตา

ห น้ า | ๘๒

ภำษำกลำง ภำษำถิ่นตำกใบ (เจ๊ะเห) ควำมหมำย
ชาแหละ แหล,่ แหร่,เฉียด ก. แลเ่ ปน็ แผน่ ๆ, เฉอื นเป็นชนิ้ ๆ, เชือด.
ชิง ชงึ (เสียงยาว) ก. แข่ง, แขง่ ขัน, เชน่ ชิงรางวลั ชิงทนุ , แย่ง
ชิงชัง เช่น ชิงอานาจ.
ชิงชา้ เกล๊ียด ก. เกลียดชงั , เกลยี ดมาก
ชิด เปล๋ น. ทนี่ ัง่ ผกู ด้วยเชือกเปน็ ตน้ ๒ ขา้ ง แขวนตามก่งิ ไม้
หรอื ท่ีสงู สาหรบั นัง่ หรือยนื ไกวไปมา
ชิน ชด่ิ น. ช่ือเน้อื ในลกู ไม้ชนิดหนึ่งได้จากตน้ ตาว มเี นอื้
คลา้ ยลูกจาก เรียกว่า ลูกชิด: ก. ใกลจ้ วนตดิ หรอื
ชิ้น กอื ได๋ ใกล้จนติดกนั เช่น น่งั ชดิ กัน ชิดเขา้ ไปอีกหน่อย
(คานต้ี รงกบั “บันได” ก. เคยมาแลว้ บอ่ ย ๆ, ค้นุ หรอื เจน.
ชี้ แล้วแตป่ ระโยค เช่น “เขา
ชีวิต ชินกับอากาศเมืองนี้แลว้ ” น. ก้อนหรอื แผ่นเลก็ ที่ตดั แล่ แบง่ แยก หรอื แตก
ชืด ก็จะพูดวา่ “เคา้ กือได๋ ออกจากสว่ นใหญ่ เชน่ ชนิ้ ปลาชิน้ เนอื้ ชน้ิ
ชน่ื กับอ๋ากา๊ ดเมืองหนแี่ ล่ว" กระเบ้ือง, ลกั ษณนามเรียกส่ิงท่ีเป็นก้อนเปน็ แผ่น
ชน้ื และท่ีตรงกับกับคาว่า เล็ก ๆ เช่นน้ัน เชน่ ผา้ ชิน้ หนงึ่ เนื้อ ๒ ชนิ้ .
ชน้ื “บันได” คอื ต้องขึ้น ก. เหยยี ดตรงไป,เหยียดนิ้วช้ตี รงไปทีใ่ ดทห่ี นึ่ง
ชอื่ บนั ได” กจ็ ะพูดวา่ เพอ่ื ให้เห็นสิง่ ทต่ี ้องการ; แนะนา, บอกให้
ชกุ “ต^องคื^นกือได๋”) น. ผู้เปน็ อยู่, ความเป็นอยู่; อาย.ุ ว. ซง่ึ เป็นอยู่
ชดุ ชน่ิ ว. จืด, หมดรสชาติ
ชบุ ก. แจม่ ใส เชน่ หนา้ คอ่ ยช่นื ข้ึน. ว. เบิกบาน, ยินดี,
ช่ี เชน่ ชื่นใจ
ว. เปียก, ชุ่ม, ไม่แหง้ ทีเดยี ว
ชีวิด่ ว. มีไอนา้ ซึมซาบอยู่ เชน่ อากาศช้ืน
จื๊ด,จ๊ืดแรง,จี๊ดแปรก็ น. คาท่ีต้ังขึ้นสาหรบั เรยี กคน สตั ว์ สถานที่ และ
เฉนิ่ (เฉนิ่ ใจ๋) สิง่ ของโดยท่ัว ๆ ไปหรือโดยเฉพาะเจาะจง
ว. มีบอ่ ย ๆ เชน่ ฝนชุก
ผ่ืออา,เป๊ียกน้อยๆ น. เครอ่ื งดักปลาชนิดหนงึ่ ถักดว้ ยหวายหรือ
เชิ่น เถาวลั ย์เป็นตาหา่ งๆ(ทางตากใบ ถดั ดว้ ยย่านลเิ พา)
เชอ่ ก. ทาเหล็กใหก้ ล้า(ชบุ ดว้ ยโลหะ)

ชุ่ก(ฝนชุก่ )
ชุ่ด

ชบุ่

ห น้ า | ๘๓

ภำษำกลำง ภำษำถ่ินตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย
ชมุ เห็ด ชุมแห็ด
ชุ่ย มก่ั หงาย น. ต้นไม้ชนดิ หนงึ่ ใช้ทายา
เชริด เสิด
เชลย ฉ่ือเลย ว. ชุ่ยๆ, มักง่าย, หยาบ, ลวก
เชา่ ฉา่ ว
น. เครื่องสวมศรี ษะมโนรา
เชา้ ชา่ ว น. นกั โทษ, ตัวประกนั , เหยอ่ื

เชิงกราน เชงิ กรา๋ น ก. เข้าใช้ทรัพย์สิน เช่น บ้าน ท่ีดนิ รถยนตข์ อง
ผ้อู ืน่ ช่วั คราว โดยให้ค่าเชา่ ; ซ้ือวัตถุที่ถอื วา่ ขลงั หรือ
เชงิ ตะกอน เชิงกอ๋ น ศักดิ์สิทธ์ิ เช่น เช่าพระพทุ ธรูป
เชญิ น. เวลาระหว่างรุ่งสวา่ งกบั สาย, เวลาตงั้ แต่รงุ่ สวา่ ง
- เชิญนั่ง - มาหน่ังเต๊อะ ถงึ เทยี่ ง. ว. ที่อยู่ในช่วงเวลาตง้ั แต่ร่งุ สวา่ งถงึ เทย่ี ง
- เชญิ รบั ประทาน - มากินเต๊อะ เช่น รอบเช้า ผลัดเช้า; เร็วกวา่ เวลาท่กี าหนดใน
(ในภาษาตากใบ ไม่ ระหว่างรงุ่ สวา่ งกบั สาย เชน่ มาแต่เช้า
พดู ว่า “เชิญ” เว้น
แต่...) น. เตาไฟป้ันด้วยดนิ ยกตั้งได้ มชี านสาหรบั วางฟนื ;
- เชิญจา้ วเขา้ ทรง เรียกกระดกู ตะโพกท่ีมสี ัณฐานอยา่ งเชงิ กรานว่า
เชย่ี น กระดูกเชงิ กราน.
น. ฐานทท่ี าขึ้นสาหรับเผาศพ, จิตกาธาน
เช่ียว
เช่ือ ว. ชวน, เชิญชวน, ชักชวน, เช้อื เชิญ

เชื้อ - เชิญจ่าวค^าวซง น. ภาชนะสาหรับใสห่ มากพลู เป็นของคู่กนั กับขัน
เชี^ยน นา้ ใช้สาหรับการรบั แขกสมัยกอ่ น
เชือก เฉย่ี ว(นา่ มเฉ่ยี ว)
เฉือ่ ว. แรง เชน่ แม่นา้ สายน้พี อหน้าน้านา้ จะไหลเชี่ยวมาก
เชอ่ื ง เชอ่ื
เชือด ก. เหน็ ตามด้วย, มน่ั ใจ, ไว้ใจ; ซอื้ หรือขายโดยตดิ
เฉยี ก ค้างไว้ ไมต่ อ้ งชาระเงนิ ทนั ที

เฉื่อง น. ส่ิงทเี่ ปน็ ต้นเหตุทาใหเ้ กิดสงิ่ อืน่ ๆ ทีม่ ีลักษณะ
เฉยี ด ทานองเดียวกนั เชน่ เช้อื ไฟเช้อื เหล้า; ผู้ทีส่ บื วงศ์
วานว่านเครือเผ่าพันธต์ุ ่อ ๆ กันมา เช่น มีเชอ้ื จีน มี
เชอ้ื แขก; มักใช้เขา้ คกู่ บั คา เชญิ เปน็ เชื้อเชญิ

น. สงิ่ ท่ที าดว้ ยดา้ ยหรอื ป่านปอเป็นตน้ มักฟ่ันหรือ
ตีเกลยี ว สาหรบั ผูกหรือมดั ; ลักษณนามเรยี กช้าง
บา้ น เชน่ ช้างเชอื กหน่งึ ช้าง ๒ เชือก

ว. ไมเ่ ปรยี ว, ท่คี ุน้ กบั คน, (ใชแ้ กส่ ตั ว์)

ก. ใชข้ องมีคมเช่นมดี โกนตดั ใหล้ ึกเขา้ ไปในเนื้อ
เช่น เชือดคอ

ห น้ า | ๘๔

ภำษำกลำง ภำษำถิ่นตำกใบ (เจ๊ะเห) ควำมหมำย
เชื่อม เฉื่อม
ว. เรียกน้าหวานทเี่ อาน้าตาลเคีย่ วให้ใสเพ่ือใช้
แช่ แฉ่ ประสมหรือเค่ียวกบั ส่ิงอืน่ ว่า น้าเชอ่ื ม; ใชป้ ระกอบ
คา หวาน หมายความ ว่า หวานมาก เชน่ ตาหวาน
แชง่ แฉ่ง เช่ือม: ก. ทาใหต้ ดิ เป็นเนื้อเดียวกนั เช่น เชอื่ ม
โชค โฉก เหลก็ , ทาใหป้ ระสานกัน เชน่ เชือ่ มสมั พนั ธไมตรี.

โชน โพลง(ไฟลุก่ โพลง) ก. จ้มุ หรือใส่ลงไปในน้าหรือของเหลวอยา่ งอ่ืนชัว่
ใช่ ฉ่าย,ฉา่ ยแล้ะ,มั้นแล้ะ ระยะเวลาหนึง่ เชน่ แช่น้า แชข่ ้าวแชแ่ ปง้ , และ
ใช้ ช่าย หมายถงึ อาการที่ชกั ชา้ อยู่กบั ที่เกนิ สมควรโดยไม่
ใชห้ น้ี ชังเน^ จาเป็น เช่น ไปน่งั แชอ่ ยไู่ ด้
ไช ไช
ก. ด่า, สาป, พดู ขอร้องเพื่อให้เขาได้รบั ผลรา้ ย

น. สงิ่ ท่นี าผลมาให้โดยคาดหมายไดย้ าก เชน่ โชค
ดี โชครา้ ย, มกั นยิ มใช้ในทางดี เชน่ นายแดงเป็น
คนมโี ชค

ว. อาการท่ีไหม้ท่ัวเตม็ ท่ี เชน่ ไฟลกุ โชน

ว. คารับรองแสดงวา่ เป็นเชน่ นนั้ , เปน็ อย่างน้ัน,
ถูก, แน่

ก. บังคบั ใหท้ า เชน่ ใชง้ าน; จับจา่ ย เชน่ ใชเ้ งนิ

ว. ชาระ เชน่ ใชห้ นี้

ว. ทาใหท้ ะลเุ ป็นรูกลม

ห น้ า | ๘๕

ซ ภำษำถิน่ ตำกใบ (เจ๊ะเห) ควำมหมำย
ภำษำกลำง หูด(หูดน่ามแก๋ง) ก. อาการท่ีกินนา้ แกงทีละน้อย ๆ มักมีเสยี งดงั ซู้ด
รา่ ย
ซด ก. อาการที่อยู่ไม่สุขจบั โนน่ ฉวยนี่หรอื เลน่ ไมเ่ ป็น
ซน ซอ็ น(ซ็อนตนี ) เรื่องเปน็ ราวทาใหเ้ ดอื ดร้อนเสยี หาย
ซอ่ น(เสียงสัน้ )
ซน่ น. สน้ , สว่ นท้ายของเท้า
ซน้ ซอ็ บ
เขราะ,เขราะร่าย ก. อาการท่ีข้อมอื ขอ้ เท้า ถกู กระแทกโดยแรงทาให้
ซบ สอก เคลือ่ นเลยที่เดิมเข้าไป
ซวย ชอง(ชองเริน)
ซอก ส่อง ก. เอาหนา้ ฟุบแนบลงไป
ซอง
ซอ่ ง สอ่ น,ลก่ั ส่อน,แรน่ ว. เคราะห์รา้ ย, อาภัพ
แลน็ โหลกแรน่
ซ่อน น. ช่องทางทแ่ี คบ ๆ เชน่ ซอกเขา ซอกหู ซอกคอ.
ซอ่ นหา ซอ่ น
ซ^อม,แต็ง น. ซอกหรอื ช่องแคบ เชน่ ชอ่ งแคบๆ ภายในบา้ น
ซอ้ น ซอ่ ม
ซอ่ ม น. ทป่ี ระชุมลับ, หมู่ลับ, ท่ีชมุ นมุ เกล้ยี กล่อมผูค้ นที่
ซอ้ ม ซก่ั หลบหนไี ปอย่ตู ามปา่ ดงใหม้ ารวมอยูเ่ ป็นพวกเดยี วกัน
ซด่ั
ซกั ก. บงั ตัว, แอบแฝง, เรน้ ไม่ใหเ้ หน็ ตวั
ซดั ซบ่ั
น. การเลน่ ของเด็ก มีคนหน่งึ อยู่โยง ปิดตาเสยี
ซบั ซมั แลว้ คนอ่นื ไปซ่อนเมือ่ ซ่อนตัวเรยี บรอ้ ยแลว้ กเ็ ปล่ง
เสยี งใหค้ นอยู่โยงเปดิ ตาไปหาจับตามเสียง จับใคร
ซว้ั ฉว๊ั ะ ได้ก่อน คนน้นั ถูกอยโู่ ยงต่อไป
ซาก สาก
ซา้ ย ซา่ ย ก. วางทับกัน เชน่ เอาจานซอ้ นกัน เอาหนงั สือซ้อนสมดุ

ก. ทาส่งิ ท่ชี ารุดใหค้ ืนดี

ก. ตา เช่น ซอ้ มขา้ ว; ทาซา้ , ทาใหช้ านาญ, ฝึก หัด
ทาใหด้ ี; รมุ กันชกต่อยทุบตี

ก. ฟอก, ทาให้สะอาด; ไต่ถาม, ไลเ่ ลยี ง
น. ลูกไม้ชนิดหนง่ึ สาหรับยอ้ มผา้ ให้มกี ล่ินหอม เรยี กว่า
ลูกซัด. ก. สาดไป, โปรยฟุ้งไป, ขวา้ งไป, อา้ งถงึ

ก. เอาของเชน่ ผ้าหรือกระดาษทาบลงทีน่ ้าเพ่ือดดู
ใหน้ า้ แห้ง, เรียกกระดาษท่ีใช้ซับหมึกใหแ้ ห้งวา่
กระดาษซบั ; ซมึ , กาซาบ, เชน่ ทีน่ า้ ซบั

(ภาษาตากใบ หมายถึง หินใต้นา้ (แกง่ ,หนิ โสโครก)
ท่ีเปน็ อันตรายต่อการเดนิ เรอื )

ว. เสยี งที่รอ้ งไลน่ กหรือไล่ไก่

น. รา่ งคนหรอื สตั วท์ ่ตี ายแลว้

ว. ตรงขา้ มกับ ขวา, ถา้ หนั หน้าไปทางทศิ ตะวันออก ด้าน
ทศิ เหนอื เรียกว่า ดา้ นซา้ ยมือ ดา้ นทิศใต้ เรียกวา่ ด้าน
ขวามอื , ถา้ หันหลังไปทางตน้ น้าหรอื ยอดนา้ ดา้ นซา้ ยมือ
เรยี กวา่ ฝั่งซ้าย ด้านขวามือ เรยี กวา่ ฝง่ั ขวา

ห น้ า | ๘๖

ภำษำกลำง ภำษำถ่นิ ตำกใบ (เจ๊ะเห) ควำมหมำย
ซาว คื่อยาว หรือ ซาว
- ชาว ก. คลุกเคลา้ , ลา้ งนา้
ซา้ - คลกุ ขา้ ว
ซิ,ซิ่ เช่น ชาวขา่ วฮ^ายแมว
ซกิ - ซาว เช่น คลุกขา้ วให้แมว
ซกิ - ล้างน้า
ซน่ิ เช่น นา่ มล่างกอื สาน
ซา่ เช่น น้าซาวขา้ ว
ซ่ี ว. มีหรอื ทาอย่างเดียวกนั อีกครั้งหน่ึงหรือหลาย ๆ
แส,แส่ คร้ัง เช่น พดู ซ้า ตีซ้า
ซกี ซก่ิ
พร่กึ (เง้ือพร่ึกๆ) ว. เปน็ คาช่วยกริยาบอกความบงั คับ เช่น ไปซิมาซิ
ซดี พ^าซ^ิ น
ซอ้ื น. ช่ือชาวอินเดียพวกหน่ึงทนี่ ับถอื ศาสนาซกิ ข์
ซกุ ซ^ี
ซงุ ว. อาการทเ่ี หงอื่ กาลังไหลซึมออกมาตามตัว
ซุบซบิ เสก น. ผา้ ถงุ เป็นผา้ นุ่งของสตรี
ซมุ่ ซา่ ม (ผหู้ ญิงตากใบไมน่ ิยมนงุ่ ซนิ่ ส่วนมากนุ่งผ้าพ้ืนเมอื ง
สดี หรือผา้ ปาเตะ๊ )
ซมุ้
ซยุ เซ่อ น. คาเรยี กของเลก็ ๆ ยาว ๆ ท่ีเรยี งกนั เป็นแถว
ซดู ซาด ลักซ่อน เป็นแนวอย่างฟันหรือลกู กรง, ลกั ษณนามเรยี กของ
ซบู เช่นนน้ั เชน่ ฟันซ่ีหน่งึ ฟนั ๒ ซ่ี
มา่ ยถอ่ ย
กอื ซิบ่ ,ซซู้ ้ี น. สว่ นท่ผี า่ ครงึ่ , สว่ นของสง่ิ บางอย่างเชน่ ไมไ้ ผ่
ล่อกลัก่ หรือแตงโมทผ่ี ่าออกโดยปรกติตามยาว, โดยปริยาย
หมายความว่า ดา้ น, สว่ น, เชน่ ร่างกายตายไปซีก
ซมุ่ หนงึ่ ปลาทซู กี นี้; ลักษณนามเรยี กส่วนที่แยกออก
น้นั เช่น มะมว่ งซกี หนง่ึ
ซูย,พรูย
ว. ไม่สดใสเพราะสีจางไป เชน่ รปู นี้สซี ีด หนา้ ซดี ,
ซด๊ี ซา๊ ด ขาวอยา่ งไมม่ นี ้านวล เรยี กวา่ ขาวซีด
สูบ
ก. เอาเงนิ ตราแลกกับสงิ่ ของ

ก. แอบ, แทรก, ซอ่ นในที่ลบั ทกี่ าบัง, เอาของไป
แอบแฝงไว้

น. ตน้ ไม้ขนาดใหญท่ ตี่ ดั เปน็ ท่อน ๆ ก่อนแปรรปู .

ก. พดู กนั เบา ๆ ไมต่ ้องการให้คนอืน่ ไดย้ ิน

ว. กริ ยิ าท่กี ระทาไปโดยไม่ใช้ความระมัดระวงั
หรอื ไม่ถูกกาลเทศะ เชน่ เดินซมุ่ ซ่ามชนส่ิงของจน
เสียหาย ซุ่มซา่ มเข้าไปในสถานทท่ี ไ่ี มค่ วรจะเข้าไป

น. พุ่มไม้; ทอ่ี ย่หู รือที่พกั , รูปท่ีทาคลา้ ยกระโจม
เช่น ซุ้มประตู ซุ้มหนา้ ตา่ ง เป็นตน้
ว. ร่วนในลักษณะอย่างดินที่ยุ่ยไม่เกาะกันแนน่
เหนียว เรยี กวา่ ดินซุย

ว. เสยี งเชน่ เสยี งคนสูดปากเมอ่ื เวลากินของเผด็

ว. ผอมลง, ซีดไป, เซียวไป

ห น้ า | ๘๗

ภำษำกลำง ภำษำถ่ินตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย
เซ็ง จ๊ีด,เบื๊อ,ปร๊า
ว. ชดื , จดื ชืด, หมดรส, (ใช้เรียกสิ่งท่ีควรจะบริโภค
เซน็ ชือ่ ลงเฉอ่ หรือจดั ทาในเวลาหนึง่ แต่ทง้ิ ไว้นานเกนิ ควร), หมด
เซ่น แซน็ ความต่ืนเตน้
เซอ่ ,เซอะ เป๊อะ
เซ้าซี้ ก๋วน,ก๋วนใจ๋ ก. ลงนาม,ลงชอ่ื
เซาะ เสาะ
ก. เอาอาหารเปน็ ต้นไปไหวห้ รือสังเวยผีหรอื เจ้า
เซ่ือง เสือ่ ง เชน่ เซ่นผี เซน่ เจ้า
แซะ แสะ,ควั่ก ว. เซอ่ มาก
โซ่ โซ^
โซดา น่ามโซ้ดา๋ ก. พูดรบเร้ารา่ ไรเพ่ือใหไ้ ด้ตามท่ตี ้องการ

ไซ้ ช่าย ก. ทาให้กร่อนหรอื ร่อยหรอเข้าไปทลี ะน้อย เช่น
น้าเซาะตลง่ิ เซาะรูให้กว้าง. น. ซอกเขาเล็ก ๆ
ทนี่ า้ เซาะให้เป็นทางลงมา

ว. เง่อื งหงอย, ซมึ , มกั ใชเ้ ข้าคู่กบั คา ซึม เปน็ ซึม
เซอื่ ง หรือ เซื่องซึม

ก. เอาเครื่องมือเชน่ มดี หรือเสยี มแทงดิน หรือของ
อ่นื ชอ้ นขน้ึ ให้หลดุ จากทเ่ี ดิมออกเปน็ แผ่นๆ.

น. เหล็กทเ่ี ก่ียวกันเป็นข้อๆ เปน็ สายยาวสาหรบั ใช้
ตา่ งเชอื ก

น. น้าท่ีเจอื ดว้ ยโซเดยี มไฮโดรเจนคารบ์ อเนต, น้าที่
มีแกส๊ คาร์บอนไดออกไซดล์ ะลายและอดั ไว้ในขวด
เรยี กวา่ น้าโซดา.

ก. เข่ีย, คยุ้ , กิรยิ าทน่ี กหรอื เป็ดเอาปากยา้ ๆ ขน
หรอื หาอาหารกนิ .

ห น้ า | ๘๘

ฌ ภำษำถ่นิ ตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย

ภำษำกลำง เผาส็อบ น. การเผาศพ
ฌาปนกจิ
ฌาปนสถาน เถ่เผาส็อบ น. ที่เผาศพ, บรเิ วณท่ีตั้งเมรเุ ผาศพ รวมทงั้ ท่ตี ง้ั

สานกั งานจัดการเผาศพ ซ่ึงอย่ใู นบริเวณนั้นด้วย

ห น้ า | ๘๙

ญ ภำษำถนิ่ ตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย

ภำษำกลำง หยาด,ผนี่ ่อง น. ผรู้ ว่ มสายโลหิตกนั ทางบิดาหรอื มารดา
ญาติ
ญตั ติ ซ้วดญตั่ น. คาประกาศใหส้ งฆ์ทราบเพ่ือทากิจของสงฆ์

รว่ มกัน

ห น้ า | ๙๐

ฎ ภำษำถนิ่ ตำกใบ (เจ๊ะเห) ควำมหมำย

ภำษำกลำง ดอ๋ ฉื่อด๋า

ฎีกา ดกี่ ๋า น. หมายเหตุ, คาอธบิ ายคายาก; หนังสอื เขียน

อาราธนานิมนต์พระสงฆ์; ใบบอกบญุ เร่ียไร; ใบแจง้

การขอเบกิ เงนิ จากกองคลัง; คารอ้ งทกุ ข์ที่

ประชาชนทลู เกลา้ ฯ ถวายต่อองค์พระมหากษัตริย์;

คาร้องทุกขห์ รือคาคดั ค้านท่ีย่ืนตอ่ ศาลสงู สุด; ช่อื

ศาลสาหรบั ตัดสนิ ความชั้นสงู สุด ช่อื วา่ ศาลฎกี า;

ช่อื คมั ภีรห์ นงั สอื ทีส่ าหรบั แก้หรืออธบิ ายคัมภรี ์

อรรถกถา; ชอ่ื คัมภีร์ ในพระพุทธศาสนา จารึกคา

สอนในพระพุทธ-ศาสนา

ฏ ภำษำถิ่นตำกใบ (เจ๊ะเห) ห น้ า | ๙๑
ต๋อปอื ตกั
ภำษำกลำง ควำมหมำย

(หมายเหตุ ไม่มใี ช้
เปน็ คานาหนา้ )

ห น้ า | ๙๒

ฐ ภำษำถนิ่ ตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย
ภำษำกลำง ฐาหนะ
น. ตาแหนง่ หนา้ ท่ี; หลกั ฐาน, ลาดบั ความเป็นอยู่
ฐานะ ฐานา ในสังคม เช่น ทุกคนยอมรับรู้ฐานะในสังคมของ
เขา.
ฐานานกุ รม
น. ตาแหน่งพระภิกษุท่ีได้รบั แตง่ ตงั้ จากพระผมู้ ี
สมณศกั ดติ์ ามพระราชประเพณี พระมหากษตั รยิ ์
ได้ทรงพระกรณุ าโปรด เกลา้ ฯ พระราชทานสมณ
ศกั ดแ์ิ ก่พระมหาเถระ เพื่อให้ท่านได้เปน็ กาลัง
บรหิ ารพระศาสนา คร้นั พระราชทานสมณศักดแ์ิ ก่
พระเถระรปู ใด กโ็ ปรดเกลา้ ฯพระราชทานสทิ ธิ
พิเศษให้ท่านผู้น้นั ไปตง้ั พระรูปอื่นขน้ึ เพือ่ ใหช้ ่วย
กิจพระศาสนาพระที่ไดร้ ับต้ังจากพระสมณศกั ด์ิ
อยา่ งน้เี รียกว่า พระฐานานุกรม, พระฐานานกุ รม
ของพระราชาคณะชั้นสงู มนี ามข้ึนตน้ วา่ พระครู
เชน่ พระครูปลัด พระครูสมุห์ พระครูใบฎีกา, แต่
ถ้าเปน็ ฐานานุกรมของพระราชาคณะชั้นต่า
เรยี กวา่ พระปลัด พระสมหุ ์ พระใบฎีกา เท่านน้ั

ฑ ภำษำถ่ินตำกใบ (เจ๊ะเห) ห น้ า | ๙๓

ภำษำกลำง ควำมหมำย

(ออกเสียงเปน็ ทอ
เหมอื นกัน)
(หมายเหตุ ไม่มีใช้
เป็นคานาหนา้ )

ห น้ า | ๙๔

ฒ ภำษำถ่ินตำกใบ (เจ๊ะเห) ควำมหมำย

ภำษำกลำง ถ่อ

เฒา่ คนแก๊ น. คนแก่, คนมอี ายุมาก. ว. แก่, มอี ายมุ าก

ห น้ า | ๙๕

ณ ภำษำถิ่นตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย

ภำษำกลำง หนะรง ก. ต่อสูช้ งิ ชัย, น. การรบ, การต่อสู้.
ณรงค์

ห น้ า | ๙๖

ด ภำษำถนิ่ ตำกใบ (เจ๊ะเห) ควำมหมำย
ภำษำกลำง ดอ๋
ดอ็ ก ว. มาก, มากกวา่ ปรกติ, (มกั ใชแ้ กส่ งิ่ ที่เกดิ มขี ึน้ ตาม
ด ธรรมชาต)ิ เชน่ ตน้ ไม้ออกดอกออกผลมากกว่า
ดก ด๋ง(ปา๊ ,ป๊าดง) ปรกติ เรยี กว่า ดอกดก ผลดก, ไก่ท่ีไขม่ ากกวา่
ยง ปรกติเรียกวา่ ไข่ดก, หญิงทม่ี ีลกู ถ่แี ละมากกวา่
ดง ปรกติ เรียกวา่ ลูกดก, คนทม่ี ีผมมากกว่าปรกติ
ดง ดอ็ น เรยี กว่า ผมดก
ด๋วง น. ปา่ ท่มี ีต้นไม้ใหญ่ขึน้ หนาแนน่ เชน่ ขึ้นเป็น
ดน้ ด^วง ก. เอาหม้อขา้ วทเ่ี ช็ดน้าขา้ วแล้วข้ึนตง้ั ไฟออ่ น ๆ
ดวง ด๊วน,กือด๊วน เพื่อให้ระอ(ุ ทางตากใบ เขาหุงขา้ วไม่เช็ดน้า เมอ่ื หมอ้
ด้วง ด^วน เดือด จะนาฟนื ทีก่ อ่ ไฟออกบา้ งสว่ น เปดิ ฝา แล้วใชไ้ ม้
ด่วน ด^วย,ดา๋ ฟายเลก็ ๆ ซึง่ เรียกวา่ “มา่ ยสือ่ แด็ด” ลงไปคนใหท้ ่วั
ดว้ น ทาเช่นนี้ เรยี กว่า “ยง” แล้วปดิ ฝา ก็จะสกุ เอง)
ดว้ ย ด๊อก ก. สอยผา้ ,ห้าวหาญ
ดอ๊ กบัว น. รอยกลม, รูปกลม; แบบที่วางชะตาของคนหรือ
ดอก ดอกบะเละ่ บา้ นเมือง; คาเรยี กส่ิงท่ีมีรูปกลมๆ เชน่ ดวงตรา
ดอกบัว ดอ๊ กเบยี น. ตวั หนอนทกี่ นิ เน้ือตน้ มะพรา้ ว
ดอกมะลิ ว. รีบเร่ง, รวดเร็ว
ดอกเบ้ีย ดอ๊ กม่าย ก. กดุ , ขาด, ส้ันเข้า. ว. เรียกส่งิ ทม่ี รี ูปยาว ๆ ที่
ตอนปลายขาดหายไป เชน่ แขนดว้ นขาด้วน
ดอกไม้ ว. คาแสดงกริยารวมหรอื เพมิ่ เชน่ สวยด้วยดีด้วย,
แสดงกริยาร่วมกนั หรือในทานองเดียวกันเช่น กนิ
ด้วย, แสดงความขอร้อง เช่น ช่วยด้วย บอกดว้ ย.
บ. คานาหนา้ นามเพ่ือให้รู้วา่ นามนน้ั เป็นเคร่ืองใช้
หรอื เป็นส่งิ ท่ีใชเ้ ป็นเคร่อื งกระทา เชน่ ฟันด้วยมีด
น. ส่วนหนึ่งของต้นไม้ที่ผลิออกจากก้านเพื่อ
สืบพนั ธุ์; ลายรปู กลมๆ ตามผืนผ้า เป็นต้น.
น. บวั เชน่ คนไทยนยิ มใช้ดอกบวั มาบูชาพระ
น. ดอกไมช้ นดิ หนงึ่ ดอกมีสขี าว กลิ่นหอม
น. ดอกของเบ้ยี หรอื เงิน หมายความวา่ เงินคา่ ปว่ ย
การซง่ึ ผูก้ ู้เงนิ หรือผู้เอาของจานาจะตอ้ งให้แก่
เจา้ ของเงนิ
น. บษุ บา, บปุ ผชาติ, มาลี, มาลยั , บปุ ผา, ผกา เชน่
ดอกไม้ในกระถางน้ีออกดอกทกุ ๆ อาทติ ย์

ห น้ า | ๙๗

ภำษำกลำง ภำษำถ่ินตำกใบ (เจ๊ะเห) ควำมหมำย
ดอกหมาก ด๊อกม้าก
น. ช่อื เกล้ือนชนิดหน่ึง ขน้ึ ตามตัวตามหลงั เปน็ ผนื่ ขาว ๆ;
ดอง ฮม้ ด๋อง จั่นหมากทบ่ี านแลว้ ; ขนสร้อยคอไกห่ รือตามตวั ไก่ทเี่ ป็นจดุ
ดอง ดอ๋ ง,ซอ็ ก ขาว ๆ: ชอ่ื ปลาทะเลและนา้ กร่อยขนาดเลก็

ดอง ดอ๋ ง น. วธิ ีหม่ ผ้าของภิกษุสามเณรอยา่ งหนึง่ โดยปิดบ่า
ซา้ ย เปิดบ่าขวา เรียกวา่ ห่มดอง.
ดอด หยอ่ ง ก. แชห่ รอื หมกั ผกั ผลไม้ และสง่ิ ตา่ ง ๆ ไว้ในน้าสม้
นา้ เกลือ เปน็ ตน้ เพ่อื เก็บรักษาไวใ้ ห้อยู่ไดน้ าน ๆ
ดอน ด๋อน เชน่ ดองผัก ดองผลไม้
ดอ้ ม ดอ๋ ม
ดอย เขา น. การแต่งงาน เชน่ กินดอง = กินเลยี้ งในพิธีแต่งงาน
ดงั ดง๊ั เกยี่ วดอง = เกยี่ วข้องกนั โดยการแตง่ งาน. ว. เน่อื งกัน
ดงั น้นั ขา่ พันหนั่น ในทางเขยหรอื สะใภ้ เชน่ เก่ียวดอง เป็นดองกนั .
ดงั น้ี พนั หน่ี
ดง้ั ด^ั ง ก. อาการที่ไปมาหรือทาอยา่ งใดอย่างหน่งึ โดยอกี
ดัง้ เดมิ ด^ั งเดิม,ต่ังแหรก,แตแห ฝา่ ยหนง่ึ ไมร่ หู้ รอื โดยไม่ให้อีกฝ่ายหน่ึงรู้ เช่น ดอด
- คนดั้งเดมิ รกน^ู มา ดอดเอาไป ดอดไปหา
ดนั - คนต่งั แหรก น. ท่สี ูงซึ่งมีลกั ษณะตรงขา้ มกับทล่ี ุม่ , ทเ่ี ขิน, ทีห่ ่าง
ซือหรง น้า, เนนิ , โคก, โขด, เขนิ
ดดั แปลง ก. อาการเดนิ ทม่ี ีลกั ษณะก้ม ๆ เงย ๆ
ดัดแปล๋ง,แก^ ก. ภเู ขา
ดันทรุ งั ว. บงั เกิดเสียงข้นึ หรอื ทาให้เสียงบงั เกิดขึ้นอย่าง
ดันโด๊ะ แรง เชน่ กลองดงั พูดดงั เสียงดัง.
ว. เชน่ น้นั
ว. เช่นนี้

น. สันจมูก,เรยี กเสาท่ตี ้ังบนขือ่ สาหรบั รบั อกไกว่ า่ ดง้ั แขวน

ว. เก่ากอ่ น, เก่าแก่, เดมิ ที

ก. ผลกั เพอ่ื ให้เคลือ่ นไปดว้ ยกาลงั เชน่ ดันประตู;
หมายถึงขืนทา เชน่ กางเกงคับยงั ดนั สวมเข้าไปได้,
ทาในสิ่งที่ไมน่ ่าจะทา เช่น ดนั ขึ้นไปอยูบ่ นยอดไม้

ก. แกไ้ ขเปลีย่ นแปลงใหเ้ หมาะสม, เปลย่ี นจากรูปเดมิ โดย
แกไ้ ขเปลย่ี นแปลงบ้างเลก็ น้อย, เปลย่ี นแปลงต่อเตมิ เพิ่ม
ลด หรือขยายซง่ึ ลักษณะขอบเขต แบบ รปู ทรง สัดส่วนนา้
หนกั เนื้อที่ ของโครงสร้างของอาคารหรอื ส่วนตา่ ง ๆ ของ
อาคาร ซง่ึ ไดก้ อ่ สรา้ งไวแ้ ลว้ ให้ผดิ ไปจากเดมิ และมิใชก่ าร
ซอ่ มแซมหรอื การดดั แปลงทีก่ าหนดในกฎกระทรวง; ทาซ้า
โดยเปล่ียนรปู ใหม่ ปรบั ปรุงแกไ้ ข เพ่มิ เตมิ หรอื จาลองงาน
ต้นฉบับในสว่ นอนั เป็นสาระสาคญั โดยไมม่ ลี ักษณะเป็น
การจดั ทางานขึ้นใหม่ ทงั้ น้ี ไม่ว่าทง้ั หมดหรือบางสว่ น

ว. ดื้อดึงไม่ยอมแพ้, ดื้อดึงไม่เข้าเรอื่ ง, ดนั ก็วา่

ห น้ า | ๙๘

ภำษำกลำง ภำษำถ่นิ ตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย
ดา่ แฉ่ง ก. ใชถ้ ้อยคาวา่ คนอ่นื ดว้ ยคาหยาบ
ดาก ดา๊ ก น. ปลายลาไสใ้ หญ่ทท่ี วารหนัก; ไมส้ าหรับอดุ ก้น
- เม็ดขนนุ - ดา๊ กขนุน ตะบนั หรอื ส่ิงอ่ืนที่มรี ปู รา่ งอย่างนั้น เช่น ดาก
- ไม้สาหรบั อุดก้น - ด๊ากยอน ตะบนั ดากพลุ, ไม้ลม่ิ ท่ีตอกข้ัวลกู ขนุนท่ีตัดมาแลว้
ตะบันหมาก เชื่อว่าทาใหส้ กุ เร็วข้ึน
ดา่ ง ดา๊ ง น. นา้ ขเ้ี ถา้ ท่ีเกรอะหรือแช่ไว้ มีรสกรอ่ ย ๆ สาหรับทา
ยาและกดั สง่ิ ของ; สารประกอบจาพวกไฮดรอกไซด์
ดาดฟ้า ดา๊ ดฟ่า ของโลหะแอลคาไล ซงึ่ ละลายนา้ ได้ดี มีรสฝาด ถูกมือ
ดาน ดา๋ น(ดนิ ด๋าน) ลนื่ คลา้ ยสบู:่ ว. เปน็ ดวงหรือเป็นจุดขาว ๆ ผิดกับสีพนื้
เช่น มอื ดา่ ง, มสี จี างกวา่ สีเดิมเปน็ แหง่ ๆ เช่น ผา้ ด่าง
ดา่ น ดา๊ น น. พืน้ ที่ดาดอยบู่ นฟ้า คือ พืน้ สว่ นบนของเรอื และตกึ

ดา้ น ด^าน(น^าดาน) ว. แขง็ , แนน่ , เรียกดนิ ทจ่ี ับตัวแขง็ เป็นชนั้ โดยมากเปน็
ดา้ น ด^าน,ค^าง,น^า ประเภทดนิ เหนยี วเนือ้ แน่นที่น้าไหลผ่านไมไ่ ด้ เกาะตวั แข็ง
- ดา้ นนอก - ด^านหนอก อยใู่ ต้ผวิ ดิน วา่ ดินดาน
- ดา้ นใน - ด^านใน น. ทางผ่าน เชน่ ด่านชา้ ง, ทางผา่ นพรมแดนระหวา่ ง
- ข้างนอก - ค^างหนอก ประเทศ เช่น ดา่ นเจดียส์ ามองค์ดา่ นสงิ ขร; ทสี่ าหรับกัก
- ข้างใน - ค^างใน ตรวจ คอยระวังเหตุ และปอ้ งกนั ชอ่ งทางที่จะผา่ นเข้าออก
ดาบ ดา๊ บ เชน่ ด่านตรวจคนเข้าเมือง ด่านศลุ กากร ดา่ นกกั สตั ว์
ดา้ ม ด^าม
น. ไม่อาย เชน่ หน้าดา้ น
ดาย ด๋าย,เสีย น. ข้าง, ทาง, ส่วน, เชน่ ดา้ นนอก ด้านใน.
- ดา๋ ยย^า - ดายหญ้า
น. มดี ยาว
น. ส่วนของสิ่งใดสิ่งหน่งึ ทใ่ี ช้ถือใชจ้ ับ เช่น ดา้ ม
มีด ดา้ มขวาน, ลกั ษณนามเรียกของบางอยา่ งท่ีมี
ลกั ษณะเช่นนน้ั ว่า ดา้ ม เช่น ปากกาด้ามหนึง่

ก. ถาก, ถาง, ตดั , ทาให้เตยี น
(การดายหญา้ นอกจากใช้จอบแลว้ ทางตากใบ โดยเฉพาะ
ในวดั มีเครอ่ื งมือดายหญ้าอีกชนิดหน่งึ เรียกวา่ “วี”
ลักษณะเปน็ ไมก้ ลมขนาดเส้นผ่าศนู ย์กลาง ประมาณ ๑
นวิ้ ยาวประมาณ ๒ เมตร จานวน ๒ ทอ่ น ตอกตะปู ๑ ตวั
ใหต้ ดิ กัน โดยใหเ้ ลยกึ่งกลางไปทางโคนไมเ้ ล็กนอ้ ย เอา
แผ่นเหล็กบางๆ กว้างประมาณ ๔๐ เซนตเิ มตร มว้ นปลาย
เหลก็ ทัง้ สองให้กลม ขนาดพอดีทีจ่ ะสวมโคนไมไ้ ด้ เม่อื สวม
แล้วด้านโคนไมจ้ ะถ่างออกประมาณ ๓๐ เซนตเิ มตร ด้าน
ปลายไมก้ ว้างกวา่ คนสามารถเข้าไปยนื และใช้มือทั้งสอง
จับปลายไม้ แล้วดนุ ไปในทีม่ ีหญ้า หญ้าจะถูกดายออก
ปจั จบุ ันหาดไู มไ่ ด้แล้ว)

ห น้ า | ๙๙

ภำษำกลำง ภำษำถน่ิ ตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย
ดา้ ย ด^าย น. เสน้ ดา้ ย
ดาล ดา๋ ล(หลัน่ ด๋าล) น. กลอนประตูที่ทาดว้ ยไมส้ าหรับขดั บานประตู
ดาว ดา๋ ว อยา่ งประตโู บสถ์
น. โลกอ่ืนๆ ท่เี ห็นเปน็ ดวงๆ มีแสงสวา่ งบนอากาศ
ดาวดงึ ส์ ดา๋ วว่าดงึ ในเวลากลางคนื , ชื่อเสอื ชนดิ หนง่ึ ขนาดเลก็ กวา่
เสือโครง่ ตวั มสี ีน้าตาล มจี ุดดาทัว่ ตัว เรียกวา่ เสือ
ดา ดา ดาว, การผ่อน เช่น ดาวรถ
- ดานา - ดานา น. ชื่อสวรรค์ชน้ั ที่ ๒ แหง่ สวรรค์ ๖ ช้นั ได้แก่ จาตุ
- ดาน้า - ดานา่ ม มหาราชหรือจาตมุ หาราชิกหรือจาตมุ หาราชิ
- สีดา - สดี า กา ดาวดงึ ส์ ยามา ดสุ ิต นมิ มานรดี และปรนมิ มิตว
ดง่ิ โหลนดึง๊ สวตั ดี มีพระอนิ ทร์เปน็ ผ้คู รอง.
ดนิ ดนิ ก. ดานา, ปลูกขา้ ว, ดาน้า, มดุ นา้ ว. สีดา, มดื ,
ดินประสิว ดนิ ซิว้ คล้า
ดนิ ระเบดิ ดนิ หรอ่ื เบ๊ิด
ดินสอ ดนิ สอ น. ลกู ตุม้ สาหรบั หาสว่ นตรงและสาหรับหยงั่ วดั นา้ .
น. พื้นโลก; ธาตุท่มี ีลักษณะแขง็ , ของทีอ่ ยตู่ ามพ้นื
ดนิ สอพอง ดินสอพอง โลกถูกน้าละลายได้ ใชท้ าเปน็ ส่ิงของตา่ งๆ ได้
ดน้ิ รา่ ย(นอนร่าย) น. ช่อื ของชนดิ หนงึ่ มักเกดิ จากมลู ค้างคาว สาหรบั
ดน้ิ ด^ิ น ทาดินปืน
ด้นิ รน พาลน น. ดินปนื อยา่ งแรงใชส้ าหรบั ระเบดิ ใหแ้ ตกทาลาย
ไป
ดน้ิ ทุรนทุราย ด^ิ นถู่รนถ่รู าย,พาลนแรง น. เคร่ืองเขียนอย่างหนึง่ ทาด้วยวตั ถตุ า่ ง ๆ ชนิดท่ี
ไส้ทาดว้ ยแกรไฟต์ผสมดนิ เหนียว มีไมห้ มุ้
เรียกวา่ ดินสอ หรือ ดินสอดา, ถ้าทาจากหินชนวน
เรยี กว่า ดนิ สอหิน, ถา้ ไสม้ ีสตี ่าง ๆ เรียกว่า ดนิ สอสี
น. ดนิ อยา่ งหนงึ่ สขี าว ใช้ทาตัวอยา่ งแป้ง
ก. อาการทส่ี ะบัดหรือฟาดตวั ไปมาอยา่ งแรง
เชน่ นอนดนิ้ ชกั ดนิ้ ชักงอ
น. เส้นเงิน ทอง หรือทองแดง สาหรับปกั ลวดลาย
บนผ้าหรือแพร เป็นต้น
ก. กระตือรือร้นขวนขวายเพ่ือใหพ้ น้ จากความ
ยากลาบาก ความทกุ ข์ทรมาน หรอื เพื่อให้ดยี ง่ิ ๆ
ขนึ้ ไป เชน่ ดิ้นรนจะให้พ้นทุกข์ ดิน้ รนอยากเปน็ น่นั
เปน็ นี่
ก. กระตุก, ชักด้ินชกั งอ, ชกั กระตุก เช่น คนเจ็บดิน้
ทุรนทุรายด้วยความเจ็บปวดจากแผลไฟไหม้

ห น้ า | ๑๐๐

ภำษำกลำง ภำษำถน่ิ ตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย
ดบิ ดี
ดบิ ดี ว. ด,ี เรียบรอ้ ย, เช่น เกบ็ ไว้ดบิ ดี, บางทใี ชแ้ ยกกนั
ดริ จั ฉาน
หมายความวา่ ดี เช่น ได้ดิบได้ดี
ดี
- เขาคนนนั้ ดี เดยี รจั ฉาน น. สัตว์เว้นจากมนุษย์ เช่นหมู หมา ววั ควาย (มัก
เหลือเกนิ
ใชเ้ ปน็ คาด่า), ใช้ว่า เดรจั ฉาน หรือ
ดใี จ
ดฉี ัน เดียรจั ฉาน

ดดี ดี น. อวยั วะภายในของคนและสตั วท์ บี่ รรจุน้าข้นสี
- เค้^านันดี-ดดี ดี ดี ี
ดบี กุ เขยี ว มรี สขม ซ่ึงออกจากตบั สาหรับช่วยยอ่ ย

ดปี ลี (ดี คาแรก เสียงยาว ดี สี่ อาหาร: ว. มีลักษณะทเ่ี ป็นไปในทางท่ตี ้องการ นา่

ดงึ คาหลัง เสยี งสั้นเร็ว) ปรารถนา น่าพอใจ ใชใ้ นความหมายที่ตรงขา้ มกบั
ดน่ื
ดม่ื ลกั ษณะบางอยา่ งแลว้ แต่กรณี คือ ตรงขา้ มกบั ชวั่
- ดืม่ เหล้า
- ด่มื นา้ เชน่ คนดี ความดี
ดอ้ื
ดอื้ ดา้ น ดีใจ๋ ก. ยนิ ดี, ชอบใจ, พอใจ
ดุ
ค^า,ฉาน ส. คาใชแ้ ทนตัวผ้พู ดู เพศหญิง เป็นคาสุภาพ, ดฉิ นั

ก็ว่า, ตามแบบผชู้ ายใชว้ ่า ดฉี ัน ผู้หญงิ ใชว้ ่า อฉี ัน,

เป็นสรรพนามบุรษุ ท่ี ๑

ดด๊ี ก. ลัด; ยกขน้ึ ดว้ ยแมแ่ รง; เอาน้ิวมือหรอื ไม้สะกดิ

ให้ดงั หรอื เล่ือนไป เชน่ ดีดลกู คดิ , ดดี นิว้ ฯลฯ

ดบี ุ^ก น. ธาตุลาดบั ที่ ๕๐ สญั ลักษณ์ Sn เปน็ โลหะ

ลักษณะเปน็ ของแข็งสขี าวคล้ายโลหะเงิน เนอ้ื อ่อน

ใช้ประโยชน์ฉาบผวิ เหลก็ เพ่ือกนั ไม่ใหเ้ ปน็ สนมิ ใช้

ทาโลหะเจือ แผน่ ดีบุกบาง ๆ ใช้สาหรบั หอ่ ของเพื่อ

กันช้นื .

ดปี ลี น. ไม้เถาชนิดหนึ่ง ดอกมรี สเผ็ดคล้ายพรกิ ไทย ใช้

ทายา

ช่ัก,หลาก ก. เหนย่ี วมา, ฉดุ มา, รงั้ มา

หมาก,เกล๊อี นไป,โขเข ว. มากหลาย, ถมไป, เกลื่อนไป

กิน,มึ่ก ก. กินของทีเ่ ป็นนา้ เชน่ ด่ืมน้าเยน็ หรือนา้ หวาน

- กินเหลา้

- กนิ น่าม

ด^ื อ ว. ไมเ่ ช่อื ฟัง, ว่ายาก, สอนยาก

ด^ื อด^าน ว. ว่ายากอย่างไม่มคี วามอาย

คึ^ง ก. ว่ากลา่ วหรอื ทักทว้ งด้วยความโกรธหรือไม่พอใจ
(คึ^ง ใช้กับ คน
เพราะมีความผิดหรือไม่อยู่ในโอวาท

ขอ็ บ ใชก้ บั สุนัข

ขึ่ง,ทอ ใช้กบั สตั วทม่ี เี ขา

แบ่แก๋ง(ทับศัพท์มาลาย)ู

ใชก้ บั ลิง,สุนขั )

ห น้ า | ๑๐๑

ภำษำกลำง ภำษำถ่นิ ตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย
ดนุ ดนุ๋ ,รนุ
ดนุ้ ด^ุ น(ดุ^นฟนื ) ก. รนุ ไป, ไสไป

ดมุ ดมุ๋ น. ทอ่ น เชน่ กลนื เขา้ ไปท้ังดุ้น, ทอ่ นไม้ขนาดเล็ก
ดมุ่ ,ดมุ่ ๆ ดมุ๊ ,ดุ๊มๆ เชน่ ดุ้นฟืน, ลกั ษณนามเรยี กท่อนไมข้ นาดเล็ก
ดุเหวา่ กอื เหวา,ตอื เหวา วา่ ดนุ้ เชน่ ฟนื ดุ้นหนงึ่ ฟนื ๒ ดนุ้
ดู แล
น. สว่ นกลางของลอ้ เกวียนหรอื ล้อรถท่ีมรี ูสาหรบั
ดูถกู ดุโ๋ ท้ก สอดเพลา
ดูเถิด,ดเู ถอะ แลเอา๋ เติ๊ด
ดูหมิน่ ด๋มู นิ้ ว. อาการกม้ หนา้ กม้ ตาเดินไปเรื่อย ๆ โดยไมด่ ูอะไร
หรอื แวะเวียน
ดดู ดดู๊
เด็ก แด็ก น. ช่อื นกชนดิ หนง่ึ ตัวผู้มีสีดา ตัวเมยี สีนา้ ตาลย่อม
เด้ง ดี๊ด(ดดี๊ อ๊อก) กว่ากาเล็กน้อย บางทีก็มลี ายจุดขาวๆ
เดช เด๊ด
เด็ดขาด แดด็ คา้ ด ก. ใชส้ ายตาเพอ่ื ใหเ้ หน็ เชน่ ดูภาพ ดูละคร, ระวงั
เดน เด๋น รกั ษา เชน่ ดบู ้านให้ดว้ ย ไม่มีคนดเู ด็ก, พนิ จิ
พจิ ารณา เชน่ ดูใหด้ ี, ศกึ ษาเล่าเรียน เช่น ดู
เด่น เด๊น หนังสือ, เห็นจะ เช่น ดูจะเกินไปละ, ทานาย
เชน่ ดูโชคชะตาราศี, ใช้ประกอบกรยิ า เพอื่ ให้รใู้ ห้
เดา ขาด,ขาดหวา่ เหน็ ประจกั ษ์แจ้ง เชน่ คิดดูให้ดี ลองกินดู

ก. แสดงอาการเปน็ เชงิ ดหู มนิ่ หรือเหยยี ดหยามเขา

คาบอกกล่าวให้รบั รู้ไว้

ก. ดถู กู เหยียดหยามผู้อ่นื , แสดงกิรยิ าท่าทาง
พดู จา หรือเขียนเปน็ ลายลักษณอ์ กั ษรเปน็ เชิงดถู ูก
ว่ามีฐานะต่าต้อย หรอื ไมด่ ีจริงไม่เก่งจริง เป็นตน้

ก. สูบดว้ ยปาก เชน่ ดูดนม, สบู ด้วยกาลงั เชน่ น้า
ดดู ไฟฟา้ ดูด

น. คนที่มีอายยุ งั น้อย, ยังเล็ก; ออ่ นวยั กวา่ ในคา
วา่ เด็กกว่า

ก. ดดี หรือดนั ข้ึนเม่อื ถกู กดหรือถูกบีบ

น. อานาจ, บารมี, อทิ ธิพล, อานาจวาสนา

ว. เฉียบขาด, ไม่เปลย่ี นแปลง, ว่าอย่างใดทาอย่าง
นน้ั , ถงึ ทส่ี ดุ

น. ของเหลือที่ไม่ต้องการแลว้ เชน่ คนกินเดน,
และหมายถึงสิ่งท่เี หลอื เลือกแลว้ ทง้ิ แล้ว ไม่
ต้องการแลว้

ว. ท่ปี รากฏเหน็ ไดช้ ัดจะแจ้งเพราะนูนข้นึ มา ยน่ื ลา้
ออกมา หรือสงู ใหญ่กวา่ ธรรมดา, และหมายความ
วา่ มีคณุ สมบัตหิ รือความสามารถเย่ยี ม เช่น สวย
เด่น ดเี ดน่

ก. คดิ คาดเอาเองโดยไม่มีหลกั หรอื เหตผุ ล

ห น้ า | ๑๐๒

ภำษำกลำง ภำษำถ่ินตำกใบ (เจ๊ะเห) ควำมหมำย
เดาะ เด๊าะ ก. โยนสง่ิ ของขึ้นแลว้ เอาไมห้ รือมอื ตีรบั ให้กระท้อน
ขน้ึ , ว. รา้ ว, แตก, จวนจะหักออกจากกนั .
เดิน เดิน ก. ยกเทา้ กา้ วไป
เดนิ เครอ่ื ง เดนิ เขรือ่ ง ก. ทาใหเ้ คลื่อนไหว เช่น เดินเครอื่ ง
เดิม เดิม,เดิมๆ ว. แรก เช่น แต่เดิม, เกา่ เชน่ บ้านเดิม พระราชวัง
เดิม, กอ่ น เชน่ เหมอื นเดิม.
เดยี งสา เดี๊ยงสา,ภาษา ว. ร้ผู ิดรชู้ อบตามปรกตสิ ามัญ (มักใช้ในความ
- เดก็ ไมเ่ ดียงสา - แดก็ ม^ายเดยี๊ งสา ปฏเิ สธ) เชน่ เดก็ ยงั ไมร่ เู้ ดียงสา
- เด็กไมร่ ู้เดยี งสา - แดก็ ม^ายโร่ภาษา
เดยี ว เดยี ว(คนเดยี ว) ว. หนึ่งเท่านั้นไมม่ ีอนื่ อีก เชน่ คนเดียว
เดยี ว กะเดียว,กือเดียว,เดยี ว ว. ประเดียว, ชวั่ ระยะเวลาหนึ่ง, ช่วั ครู่หน่งึ
เดยี ะ เดีย๊ ะ ว. คลอ่ งแคลว่ เช่น วา่ เดียะ ว่าวปกั เปา้ สา่ ยเดียะ,
- ไตเ่ ดียะขึ้นไป - ต๊ายเด๊ยี ะคื^นไป๋ อยา่ งกระช้ันชดิ ไม่ใหค้ ลาดสายตา เชน่ ตามเดยี ะ
เดื่อ เดอ๊ื ,โหลกแมงงม้ี น. ชอ่ื ต้นไม้จาพวกหนง่ึ โดยมากเรยี ก
มะเด่ือ ภายในผลมกั มหี นอนและแมลง
เดือด ครั่ก ก. อาการที่ของเหลวพล่งุ ข้ึนเพราะความร้อนจดั
- น้าเดือดแล้ว - น่ามคร่ักแลว่ เช่น น้าเดอื ด
เดอื ดดาล สาผล่งุ ,สาย้าบ ก. โกรธมาก, โกรธพลุ่งพลา่ น
เดอื ดร้อน เดื๊อดรอ่ น ก. ไม่เป็นสุข, กระวนกระวาย, รอ้ งทกุ ข์
เดือน เดือน น. ดวงจนั ทร์; ส่วนของปี คือปีหนึง่ มี
๑๒ เดอื น หรือ ๑๓ เดอื นบ้าง (อยา่ งจนั ทรคต)ิ
เดือย เดือย น. อวัยวะของไก่ตัวผู้ มีรปู แหลมเรยี ว งอกขึ้นท่ี
- เดอื ยไก่ - เดอื ยก๊าย เหนอื ข้อตีนเบอ้ื งหลัง เป็นอาวธุ สาหรบั การต่อสู้
แดก แดก๊ ก. รูส้ กึ แนน่ จกุ ข้ึนในทอ้ ง
แดก แด๊ก,แดก๊ ฮ้า ก. กินมาก,กนิ อยา่ งตะกละ
แดก ทอื แหลงแด๊ก ก. พูกแดกดัน
แดง แดง๋ ว. สชี นิดหน่งึ อยา่ งเลือดหรือสีชาด. น. ชือ่ มดชนดิ
ท่ีตวั มสี ีแดง เรยี กว่า มดแดง.
แดด แด๊ด น. แสงทพ่ี ุง่ จากดวงอาทิตย์ตรงมายงั โลก, แสง
ตะวนั , แสงตะวนั ทส่ี ว่างและร้อน
แดดจดั แด๊ดเปรี^ยง,แด๊ดยบ่ั ๆ น. แดดจ้า
แดน แด๋น น. ท่ที กี่ าหนดไว้โดยตรงหรอื โดยหมายรู้กัน เช่น
ชายแดน ล้าแดน
โดกเดก โด๊กเดก๊ ว. โยกเยก, โอนไปโอนมา
โดง่ โด๊ง ว. อาการท่ีพุง่ ขึ้นไป เชน่ พลุข้นึ โด่ง ตะไลขน้ึ โด่ง,
สงู เชน่ ตะวันโด่ง หวั โดง่ ท้ายโด่ง; เรยี กจมูกทเี่ ป็น
สันเดน่ ออกมาว่า จมูกโดง่

ห น้ า | ๑๐๓

ภำษำกลำง ภำษำถนิ่ ตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย
โดด โด๊ด(โหลกโด๊ด)
โดน กือท็อบ,กือแถก,ชน ว. อันเดยี ว, เดยี ว เชน่ กระสนุ ลกู เดยี ว

ได้ ด^าย ก. กระทบกระทั่ง, กระทบกระแทก, สัมผัสถกู ต้อง;
ถูก เช่น โดนต.ี
ได้กัน ด^ายกนั
ได้การ ด^ายก๋าน ก. รับมาหรือตกมาเปน็ ของตัว เช่น ได้เงนิ ได้
ได้ใจ ด^ายใจ๋ ลูก ไดแ้ ผล; ใช้ประกอบทา้ ยคากริยามีความหมาย
ไดช้ ่อื ด^ายเฉอ่ ตา่ ง ๆ แลว้ แต่ความแวดล้อม คอื อาจ, สามารถ,
ไดท้ ่ี ด^ายเถ่ เชน่ เดินได้ เขียนได้; สาเร็จผล เชน่ สอบได้;
อนญุ าต เช่น ลงมอื กนิ ได้ ไปได้

ก. ไดเ้ ป็นผวั เมยี กนั

ก. ได้เรอ่ื ง
ก. เหิมใจ, ย่ามใจ, ชะล่าใจ, กาเริบ

ก. ข้นึ ช่ือ, มีชือ่ เสียง

ก. ถึงทเ่ี หมาะ, ถึงที่กะไว้, พอดี

ห น้ า | ๑๐๔

ต ภำษำถนิ่ ตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย
ภำษำกลำง ตอ๋ (ต๋อด๊าว)
ต็อก,พลด่ั ก. หยอ่ นลง เชน่ ตกเบ็ด; พลาด เช่น ตกจากรถ.
ต.เต่า - ต็อกปลา ว. ตลอด, บรรลุ, สาเรจ็ , เช่น ปลงตก คดิ ตก
ตก - พลด่ั รอ็ ด
- ตกปลา ตง๋ น. ไม้เครอ่ื งเรือนท่ีวางทบั บนรอด สาหรบั รองพ้นื
- ตกจากรถ หรอื ฟาก; ชอื่ ไม้ไผ่ชนิดหนึง่ เรียก ไม้ไผ่ตงลาตน้
ตง ต๋อง(ขา่ ต๋อง) ใหญ่ ไมม่ หี นาม
งิดงดิ ก. ชักเอาเงนิ ไวจ้ ากขาไพ่ท่เี ป็นผกู้ นิ หรือลูกค้าท่ี
ตง๋ แทงถูกในการพนนั บางชนิด เช่น ถว่ั โป
ตงิด ตอ็ ด ว. เลก็ นอ้ ย, ทีละน้อยๆ, พอรู้สึกเล็กน้อยวา่ เปน็
ตะ๊ ต๊ิหยะ อย่างนัน้ อย่างนี้ เป็นอาการทางกายหรือเป็นอาการ
ตด ต๊ะถาคอ็ ด ทางจติ เชน่ รสู้ ึกหวิ ตงดิ ๆ รู้สึกโกรธตงิดๆ
ตตยิ น. ลมท่อี อกจากทวารหนัก; ก. ผายลมให้ออกจาก
ตถาคต ต็อน ทวารหนกั
ต็อบ ว. ที่ ๓ คารบ ๓ มกั ใช้ประกอบหน้าคาอนื่ ...
ตน้ ตือบะ๊ น. ผู้บรรลุสจั ธรรมถึงความเป็นไปอยา่ งนัน้ , พระ
ตบ นามพระพุทธเจา้ , พระนามทใี่ ชเ้ รยี กพระพุทธเจ้ามี
ตบะ ต๋ม,ซอื ลดุ้ ,ซอื หลุด ต่าง ๆ กัน เชน่ พระพุทธเจา้ พระทศพล พระ
ศาสดา พระสพั พัญญู พระผูม้ ีพระภาคเจ้า พระ
ตม โลกนาถ พระสุคต พระธรรมราชา พระ มหามุนี
พระธรรมสามี พระสยัมภู พระสมั มาสัมพทุ ธเจ้า
พระชนิ พระโคดม พระศรีศากยมนุ ี
น. โคน, ลา
น. ชื่อผกั ชนดิ หน่งึ ข้นึ ในน้า ดอกสขี าบ เรยี กว่า
ผักตบชวา, ก. ตีด้วยฝ่ามอื หรอื ตดี ้วยของแบนๆ
น. ความเพียรเครื่องเผาผลาญกิเลส คอื พิธีข่ม
กิเลสโดยทรมานตัว; ข้อปฏิบัติของพระพุทธศาสนา
หมายถงึ การทาความเพยี รเพื่อกาจดั กิเลสออกจาก
จิต การรักษาศลี การทาสมาธิ การรกั ษาธุดงค์
ฯลฯ เป็นตบะทง้ั สิ้นความอดทนอยา่ งแรงกล้าเป็น
ยอดของตบะ, ในศาสนาฮินดู หมายถึงการทรมาน
ตัวเพ่ือฝึกจติ ให้เข้าถงึ ความเป็นพรหม
น. เลน, โคลนตม, โคลน เชน่ พวกชา้ งชอบลงแช่
น้าปลักตมเหมือนพวกควาย

ห น้ า | ๑๐๕

ภำษำกลำง ภำษำถนิ่ ตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย
ตม้ ตอ็ ม ก. กิริยาที่เอาของเหลวเช่นนา้ ใส่ภาชนะแลว้ ทาให้รอ้ น
ให้เดือดหรือใหส้ ุกเช่น ต้มน้าตม้ ขา้ ว ต้มมัน; ทาให้
ตรง ตรง๋ ,เส่อ สะอาดและสกุ ปล่ัง เช่น ตม้ ผา้ ตม้ ทอง ต้มเงนิ . ว.
เรียกส่งิ ท่ีตม้ แลว้ เช่น น้าตม้ ข้าวตม้ มนั ต้ม
ตรวจ ตร็วจ,กร๊วด ว. ไมค่ ดโคง้ เช่น ทางตรง, ไม่งอ เชน่ นั่งตัวตรง,
ตรวน ตรว๋ น, กร๋วน ไมเ่ อยี ง เช่น ตัง้ เสาใหต้ รง ยนื ตรง ๆ; ซอ่ื , ไม่โกง,
ตรอก ตร๊อก,ทางกอื ลา เชน่ เขาเปน็ คนตรง; เทยี่ งตามกาหนด เช่นเวลา ๓
ตรอง ตรอ๋ ง,กรอ๋ ง โมงตรงนาฬิกาเดินตรงเวลา; เปิดเผยไมม่ ลี ับลมคม
ตรอม ตร๋อม,กร๋อม ใน, ไมป่ ดิ บงั อาพราง, ไม่อ้อมค้อม, เช่น พูด
ตระกูล ตากู๋น,ตอื กุ๋น(บางทที ับศัพ์ ตรงไปตรงมา บอกมาตรง ๆ; ร่ี, ปร่ี, เช่น ตรงเขา้
ตระเตรยี ม มลายวู ่า บั้งกา๋ ,บ่าก๋อ) ใส่; ถกู ต้องตาม เชน่ ตรงเปา้ หมาย. บ. ท่แี ห่งใด
ตระบัด กะ๊ เกรียม,เกรียม แห่งหนงึ่ โดยเฉพาะ เช่น ตรงน้ี ตรงนน้ั
ตระแบก ตอื บั^ด
ตระหน่ี ตือแบ๊ก ก. ตรวจสอบ, ตรวจทาน, สารวจ, สอดสอ่ ง,
ตรา คี^เหนยี ว สารวจ, ตรวจตรา, ตรวจด,ู ตรวจโรค
ตรากตรา ตรา๋ ,กร๋า,จะ๊ (ทับศัพท์
มลายู) น. โซ,่ โซต่ รวน, เคร่อื งพันธนาการ
ตราบ ตร๊ากตรา,กรา๊ กกรา น. ทางทแ่ี ยกจากถนนใหญ่เปน็ ซอกเข้าไป, ทางแคบ
ตรี
ตรา๊ บ ก. คิด, ตรกึ ด,ู นึกดู
ตรี,กรี
ก. ตรม, ตรอมตรม, ระทม, เศร้า, ทกุ ข์ใจ
น. เชือ้ สาย, วงศ,์ สกุล, เครือญาติ, วงศ์วาน,
สายเลอื ด

ก. จัดแจงไวใ้ ห้เรยี บร้อย

ว. ประเดียว, บัดใจ, ทันใด, ก. พลันไป, ฉอ้ โกง
เชน่ บ่อย่ใู นสัตย์

น. ช่ือตน้ ตะแบก ลาตน้ ใชท้ ากระดาน

ว. หวงไม่อยากให้ง่าย ๆ เชน่ ตระหนี่
ทรพั ย์ ตระหน่คี วามรู้

น. เครื่องหมายทม่ี ลี วดลายและทาเป็นรูปตา่ ง ๆ สาหรับ
ประทบั เปน็ สาคญั ก. ประทับเป็นสาคญั เช่น ตราไว้

ว. ทนทาอยา่ งไมค่ ดิ ถึงความยากลาบาก เช่น
ทางานอย่างตรากตรา; อย่างสมบุกสมบัน, อย่างไม่
ปรานปี ราศรัย, เชน่ ใชอ้ ยา่ งตรากตรา

น. ข้าง, ฟาก, รมิ . สนั . จนถงึ , เม่อื , เชน่ ยงั มีลม
หายใจอย่ตู ราบใดก็ถือว่ายงั มีชีวติ อยตู่ ราบน้นั

ว. สาม เชน่ ตรเี นตร, ชนั้ ท่ี ๓ (ใชเ้ ก่ียวกบั ลาดบั ชนั้ หรือข้นั
ของยศ ตาแหน่ง คณุ ภาพ หรอื วทิ ยฐานะ ต่ากวา่ โท สงู
กว่า จตั วา) เชน่ รอ้ ยตรขี ้าราชการช้ันตรี ปริญญาตร;ี
เรยี กเคร่ืองหมายวรรณยุกตว์ ่า ไมต้ ร.ี

ห น้ า | ๑๐๖

ภำษำกลำง ภำษำถ่ินตำกใบ (เจ๊ะเห) ควำมหมำย
ตรึง ตรงึ ,กรงึ
ตรู่ ชา่ วหมดื ก. ทาใหอ้ ย่กู บั ที่ เชน่ ตรงึ ตะปู ตรงึ ทีน่ อน ตรึงขา้ ศกึ , ทา
ตลก ตือหลอ็ ก ให้อย่คู งท่ี เชน่ ตรงึ ราคาสินคา้ ไว,้ ติดอยู่ เชน่ ตรึงใจ

ตลบ ตือหล็อบ น. เวลาสาง ๆ, เช้าตรู่

ตลอด ตอื ล้อด ก. ทาใหค้ นอืน่ ขบขันดว้ ยคาพูดหรอื กิรยิ าท่าทาง
เปน็ ตน้ ; ว. ขบขัน, ทีท่ าใหค้ นอื่นขบขันดว้ ยคาพูด
ตลับ ตอื หลบั ,กุบ หรอื กิริยาท่าทาง เชน่ หนังตลก

ตลาด ตือลา้ ด ก. ฟุ้ง เช่น ถนนตงั้ แตจ่ ันทบรุ ไี ปถึงตราดมฝี ุน่ ตลบ
ไปตลอดทาง: ยกกลบั , หกกลบั , ยอ้ นกลบั เช่น
ตลิ่ง ตอื ลิ้ง,ล้ิง เมื่อตืน่ นอนแล้ว เขาตลบชายม้งุ ไว้บนหลงั คาม้งุ
ตวง ตร๋วง,กรว๋ ง
ตว่ น ต๊วน บ. แต่ต้นไปจนถึงปลาย, แตต่ ้นจนจบ, แตจ่ ุดหนง่ึ
ตว้ มเต้ียม ต^วมเต^ี ยม ไปจนถึงอีกจดุ หนึง่ , เชน่ ตลอดวันตลอดคนื ดแู ล
ตวัก ตือหวกั ,กือหวัก,จือหวกั ใหต้ ลอด ทาไปไม่ตลอด, ท่ัว เชน่ ดูแลไมต่ ลอด
ตวัด ตอื หวัด,กอื หวัด
น. ภาชนะอย่างหน่ึงสาหรบั ใสข่ ้ผี ้งึ สีปาก บางทีก็ใส่
ตวาด ตือว้าด,คอยา้ ก ของอ่นื ๆ มรี ปู ตา่ ง ๆ กนั โดยมากมักใชใ้ น
ตอ ตอ๋ (ต๋อมา่ ย) เช่ียนหมาก
ตอแย กว๋ น,กว๋ นใจ๋
ตอม่อ ตอ๋ ม^อ น. ทีช่ ุมนุมเพอื่ ซือ้ ขายของต่าง ๆ; สถานท่ซี งึ่ ปรกติ
ตอ่ ตอ๊ จดั ไวใ้ ห้ผ้คู ้าใช้เปน็ ทช่ี ุมนุมเพื่อจาหน่ายสินค้า
ประเภทสตั ว์ เน้ือสตั ว์ ผกั ผลไม้ หรืออาหารอันมี
สภาพเป็นของสด

น. สว่ นของฝ่งั ทไี่ มล่ าดริมแม่นา้ ลาคลอง

ก. ตกั ด้วยภาชนะตา่ ง ๆ เพ่อื ใหร้ ้จู านวนหรอื ปรมิ าณ

น. ช่อื แพรชนิดหนึ่ง เนอื้ เกล้ยี งเปน็ มันด้านเดียว
ทอเปน็ ลายสอง

ว. ดว้ มเด้ียม, ไม่วอ่ งไว, อุ้ยอ้าย, ช้า ๆ

น. เครอ่ื งตักข้าวตกั แกง เดมิ ทาดว้ ยกะลามะพร้าว

ก. วัดใหม้ ้วนเขา้ มาโดยเรว็ เช่น ตวดั ผ้าทหี่ ้อยอยู่
ขึ้นบา่ ตวดั ชายกระเบน, แกว่งไมห้ รือเชอื กให้
ปลายม้วนเขา้ มา เช่น ตวัดแส้

ก. ตะคอก, ขู่เตม็ เสียง, คุกคามดว้ ยแผดเสียง, พูด
เสียงดังดว้ ยความโกรธ

น. โคนของตน้ ไมท้ ลี่ าต้นถูกตัดหรือหกั ลงแล้ว
ก. ยวั่ ให้เกดิ ความราคาญหรอื ใหโ้ กรธ(มกั ใช้ใน
ความปฏเิ สธ) เชน่ อยา่ ไปตอแยด้วย

น. เสาส้นั สาหรบั ค้าพนื้ เรอื น

น. ตดิ ตอ่ ,หรือตอ่ ให้ตดิ กนั ,ตวั แมลงพวกหน่งึ มี
หลายชนิด มกั มีเหลก็ ในท่กี น้ ตอ่ ยเจบ็ บางชนิดก็
กดั เรียกวา่ ตัวต่อ

ห น้ า | ๑๐๗

ภำษำกลำง ภำษำถ่นิ ตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย
ตอ้ ต^อ
น. โรคอยา่ งหนงึ่ เกดิ ท่ีลูกตา ทาให้ตาพิการมอง
ตอก ต๊อก อะไรไมเ่ หน็ ชัดเจน หรืออาจทาให้ตาบอดได้
ตอก ตอ๊ กบิด
ก. เอาค้อนหรอื สง่ิ อนื่ ตตี ะปใู หเ้ ขา้ ไป
ตอง ต๋อง(ผ๋ายต๋อง)
น. ไม้ไผ่ท่ีจกั บาง ๆ สาหรบั ผูกมัดหรือสานสง่ิ ตา่ ง
ต้อง ต^อง ๆ.

ต่องแต่ง ต๊องแต๊ง น. ไพ่ชนดิ หนึ่ง โดยมากมักเล่น ๖ คน เรียกวา่ ไพ่
ตอด ตอ๊ ด ตอง
ตอน ตอ๋ น
ก. ถูก; เปน็ กรยิ าชว่ ยบอกลักษณะของกริยาอ่นื ให้รู้
ตอน ล็อก แน่ เชน่ ต้องกนิ ต้องนอน.

ต้อน ต^อน,หลา่ ย ว. อาการท่ีแขวนหรือห้อยแกวง่ ไปแกวง่ มา

ตอบ ต๊อบ ก. ขบ, กัด, เอาปากงับ.

ตอเบา กือไตเ๋ บ๋า น. หว้ ง, ชุด, ท่อน, ระยะ, วรรค. ก. แบ่ง, ตดั ,
ตอม ตอ๊ ม เช่น ตอนไพ่, ทากง่ิ ไม้ให้ออกราก โดยวธิ ีเอามดี
- แมลงวนั ตอม - แมลงวนั ตอ๊ ม ควั่นแลว้ เอาดินพอก, ทาสตั วใ์ ห้หมดพชื พนั ธุ์
ตอ่ ม ตอ๊ ม
- ต่อมน้าลาย - ตอ๊ มน่ามลาย ก. ตัดหรอื ทาลายอวัยวะซ่ึง เปน็ ส่วนหนงึ่ ของการ
ตอ่ ย ต๊อย สืบพันธเ์ุ พ่ือไม่ให้เกดิ ลูก
ต้อย ต^อย
ก. ไล่ เช่น ลุงมากาลงั ต้อนไก่ใหเ้ ขา้ เล้า เพราะเย็น
ตะกร้อ ตือกร^อ,โหลกกร^อ มากแลว้

ตะกรา้ กือแจ๋ง ก. ทาหรอื พูดโตใ้ นทานองเดยี วกบั ทีม่ ีผู้ทาหรือพดู มา
เช่น ชกตอบ ตตี อบ ดา่ ตอบเยยี่ มตอบ, กลา่ วแก้
เชน่ ตอบปัญหา, กลา่ วเมอ่ื มีผู้ถาม เช่น ตอบคาถาม,
แจ้งกลับไปให้อกี ฝ่ายหนง่ึ รู้ เชน่ ตอบจดหมาย.

น. ต้นกระถิน

ก. กริ ิยาทแ่ี มลงตวั เล็ก ๆ เช่น แมลงวนั มาเกาะ
หรอื จับหรือบินวนเวยี นอยู่ใกล้ ๆ

น. อวยั วะของคนและสตั ว์ ทาหนา้ ที่สร้างและหลง่ั
สารท่มี ีประโยชน์และมโี ทษต่อร่างกาย

ก. ชก เชน่ ตอ่ ยปาก

ว. จ้อย, เตี้ย, เลก็ , นอ้ ย, เชน่ ไก่ต้อย, ว. หย่อย ๆ,
ตามกันไปติด ๆ, ตามหลังไปติด ๆ เช่น เดนิ ตาม
ต้อย ๆ

น. ของเล่นสานดว้ ยหวาย ใชเ้ ตะเลน่ , ปจั จบุ นั หา
หวายยาก ใชเ้ ส้นพลาสตกิ แทนหวาย, เรยี กการ
แขง่ ขันท่ใี ชต้ ะกรอ้ วา่ เซปักตะกร้อ; เครอื่ งมือ สอย
ผลไม้ มีดา้ มยาว รูปรี ทาดว้ ยไมเ้ ป็นซ่ๆี

น. ภาชนะสานโปร่งสาหรับใสส่ งิ่ ของ มรี ูปต่าง ๆ
บางชนดิ มหี หู ว้ิ บางชนดิ ไม่มี

ห น้ า | ๑๐๘

ภำษำกลำง ภำษำถิ่นตำกใบ (เจ๊ะเห) ควำมหมำย
ตะกวด แลน,ผอ่ แลน
น. สัตว์คล้ายจ้งิ จก ตัวใหญ่ สนี า้ ตาลเหลอื ง ปาก
ตะกอน ตอื ก๋อน แหลม ลนิ้ ยาวแยกเป็น ๒ แฉก หนังหยาบ หางยาว
อาศยั ท้ังบนบกและในนา้ , บางทเี รียก จะกวด หรอื
ตะกั่ว ตอื กว๊ั แลน
ตะกาย ตือก๋าย
ตะกี้ กือเดยี วน,ิ แหรกกือเดียว น. ส่งิ ท่ลี ะลายปนอยูใ่ นน้าหรือของเหลวอนื่ แลว้ ตก
จมลงนอนกน้ ภาชนะเป็นต้น; สารตา่ ง ๆ ท่ีผพุ งั
ตะกยุ ตือกยุ๋ ทาลายโดยทางวธิ กี ล ทางเคมี หรอื ทางพัฒนาการ
ตะกูด ตือกดู๊ ,กู๊ด ของชีวิตแล้วตกจมทบั ถมเนอ่ื งจากการกระทา
ตะเกียง ตอื เกียง ของนา้ ลม หรือธารนา้ แข็ง
ตะเกยี บ ม่ายเกี๊ยบ
น. แรจ่ าพวกโลหะ มลี ักษณะออ่ น ละลายตวั ง่าย
ตะโกน กอื โลย้
ตะไกร ตือไกร,๋ คือไกร,๋ ไกร๋ ก. ปนี , คยุ้ ขว่ น เชน่ แมวตะกายฝา
ตะขบ ขร็อบ(ต็อนขร็อบ,โหลก
ขร็อบ) ว. มอื่ กี๊, ประเดยี ว, สกั ครู่ เช่น ตะกีฉ้ นั เหน็ กระทงิ
ตะเขบ็ ตอื แข็บ ตวั ใหญ่วิ่งไปในป่า
ตะเข้ เค^,ต็อเค^ ก. เอามือหรอื เท้าหนา้ คุ้ยหรือขว่ น
ตะโขง เค^โค้ง
น. หางเสือเรือ
ตะคริว ตือควิ
น. เคร่ืองใช้สาหรบั ตามไฟ มรี ูปตา่ ง ๆ
ตะครุบ ครบุ่ ,ตือครุ่บ
ตะคอก คอื ยา้ ก น. ชอ่ื เครอ่ื งใช้สาหรับคบี อาหารกิน ทาดว้ ยไม้ งา
ตะค่มุ เหน็ เงาๆ พลาสติก หรอื เงนิ เปน็ คู่ ๆ; ชือ่ เสาคู่ทีร่ ับเสาสูง ๆ
เช่น เสาพมุ่ เสาหงส์ เปน็ ต้น
ตะเคียน เคียน,ม่ายเคียน
ก. ออกเสียงดังกวา่ ปรกตเิ พ่ือใหไ้ ดย้ ิน

น. เครอ่ื งมือสาหรบั ตัดโดยใชห้ นบี มี ๒ ขา

น. ต้นไมช้ นิดหน่ึง, ตน้ มหี นาม ผลกลมคล้ายผล
มะขามปอ้ ม รสเปร้ยี ว ๆ หวาน ๆ เจือฝาด

น. แนวผ้าหรือส่ิงอนื่ ตอนท่ีเย็บติดกัน

น. จระเข้.

น. จระเขพ้ ันธ์ุหน่งึ ปากยาวเรียวเหมือนปลา
กระทุงเหว ไม่ดุรา้ ย จับปลากินเปน็ อาหาร ปรกติ
ไมท่ าร้ายคน มที ่ีอยตู่ ามลาน้าภาคใตข้ องไทย
มาเลเซยี บอรเ์ นยี ว และหมูเ่ กาะอนิ โดนเี ซยี

น. อาการของกลา้ มเนื้อท่ีหดตวั และค้างอยู่ ทาให้มี
อาการเจบ็ ปวด (เหมือน ตะคิว)

ก. เอามือตะปบลงจับโดยเรว็

ก. ตวาด, ขเู่ สียงดัง

ว. ท่เี หน็ เป็นเงาดา ๆ เพราะอยใู่ นที่หรอื ในระยะท่ี
เหน็ ไม่ถนัด
น. ช่อื ตน้ ไม้ชนิดหนง่ึ ตน้ ใหญ่ใบเรียว เน้อื ไม้แข็ง
ใชเ้ ล่ือยเป็นกระดาน และขุดทาเรอื

ห น้ า | ๑๐๙

ภำษำกลำง ภำษำถิ่นตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย
ตะไคร่ ไคล,ไคลน่าม
น. พืชสีเขียวทีเ่ กดิ ติดอยตู่ ามต้นไม้ บางทกี ็เกิด
ตะไคร้ ตอื ไคร ในนา้ และตามพนื้ ดินหรือกาแพง ทีช่ ุ่มช้นื
น. ต้นไมช้ นิดหน่งึ ขน้ึ เป็นกอ กล่ินหอม ใชป้ ระสม
ตะนอย ม็อดตือง้อย,ม้อดง้อย เครอ่ื งแกง

ตะบอง ตือบ๋อง น. ชอื่ มดชนิดหนงึ่ มีอวยั วะสาหรับตอ่ ยปล่อยนา้
ตะบนั ยอน พิษทาใหเ้ จ็บปวดได้
น. ไมส้ น้ั กลมกม็ ี เปน็ เหลีย่ มก็มี สาหรับถอื ตกี นั
ตะไบ ตอื ไบ๋
น. เครื่องตาหมากของคนแก่ มีรปู คล้ายกระบอก
ตะปู แหล็กโคน ก้นสอบ โดยมากทาดว้ ยทองเหลอื ง

ตะพาน ซอื พาน,ตอื พาน,ตอ่ื พาน น. เหลก็ เครอ่ื งมือใชถ้ โู ลหะอ่ืนๆ ให้เกล้ยี งเกลาเป็น
ตน้ มหี ลายชนดิ เชน่ ตะไบท้องปลิง ตะไบหางหน,ู
ตะพาบ ผาบนา่ ม ว. ถ,ู ลับ, ขดั , ฝน เชน่ หลังเลิกเรยี นเขารีบกลบั
บ้านมาช่วยพอ่ ตะไบเหลก็ ทุกวัน
ตะเพิด ยกิ่ เสีย
ตะโพก ตือโผก,กอื โผก น. ส่งิ ทาด้วยโลหะ มีปลายแหลม หัวมนแบน
ขนาดต่าง ๆ กนั สาหรับตรงึ สิ่งอ่ืนใหแ้ นน่ โดยใช้
ตะใภ้ โหลกพ่าย ค้อนตอกลงไป
ตะรงั ดงั ตา๋ ง
น. ส่ิงปลกู สร้างทท่ี าสาหรับข้ามแมน่ า้ ลาคลอง บาง
ตะราง ร้าง,คกุ่ ทที าย่ืนลงไปในน้าสาหรับขึ้นลง
ตะลงิ ปลิง เฟอื งตรน๋
น. ชื่อเต่านา้ จดื กระดองออ่ นนิ่มมีเชงิ แผ่กว้าง ตนี
ตะวนั กือหวนั ,ตือหวัน เปน็ แผน่ แบนคลา้ ยพาย หลายชนดิ มจี มกู ย่ืนยาว
ตะวันตก กอื ต็อก
ตะวันออก กอื อ๊อก,ตืออ๊อก ก. ตวาดใหห้ นีไป, ร้องให้ตกใจหนไี ป, ไลส่ ่งไป

ตะเวน กอื เหวน น. ส่วนของรา่ งกายเบอ้ื งหลงั ถดั บัน้ เอวลงไป มเี นอ้ื
ตะหลิว เจ่ยี นสี่ เป็นกระพุ้งทั้ง ๒ ข้าง, กลา้ มเนอ้ื ส่วนบนท่นี นู ขน้ึ ของ
โคนขาสัตวส์ องเท้าหรอื โคนขาหลังของสตั ว์ส่เี ทา้
น. สะใภ้

น. ช่อื ตน้ ไมช้ นดิ หน่งึ ฝักเป็นขนถกู เข้าคนั หรือ
หมามุ่ย

น. ทคี่ ุมขังนักโทษ, เรือนจา

น. ช่อื ต้นไม้ชนิดหนึง่ ใบคลา้ ยใบมะยม และลกู ยาว
คลา้ ยมะดัน รสเปร้ียว

น. ดวงอาทิตย์

น. เรียกทศิ ที่ดวงอาทติ ย์ลับขอบฟ้าวา่ ทิศตะวนั ตก

น. เรียกทิศทีด่ วงอาทิตยโ์ ผล่พ้นขอบฟ้าวา่ ทิศ
ตะวันออก

ก. เท่ียวตรวจตรา

น. เหล็กปลายแบน มดี า้ ม ใช้แซะหรือตกั ของใน
กระทะ

ห น้ า | ๑๑๐

ภำษำกลำง ภำษำถ่ินตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย
ตะแหลนแป๋น แบน๋ แซะ ว. ประกอบคา แบน ให้รวู้ ่าแบนมาก เช่น แบน
ตะแหลนแป๋น
ตะโหงก นอ้ ก น. ส่วนที่นนู ข้ึนจากบนคอววั
ตก๊ั แตน ตอ็ กกือแตน๋ น. แมลงพวกหนึ่ง ขายาว กระโดดไกล มปี ีกบนิ ได้
ตง่ั แขร่,แขระ น. โตะ๊ ส่ีเหลย่ี มรเี ล็กๆ สาหรับรองเท้าหรือน่ัง
ตง้ั ต^ั ง ก. วาง; วางใหอ้ ยู่; ทรง, ดารง; ชูไว้
ตนั ตนั ว. ไม่กลวง, ไม่ทะลุตลอด, เช่น คลองตัน ตรอก
ตนั ทอ่ ตัน
ตณั หา อา๊ ด น. ความทะยานอยาก, โดยทั่วไปใช้หมายถึงความ
ใครใ่ นกาม
ตวั ตวั น. ร่างกาย; คาใชเ้ รียกคน สตั ว์ และส่ิงของ
บางอยา่ ง เชน่ สนุ ขั ๕ ตวั
ตัวผู้ ตอื โพ น. เพศผู้ (ใช้เฉพาะสัตวแ์ ละพืชบางชนิด) เชน่ แมว
ตัวผู้, นอตตัวผู้, เรยี กตน้ ไม้ที่ไม่มผี ลตลอดไป เชน่
ตัวเมีย ตือเมยี มะละกอตัวผู้
น. เพศเมีย (ใช้เฉพาะสัตว์และพชื บางชนดิ ) เช่น
ตวั ต^ั ว แมวตัวเมยี , นอตตวั เมยี
ตา ตา๋
น. บัตรบางอย่างท่ีแสดงสทิ ธิของผู้ใช้ เชน่ ตวั รถ ตวั หนัง
ตา ผ่อแก๊
- พช่ี ายหรอื - โต๊ะชาย น. สว่ นหนง่ึ ของร่างกายคนและสตั ว์ ทาหนา้ ที่เป็น
น้องชายของตา เครอ่ื งดูรปู
- พีส่ าวหรอื น. พ่อของแม่, ใชเ้ ป็นคานาหน้าชื่อคนแก่วา่ ตา
น้องสาวของตา นน่ั ตาน่ี
- พ่อของตา
ตาก - โตะ๊

ตา่ ง - ผอ่ ถวด ว. หา่ ง, แบะออก, เช่น ผงึ่ แดดจนแหง้ เช่น ข้าว
- ไวด้ ตู า่ งหนา้ ตา๊ ก ตาก. ก. แผร่ ับ, ผึ่ง; ตรา เชน่ เดนิ ตราฝน คือ เดนิ
ตา่ งหาก ตากฝน
ตานขโมย ตา๊ ง ว. แทน, เหมือน, เช่น แกต้ ่าง ดตู า่ งหน้า
ตา้ น - ว่ายแลต๊างน^า
ตานี ต^ั งฮา๊ ก,จีซ้วน ว. อีกส่วนหนงึ่
- ปตั ตานี เป๋นซือเดือน
- กลว้ ยตานี ต^าน(ตอ๊ ต^าน) น. ชื่อโรคชนดิ หนง่ึ ท่ีเด็ก ๆ เปน็ มอี าการผอมแหง้ พุงปอ่ ง
ตา๋ หนี
- ตา๋ หนี ก. ทดั ทาน, คดั คา้ น, ตอ่ สู้
- กล^วยมงั ขื่อลา น. ชอื่ แขกท่ีอย่เู มืองปัตตานี, ชอื่ กล้วยชนิดหนงึ่ มี
เมลด็ มาก, ช่ือน้ามนั ชนดิ ขน้ ๆไว้ใส่ผม

ห น้ า | ๑๑๑

ภำษำกลำง ภำษำถิ่นตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย
ตาม
ตา๋ ม ก. ไปหรอื มาข้างหลัง โดยลาดับเหตุการณ์ท่ีมีมา
ตาย
ก่อน
ตายโหง
ดอ๋ ย(ใช้สาหรับ สามัญชน) ก. สิ้นใจ, ไมเ่ ปน็ อยูต่ ่อไป
ตายโคม
ตาลปัตร ล่บั (ใช้สาหรับ พระสงฆ์)
ตา
- ตาข้าว ดอ๋ ยโฮง้ ก. ตายผิดธรรมดาโดยอาการร้าย เช่น ถูกฆา่ ตาย
- ตาเคร่อื งแกง
ตา่ ตกนา้ ตาย
ตาตา
ตานาน ต๋ายโคม น. ไขท่ ่ีตายระหวา่ งฟัก
ตาบล
ตาแย พัด่ น. พดั เปรยี ญ, พัดยศ

ตารวจ ทิ^ม ก. โขลก; ทม่ิ , ใช้สากหรือสิ่งอื่นท่ีคลา้ ยคลงึ เชน่ นัน้
ตารา
ตาลงึ - ทิ^มค^าว ท่มิ ลงไปอยา่ งแรงเรือ่ ยๆ
ตาเสา - ทิ^มเขร่ือง
ตาหนิ
ตา๊ ว. ไม่สูง, เต้ีย.
ตาหนัก
ตาแหนง่ ตาตา๋ ว. ตาหูตาตา, คาตา, ต่อหน้าต่อตา
ติ
ตง่ิ ตาหนาน น. เร่อื งแสดงกจิ การอันมมี าแลว้ แต่ปางหลัง
ตี
ต๊าบ๋น,ตาบ๋น น. ถิ่น, หม่บู ้านแห่งหนึง่ ๆ
ต่ี
ต่างวา่ โตะ๊ บอื่ ดัน(เพยี้ นจากมลายู ว. เรยี กหมอทท่ี า การคลอดลูกวา่ หมอตาแย หรือ
ตนี
ตบี วา่ โต๊ะบีแด) แพทย์ผดุงครรภ์ แผนโบราณ

ตาร้วด น. ผทู้ ่มี ีหนา้ ทต่ี รวจตราและรักษาความสงบ

ตา๊ หรา,ตาหรา น. หนังสือวชิ าความรู้ต่าง ๆ

ตอื -มลึง น. ไม้เถาชนดิ หน่ึง; มาตราเงินเท่ากบั ๔ บาท

มุนเสา,หมุ่นเสา น. ช่อื ตน้ ไมช้ นิดหนึ่ง

ตานิ น. รอยซ่งึ เป็นเคร่ืองหมายในกายตัวและสิ่งของ,

รอยเสีย. ก. ติเตียน

ต๊าหนัก,ตาหนัก น. เรือนหรอื ตึกของเจา้ นาย

ตาแนง้ น. ที่, ทต่ี ้ัง; หนา้ ท่ี

เต๊ะ ก. พดู แนะนาใหร้ ู้ว่าผิด, พูดให้ดี, ทกั ท้วง

ตง๊ิ น. เน้ือหรือสิง่ ที่งอกออกมาเป็นปมนอ้ ย ๆ

ต่ี ก. โบย; รัน; รบ; ทาใหแ้ ตก เช่น ตีความ; ทา

เส้นตรง เชน่ ตีบรรทัด; กด, ประทบั , เชน่ ตพี ิมพต์ ี

ตรา; ทาใหต้ ิดตอ่ กนั เชน่ ตีเกลียวเชือก; กาหนด

เชน่ ตีราคา; เทียบ เชน่ ตฝี ปี าก ตีเสมอ; ยงั แปล

ต่างจากนี้ไดอ้ ีก แลว้ แตก่ รรมประกอบขา้ งท้าย

ต^ี น. การเลน่ ของเด็กที่ไลจ่ บั กันและรอ้ งเสียงตี่.

ตา๊ งหวา่ สมมุตวิ ่า, หากวา่ , แมว้ ่า

ตนี น. อวยั วะส่วนหน่งึ สาหรบั เดนิ ; เชิง, ขอบ, ที่ตั้ง

ตบ๊ี ว. คอด, ก่ิว เชน่ เส้นเลือดตีบ

ห น้ า | ๑๑๒

ภำษำกลำง ภำษำถนิ่ ตำกใบ (เจ๊ะเห) ควำมหมำย
ตงึ ตงึ ว. แนน่ , ไม่หยอ่ น, ไม่คลาย; เสียงของหนัก ๆ ตก
ลงบนพืน้ กระดาน.
ตน่ื ตน๊ื ก. ฟืน้ จากหลบั , ไม่หลับ; ตกตะลงึ , แปลกใจ
ตน้ื ต^ื น ว. ไมล่ กึ , ไม่ซ้งึ , อดั อน้ั ข้นึ มา เช่น ตน้ื ใจ ตืน้ ตัน, ดี
ใจปนอม่ิ ใจ เช่น รู้สกึ ตน้ื ตันใจ
ตุ๊กแก ตอ็ กแก๋ น. สัตวช์ นดิ หน่ึงในจาพวกจงิ้ จก แตต่ วั ใหญ่กวา่
มาก ตวั ลาย ตนี เหนยี ว มักอยู่ตามผนังหรอื ฝาเรือน
ตงุ ตงุ๋ ว. โป่งออก, พองออก
ตุ้งติ้ง,ตมุ้ หู ตือพัง,ตุมห,ู มา่ ยหู น. เครอื่ งประดบั หูใช้หอ้ ย. ว. กริ ยิ า
กระชดกระช้อยเหมือนผ้หู ญิง เช่น เขาตุ้งติ้ง
ตนุ่ ตนุ๊ ก. ชือ่ สตั ว์ชนดิ หนงึ่ ตวั คล้ายหนอู ยู่รู
ตนุ าหงนั โต๊ะหนัง ก. หมนั้ ไว้ เพื่อแตง่ งาน
ตมุ่ ไห น. โอ่ง(ภาชนะใสน่ า้ )
ตมุ่ ตมี ,แมด็ น. เมด็ ท่ีข้ึนตามผวิ หนงั
ตมุ้ ต^ุ ม น. ของท่มี ีลักษณะกลมๆ ห้อยลงมา เชน่ ลูกตุ้ม
- ลูกตมุ้ - โหลกต^ุ ม
ตู้ โต^ น. เครื่องใชใ้ ส่เส้ือผ้าและเก็บของ.
ตูด ถ้าย น. ก้น, รูก้น.
ตมู ตมู๊ ,กือพุม,พุม ว. ไมบ่ าน, ไม่คลี่, ไม่ขยายออก, ดอกไม้ท่ียงั ไมบ่ าน
เต้น แต็น ก. กระโดดไปมา, โลด, เผ่น, กระเพอื่ มขึน้
กระเพอ่ื มลง, กระเพือ่ มตบุ ๆ
เต็ม เต๊ม ว. บรรจุเสมอปาก, ไมพ่ ร่อง; มีในทที่ ุกแหง่ ไมว่ า่ ง
เตย เต๋ย น. ช่ือต้นไมช้ นดิ หนงึ่ ใบยาว มหี นามคลา้ ยลาเจยี ก
แต่ไมห่ อม ใช้ใบทากระแชงและสานเส่ือ เป็นตน้
เตา ตไี ฟ น. ทส่ี าหรบั ติดไฟทาอาหารและเผาสงิ่ ของตา่ งๆ
เต่า ตา๊ ว น. สตั ว์ คลานมกี ระดองแข็ง หวั ผลุบโผล่จาก
กระดอง
เตา่ ร้าง ตา๊ วรา่ ง น. ต้นไม้ชนิดหนึง่ ต้นคลา้ ยต้นหมาก ออกผลเปน็
ทะลาย รากใช้ทายา ไส้ออ่ นใช้จิม้ เคร่อื งหลนหรอื
เต้า ต^าว นา้ พรกิ เป็นอาหารได้
เตา้ เจ้ยี ว ต่าวเจี่ยว น. เตา้ นม
เตา้ หู้ ต่าวหู่ น. ถั่วเหลอื งท่ีหมักเกลือสาหรับปรุงอาหาร
น. ถว่ั เหลืองทีโ่ ม่เป็นแป้งแล้วทาเปน็ แผ่นๆ ใชเ้ ป็น
เติบ เติ๊บ อาหาร
เติม เติม ว. มาก, โต, ใหญ,่ โข
ก. เพม่ิ , แถมให้

ห น้ า | ๑๑๓

ภำษำกลำง ภำษำถ่ินตำกใบ (เจ๊ะเห) ควำมหมำย
เตี้ย เต^ี ย,ตา๊
เตยี ง เต๊ียง ว. ต่า, ไมส่ งู

เตยี น เตียน น. ทส่ี าหรับนอน มขี า ๔ ขาคลา้ ยโตะ๊ , ถ้าทาด้วย ไมก้ ็
เตย่ี ว เตย๊ี ว เรียกว่าเตยี งไม้, ถา้ ทาด้วยเหลก็ กเ็ รยี กวา่ เตยี งเหล็ก
เตือน เตอื น ว. ไม่รก, เรยี บราบ, หมดไป.

แต่ แต,แต๊ น. ผา้ ผืนเล็กเฉพาะปิดของลับ
- แตก่ ่อน - แตก๊อน
- แต่นไ้ี ป - แตน๊ ี^ไป ก. ทาใหร้ ู้ตวั , ทาใหม้ สี ติ, ทาใหร้ ู้สกึ , บอกใหร้ ู้
แตก แตก๊ ลว่ งหน้า

แตงกวา แตง๋ กวา๋ ว. เฉพาะ, อยา่ งเดยี ว; คาเช่ือมแสดงความกลบั กัน
บางแห่งมีคาวา่ ตอ่ เข้าเปน็ แต่วา่ เนอ้ื ความอยา่ ง
แต่ง แต๊ง เดียวกันกับ แต่
แตด๊ แต๋ แบ๋นแชะ
แตน แตน๋ ก. แยก, ทาลาย, กระจาย; งอกออก; ไหลออก เช่น
แต้ม แต^ม,แต่ม เหงอ่ื แตก
- ก่แี ต้ม - คี^แต^ม
- ทาแต้ม - ทาแต่ม น. แตงชนดิ หนึ่งผลเล็ก ใช้เป็นผัก ผลกลม ยาวรี
ขนาดฟองไข่ไก่ขนาดยอ่ ม
แตร แตร๋
ก. จัด, ตง้ั , ประดบั , จดั ให้งาม, ทาให้ดี
โต ยา้ ย
โต้ หมีดคล็อก ว. แบนราบ
โตก โต๊ก น. แมลงชนิดหนึง่ บินได้ มีพิษ ต่อยปวด
โตนด โนด้ (ตอ็ นโน้ด)
ใต้ ต^าย น. รอยทีแ่ ตะหรือป้ายไวเ้ พื่อใชเ้ ปน็ เครื่องหมาย
ต่างๆ; คะแนน; ตาท่ีเดินเช่นตาหมากรุก; ชั้นเชิง,
ใต้ หวั นอน ท่าทาง; แงง่ อน. ก. เจิม, เอาสปี ้าย. แตม้ คู น. ช้นั
เชิง, เล่ห์เหลี่ยม
ไต ไต๋
น. เครือ่ งเป่าทาด้วยทองเหลือง เปน็ ของมาจาก
ไต่ ต๊าย(ตา๊ ยเฉยี ก) ยโุ รป
ไต้ ต^าย(คี^ต^าย)
ว. ใหญ่
น. มดี ชนิดหนึ่ง สันหนา หัวโต

น. ภาชนะอย่างหนง่ึ มเี ชงิ สูง ใชเ้ ปน็ สารับอาหาร

น. ตน้ ตาล

ว. ขา้ งลา่ ง, เบื้องต่า. บ. สาหรับตอ่ คาแสดงพ้ืนที่
เบือ้ งตา่
น. ทิศทีอ่ ยูท่ างขวามือ เมื่อหันหน้าไปทางทด่ี วง
อาทติ ย์ขนึ้ , ทศิ ท่ีอยู่ตรงข้ามกับทศิ เหนือ

น. อวัยวะภายในสาหรับกลั่นปสั สาวะ; สงิ่ ทเ่ี ปน็
ก้อนแขง็ อยใู่ นเน้ือ. ไตปลา น. เน้อื ในกระเพาะปลา
เช่นปลาทู ใชป้ รุงอาหารเป็นพวกเคร่ืองจิ้ม

ก. เดนิ ไปด้วยความระมดั ระวัง เชน่ ไต่เชอื ก

น. ของใช้สาหรับจุดไฟให้สวา่ ง ทาดว้ ยไม้ผุคลุกกับ
นา้ มนั ยาง แล้วห่อด้วยใบไม้เปน็ ดุน้ ยาว ๆ

ห น้ า | ๑๑๔

ภำษำกลำง ภำษำถ่นิ ตำกใบ (เจ๊ะเห) ควำมหมำย
ไตร
ไตร่ตรอง ไกร,๋ ไตร๋ ว. ผา้ ไตรจวี ร

ตรา๊ ยตรอ๋ ง ก. คดิ ทบทวน, ตรกึ ตรอง

ห น้ า | ๑๑๕

ถ ภำษำถ่นิ ตำกใบ (เจะ๊ เห) ควำมหมำย
เหรกิ (เหรกิ คื^นแล)
ภำษำกลำง ก. เลกิ , ดึงรง้ั ให้สงู ขนึ้ อยา่ งถกผ้านุ่ง ถกแขนเสือ้ ,
ถก ถอ็ ด,แถ็ด ดงึ ให้หลดุ ออกมา
ทอื หนน,กือหนน ก. ถอย, ขยบั , เลือ่ น. ถดถอย
ถด ทอื หนอม
ถนน น. หนทางที่ทาขึน้ , ลกั ษณนามว่า สาย
ถนอม ทอื หนัด
ท้ม(ท้มดนิ ) ก. คอยระวังประคับประคองไวใ้ หด้ ี เช่น ถนอมน้า
ถนดั โขเข ใจ, ใช้อย่างระมดั ระวังเพื่อไม่ให้เสียหรอื หมดเรว็
ถม ท้ม(ท้มนา่ มลาย) เช่น ถนอมของกินของใช้ ถนอมแรง, เก็บไวอ้ ย่างดี
ถมถืด บู๊ด เชน่ ถนอมเอาไว้ก่อน, ถนอมอาหาร ก. เก็บผกั
ถ่ม ทือหลอ็ ก ผลไม้ หรือเนือ้ สัตว์ไว้ใหอ้ ยู่ได้นาน ๆ ดว้ ยกรรมวธิ ี
ถมึงทงึ ทือหลน,หลุน บางอยา่ งเพื่อกนั เสียหรอื เสอ่ื มคุณภาพ
ถลก - ต๋าหลนุ
ถลน ซุด่ ,ยุ่บ ก. สันทัด, ชานาญ
- ตาถลน ทือล้อก
ถล่ม น. ทับ, กลบให้เตม็ เช่น ถมดิน
ถลอก ทือหลัน,หร่ืองัน
ทอื หลา ว. มาก, ดนื่ (เหมือน ถมเถ, ถมไป)
ถลนั
ถลา ทือหลา,ซือเลื้อด ก. บว้ นน้าลายออกแรง ๆ.

ถลา คอื หมึง ว. ลกั ษณะหนา้ ตาทบี่ ดู บง้ึ ไม่ยมิ้ แย้ม, หน้าตานา่ กลวั
ทอื หลงุ
ถลงึ ก. ดงึ รงั้ ใหส้ ูงขึน้ อยา่ งถลกผา้ นงุ่ ถลกแขนเส้ือ
ถลุง ทว้ ง
ก. ทะเล้นออก, ปลิน้ ออก มักใชก้ ับตา หมายถึงตา
ถ่วง ท่ีแสดงความโกรธ

ก. ยุบหรือทาให้ยุบทลายลง เช่น แผน่ ดินถลม่

ก. ลอกออกไป, ปอกออกไป, เปดิ ออกไป, (มกั ใช้
แกส่ ิง่ ท่มี ผี วิ ) เช่น หนังถลอก สถี ลอก

ก. พรวดพราดเข้าไปหรือออกมาโดยไม่รั้งรอ

ก. เคลอื่ นไปโดยเสียหลกั เชน่ เครอ่ื งบนิ ถลาลงไป
ในทะเล
ก. ล้าลว่ ง เช่น ถลาเขา้ ไป, พลัง้ พลาดตกลงไป เชน่
ถลาลงคู

ก. ขงึ ตา เช่น แมถ่ ลึงตาเขา้ ใส่ลกู ชายที่กาลงั ซุกชน

ก. ผลาญ เชน่ ลูกชายคนนี้กลับมายังไมถ่ ึงเดือน
ถลงุ เงนิ พ่อไปเปน็ แสนแลว้ , อัด เชน่ นกั ชกชาว
เมก็ ซิกันซึ่งมีฝีมือ ตลอดจนช้ันเชงิ แพรวพราวกว่า
ถลงุ คู่ต่อสจู้ นบอบช้ายับเยิน, หลอม มีความหมาย
วา่ แยกโลหะออกจากสินแร่โดยใช้ความร้อน

ก. ทาให้หนัก เชน่ ถว่ งน้าหนัก, ทาให้ช้า เชน่ ถ่วง
เวลา ถว่ งความเจริญ, ทาใหจ้ ม เชน่ ถว่ งนา้


Click to View FlipBook Version