The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by info_dlict, 2022-07-09 03:09:37

คู่มือการปฏิบัติงานกลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา

คมู อื การปฏบิ ัตงิ าน
สํานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษา
กลุมสง เสรมิ การจดั การศกึ ษา

สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ

คำนำ

พระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแกไขเพมิ่ เติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553หมวด 5
มาตรา 39 และพระราชบัญญตั ริ ะเบียบบรหิ ารราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2546 และท่ีแกไขเพิ่มเติม
(ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2553 มาตรา 8 มาตรา 34 วรรคสอง ไดกําหนดใหมีการแบงเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได ออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการกําหนดใหมี
สาํ นักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษา จาํ นวน 183 เขต และสํานักงานเขตพ้ืนที่มัธยมศึกษา จํานวน 42
เขต และไดออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ืองการแบงสวนราชการภายในสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษา โดยแบงสวนราชการภายในสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาออกเปน 8 กลุม และ
ออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องการแบงสวนราชการภายในสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา
ออกเปน 7 กลมุ

เพื่อใหการปฏิบัติงานของสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา และสํานักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษามัธยมศกึ ษาเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ มีการพัฒนาระบบการปฏิบัติงาน เพ่ือยกระดับคุณภาพและ
มาตรฐานการปฏิบัติงาน สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน จึงไดจัดทําคูมือการปฏิบัติงานขึ้น
สําหรับคูมือปฏิบัติงานฉบับนี้ มีรายละเอียดของกระบวนงานและคูมือข้ันตอนการปฏิบัติงานของกลุมสงเสริม
การจัดการศึกษา ซึ่งเปนกลุมหนึ่งในสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และสํานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษามัธยมศึกษา มีบทบาท อํานาจ หนาที่สําคัญเก่ียวกับการจัดการศึกษาโดยเนนการบูรณาการการจัด
การศึกษาท้ังการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัยการนําแหลงเรียนรูและภูมิปญญาทองถ่ินมาใช
ประกอบการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาคุณภาพ ผูเรียนทั้งดานสุขภาพกายใจ สังคม สติปญญา ทักษะ
ชีวิต คุณธรรม จริยธรรม จิตอาสา การกีฬา ลูกเสือเนตรนารียุวกาชาด ผูบําเพ็ญประโยชน องคกรนักเรียน
สิทธิเด็ก การจัดหาทุน กองทุนการศึกษาเพ่ือชวยเหลือ ผูเรียนท้ังเด็กปกติ เด็กดอยโอกาส เด็กบกพรอง เด็ก
พิการ และเด็กที่มีความสามารถพิเศษ อีกทั้งสงเสริมใหบุคคล ครอบครัว ชุมชน สถาบันทางศาสนา สถาน
ประกอบการ องคกรปกครองสวนทองถ่ินและภาคเอกชน รวมจัดการศึกษา และรวมสนับสนุนการปฏิบัติงาน
กับหนวยงานอ่ืนท่ีเกี่ยวของจากการวิเคราะห บทบาท อํานาจ หนาที่ ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อ
ใหเกิดเปนภาระงาน

สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลําปาง เขต 1 จึงรวบรวมข้อมูลการปฏิบัติงานจาก
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือให้คู่มือการปฏิบัติงานนี้สามารถ
นําไปใชใ้ หไ้ ดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพสงู สุดในการปฏบิ ัติงานกลุม่ สง่ เสริมการจัดการศกึ ษา

กลมุ่ สง่ เสรมิ การจดั การศกึ ษา

สํานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาลําปาง เขต 1

ÿćøïâĆ Āîšć

ÙĞćîĞć 1
ÿüŠ îìĊę 1 ïìîćĞ 2

o ĒîüÙĉéĒúąüĆêëðč øąÿÜÙŤ 6
o ×Ăï×ćŠ ÷ õćøÖÝĉ
ÿüŠ îìęĊ 2 ÙĎöŠ ĂČ ×îĚĆ êĂîÖćøðäïĉ ĆêĉÜćî 7
™ ÜćîÿÜŠ đÿøĉöÖćøÝĆéÖćøýÖċ þć×ĆîĚ óĚîČ åćîĔîøĎðĒïïÖćøýÖċ þćĔîøąïï ÖćøýÖċ þć 7

îĂÖøąïï ĒúąÖćøýÖċ þćêćöĂíĆ ÷ćýĆ÷ 12
15
x ÖćøýÖċ þćĔîøąïï 18
o ÜćîÿÜŠ đÿøĉöĔĀšöÖĊ ćøÖĞćĀîéüíĉ ĊÖćøĒúąĒîüìćÜÖćøéĞćđîĉîÖćø 21
ÝéĆ ÖćøýċÖþćêĚÜĆ ĒêŠøąéïĆ ÖćøýÖċ þćðåöüĆ÷ĒúąÖćøýċÖþć×îĆĚ óĚČîåćî 25
Ă÷ŠćÜìüęĆ ëÜċ ĒúąöÙĊ čèõćó 25
o ÖćøÝéĆ ÖćøýÖċ þćĔîóČîĚ ìõęĊ Ďđ×ć ìčøÖĆîéćø Ēúąßćüđú 29
o ÖćøÝéĆ ÖćøýċÖþćđéĘÖĕøšÿĆâßćêĉ đéÖĘ êćŠ Üßćêóĉ îĆ íčŤ 33
o ÖćøÝéĆ ÖćøýÖċ þćóîČĚ ìęĊóđĉ ýþ 37
o ÖćøĒÖðš âŦ ĀćđéÖĘ êÖĀúŠî đéĘÖÖúčöŠ đÿęĊ÷Ü ĒúąđéÖĘ ĂĂÖÖúćÜÙĆî 41
o ÜćîìąđïĊ÷îĀúÖĆ åćîÖćøýÖċ þć 44
#ÜćîÝéĆ đÖïĘ ĀúÖĆ åćîÖćøýÖċ þć
#Üćî÷ÖđúÖĉ ĀúÖĆ åćîÖćøýÖċ þć 45
#ÜćîêøüÝÿĂïüçč ĉ ĒúąÖćøøĆïøĂÜÙüćöøĎš
#ÜćîÿęÜĆ àĚĂČ Ēïïóöĉ óŤ 49

x ÖćøýÖċ þćîĂÖøąïï 50
™ ÜćîÿÜŠ đÿøĉöĒúąÿîĆïÿîčîÖćøÝéĆ ÖćøýċÖþć×ĆĚîóČĚîåćî×ĂÜïčÙÙú ÙøĂïÙøĆü

ßöč ßî ĂÜÙÖŤ ø ÿëćïĆîýćÿîć ÿëćîðøąÖĂïÖćøĒúąÿëćïĆîÿÜĆ ÙöĂîęČ
o ÜćîÿÜŠ đÿøĉöĒúąÿîĆïÿîčîÖćøÝéĆ ÖćøýċÖþć×îĆĚ óČîĚ åćî×ĂÜïÙč Ùú
ÙøĂïÙøĆü ßčößî ĂÜÙÖŤ øüĉßćßĊó ÿëćïîĆ ýćÿîć ÿëćîðøąÖĂïÖćø
ĒúąÿëćïĆîÿÜĆ ÙöĂęîČ

™ ÜćîðøąÿćîĒúąÿÜŠ đÿøöĉ ĂÜÙÖŤ øðÖÙøĂÜÿüŠ îìĂš Üëîĉę ĔĀÿš ćöćøëÝéĆ ÖćøýÖċ þć
ÿĂéÙúšĂÜÖïĆ îē÷ïć÷ĒúąöćêøåćîÖćøýċÖþć
o ÜćîÿŠÜđÿøöĉ ÖćøÝéĆ ÖćøýċÖþć×ĂÜĂÜÙŤÖøðÖÙøĂÜÿüŠ îìĂš Üëîĉę

ÿćøïâĆ (êŠĂ) Āîćš
53
™ ÜćîÿÜŠ đÿøĉöÖćøÝéĆ ÖćøýċÖþćÿĞćĀøĆïñóĎš Öĉ ćø ñĎéš šĂ÷ēĂÖćÿĒúąñĎšöĊÙüćöÿćöćøë
óđĉ ýþ 54
o ÜćîÿÜŠ đÿøöĉ ÖćøÝéĆ ÖćøýÖċ þćđéÖĘ óÖĉ ćø đéÖĘ éĂš ÷ēĂÖćÿìöĊę Ċ
Ùüćöÿćöćøëóĉđýþ 58
o ÜćîÿÜŠ đÿøöĉ ĒúąÿîïĆ ÿîčîîÖĆ đø÷Ċ îĔîēÙüêćóđĉ ýþ 61

™ ÜćîÿÜŠ đÿøĉöÜćîÖćøĒîąĒîü ÿč×õćóĂîćö÷Ć ÖĊāćĒúąîĆîìîćÖćø úĎÖđÿĂČ 62
đîêøîćøĊ ÷čüÖćßćé ñïĎš ćĞ đóĘâðøąē÷ßîŤ îĆÖýċÖþćüßĉ ćìĀćø ðøąßćíðĉ ĕê÷ 73
üĉî÷Ć îĆÖđøĊ÷î ÖćøóĉìÖĆ þÿŤ ìĉ íĉđéĘÖĒúąđ÷ćüßî ĒúąÜćîÖÝĉ ÖćøîÖĆ đø÷Ċ îĂîČę 82
o ÜćîÿÜŠ đÿøöĉ ÖĉÝÖøøöĒîąĒîüĔîÿëćîýċÖþć 93
o ÜćîÿÜŠ đÿøĉöÿ×č õćóĂîćö÷Ć
o ÜćîÿÜŠ đÿøöĉ ÖĊāć ĒúąîîĆ ìîćÖćø 118
o ÜćîÿÜŠ đÿøĉöÖÝĉ ÖøøöúĎÖđÿĂČ đîêøîćøĊ ÷čüÖćßćé ñĎšïĞćđóâĘ ðøąē÷ßîŤ 128
îÖĆ ýċÖþćüßĉ ćìĀćø
o ÜćîÿŠÜđÿøöĉ ÖÝĉ Öøøöðøąßćíĉðĕê÷ Ēúąüîĉ Ć÷îÖĆ đø÷Ċ î 131
o ÜćîÿõćîÖĆ đø÷Ċ î ÿÜŠ đÿøĉö óçĆ îć ÿøšćÜÙüćöđךöĒ×ÜĘ ĂÜÙŤÖøÿõć 134
îÖĆ đø÷Ċ î đéÖĘ đ÷ćüßîĔîÿëćîýÖċ þć 135
o ÜćîÿÜŠ đÿøöĉ óìĉ ÖĆ þŤÿĉìíđĉ éÖĘ Ēúąđ÷ćüßî 139
142
™ ÜćîÿÜŠ đÿøĉöÿîïĆ ÿîčîÖćøøąéöìøĆó÷ćÖøđóĂČę ÖćøýÖċ þć 145
o ÜćîìčîÖćøýÖċ þć 146
o ÜćîÖĂÜìîč ĔĀÖš ÷Ďš öČ đóĂęČ ÖćøýÖċ þć (Ö÷ý.) 150
o ÜćîÿüĆÿéÖĉ ćøĒúąÿÜđÙøćąĀîŤ ĆÖđø÷Ċ î
153
™ ÜćîÿÜŠ đÿøĉöÜćîÖĉÝÖøøöóđĉ ýþĒúąÜćîēÙøÜÖćøĂîĆ đîĂęČ ÜöćÝćÖóøąøćßéćĞ øĉ 157
o ÜćîÝĆéÖćøýċÖþćēÙøÜÖćøĂîĆ đîĂČę ÜöćÝćÖóøąøćßéĞćøĉ 161
o ÜćîēÙøÜÖćøÖćøÝéĆ ÖćøýċÖþćĔîĀöŠïĎ šćîĂćÿćóĆçîćĒúą
ðŜĂÜÖĆîêîđĂÜ (Ăóð.) 162
o ÜćîēÙøÜÖćøĀöïŠĎ ćš îðŜĂÜÖĆîêîđĂÜßć÷Ēéî (ðßé.)
o ÜćîÿÜŠ đÿøĉöÖćøýÖċ þćĔîóĚîČ ìĊę 3 ÝÜĆ ĀüéĆ ßć÷ĒéîõćÙĔêš

™ ÜćîðøąÿćîÖćøðĂŜ ÜÖîĆ ĒúąĒÖĕš ×ðâŦ ĀćÖćøĔßšÿćøđÿóêéĉ ĒúąÿÜŠ đÿøöĉ ðĂŜ ÜÖĆî
ĒÖšĕ× ĒúąÙöšč ÙøĂÜÙüćöðøąóùêîĉ ĆÖđøĊ÷îîĆÖýċÖþć øüöìĚÜĆ øąïïéĒĎ úߊü÷đĀúĂČ
îÖĆ đø÷Ċ î
o ÜćîÖćøðĂŜ ÜÖĆîĒúąĒÖšĕ×ðâŦ Āćÿćøđÿóêéĉ ĔîÿëćîýċÖþć

ÿćøïâĆ (êĂŠ )

Āîšć

o ÜćîÿŠÜđÿøĉöÙüćöðøąóùêĉîÖĆ đø÷Ċ îĒúąîĆÖýÖċ þć 167
o ÜćîðĂŜ ÜÖîĆ ðŦâĀćÖćøĒóøøŠ ąïćéēøÙđĂéÿŤ đóýýÖċ þćĒúąÖćøêÜĆĚ ÙøøõŤ 171

ÖĂŠ îüĆ÷ĂĆîÙüø 174
o ÜćîóçĆ îćøąïïéĒĎ úߊü÷đĀúĂČ îĆÖđø÷Ċ î 178
™ Üćîüđĉ ìýÿĆöóîĆ íŤ 179
o ÜćîüĉđìýÿĆöóĆîíŤ 183
186
o ÜćîēÙøÜÖćøĒúÖđðúę÷Ċ îîĆÖđøĊ÷îìîč øąĀüŠćÜðøąđìý 187
™ Üćîðøąÿćî ÿŠÜđÿøöĉ ÖćøýċÖþćÖćøýċÖþćÖĆïýćÿîćĒúąÖćøüçĆ îíøøö 190
191
o ðøąÿćî ÿÜŠ đÿøöĉ ÖćøýÖċ þćÖćøýÖċ þćÖïĆ ýćÿîćĒúąÖćøüĆçîíøøö
™ ÜćîÿÜŠ đÿøöĉ ĒĀúÜŠ Öćøđø÷Ċ îøĎš ÿęÜĉ ĒüéúĂš öìćÜÖćøýċÖþć ĒúąõöĎ ĉðâŦ âćìĂš Üëĉęî 194

o ÿŠÜđÿøöĉ ÖćøóĆçîćýÖĆ ÷õćóĒĀúÜŠ đø÷Ċ îøĎš ÿÜęĉ ĒüéúĂš öìćÜÖćøýÖċ þćĒúą 195

õöĎ ĉðŦââćìĂš Üëęîĉ ĔĀšđĀöćąÿöêŠĂÖćøóçĆ îćÙèč õćóÖćøýÖċ þćĒúą 198
ÝéĆ ìąđï÷Ċ î 199
™ ÜćîðøąÿćîĒúąÿŠÜđÿøĉöÿëćîýċÖþćĔĀšöĊïìïćìĔîÖćøÿøćš ÜÙüćöđ×öš Ē×ÜĘ ×ĂÜ 199
ßöč ßî 217
o ÜćîðøąÿćîĒúąÿŠÜđÿøĉöÿëćîýċÖþćĔĀöš ĊïìïćìĔîÖćøÿøšćÜÙüćö

đךöĒ×ÜĘ ×ĂÜßčößî
ïøøèćîÖč øö

õćÙñîüÖ
o êćøćÜüĉđÙøćąĀïŤ ìïćì ĂĞćîćÝ ĀîšćìêęĊ ćöðøąÖćýÖøąìøüÜýÖċ þćíÖĉ ćø

o øć÷ßęĂČ ÙèąìćĞ Üćî

กลุม สงเสริมการจัดการศกึ ษา

แนวคดิ
งานสงเสรมิ การจัดการศกึ ษา เปน งานท่ีสนบั สนนุ และสงเสริมใหสถานศกึ ษาในสงั กัดเขตพ้ืนที่

การศึกษาสามารถจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานไดอยางมีประสิทธิภาพโดยเนนการบูรณาการการ จัด
การศึกษาท้ังการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย นําแหลงเรียนรูและภูมิปญญาทองถิ่น
มาใชประกอบการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาคุณภาพผูเรียนทั้งดาน รางกาย จิตใจ สังคม
สติปญญา ทักษะชีวิต คุณธรรม จริยธรรม จิตอาสา การกีฬา ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผูบําเพ็ญ
ประโยชน องคก รนักเรียน สิทธิเด็ก การจัดหาทุน–กองทุนการศึกษา เพ่ือชวยเหลือผูเรียนท้ังเด็กปกติ
เด็กดอยโอกาส เด็กบกพรอง เด็กพิการ และเด็กที่มีความสามารถพิเศษ อีกท้ังสงเสริมใหบุคคล
ครอบครวั ชมุ ชน สถาบนั ทางศาสนา สถานประกอบการ องคกรปกครองสวนทองถิ่น และภาคเอกชน
รวมจัดการศึกษาที่จะสงผลตอการพัฒนาคุณภาพชีวิตผูเรียนรวมท้ังปฏิบัติตามพันธกิจท่ีไดมีการลงนาม
ในความตกลงรวมกันระหวางประเทศ การรองรับประชาคมอาเซียนในดานการจัดการศึกษาท้ังการ
แลกเปลยี่ นและการสง เสรมิ การจดั การศกึ ษา ตลอดจนการดําเนนิ งานอืน่ ๆ ท่ีเก่ียวขอ ง

วตั ถุประสงค
1. เพ่ือสงเสริมคุณภาพการจัดการศึกษาทั้งในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ภายใต

ความรวมมือของบุคคล ครอบครัว ชุมชน สถาบันทางศาสนา และองคกรปกครองสวนทองถิ่น และ
ภาคเอกชน ทกุ รปู แบบใหมีคุณภาพตามมาตรฐาน

2. เพื่อสงเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิต ผูรับบริการทางการศึกษา ใหสมบูรณโดยสงเสริม
ใหสถานศึกษาจัดอาหารกลางวัน อาหารเสริม (นม) และเพื่อสงเสริมใหมีจริยธรรม คุณธรรม วินัย
โดยเนนกีฬา นันทนาการ ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผูบําเพ็ญประโยชน นักศึกษาวิชาทหารและ
การปฏิบตั ติ นตามระบอบประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษตั รยิ ท รงเปนประมุข

3. เพื่อสงเสริมสิทธิเด็ก การจัดหาทุน กองทุนการศึกษาเพ่ือสนับสนุนการศึกษาใหกับ
เด็กนักเรียนท้ังเด็กปกติ เด็กดอยโอกาส เด็กบกพรอง เด็กพิการ และเด็กท่ีมีความสามารถพิเศษ
ดว ยการระดมทรัพยากรจากทุกฝาย

4. เพ่ือสงเสริมกิจการพิเศษ ท่ีเปนการสรางความมั่นคงและประสานเครือขายทุกระดับไปสู
การจดั การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน

5. เพ่ือรองรับประชาคมอาเซียน ตลอดจนขอตกลงรวมกันระหวางประเทศในการจัดการศึกษา
ท้ังแลกเปล่ียน และสง เสริมสนับสนนุ เพ่ือพฒั นาการศึกษารว มกัน

คูมอื การปฏบิ ัตงิ าน สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษา
กลมุ สง เสริมการจัดการศึกษา 1

ขอบขาย/ภารกจิ
(ก) สงเสริมการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานในรูปแบบการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอัธยาศัย

กระบวนงาน
1. การจัดการศึกษาในระบบ

1) งานสงเสริมใหมีการกําหนดวิธีการและแนวทางการดําเนินการจัดการศึกษาต้ังแต
ระดับการศึกษาปฐมวัย และการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานอยางทั่วถึงและมคี ุณภาพ

2) การจดั การศึกษาในพ้นื ทภี่ ูเขา ทรุ กันดาร และชาวเล
3) การจดั การศึกษาเดก็ ไรสัญชาติ เด็กตางชาติพนั ธุ
4) การจัดการศึกษาพนื้ ท่ีพิเศษ
5) การแกป ญหาเด็กตกหลน เด็กกลุมเสี่ยง และเด็กออกกลางคนั
6) งานทะเบยี นหลักฐานการศกึ ษา

- การจัดเก็บหลักฐานการศึกษา
- การยกเลิกหลกั ฐานการศกึ ษา
- การตรวจสอบวุฒแิ ละการรบั รองความรู
- การซื้อแบบพิมพ
2. การศกึ ษานอกระบบ
1) สงเสริมการจัดการศึกษานอกระบบใหเช่ือมโยงกับการจัดการศึกษาในระบบ และ
การศึกษาตามอธั ยาศัย
- การใหการอนุญาตสํานักงาน กศน.จัดการศึกษาใหกับเด็กท่ีมีความจําเปน
ไมส ามารถเรยี นในระบบได
2) สงเสรมิ การจดั การศกึ ษาทางเลอื ก
3. การจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศัย
- งานสงเสริมใหสถานศึกษา หนวยงานหรอื สถาบนั ท่ีจัดการศึกษารว มวางแผนและ
กาํ หนดแนวทางในการสนบั สนุนสง เสรมิ การจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
(ข) สงเสริมและสนบั สนุนการจัดการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานของบคุ คล ครอบครวั องคก ร ชมุ ชน
องคก ร
วิชาชีพ สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ และสถาบนั สังคมอ่นื
กระบวนงาน
- งานสงเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกร
วิชาชพี สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสงั คมอ่ืน

คูมอื การปฏิบัติงาน สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษา
2 กลมุ สงเสริมการจดั การศึกษา

(ค) ประสานและสงเสริมองคกรปกครองสวนทองถิ่นใหสามารถจัดการศึกษา สอดคลองกับ
นโยบายและมาตรฐานการศกึ ษา

กระบวนงาน
- งานสงเสรมิ การจดั การศึกษาขององคก รปกครองสวนทอ งถิ่น
(ง) สงเสริมการจดั การศกึ ษาสาํ หรบั ผูพิการ ผูดอ ยโอกาส และผมู ีความสามารถพิเศษ
กระบวนงาน
1. สงเสริมการจัดการศึกษาเดก็ พกิ าร เดก็ ดอยโอกาส ทมี่ คี วามสามารถพเิ ศษ
2. การสงเสริมและสนับสนุนนกั เรยี นในโควตาพิเศษ

- การพฒั นาอัจรยิ ภาพดา นวิทยาศาสตรและคณติ ศาสตร (สสวท.)
- การแขง ขนั คณิตศาสตร วทิ ยาศาสตร โอลมิ ปกแหงประเทศไทย
- การดําเนินงานของมูลนิธิสงเสริมโอลิมปกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตรใน
พระอุปถมั ภสมเดจ็ พระเจา พ่ีนางเธอเจา ฟากัลยานิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครนิ ทร
- การคัดเลอื กนกั เรยี นเพ่อื ศึกษาตอ
3. การคดั เลอื กนกั เรียนและสถานศกึ ษาเพ่อื รับรางวัลพระราชทานระดับขนั้ พน้ื ฐาน
4. งานจัดการศึกษาสําหรับแลกเปลยี่ น 3 จังหวัดชายแดนภาคใต (ครอบครัวอุปถมั ภ)
(จ) สงเสริมงานการแนะแนว สุขภาพอนามัย กีฬาและนันทนาการ ลูกเสือ ยุวกาชาด เนตรนารี
ผูบําเพ็ญประโยชน นักศึกษาวิชาทหาร ประชาธิปไตย วินัยนักเรียน การพิทักษสิทธิเด็กเยาวชน
และงานกจิ การนักเรียนอ่นื
กระบวนงาน
1. งานสง เสริมกจิ กรรมแนะแนวในสถานศึกษา
2. งานสง เสรมิ สขุ ภาพอนามัย
3. งานสง เสรมิ กีฬาและนันทนาการ
4. สงเสรมิ กิจกรรมลูกเสอื เนตรนารี ยุวกาชาด ผูบ ําเพญ็ ประโยชน และนักศึกษาวิชาทหาร
5. งานสงเสริมกิจกรรมประชาธิปไตย และวนิ ัยนักเรยี น
6. งานสภานักเรียน สงเสริม พัฒนา สรางความเขมแข็งองคกรสภานักเรียน เด็ก เยาวชนใน
สถานศึกษา
7. งานสงเสรมิ พิทักษส ทิ ธเิ ดก็ และเยาวชน
(ฉ) สง เสรมิ สนบั สนนุ การระดมทรัพยากรเพือ่ การศึกษา
กระบวนงาน
1. งานทุนการศึกษา และการระดมทนุ เพอื่ การศกึ ษานกั เรียน
2. งานกองทนุ เงินใหก ยู ืมเพอ่ื การศึกษา (กยศ.)
3. งานสวัสดกิ ารและสงเคราะหน กั เรยี น

คมู อื การปฏบิ ตั งิ าน สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
กลมุ สง เสรมิ การจดั การศึกษา 3

(ช) สงเสริมงานกิจกรรมพเิ ศษและงานโครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดาํ ริ
กระบวนงาน
1. งานการจัดศึกษาโครงการอนั เนือ่ งมาจากพระราชดําริ
- งานจัดการศึกษาตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระ

เจาอยูหัว และของพระบรมวงศานวุ งศทกุ พระองค
2. งานความม่ันคงแหงชาติ
2.1 งานโครงการจัดการศกึ ษาในหมบู านอาสาพฒั นาและปองกนั ตนเอง (อพป.)
2.2 งานโครงการหมูบ านปองกนั ตนเองชายแดน (ปชด.)
2.3 งานสงเสรมิ การศกึ ษาในพื้นท่ีชายแดน

(ซ) ประสานการปองกันและแกไขปญหาการใชสารเสพติดและสงเสริมปองกัน แกไข และคุมครอง
ความประพฤตินกั เรียนนักศกึ ษา รวมทั้งระบบดูแลชว ยเหลือนกั เรียน

กระบวนงาน
1. งานปองกันและแกไขปญหาสารเสพตดิ ในสถานศกึ ษา
2. งานสง เสริมความประพฤตนิ ักเรียนและนกั ศึกษา
3. การปอ งกนั ปญหาการแพรระบาดโรคเอดส เพศศกึ ษา และการตง้ั ครรภกอ นวยั อันควร
4. การดาํ เนินงานพัฒนาระบบการดแู ลชวยเหลอื นักเรยี น
(ฌ) ดําเนนิ งานวิเทศสัมพันธ
กระบวนงาน
1. งานวเิ ทศสัมพนั ธ
2. งานโครงการแลกเปล่ียนนกั เรียนทุนระหวา งประเทศ
(ญ) ประสาน สงเสริมการศึกษากบั การศาสนาและการวัฒนธรรม
กระบวนงาน
1. สงเสริมใหมีการจัดกิจกรรมนันทนาการหลายรูปแบบ เชน ดนตรี การแสดงการทองเที่ยว
งานอดิเรกตา ง ๆ
2. การสง เสรมิ การจดั กิจกรรมทัศนศึกษา
3. การจดั งานวนั ฉลองวนั เดก็ แหงชาติ
4. การสง เสริมคณุ ธรรม จริยธรรมของนักเรยี นและสถานศกึ ษา
(ฏ) สง เสริมแหลงการเรียนรู ส่งิ แวดลอมทางการศกึ ษา และภมู ปิ ญญาทองถ่ิน
กระบวนงาน
- งานสงเสริมการพัฒนาศักยภาพแหลงเรียนรู ส่ิงแวดลอมทางการศึกษาและภูมิปญญา
ทอ งถ่นิ ใหเหมาะสมตอ การพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาและจัดทะเบยี น

คูม อื การปฏิบัติงาน สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษา
4 กลมุ สงเสรมิ การจดั การศกึ ษา

(ฏ) ประสานและสงเสรมิ สถานศึกษาใหม บี ทบาทในการสรางความเขม แขง็ ของชมุ ชน

กระบวนงาน

- งานสงเสรมิ คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน

- เสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน และพัฒนาความรู ความสามารถในการปฏิบัติหนาท่ี

ของคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

(ฐ) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอ่ืนท่ีเกี่ยวของหรือท่ีไดรับ

มอบหมาย

- กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงวฒั นธรรม

- กระทรวงสาธารณสขุ - กระทรวงพัฒนาการสงั คมและความมั่นคงของ

- กระทรวงกลาโหม มนษุ ย

- กระทรวงแรงงาน - กระทรวงพฒั นาการทอ งเที่ยวและกีฬา

- กระทรวงพลังงาน - กระทรวงการตางประเทศ

- สํานกั งานตํารวจแหงชาติ

ฯลฯ

คูมอื การปฏิบัตงิ าน สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษา
กลมุ สงเสรมิ การจดั การศกึ ษา 5

ขัน้ ตอนการดําเนินงาน
สง เสริมการจัดการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานในรูปแบบการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ

และการศึกษาตามอธั ยาศัย

ข้นั ตอนการดาํ เนินงาน
การสงเสรมิ การจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานในรูปแบบการศกึ ษาในระบบ การศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัย

1. การจัดการศึกษาในระบบ
1. ชื่อกระบวนงาน 1.1 งานสงเสริมใหมีการกําหนดวิธีการและแนวทางการดําเนินการจัด

การศึกษาตง้ั แตร ะดับการศกึ ษาปฐมวัยและการศึกษาขนั้ พืน้ ฐานอยา งทั่วถึงและมีคณุ ภาพ

2. วตั ถุประสงค
2.1 เพื่อใหสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มีกรอบและแนวทางในการดําเนินงานสงเสริม

การจัดการศึกษาในระบบ
2.2 เพื่อใหบคุ ลากรผทู าํ หนาทด่ี า นการจัดการศึกษา สามารถใชปฏิบัติหนาที่ไดตรงตาม

บทบาทหนาทที่ ีช่ ดั เจน เหมาะสม และมปี ระสทิ ธภิ าพ
2.3 เพอ่ื ใหเด็กในวัยเรียนไดร บั การศึกษาอยางทว่ั ถึงและเสมอภาค

3. ขอบเขตของงาน
สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ประกาศนโยบายและแนวปฏิบัติเก่ียวกับ

การรับนักเรียน คณะกรรมการเขตพ้ืนที่การศึกษากําหนดนโยบายฯ ของเขตพื้นท่ีการศึกษา และ
สถานศึกษาในสังกัดรับทราบนโยบายและถือปฏิบัติ สําหรับหนวยงานท่ีอยูในขอบขายของการรวบรวม
ขอมลู ประกอบดว ยหนวยงานตา ง ๆ ดังตอไปนี้

3.1. โรงเรียนในสังกัด สพฐ. ไดแก สถานศึกษาในสังกัด สํานักงานเขตพน้ื ทีการศึกษา
3.2. โรงเรยี นนอกสังกัด สพฐ. (ประเภทสามญั ศึกษา) ไดแก

- สาํ นักบริหารงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชน
- สาํ นักงานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา
- สํานักงานสง เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
- กรมสง เสริมการปกครองสว นทอ งถิ่น (ศูนยพัฒนาเดก็ เล็ก, ร.ร.เทศบาล)
- สาํ นักงานพระพทุ ธศาสนาแหง ชาติ (ร.ร.พระปรยิ ัตธิ รรม แผนกสามญั ศึกษา)
3.3. โรงเรียนนอกสงั กัด สพฐ. (ประเภทอาชวี ศึกษา) ไดแก
- สํานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา (สถาบนั อาชีวศึกษา)
- สํานักงานคณะกรรมการสงเสรมิ การศกึ ษาเอกชน

คมู อื การปฏิบัตงิ าน สำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษา
กลุม สง เสริมการจัดการศึกษา 7

4. คําจาํ กัดความ

4.1 การจัดการศึกษาในระบบ หมายถึง การศึกษาที่มีรูปแบบและระบบแบบแผนชัดเจน
มีการกําหนดวัตถุประสงค หลักสูตร วิธีการจัดการเรียนการสอน การวัดผลและการประเมินผลท่ีแนนอน
โดยการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน แบงออกเปนระดับตาง ๆ คือ ระดับกอนประถมศึกษา ระดับประถมศึกษา
ระดับมัธยมศึกษาตอนตน และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

4.2 การศึกษาภาคบังคับ หมายถึง การศึกษาชั้นปท่ีหนึ่งถึงช้ันปท่ีเกา (ชั้นประถมศึกษา
ปท ่ี 1 ถงึ ช้นั มัธยมศกึ ษาปท่ี 3) ของการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานตามกฎหมายวา ดว ยการศึกษาแหง ชาติ

4.3 การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน หมายถึง การศึกษากอนระดบั อดุ มศึกษา
4.4 เดก็ หมายถงึ เด็กท่ีอยใู นวยั เรียนกอนระดับอดุ มศึกษา
4.5 ผปู กครอง หมายถึง บดิ ามารดา หรือบิดา หรือมารดา ซึ่งเปนผูใชอํานาจปกครองหรือ
ผูปกครองตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย และหมายความรวมถึงบุคคลท่ีเด็กอยูดวยเปนประจํา
หรือเด็กท่ีอยูรับใชการงาน
4.6 แบบ บค. หมายถึง แบบฟอรมทีก่ ําหนดขึ้นเพอื่ ใชเ ปน แนวทางการดําเนินงานตาม
พระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาภาคบังคบั พ.ศ. 2545
4.7 พ้ืนท่เี ขตบริการของโรงเรียน หมายถึง อาณาบริเวณที่โรงเรียนและสํานักงานเขต
พื้นท่ีการศึกษากําหนดขึ้นตามความเหมาะสม โดยมีการตกลงกันระหวางโรงเรียนท่ีอยูใกลเคียง
ท้ังน้ีใหยึด ทร.14 เขตการปกครอง การคมนาคม และสภาพพื้นที่ทางภูมิศาสตร เพื่อโรงเรียนจะได
ใหบ รกิ ารการศกึ ษาและนกั เรียนสามารถเดินทางมาเรียนไดสะดวก
4.8 ศูนยประสานงานการรับนักเรียน หมายถึง การจัดต้ังศูนยบริการการรับนักเรียน
การแกป ญ หาการรับนักเรียน การประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของ หรือดําเนินการอ่ืนใด เพ่ือให
การรับนักเรยี นเปน ไปดว ยความเรียบรอย

5. ขน้ั ตอนการปฏิบัติงาน
5.1 จดั ทาํ นโยบาย แนวปฏิบตั ิเก่ียวกบั การรับนักเรียน
5.2 แตงตงั้ คณะกรรมการ ประชมุ กําหนดนโยบาย
5.3 แจง สถานศึกษาดําเนนิ การตามนโยบาย
5.4 ติดตามและตรวจสอบการรับนกั เรียนในพื้นที่รับผิดชอบ

5.5 สรุปและรายงานผลหนวยงานท่ีเกี่ยวของ

คมู อื การปฏิบัตงิ าน สำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา
8 กลมุ สง เสริมการจัดการศกึ ษา

6. Flow Chart การปฏบิ ตั ิงาน

จดั ทํานโยบาย แนวปฏบิ ัติ
การรบั นักเรียน

แตงต้งั คณะกรรมการประชมุ
เพ่อื กําหนดนโยบาย

แจง สถานศึกษาดาํ เนนิ การตามนโยบาย

ตดิ ตามและตรวจสอบการรบั นักเรียน
ในพื้นทรี่ ับผดิ ชอบ

สรปุ และรายงานผล
หนวยงานท่ีเก่ียวของ

7. แบบฟอรมทีใ่ ช 9
แบบ บค.01 – แบบ บค.31

8. เอกสาร / หลักฐานอา งอิง
8.1 พระราชบญั ญัติทเ่ี กี่ยวของ
- พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และแกไขเพมิ่ เติม
- พระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาภาคบงั คับ พ.ศ. 2545
- พระราชบัญญัตเิ คร่ืองแบบนกั เรียน พ.ศ. 2551
- พระราชบญั ญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534

คมู อื การปฏบิ ตั ิงาน สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา
กลุมสง เสรมิ การจัดการศกึ ษา

8.2 กฎกระทรวงท่ีเก่ียวของ
- กฎกระทรวงกาํ หนดหลักเกณฑและวิธีการกระจายอํานาจการบรหิ ารและ

การจดั การศึกษา พ.ศ. 2550
- กฎกระทรวงกาํ หนดหลักเกณฑและวิธีการนับอายุเด็กเพ่ือเขารบั การศึกษา

ภาคบงั คบั พ.ศ. 2545
8.3 ประกาศทเ่ี กีย่ วของ
- ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรื่อง การสง เด็กเขา เรียนในสถานศกึ ษา พ.ศ. 2546
- ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เร่อื ง หลักเกณฑและวิธีการปฏิบัติสําหรับผูที่มิใช

ผูปกครอง ซ่ึงมีเด็กท่ีมีอายุในเกณฑการศึกษาภาคบังคับไมไดเขาเรียนในสถานศึกษาอาศัยอยู พ.ศ.
2546

- ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรือ่ ง การรับเดก็ เขาเรยี นในสถานศกึ ษา พ.ศ. 2546
- ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการผอนผันใหเด็ก
เขา เรียนกอ นหรือหลังอายุตามหลักเกณฑการศกึ ษาภาคบงั คับ พ.ศ. 2546
- ประกาศสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เรื่อง การกระจาย
อํานาจการบริหารการจัดการศึกษาของเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานไปยัง
คณะกรรมการเขตพื้นท่ีการศึกษาและสถานศึกษาในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขน้ั พื้นฐาน พ.ศ. 2550
8.4 ระเบียบทีเ่ ก่ียวของ
- ระเบยี บกระทรวงศึกษาธกิ ารวาดว ยหลักฐานในการรับนักเรยี น นักศึกษา
เขา เรียนในสถานศกึ ษา พ.ศ. 2548
- ระเบียบกระทรวงศึกษาธกิ ารวาดวยเคร่ืองแบบนักเรียน พ.ศ. 2551

คมู อื การปฏิบตั งิ าน สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษา
10 กลมุ สงเสริมการจัดการศึกษา

คูมอื การปฏิบตั ิงาน สำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา
กลมุ สง เสรมิ การจัดการศกึ ษา 11

1. ชอื่ กระบวนงาน 1.2 การจัดการศึกษาในพน้ื ทีภ่ ูเขา ทรุ กนั ดาร และชาวเล
2. วัตถุประสงค

2.1 เพ่อื ใหเด็กท่อี ยใู นพ้นื ทภี่ เู ขา ทุรกนั ดาร และชาวเลที่อยูในวัยการศึกษาภาคบังคับให
ไดร บั การศึกษาครบทุกคน

2.2 เพ่อื ใหค วามชวยเหลือสถานศึกษาในสังกัดท่ีมีนักเรียนในพ้ืนท่ีภูเขา ทุรกันดาร และ
ชาวเลไดรับการศกึ ษาอยางเหมาะสม และมคี ุณภาพ

3. ขอบเขตของงาน
เด็กวัยเรียนที่อยูในพ้ืนท่ีบริการของแตละโรงเรียน เชน พ้ืนที่ภูเขา และทุรกันดาร

ตองไดเ ขา เรียนทุกคน ตั้งแตระดับอนุบาลจนถึงระดับมัธยมศึกษา สถานศึกษาในสังกัด และประสาน
ความรวมมือกับหนวยงานหรือสถานประกอบการท่ีเกี่ยวของ ไดแก สํานักงานสงเสริมการศึกษา
นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย องคกรปกครองสวนทองถ่ิน โรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดน
การศกึ ษาเฉพาะทาง การจัดการศึกษาของบุคคล ครอบครัว ชมุ ชน สถาบนั ทางศาสนา และสถาบันอนื่ ๆ

4. คําจํากดั ความ
4.1 การจัดการศึกษาในพ้ืนที่ภูเขา หมายถึง การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามกฎหมาย

วา ดวยการศกึ ษาแหง ชาติใหแ กเ ด็กทีอ่ ยใู นพนื้ ท่ีภเู ขา และทอ่ี ยหู างไกลทรุ กันดารหา งจากชุมชนทัว่ ไป
4.2 เดก็ หมายถึง เดก็ ทอี่ ยใู นวยั เรียนกอนระดับอดุ มศกึ ษา
4.3 ชาวเล หมายถึง กลุมชาติพันธุหรือชนเผาที่มีภาษาและวัฒนธรรม เฉพาะของตนเองอัน

แตกตางไปจากคนไทย สวนใหญอาศัยอยูในแถบภาคใตของประเทศไทยในฝงอันดามันอาศัยในเรือ
เพื่อใชเ ปน บานและยานพาหนะ

5. ข้ันตอนการปฏบิ ัติงาน
5.1 ประชาสมั พนั ธ สรางความเขาใจในสิทธิ และหนาท่ีในการจัดการศึกษาของบุคคล

ครอบครวั ชุมชน สถาบนั สถานประกอบการ ฯลฯ
5.2 สํารวจ และจัดทําระบบขอมูลเด็กท่ีอาศัยอยูในพ้ืนท่ีภูเขาท่ีหางไกล ทุรกันดารและ

ชาวเล
5.3 แตง ตั้งประชุมคณะทํางาน แกไขปญหาจดั ใหเ ด็กไดเขารบั การศกึ ษา
5.4 ตดิ ตาม ตรวจสอบ สง เสริม สนบั สนุน แกไขปญ หา สรุปผล
5.5 รายงานผลการดาํ เนินงาน

คมู อื การปฏบิ ัติงาน สำนักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษา
12 กลุมสง เสรมิ การจดั การศึกษา

6. Flow Chart การปฏบิ ัตงิ าน

ประชาสมั พันธ สรา งความเขาใจสง เสรมิ
สนบั สนุนการจัดการศึกษา

สํารวจ ขอมลู เด็กในพน้ื ทภ่ี ูเขา หางไกล ทุรกนั ดาร และชาวเล

แตงตั้ง คณะทํางาน
จัดประชมุ เพื่อแกไ ขปญ หา

ตดิ ตาม ตรวจสอบ สงเสริม
สนับสนุน แกป ญ หา สรปุ ผล

รายงานผลการดําเนนิ งาน
7. แบบฟอรม ที่ใช

แบบสํารวจเด็กวัยการศึกษาภาคบงั คับ (อายยุ างเขา ปท่ี 7-16 ป) ท่ยี งั ไมไดเ ขา เรยี น
ซงึ่ ที่อาศัยอยูในพ้ืนท่ภี เู ขา ที่หางไกลทุรกนั ดาร (แบบ บค.01 – แบบ บค.31)
8. เอกสาร/ หลักฐานอา งองิ

- รัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550
- พระราชบญั ญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แกไขเพ่ิมเติม
- พระราชบญั ญัติการศึกษาภาคบังคบั พ.ศ. 2545

คมู อื การปฏบิ ัตงิ าน สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา
กลมุ สง เสริมการจัดการศกึ ษา 13

คมู ือการปฏบิ ตั ิงาน สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษา
14 กลมุ สงเสริมการจัดการศกึ ษา

1. ช่อื กระบวนงาน 1.3 การจัดการศกึ ษาเด็กไรสญั ชาติ เด็กตา งชาตพิ ันธุ
2. วตั ถุประสงค

2.1 เพ่อื ใหเ ด็กทไี่ มมหี ลักฐานทางทะเบียนราษฎรไดเขาเรียนในสถานศึกษาในระดับ
การศึกษาภาคบงั คับ

2.2 เพ่อื จัดทาํ ทะเบียนใหเดก็ ทีไ่ มมีหลักฐานทางทะเบียนราษฎร ไดเขา เรยี นใหส อดคลอง
กบั แนวนโยบายการจดั การศกึ ษาตามแผนการศึกษาแหงชาติ

2.3 เพอ่ื ประสานกับหนว ยงานท่เี กี่ยวขอ งกบั การศึกษาของเดก็ ไรสัญชาติ

3. ขอบเขตของงาน
เด็กวัยเรยี นท่ีอยูในพื้นท่ีบริการของแตละโรงเรียน เด็กไรสัญชาติ เด็กตางชาติพันธุ

ตองไดรับการศึกษาสนองนโยบายการจัดการศึกษาตามแผนการศึกษาแหงชาติ ซ่ึงจะเปนประโยชน
ตอประเทศในระยะยาว โดยไมมีผลกระทบตอ ความม่นั คงของประเทศชาติ

4. คาํ จํากัดความ
4.1 เด็กไรสัญชาติ เด็กตางชาติพันธุ หมายถึง เด็กที่ไมมีหลักฐานทางทะเบียน

ราษฎร หรอื เดก็ ท่ีไมใ ชเชื้อชาตสิ ญั ชาตไิ ทย แตอ าศัยอยใู นพนื้ ท่ีประเทศไทย
4.2 เดก็ หมายถึง เด็กทีอ่ ยใู นวัยเรยี นกอนระดบั อุดมศกึ ษา

5. ขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน
5.1 ประชาสัมพันธ สรา งความเขา ใจในแผนการศึกษาแหง ชาติ
5.2 สาํ รวจ และจัดทําขอมลู เดก็ ไรสญั ชาติ เดก็ ตางชาติพันธุ
5.3 แตง ตัง้ คณะทาํ งานและประชุมแกไขปญหา
5.4 จดั การศกึ ษา ตามความเหมาะสม ประสานหนวยงานท่เี ก่ยี วของ
5.5 ติดตาม ตรวจสอบ สรปุ และแกไขปญ หาผลการจดั การศกึ ษา
5.6 รายงานผล

6. Flow Chart การปฏิบัตงิ าน

ประชาสมั พนั ธ สรางความเขาใจ
แผนการศกึ ษาแหงชาติ

คูมือการปฏบิ ตั ิงาน สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา
กลมุ สง เสรมิ การจดั การศกึ ษา 15

สํารวจ และจัดทาํ ขอมูลเดก็ ไรสญั ชาติ เดก็ ตางชาติพนั ธุ

แตง ตง้ั คณะทํางานและประชมุ แกไ ข
ปญหารวมกบั หนว ยงานท่เี กี่ยวของ

จัดการศึกษาตามความเหมาะสม
ประสานหนวยงานที่เกี่ยวของ

ติดตาม ตรวจสอบ แกไขปญหา สรุปผล

รายงานผลการดําเนินงาน

7. แบบฟอรม ทีใ่ ช

แบบสาํ รวจเดก็ วยั การศึกษาภาคบังคับ (อายุยางเขาปท่ี 7-16 ป) ท่ียังไมไดเขาเรียน
ซงึ่ เปนเดก็ ไรสญั ชาติ ตา งชาติพนั ธุ

8. เอกสาร/ หลักฐานอา งองิ

พ.ศ. 2548 8.1 รฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2550
8.2 พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และทีแ่ กไ ขเพิ่มเตมิ
8.3 พระราชบญั ญัติการศกึ ษาภาคบงั คบั พ.ศ. 2545
8.4 ระเบยี บกระทรวงศึกษาธกิ ารวาดว ยหลักฐานการรับนักเรียนเขาเรียนในสถานศึกษา

8.5 พระราชบญั ญัติคมุ ครองเด็ก พ.ศ. 2546

คูมือการปฏิบตั งิ าน สำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา
16 กลมุ สง เสรมิ การจดั การศกึ ษา

คูมอื การปฏิบตั ิงาน สำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา
กลมุ สง เสรมิ การจัดการศกึ ษา 17

1. ชอื่ กระบวนงาน 1.4 งานจัดการศึกษาในพนื้ ท่พี เิ ศษ(เฉพาะเขตทอ่ี ยูใน 5 จังหวดั ชายแดนภาคใต)

2. วัตถุประสงค

1. เพื่อจัดการศึกษาสําหรับแลกเปล่ียนนักเรียนจาก พื้นที่พิเศษกับสถานศึกษาใน
สังกัดสาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา

2. เพ่ือสรางโอกาสทางการศึกษาใหกับเด็กเขตพ้ืนที่พิเศษ ใหเรียนในระดับชั้น ม.4-6 ใน
โรงเรยี นที่มชี ่ือเสียงในกรุงเทพฯ จงั หวดั ปรมิ ณฑลและจงั หวดั อ่นื ๆ

3. ขอบเขตของงาน

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาดําเนินการตามหลักเกณฑในการจัดกา รศึกษาสําหรับ
แลกเปลีย่ นนักเรยี นจากพื้นทพ่ี ิเศษกบั สถานศึกษาในสงั กัดสาํ นักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา

4. คาํ จํากดั ความ

นักเรียนแลกเปลีย่ น หมายถงึ นักเรยี นในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจากสถานศึกษา
ในเขตพ้ืนท่ีพิเศษที่ประสงคมาเรียนรูและแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกับนักเรียนในสถานศึกษาในสังกัด
สํานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาในพ้ืนทปี่ กติ

5. ข้ันตอนการปฏิบัติงาน

5.1 สํารวจความตองการจัดการศกึ ษาใหก ับนักเรียน
5.2 ประชมุ ชแ้ี จงผูบรหิ ารโรงเรยี นและครูผูรบั ผิดชอบ
5.3 ปฐมนิเทศนักเรยี น
5.4 จัดการเรยี นการสอน และทํากจิ กรรม
5.5 สรุปผลการเรียน และสง นกั เรยี นกลบั ภมู ลิ าํ เนา

6. Flow Chart การปฏิบตั งิ าน

สํารวจความตองการ

ประชมุ ช้ีแจง

คมู อื การปฏบิ ัตงิ าน สำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา
18 กลมุ สง เสรมิ การจัดการศกึ ษา

ปฐมนเิ ทศนกั เรยี น
จดั การเรียนการสอน

ทํากิจกรรม
วเิ คราะห สรุปผล และสงนกั เรียน

กลับภมู ลิ ําเนา

7. แบบฟอรม ทีใ่ ช

-

8. เอกสาร/ หลกั ฐานอางองิ
-

คมู อื การปฏิบัติงาน สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษา
กลมุ สง เสริมการจัดการศึกษา 19

คมู ือการปฏบิ ตั ิงาน สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษา
20 กลมุ สงเสริมการจัดการศกึ ษา

1. ชือ่ กระบวนงาน 1.5 การแกป ญ หาเด็กตกหลน เด็กกลมุ เสีย่ ง และเด็กออกกลางคัน

2. วตั ถปุ ระสงค

2.1 เพ่อื ใหเด็กในวยั เรยี นไดเขา เรียนการศึกษาภาคบังคบั ทุกคนและเรียนตอเนื่อง
จนจบระดับการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน

2.2 เพื่อใหมีระบบการเฝา ระวงั เด็กในวัยเรียนใหไดรบั การศกึ ษาอยา งมคี ุณภาพ

3. ขอบเขตของงาน

เด็กวัยเรียนท่ีอยูในพื้นที่เขตบริการของแตละโรงเรียนตองไดเขาเรียนทุ กคนตั้งแต
ระดับชั้นอนบุ าลจนถงึ ระดบั มธั ยมศกึ ษา สถานศึกษาในสงั กดั และประสานความรวมมือกับหนวยงาน
หรือสถานประกอบการที่เกี่ยวของ ไดแก สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศยั สถานศกึ ษาสังกดั อาชวี ะศกึ ษา โรงเรียนพระปรยิ ัติธรรม ศูนยการเรียนในสถานประกอบการ
หองเรยี นสาขา ฯลฯ

4. คําจาํ กดั ความ

4.1 การศึกษาภาคบังคับ หมายถึง ชั้นประถมศึกษาปท่ี 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3
ของการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานตามกฎหมายวา ดว ยการศึกษาแหง ชาติ

4.2 การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน หมายถงึ การศกึ ษากอ นระดับอดุ มศกึ ษา
4.3 เดก็ หมายถึง เด็กท่ีอยใู นวยั เรียนกอ นระดับอุดมศกึ ษา
4.4 เด็กตกหลน หมายถึง เด็กในวัยการศึกษาภาคบังคับท่ียังไมไดเขาเรียนใน
สถานศึกษา ขั้นพ้นื ฐาน
4.5 เด็กกลุมเส่ียง หมายถึง เด็กที่มีแนวโนมวาจะออกจากสถานศึกษากอนเรียนจบ
การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน
4.6 เด็กออกกลางคัน หมายถึง เด็กในวัยการศึกษาภาคบังคับท่ีเคยเขาเรียนใน
สถานศึกษาแลว แตอ อกจากสถานศกึ ษากอ นที่จะจบการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน

5. ขน้ั ตอนการปฏิบตั งิ าน

5.1 สํารวจและจดั ทําระบบขอมูลเด็กตกหลน เด็กกลุมเส่ียง และเดก็ ออกกลางคนั ใน
แตล ะปใ หค รอบคลมุ และชดั เจน

คูมือการปฏิบัตงิ าน สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษา
กลมุ สงเสรมิ การจดั การศกึ ษา 21

5.2 แตงต้ังและประชุมคณะทํางานแกไขปญหาเด็กตกหลน เด็กกลุมเส่ียง และเด็กออก
กลางคนั เพ่อื วิเคราะหส ภาพปญ หา หาสาเหตุ และวธิ ีการแกไขปญหา

5.3 ช้ีแจงและแนะนําแนวทางปฏิบัติ/วิธีแกไขปญหาใหสถานศึกษารับทราบและ
ถือปฏิบตั ิ

5.4 ตรวจสอบ ติดตาม เด็กตกหลน และเดก็ ออกกลางคนั ตามแนวทางที่กาํ หนด
5.5 สรปุ และรายงานผลการดําเนินงาน

6. Flow Chart การปฏิบตั งิ าน

สํารวจและจดั ทําสารสนเทศเด็กตกหลน เดก็ กลมุ
เสี่ยงและเด็กออกกลางคันอยา งถกู ตอง
และเปนระบบ

แตง ตงั้ และจดั ประชุมคณะกรรมการ
แกไ ขปญหาเดก็ ตกหลน เด็กกลุม

เสยี่ ง และเด็กออกกลางคัน

แจง แนวปฏิบัตแิ ละวิธีแกไขปญหาฯ ใหส ถานศึกษาใน
สงั กัดทราบและถือปฏิบตั ิ ตามคมู ือ/แนวทางท่ีกาํ หนด

ตรวจสอบ ติดตามการแกปญ หาฯ
และจัดทําสรปุ ผลการติดตาม

สรุป รายงานผล

คูม อื การปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
22 กลุมสงเสรมิ การจดั การศึกษา

7. แบบฟอรม ท่ใี ช

แบบสํารวจขอมูลเด็กวัยการศึกษาภาคบังคับ (อายุยางเขาปท่ี 7-16 ป) ที่ยังไมได
เขาเรียน หรือเขาเรียนแลวแตออกกลางคัน หรือมีแนวโนมวาจะออกกลางคัน สังกัดสํานักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน (แบบ บค. 01- บค. 31)

8. เอกสาร / หลักฐานอางองิ

8.1 รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2550
8.2 พระราชบญั ญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แกไ ขเพ่ิมเติม
8.3 พระราชบญั ญัติการศึกษาภาคบังคบั พ.ศ. 2545
8.4 เอกสารทะเบยี นราษฎร ทร. 14

คูมือการปฏบิ ัตงิ าน สำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษา
กลมุ สง เสริมการจัดการศึกษา 23

คมู ือการปฏบิ ตั ิงาน สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษา
24 กลมุ สงเสริมการจัดการศกึ ษา

1.6 งานทะเบยี นหลกั ฐานการศึกษา
1. ช่อื กระบวนงาน 1.6.1 การจัดเกบ็ หลกั ฐานการศึกษา

2. วตั ถปุ ระสงค

2.1 เพ่ือใหสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มีกรอบและแนวทางในการดําเนินงาน
สง เสริมการจดั การศึกษาในระบบ

2.2 เพื่อใหบุคลากรผูทําหนาท่ีดานการจัดการศึกษา สามารถใชปฏิบัติหนาที่ไดตรง
ตามบทบาทหนา ทท่ี ชี่ ัดเจน เหมาะสม และมปี ระสทิ ธิภาพ

2.3 เพือ่ ใหบริการแกห นวยงานและประชาชนที่สําเร็จการศึกษาแลว สามารถตรวจสอบ
ขอมูลการสาํ เรจ็ การศกึ ษา

3.ขอบเขตของงาน

สถานศกึ ษาในสงั กดั สํานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาหรอื เขตพืน้ ที่
มัธยมศึกษาแลว แตก รณี

4. คาํ จาํ กดั ความ

4.1 หลกั ฐานทางการศึกษา หมายถงึ เอกสารหลกั ฐานการศึกษาแบงไวเปน 2
ประเภท คอื

1. เอกสารหลักฐานการศึกษาท่ีกระทรวงศกึ ษาธิการกาํ หนด ไดแ ก
1) ระเบียนแสดงผลการเรยี น (ปพ.1)
2) ประกาศนียบตั ร (ปพ.2)
3) แบบรายงานผสู าํ เร็จการศึกษา (ปพ.3)

2. เอกสารหลักฐานทโ่ี รงเรยี นกําหนด ไดแ ก
1) แบบบันทึกผลการเรยี นประจําวชิ า
2) แบบรายงานประจาํ ตวั นักเรียน
3) ใบรบั รองผลการเรียน
4) ระเบยี นสะสม

4.2 มาตรฐานการเรียนรูข นั้ พน้ื ฐาน หมายถงึ ส่ิงที่นกั เรยี นพึงรูและปฏิบัติไดเม่ือจบ
การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน

คมู อื การปฏบิ ัติงาน สำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา
กลมุ สงเสรมิ การจัดการศกึ ษา 25

4.3 มาตรฐานการเรียนรูชวงช้ัน หมายถึง สิ่งที่นักเรียนพึงรูและปฏิบัติไดเม่ือเรียน
จบระดับชั้นสําคัญไดแกประถมศึกษาปท่ี 3 ประถมศึกษาปท่ี 6 มัธยมศึกษาปที่ 3 และมัธยมศึกษา
ปที่ 6

4.4 หลักสูตร หมายถึง ประมวลความรูและประสบการณท่ีจัดข้ึนเพ่ือพัฒนาผูเรียน
ใหม คี วามรู ความสามารถ ทกั ษะ และคณุ ลกั ษณะตามท่กี าํ หนดไว

4.5 หลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน หมายถึง หลักสูตรท่ีใชในการจัดการเรียนการ
สอนเพ่ือพัฒนาผูเรียนในระดับการศึกษาที่ต่ํากวาอุดมศึกษา โดยมุงหวังใหผูเรียนมีความสมบูรณ
ท้ังดานรางกาย จติ ใจและสตปิ ญญา

4.6 หลักสูตรแกนกลาง หมายถึง หลักสูตรในสวนท่ีสํานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพ้ืนฐานกําหนดข้ึนสําหรับสถานศึกษาใชในการพัฒนาผูเรียนทุกคนในระดับการศึกษา
ขน้ั พื้นฐาน

5. ขั้นตอนการปฏบิ ัติงาน

5.1 ศกึ ษา ระเบียบ กฎหมายทีเ่ ก่ยี วของ
5.2 แตงตัง้ คณะกรรมการ ประชมุ คณะกรรมการ แจง ระเบียบ แนวปฏิบัตเิ ก่ียวกับ
การรายงานผลการศึกษาใหสถานศกึ ษาทราบ
5.3 รวบรวมแบบรายงานผลการศึกษา จัดทําทะเบียน จัดเก็บใหเปน ระบบและ
ตรวจสอบได
5.4 ตรวจสอบความถกู ตอง ใหเ ปนไปตามระเบียบ กฎหมาย

6. Flow Chart การปฏบิ ตั ิงาน

ศึกษาระเบยี บ กฎหมาย
ท่ีเกี่ยวขอ ง

แตงตั้งคณะกรรมการ และประชมุ
คณะกรรมการ

คูมือการปฏบิ ัติงาน สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษา
26 กลุมสงเสรมิ การจดั การศึกษา

รวบรวมแบบรายงานผลการศึกษา จดั ทาํ ทะเบยี น จัดเก็บใหเ ปน ระบบ และตรวจสอบได
ตรวจสอบความถูกตอง

ไมถกู ถูกตอง
สง กลับไปแกไ ข เขา ระบบการจัดเก็บ

7. แบบฟอรม ทีใ่ ช

7.1 ป.02, ป.05 ปพ 1, ปพ 2
7.2 รบ.2-ต ,รบ.2-ป
7.3 ปพ.3:1, ปพ.3:2 , ปพ.3:3, ปพ3:4
7.5 ปพ.3:ป, ปพ.3:บ, ปพ.3:พ
7.6 ใบสุทธิ (กรณโี รงเรียนยุบเลกิ )

8. เอกสารอางองิ

8.1 แผนการศกึ ษาแหง ชาติ พุทธศักราช 2520 และ 2535
- หลกั สูตรประถมศึกษา พทุ ธศักราช 2521
- หลักสตู รมัธยมศึกษาตอนตน พุทธศกั ราช 2521
- หลกั สตู รมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย พทุ ธศักราช 2524

8.2 พระราชบัญญัติการศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพ่ิมเติม
- หลกั สตู รการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2544
- หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551

คมู อื การปฏิบตั งิ าน สำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษา
กลมุ สงเสรมิ การจัดการศึกษา 27

คมู ือการปฏบิ ตั ิงาน สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษา
28 กลมุ สงเสริมการจัดการศกึ ษา

1. ชอ่ื กระบวนงาน 1.6.2 การยกเลกิ หลักฐานการศึกษา

2. วัตถปุ ระสงค

2.1 เพ่อื ใหส าํ นกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษา มีกรอบและแนวทางในการดาํ เนินงานสงเสรมิ
การจดั การศกึ ษาในระบบ

2.2 เพื่อใหบ คุ ลากรผูท าํ หนาทดี่ านการจดั การศึกษา สามารถใชป ฏิบัติหนา ท่ไี ดต รงตาม
บทบาทหนาท่ีที่ชัดเจน เหมาะสม และมีประสทิ ธิภาพ

2.3 เพื่อมิใหน ําหลักฐานท่ีเสียหายไปใชเปน หลกั ฐานทางราชการ

3. ขอบเขตของงาน

การออกหลักฐานการศึกษาของสถานศึกษาในสงั กัดสํานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษา
ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา

4. คาํ จํากดั ความ

4.1 หลกั ฐานทางการศกึ ษา หมายถึง เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาไวเ ปน 2 ประเภท คือ
1. เอกสารหลักฐานการศกึ ษาท่ีกระทรวงศกึ ษาธิการกําหนด ไดแก
1) ระเบยี นแสดงผลการเรียน (ปพ.1)
2) ประกาศนียบัตร (ปพ.2)
3) แบบรายงานผสู าํ เร็จการศกึ ษา (ปพ.3)
2.เอกสารหลกั ฐานท่ีโรงเรยี นกําหนด ไดแก
1) แบบบนั ทกึ ผลการเรียนประจําวิชา
2) แบบรายงานประจําตวั นักเรยี น
3) ใบรับรองผลการเรยี น
4) ระเบียนสะสม

4.2 มาตรฐานการเรยี นรูขน้ั พืน้ ฐาน หมายถึง สงิ่ ทนี่ ักเรยี นพงึ รแู ละปฏบิ ัตไิ ดเ มอ่ื จบการศึกษา
ขน้ั พน้ื ฐาน

4.3 มาตรฐานการเรียนรูชวงช้ัน หมายถึง ส่ิงท่ีนักเรียนพึงรูและปฏิบัติไดเมื่อเรียนจบระดับชั้น
สาํ คัญไดแ ก ประถมศกึ ษาปท ่ี 3 ประถมศกึ ษาปที่ 6 มัธยมศกึ ษาปท ่ี 3 และมัธยมศึกษาปที่ 6

4.4 หลักสูตร หมายถึง ประมวลความรูและประสบการณท่ีจัดข้ึนเพื่อพัฒนาผูเรียนใหมี
ความรู ความสามารถ ทกั ษะ และคุณลักษณะตามทีก่ าํ หนดไว

คูมอื การปฏิบตั ิงาน สำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษา
กลมุ สงเสริมการจัดการศึกษา 29

4.5 หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน หมายถึง หลักสูตรที่ใชในการจัดการเรียนการสอนเพ่ือ
พัฒนาผูเรียนในระดับการศึกษาท่ีต่ํากวาอุดมศึกษา โดยมุงหวังใหผูเรียนมีความสมบูรณทั้งดาน
รางกาย จติ ใจและสติปญ ญา

4.6 หลักสูตรแกนกลาง หมายถึง หลักสูตรในสวนท่ีสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ข้ันพื้นฐานกําหนดข้ึนสําหรบั สถานศกึ ษาใชใ นการพฒั นาผเู รียนทกุ คนในระดบั การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน

5. ข้นั ตอนการปฏิบัติงาน

5.1 ศึกษา กฎหมาย ระเบยี บ และแนวทางการดําเนนิ งาน
5.2 แตงตง้ั คณะกรรมการเพ่ือพจิ ารณาการขอยกเลิกหลกั ฐานทางการศึกษา
5.3 ประชุมพิจารณา วิเคราะห เอกสาร หลักฐาน และใหความเห็นเก่ียวกับการยกเลิก
หลกั ฐานทางการศกึ ษา
5.4 เสนอผูอํานวยการสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา หรือผูมีอํานาจ เพื่อพิจารณาใหความ
เห็นชอบยกเลิกหลักฐานทางการศึกษาโดยออกประกาศยกเลกิ หลกั ฐานทางการศึกษา
5.5 แจงประกาศการยกเลิกหลักฐานทางการศึกษา ใหทุกกระทรวง สถานศึกษาในสังกัด
และสํานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา ท่ัวประเทศทราบและหา มมิใหรับไวเปนหลกั ฐานของทางราชการ

6. Flow Chart การปฏิบตั งิ าน

ศกึ ษาระเบยี บ กฎหมาย

แตงต้งั คณะกรรมการพิจารณาตรวจสอบการขอยกเลิกหลักฐานทางการศกึ ษา

ประชุม พจิ ารณา วิเคราะห ตรวจสอบ เอกสาร หลักฐาน

เสนอผูอ าํ นวยการเขตพืน้ ท่ีการศึกษาหรอื ผมู ีอํานาจใหความเหน็ ชอบ

แจงประกาศยกเลกิ ฯ

คูม ือการปฏบิ ัตงิ าน สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา
30 กลมุ สงเสริมการจัดการศกึ ษา

7. แบบฟอรม ทใ่ี ช

7.1 หนงั สอื ขอยกเลกิ หลักฐานทางการศกึ ษา
7.2 ประกาศยกเลิกหลักฐานทางการศกึ ษา

8. เอกสารอางอิง

8.1 แผนการศึกษาแหง ชาติ พุทธศักราช 2520 และ 2535
- หลกั สูตรประถมศึกษา พทุ ธศักราช 2521
- หลกั สูตรมธั ยมศึกษาตอนตน พุทธศักราช 2521

- หลกั สตู รมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย พทุ ธศกั ราช 2524
8.2 พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และแกไขท่ีเพ่ิมเติม
- หลกั สูตรการศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2544

- หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551

คูม ือการปฏิบตั ิงาน สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา
กลุมสงเสริมการจดั การศกึ ษา 31

คมู ือการปฏบิ ตั ิงาน สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษา
32 กลมุ สงเสริมการจัดการศกึ ษา

1. ชอื่ กระบวนงาน 1.6.3 ตรวจสอบวุฒิ การรับรองความรู และเทียบโอนผลการเรยี น

2. วัตถปุ ระสงค

2.1 เพื่อใหสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มีกรอบและแนวทางในการดําเนินงานสงเสริม
การจัดการศึกษาในระบบ

2.2 เพื่อใหบุคลากรผูทําหนาที่ดานการจัดการศึกษา สามารถใชปฏิบัติหนาที่ไดตรงตามบทบาท
หนา ทีท่ ่ชี ัดเจน เหมาะสม และมปี ระสทิ ธิภาพ

2.3 เพื่อใหบริการนักเรียน นักศึกษา และประชาชนท่ัวไปท่ีสําเร็จการศึกษา หรือตองการ
ศกึ ษาในระดบั ท่ีสงู ขน้ึ

3.ขอบเขตของงาน

สถานศกึ ษาในสังกัดสาํ นกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา และมัธยมศกึ ษา

4. คาํ จํากัดความ

4.1 หลกั ฐานทางการศึกษา หมายถงึ เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาแบง ไวเปน 2 ประเภท คือ
1. เอกสารหลกั ฐานการศึกษาทกี่ ระทรวงศกึ ษาธกิ ารกาํ หนด ไดแก
1) ระเบียนแสดงผลการเรยี น (ปพ.1)
2) ประกาศนียบัตร (ปพ.2)
3) แบบรายงานผูสาํ เรจ็ การศึกษา (ปพ.3)
2. เอกสารหลกั ฐานท่ีโรงเรยี นกําหนด ไดแ ก
1) แบบบนั ทึกผลการเรยี นประจาํ วิชา
2) แบบรายงานประจําตัวนักเรียน
3) ใบรับรองผลการเรยี น
4) ระเบยี นสะสม

4.2 การตรวจสอบวุฒิ หมายถึง หนวยงาน สถานศึกษา หรือบุคคลมีความประสงคขอทราบ
ขอเท็จจรงิ เก่ยี วกบั การจบการศึกษาของนักเรยี นเพอ่ื การสมัครเขาทํางานหรอื ศกึ ษาตอ

4.3 การรับรองความรู หมายถึง การรับรองความรูหรือสถานะทางการศึกษาของนักเรียน
ใหก ับหนว ยงาน สถานศกึ ษา หรอื บคุ คล โดยสถานศึกษาเปนผรู บั รองวฒุ ใิ ห

4.4 การเทียบโอนผลการเรียน หมายถึง ผูที่กําลังศึกษาตามหลักสูตรใดหลักสูตรหนึ่ง หรือ
มีผลการเรียนท่ีสะสมไวและจะขอเทียบโอนผลการเรียนเขาสูการศึกษาข้ัน พื้นฐานในสถานศึกษาใด

คูมือการปฏิบัติงาน สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา
กลมุ สง เสรมิ การจดั การศึกษา 33

สถานศึกษาหนึ่ง หรือในหลักสูตรใดหลักสูตรหนึ่ง เพื่อเรียนตอเน่ืองใหจบการศึกษาตามหลักสูตร
น้ัน ๆ ท้งั วุฒิการศึกษาในประเทศและตา งประเทศ

4.5 มาตรฐานการเรยี นรูข ั้นพนื้ ฐาน หมายถงึ สิ่งที่นักเรยี นพงึ รแู ละปฏบิ ตั ไิ ดเ มื่อจบการศึกษา
ขน้ั พ้นื ฐาน

4.6 มาตรฐานการเรียนรูชวงชั้น หมายถึง สิ่งท่ีนักเรียนพึงรูและปฏิบัติไดเมื่อเรียนจบระดับช้ัน
สาํ คญั ไดแ ก ประถมศกึ ษาปท่ี 3 ประถมศกึ ษาปท ี่ 6 มัธยมศกึ ษาปที่ 3 และมัธยมศึกษาปที่ 6

4.7 หลักสูตร หมายถึง ประมวลความรูและประสบการณที่จัดขึ้นเพ่ือพัฒนาผูเรียนใหมี
ความรู ความสามารถ ทกั ษะ และคณุ ลักษณะตามท่ีกาํ หนดไว

4.8 หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน หมายถึง หลักสูตรท่ีใชในการจัดการเรียนการสอนเพ่ือ
พฒั นาผเู รยี นในระดบั การศึกษาทต่ี าํ่ กวาอดุ มศึกษาโดยมงุ หวงั ใหผ ูเ รยี นมีความสมบูรณท้ังดานรางกาย
จิตใจและสติปญญา

4.9 หลกั สตู รแกนกลาง หมายถงึ หลกั สูตรในสวนท่ีสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กาํ หนดข้นึ สาํ หรับสถานศึกษาใชใ นการพัฒนาผเู รยี นทุกคนในระดบั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน

5. ข้ันตอนการปฏบิ ตั ิงาน

5.1 ศกึ ษาระเบียบ กฎหมาย และขน้ั ตอนการดําเนนิ งาน
5.2 ดําเนินการตรวจสอบวุฒิการศึกษาตามท่ีหนวยงาน/สถาบันขอความรวมมือโดย
ยนื่ เอกสารใหส ํานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาตรวจสอบ
5.3 เสนอผูอ ํานวยการเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาหรือผูม ีอํานาจ ลงนามยนื ยันการตรวจสอบวฒุ ิการศึกษา
5.4 แจง ผลการตรวจสอบวุฒิการศึกษาใหสถาบนั และหนวยงานทข่ี อตรวจสอบวุฒิทราบกรณี
เปน เอกสารท่ถี ูกตอง

6. Flow Chart การปฏบิ ตั ิงาน

ศึกษาระเบยี บ กฎหมาย
และขัน้ ตอนการดาํ เนินงาน

ดําเนินการตรวจสอบวฒุ กิ ารศึกษาตามที่หนว ยงาน/
สถาบันขอความรว มมอื โดยย่นื เอกสารใหส ํานักงานเขต

พ้นื ที่การศึกษาตรวจสอบ

คมู ือการปฏบิ ตั งิ าน สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษา
34 กลุม สงเสริมการจัดการศกึ ษา

เสนอ ผอ.สพท. หรอื ผมู อี ํานาจลงนาม
ยืนยันการตรวจสอบวุฒิการศึกษา

แจงผลการตรวจสอบวุฒิ
การศึกษาใหส ถาบนั และ

หนวยงานท่ีขอ

7.แบบฟอรมทีใ่ ช

หนังสอื รับรองความรู

8. เอกสารอา งองิ

8.1 แผนการศึกษาแหงชาติ พทุ ธศกั ราช 2520 และ 2535
- หลกั สูตรประถมศึกษา พทุ ธศกั ราช 2521
- หลักสตู รมธั ยมศึกษาตอนตน พทุ ธศกั ราช 2521

- หลกั สูตรมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย พทุ ธศักราช 2524
8.2 พระราชบญั ญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และแกไขทีเ่ พ่ิมเตมิ
- หลักสตู รการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2544

- หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551

คมู อื การปฏบิ ตั ิงาน สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษา
กลมุ สง เสรมิ การจัดการศกึ ษา 35

คมู ือการปฏบิ ตั ิงาน สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษา 9. แบบฟอรม สรปุ มาตรฐานงาน
36 กลมุ สงเสริมการจัดการศกึ ษา
1. การจัดการศกึ ษาในระบบ

ช่ือกระบวนงาน 1.6.3 งานทะเบียนหลกั ฐานการศึกษา ตรวจสอบวฒุ ิ การรับรองความรู และเทียบโอนผลการ สํานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษา กลุมสงเสรมิ การจดั การศกึ ษา

เรียน

วัตถปุ ระสงค : 1. เพื่อใหสํานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามีกรอบแนวทางการดําเนนิ งานการจดั การศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ

2. เพอ่ื ใหบริการนักเรยี น นกั ศึกษา ศึกษาตอในระดับทส่ี ูงข้ึน

ลาํ ดบั ท่ี ผงั ขัน้ ตอนการดาํ เนนิ งาน รายละเอยี ดงาน เวลาดาํ เนนิ การ มาตรฐานคณุ ภาพงาน ผูรับผิดชอบ

1. ศกึ ษาระเบยี บ กฎหมาย และขัน้ ตอนการดําเนินงาน 1 สัปดาห กฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ ง กลุมสง เสรมิ การจดั
ศึกษาระเบยี บ กฎหมาย
การศกึ ษา
และข้ันตอนการดําเนนิ งาน

2. สํานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาดาํ เนนิ การตรวจสอบวฒุ ิ ตลอดป - กลุม สงเสรมิ การจดั
ดําเนินการตรวจสอบวฒุ กิ ารศึกษาตามทหี่ นวยงาน/ การศึกษา
สถาบันขอความรวมมือโดยย่นื เอกสารใหส ํานักงาน การศกึ ษาตามที่สถาบนั /หนว ยงานขอความรว มมอื
- กลุมสงเสรมิ การจดั
เขตพื้นท่ีการศกึ ษาตรวจสอบ การศกึ ษา

3. เสนอ ผอ.สพท. หรอื ผมู ีอาํ นาจลงนาม เสนอ ผอ.สพท. หรอื ผูม ีอาํ นาจลงนามยืนยนั การ 1 สปั ดาห

ตรวจสอบวฒุ ิการศกึ ษา

5. แจงผลการตรวจสอบวฒุ ิการศึกษาใหส ถาบันและ 1 สัปดาห ตามแบบทีก่ าํ หนด กลุมสงเสรมิ การจดั

แจง ผลการตรวจสอบ หนว ยงานท่ีขอตรวจสอบวุฒิการศกึ ษา การศึกษา

อธิบายสญั ลักษณผ งั ข้นั ตอน จุดเรม่ิ ตนหรือสนิ้ สุดกระบวนงาน กิจกรรมงานหรอื การปฏบิ ตั ิ การตัดสนิ ใจ ทศิ ทางหรือการเคลือ่ นไหวของงาน { จุด

เชอ่ื มตอ ระหวา งหนา (ถา ไมจ บภายใน 1หนา )

1. ชอ่ื กระบวนงาน 1.6.4 การซอื้ แบบพิมพทางการศึกษา

2. วัตถปุ ระสงค

2.1 เพ่ือใหสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา มีกรอบและแนวทางในการดําเนินงานสงเสริมการจัด
การศึกษาในระบบ

2.2 เพือ่ ใหบุคลากรผทู ําหนาทด่ี านการจัดการศึกษา สามารถใชป ฏบิ ตั หิ นา ที่ไดตรงตามบทบาท
หนา ท่ีทีช่ ัดเจน เหมาะสม และมีประสิทธภิ าพ

2.3 เพ่ือใหบ ริการสถานศึกษาในการออกเอกสารการจบการศึกษา

3. ขอบเขตของงาน

3.1 สถานศกึ ษาในเขตพน้ื ที่ที่สาํ นักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษารับผิดชอบใหสํานักงาน
เขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษา เปนผสู ัง่ ซ้ือแบบพมิ พทางการศกึ ษาให

3.2 สถานศึกษาสังกัดในเขตพื้นที่ที่สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาใหสํานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เปน ผูสั่งซื้อแบบพิมพท างการศกึ ษาให

4. คาํ จํากัดความ

4.1 แบบพิมพทางการศึกษา หมายถึง แบบฟอรมหรือเอกสารที่เก่ียวของกับประวัตินักเรียน
รายวชิ าเรียน ผลการเรยี น และจัดแผนการลงทะเบียนใหกบั นักเรียน รวมทั้งรายงาน ปพ.1 รายงาน ปพ. 2
บนแบบพิมพประกาศนียบัตร ท่ีกระทรวงศึกษาธิการกําหนดดวยตัวอักษรอาลักษณ รายงาน ปพ. 7
ใบรับรองผลการศกึ ษา รวมถงึ ใบแทนประกาศนียบัตร

4.2 มาตรฐานการเรียนรูขั้นพ้ืนฐาน หมายถึง สิ่งท่ีนักเรียนพึงรูและปฏิบัติไดเมื่อจบการศึกษา
ขัน้ พน้ื ฐาน

4.3 มาตรฐานการเรียนรูชวงช้ัน หมายถึง สิ่งที่นักเรียนพึงรูและปฏิบัติไดเม่ือเรียนจบระดับชั้น
สําคัญไดแ ก ประถมศึกษาปท่ี 3 ประถมศึกษาปท ่ี 6 มัธยมศึกษาปท ี่ 3 และมธั ยมศึกษาปท่ี 6

4.4 หลักสูตร หมายถึง ประมวลความรูและประสบการณที่จัดขึ้นเพ่ือพัฒนาผูเรียนใหมีความรู
ความสามารถ ทักษะ และคณุ ลักษณะตามท่กี าํ หนดไว

4.5 หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน หมายถึง หลักสูตรท่ีใชในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนา
ผูเรียนในระดับการศึกษาที่ต่ํากวาอุดมศึกษา โดยมุงหวังใหผูเรียนมีความสมบูรณท้ังดานรางกาย จิตใจ
และสติปญญา

4.6 หลักสูตรแกนกลาง หมายถึง หลักสูตรในสวนท่ีสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
กําหนดขึ้นสําหรบั สถานศึกษาใชใ นการพัฒนาผูเรยี นทกุ คนในระดับการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน

คมู อื การปฏบิ ตั งิ าน สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา
กลุมสงเสริมการจัดการศกึ ษา 37

5. ขนั้ ตอนการปฏิบตั งิ าน

5.1 ศกึ ษา วเิ คราะห ระเบยี บ กฎหมาย หลักเกณฑ และแนวทาง ตามทร่ี ะเบยี บกฎหมาย กําหนด
5.2 แจงระเบยี บ หลักเกณฑ แนวปฏบิ ตั ิ และซักซอ มความเขา ใจใหส ถานศึกษาทราบ
5.3 เสนอขออนุญาตจัดซ้ือแบบพมิ พใหกบั สถานศึกษา
5.4 ผอู ํานวยการสาํ นักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาอนญุ าต
5.5 สถานศกึ ษาดาํ เนินการจัดซอื้
5.6 จดั ทําทะเบยี นรบั – จาย แบบพิมพ และลงทะเบยี นเบิกจา ยแบบพิมพ ใหส ถานศึกษา

6. Flow Chart การปฏิบตั งิ าน

ศึกษา วเิ คราะห ระเบยี บ กฎหมาย

แจง ระเบียบ หลักเกณฑ แนวปฏบิ ัติ และซกั ซอ มความเขาใจใหสถานศกึ ษาทราบ

เสนอขออนญุ าตผมู ีอาํ นาจอนุญาต ไมอนุญาต

ผอ.สพท. อนุญาต
อนญุ าต

แจงสถานศกึ ษา

จัดทําทะเบียนรบั จา ย

7.แบบฟอรม ที่ใช

หนงั สือขออนุญาตซอ้ื แบบพิมพ ปพ. 1 , ปพ. 2 , ปพ. 3

คูมือการปฏบิ ัติงาน สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา
38 กลุมสง เสรมิ การจดั การศกึ ษา

8. เอกสารอา งองิ

8.1 แผนการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2520 และ 2535
- หลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521
- หลักสูตรมัธยมศกึ ษาตอนตน พทุ ธศักราช 2521
- หลกั สูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศกั ราช 2524

8.2 พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแกไ ขเพิ่มเติม
- หลกั สตู รการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2544
- หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551

8.3 คาํ สั่งกระทรวงศึกษาธกิ ารวา ดว ยการซอ้ื แบบพมิ พทางการศกึ ษา ท่ี สพฐ. 616/2552
ลงวันท่ี 30 กนั ยายน 2552

8.4 คําส่ังกระทรวงศึกษาธกิ ารวาดวยการซื้อแบบพมิ พทางการศกึ ษา ที่ สพฐ. 617/2552
ลงวนั ที่ 30 กันยายน 2552

8.5 คําสั่งกระทรวงศึกษาธกิ ารวา ดว ยการซื้อแบบพิมพท างการศึกษา ท่ี สพฐ. 618/2552
ลงวันท่ี 30 กันยายน 2552

คมู อื การปฏบิ ัตงิ าน สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา
กลุมสงเสรมิ การจดั การศกึ ษา 39

คมู ือการปฏบิ ตั ิงาน สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษา 9. แบบฟอรม สรปุ มาตรฐานงาน
40 กลมุ สงเสริมการจัดการศกึ ษา
1. การจดั การศกึ ษาในระบ

ช่อื กระบวนงาน 1.6.4 การจัดซอ้ื แบบพมิ พท างการศกึ ษา สาํ นักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา กลมุ สงเสรมิ การจดั การศกึ ษา

วตั ถุประสงค : เพอ่ื ใหส ถานศกึ ษาดาํ เนนิ การซ้อื แบบพิมพทางการศึกษาไดถ กู ตอง

ลาํ ดับที่ ผงั ขน้ั ตอนการดาํ เนินงาน รายละเอียดงาน เวลาดําเนนิ การ มาตรฐานคุณภาพงาน ผรู ับผิดชอบ

1. ศึกษาระเบยี บ กฎหมาย ศกึ ษาระเบยี บ กฎหมาย ท่ีเกี่ยวขอ ง 1 สัปดาห ระเบียบ กฎหมาย ท่ี กลมุ สง เสรมิ การจดั
การศกึ ษา
เกยี่ วขอ ง

2. แจง แนวทางการปฏิบัติ แจง สถานศกึ ษาปฏิบตั ติ ามระเบยี บ กฎหมาย 1 สัปดาห - กลมุ สง เสรมิ การจดั

การศึกษา

3. เสนอผมู อี าํ นาจอนุญาตในการสัง่ ซื้อแบบพมิ พ 1 สัปดาห ตามรปู แบบ ระเบยี บ กลุมสง เสรมิ การจดั

เสนอผมู อี าํ นาจอนุญาค กฎหมายกาํ หนด การศกึ ษา

4. ผูอาํ นวยการสาํ นกั งานเขตพื้นที่การศึกษา 1 สปั ดาห ตามระเบยี บทีก่ ําหนด กลมุ สง เสรมิ การจดั

ผอ.สพท. อนญุ าต อนุญาตใหส ั่งซ้ือแบบพมิ พ การศกึ ษา

5. สถานศึกษาจัดซ้ือ 1 สัปดาห - กลมุ สงเสรมิ การจดั
แจงสถานศึกษาดําเนินการ 1 สปั ดาห การศึกษา
การตดั สนิ ใจ
6. จัดทาํ ทะเบียนรับจา ยควบคุมอยางเปนระบบ ตามแบบกาํ หนด กลุมสงเสรมิ การจดั
จัดทาํ ทะเบียน การศึกษา

อธิบายสญั ลักษณผงั ขัน้ ตอน จุดเริม่ ตนหรือส้ินสุดกระบวนงาน กจิ กรรมงานหรอื การปฏบิ ตั ิ ทิศทางหรือการเคล่ือนไหวของงาน { จุด

เชื่อมตอ ระหวา งหนา(ถาไมจบภายใน 1หนา)

2. งานการศกึ ษานอกระบบ
1. ชอื่ กระบวนงาน งานการศึกษานอกระบบ

2. วัตถุประสงค

2.1 เพื่อใหประชากรวัยเรียนทุกคนไดรับการเตรียมความพรอมในระดับการศึกษา
ปฐมวัยและไดรับการศึกษาภาคบังคับอยางทั่วถึงและมีคุณภาพมีโอกาสไดรับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
ไมน อยกวา 12 ป

2.2 เพอื่ ใหผทู ่มี หี นา ทใี่ นการจัดการศกึ ษาทกุ ฝายมีความเขาใจทถี่ ูกตองและจัดการศึกษา
อยา งมีคุณภาพ

2.3 เพ่ือใหสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามีการกําหนดหลักเกณฑวิธีการและแนวทาง
ท่ีจะเชอื่ มโยงระหวางการศึกษาในระบบ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

2.4 เพอ่ื สง เสรมิ ศึกษาวิจัยและเผยแพรร ปู แบบทเ่ี หมาะสมในการจดั การศกึ ษา
2.5 เพ่ือสง เสรมิ การจัดการศกึ ษามีการประสานงานอยางเปนระบบ

3. ขอบเขตของงาน

สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ศึกษาแนวทางการจัดการศึกษานอกระบบ ตลอดจน
ขอบขายภารกิจของเขตพ้ืนที่การศึกษา สถานศึกษาและหนวยงานท่ีเก่ียวของวางแผนและกําหนด
แนวทางในการสนบั สนนุ สง เสรมิ การจัดการศึกษานอกระบบใหเช่อื มโยงกับการจัดการศึกษาในระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัย ประสานงานกับหนวยงานท่ีเก่ียวของเพื่อสนับสนุนใหผูเรียนไดรับ
การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานอยางท่ัวถึง ติดตามประเมินผล ปรับปรุงเชื่อมโยงการจัดการศึกษาไดอยางท่ัวถึง
และมีประสิทธภิ าพ

4. คําจาํ กัดความ

การศึกษานอกระบบ หมายถึง เปนการศึกษาที่มีความยืดหยุนและหลากหลายรูปแบบ
ไมม ีขอจาํ กดั เรื่องอายุและสถานทโ่ี ดยมุง หมายใหเ ปน การศกึ ษาเพอื่ พัฒนาคุณภาพมนุษย

5. ขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ าน

5.1 ศึกษาแนวทางการจดั การศกึ ษานอกระบบ
5.2 มีขอบขายภารกิจความรับผิดชอบการจัดการศึกษานอกระบบของสํานักงานเขต
พ้นื ทกี่ ารศกึ ษา สถานศึกษาและหนวยงานท่เี กี่ยวของ
5.3 วางแผนและกําหนดแนวทางในการสนับสนุน สงเสริม การจัดการศึกษานอกระบบ
การศกึ ษาตามอธั ยาศยั เพือ่ ใหผ เู รยี นไดเ รียนรูตลอดชวี ติ
5.4 ประสานงานกับหนวยงาน หรือผูเก่ียวของเพ่ือสนับสนุนใหผูเรียนไดรับการศึกษา
ขน้ั พ้นื ฐานอยา งท่ัวถงึ

คมู อื การปฏบิ ัติงาน สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษา
กลมุ สงเสรมิ การจัดการศกึ ษา 41

5.5 ประสานการติดตาม ประเมินผลการจัดการศึกษานอกระบบ เพ่ือปรับปรุงการจัด
การศกึ ษานอกระบบใหท ่วั ถงึ มีคุณภาพและประสทิ ธิภาพ

5.6 สรปุ รายงาน

6. Flow Chart การปฏิบตั ิงาน

ศึกษาแนวทางการดาํ เนินงาน

วิเคราะหข อบขา ยภารกจิ

วางแผนและกาํ หนดแนวทางในการ
สนับสนนุ การจัดการศึกษา

ประสานงานหนว ยงานและผเู ก่ียวของ ปรบั ปรุง

ไมผา นการประเมนิ

ประเมนิ ผล

ผานการประเมิน

สรุปรายงาน

7. แบบฟอรม ท่ใี ช

-

8. เอกสาร/ หลกั ฐานอางอิง

8.1 พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และทแ่ี กไ ขเพิม่ เติม
8.2 หลกั สตู รการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พ.ศ. 2544
8.3 หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ.2551

คูมือการปฏบิ ตั ิงาน สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา
42 กลมุ สงเสรมิ การจดั การศกึ ษา

9. แบบฟอรม สรปุ มาตรฐานงาน

ชอ่ื งาน การศึกษานอกระบบ สํานกั งานเขตพื้นที่การศึกษา กลุมสง เสริมการจัดการศึกษา

วตั ถุประสงค : 1. เพ่ือใหป ระชากรวยั เรียนทกุ คนไดร ับการศึกษาอยา งทว่ั ถึงและมคี ุณภาพ

2. เพื่อสงเสริมการจัดการศกึ ษาใหมีการประสานงานอยางเปนระบบ

ลาํ ดบั ที่ ผังข้นั ตอนการดําเนินงาน รายละเอยี ดงาน เวลาดําเนนิ การ มาตรฐานคุณภาพงาน ผรู บั ผดิ ชอบ
กลมุ สงเสรมิ การจดั การศึกษา
1. ศกึ ษาแนวทางตามระเบยี บ กฎหมาย ทีเ่ กยี่ วขอ ง 1 สปั ดาห -
ศึกษาแนวทางการดาํ เนินงาน

2. วิเคราะหขอบขายภารกิจ กําหนดภารกิจขอบขายการชวยเหลือสนับสนุน 1 สปั ดาห ตามระเบียบ กฎหมาย คณะกรรมการ

นักเรียนทีม่ ปี ญ หา กาํ หนด

3. วางแผนสนับสนุน วางแผน สนับสนุน และประชุมคณะกรรมการ 1 สัปดาห ตามระเบยี บ กฎหมาย คณะกรรมการ
หนว ยงานท่ีเก่ยี วขอ งรว มกนั แกป ญ หา กําหนด

คูมอื การปฏิบตั ิงาน สำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา 4. ประสานหนวยงานผูเกี่ยวของเพ่ือสนับสนุนใหผูเรียน 1 สปั ดาห - กลุมสงเสรมิ การจดั การศึกษา
กลมุ สง เสรมิ การจัดการศกึ ษา 43 ประสานงานหนว ยงานท่ีเก่ยี วขอ ง
ไดรับการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐานอยา งทวั่ ถึง

5. ประเมินผล ประสาน ติดตาม ประเมินผลการดําเนินการ 1 สัปดาห - กลมุ สงเสรมิ การจดั การศึกษา

- ไมผ านการประเมินตอ งปรบั ปรงุ

ปรับปรุง

6. สรุปรายงานผล - - กลุมสง เสรมิ การจดั การศกึ ษา
สรุปรายงานผล

ไมผ า น

อธิบายสัญลักษณผังขั้นตอน จุดเรมิ่ ตนหรือส้นิ สดุ กระบวนงาน กิจกรรมงานหรอื การปฏบิ ตั ิ การตดั สนิ ใจ ทศิ ทางหรอื การเคล่อื นไหวของงาน { จดุ เช่อื มตอ

ระหวา งหนา(ถาไมจ บภายใน 1หนา )

คมู อื ขัน้ ตอนการดําเนินงาน
สง เสริมและสนบั สนนุ การจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานของบุคคล ครอบครัว
องคกรชุมชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและ
สถาบันสังคมอนื่

1. ชือ่ กระบวนงาน

งานสง เสรมิ และสนับสนุนการจัดการศึกษาขนั้ พื้นฐานของบุคคล ครอบครัว องคกร ชุมชน
องคกรวิชาชีพ สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอ่ืน

2. วตั ถปุ ระสงค

2.1 เพ่ือสงเสริมการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของบุคคล ครอบครัว องคกรชุมชน องคกร
วชิ าชีพ สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอน่ื

2.2 เพื่อใหการสนับสนนุ และสงเสริมใหบ ิดา มารดา หรือผูปกครอง และสถานประกอบการ
มีความรู ความเขาใจในการจัดการศึกษา

2.3 เพื่อเปนการติดตาม ประเมินผลการจัดการศึกษาของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกร
วิชาชพี สถาบันทางศาสนา สถานประกอบการ และสถาบนั สังคมอ่ืน

3. ขอบเขตของงาน

3.1 การสง เสรมิ สนบั สนุนการจดั การศกึ ษา
3.2 การย่นื คาํ ขออนุญาตจดั การศกึ ษา
3.3 การจดั ทําแผนการจดั การศึกษา
3.4 การจัดการเรยี นรู การวัดและประเมินผล
3.5 การตัดสิน และรับรองผลการศกึ ษา
3.6 การกาํ กับ และติดตามการจดั การศึกษา
3.7 การยกเลกิ การจดั การศกึ ษา

4. คําจํากัดความ

4.1 การจัดการศึกษาโดยครอบครัว หมายถึง การจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานท่ีบิดามารดา
หรือบิดา หรือมารดา หรือผูปกครองเปนผูรับผิดชอบจัดการศึกษาใหกับบุตรหลานดวยตนเอง
โดยเปน ผูสอนดว ยตนเอง หรอื เปน ผอู ํานวยการใหเ กดิ กระบวนการเรียนรู

4.2 การจัดการศึกษาในสถานประกอบการ หมายถึง การจัดต้ังศูนยการเรียนเพ่ือจัด
การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ตามมาตรา 12 แหงพระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแหง ชาติ

5. ขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน

5.1 ประชาสมั พันธ สรา งความเขา ใจ ในสทิ ธแิ ละหนาที่ สง เสรมิ และพฒั นาความสามารถใน
การจัดการศึกษาของบุคคล ครอบครัว ชมุ ชน สถาบนั ทางศาสนา และสถานประกอบการ ฯลฯ

คมู ือการปฏิบตั ิงาน สำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา
กลมุ สงเสริมการจดั การศกึ ษา 45


Click to View FlipBook Version