พระมหากษตั รยิ ไทยแหง พระบรมราชจกั รวี งศ ๑๐ รชั กาล ฉบบั การต นูกระทรวงวฒั นธรรม
พรพะมรหะมาหกษากตั ษริยัตไรทยิ ยไ ทย
๑๐๑๐แหงแพหรง ะพบระมรบรัชรากมรชรจาชั าักลกชรจาวี ักลงรศวี งศ
ฉบบั กาฉรตบนู ับการตูน
พระมหากษัตรยิ ไ์ ทย
แห่งพ๑ร๐ะบรรมัชรกาชาจลกั รีวงศ์
ฉบบั การต์ ูน
หนงั สอื การต์ ูน
เรือ่ ง พระมหากษตั รยิ ไ์ ทยแหง่ พระบรมราชจักรวี งศ์ ๑๐ รชั กาล ฉบบั การ์ตูน
ออกแบบปก - ศิลปกรรม : เรืองศกั ดิ์ ดวงพลา
ลิขสทิ ธิข์ อง กระทรวงวัฒนธรรม
เลขที่ ๑๐ ถนนเทียมรว่ มมิตร แขวงหว้ ยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ ๑๐๓๑๐
โทรศัพท์ ๐ ๒ - ๒๐๙ ๓๖๑๕ - ๑๘
โทรสาร ๐ ๒ - ๒๐๙ ๓๖๒๐
สำ�นกั งานปลัดกระทรวงวฒั นธรรม
ISBN 978-616-543-716-5
พมิ พ์คร้ังที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๖๔
จ�ำ นวนพมิ พ์ ๒๓,๐๐๐ เล่ม
พิมพ์ที่ : โรงพิมพ์ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำ�กัด
๗๙ ถนนงามวงศว์ าน แขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร กรุงเทพมหานคร
โทรศพั ท์ ๐ ๒ - ๕๖๑ ๔๕๖๗ โทรสาร ๐ ๒ - ๕๗๙ ๕๑๐๑
นายโชคดี ออสวุ รรณ ผูพ้ มิ พผ์ ู้โฆษณา
ขอ้ มลู ทางบรรณานกุ รมของหอสมุดแห่งชาติ
กระทรวงวัฒนธรรม ส�ำ นกั งานปลดั กระทรวงวัฒนธรรม
พระมหากษตั ริยไ์ ทยแห่งพระบรมราชจักรวี งศ์ ๑๐ รชั กาล ฉบับการ์ตนู .-- กรุงเทพฯ : ส�ำ นักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม
กระทรวงวฒั นธรรม, ๒๕๖๔. ๒๔๐ หน้า.
1. กษัตริย์ผูค้ รองนคร -- ไทย. I. เรืองศักด์ิ ดวงพลา, ผวู้ าดภาพประกอบ. II. ช่อื เร่ือง.
๙๒๓.๑๕๙๓
ISBN 978-616-543-716-5
สญั ลักษณป์ ระจำ�พระบรมราชจักรีวงศ์
พระบรมราชจักรีวงศ์ มีที่มาจากนามบรรดาศักดิ์ “เจ้าพระยาจักรีศรีองครักษ์”
ของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เมื่อครั้งทรงดำ�รงตำ�แหน่งสมุหนายก
ในสมัยกรุงธนบุรี ครั้นเสด็จปราบดาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกแห่งราชวงศ์จักรี
และทรงสถาปนากรงุ รตั นโกสนิ ทรเ์ ปน็ ราชธานี พทุ ธศกั ราช ๒๓๒๕ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหส้ รา้ ง
พระแสงจักรและพระแสงตรีไว้ ๑ สำ�รับ กำ�หนดให้เป็นสัญลักษณ์ประจำ�พระบรมราชจักรีวงศ์
สบื มาจนปจั จุบนั
คำ�วา่ “จกั ร”ี นี้ พอ้ งเสียงกับค�ำ ว่า “จักร” และ “ตรี” ซึ่งเปน็ อาวธุ ของพระนารายณ์
สอดคล้องกับความเชื่อเรื่องพระมหากษัตริย์ทรงอยู่ในฐานะสมมุติเทพ เห็นได้จากการเฉลิม
พระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏของพระมหากษัตริย์หลายพระองค์ในพระบรมราชจักรีวงศ์
จะมคี �ำ วา่ “รามา” ซง่ึ หมายความถงึ อวตารหนง่ึ ของพระนารายณ์ รวมทง้ั การตง้ั นามเมอื งหลวงเป็น
“กรุงเทพ” อันหมายถึงเมืองแห่งเทพเทวา และการใช้สัญลักษณ์ของ “ครุฑ” ในพาหนะหรือ
ทรัพยส์ นิ ของพระมหากษัตรยิ ์
คำ�ปรารภ
นับตั้งแต่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ
เป็นปฐมกษัตริย์แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ทรงสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานีสืบต่อมา
จนถงึ ปจั จบุ นั เปน็ เวลา ๒๓๙ ปี มพี ระมหากษตั รยิ เ์ สดจ็ ขน้ึ ครองราชยส์ บื ราชสนั ตตวิ งศ์ ๑๐ รชั กาล
สถาบันพระมหากษตั ริย์เปน็ ศูนย์รวมจติ ใจของชาวไทยมายาวนาน พระมหากษตั รยิ ไ์ ทย
ทุกพระองค์ล้วนทรงพระคุณอันประเสริฐ ทรงเปี่ยมด้วยทศพิธราชธรรม ทรงแผ่พระเมตตาธรรม
สู่พสกนิกรทุกหมู่เหล่า ทรงสร้างความเป็นปึกแผ่นมั่นคงในบ้านเมือง ขจัดภัยข้าศึกศัตรู
ทม่ี ารกุ ราน ทรงทะนบุ �ำ รงุ แผน่ ดนิ ใหอ้ ดุ มสมบรู ณ์ ยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ เพอ่ื ใหอ้ าณาประชาราษฎร์
กินดีอยู่ดี นอกจากนี้ ยังทรงบำ�รุงพระพุทธศาสนาให้รุ่งเรืองเป็นหลักธรรมในการดำ�เนินชีวิต
ทรงสง่ เสรมิ สร้างสรรคศ์ ลิ ปวัฒนธรรมให้เจรญิ งอกงาม ปรากฏเปน็ มรดกทางวฒั นธรรมของชาติ
บา้ นเมอื งจงึ รม่ เยน็ เปน็ สขุ ภายใตร้ ม่ พระบารมขี องพระมหากษตั รยิ ไ์ ทยมาทกุ รชั กาล ชาวไทยทง้ั ปวง
จึงเคารพเทดิ ทูนพระมหากษัตริย์ไว้เหนือเศยี รเกลา้ และจงรกั ภกั ดอี ยา่ งแนบแนน่ มั่นคงเสมอมา
ด้วยส�ำ นึกในพระมหากรณุ าธิคุณอยา่ งหาที่สุดมไิ ด้ กระทรวงวัฒนธรรมจึงจัดทำ�หนงั สอื
“พระมหากษัตริย์ไทยแห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ๑๐ รัชกาล ฉบับการ์ตูน” เพื่อเฉลิมพระเกียรติ
ใหป้ รากฏแผไ่ พศาล และแสดงความจงรกั ภกั ดตี อ่ สถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ นอ้ มเกลา้ นอ้ มกระหมอ่ ม
ถวายเปน็ กตเวทติ าสกั การะ โดยหวงั วา่ หนงั สอื เลม่ นจ้ี ะเปน็ ประโยชนใ์ นการศกึ ษาเรยี นรใู้ หแ้ กเ่ ยาวชน
และประชาชน เพม่ิ พนู ความรู้ ความเขา้ ใจในประวตั ศิ าสตรข์ องชาติ ตลอดจนสรา้ งความภาคภมู ใิ จ
ในความเป็นไทยและร่วมกันเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ให้สถิตสถาพรเป็นหลักชัย
ของชาติสืบไป
(นายอทิ ธิพล คณุ ปล้ืม)
รฐั มนตรีว่าการกระทรวงวฒั นธรรม
คํานํา
พุทธศักราช ๒๕๒๕ ในโอกาสที่กรุงรัตนโกสินทร์ครบ ๒๐๐ ปี รัฐบาลกำ�หนดให้
เฉลิมพระเกียรติถวายพระราชสมัญญา “มหาราช” แด่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก
ปฐมบรมกษัตริย์แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ และกำ�หนดให้วันที่ ๖ เมษายน ของทุกปีเป็น
“วันพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและวันที่ระลึกมหาจักรีบรมราชวงศ์”
เพื่อถวายเป็นราชสักการะ สืบมาตราบปัจจุบัน มีพระมหากษัตริย์ที่ทรงพระปรีชาสามารถ
ในทุกด้าน ทรงสร้างสรรค์ความเจริญรุ่งเรืองให้บ้านเมืองเจริญก้าวหน้าตามกาลสมัยทัดเทียม
อารยประเทศอยา่ งตอ่ เนอื่ งมาถึง ๑๐ รชั กาล ยังความผาสุกร่มเยน็ ทว่ั ทัง้ แผน่ ดนิ ตลอดมา
พระมหากษัตริย์กรุงรัตนโกสินทร์ทุกรัชกาลนั้น มีพระราชปณิธานอันแน่วแน่
และพระวิสัยทัศนอ์ นั กว้างไกล สขุ ุม ลุ่มลึกในการบาํ เพ็ญพระราชกรณยี กิจท้ังปวงเพ่ือความมน่ั คง
ไพบูลย์ ของอาณาประชาราษฎร์และประเทศชาติยามใดที่บ้านเมืองเกิดปัญหาหรือมีทุกข์ร้อนใด ๆ
ทรงดับร้อน ผ่อนทุกข์ช่วยให้วิกฤตคลี่คลาย พสกนิกรทั่วหล้าต่างประจักษ์แจ้งและสำ�นึก
ในพระมหากรุณาธิคุณ กระทรวงวัฒนธรรมตระหนักในความสำ�คัญของสถาบันพระมหากษัตริย์
และเห็นสมควรที่จะสนับสนุนส่งเสริมให้เยาวชน และประชาชนได้ศึกษาเรียนรู้พระราชประวัติ
และพระราชกรณียกจิ นานปั การของพระมหากษัตริย์ กรงุ รัตนโกสินทรใ์ นแต่ละรัชกาล เพอ่ื สนอง
พระมหากรุณาธคิ ุณท่ที ุกพระองค์ทรงทะนุบำ�รุงบ้านเมือง และทรงสรา้ งสรรค์มรดกทางวัฒนธรรมไว้
ให้ชาวไทยได้ภาคภมู ใิ จในความเป็นชาติท่ีเจรญิ รุ่งเรือง พฒั นาและก้าวหน้ามาจนทกุ วนั น้ี
กระทรวงวัฒนธรรม ภาคภูมิใจที่ได้จัดทำ�หนังสือ “พระมหากษัตริย์ไทยแห่ง
พระบรมราชจักรีวงศ์ ๑๐ รัชกาล ฉบับการ์ตูน” เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระมหากษัตริย์
แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐสุดของชาติ เพื่อให้เยาวชน ประชาชน
ตระหนักรู้ถึงความเป็นชาติที่สืบทอดมั่นคงมาอย่างยาวนาน จักได้สมัครสมานสามัคคีร่วมกัน
ธำ�รงรกั ษาสถาบนั ชาติ ศาสนา และพระมหากษตั ริย์ให้ยัง่ ยนื สบื ต่อไป
(นางยพุ า ทวีวัฒนะกิจบวร)
ปลดั กระทรวงวฒั นธรรม
สารบัญ ๙
รัชกาลที่ ๑
๙สร้างบา้ นแปงเมอื ง
รชั กาลท่ี ๒ ๓๕
๓๕ฟูเฟ่ืองวรรณกรรม
รชั กาลท่ี ๓ ๕๓
๕๓เลศิ ลา้ำํ เศรษฐกิจ
รชั กาลท่ี ๔ ๗๓
๗๓แนวคดิ อารยะ
รชั กาลท่ี ๕ ๙๑
๙๑วฒั นะสสู่ ากล
สารบญั
ร๑ัช๑ก๑าลท่ี ๑๖สมราา้กงลบน้ ้ากนาแรปศงึกเษมาอื ง ๑๑๙๑
รฟปร๑รเู ัชัชฟะ๒ชือ่ กกาง๙ธวปิราารไณตลลยกททรรมี่่ี ๒๗ ๑๓๒๕๙
ร๑ชั ๔ก๙าลที่ ๓๘เนลาำ�ิศไลทา้ำยเสศารมษัคฐคกีจิ ๑๕๔๓๙
รชั กาลที่ ๔๙ ๑๗๓๑
๑๗๑แพนรวะบคิดารอมาีเรปยย่ี ะมล้น
วรป๒ฒัรัชะ๑นชะกาส๑ชสู่ านาเกปลลย่ี ทมสขุ่ี ๕๑๐ ๒๙๑๑
๖
รัชกาลที่ ๑
สร้างบ้านแปงเมอื ง
พระราชลญั จกรประจำ�พระองคร์ ชั กาลท่ี ๑
เป็นตรางา ลกั ษณะกลม รปู ปทุมอณุ าโลม มอี ักขระ อุ อยตู่ รงกลาง
อุ มีลกั ษณะมว้ นกลมคล้ายลกั ษณะความหมายของพระปรมาภิไธยวา่ ดว้ ง
จงึ ใช้อักขระ อุ เปน็ มงคลแก่พระปรมาภิไธย
ลอ้ มรอบดว้ ยกลบี บัว พฤกษชาตทิ เี่ ป็นสิรมิ งคลในพุทธศาสนา
ตัง้ ใจจะอปุ ระถมั ภก
ยอยกพระพุทธสาสนา
จะป้องกนั ขอบขณั ฑสิมา
รักษาประชาชนแลมนตร.ี ..
กลอนเพลงยาวนิราศ เรอื่ งรบพมา่ ทท่ี า่ ดินแดง
พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช รชั กาลที่ ๑
๑๐
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช
ปฐมกษตั ริยแ์ หง่ กรงุ รตั นโกสนิ ทร์
พระนามเดมิ ว่า ดว้ ง หรอื ทองด้วง
เสดจ็ พระราชสมภพ
เมื่อวันพฤหสั บดี ท่ี ๒๐ มนี าคม พุทธศกั ราช ๒๒๗๙
ในแผน่ ดนิ สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั บรมโกศ
ครงั้ กรุงศรีอยธุ ยาเป็นราชธานี
พระองคเ์ ปน็ บตุ รลำ�ดับท่ี ๔
ของสมเดจ็ พระปฐมบรมมหาชนก
กับพระอัครชายาหยก หรอื ดาวเรือง
ขณะเปน็ พระอกั ษรสนุ ทร
นามเดิม ทองดี
ครนั้ เจริญวยั
ไดถ้ วายตวั เปน็ มหาดเลก็
ในสมเดจ็ เจา้ ฟา้ อทุ ุมพร
กรมขุนพรพนิ ติ
เม่ือพระชนมพรรษา ๒๑ พรรษา
เสดจ็ ออกทรงผนวชเป็นภิกษุ
อยู่วดั มหาทลาย ๑ พรรษา
หลังลาสกิ ขาแล้วกลบั มารับราชการดังเดมิ
มีความเจริญกา้ วหนา้ เป็นลำ�ดบั
กระท่งั ถึงแผน่ ดินสมเดจ็ พระเจ้าเอกทัศน์
พระมหากษตั รยิ ์พระองค์สดุ ท้าย
แหง่ กรงุ ศรอี ยธุ ยา
๑๑
เม่อื พระชนมพรรษา ๒๕ พรรษา ทรงดำ�รงต�ำ แหน่ง
หลวงยกกระบัตร เป็นข้าหลวงประจำ�การทเ่ี มอื งราชบุรี
ทรงอภิเษกสมรสกับธิดาคหบดีในตระกูลเศรษฐมี อญ
บ้านอมั พวา แขวงเมืองสมทุ รสงคราม นามวา่ นาก
คือ สมเดจ็ พระอมรนิ ทรา บรมราชนิ ี
ทรงประจำ�การที่เมอื งราชบุรี
จนกระทง่ั กรงุ ศรีอยธุ ยาเสียแกพ่ มา่
เมอ่ื วันที่ ๗ เมษายน
พทุ ธศักราช ๒๓๑๐
พระยาตาก (สิน) ทีต่ ีฝ่าวงลอ้ มพม่ากอ่ นกรงุ ศรีอยธุ ยาแตก
ไดร้ วบรวมไพร่พลกลับมากอบกู้บา้ นเมืองคนื ได้ภายใน ๗ เดือน
และเสด็จปราบดาภเิ ษกเปน็ กษตั ริย์
ทรงพระนามวา่ สมเด็จพระเจ้าตากสนิ มหาราช
๑๒
ทรงยา้ ยเมืองหลวงมาที่เมืองธนบุรี
สถาปนาเปน็ ราชธานแี หง่ ใหม่ เรียกวา่ “กรงุ ธนบุรศี รมี หาสมทุ ร”
เมอ่ื พุทธศกั ราช ๒๓๑๑
หลวงยกกระบตั รยา้ ยครอบครัวมารบั ราชการในกรุงธนบรุ ี
สมเด็จพระเจา้ ตากสินมหาราชโปรดเกล้า ฯ แตง่ ต้ังให้เป็น
พระราชวรนิ ทร์ เจ้ากรมพระต�ำ รวจนอกขวา
ทรงร่วมในสงครามคร้งั สำ�คญั ๆ หลายครัง้
ทรงไดร้ ับการไว้วางพระราชหฤทยั
จงึ ได้รับบ�ำ เหนจ็ ความชอบเลื่อนบรรดาศกั ด์ิตามล�ำ ดับ
เปน็ พระยาอภยั รณฤทธ์ิ จางวางกรมพระตำ�รวจหลวง
พระยายมราช เจ้าพระยาจักรี ว่าท่ีสมหุ นายก
และ สมเด็จเจา้ พระยามหากษตั ริยศ์ ึกฯ
รบั พระราชทานเคร่ืองยศอย่างเจ้าต่างกรม
๑๓
พุทธศกั ราช ๒๓๒๔ เกดิ เหตจุ ลาจลในกรงุ ธนบรุ ี
ขณะน้ัน สมเดจ็ เจา้ พระยามหากษตั รยิ ์ศกึ ฯ
อยู่ระหวา่ งน�ำ ทัพไปรบเขมร รบี นำ�ทัพกลับ
ระงับเหตุการณ์วุ่นวายท่ีเกดิ ขน้ึ
เม่อื ปราบปรามจลาจลเรียบรอ้ ย
มุขมนตรีและราษฎรท้งั หลาย
อญั เชญิ เสด็จขึน้ เถลงิ ถวลั ยราชสมบตั ิ
ทรงเป็นพระมหากษตั รยิ ์ รชั กาลท่ี ๑
แห่งพระบรมราชจกั รีวงศ์
ขณะพระชนมพรรษา ๔๖ พรรษา
เม่ือวนั ท่ี ๖ เมษายน พทุ ธศักราช ๒๓๒๕
๑๔
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช รูห้ รอื ไม่
เม่อื เสดจ็ เถลิงถวัลยราชสมบัติแลว้ มพี ระราชดำ�ริ พระมหากษตั รยิ ์พระองคใ์ หม่
ท่จี ะฟืน้ ฟูพระราชอาณาจกั รใหเ้ จริญรุ่งเรือง จะย้ายพระนคร
เหมอื นเมอ่ื คร้งั “บา้ นเมืองด”ี
ในสมัยกรุงศรีอยธุ ยาเปน็ ราชธานี
จริงรึ
ทำ�ไมละ่
มีพระราชดำ�ริว่า กรงุ ธนบรุ ีไมเ่ หมาะสม นอกจากนี้
ท่ีจะเป็นเมอื งหลวงถาวร เพราะคับแคบ กรงุ ธนบรุ ยี ังตงั้ อยู่บนฝัง่
พระราชวังมีวดั ต้งั ขนาบอยสู่ องดา้ น คอื วัดแจง้ แมน่ ํ้าเจ้าพระยาท่มี นี ้าํ เซาะ
นานไปอาจพังทลายได้
กับวดั ท้ายตลาด ขยายออกได้ยาก
มันเป็นเหตุผลทางด้าน
ยทุ ธศาสตร์ดว้ ยนะ
อยา่ งไรรึ
๑๕
เนอ่ื งจากกรงุ ธนบุรี ตั้งอยู่บนสองฝั่งแม่นา้ํ จะยา้ ย ฝ่ังตะวนั ออกของ
ท�ำ ใหก้ ารลำ�เลยี งอาวุธยทุ ธภัณฑ์ ไปไหนรึ แม่นํา้ เจา้ พระยา
และการรกั ษาพระนครเป็นไปได้ยาก
จรงิ สนิ ะ โน่นแนะ่
บา้ นเมืองเรา ออ๋
มีศึกสงคราม
อยู่เนือง ๆ ตำ�บลบางกอก
นั่นเอง
ตรงนัน้ เป็นทอ่ี ยู่ ใช่... พระองค์ทรงขอให้ยา้ ย ทรงเหน็ ว่า พ้ืนทฝี่ ง่ั โนน้
พระยาราชาเศรษฐี ไปอยแู่ ถววัดสามเพง็ (สำ�เพ็ง) เปน็ ท่ีราบขยายเมืองออกไปได้
กับชาวจีนท�ำ สวนพลู มแี ม่นาํ้ เจา้ พระยาลอ้ มอยู่สองด้าน
ทรงชดเชยค่าเสียหายให้ เสมอื นเป็นคเู มอื งป้องกันขา้ ศึกได้
นน่ี า อยา่ งเปน็ ธรรมแลว้
เหมาะเปน็ เมืองราชธานี
ทีม่ ่ันคงไพศาลสืบไป
ทรงมีสายพระเนตร
ยาวไกลนกั
๑๖
ทรงสถาปนากรงุ รตั นโกสนิ ทร์
วันที่ ๖ เมษายน พุทธศกั ราช ๒๓๒๕
ทรงประกอบพธิ ยี กเสาหลกั เมือง
เม่อื วนั ท่ี ๒๑ เมษายน พทุ ธศักราช ๒๓๒๕
ใกล้คลองคเู มอื งเดิมด้านตะวันออก
๑๗
สรา้ งพระราชมณเฑียรดว้ ยเครือ่ งไม้
พอเป็นทปี่ ระทบั
เมื่อแลว้ เสร็จ
ทรงยา้ ยมาประทบั แล้ว
ทรงประกอบพระราชพิธปี ราบดาภเิ ษก
ตามราชประเพณอี ย่างสังเขป
เม่ือวันที่ ๑๐ มถิ ุนายน
พทุ ธศกั ราช ๒๓๒๕
จากนั้นเรง่ การสรา้ งราชธานี
มีพระบรมมหาราชวัง ประกอบดว้ ย
ปราสาทราชมณเฑียร สรา้ งหมพู่ ระท่ีนง่ั
วดั พระศรีรตั นศาสดาราม ปอ้ มปราการ
ประตใู นพระบรมมหาราชวงั
และพระราชวงั บวรสถานมงคล (วงั หนา้ )
๑๘
วัดพระศรรี ัตนศาสดาราม (วัดพระแก้ว) วดั พระศรีรตั นศาสดาราม
ประดิษฐานพระพทุ ธมหามณีรัตนปฏิมากร เปน็ ท่ีประชมุ และประกอบ
(พระแกว้ มรกต) เป็นพระพทุ ธรูปค่บู า้ นคูเ่ มือง พระราชพธิ สี ำ�คัญของแผน่ ดิน
โดยเฉพาะพธิ ถี อื น้ําพระพพิ ัฒนส์ ตั ยา
กรงุ รตั นโกสินทร์ ซึง่ อัญเชญิ มาจาก
พระราชวงั เดิมกรงุ ธนบุรี
เกณฑ์แรงงานในเมืองและหวั เมือง
ทำ�อฐิ บางส่วนร้ือมาจากกำ�แพงเมืองกรุงเกา่
เพือ่ สรา้ งกำ�แพงพระนคร
สร้างบา้ นแปงเมอื งน่ี เร่งมือเถอะ
ตอ้ งใช้ชา่ งฝีมอื
ใชแ้ รงงานมหาศาล
๑๙
เมือ่ พระนครสรา้ งแล้วเสร็จ ในพุทธศกั ราช ๒๓๒๘
โปรดเกลา้ ฯ ใหป้ ระกอบการพระราชพิธสี มโภช
เฉลิมฉลองพระนคร ๓ วนั แล้วประกอบพระราชพธิ ี
บรมราชาภิเษกอย่างสมบูรณ์ตามโบราณ
ราชประเพณีอีกคร้ัง นบั เป็นคร้งั ท่ี ๒
ประกาศนามพระนครว่า “กรุงเทพมหานคร บวรรัตนโกสินทร์ มหินทรายุธยา มหาดิลก
ภพนพรตั น์ ราชธานบี รุ ีรมย์ อดุ มราชนิเวศนม์ หาสถาน อมรพมิ านอวตารสถติ
สกั กะทัตตยิ วษิ ณกุ รรมประสทิ ธ”์ิ
ตอ่ มา ในรัชกาลที่ ๔ ทรงแปลงสร้อยค�ำ “บวรรตั นโกสินทร”์ เปน็ “อมรรัตนโกสนิ ทร”์
สบื มาตราบปจั จุบนั
๒๐
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช
มีพระราชดำ�ริทำ�นุบำ�รงุ บา้ นเมอื งให้เจริญรุง่ เรืองมน่ั คง
บางคราวยังตอ้ งท�ำ ศึกสงครามปกป้องพระราชอาณาจกั ร
ไปพรอ้ มกัน พทุ ธศักราช ๒๓๒๘ ทำ�ศึกกบั พมา่
เป็นสงครามคร้งั สำ�คัญและยง่ิ ใหญ่
คอื “สงครามเก้าทัพ”
เมื่อพระเจา้ ปดงุ บรมราชาภิเษก
ข้ึนเปน็ กษตั ริยพ์ มา่ แลว้
ทรงตอ้ งการแสดงแสนยานภุ าพ
โดยท�ำ สงครามรวบรวมหัวเมืองนอ้ ยใหญ่
รวมถึงเมอื งประเทศราชใหเ้ ปน็ ปกึ แผ่น
จงึ ทรงยกกองกำ�ลังเข้ามาตีไทย
โดยมจี ุดประสงคท์ ำ�สงคราม
เพื่อท�ำ ลายกรงุ รัตนโกสนิ ทร์ใหพ้ นิ าศยอ่ ยยับ
เหมือนกรุงศรอี ยุธยา
สงครามนี้ พระเจ้าปดงุ
ทรงยกทัพมาถงึ ๙ ทัพ
รวมก�ำ ลงั พลมากถงึ ๑๔๔,๐๐๐ นาย
โดยแบง่ การโจมตกี รุงรัตนโกสินทร์
ออกเป็น ๕ ทศิ ทาง
๒๑
ทัพท่ี ๑ ยกมาตีหัวเมอื งทางปกั ษ์ใต้
ตั้งแตเ่ มอื งระนองถึงเมืองนครศรีธรรมราช
ทพั ที่ ๒ ยกมาตีราชบรุ ี เพื่อรวบรวมกำ�ลังพล ทพั ที่ ๓ เขา้ มาทางหัวเมืองฝา่ ยเหนอื
เขา้ สมทบกับกองทัพท่ตี ีหัวเมืองปักษ์ใต้ ต้ังแต่เชียงแสน เชียงใหม่ ล�ำ พนู ลำ�ปาง
แล้วคอ่ ยเข้าโจมตกี รุงรตั นโกสินทร์ ตตี ัง้ แต่หัวเมอื งฝา่ ยเหนอื ลงมาสมทบ
ทพั ที่ ๔- ๗ ยกเข้ามาทางดา่ นพระเจดียส์ ามองค์
แลว้ ไปทีท่ งุ่ ลาดหญา้ เมอื งกาญจนบุรี
มาสบทบกับทัพที่ ๘
๒๒
ทัพที่ ๘ เป็นทพั หลวงพระเจา้ ปดุงทรงเปน็ ผคู้ ุมทพั มีก�ำ ลังพลมากที่สดุ ถึง ๕๐,๐๐๐ นาย
ยกเขา้ มาทางด่านพระเจดยี ์สามองค์ เพือ่ รอสมทบกบั ทัพเหนือและใต้
ทัพท่ี ๙ ยกเข้ามาทางด่านแมล่ ะเมา
เพอ่ื ตเี มืองตาก ก�ำ แพงเพชร พิษณุโลก
และนครสวรรค์
กองทพั ไทยมีเพียง ๔ กองทพั
ทัพที่ ๑ ใหย้ กไปรบั ทพั พม่าทางเหนือ
ท่ีเมืองนครสวรรค์
๒๓
ทัพท่ี ๒ ยกไปรบั พมา่ ทางดา่ นพระเจดีย์สามองค์ ทพั นเี้ ป็นทพั ใหญ่
มสี มเดจ็ พระบวรราชเจา้ มหาสุรสงิ หนาท ฯ (พระอนุชา) เปน็ แมท่ ัพ
คอยไปรับทพั หลวงของพระเจ้าปดุงทีเ่ ขา้ มาทางดา่ นพระเจดียส์ ามองค์
ทพั ที่ ๓ ยกไปรับทัพพม่า ท่มี าจากทางใต้ท่เี มอื งราชบรุ ี
ทพั ท่ี ๔ เปน็ ทพั หลวง โดยมพี ระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราชทรงคุมทัพ
คอยเปน็ กำ�ลงั หนุนเมื่อทัพใดเพลย่ี งพลาํ้
๒๔
กองทัพไทยไดต้ า้ นทานการบกุ
และตดั การลำ�เลยี งเสบยี งอาหาร
รวมถงึ กระสนุ ปนื ใหญ่
ของฝ่ายทัพพมา่
ทรงวางแผนใหท้ พั ของสมเดจ็ พระบวรราชเจา้ มหาสรุ สงิ หนาท
สกดั ทพั พมา่ ทบ่ี รเิ วณทงุ่ ลาดหญา้ ท�ำ ใหพ้ มา่ ตอ้ งชะงกั
ตดิ อยบู่ รเิ วณชอ่ งเขา
ทรงใชย้ ทุ ธศาสตรแ์ บบกองโจร ในที่สดุ ทัพพม่าท่นี ี่ก็แตกพ่ายไป
ออกปล้นสะดม ทำ�ให้ทัพพม่า สไู้ มไ่ หว
ขดั สนเสบยี งอาหาร
เปน็ ทีเราแล้ว
๒๕
เมอื่ ทพั พมา่ ทีท่ งุ่ ลาดหญ้า
แตกพา่ ย สมเด็จพระบวรราชเจา้ ฯ
จงึ ยกทัพไปช่วยทางอื่น
ไดร้ บั ชยั ชนะตลอดทกุ ทัพ
ตง้ั แตเ่ หนือจรดใต้
กวา่ สงครามคร้งั นี้จะยุตลิ งใชเ้ วลาทงั้ ส้ิน ๑๐ เดือน
โดยทัพไทยเป็นฝา่ ยชนะ และรกั ษาเอกราชของชาติไว้ได้
สงครามครั้งนจ้ี ึงมีชอื่ เรียกวา่ สงคราม ๙ ทพั
การสงครามในรัชสมยั มีอีกหลายคร้งั กลา่ วได้ว่าตลอดรัชกาลไทยเปน็ ฝ่ายชนะศึกตลอด
๒๖
แม้ตลอดรชั สมยั จะมกี ารศึกสงคราม ทรงยึดแบบอยา่ งการปกครองอย่างครงั้
แตก่ ารท�ำ นบุ �ำ รุงบา้ นเมอื งจ�ำ ตอ้ ง กรุงศรีอยุธยา แบง่ เป็น ฝา่ ยทหารและพลเรือน
มีระเบยี บแบบแผน เพ่ือความเรียบร้อย
และผาสุกแก่ราษฎร
มอี คั รมหาเสนาบดีเรียกวา่ สมหุ นายก ถอื ตราพระราชสีห์ บงั คับบญั ชากรมมหาดไทย
ดแู ลหัวเมอื งฝา่ ยเหนอื และสมหุ พระกลาโหม ถอื ตราพระคชสหี ์ บังคบั บัญชากรมพระกลาโหม
ดแู ลหวั เมอื งฝ่ายใต้ ส่วนกรมทา่ ถอื ตราบวั แก้ว ดูแลหัวเมืองฝา่ ยตะวันตก
ตราพระราชสหี ์ ตราพระคชสหี ์ ตราบัวแกว้
การปกครองภายในจดั เป็นแบบ จตสุ ดมภ์ เรียกสั้น ๆ ว่าเย่ยี งไร
“จตสุ ดมภ”์ คือ หลกั ทงั้ สี่ เวยี ง วงั คลัง นา
ใชไ่ หมเจ้าคณุ ตา
กรมเวยี ง มหี นา้ ที่ดูแลทุกข์สขุ ของราษฎร
กรมวัง มีหนา้ ทด่ี ูแลพระบรมมหาราชวงั
และพิจารณาตัดสนิ ความ
กรมพระคลงั มีหนา้ ท่ีดแู ลพระราชทรพั ย์
และดแู ลรบั ผิดชอบการคา้ ขาย
กับตา่ งประเทศ
กรมนา มหี นา้ ท่ีดแู ลท่นี า
เออ สมองเอ็งดี
๒๗
โปรดใหข้ า้ ราชการที่มคี วามรูใ้ นราชประเพณี
และการบริหารราชการแผน่ ดนิ
รว่ มกันชำ�ระกฎหมาย เพ่ือใช้เป็นหลัก
ในการควบคมุ จัดระเบยี บสงั คม
เพ่ือใหเ้ กดิ ความยตุ ิธรรมในบ้านเมือง
กฎหมายเดิม ทรงให้นำ�กฎหมาย “กษตั ริย์ผดู้ �ำ รงแผน่ ดนิ นน้ั อาศยั ซึ่งโบราณ
ใช้มาตงั้ แตส่ มัย ในหอหลวงมาช�ำ ระใหม่ ราชนิติกฎหมายพระอัยการอนั กษตั รยิ แ์ ต่กอ่ น
อยุธยา บางทีก็
ไม่ถูกตอ้ งคลอ้ งกัน มพี ระราชปรารภ บญั ญตั ไิ วเ้ ปน็ บรรทดั ฐาน ซ่งึ พพิ ากษาตราสิน
ไว้วา่ ... เนือ้ ความราษฎรท้งั ปวงไดโ้ ดยยตุ ธิ รรม และ
พระราชกำ�หนดบทอยั การนั้น ก็ฟั่นเฟอื น
วปิ รติ ผิดซ้ํา ตา่ งกนั เปน็ อนั มาก ด้วยคนอนั
โลภหลงหาความละอายมิได้ ดัดแปลง
แตง่ ตามชอบใจไว้ พพิ ากษาใหเ้ สียยุติธรรม
สำ�หรบั แผน่ ดนิ ไปก็มีบา้ ง”
ช�ำ ระเสร็จแล้วประทบั ตรา ๓ ดวง คอื กฎหมายตราสามดวง ถือเปน็ การวางรากฐาน
พระราชสีห์ (มหาดไทย) พระคชสหี ์ (กลาโหม) ในการชำ�ระกฎหมายต่อมา และมกี าร
และบัวแก้ว (กรมท่า) บังคบั ใช้ในการปราบปรามทจุ ริตอย่างเคร่งครัด
เรียกวา่ “กฎหมายตราสามดวง”
๒๘
ทรงท�ำ นบุ �ำ รงุ พระพทุ ธศาสนาใหเ้ ปน็ หลกั ของ โปรดใหส้ งั คายนาพระไตรปิฎกใหส้ มบูรณ์
แผน่ ดนิ เพอ่ื ราษฎรมหี ลกั ธรรมยดึ เหนย่ี วจติ ใจ ตามพระธรรมวนิ ยั ณ วดั นิพพานาราม
ประพฤตติ นเปน็ พลเมอื งดขี องบา้ นเมอื ง (วัดมหาธาตุยุวราชรงั สฤษฎิ)์
โดยสมเดจ็ พระสงั ฆราช ทรงเลือกพระราชาคณะ
จำ�นวน ๒๑๘ รปู ราชบณั ฑิตจำ�นวน ๓๒ คน
แล้วพระราชทานไปยงั พระอารามหลวง โปรดใหจ้ ัดระเบยี บพระสงฆ์ ตรากฎพระสงฆ์
และมีพระบรมราชานญุ าตใหพ้ ระอารามต่าง ๆ ให้ประพฤตติ นอย่ใู นพระธรรมวินยั
คัดลอกเกบ็ ไว้
ทรงทำ�นบุ �ำ รงุ และปฏสิ งั ขรณ์พระพุทธรปู ช�ำ รุด โปรดให้บรู ณะวดั โพธ์ิ สรา้ งพระเจดีย์
ตลอดจนพระอารามต่าง ๆ ทง้ั ในพระนคร ศรสี รรเพชญดาญาณ สร้างจารกึ ตำ�รายา
และหวั เมอื งใหส้ มบูรณ์สงา่ งาม และต�ำ ราฤาษีดดั ตน ใหป้ ระชาชนมาศึกษาได้
เปน็ วัดประจ�ำ รัชกาล พระราชทานนามว่า
“วดั พระเชตุพนวิมลมังคลาวาส”
(รชั กาลท่ี ๔
พระราชทานนามว่า
วดั พระเชตุพน
วมิ ลมงั คลาราม)
๒๙
ทรงห่วงใยราษฎร คราวนาํ้ ทว่ ม หรอื ไฟไหม้ กเ็ สด็จ ฯ ไป
เพื่อทรงรับทราบปญั หา และช่วยแกไ้ ขให้ผา่ นพน้ ไป
ทรงปนู บ�ำ เหนจ็ ความชอบ ขา้ ราชการทซ่ี ่ือสตั ยต์ ามสำ�คญั
ทรงเขม้ งวดข้าราชการทเี่ อารดั เอาเปรยี บราษฎร
เพอื่ ให้บ้านเมอื งมีความรม่ เยน็ เป็นสุข
๓๐
บา้ นเมืองในรชั สมัยเต็มไปด้วยศกึ สงคราม
ทรงเป็นกษตั ริย์นักรบ แตก่ ม็ ิได้ทรงละเลย
ขนบธรรมเนยี มประเพณที ม่ี ีมา
ทรงฟน้ื ฟูขนบธรรมเนียมประเพณี
ทง้ั ทรงส่งเสรมิ สรา้ งสรรค์
ดา้ นศลิ ปวัฒนธรรมใหม่ ๆ
ตลอดจนวรรณคดีทง่ี ดงาม
ทรงฟน้ื ฟพู ระราชพธิ สี �ำ คญั ของแผน่ ดนิ ไดแ้ ก่
พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก พระราชพธิ สี รงสนาน
เมอ่ื สรา้ งพระบรมมหาราชวงั แลว้ เสรจ็ สมบรู ณ์
โปรดใหจ้ ดั การพระราชพธิ ตี ามราชประเพณี
พระราชพิธโี สกันต์ การพระศาสนา ได้แก่ การบำ�เพญ็
คือ พิธโี กนจุกพระราชโอรส พระราชธิดา พระราชกศุ ล ถวายผ้าพระกฐิน
ตามอย่างธรรมเนียมเมือ่ ครง้ั กรงุ ศรีอยุธยา และวันส�ำ คญั ทางพระพุทธศาสนา
๓๑
โปรดให้รวบรวมชา่ งฝีมือมาเปน็ ช่างหลวง
ร่วมสรา้ งพระบรมมหาราชวัง
และบรู ณปฏสิ ังขรณ์พระอารามจ�ำ นวนมาก
ชา่ งสาขาอน่ื ไดแ้ ก่ ช่างทำ�เคร่อื งราชกกุธภัณฑ์ เคร่ืองอุปโภค
ราชูปโภค และ ช่างสบิ หมู่ อาทิ ช่างปนู ช่างไม้ ชา่ งหล่อ
ช่างกลงึ ชา่ งแกะ ช่างมกุ ชา่ งเขยี น และ ช่างปั้น
ผลงานอนั งดงามของชา่ งฝีมอื ในรชั กาลที่ ๑
ยงั ปรากฏเป็นศรีสง่าแก่บา้ นเมือง
เปน็ มรดกของชาตสิ ืบมาตราบจนปจั จุบัน
๓๒
เมอ่ื กรงุ ศรอี ยธุ ยาลม่ สลาย วรรณคดี ทรงพระราชนิพนธ์วรรณคดีหลายเรื่อง
ทม่ี มี าแตโ่ บราณกส็ ญู หายไปมาก อาทิ บทละครเรื่องรามเกียรติ์ อิเหนา อณุ รทุ
โปรดใหร้ วบรวมงานวรรณคดเี กา่ และสง่ เสรมิ
ดาหลงั และกลอนเพลงยาวนริ าศเรือ่ ง
ใหม้ กี ารสรา้ งสรรคใ์ หม่ รบพมา่ ที่ทา่ ดินแดง
กวีส�ำ คัญในรชั สมัย คือ
เจา้ พระยาพระคลงั (หน)
แต่งวรรณคดีหลายเรือ่ ง
เชน่ อิเหนาค�ำ ฉนั ท์
เพลงยาวต่าง ๆ
รา่ ยยาวมหาชาติกัณฑก์ มุ าร
และกัณฑม์ ัทรี
และบทรอ้ งมโหรกี ากี
โปรดให้ช�ำ ระพระราชพงศาวดารกรงุ ศรอี ยุธยา
และแปลวรรณกรรมจีนเป็นภาษาไทย ได้แก่ สามกก๊ ไซฮ่ ่นั
และพงศาวดารมอญ เร่อื งราชาธิราช
๓๓
พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา จุฬาโลก พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลาเจา อยูห วั
มหาราช เสด็จสวรรคตเมอื่ วนั พฤหัสบดี ที่ ๗ รชั กาลที่ ๖ มพี ระบรมราชโองการให
กันยายน พทุ ธศักราช ๒๓๕๒ พระชนมพรรษา วันที่ ๖ เมษายน เปน วันพระบรมราชานสุ รณ
๗๓ พรรษา ทรงดาํ รงสิรริ าชสมบัติ ๒๗ ป แหง พระบรมราชจักรวี งศ เรียกวา วนั จักรี
พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา เจาอยหู ัว รัชกาลท่ี ๗ โปรดใหจดั งานฉลองพระนครครบ ๑๕๐ ป
พุทธศักราช ๒๔๗๕ และสรางพระปฐมบรมราชานสุ รณ ทรงบรจิ าคพระราชทรพั ย
รวมกับประชาชน สรา งสะพานพระพทุ ธยอดฟา ขามแมน ้าํ เจาพระยา ที่เชิงสะพาน
โปรดใหป ระดษิ ฐานพระบรมรปู พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟา จฬุ าโลกมหาราชไวส กั การบชู า
พุทธศกั ราช ๒๕๒๕
รัฐบาลจัดงานสมโภชกรงุ รตั นโกสินทรค รบ ๒๐๐ ป
และถวายพระราชสมญั ญา “มหาราช”
และกําหนดให วนั ท่ี ๖ เมษายน เปน วนั
“พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา จุฬาโลกมหาราช
และ วนั ทร่ี ะลึกมหาจักรีบรมราชวงศ”
๓๔
รัชกาลที่ ๒
ฟเู ฟ่ืองวรรณกรรม
พระราชลัญจกรประจ�ำ พระองค์รัชกาลที่ ๒
เป็นตรางา ลักษณะกลม รปู ครฑุ จับนาค
เป็นสญั ลักษณข์ องพระปรมาภไิ ธยว่า ฉิม ตามความหมายของวรรณคดีไทย คอื พญาครฑุ
เปน็ เทพองค์หนงึ่ ทที่ รงมหทิ ธานุภาพยิง่ ดังน้ัน จงึ นำ�รูปครฑุ จับนาค
มาเปน็ เครื่องหมายแทนพระปรมาภิไธยในพระราชลญั จกร
... ทรงพระราชศรัทธาจะยกร้อื วสิ าขบชู ามหายัญพธิ ี
อนั ขาดประเพณมี านนั้ ใหก้ ลับคืนเจียรฐิติกาล
ปรากฏสำ�หรับแผน่ ดนิ สืบไป จะใหเ้ ป็นอตั ตัตถประโยชน์
และปรัตถประโยชน์ ทรงพระราชศรทั ธาจะใหส้ ัตวโลก
ข้าขอบขัณฑเสมาทั้งปวง จำ�เริญอายแุ ลอยเู่ ยน็ เปน็ สุข
ปราศจากทุกข์ภัยในช่ัวน้ีแลชว่ั หน้า...
พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสนิ ทร์ รชั กาลท่ี ๒
พระนิพนธข์ องสมเดจ็ ฯ กรมพระยาด�ำ รงราชานุภาพ
๓๖
พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หล้านภาลยั
พระนามเดิมว่า สมเด็จเจา้ ฟ้าฉมิ
เปน็ พระราชโอรสพระองคใ์ หญ่
ในพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช
และสมเด็จพระอมรนิ ทรา บรมราชนิ ี
เสด็จพระราชสมภพ
เมอื่ วนั พธุ ท่ี ๒๔ กุมภาพนั ธ์ พทุ ธศักราช ๒๓๑๐
หลงั จากเสยี กรงุ ศรอี ยุธยาแล้ว ๑๐ เดือน
ณ บา้ นอัมพวา เมอื งสมุทรสงคราม
นวิ าสสถานเดมิ ของสมเดจ็ พระบรมราชชนนี
ส่วนสมเด็จพระบรมชนกนาถขณะนัน้
รับราชการเปน็ หลวงยกกระบัตรเมอื งราชบรุ ี
เมอ่ื สมเดจ็ พระเจ้าตากสนิ มหาราชทรงกอบก้เู อกราช
และทรงสถาปนากรงุ ธนบรุ เี ปน็ ราชธานแี ลว้ หลวงยกกระบตั ร
เขา้ มารับราชการในกรงุ ธนบุรี ตั้งบ้านเรอื นอยู่
ดา้ นใต้วดั บางหวา้ ใหญ่ คอื วดั ระฆงั โฆสิตารามในปัจจุบนั
๓๗
ทรงเข้าศกึ ษาเลา่ เรียน ในราชการสงครามสมยั สมเด็จ
ในสำ�นักพระวนั รัต (ทองอยู่) พระเจ้าตากสนิ มหาราช ทรงร่วมในกองทัพ
ที่วัดบางหวา้ ใหญ่ หรือวัดระฆงั ปจั จบุ นั ทพ่ี ระราชบดิ าไปรบตงั้ แต่พระชนมพรรษา
จนมีความร้เู ชย่ี วชาญแตกฉาน
๘ พรรษา
สมเดจ็ ฯ เจา้ ฟา้ กรมหลวง เมอื่ สถาปนากรุงรัตนโกสนิ ทร์
อิศรสุนทร ประทบั ท่ี สมเด็จพระบรมชนกนาถ
พระราชวังเดมิ กรุงธนบรุ ี เสดจ็ ขึ้นครองราชสมบัติ เปน็ ปฐมกษตั รยิ ์
แห่งพระบรมราชจกั รีวงศ์
เม่ือวนั ที่ ๖ เมษายน พทุ ธศกั ราช ๒๓๒๕
ครง้ั นน้ั ทรงได้รับพระราชทานพระอสิ รยิ ยศ
เป็นเจา้ ฟา้ ฯ ตา่ งกรม พระนามวา่
สมเด็จพระเจ้าลกู เธอ เจ้าฟ้ากรมหลวง
อศิ รสุนทร เม่อื พระชนมพรรษา ๑๖ พรรษา
พุทธศกั ราช ๒๓๓๑ ทรงผนวช
ณ วดั พระศรรี ัตนศาสดาราม
แล้วเสดจ็ ฯ ไปจำ�พรรษาที่วดั สมอราย
(วัดราชาธิวาส) ครบสามเดอื น
จงึ ทรงลาสกิ ขา
๓๘
สมเดจ็ ฯ เจา้ ฟา้ กรมหลวงอิศรสุนทร สมเด็จพระบรมชนกนาถ
ได้ทรงงานราชการใกลช้ ิด โปรดให้ตง้ั การพระราชพธิ ี
สมเด็จพระบรมชนกนาถมากขน้ึ อปุ ราชาภิเษก
ทรงเรียนรู้การบา้ นการเมือง เป็นพระมหาอปุ ราช
เรือ่ ยมา
พทุ ธศกั ราช ๒๓๔๙
สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสรุ สิงหนาท
กรมพระราชวงั บวรสถานมงคล (วังหนา้ )
เสดจ็ สวรรคต
วนั พฤหสั บดี ที่ ๗ กันยายน พทุ ธศกั ราช ๒๓๕๒
พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช
เสด็จสวรรคต พระบรมวงศานวุ งศ์ ขนุ นางท้งั หลาย
กราบบังคมทลู เชญิ เสด็จข้ึนครองราชสมบตั ิ
เปน็ พระมหากษตั รยิ ์ รัชกาลท่ี ๒
แห่งพระบรมราชจกั รีวงศ์
๓๙
การศึกสงครามของบ้านเมือง โปรดให้
ตง้ั แต่ต้นกรงุ รตั นโกสินทร์ สมเดจ็ พระบวรราชเจา้ มหาเสนานุรักษ์
ถงึ รัชสมยั ของพระองค์ เปน็ แม่กองก่อสร้างเมอื งนครเขอ่ื นขนั ธ์
ยงั คงมีการรกุ รานกันอยูเ่ นอื ง ๆ
ทปี่ ากลัด (พระประแดง)
สรา้ งป้อมปศี าจผสี งิ ปอ้ มราหู และปอ้ ม
ศัตรพู ินาศ แล้วให้อพยพครอบครวั มอญ
จากปทมุ ธานีมาอยู่ทีน่ ครเขอื่ นขนั ธ์
โปรดให้พระเจา้ ลกู เธอ กรมหมน่ื เจษฎาบดนิ ทร์ โปรดให้พระเจา้ นอ้ งยาเธอ
เปน็ แมก่ องสรา้ งปอ้ มปราการ ผีเสื้อสมุทร กรมหม่นื ศักดิพลเสพ ไปคมุ งาน
ป้อมประโคนชัย ปอ้ มนารายณ์ปราบศึก ปอ้ มกายสิทธ์ิ กอ่ สร้างปอ้ มเพชรหงึ ส์
ทเ่ี มืองสมุทรปราการดว้ ย ที่เมอื งนครเข่ือนขนั ธ์
ตลอดจนสรา้ งเมืองหนา้ ด่าน ทรงดแู ลทุกข์สุข
และปอ้ มปราการตา่ ง ๆ เพื่อป้องกันมิใหข้ า้ ศึก ราษฎร
เขา้ มาถึงพระนครโดยง่าย
๔๐
การศกึ ในสมัยรัชกาลท่ี ๒ มีขึน้ หลายคร้ัง ตง้ั แต่ทรงครองราชยไ์ ด้ ๒ เดือน พระเจา้ ปดงุ
กษตั ริยพ์ มา่ แต่งตง้ั อะเติง้ หง่นุ และสเุ รียงสาระกะยอเปน็ แมท่ ัพมาทำ�ศกึ กบั ไทย
อะเต้ิงหงุ่นยกทัพเรือเขา้ มาตที างหวั เมืองชายทะเลตะวันตก
คือเมอื งตะกว่ั ท่งุ ตะกวั่ ป่า แลว้ ตรงึ กำ�ลงั ลอ้ มเมืองถลางไว้
ส่วนแม่ทัพสุเรยี งสาระกะยอ ยกกำ�ลงั มาทางบก เข้าตีหวั เมืองด้านทศิ ใต้
ยึดเมอื งมะลวิ ลั ย์ ระนอง และกระบี่
๔๑
พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั ทรงส่งกองทัพลงไปชว่ ย ตีทพั พม่าแตกพา่ ยทงั้ สองทัพ
พุทธศกั ราช ๒๓๖๓ พระเจ้าปดุงสวรรคต
พระเจา้ จกั กายแมงได้สบื ราชสมบัติ
ยกทพั มาตไี ทย สมคบกบั พระยาไทรบรุ ีทมี่ ใี จ
เอนเอียงข้างพม่า พอทราบว่าไทยจัดเตรียม
รับศึกเขม้ แข็งก็กริ่งเกรงจะรบแพ้ จึงยุติไป
อีก ๓ ปตี ่อมาได้ชกั ชวนพระเจา้ มินมาง
กษตั ริย์ญวนร่วมรบ ญวนมิได้ร่วมดว้ ย
เพราะเผชญิ สงครามกบั องั กฤษ
จนต้องเสียอิสรภาพ จงึ มไิ ดม้ าตีไทยอกี เลย
มีพระอจั ฉรยิ ภาพดา้ นการปกครอง ทรงแตง่ ตง้ั มอบหมายขา้ ราชการ
เชยี่ วชาญการบริหารและการปกครอง ทท่ี รงไว้วางพระราชหฤทยั ใหร้ ับหนา้ ท่ี
โดยทรงเลอื กผทู้ ี่มคี วามรคู้ วามสามารถ
เป็นเลศิ ท้งั พระอนชุ า พระราชโอรส
และพระราชวงศช์ น้ั สูง
๔๒
โปรดให้ พระเจ้าลูกเธอ กรมหมืน่ เจษฎาบดินทร์ พระราชโอรสพระองค์ใหญ่
ก�ำ กบั ราชการกรมทา่ กรมพระคลงั มหาสมบัติ กรมพระตำ�รวจว่าความฎีกา
และวา่ ราชการต่างพระเนตรพระกรรณ
ทรงใหจ้ ัดสำ�เภาทำ�การคา้ กบั จีน และ เศรษฐกิจในรัชกาลท่ี ๒ จึงเจริญรงุ่ เรือง
ชาตอิ ื่น ๆ นำ�เงินเขา้ พระคลงั เปน็ จ�ำ นวนมาก มีทูตขององั กฤษ ชือ่ จอหน์ ครอว์เฟิร์ด
ยงั ทรงขานพระนามพระเจ้าลกู เธอ กรมหม่ืน
เจษฎาบดินทร์วา่ เจา้ สวั เพราะคา้ ขายเกง่ เดินทางเข้ามาเจรจาทางการคา้
บนั ทกึ วา่ “...ประเทศเจริญรงุ่ เรือง
ในรชั กาลของพระองค.์ ..”
ทูตการค้าของอังกฤษผนู้ บ้ี นั ทึกสรรเสรญิ
กรมหมื่นเจษฎาบินทรว์ า่
...ทรงเป็นผฉู้ ลาดที่สดุ ในบรรดาเจ้านายและขนุ นาง...
๔๓
ทรงห่วงใยราษฎร โปรดให้ตราพระราชบัญญัติ ทรงแกป้ ญั หาฝน่ิ ดว้ ยการตราพระราชก�ำ หนด
หา้ มเลี้ยงไก่ นก ปลากัด ไวช้ น ไวก้ ัด หา้ มสบู ฝน่ิ ขายฝน่ิ ซอ้ื ฝน่ิ พรอ้ มทรงก�ำ หนด
ตายละ่ เพือ่ การพนัน บทลงโทษส�ำ หรบั ผฝู้ า่ ฝนื เพราะฝน่ิ เปน็ สง่ิ เสพตดิ
อยากกนิ ตม้ ไก่ ท�ำ ใหค้ นเกยี จครา้ น ออ่ นแอ บา้ งปลน้ ฆา่ หาเงนิ
จะทำ�เยยี่ งไร ทา่ นมไิ ดห้ ้าม มาเสพ เมอ่ื ไมไ่ ดเ้ สพถงึ ขน้ั ลงแดงถงึ แกค่ วามตาย
เลยี้ งไวก้ นิ
กม็ ี ท�ำ ใหค้ รอบครวั แตกแยกลม่ สลาย
โอย..
ทรมาน
เหลอื เกิน
เร่อื งภาษี โปรดให้จัดเก็บด้วยความเปน็ ธรรม
เพราะการท�ำ นุบ�ำ รงุ บ้านเมอื งให้เจริญ
ส่วนหนง่ึ มาจากภาษอี ากรที่เกบ็ จากประชาชนด้วย
หากเกบ็ มากจะกอ่ ใหเ้ กดิ ความเดือดร้อน
คงเกบ็ แต่เฉพาะผู้มรี ายได้ เช่น ภาษีโรงเหลา้
ภาษีปากเรือจากการคา้ ขายกบั ตา่ งชาติ
อากรคา่ นา ค่าสวน ค่าบอ่ น ภาษดี ่าน ภาษีตลาด
ส่วนภาษเี ดินสวนเดนิ นา คือภาษีที่เก็บจาก สำ�หรบั ที่สวนท่ีนาที่ปลอ่ ยให้รกร้างเกิน ๓ ปี
ชาวสวนชาวนา กำ�หนดให้เก็บตามสภาพ จะถกู ริบเปน็ ของหลวง เพื่อปนั ให้แก่ราษฎร
ที่ท�ำ จรงิ ถา้ ปไี หนฝนฟ้าไมด่ ี ผลผลติ เสียหาย
ก็ให้เว้นเสีย ถ้าผลผลติ ดกี ใ็ หเ้ ก็บไรล่ ะ ท่ีไรท้ ่ีท�ำ กินใหไ้ ดท้ ำ�มาหาเล้ียงชีพตอ่ ไป
๒ สัดครึ่ง เรียกว่า ภาษีหางข้าว
ใหข้ นนำ�ส่งยุ้งฉางหลวงเองด้วย
๔๔
สมยั สมเดจ็ พระบรมชนกนาถ ต่อมา ได้มีการนำ�สัญลกั ษณ์ตา่ ง ๆ มาประดับ
มกี ารก�ำ หนดใชธ้ งไวว้ ่า บนพื้นธงสแี ดงเพิ่มเติม ให้เพ่มิ รปู จักรสขี าว
ลงในธงแดง สำ�หรบั ใชเ้ ป็นธงของเรอื หลวง
ทงั้ เรือหลวงและเรอื ค้าขายของเอกชน
ลว้ นใช้ธงสแี ดงเป็นเครื่องหมายเรือสยาม เพ่ือแสดงความแตกต่างระหว่าง
เรือพระมหากษตั ริย์ กบั เรอื ราษฎร
ในรชั สมยั
มชี า้ งเผอื กเอกมาสู่บารมี ๓ ช้าง
คอื พระยาเศวตกญุ ชร
พระยาเศวตไอยรา
และพระยาเศวตคชลักษณ์
นบั เปน็ เกียรตยิ ศและบญุ บารมี
ต่อแผน่ ดิน ราษฎรทงั้ หลาย
จึงถวายพระนามพระองค์วา่
พระเจ้าช้างเผือก
โปรดให้เพม่ิ รปู ชา้ งเขา้ ภายในวงจกั รสีขาวของธงเรือหลวง เรียกวา่ “ธงช้างเผอื ก”
มคี วามหมายวา่ พระเจา้ แผน่ ดนิ อันมชี า้ งเผอื ก (ธงนี้ใช้เฉพาะเรือหลวงเท่านน้ั )
๔๕
พุทธศักราช ๒๓๖๓ เกิดโรคระบาดครงั้ ใหญ่ ทีว่ ดั สระเกศมศี พมากกวา่ ท่ใี ด กองสุมไว้
เรียกกนั อย่างชาวบา้ นว่า หา่ ลงปมี ะโรง ผคู้ นลม้ ตาย เหมือนกองฟืน ผู้คนหวน่ั วิตกถว้ นหน้า
บา้ นเมอื งยามนนั้ วงั เวงราวกับเมืองรา้ ง
เป็นจ�ำ นวนมาก ศพเกลื่อนกลาดไปทุกหนแหง่
เก็บเผาไมห่ วาดไหวบ้างปลอ่ ยใหล้ อยในแม่นํ้าคูคลอง
โปรดใหจ้ ดั พธิ อี าพาธพนิ าศที่พระทนี่ งั่ ดสุ ิตมหาปราสาท มกี ารยงิ ปืนใหญร่ อบพระนครตลอดคืน
อญั เชญิ พระแกว้ มรกตและพระบรมสารรี กิ ธาตอุ อกแห่ และประพรมนา้ํ พระพทุ ธมนต์
ตลอดเสน้ ทาง พระองคท์ รงศลี ปลอ่ ยสตั วแ์ ละนกั โทษทจ่ี องจ�ำ
๔๖
มีพระบรมราชานุญาตใหห้ ยดุ ราชการ รับส่ังใหก้ ลับไปบ�ำ รุงดูแลครอบครัวของตน ความวา่
“ประเพณสี ตั วท์ งั้ หลาย ภยั มาถึงกย็ อ่ มรกั ชีวิตบิดามารดาภรรยาแลบตุ รญาตพิ ่ีนอ้ ง
ก็เป็นที่รักเหมือนกันท่ัวไป จะไดไ้ ปรักษาพยาบาลกนั ”
โปรดใหจ้ ดั พธิ อี าพาธพนิ าศ
เปน็ ขวัญก�ำ ลงั ใจแกร่ าษฎร
เม่ือ ๑๕ วันผา่ นไป
โรคระบาดก็คอ่ ยเบาบางลง
ทัง้ ในและนอกพระนคร
มีผู้เสยี ชวี ิตกวา่ ๓๐,๐๐๐ คน
ทรงฟืน้ ฟูพระพุทธศาสนาหลายดา้ น
โปรดให้ จากเปรยี ญตรี โท เอก เปน็ ประโยค ๑ - ๙ ทราบมาว่า
แก้ไขการสอบ ผู้สอบได้ประโยค ๓ ขน้ึ ไปนบั เปน็ เปรยี ญ มีการสง่ สมณทตู
พระปริยัติธรรม ไปลังกาเพอ่ื เจริญ
ท�ำ ให้พระ เณรมคี วามแตกฉาน สัมพันธไมตรแี ละสบื
ในบาลยี ่งิ ขน้ึ ขา่ วพระศาสนา
ดว้ ยมิใช่รึ
ใชข่ อรับ
๔๗
ทรงฟื้นฟปู ระเพณีวสิ าขบชู า โดยหา้ มลา่ สตั ว์ ๓ วัน
มีพระราชดำ�รวิ ่า ใหท้ �ำ ทาน รกั ษาศีล
ถวายบิณฑบาต ปล่อยสัตว์
เป็นวนั สำ�คญั ยิ่งทางพุทธศาสนา และฟงั พระธรรมเทศนา
ทม่ี ีมาแต่สมัยสโุ ขทยั
๓ วนั ๓ คืน
จากนี้ไปถึงกาลข้างหนา้ คุณพระ
จะมวี นั วิสาขบูชาสืบไป
เหน็ เป็นเชน่ ไร
โปรดใหป้ ฏสิ ังขรณ์และสรา้ งวัดขนึ้ ใหมห่ ลายวัด
ไดแ้ ก่ วัดชัยพฤกษมาลา วัดโมลโี ลกยาราม วดั หงสาราม
ส่วนวดั สทุ ัศนเทพวราราม ทรงสรา้ งตอ่ จากทรี่ ัชกาลท่ี ๑
ทรงสรา้ งคา้ งไว้ รวมทงั้ โปรดใหบ้ ูรณปฏิสังขรณ์
วดั อรุณราชวราราม สรา้ งพระอุโบสถ
พระปรางค์ (แต่ยงั ไม่แล้วเสร็จในรัชกาล) พระวหิ ารใหม่
ตอ่ มาวัดน้ีเป็นพระอารามประจ�ำ รัชกาล
๔๘
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา้ นภาลัย
ทรงพระอจั ฉริยภาพด้านศิลปะหลาย
สาขา ทั้งจิตรกรรม ประตมิ ากรรม
งานจำ�หลักไม้ ดนตรี
และท่โี ดดเดน่ คือ วรรณคดี
ทรงสร้างพระมณฑปน้อยสวมรอยพระพทุ ธบาท
ประดษิ ฐานภายในพระมณฑปใหญ่ ซงึ่ สร้างคา้ งไว้
ตง้ั แตส่ มยั สมเด็จพระบรมชนกนาถ ณ วัดพระพทุ ธบาท
ทส่ี ระบรุ ี เมอ่ื แล้วเสร็จก็เป็นทชี่ ่ืนชม
ทรงแกะหนา้ หุ่นหลวงด้วยไมร้ กั งานแกะสลักบานประตูวดั สุทศั นเทพวราราม
เรยี กว่า พระยารกั ใหญ่ พระยารักนอ้ ย นบั เป็นงานแกะสลกั ไมท้ งี่ ามเลิศเป็นที่ยกยอ่ ง
ไดง้ ดงามเป็นที่ยอมรับในฝพี ระหัตถ์
๔๙