The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือพระมหากษัตริย์ไทยแห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ๑๐ รัชกาล ฉบับการ์ตูน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

หนังสือพระมหากษัตริย์ไทยแห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ๑๐ รัชกาล ฉบับการ์ตูน

หนังสือพระมหากษัตริย์ไทยแห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ๑๐ รัชกาล ฉบับการ์ตูน

ทรงอปุ ถัมภก์ ารศึกษาดา้ นตา่ ง ๆ เช่น พระราชทานพระราชทรพั ย์ชว่ ยเหลอื
ทรงให้คำ�แนะนำ� รวมทัง้ เสด็จพระราชด�ำ เนินเย่ยี ม และพระราชทานพระบรมราโชวาท
สนบั สนนุ เปน็ ก�ำ ลังใจแกค่ รู และนักเรียนของโรงเรียน
ทรงส่งเสริมและพัฒนาการศึกษา
ทง้ั ในระบบโรงเรียน และการศึกษา
ตามพระราชอัธยาศัย

โปรดให้สรา้ ง โรงเรียนจติ รลดา ในเขตพระราชฐาน
สำ�หรับพระราชโอรส พระราชธิดา และบุตรธิดาของขา้ ราชบรพิ าร

โปรดใหส้ รา้ ง โรงเรียนราชวนิ ติ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์
โดยพระราชทานท่ีดนิ ทรพั ยส์ ินส่วนพระมหากษตั รยิ ์ ณ บริเวณราชตฤณมยั สมาคม

ส�ำ หรบั บุตรหลานข้าราชบริพารและประชาชน ในเขตกรงุ เทพมหานคร

โรงเรยี นเจ้าพอ่ หลวงอุปถมั ภ์
โปรดใหเ้ ร่ิมสรา้ งในเขตภาคเหนือ

เพื่อใหค้ วามร้แู ละการศกึ ษา
แกช่ าวไทยภูเขา

๒๐๐

โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ เพื่อเดก็ ก�ำ พรา้ และเด็กยากจนทีเ่ ดือดร้อนจากภยันตรายต่าง ๆ
ทกุ ประเภท เริม่ สร้างครั้งแรกในจังหวัดนครศรีธรรมราช เพ่ือช่วยเหลือเดก็ ที่พ่อแม่เสียชีวิต
จากมหาวาตภยั ท่แี หลมตะลุมพุก เมอ่ื พทุ ธศักราช ๒๕๐๕ ตอ่ มา ขยายเป็น ๕๘ แห่ง เกือบทกุ
จังหวดั มที ั้งนกั เรียนประจ�ำ และไปกลับ สอนการฝึกอาชพี เพือ่ ให้สามารถชว่ ยเหลือตวั เองได้

โรงเรียนราชประชาสมาสยั สร้างขน้ึ ส�ำ หรบั โรงเรยี นรม่ เกล้า สร้างในพนื้ ทีช่ ายแดนห่างไกล
บุตรหลานผูเ้ ปน็ โรคเรอ้ื นทไ่ี ม่ไดต้ ดิ โรคเรอ้ื น คมนาคมภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื และภาคใต้
และนักเรยี นปกติ เมื่อพทุ ธศกั ราช ๒๕๐๖
ที่อำ�เภอพระประแดง จงั หวดั สมทุ รปราการ ต่อมาได้ขยายไปทัว่ ทุกภูมภิ าค

โรงเรียนสงเคราะห์เดก็ ยากจน โรงเรยี น ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย จงั หวดั นครปฐม
สรา้ งขึน้ สำ�หรบั เด็กขาดท่ีพึ่ง เป็นโรงเรยี นต้นแบบ จากโรงเรยี นประจ�ำ
มคี ณะสงฆ์อุปถัมภช์ ว่ ยสอน ของอังกฤษ สำ�หรับเด็กชายอยู่ประจ�ำ

๒๐๑

ทรงรื้อฟ้ืน “ทนุ เล่าเรยี นหลวง”
ที่ต้ังขึน้ ในสมยั รชั กาลที่ ๕
ส�ำ หรับนักเรยี นที่ส�ำ เร็จมัธยม

สอบชิงทุนการศกึ ษาพระราชทาน
และ “ทนุ มหดิ ล” ส�ำ หรับผทู้ ่ี
จบระดับอุดมศกึ ษาแล้ว
โปรดเกล้าฯ ใหจ้ ดั ท�ำ หนังสอื
“สารานกุ รมไทย” ส�ำ หรบั เยาวชน
โดยพระราชประสงค์
ในพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั
แตล่ ะเล่ม จดั แบง่ เนือ้ หา
เพ่อื ให้เยาวชนสามารถศึกษาเรยี นรู้
ได้ดว้ ยตนเอง
โรงเรยี นพระดาบส เปดิ สอนวิชาชา่ งอาชีพ
ระยะแรก คอื วชิ าช่างไฟฟ้า ช่างวทิ ยุ

ตอ่ มา เพิ่มเตมิ ช่างเคร่ืองยนต์ ช่างประปา และอื่น ๆ
ไมจ่ ำ�กัดวุฒิการศึกษาผู้เขา้ เรียน

เปน็ หลักสตู รระยะส้นั ๑ ปี จบแล้วประกอบอาชพี ได้

ทรงรเิ ริม่ การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ณ โรงเรยี นวังไกลกงั วล อ�ำ เภอหัวหนิ จังหวดั
ประจวบครี ขี นั ธ์ โดยท�ำ เป็นแม่ข่ายกระจายการศกึ ษาครอบคลุมการเรียนการสอนทั้งในประเทศ

และประเทศเพ่อื นบ้าน เรมิ่ ออกอากาศคร้งั แรก เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศกั ราช ๒๕๓๘

เรียน ครูตู้หมายถงึ
การศกึ ษาทางไกล โทรทัศน์
กับครตู ูน้ ะพวกเรา

๒๐๒

พุทธศักราช ๒๕๐๒ - ๒๕๑๐ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพติ ร พรอ้ มด้วยสมเดจ็ พระนางเจ้าสริ กิ ิต์ิ พระบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราชชนนี
พันปีหลวง เสดจ็ พระราชดำ�เนนิ เยอื นประเทศต่าง ๆ ในทวปี เอเชยี ยุโรป อเมริกาเหนอื
และออสเตรเลยี รวม ๒๗ ประเทศ เป็นการเจริญทางพระราชไมตรีกบั มิตรประเทศเหล่านัน้
สร้างความสัมพันธแ์ นน่ แฟ้น โดยเสด็จฯ เยอื นประเทศเวียดนามใต้เปน็ ประเทศแรก
ณ ประเทศสหรฐั อเมรกิ า
ทรงไดร้ ับการต้อนรับอยา่ งอบอ่นุ
มผี ้เู ฝ้าชมพระบารมี
กวา่ ๗๕๐,๐๐๐ คน
เป็นเกยี รติภูมิยงิ่ ใหญ่
ท่ีจารกึ ไว้ในประวตั ศิ าสตร์

พุทธศกั ราช ๒๕๑๐ เสด็จฯ เยือนประเทศ
แคนาดา จากนนั้ ก็เว้นการเสดจ็ ฯ เยือนต่าง
ประเทศยาวนาน กระท่งั พทุ ธศกั ราช ๒๕๓๗
ไดเ้ สดจ็ ฯ เยอื นสาธารณรัฐประชาธิปไตย

ประชาชนลาว เพ่อื เปิดสะพาน
มติ รภาพไทย-ลาว นบั เปน็ การ
เสดจ็ ฯ เยอื นตา่ งประเทศครั้งสดุ ท้าย

๒๐๓

มีพระราชศรัทธาในบวรพุทธศาสนาอย่างยิ่ง
ทรงบำ�เพ็ญพระราชกุศลตามราชประเพณี
เน่ืองในวนั สำ�คญั ทางพระพทุ ธศาสนาเป็นนิจ

ตลอดรัชสมยั

ทรงเป็นอัครศาสนปู ถมั ภก
นอกจากพระพทุ ธศาสนา
ทรงอปุ ถัมภบ์ �ำ รงุ ทุกศาสนา

ท้ังครสิ ต์ อิสลาม
พราหมณ์-ฮินดู และซิกข์
ทำ�ให้พสกนิกรทกุ ศาสนา
อยู่ร่วมกนั อยา่ งสนั ติสุข

เม่อื เสด็จฯ ไปทรงเยี่ยมราษฎรในภูมภิ าค
โปรดเสดจ็ พระราชดำ�เนนิ ไปทรงนมสั การ
และสนทนาธรรมกบั พระอริยสงฆใ์ นถิ่นนัน้ ๆ

สรา้ งขวญั กำ�ลังใจแก่ราษฎร
ท่ีมาเฝา้ ฯ รบั เสดจ็ ดว้ ยความจงรกั ภกั ดี

อย่างไม่เส่ือมคลาย
พทุ ธศักราช ๒๕๓๘ โปรดเกลา้ ฯ ให้สรา้ ง

วดั พระราม ๙ กาญจนาภเิ ษก
มพี ระราชประสงคเ์ นน้ ความเรียบง่าย ประหยดั

และประโยชนใ์ ช้สอย มีพระราชด�ำ ริให้
บา้ น วัด โรงเรียน (บ-ว-ร)
ทำ�กิจกรรมรว่ มกนั

อนั เปน็ แบบอย่างของการประหยัด
และพอเพียง

๒๐๔

ทรงพระปรีชาสามารถในการชา่ ง
และงานประดิษฐอ์ ย่างยงิ่

ทรงจำ�ลองเรือรบหลวงศรีอยธุ ยา
พระราชทานออกประมูล
เพ่อื น�ำ รายไดส้ มทบทุน

ในการรณรงค์ต่อตา้ นวัณโรคแหง่ ชาติ
ของสมาคมปราบวัณโรคแหง่ ประเทศไทย

ในพระบรมราชูปถัมภ์

ทรงออกแบบเรอื มด หรอื เรือใบมด และทรงตอ่ ทรงเรอื ใบมด เขา้ ทดลองแขง่ ขนั ที่ประเทศ
ด้วยพระองค์เอง ได้จดลิขสทิ ธิเ์ ปน็ สากล ประเภท องั กฤษ ทรงได้อันดับทหี่ น่งึ ในบรรดาเรอื
International Moth Class ทปี่ ระเทศอังกฤษ ขนาดเดยี วกัน เรือใบมดแปลงมาจาก
เรือใบ “ม็อธ” ซ่งึ ที่มาของช่ือ ทรงมีรบั สงั่ วา่
“ท่ชี อื่ มดน้ัน เพราะมันกดั เจบ็ ๆ คัน ๆ ด”ี

ทรงพฒั นาเรอื แบบตอ่ ๆ มาอกี โดยไดพ้ ระราชทานชือ่ วา่ เรือใบซุปเปอร์มด และเรือใบไมโครมด
เรือใบซุปเปอรม์ ด เคยเขา้ ร่วมแข่งขัน กฬี าเอเชยี นเกมสค์ ร้งั ที่ ๑๓ เมือ่ พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๑
วนั ที่ ๑๖ ธนั วาคม พุทธศกั ราช ๒๕๑๐
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร ฯ
และสมเด็จพระเจา้ ลูกเธอ เจ้าฟา้ อุบลรตั น์
ราชกญั ญาสริ วิ ฒั นาพรรณวดี (พระยศขณะนน้ั )
ทรงได้รับรางวลั เหรยี ญทองในการแขง่ ขนั เรือใบ
ประเภทโอเค ในการแขง่ ขันกฬี าแหลมทอง
หรือซีเกมส์ ครั้งที่ ๔ ท่ปี ระเทศไทยเปน็ เจ้าภาพ
ทรงเรือใบ “ไมโครมด” ในการแขง่ ขนั

๒๐๕

พุทธศักราช ๒๕๒๙ ทรงไดร้ ับการถวายพระราชสมัญญา “อัครศลิ ปิน” ดว้ ยทรงเป่ยี มด้วย
พระอัจฉรยิ ภาพดา้ นศิลปะหลายสาขา ทรงเช่ียวชาญในดนตรีแจ๊สเป็นอย่างยงิ่ เครอ่ื งดนตรี
ท่ีทรงโปรด ได้แก่ แซกโซโฟน คลารเิ น็ต ทรมั เปต็ กีตาร์ และเปียโน ทรงพระราชนิพนธ์
เป็นทำ�นองเพลงไว้ถงึ ๔๘ เพลง ซ่งึ ลว้ นเปน็ เพลงพระราชนิพนธท์ ่ีไพเราะและคนุ้ หูกันเป็นอยา่ งดี

เชน่ แสงเทียน ชะตาชวี ติ ใกลร้ ุ่ง ยามเยน็ พรปใี หม่ ยิ้มสู้ เราสู้ เป็นตน้

ทรงศกึ ษางานจติ รกรรมดว้ ยพระองค์เอง
ทรงสร้างสรรคจ์ ิตรกรรมฝีพระหัตถ์ ๓ ลกั ษณะ

คือ ภาพแบบเหมือนจรงิ คตนิ ยิ มแบบลัทธิ
เอก็ ซเ์ พรสช่ันนิสต์ และศลิ ปะแบบนามธรรม

เทคนคิ ทที่ รงโปรดมากทส่ี ุด คือ
การวาดภาพด้วยสีน้าํ มนั บนผืนผา้ ใบ
ภาพถา่ ยฝพี ระหตั ถ์ การถ่ายภาพ เปน็ งานศิลปะอีกแขนงทีท่ รงชำ�นาญและโปรดมากเปน็ พิเศษ
ไมว่ ่าจะเป็นกล้องถ่ายรูป กลอ้ งถา่ ยภาพยนตร์ และการถา่ ยภาพสไลด์ ทรงพระอจั ฉรยิ ภาพ
ในการถา่ ยภาพมาตง้ั แตท่ รงพระเยาว์ เมอ่ื เสดจ็ พระราชด�ำ เนนิ ไปทรงปฏบิ ตั พิ ระราชกรณยี กจิ ตา่ ง ๆ
จะทรงบนั ทึกภาพเพื่อประโยชนใ์ นโครงการพระราชดำ�รทิ ุกแหง่ ตลอดรชั สมยั ของพระองค์

๒๐๖

ทรงพระราชนพิ นธบ์ ทความ แปลหนังสอื ทรงส่งเสริมศลิ ปวฒั นธรรมไทยแขนงต่าง ๆ
เชน่ นายอนิ ทรผ์ ้ปู ิดทองหลงั พระ ตโิ ต ทัง้ ภาษาไทย ประวตั ศิ าสตร์ไทย สถาปัตยกรรม
หนังสอื เร่อื ง พระมหาชนก ฉบับการ์ตูน จติ รกรรม นาฏศิลป์ การดนตรีและศลิ ปะอน่ื ๆ
เช่น พระราชทานประกอบพธิ คี รอบครโู ขนละคร
คณุ ทองแดง เป็นต้ เพอ่ื ถ่ายทอดวิชา
นาฏดรุ ิยางคศิลป์แก่ศษิ ย์
ตามจารตี ประเพณโี บราณ
ใหเ้ ปน็ แบบแผน
ในแผ่นดิน

พุทธศกั ราช ๒๕๔๑
โปรดใหก้ รมศลิ ปากรเขยี นภาพจติ รกรรม

บริเวณชอ่ งหนา้ ตา่ งในพระอโุ บสถ
พระพุทธรตั นสถานในพระบรมมหาราชวงั
จ�ำ นวน ๘ ช่อง แทนจิตรกรรมเดมิ ทีช่ ำ�รดุ

บอกเล่าเหตุการณท์ างประวตั ศิ าสตร์
ที่เกี่ยวขอ้ งกับพระพทุ ธรัตนสถาน
ตงั้ แตร่ ชั กาลที่ ๔ ถงึ รัชกาลที่ ๙
มพี ระบรมราชวินจิ ฉัยแบบรา่ งจติ รกรรม
ใหม้ ลี ักษณะเหมอื นจริง จนกลา่ วได้ว่า
เปน็ รปู แบบศิลปกรรมในรชั กาลท่ี ๙

พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๕
ทรงไดร้ ับการถวายพระราชสมัญญา
“พระบิดาแห่งการอนรุ ักษม์ รดกไทย”

๒๐๗

พทุ ธศักราช ๒๕๔๙
เปน็ มหามงคลสมยั
ทรงครองสิริราชสมบัตคิ รบ ๖๐ ปี
มพี ระประมุขและผแู้ ทนพระประมขุ
จาก ๒๙ ประเทศทว่ั โลก
เสด็จฯ มารว่ มงาน
ยงั ความปลมื้ ปีตเิ ป็นล้นพ้น
มาสู่ปวงพสกนิกรชาวไทย

๒๐๘

ตลอดระยะเวลากวา่ ๗๐ ปแี หง่ การครองราชย์ ทรงทมุ่ เทพระวรกาย พระสตปิ ญั ญาในการพัฒนา
ประเทศ ทรงเปน็ ตน้ แบบของ “พระมหากษัตรยิ ์นกั พฒั นา” จนเป็นที่ประจกั ษ์อยา่ งกว้างขวางใน
พระปรีชาสามารถและพระอัจฉรยิ ภาพ ยงั ผลให้หนว่ ยงานต่าง ๆ ทลู เกล้าฯ ถวายรางวลั ระดบั โลก

มากมายหลายแขนง เพอ่ื เทดิ พระเกยี รติในพระปรีชาญาณและพระเกยี รตคิ ุณ ทสี่ ำ�คญั คอื

พุทธศักราช ๒๕๓๐
สถาบันเทคโนโลยแี หง่ เอเชยี ทูลเกลา้ ฯ ถวาย
“เหรยี ญทองเฉลิมพระเกยี รติคณุ ในการนำ�ชนบทให้พัฒนา”
พุทธศักราช ๒๕๓๙
องคก์ ารอาหารและเกษตรแหง่ สหประชาชาติ (FAO) ทลู เกลา้ ฯ
ถวาย “เหรยี ญสดดุ พี ระเกยี รตคิ ณุ ดา้ นการพฒั นาการเกษตร”
พุทธศกั ราช ๒๕๔๓
คณะกรรมการจัดงานบรัสเซลส์ ยูเรก้า แหง่ สมาคมสง่ เสรมิ
และคุม้ ครองนกั ประดิษฐ์ของราชอาณาจกั รเบลเยียม
ทูลเกล้าฯ ถวายรางวัลบรสั เซลส์ ยูเรกา้ ๒๐๐๐ จากผลงาน
“เครื่องกลเติมอากาศทีผ่ ิวนา้ํ หมุนชา้ แบบทุ่นลอย” หรือ
“กงั หันนํ้าชยั พฒั นา” และพุทธศกั ราช ๒๕๔๔ จากผลงาน
นา้ํ มนั ไบโอดเี ซล และฝนหลวง
พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๙
ส�ำ นกั งานโครงการพฒั นาแหง่ สหประชาชาติ (UNDP) ทลู เกลา้ ฯ
ถวาย “รางวลั ความสำ�เรจ็ สงู สุดดา้ นการพัฒนามนษุ ย”์
จากการที่ได้ทรงอุทิศก�ำ ลังพระวรกาย และ
ทรงพระวิรยิ อตุ สาหะในการปฏิบตั ิพระราชกรณียกิจ
นอ้ ยใหญ่นานัปการ
พุทธศักราช ๒๕๕๑
องค์การทรพั ย์สินทางปญั ญาโลก (WIPO) ทูลเกล้าฯ ถวาย
รางวัล “ผนู้ ำ�โลกดา้ นทรพั ยส์ ินทางปัญญา” จากการท่ี
ทรงสง่ เสริมและพัฒนาประเทศ รวมถึงชีวติ ความเปน็ อยู่
ของพสกนิกรชาวไทย ให้ดีข้ึนอย่างโดดเด่นเปน็ ทป่ี ระจกั ษ์
แก่สายตาชาวโลก
พทุ ธศักราช ๒๕๕๕
สหภาพวทิ ยาศาสตรท์ างดินนานาชาติ (International
Union of Soil Sciences-IUSS) ทูลเกลา้ ฯ ถวายรางวลั
นักวทิ ยาศาสตร์ดินเพือ่ มนษุ ยธรรม (The Humanitarian
Soil Scientist) ฯลฯ

๒๐๙

พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช
เสด็จสวรรคตในวนั พฤหสั บดี ที่ ๑๓ ตลุ าคม พุทธศกั ราช ๒๕๕๙ เวลา ๑๕.๕๒ น.

ขณะพระชนมพรรษา ๘๙ พรรษา ทรงดำ�รงสิรริ าชสมบัติ ๗๐ ปี
วนั อาทติ ย์ ท่ี ๕ พฤษภาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธบิ ดี
ศรสี นิ ทรมหาวชริ าลงกรณ พระวชิรเกลา้ เจ้าอยู่หวั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหมอ่ ม
ให้เฉลิมพระปรมาภไิ ธย พระบรมอัฐสิ มเด็จพระบรมชนกนาถตามทจ่ี ารกึ ในพระสพุ รรณบัฏว่า

พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
ในพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒

๒๑๐

รชั กาลที่ ๑๐

ประชาชนเปยี่ มสขุ

พระราชลญั จกรประจ�ำ พระองคร์ ชั กาลที่ ๑๐
เป็นตรางารปู วชริ าวุธ หมายถึง สายฟา้ อันเป็นเทพศาสตราของพระอินทร์

ตามแบบพระราชนิยมในพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยูห่ ัว
ดา้ นบนมี พระเก้ยี ว ตามแบบพระราชนิยมในพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว

แทนคำ�วา่ “อลงกรณ”์ ซ่ึงแปลว่า เคร่ืองประดบั
เป็นพระราชสญั ลักษณ์ของพระบรมนามาภไิ ธย “มหาวชริ าลงกรณ”
เปล่งรศั มีเปน็ สายฟ้า ประดิษฐานอยบู่ นพานแวน่ ฟา้ พรอ้ มด้วยฉัตรบรวิ าร

“…ประเทศชาติจะเปน็ ปกึ แผน่ ม่นั คงได้
ก็ดว้ ยคนไทยทุกหมู่เหล่า

พร้อมเพรยี งกนั ปฏบิ ตั ิหนา้ ทข่ี องตน
โดยมอี ุดมคตแิ ละจุดม่งุ หมายอย่างเดียวกนั

คอื “ประโยชนส์ ขุ ของทุกคนในชาติ…”

พระบรมราโชวาท พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธบิ ดศี รีสินทร
มหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกลา้ เจ้าอย่หู ัว รัชกาลที่ ๑๐
ในพธิ สี วนสนามถวายสตั ย์ปฏญิ าณของทหาร-ต�ำ รวจ

เน่ืองในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก และวันกองทัพไทย พุทธศักราช ๒๕๖๒
ณ ศูนย์การทหารมา้ ค่ายอดศิ ร อำ�เภอเมืองสระบุรี จังหวัดสระบุรี
วนั ท่ี ๑๘ มกราคม พทุ ธศักราช ๒๕๖๓
๒๑๒

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดี
ศรสี นิ ทรมหาวชริ าลงกรณ พระวชิรเกล้าเจา้ อยู่หวั

รัชกาลท่ี ๑๐ แห่งพระบรมราชจกั รวี งศ์
พระนามเดมิ วา่

สมเดจ็ พระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟา้ วชริ าลงกรณ
เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จ

พระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตร รชั กาลที่ ๙ และสมเด็จพระนางเจา้ สริ กิ ิต์ิ

พระบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราชชนนีพันปหี ลวง
เสด็จพระราชสมภพ
เมอ่ื วันจนั ทร์ ท่ี ๒๘ กรกฎาคม
พุทธศักราช ๒๔๙๕
ณ พระทนี่ ่งั อัมพรสถาน

พระราชวังดุสติ
เมอื่ ทรงเจริญพระชนมพรรษา
๑ เดือน ๑๘ วัน โปรดเกล้าฯ

ใหป้ ระกอบพระราชพธิ ีสมโภชเดอื น
และขนึ้ พระอู่

ในวนั ท่ี ๑๔ และวนั ที่ ๑๕ สิงหาคม
พุทธศักราช ๒๔๙๕

ณ พระท่ีนงั่ อัมพรสถาน
พระราชวงั ดสุ ติ

๒๑๓

เมื่อทรงเจรญิ พระชนมพรรษา ๑ พรรษา
พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร
พระราชทานพระนามตามทส่ี มเดจ็ พระสังฆราชเจ้า
กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ (หม่อมราชวงศ์ชนื่ สุจติ โต)
ทรงประพันธถ์ วายตามดวงพระชะตาวา่
สมเด็จพระเจา้ ลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชริ าลงกรณ
บรมจักรยาดิศรสันตตวิ งศ์ เทเวศรธาํ รงสุบรบิ าล
อภิคุณปู ระการมหติ ลาดลุ เดช ภมู ิพลนเรศรวรางกรู
กติ ตสิ ริ ิสมบูรณส์ วางควฒั น์ บรมขตั ติยราชกมุ าร

มพี ระเชษฐภคินี ๑ พระองค์ คอื
ทูลกระหมอ่ มหญงิ อุบลรัตนราชกัญญา

สิริวฒั นาพรรณวดี
และพระกนษิ ฐภคนิ ี ๒ พระองค์ คอื
สมเด็จพระกนิษฐาธริ าชเจ้า กรมสมเดจ็ พระเทพ
รัตนราชสดุ า เจา้ ฟ้ามหาจักรสี ิรนิ ธร มหาวชริ า
ลงกรณวรราชภกั ดี สิริกิจการิณีพีรยพฒั น
รฐั สีมาคณุ ากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี

และสมเด็จพระเจา้ น้องนางเธอ
เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลกั ษณ์ อัครราชกุมารี
กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี
ทรงรับการศึกษาเบื้องตน้
ณ โรงเรยี นจิตรลดา
ในพระราชวังดสุ ติ
ถึงชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑
จากนัน้ เสด็จไปทรงศึกษาตอ่
ณ สหราชอาณาจักร

๒๑๔

วนั ที่ ๖ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๐๙
ทรงอำ�ลาประชาชนทางวทิ ยุกระจายเสียง

และวิทยโุ ทรทศั น์ เพอื่ ไปทรงศึกษา
ณ โรงเรยี นคงิ ส์ มีด เมอื งซฟี อรด์
แคว้นซสั เซกส์ สหราชอาณาจกั ร
จากนัน้ เสดจ็ ฯ ไปทรงเขา้ ศึกษาตอ่
ที่โรงเรยี นมลิ ล์ฟลิ ด์ เมอื งสตรีท
แคว้นซอมเมอร์เซท สหราชอาณาจกั ร

เดอื นสงิ หาคม พุทธศกั ราช ๒๕๑๓
ถึงเดอื นพฤษภาคม พทุ ธศักราช ๒๕๑๔
ทรงเข้ารับการศกึ ษาระดับเตรยี มทหาร
ที่โรงเรยี นคงิ ส์ เขตพารามตั ตา นครซิดนยี ์

เครือรฐั ออสเตรเลยี

เดือนมกราคม พุทธศักราช ๒๕๑๕
ทรงเข้าศกึ ษาในวทิ ยาลัยการทหารชั้นสงู
ท่ีวทิ ยาลยั การทหารดันทรนู กรุงแคนเบอรร์ า
หลักสตู รของวทิ ยาลยั การทหารแห่งน้ี
แบ่งออกเป็น ๒ ภาค คอื ภาควิชาการทหาร
รบั ผดิ ชอบโดยกองทพั บกออสเตรเลีย
ภาคการศกึ ษาวิชาสามัญ หลกั สูตรปรญิ ญาตรี
รบั ผดิ ชอบโดยมหาวิทยาลยั นวิ เซาท์เวลส์
ทรงเลอื กศึกษาในสาขาวชิ าอกั ษรศาสตร์
ทรงสำ�เรจ็ การศึกษาเมอื่ พทุ ธศักราช ๒๕๑๙

๒๑๕

พทุ ธศักราช ๒๕๑๙
ทรงเขา้ รบั การฝึกเพ่มิ เตมิ
และทรงศึกษางานด้านการทหาร
ในประเทศออสเตรเลีย

ทรงประจ�ำ การ
ณ กองปฏบิ ตั กิ ารทางอากาศพเิ ศษ
ทน่ี ครเพริ ท์ รัฐออสเตรเลียตะวนั ตก

ประเทศออสเตรเลยี

ทรงรบั การฝึกอบรมหลกั สตู รทางการทหารและการบิน พุทธศักราช ๒๕๒๐ - ๒๕๒๑
ได้แก่ หลักสตู รวชิ าอาวุธพิเศษ การท�ำ ลายและยทุ ธวิธี ทรงเข้ารบั การศึกษาทีโ่ รงเรียน
เสนาธิการทหารบกหลกั สูตรประจำ�
การรบนอกแบบ หลกั สตู รตน้ หนช้ันสูง
หลักสตู รการลาดตระเวน และหลกั สูตรส่งทางอากาศ ชุดท่ี ๕๖

พทุ ธศักราช ๒๕๒๗ – ๒๕๓๐ พุทธศักราช ๒๕๓๓ ทรงเขา้ รับการศกึ ษา
ทรงศึกษาดา้ นกฎหมาย และทรงได้รับ ณ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจกั ร
แห่งสหราชอาณาจกั ร
ปริญญานิติศาสตรบัณฑิต
จาก มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช

๒๑๖

นอกจากทรงผ่านการฝึกอบรมเครอื่ งบินรบ พุทธศักราช ๒๕๔๗ ทรงเขา้ ศกึ ษาหลกั สูตร
จนมีพระปรชี าสามารถอย่างยิง่ แลว้ ต่อมา นกั บนิ พาณชิ ยเ์ อก จากบริษทั การบนิ ไทย จ�ำ กดั
ทรงสำ�เร็จการศึกษาและการบิน ดว้ ยเคร่อื งบิน
ไดท้ รงศึกษาหลกั สตู รนกั บินพาณิชย์
จากสถาบันการบนิ พลเรอื น ทรงสอบได้ พาณิชย์ แบบ Boeing 737 - 400 ทรงได้รับ
ใบอนุญาต เปน็ กปั ตันเครื่องบินรุ่นดงั กลา่ ว
ใบอนุญาตนกั บินพาณิชย์ตรี

ทรงเจริญพระชนมพรรษา ๒๐ พรรษา ทรงบรรลุพระราชนิติภาวะตามกฎหมาย
พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร

โปรดเกล้าฯ ใหป้ ระกอบพระราชพธิ สี ถาปนาพระอิสริยยศ
“สมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกฎุ ราชกมุ าร” ตามโบราณขตั ติยราชประเพณี
เมื่อวนั ท่ี ๒๘ ธนั วาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๕ ณ พระทน่ี ่งั อนันตสมาคม พระราชวังดุสติ

๒๑๗

เปน็ สยามมกฎุ ราชกมุ ารพระองค์ที่ ๓
แหง่ พระบรมราชจักรวี งศ์

ปรากฏพระนามตามทีจ่ ารึกในพระสุพรรณบฏั ว่า
สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช เจ้าฟา้ มหาวชิราลงกรณ
บดินทรเทพยวรางกูร สิริกิตยิ สมบรู ณสวางควัฒน์
วรขตั ติยราชสันตติวงศ์ มหติ ลพงศอดลุ ยเดช

จกั รีนเรศยุพราชวสิ ุทธ สยามมกฎุ ราชกุมาร
วนั ท่ี ๖ พฤศจกิ ายน พุทธศกั ราช ๒๕๒๑
ทรงผนวช ณ พระอโุ บสถ
วดั พระศรรี ตั นศาสดาราม

สมเดจ็ พระสังฆราชเจา้ กรมหลวงชินวราลงกรณ
(วาสน์ วาสโน) ขณะทรงดำ�รงสมณศักด์ิ

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสงั ฆราช
สกลมหาสังฆปริณายก เป็นพระราชอุปัธยาจารย์
และสมเดจ็ พระสงั ฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณสังวร

(เจริญ สวุ ฑฺฒโน) ขณะทรงด�ำ รงสมณศกั ด์ิ
สมเดจ็ พระญาณสังวร เป็นพระราชกรรมวาจาจารย์

ทรงไดร้ ับพระสมณฉายา “วชริ าลงกรโณภิกข”ุ
ประทบั ณ พระตำ�หนกั ป้นั หยา วดั บวรนิเวศวหิ าร

เปน็ เวลา ๑๕ วนั จงึ ทรงลาสกิ ขา

๒๑๘

มีพระราชธิดาและพระราชโอรส ดงั นี้
๑. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจา้ ฟา้ พัชรกติ ิยาภา
นเรนทริ าเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณสี ิรพิ ชั ร

มหาวัชรราชธดิ า
๒. สมเด็จพระเจา้ ลูกเธอ
เจา้ ฟา้ สริ ิวัณณวรี นารีรัตนราชกญั ญา
๓. สมเดจ็ พระเจา้ ลูกยาเธอ
เจ้าฟ้าทีปงั กรรัศมีโชติ
มหาวชิโรตตมางกูร สิรวิ ิบูลยราชกมุ าร
วันที่ ๑๓ ตลุ าคม พุทธศักราช ๒๕๕๙
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ล
อดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จสวรรคต
พระองคท์ รงรบั ราชสมบตั สิ บื ราชสันตตวิ งศ์
ตามกฎมณเฑียรบาล แต่มีพระราชประสงค์
จะทรงร่วมทุกข์โศกกับปวงชนชาวไทย จนกว่า
จะผา่ นพ้นพระราชพิธีพระบรมศพไประยะหนึง่ กอ่ น
ในการน้ี พลเอก เปรม ตณิ สลู านนท์
ประธานองคมนตรี จึงเปน็ ผสู้ �ำ เรจ็ ราชการ
แทนพระองค์โดยตำ�แหนง่ ไปพลางกอ่ น
โปรดเกล้าฯ ใหป้ ระกอบพระราชพธิ ี
ถวายพระเพลงิ พระบรมศพ
วนั ท่ี ๒๖ ตลุ าคม พทุ ธศักราช ๒๕๖๐
ปวงชนชาวไทยร่วมสง่ เสดจ็ ส่สู วรรคาลัย

ด้วยความรักและอาลัย

๒๑๙

วนั ท่ี ๔ พฤษภาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒
โปรดเกลา้ ฯ ใหป้ ระกอบการพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก ณ พระทน่ี ง่ั ไพศาลทกั ษณิ
พระบรมมหาราชวัง ทรงเฉลิมพระปรมาภิไธยตามที่จารึกในพระสุพรรณบัฏว่า
“พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธบิ ดศี รสี นิ ทรมหาวชริ าลงกรณ มหศิ รภมู พิ ลราชวรางกรู
กติ สิ ริ สิ มบรู ณอดลุ ยเดช สยามนิ ทราธเิ บศรราชวโรดม บรมนาถบพติ ร พระวชริ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ”
มพี ระปฐมบรมราชโองการวา่ “เราจะสบื สาน รกั ษา และตอ่ ยอด และครองแผน่ ดนิ โดยธรรม

เพอ่ื ประโยชนส์ ขุ แหง่ อาณาราษฎรตลอดไป”

ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ
ใหส้ ถาปนาสมเดจ็ พระราชนิ สี ทุ ดิ า

เปน็ สมเดจ็ พระนางเจา้ สทุ ดิ า
พชั รสธุ าพมิ ลลกั ษณ พระบรมราชนิ ี

๒๒๐

วนั ท่ี ๕ พฤษภาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒
เสดจ็ พระราชด�ำ เนนิ เลยี บพระนคร โดยขบวนพยหุ ยาตราทางสถลมารค

วนั ท่ี ๑๒ ธนั วาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒
เสดจ็ พระราชด�ำ เนนิ เลยี บพระนคร โดยขบวนพยหุ ยาตราทางชลมารค

๒๒๑

ทรงบ�ำ เพญ็ พระราชกรณียกจิ เพือ่ ประโยชน์แก่บ้านเมือง และประชาชนชาวไทย ตงั้ แต่
ทรงพระเยาว์ ได้โดยเสดจ็ พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช
บรมนาถบพติ ร และสมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกติ ิ์ พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนีพันปหี ลวง

ไปทรงเยี่ยมราษฎรในชนบทที่ห่างไกลทว่ั ทกุ ภูมิภาค ครนั้ ทรงด�ำ รงพระราชอิสริยยศ
สมเด็จพระรชั ทายาท แหง่ พระบรมราชจักรวี งศ์ ทรงตงั้ พระราชหฤทัยสนองพระราชปณิธาน

แหง่ สมเดจ็ พระบรมชนกนาถและสมเด็จพระบรมราชชนนี อย่างสุดก�ำ ลังความสามารถ

ปฏิบัติพระราชกรณยี กจิ แทนพระองค์ พร้อมทั้งสบื สานพระราชปณธิ าน
และพระราชกรณยี กิจส่วนพระองค์ ทพ่ี ระมหากษตั รยิ ท์ กุ พระองค์ ทรงยดึ ถือมน่ั คง
ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ทรงนำ�พา
ราชอาณาจักรไปสคู่ วามไพบลู ย์รงุ่ เรอื ง ตลอดมาวา่ “ความทุกข์สุขของราษฎร คอื
ความทุกข์สขุ ของพระองค์” ในการจะเก้อื กลู
สืบสานแนวพระราชดำ�ริ ประโยชน์สขุ แหง่ อาณาประชาราษฎรสืบไป
แหง่ พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร
มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร

๒๒๒

เมอื่ เสด็จนวิ ัตประเทศไทย กระทรวงกลาโหม
ได้ทูลเกลา้ ทูลกระหมอ่ มถวายพระยศ
ทัง้ สามเหล่าทพั ดํารงพระยศสงู สดุ

คือ พลเอก พลเรือเอก และพลอากาศเอก
ทรงปฏิบตั ิพระราชภารกิจด้านการทหารด้วย

เตม็ พระกำ�ลังความสามารถ
แม้เปน็ พระราชภารกิจทเี่ สยี่ งอันตราย

ทรงเข้าร่วมปฏิบัติการรบ
เพ่อื ตอ่ ตา้ นการกอ่ การร้ายในภาคเหนอื
ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ทรงคมุ้ กัน
พืน้ ทบ่ี รเิ วณรอบค่ายผ้อู พยพชาวกมั พชู า
ทห่ี นภี ัยจากประเทศของตน เข้ามาพ่งึ
พระบรมโพธิสมภารเป็นจ�ำ นวนนบั ลา้ นคน
ณ เขาล้าน อ�ำ เภอโปง่ นํ้าร้อน จังหวดั ตราด

เพอื่ มนุษยธรรม แกผ่ ้ลู ภ้ี ัยท่ปี ระสบ
ความทุกข์ยากแสนสาหัส
ใหด้ ำ�รงอยไู่ ด้อยา่ งปลอดภัย

ทรงตระหนกั ถงึ ความส�ำ คญั ของการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพทางการทหาร
ทรงเอาพระราชหฤทยั ใสใ่ นการศกึ ษา ทง้ั ภาคทฤษฎแี ละภาคปฏบิ ตั แิ กบ่ รรดาทหารใตบ้ งั คบั บญั ชา
ทง้ั สามเหลา่ ทพั ปรบั ปรงุ การฝกึ ทหารทง้ั ดา้ นความรแู้ ละเทคนคิ การฝกึ อยา่ งสากล ทรงทดสอบ

ความรขู้ องผเู้ รยี นเปน็ ระยะ ๆ พระราชทานค�ำ แนะน�ำ แกน่ ายทหารนกั เรยี นท�ำ ใหก้ ารฝกึ สอน
ไดผ้ ลสมบรู ณย์ ง่ิ ขน้ึ ดว้ ยพระปรชี าสามารถในวทิ ยาการทหารทเ่ี ขม้ แขง็ จรงิ จงั กลา้ หาญ เฉยี บขาด

เครง่ ครดั ในระเบยี บวนิ ยั อยา่ งยง่ิ สมศกั ดศ์ิ รขี องทหารเปน็ ทป่ี ระจกั ษ์

๒๒๓

ทรงบ�ำ เพญ็ พระราชกรณยี กจิ ทม่ี คี ุณปู การย่ิง พระราชทานสถานทก่ี รมทหารมหาดเลก็
แกก่ ารศึกษาของชาตทิ ุกระดับ ตงั้ แต่ระดับ ราชวลั ลภรกั ษาพระองค์ เขตดสุ ติ กรงุ เทพฯ
อนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศกึ ษา อดุ มศึกษา เปน็ ทต่ี ง้ั โรงเรยี นอนบุ าลทหารมหาดเลก็
และการศกึ ษาสายวิชาชีพ ดา้ นการแพทย์ ราชวลั ลภ ตอ่ มายา้ ยไปตง้ั ณ วดั กลางบางซอ่ื
ต�ำ บลบางกระสอ จงั หวดั นนทบรุ ี พระราชทาน
สาธารณสุขและการเกษตร และอืน่ ๆ นามโรงเรยี นใหมว่ า่ “โรงเรยี นอนรุ าชประสทิ ธ์ิ ”

ปจั จบุ นั ด�ำ เนนิ การสอนระดบั อนบุ าล
ถงึ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

พระราชทานพระราชทรัพยส์ ่วนพระองค์ กอ่ สรา้ งโรงเรยี นมัธยม
ในถิ่นทุรกันดาร ๖ แห่ง คือ โรงเรยี นมัธยมพัชรกติ ยิ าภา

จังหวดั นครพนม กำ�แพงเพชร และสรุ าษฎรธ์ านี โรงเรียนมธั ยม
สริ ิวัณวรี จังหวัดฉะเชงิ เทรา อดุ รธานี และสงขลา

ระดบั อดุ มศกึ ษาพระราชทาน
ปรญิ ญาบตั รแก่ผสู้ �ำ เรจ็ การศึกษา

จากมหาวิทยาลยั ตา่ ง ๆ
โดยเฉพาะมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั

๓๖ แห่งทั่วประเทศ
ยกระดับมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั

ทวั่ ประเทศในการพัฒนา
คุณภาพครูและพฒั นาทอ้ งถิ่น

๒๒๔

พระราชทานทุนการศกึ ษาแก่เยาวชนท่ีเรียนดี ประพฤตดิ ี ฐานะยากจน โดยไม่ผกู พนั ใช้ทุน
ครอบคลุมถงึ การศึกษาสายอาชีพอน่ื ๆ เช่น การแพทย์ พยาบาล และเกษตร

พระบรมราโชบายด้านการศกึ ษา
การศกึ ษาตอ้ งมงุ่ สรา้ งพืน้ ฐานใหแ้ กผ่ เู้ รียน ๔ ด้าน

๑. มที ศั นคตทิ ่ีถูกต้องต่อบ้านเมือง
๑) มคี วามร้คู วามเขา้ ใจต่อชาติบา้ นเมือง ๒) ยดึ มน่ั ในศาสนา
๓) มน่ั คงในสถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ ๔) มีความเอือ้ อาทรต่อครอบครวั และชุมชน

๒. มพี นื้ ฐานชวี ติ ท่ีมั่นคง - มีคุณธรรม
๑) รจู้ ักแยกแยะส่งิ ที่ผิด - ชอบ / ชว่ั - ดี ๒) ปฏบิ ัตสิ ิ่งที่ชอบ ส่งิ ทด่ี ีงาม

๓) ปฏเิ สธสง่ิ ทีผ่ ดิ ส่ิงทีช่ ่ัว ๔) ชว่ ยกันสรา้ งคนดีใหแ้ ก่บ้านเมอื ง
๓. มงี านท�ำ - มอี าชีพ

๑) การเลยี้ งดลู กู หลานในครอบครวั หรอื การฝกึ อบรมในสถานศึกษาตอ้ งมงุ่ ใหเ้ ดก็
และเยาวชนรกั งาน สู้งาน ท�ำ จนงานสำ�เร็จ ๒) การฝึกอบรมทัง้ ในหลกั สตู รและนอกหลักสตู ร
๓) ตอ้ งสนับสนุนผ้สู ำ�เรจ็ หลักสตู รใหม้ อี าชพี มงี านทำ� จนสามารถเลย้ี งตัวเองและครอบครวั

๔. เปน็ พลเมืองดี
๑) การเป็นพลเมืองดี เป็นหนา้ ที่ของทกุ คน ๒) ครอบครัว - สถานศกึ ษาและสถานประกอบการ

ทำ�หนา้ ท่ีเป็นพลเมอื งดี ๓) การเปน็ พลเมืองดคี อื “เหน็ อะไรที่จะท�ำ เพอ่ื บ้านเมืองได้ก็ตอ้ งทำ�”
เช่น งานอาสาสมัคร งานบำ�เพญ็ ประโยชน์ งานสาธารณกศุ ลให้ทำ�ด้วยความมีน้าํ ใจและเออ้ื อาทร

๒๒๕

พุทธศักราช ๒๕๓๔
พระราชทานแนวพระราชด�ำ ริ

ดา้ นการชลประทาน คอื
โครงการอา่ งเก็บนํา้ บ้านไทยประจัน

อันเนอื่ งมาจากพระราชด�ำ ริ
ตําบลยางหัก อ�ำ เภอปากทอ่

จงั หวดั ราชบุรี
เพื่อชว่ ยบรรเทาภยั แลง้
และอุทกภยั ในฤดนู ํ้าหลาก

วันท่ี ๓ ธนั วาคม พุทธศกั ราช ๒๕๖๐
เสด็จฯ ไปเปดิ โครงการอ่างเกบ็ นา้ํ นฤบดินทรจินดาอันเน่อื งมาจากพระราชดำ�ริ

(เขอื่ นหว้ ยโสมง) ตำ�บลแกง่ ดนิ สอ อ�ำ เภอนาดี จังหวดั ปราจีนบุรี

อา่ งเก็บน้าํ แห่งน้ี พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร
มหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร
มพี ระราชด�ำ ริให้พฒั นาต้นน้ําล�ำ ธารปราจีนบรุ ี

เม่อื พทุ ธศักราช ๒๕๒๑ โปรดให้สร้างเขอ่ื นเก็บกกั น้ํา ๓ เขอ่ื น
ได้แก่ เข่อื นหว้ ยพระปรง เขอ่ื นหว้ ยยาง และเข่ือนห้วยโสมง
เพื่อจัดหานา้ํ ให้ราษฎรใชท้ ำ�การเพาะปลูกได้ทัง้ ในฤดูฝน

และฤดแู ลง้ และมีน้าํ เพ่ือการอุปโภคบรโิ ภคตลอดปี
พระราชทานชอื่ ว่า “อา่ งเก็บน้าํ นฤบดนิ ทรจนิ ดา”

เม่อื วันที่ ๑๖ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๕๙

๒๒๖

พระราชกรณียกจิ ดา้ นการเกษตร ได้แก่
โครงการพฒั นาองค์ประกอบของเกษตรกรรม
ครอบคลุมงานหลายดา้ น ท้งั ทีด่ นิ นาํ้ การอาชพี
โดยเสด็จสมเดจ็ พระบรมชนกนาถ และเสดจ็
พระราชดำ�เนินไปโดยพระองค์เอง ทอดพระเนตร
ความก้าวหน้าในโครงการตามพระราชด�ำ ริ

อยา่ งสมาํ่ เสมอ
พทุ ธศกั ราช ๒๕๒๙ ทรงท�ำ ป๋ยุ หมักจากผักตบชวา และวชั พชื อ่นื ๆ ณ บา้ นแหลมสะแก
อ�ำ เภอเดมิ บางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี เฉพาะปุย๋ หมกั เป็นท่ีเข้าใจต่อมาวา่ คอื “ปยุ๋ หมักสตู ร
พระราชทาน” พรอ้ มพระราชทานอปุ กรณก์ ารท�ำ นา พันธ์ุข้าวปลกู ปยุ๋ หมกั ทรงปลกู ข้าวตาม
กระบวนการผลติ ครบทุกขน้ั ตอน ทรงหว่านเมลด็ พนั ธ์ขุ า้ ว และปุ๋ยหมกั ณ ตำ�บลดอนโพธ์ิทอง

อำ�เภอเมืองสุพรรณบรุ ี

เสดจ็ พระราชด�ำ เนนิ ไปในการ
พระราชพธิ พี ชื มงคลจรดพระนงั คลั แรกนาขวญั

ซง่ึ สมเดจ็ พระบรมชนกนาถ ทรงฟน้ื ฟขู น้ึ
ใหเ้ ปน็ พระราชพธิ ศี กั ดส์ิ ทิ ธย์ิ ง่ิ ใหญ่
สรา้ งขวญั และก�ำ ลงั ใจแกเ่ กษตรกร

๒๒๗

ทรงใหค้ วามสำ�คัญในการพฒั นาชนบท เสด็จพระราชดำ�เนินไปทรงรับทราบ
ทรงค้นหาหมู่บา้ นทยี่ ากจนที่สุดในแต่ละภมู ภิ าค และทรงแกป้ ัญหา พระราชทาน

แม้ในถ่ินทรุ กนั ดาร ทรงหาข้อมลู ว่า โครงการพัฒนา ท้งั ด้านโครงสรา้ งพ้นื ฐาน
ราษฎรในท้องถน่ิ เหล่านน้ั การชลประทาน การสง่ เสรมิ และพฒั นา

มีปญั หา หรอื มคี วามตอ้ งการส่ิงใดบา้ ง อาชพี จ�ำ นวนกวา่ ๕๐ โครงการ

มีพระราชดำ�รบิ ำ�บัดทกุ ข์ บ�ำ รงุ สุขเกษตรกรและครอบครัว ดังเช่นทีห่ มบู่ ้านกแู บซรี า ตำ�บลกอลำ�
อ�ำ เภอยะรงั จงั หวดั ปัตตานี ราษฎรแรน้ แค้นมาก ไม่มหี นว่ ยงานใดเข้าไปแกไ้ ข ทรงเขา้ ไปชว่ ยเหลือ

มีพระราชดำ�รสั เม่ือวันท่ี ๒๘ กรกฎาคม พุทธศกั ราช ๒๕๔๑ ความว่า
“ขา้ พเจา้ มีใจผูกพันอย่กู ับประเทศชาตแิ ละกบั ท่านทงั้ หลายมาก เพราะข้าพเจ้าเปน็ พลเมืองคนหนง่ึ
และท่านท้ังหลาย ต่างแสดงน้ําใจไมตรตี ่อข้าพเจา้ ตลอดมา ขา้ พเจา้ จึงตระหนักวา่ ในกาลขา้ งหน้า

ขา้ พเจา้ มหี นา้ ทจ่ี ะต้องท�ำ งานใหเ้ ปน็ ประโยชนแ์ ก่บ้านเมอื งและประชาชนใหไ้ ด้”

๒๒๘

ทรงเจริญทางพระราชไมตรี
กบั นานาประเทศ ท้ังในภมู ภิ าคเอเชยี
ออสเตรเลีย ยุโรป อเมรกิ า และอัฟรกิ า
ทรงนำ�เกยี รติภูมขิ องชาติใหป้ รากฏ

ในฐานะผูแ้ ทนพระองค์
และในสว่ นพระองค์
สมา่ํ เสมอทุกโอกาส
แต่ละคร้งั นอกจากจะทรงเจริญทางพระราชไมตรี
ใหส้ นิทแน่นแฟ้นแลว้ ยังทรงแสวงหาความรู้
ดา้ นรฐั ประศาสนศาสตร์ อุตสาหกรรม การเกษตร
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี เศรษฐกิจ และสังคม

รวมทง้ั การพฒั นาทางทหารน�ำ กลบั มา
เปน็ ประโยชน์แกบ่ า้ นเมอื ง และสร้าง
ความผาสกุ ก้าวหนา้ แกอ่ าณาประชาราษฎร์

๒๒๙

ทรงตระหนกั วา่ สขุ ภาพพลานามัยของประชาชน
เปน็ ปจั จัยและพลังส�ำ คัญในการพัฒนาประเทศ
โปรดให้สร้างโรงพยาบาลสมเด็จพระยพุ ราช ๒๑ แห่ง

ทั่วประเทศ เมอื่ พุทธศักราช ๒๕๒๐
เพื่อใหก้ ารดแู ลรกั ษาพยาบาลผูเ้ จบ็ ปว่ ยในถ่นิ ทุรกันดาร

ทรงจดั ระเบยี บการบริหาร โดยต้ังมูลนิธโิ รงพยาบาล พทุ ธศกั ราช ๒๕๓๘
สมเด็จพระยุพราช สนบั สนุนกิจการ พระราชทาน ทรงรับโครงการสถานรบั ผู้ปว่ ย
พระราชทรพั ย์สว่ นพระองค์ จัดหาอุปกรณ์เครอ่ื งมอื แพทย์ โรคมะเรง็ ธญั บรุ ี จงั หวดั ปทมุ ธานี
ทที่ นั สมัย พัฒนาความก้าวหนา้ อย่างต่อเนือ่ ง เพ่ือดแู ลรกั ษา
เยียวยาราษฎรท่เี จบ็ ป่วยรวมทง้ั ทหาร ตำ�รวจ ไว้ในพระบรมราชปู ถัมภ์
และอาสาสมัครท่ปี ฏิบัติหนา้ ท่ี
เสี่ยงอนั ตราย

ทรงเปน็ องคป์ ระธานการจัดตั้งมลู นิธกิ าญจนบารมี
ศนู ยบ์ �ำ บัดรกั ษาผู้ป่วยมะเร็งครบวงจรแหง่ แรก
ในประเทศไทย เพอ่ื ถวายเป็นพระราชกศุ ลแด่

พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร
มหาภมู ิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร

ในโอกาสฉลองสิรริ าชสมบัติ ครบ ๕๐ ปี

๒๓๐

ในสถานการณ์โรคอบุ ัตใิ หม่ พระราชทานรถตรวจโรคติดเช้อื ชวี นิรภัย เพื่อใหก้ ระทรวงสาธารณสขุ
นำ�ไปใชป้ ระโยชน์ท่ัวประเทศ เพอื่ ใช้เปน็ หอ้ งปฏิบัติการเคลือ่ นท่ีในการเกบ็ ตวั อย่างโรคติดเชอ้ื ไวรัส

โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ใหแ้ กป่ ระชาชนในพ้นื ท่ีต่าง ๆ ได้อยา่ งรวดเร็ว
รวมท้งั พระราชทานอปุ กรณ์ทางการแพทย์ที่จ�ำ เป็นอีกเป็นจ�ำ นวนมาก

ทรงพระปรชี าสามารถในกระบวนการยตุ ิธรรม
เสด็จพระราชดำ�เนินประทับบลั ลังก์ศาลสถติ ยุติธรรม

ณ ศาลจงั หวดั เชียงใหม่ และศาลจังหวดั พระนคร
เพือ่ พิจารณาคดีแพ่งและคดอี าญารว่ มกบั ผ้พู ิพากษา

ทรงพิจารณาอรรถคดีดว้ ยความบรสิ ทุ ธ์ยิ ุตธิ รรม
และพระราชทานคติธรรมแกค่ ่กู รณี

กอ่ ให้เกิดความสำ�นึกในพระมหากรุณาธิคุณย่ิง

ทรงร่วมเป็นตลุ าการศาลทหารกรงุ เทพ
ณ กระทรวงกลาโหม ทรงบำ�รุงขวัญและกำ�ลงั ใจ

เหล่าคณะผพู้ ิพากษา ตลอดทงั้ ผู้ปฏิบตั งิ าน
ในกระบวนการยตุ ธิ รรมอย่างสมาํ่ เสมอ
มีพระมหากรุณาธคิ ุณรบั เป็นสมาชกิ กติ ตมิ ศักด์ิ
แหง่ เนตบิ ัณฑิตยสภา ทรงรับมลู นิธิ
ปกเกล้าตุลาการไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์

๒๓๑

ทรงตระหนักถงึ ความสำ�คัญของการรกั ษามรดกทางศลิ ปวัฒนธรรมอนั ล้ําคา่ ของชาติ
ในงานเฉลมิ พระชนมพรรษาครบ ๖๐ พรรษา สมเดจ็ พระนางเจา้ ร�ำ ไพพรรณี พระบรมราชินี
ในรัชกาลท่ี ๗ เมื่อวันอาทติ ย์ ท่ี ๒๐ ธันวาคม พุทธศกั ราช ๒๕๐๗ ทรงแสดงบทของทศกัณฐ์
ด้วยลีลาทว่ งทา่ แขง็ ขนั สง่างดงาม พระวรกายสูงใหญท่ ่าทางเขม้ แขง็ และพระอิริยาบถร่าเรงิ
เปน็ ท่ปี ระทบั ใจผู้ทไ่ี ปชมการแสดงวนั น้ันมาก เม่ือการแสดงจบลง ผูแ้ สดงตอ้ งเข้ารับพระราชทาน
ของทร่ี ะลกึ จากสมเดจ็ พระนางเจา้ รำ�ไพพรรณี พระบรมราชนิ ี ต่างตอ้ งถอดศรี ษะโขนออก

จงึ ทราบวา่ ผู้แสดงเป็นทศกัณฐ์ คือ พระบาทสมเด็จพระวชริ เกลา้ เจ้าอย่หู ัว

ทรงพระปรีชาสามารถ
ด้านนาฏศิลปแ์ ละดนตรี
มาตง้ั แต่ครง้ั ยงั ทรงพระเยาว์

๒๓๒

ทรงอปุ ถมั ภบ์ �ำ รุงพระพทุ ธศาสนา
ดว้ ยพระราชศรัทธาตั้งมัน่ ในพระรัตนตรยั

ทรงแนว่ แน่ในการอุทศิ พระองค์
เพอ่ื ความเจรญิ รุ่งเรืองไพบลู ย์
ของพระพุทธศาสนาเป็นอเนกประการ
ทรงแสดงพระองค์เปน็ พทุ ธมามกะ
ทรงผนวชตามขตั ตยิ ราชประเพณี

ทรงใฝพ่ ระราชหฤทัยศึกษาธรรม
ในพระพทุ ธศาสนา
มพี ระบรมราชูปถัมภ์

แกพ่ ระภิกษแุ ละสามเณรเปน็ นิตย์
และเสด็จพระราชด�ำ เนนิ ไป
ทรงปฏบิ ัตพิ ระราชกิจ
ทางพระศาสนา
อย่างสม่ําเสมอ

โปรดเกล้าฯ ใหข้ ้าราชการสวดมนต์ ในสว่ นท่ีเก่ียวกับศาสนาอ่นื ๆ ไดแ้ ก่
ในวนั สำ�คัญ จดั พิมพ์บทสวดมนตเ์ ผยแพร่ ศาสนาอสิ ลาม คริสต์ พราหมณ-์ ฮินดู ซิกข์
ทุกโอกาส ณ พระลานพระราชวังดสุ ิต ทรงปฏบิ ัติพระราชกรณียกิจเกอ้ื กลู ทุกศาสนา

อยา่ งเสมอภาคและเท่าเทยี ม

๒๓๓

ทรงหว่ งใย ดูแลทุกข์สขุ ของราษฎร เมอื่ ครัง้ ทีเ่ ยาวชน
๑๓ คน ตดิ อยู่ในถํ้าหลวง-ขนุ นํ้านางนอน จังหวดั เชยี งราย

ไดพ้ ระราชทานแนวทางการชว่ ยเหลอื ตลอดจน
ทรงมีสว่ นช่วยสนบั สนุนการท�ำ งาน และอุปกรณท์ ่จี �ำ เป็น

ทำ�ใหผ้ ่านพน้ วิกฤตไปไดอ้ ย่างปลอดภยั
อนั แสดงถึงพระมหากรณุ าธคิ ณุ และเป็นที่ช่ืนชมของ

นานาประเทศทัว่ โลก

ทรงตระหนักในความสำ�คัญของการออกก�ำ ลังกาย
และดูแลสขุ ภาพอนามยั ของประชาชน
มาโดยตลอด โดยสนบั สนุนกิจกรรมการกฬี า
และการออกกำ�ลังกายประเภทตา่ ง ๆ
ทรงริเร่ิมกจิ กรรมจกั รยานเฉลมิ พระเกียรติ
ปัน่ เพอ่ื แม่ (BIKE FOR MOM)
เน่ืองในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา
สมเด็จพระนางเจา้ สิริกติ ์ิ พระบรมราชินนี าถ
พระบรมราชชนนพี ันปหี ลวง ๘๓ พรรษา
๑๒ สงิ หาคม ๒๕๕๘
และกิจกรรมจกั รยานเฉลิมพระเกียรติ
ป่ันเพ่ือพ่อ (BIKE FOR DAD)
เนอ่ื งในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภูมพิ ลอดลุ ยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตร ๘๘ พรรษา
๕ ธนั วาคม ๒๕๕๘

๒๓๔

พระราชทานโครงการ จิตอาสาพระราชทานพ“รเะรารทาชำ�ทควาานมโคดรีงเกพาอื่ รชจาติ ิอศาาสสานพ์ รกะษรัตารชยิท์”าน
เพื่อสง่ เสรมิ ให้คนไทยสมัครสมานสามคั คี สร้างส“รเราคทค์ ำ�วคาวมาดมีเพดีือ่ เปพรอ่ื ะชโายตชิ นศแ์าสกน่ป์รกะษเทัตศริยช”์าติ

โดยไม่หวงั สิง่ ตเพอบ่อื แสทง่ เนสรมิ ให้คนไทยสมัครสมานสามัคคี
สรา้ งสรรคค์ วามดีเพ่อื ประโยชน์แกป่ ระเทศชาติ
โดยไม่หวังส่งิ ตอบแทน

ทรงหว่ งใยและตระหนกั ถงึ ความอยู่ดีมีสขุ ของพสกนกิ ร จงึ มพี ระราช
ปณธิ านทีจ่ ะสืบสาน รกั ษา และต่อยอดโครงการอนั เน่อื งมาจากพระ

ราชดำ�รขิ องสมเดจ็ พระบรมชนกนาถ
ทรงห่วงใยและตระหนักถงึ ความอยู่ดีมีสขุ ของพสกนกิ ร
จงึ มีพระราชปณิธานทจ่ี ะสืบสาน รักษา และตอ่ ยอด

โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำ ริ
ของสมเด็จพระบรมชนกนาถ

๒๓๕

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ทรงบำ�เพญ็ พระราชกรณยี กิจนานัปการ อันทรงคุณประโยชน์
แกป่ ระเทศชาติและประชาชน ดว้ ยพระราชหฤทยั มงุ่ ม่ันทจี่ ะเสริมสรา้ งความสมบูรณพ์ นู สขุ
ให้เกดิ ข้นึ ในทกุ ภมู ิภาค เพอ่ื สบื สานพระราชปณธิ านแหง่ สมเดจ็ พระบูรพมหากษัตริยาธริ าช

เพ่อื ความเจรญิ ไพบลู ยแ์ ละความมนั่ คงของชาติ ธ�ำ รงรกั ษาวัฒนธรรมอันดีงาม
ดว้ ยพระมหากรุณาธิคณุ และพระปรชี าชาญในวทิ ยาการด้านตา่ ง ๆ

พระเกียรตคิ ุณเปน็ ทป่ี ระจกั ษท์ วั่ พระราชอาณาจักร และขจรไกลไปนานาประเทศ
หน่วยงานและสถาบนั การศึกษา ท้งั ภาครัฐและภาคเอกชน ทูลเกลา้ ทลู กระหมอ่ ม
ถวายปริญญากิตติมศักด์ิ เหรียญ และรางวลั เพ่ือเทดิ พระเกียรติ ท้ังในประเทศและต่างประเทศ

ต้ังแตพ่ ทุ ธศักราช ๒๕๒๓ สืบมาตราบปัจจบุ ัน

๒๓๖

บรรณานกุ รม

ณรงค์ อ่ิมเย็น และสบิ ตำ�รวจตรี พรี พฒั น์ คงเพชร.(๒๕๒๕). วรรณกรรมไทย เรอ่ื งสองรอ้ ยปีจักรีวงศ์
มลู นธิ ิธนาคารกรุงเทพ. กรงุ เทพฯ : หา้ งห้นุ สว่ นจ�ำ กดั การพมิ พพ์ ระนคร.

วงเดอื น นาราสัจจ์และคณะ.(๒๕๕๕).ศึกเกา้ ทพั ธ�ำ รงรฐั พพิ ัฒน์สยาม.กรงุ เทพฯ:บริษทั อัมรนิ ทรพ์ รน้ิ ตง้ิ แอนด์
พบั ลิชช่งิ จ�ำ กัด (มหาชน).

วฒั นธรรม, กระทรวง. (๒๕๖๓). ทศรัชบรมราชจกั รวี งศ.์ นครปฐม : บรษิ ัท รุง่ ศิลป์การพมิ พ์ (๑๙๗๗) จ�ำ กดั .
ศลิ ปากร, กรม. (๒๕๕๙). นพรชั บรมราชจักรีวงศ.์ นครปฐม : บริษัท รุง่ ศิลปก์ ารพิมพ์ (๑๙๗๗) จำ�กดั .
_________.(๒๕๔๕).พระราชพงศาวดารกรุงรตั นโกสนิ ทร์ รัชกาลที่ ๑. เจา้ พระยาทิพากรวงศ์ (ขำ� บุนนาค)

เรยี บเรียง สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดำ�รงราชานภุ าพ ตรวจช�ำ ระและทรงพระอธิบายเพม่ิ เตมิ
กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พก์ ารศาสนา กรมการศาสนา.
___________.(๒๕๔๖). พระราชพงศาวดารกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ รชั กาลท่ี ๒. สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ
กรมพระยาด�ำ รงราชานภุ าพเรียบเรยี ง. กรุงเทพฯ : หา้ งห้นุ สว่ นจำ�กัดไอเดยี สแควร์.
สมบตั ิ จำ�ปาเงนิ . (๒๕๕๖). คนและเหตุการณ์ของไทยท่ยี เู นสโกยกย่อง. กรุงเทพฯ : สถาพรบ๊คุ ส.์
สำ�นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน. (๒๕๕๗). หนังสอื อา่ นนอกเวลา วิชาประวตั ศิ าสตรไ์ ทย
ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษา กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชดุ พระมหากษัตรยิ ์ไทย
๙ รชั กาล. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพรา้ ว.
___________.(๒๕๖๑). หนงั สอื อ่านเพมิ่ เติม กลุ่มสาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ระดับประถมศกึ ษาและมธั ยมศึกษา พระราชประวัตแิ ละพระราชกรณยี กจิ สมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัว
มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกรู . กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพรา้ ว.

๒๓๗





คณะผจู้ ัดทำ�

ที่ปรกึ ษา
นายอิทธิพล คุณปลื้ม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวฒั นธรรม
นางยพุ า ทววี ฒั นะกจิ บวร ปลดั กระทรวงวฒั นธรรม
นางสาวพมิ พพ์ รรณ ไพบลู ยห์ วังเจรญิ นักอกั ษรศาสตรท์ รงคุณวฒุ ิ
ผเู้ ชยี่ วชาญเฉพาะด้านอักษรศาสตร์
(ภาษา เอกสาร และหนังสอื )

บรรณาธกิ าร
นางเบญจมาส แพทอง
นางจฑุ าทิพย์ โคตรประทมุ
นางสาวศกุ ลรตั น์ ธาราศักด์ิ

นางโชติกา อคั รกิจโสภากลุ คณะทำ�งาน
นางสภุ ทั ร กิจเวช
นางสาวเบญจวรรณ ไชยบณั ฑิตย์ นายฐปนทั วงศ์ศานติบูรณ์
นางสาวอุษา แย้มบบุ ผา นางสาวจารภุ า ตวงสิทธินันท์
นางสาวทิพา ผาพิมพ์ นางสาวนชิ นนั ท์ สมั ปทาวนิช
นางสาวมณีรตั น์ เคร่อื งพนัส นางสาวปิ่นอนงค์ อภวิ งค์งาม

ผู้เรยี บเรยี ง ออกแบบรปู เล่ม
นายเรอื งศักด์ิ ดวงพลา

ผวู้ าดภาพ
นายเรืองศกั ดิ์ ดวงพลา นายประมิตร ดวงพล นายคาริญย์ หกึ ขุนทด

นายมนสั หัสดำ� นายสมวฒุ ิ รัตนสุรางค์ นายเฉลมิ พล จ่นั ระยบั
นายธนาดล อมราภรณ์กลุ นางสาวพาณี อิทธิบำ�รุงรกั ษ์ นางสาวพรณภา แซโ่ งว้

กระทรวงวฒั นธรรมพระมหากษตั รยิ ไทยแหง พระบรมราชจกั รวี งศ ๑๐ รชั กาล ฉบบั การต นู

กระทรวงกวรัฒะทนรธวรงรวมัฒนธรรม


Click to View FlipBook Version