The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Academic Administration, 2019-12-11 11:10:42

pae2562

pae2562

ห น้ า | 1

โครงการอบรมเตรยี มความพรอ้ มส่คู วามเป็นเลิศทางวิชาการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 2

คานา

โครงการอบรมเตรียมความพร้อมสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ (PAE = Preparation
for Academic Excellence) เป็นกระบวนการบริหารจัดการทางด้านวิชาการ ของโรงเรียน
เตรยี มอุดมศกึ ษา เพ่ือการพัฒนานักเรียนดา้ นวิชาการของโรงเรียน และการพัฒนานักเรียนระหวา่ ง
วันที่ 7 – 8 พฤษภาคม 2562 ก็เป็นส่วนหนึ่งของโครงการในการพัฒนานักเรียน ตั้งแต่ต้นทาง
คือ กระบวนการรับนักเรียน แนวทางการเรียนในโรงเรียนตลอด 3 ปี การจัดการเรียนการสอน
การส่งเสริมสนับสนุนนักเรียน การพัฒนานักเรียนทุกด้าน ๆ และเป้าหมายของโครงการ
คือ คุณภาพนักเรียนและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ที่จะส่งผลต่อความสาเร็จของนักเรียนในการ
ไปศึกษาต่อในสถาบันท่ีมีชื่อเสียงต่างๆทั้งภายในประเทศและต่างประเทศตามความถนัด
และศกั ยภาพของนักเรยี น เพ่อื ให้กลับมารับใช้สังคมประเทศชาติตอ่ ไป

กลุ่มบริหารวิชาการ ขอขอบพระคุณท่านโสภณ กมล ผู้อานวยการโรงเรียน
เตรียมอดุ มศึกษา คณะผู้บริหาร กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ตึกเรียน ฝา่ ย/งานต่าง ๆ และทา่ นผู้ปกครอง
นักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 ปกี ารศกึ ษา 2562 ทไ่ี ดใ้ ห้ความรว่ มมอื ในการสนับสนุนโครงการเป็น
อย่างดีย่ิง และกลุ่มบริหารวิชาการหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารแนวทางการเรียนในโรงเรียนเตรียม
อุดมศึกษาตลอด 3 ปี ของนักเรียนจะเป็นประโยชน์ต่อนักเรียนในการวางแผนการเรียน
เพอื่ วางแผนการศึกษาต่อในอนาคตอนั ใกล้ของนักเรียนหากในเอกสารเลม่ น้มี ขี ้อผดิ พลาดประการ
ใดกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ ขออภัยมา ณ ท่นี ี้ และจะมกี ารปรบั ปรงุ พัฒนาเอกสารใหด้ ีย่ิงๆ ขึน้ ตอ่ ไป

กลมุ่ บรหิ ารวิชาการ
โรงเรียนเตรยี มอุดมศึกษา

โครงการอบรมเตรียมความพร้อมสคู่ วามเป็นเลิศทางวิชาการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

สารบัญ ห น้ า | 3

เรอ่ื ง หนา้
คานา
สารบัญ 1
กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ 33
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 54
กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ 120
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาองั กฤษ 146
กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 174
กลุม่ สาระการเรยี นร้ศู ิลปะ 177
กลมุ่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี 205
กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศที่ 2 217
กลุ่มสาระการเรียนรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา 228
งานแนะแนว 248
งานหอ้ งสมดุ 267
งานกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน
ภาคผนวก

โครงการอบรมเตรยี มความพร้อมสคู่ วามเป็นเลิศทางวชิ าการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 1

กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณติ ศาสตร์

โครงการอบรมเตรียมความพรอ้ มสูค่ วามเป็นเลิศทางวชิ าการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 2

กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์

1. หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ แยกตามระดับชน้ั ดังนี้

ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4
1. สาระการเรยี นรพู้ ืน้ ฐาน กาหนดใหน้ กั เรียนทกุ คนตอ้ งเรยี น
ภาคเรยี นท่ี 1 รายวิชาทเ่ี รยี น ค31101 คณิตศาสตร์ 1 จานวนหน่วยการเรียนรู้ 1 หนว่ ย
ภาคเรียนที่ 2 รายวชิ าทเ่ี รยี น ค31102 คณิตศาสตร์ 2 จานวนหนว่ ยการเรยี นรู้ 1 หนว่ ย
2. สาระการเรียนรเู้ พ่มิ เตมิ กาหนดให้นกั เรียนที่เรยี นแผน วทิ ย์-คณิต และ ภาษา-คณิต เรยี น
ภาคเรียนที่ 1 รายวิชาที่เรยี น ค30201 คณติ ศาสตร์เสริม 1 จานวนหน่วยการเรยี นรู้ 2 หน่วย
ภาคเรียนท่ี 2 รายวชิ าที่เรียน ค30202 คณิตศาสตรเ์ สรมิ 2 จานวนหน่วยการเรยี นรู้ 2 หนว่ ย
ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 5
1. สาระการเรียนรู้พนื้ ฐาน กาหนดให้นักเรียนทุกคนต้องเรยี น
ภาคเรยี นท่ี 1 รายวชิ าที่เรยี น ค32101 คณติ ศาสตร์ 3 จานวนหน่วยการเรียนรู้ 1 หน่วย
ภาคเรียนท่ี 2 รายวิชาทเี่ รียน ค32102 คณิตศาสตร์ 4 จานวนหน่วยการเรยี นรู้ 1 หนว่ ย
2. สาระการเรียนรเู้ พิม่ เตมิ กาหนดใหน้ ักเรียนทเ่ี รยี นแผน วิทย์-คณิต และ ภาษา-คณติ เรยี น
ภาคเรยี นท่ี 1 รายวชิ าทเ่ี รียน ค30203 คณติ ศาสตรเ์ สริม 3 จานวนหนว่ ยการเรยี นรู้ 2 หน่วย
ภาคเรียนท่ี 2 รายวิชาทเ่ี รยี น ค30204 คณิตศาสตรเ์ สริม 4 จานวนหน่วยการเรยี นรู้ 2 หน่วย
ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6
1. สาระการเรยี นร้พู ืน้ ฐาน กาหนดให้นกั เรียนทกุ คนตอ้ งเรยี น
ภาคเรียนที่ 1 รายวชิ าทเ่ี รียน ค33101 คณติ ศาสตร์ 5 จานวนหน่วยการเรียนรู้ 1 หนว่ ย
ภาคเรียนที่ 2 รายวิชาท่ีเรียน ค33102 คณิตศาสตร์ 6 จานวนหนว่ ยการเรียนรู้ 1 หน่วย
2. สาระการเรยี นรูเ้ พม่ิ เติม กาหนดใหน้ กั เรยี นที่เรียนแผน วิทย์-คณติ และ ภาษา-คณิต เรียน
ภาคเรยี นท่ี 1 รายวชิ าทเ่ี รียน ค30205 คณิตศาสตรเ์ สริม 5 จานวนหน่วยการเรยี นรู้ 2 หน่วย
ภาคเรยี นที่ 2 รายวิชาทีเ่ รียน ค30206 คณติ ศาสตร์เสริม 6 จานวนหน่วยการเรียนรู้ 2 หนว่ ย

โครงการอบรมเตรียมความพรอ้ มสู่ความเป็นเลศิ ทางวิชาการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 3

2. ขอบเขตเนอื้ หา ความรพู้ ืน้ ฐานท่ีควรรู้
ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 - ความรู้รอบตัวท่ัวไป
1. คณิตศาสตร์ 1 (ค31101) จานวน 1 หนว่ ยกติ - สมบัตเิ บื้องต้นเก่ียวกับจานวนจรงิ
- การแกส้ มการ
หัวข้อ - การแก้โจทยป์ ัญหาเกย่ี วกบั สมการ
1. เซต - ความรู้เบ้อื งต้นเกี่ยวกับจานวนจริง
- ความรูเ้ บื้องตน้ และสัญลกั ษณพ์ ื้นฐานเก่ียวกับเซต - คาตอบและกราฟแสดงคาตอบของ
- ยเู นยี น อนิ เตอร์เซกชัน และคอมพลเี มนต์ของเซต สมการและอสมการเชงิ เส้นตัวแปรเดียว
- การแกส้ มการกาลงั สองตัวแปรเดยี ว
2. จานวนจรงิ
- จานวนจริงและสมบตั ิของจานจรงิ - ความรู้เกย่ี วกบั เซต
- คา่ สมั บรู ณข์ องจานวนจรงิ และสมบตั ขิ องค่าสัมบรู ณข์ อง - ใชส้ มบัติของจานวนจริงในการ
จานวนจรงิ แก้ปญั หาได้
- จานวนจริงในรูปกรณฑ์ และจานวนจริงในรูปเลขยกกาลัง
3. ตรรกศาสตรเ์ บอ้ื งต้น
- ประพจนแ์ ละตวั เชอ่ื ม
(นเิ สธ และ หรอื ถา้ ... แล้ว ...ก็ต่อเม่ือ)

ปญั หาท่พี บ
- แก้โจทยป์ ัญหาเรื่อง เซต ไมไ่ ด้ นาสมบตั ิของเซตมาใชไ้ ม่เป็น
- แกโ้ จทย์สมการและอสมการกาลงั สอง โจทย์สมการและอสมการคา่ สัมบูรณ์ ไม่ได้
- ไมท่ าแบบฝึกหัด ไมท่ บทวนเน้ือหาทเ่ี รยี น ขาดการคน้ ควา้ เพม่ิ เติม

แนวทางการเรียนและข้อเสนอแนะ
- นักเรยี นควรศกึ ษาเน้อื หาเรื่อง เซต จานวนจริง และตรรกศาสตรเ์ พอื่ เป็นพื้นฐานก่อนเรยี น
- ควรทบทวนความรูพ้ น้ื ฐานในเร่ืองการแก้สมการ การแยกตัวประกอบพหุนาม และสมบัติ
เก่ียวกับเลขยกกาลัง เปน็ ตน้
- หลงั เรยี นเนื้อหาแตล่ ะหัวข้อควรกลบั ไปทบทวน หลักการทฤษฎี กฎทีส่ าคัญ เพ่ือเปน็ พ้ืนฐาน
สรา้ งความเข้าใจในการทาโจทยฝ์ ึกทกั ษะ

เอกสารเพ่ิมเติม
- หนงั สือเรียนรายวิชาพืน้ ฐานคณติ ศาสตร์ เล่ม 1 ของ สสวท.
- หนังสอื คูม่ ือคณติ ศาสตรพ์ ื้นฐานระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 เทอม 1 ของสานักพิมพ์ตา่ งๆ

โครงการอบรมเตรยี มความพร้อมส่คู วามเปน็ เลิศทางวิชาการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

2. คณิตศาสตรเ์ สรมิ 1 (ค30201) จานวน 2 หนว่ ยกิต ห น้ า | 4
หวั ข้อ
ความรพู้ ื้นฐานที่ควรรู้
1. เซต - สมบัตเิ บ้อื งตน้ ของจานวนจรงิ
- ความรู้เบอื้ งต้นและสัญลกั ษณพ์ ื้นฐานเกีย่ วกบั เซต - การแก้สมการและโจทย์ปญั หาสมการ
- ยูเนยี น อินเตอรเ์ ซกชนั และคอมพลเี มนต์ของเซต - การพิสูจน์
2. ตรรกศาสตร์ - การใหเ้ หตุผลทางคณติ ศาสตร์อย่างงา่ ย
- ประพจน์และตัวเช่อื ม - สมบตั เิ รื่องเซต
- ประโยคท่มี ตี ัวบ่งปริมาณตวั เดียว - สมบัตกิ ารเทา่ กัน
- การอา้ งเหตผุ ล - การพิสูจน์
3. จานวนจริงและพหุนาม - สมบัตเิ บอ้ื งต้นของจานวนจรงิ
- จานวนจริงและสมบัตขิ องจานวนจริง - การแยกตัวประกอบพหุนาม
- ค่าสัมบรู ณ์ของจานวนจริงและสมบตั ิของคา่ สัมบรู ณ์ของ - การแกส้ มการกาลงั สองตวั แปรเดียว
จานวนจริง โดยวธิ ีแยกตวั ประกอบหรือใช้สตู ร
- จานวนจรงิ ในรูปกรณฑ์ และจานวนจรงิ ในรปู เลขยกกาลัง - การแก้สมการเศษส่วนของพหนุ าม
- ตวั ประกอบของพหนุ าม - การแกป้ ัญหาโดยใช้ ห.ร.ม และค.ร.น
- สมการและอสมการพหุนาม
- สมการและอสมการเศษส่วนของพหนุ าม - สมบตั ิของจานวนจริง
- สมการและอสมการคา่ สัมบูรณ์ของพหนุ าม - พหุนามและการแกส้ มการพหุนาม
4. เมทรกิ ซ์ - กราฟของสมการเชิงเสน้ สองตัวแปร
- เมทริกซ์ และเมทริกซ์สลับเปลยี่ น - การแก้ระบบสมการเชงิ เสน้ สองตวั แปร
- การบวกเมทริกซ์ การคูณเมทรกิ ซก์ ับจานวนจรงิ การคณู
ระหวา่ งเมทรกิ ซ์
- ดีเทอร์มแิ นนต์
- เมทริกซ์ผกผัน
- การแก้ระบบสมการเชงิ เสน้ โดยใช้เมทริกซ์

ปัญหาทพ่ี บ
- แกโ้ จทย์ปญั หาเร่ือง เซต , ตรรกศาสตร์ จานวนจริงและพหุนาม และเมทรกิ ซ์ ไม่ได้
- ไม่เข้าใจสมบัติ และกฎสาคัญต่างๆ ในเรื่องเซต ตรรกศาสตร์ จานวนจริงและพหนุ าม
และเมทรกิ ซ์

โครงการอบรมเตรียมความพร้อมสูค่ วามเปน็ เลศิ ทางวชิ าการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 5

แนวทางการเรยี นและข้อเสนอแนะ
- นกั เรยี นควรศึกษาเนือ้ หาเร่ือง เซต , ตรรกศาสตร์ จานวนจริงและพหนุ าม และเมทรกิ ซ์ เปน็
พ้ืนฐานก่อนเรียน
- เมอ่ื พบปัญหาการเรียนควรจับกลมุ่ เพ่อื นแลกเปล่ยี นความรู้ หรือรบี ปรึกษาครผู ูส้ อน
- หลงั เรียนเนอ้ื หาแตล่ ะหัวข้อควรกลบั ไปทบทวน หลักการทฤษฎี กฎทส่ี าคญั เพ่อื เปน็ พืน้ ฐาน
สร้างความเขา้ ใจในการทาโจทยฝ์ ึกทกั ษะ

เอกสารเพิ่มเติม
- หนงั สอื เรียนรายวิชาเพ่มิ เติมคณิตศาสตร์ เลม่ 1 ของ สสวท.
- หนังสือคมู่ ือคณิตศาสตร์เพิ่มเติมระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 เทอม 1 ของสานักพิมพต์ ่างๆ

3. คณติ ศาสตร์ 2 (ค31102) จานวน 1 หน่วยกิต ความรูพ้ ืน้ ฐานท่ีควรรู้
หัวข้อ - คอู่ นั ดบั และกราฟ
- สมบตั เิ รื่องเซต
1. ความสัมพนั ธ์และฟงั กช์ ัน - การแก้สมการพหุนามและเศษสว่ นพหนุ าม
- ผลคูณคารท์ เี ชยี น ความหมายความสมั พันธ์ - การแปรผนั
- โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์
- ตวั ผกผนั ของความสมั พนั ธ์ และกราฟของความสัมพนั ธ์
- ฟังก์ชนั และกราฟของฟงั ก์ชนั

(ฟังก์ชันเชิงเส้น ฟังก์ชนั กาลังสอง ฟงั ก์ชันขัน้ บนั ได
ฟงั ก์ชนั เอกซ์โพเนนเชียล)

ปญั หาทพี่ บ
- เขยี นเซตตัวผกผันความสัมพนั ธ์ ไม่ได้
- หาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพนั ธ์และฟังก์ชนั ไม่ได้
- แก้โจทยป์ ัญหาโดยใช้กราฟของความสมั พนั ธ์และฟังก์ชัน ไมไ่ ด้
- เขยี นกราฟความสมั พันธแ์ ละกราฟของตัวผกผันของความสมั พันธ์ไม่ได้

แนวทางการเรียนและข้อเสนอแนะ
- นกั เรียนควรศกึ ษาเนื้อหาเรื่อง ความสัมพันธแ์ ละฟงั กช์ ัน เพ่ือเปน็ พืน้ ฐานก่อนเรียน
- ควรทบทวนความรพู้ นื้ ฐานในเรื่อง การแจกแจงสมาชิกของเซต และการแก้สมการพหุนาม
- เม่อื พบปัญหาการเรยี นควรจับกลมุ่ เพื่อนแลกเปลีย่ นความรู้ หรอื รีบปรึกษาครูผสู้ อน
- หลังเรียนเนอื้ หาแต่ละหัวข้อควรกลบั ไปทบทวน หลักการทฤษฎี กฎที่สาคัญ เพื่อเปน็ พ้ืนฐาน
สรา้ งความเข้าใจในการทาโจทยฝ์ กึ ทักษะ

โครงการอบรมเตรียมความพร้อมสคู่ วามเป็นเลศิ ทางวิชาการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 6

เอกสารเพม่ิ เติม
- หนงั สือเรียนรายวชิ าพน้ื ฐานคณิตศาสตร์ เลม่ 2 ของ สสวท.
- หนงั สอื คมู่ อื คณิตศาสตร์พ้ืนฐานระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 เทอม 2 ของสานกั พมิ พ์ต่างๆ

4. คณิตศาสตรเ์ สรมิ 2 (ค30202) จานวน 2 หนว่ ยกิต ความรู้พ้นื ฐานที่ควรรู้
หวั ข้อ - ความรูเ้ ก่ียวกบั เซตและจานวนจรงิ
- คู่อนั ดบั และกราฟ
1. ฟังก์ชนั - พหนุ ามและเศษสว่ นพหุนาม
- ฟงั กช์ นั และกราฟ - การพิสูจน์
- การบวก การลบ การคูณ การหารฟงั กช์ ัน
- ฟงั ก์ชนั ประกอบ - พื้นฐานทางเรขาคณติ และการแปลง
- ฟงั กช์ นั ผกผัน - กราฟเสน้ ตรงกับการนาไปใช้
2. เรขาคณติ วิเคราะห์ - ทฤษฎบี ทปีทาโกรัส
- จดุ และเสน้ ตรง
- วงกลม
- พาราโบลา
- วงรี
- ไฮเพอรโ์ บลา

ปญั หาท่ีพบ
- พสิ จู น์ฟังกช์ ันตา่ งๆ ไม่ได้ ทาโจทย์ปัญหาเรอ่ื ง ฟงั ก์ชนั ไม่ได้
- แกโ้ จทย์ปญั หาเร่อื งเรขาคณติ วเิ คราะห์ วงกลม พาราโบลา วงรี และไฮเพอรโ์ บลา ไมไ่ ด้

แนวทางการเรียนและขอ้ เสนอแนะ
- นกั เรียนควรศกึ ษาเน้อื หาเรื่อง ฟงั กช์ ัน เรขาคณติ วเิ คราะห์ และภาคตดั กรวย
เพื่อเปน็ พืน้ ฐานก่อนเรยี น
- ควรทบทวนความรู้พืน้ ฐานในเรื่องการพสิ จู น์ เรขาคณติ วเิ คราะห์เบื้องต้น การแก้สมการ
การแยกตวั ประกอบพหนุ าม การแกร้ ะบบสมการเชงิ เส้นสองตวั แปร เป็นต้น
- เม่อื พบปัญหาการเรยี นควรจับกลุ่มเพ่ือนแลกเปลีย่ นความรู้ หรอื รบี ปรึกษาครูผสู้ อน
- หลังเรียนเนื้อหาแต่ละหวั ข้อควรกลับไปทบทวน หลกั การทฤษฎี กฎที่สาคัญ เพื่อเป็นพื้นฐาน
สรา้ งความเข้าใจในการทาโจทย์ฝึกทักษะ

เอกสารเพ่มิ เติม
- หนังสือเรยี นรายวชิ าเพมิ่ เติมคณติ ศาสตร์ เลม่ 2 ของ สสวท.
- หนงั สือคูม่ ือคณติ ศาสตร์เพิ่มเตมิ ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 เทอม 2 ของสานักพิมพ์ต่างๆ

โครงการอบรมเตรยี มความพรอ้ มสคู่ วามเปน็ เลิศทางวชิ าการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 7

ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 ความรพู้ ืน้ ฐานที่ควรรู้
1. คณิตศาสตร์ 3 (ค32101) จานวน 1 หน่วยกิต - สมบตั ขิ องจานวนเต็มและเลขยกกาลัง
- ความรู้เบอ้ื งต้นเกย่ี วกบั จานวนจริง
หวั ข้อ - กรณฑท์ ่ีสอง
1. เลขยกกาลัง - การแก้สมการกาลงั สองตวั แปรเดียว
- รากทnี่ ของจานวนจริง เม่ือnเป็นจานวนนบั ท่ีมากกวา่ 1 -เลขยกกาลงั
- เลขยกกาลังที่มีเลขชีก้ าลังเปน็ จานวนตรรกยะ -การแกส้ มการโดยใช้กราฟ

2. ฟงั ก์ชนั เอ็กซ์โปเนนเชียล
-การแก้สมการและอสมการเอ็กซ์โปเนนเชียล

ปญั หาทพี่ บ
- แก้โจทย์ปัญหาเร่ือง เลขยกกาลัง และแกส้ มการเลขยกกาลงั ไม่ได้
- แก้โจทยห์ าอัตราสว่ นตรีโกณมิตขิ องมุม ไม่ได้
- ทาโจทยป์ ระยกุ ต์เร่ืองอตั ราตรีโกณมิติ ไม่ได้
- ไมท่ าแบบฝกึ หัด ไมท่ บทวนเนอ้ื หาทีเ่ รยี น ไม่ค้นคว้าเพ่ิมเตมิ

แนวทางการเรยี นและข้อเสนอแนะ
- นักเรียนควรศึกษาเนื้อหาเรื่อง เลขยกกาลัง เพื่อเป็นพื้นฐานก่อนเรียน
- ควรทบทวนความร้พู นื้ ฐานในเร่อื ง สมบัตจิ านวนเตม็ และเลขยกกาลงั
- เม่อื พบปัญหาการเรียนควรจับกลุม่ เพื่อนแลกเปลีย่ นความรู้ หรอื รีบปรึกษาครูผู้สอน
- หลงั เรียนเนื้อหาแตล่ ะหัวขอ้ ควรกลับไปทบทวน หลกั การทฤษฎี กฎทสี่ าคัญ เพ่ือเป็นพื้นฐาน
สร้างความเข้าใจในการทาโจทยฝ์ กึ ทกั ษะ

เอกสารเพมิ่ เติม
- หนังสือเรยี นรายวิชาพ้นื ฐานคณิตศาสตร์ เล่ม 2 ของ สสวท.
- หนงั สอื คู่มอื คณติ ศาสตร์พื้นฐานระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 5 เทอม 1 ของสานักพิมพ์ตา่ งๆ

โครงการอบรมเตรยี มความพร้อมสู่ความเป็นเลศิ ทางวิชาการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

2. คณิตศาสตรเ์ สริม 3 (ค30203) จานวน 2 หนว่ ยกติ ห น้ า | 8
หัวข้อ
ความร้พู ้ืนฐานที่ควรรู้
1. ฟังกช์ ันเอกซโ์ พเนนเชยี ลและฟงั กช์ นั ลอการริทึม - สมบตั ขิ องจานวนเต็มและเลขยกกาลงั
- ฟังกช์ ันเอกซ์โพเนนเชยี ล - ความรเู้ บือ้ งตน้ เก่ยี วกับจานวนจริง
- ฟังกช์ นั ลอการิทึม - กรณฑท์ ีส่ อง
- สมการเอกซโ์ พเนนเชียล และสมการลอการิทมึ - พหุนามและเศษส่วนพหุนาม
- การแกส้ มการและอสมการพหุนาม
2. ฟงั กช์ นั ตรีโกณมติ ิ - สมบัติของสามเหลี่ยมคล้าย
- ฟงั ก์ชันตรโี กณมิติ - การแกป้ ญั หาโดยใช้ทฤษฎบี ทปีทาโกรัส
- ฟังกช์ นั ตรีโกณมิติผกผนั และบทกลับ
- เอกลกั ษณแ์ ละสมการตรีโกณมติ ิ - การพิสูจน์เอกลกั ษณ์
- กฎของโคไซน์และกฎของไซน์ - การแก้โจทยส์ มการเชงิ เสน้ ตวั แปรเดยี ว
3. เวกเตอร์ในสามมติ ิ - ความรเู้ รอ่ื งตรโี กณมติ ิ
- เวกเตอร์ นิเสธของเวกเตอร์ - ความร้เู รื่องเมทริกซ์
- การบวก การลบเวกเตอร์ การคณู เวกเตอรด์ ว้ ยสเกลาร์ - ความรู้เก่ยี วกบั เรขาคณติ วิเคราะห์
- ผลคณู เชงิ สเกลาร์ ผลคณู เชงิ เวกเตอร์

ปัญหาทพี่ บ
- แกโ้ จทย์ปญั หาเรื่อง ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชยี ลและฟังก์ชันลอการรทิ ึม ไม่ได้
- แก้โจทยป์ ัญหาเรอื่ ง การหาคา่ ตรโี กณมติ ิของมุม ไม่ได้ พิสจู น์เอกลักษณ์ ไม่ได้
- แกโ้ จทย์ปญั หาเร่ือง เวกเตอรใ์ นสามมิติ และโจทยป์ ระยุกต์ ไม่ได้

แนวทางการเรียนและข้อเสนอแนะ
- นักเรียนควรศกึ ษาเนอ้ื หาเรื่อง ฟงั กช์ ันเอกซ์โพเนนเชยี ลและฟงั กช์ ันลอการริทมึ ฟังก์ชันตรโี กณมิติ
เวกเตอรใ์ นสามมิติ เพอื่ เป็นพ้ืนฐานก่อนเรียน
- ควรทบทวนความรพู้ ื้นฐานในเรอ่ื งการแกส้ มการและอสมการ สมบตั ิสามเหล่ยี มมุมฉาก ความรู้
เกย่ี วกบั เรขาคณิตวิเคราะห์ เปน็ ตน้
- หลงั เรยี นเน้ือหาแตล่ ะหัวข้อควรกลบั ไปทบทวน หลกั การทฤษฎี กฎท่สี าคัญ เพื่อเปน็ พื้นฐาน
สรา้ งความเข้าใจในการทาโจทย์ฝกึ ทกั ษะ

เอกสารเพิม่ เติม
- หนงั สอื เรยี นรายวชิ าเพ่มิ เติมคณติ ศาสตร์ เลม่ 3 ของ สสวท.
- หนังสือคมู่ ือคณติ ศาสตรเ์ พิ่มเตมิ ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 5 เทอม 1 ของสานักพิมพต์ ่างๆ

โครงการอบรมเตรยี มความพรอ้ มสคู่ วามเปน็ เลศิ ทางวชิ าการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

3. คณิตศาสตร์ 4 (ค32102) จานวน 1 หน่วยกิต ห น้ า | 9
หวั ขอ้
ความร้พู ื้นฐานท่ีควรรู้
1. ลาดับและอนุกรม - ความรูเ้ บ้อื งตน้ เกีย่ วกบั จานวนจริง
- ลาดบั เลขคณติ และลาดับเรขาคณติ - สมบัติเลขยกกาลัง
- อนกุ รมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณติ - พหนุ ามและการแก้สมการพหนุ าม
2. ดอกเบย้ี และมูลคา่ ของเงนิ - ความร้เู ก่ยี วกับเลขยกกาลัง
- ดอกเบ้ีย - อัตราสว่ นและร้อยละ
- มูลค่าของเงนิ
- คา่ รายงวด

ปญั หาทพ่ี บ
- หาพจน์ท่วั ไปของลาดับและอนุกรม ไม่ได้
- หาผลบวก n พจนแ์ รกของอนุกรม ไม่ได้
- จาสูตรผลบวกของอนกุ รมไม่ได้
- ทาโจทยป์ ัญหาเรอื่ ง ลาดบั และอนุกรม ไมไ่ ด้
- ไมท่ าแบบฝึกหัด ไม่ทบทวนเน้อื หาท่ีเรยี น ไมค่ น้ ควา้ เพิ่มเติม

แนวทางการเรียนและข้อเสนอแนะ
- นักเรยี นควรศึกษาเนื้อหาเรื่อง ลาดับ อนกุ รม ผลบวก n พจนแ์ รกของอนุกรมเพื่อเป็นพ้นื ฐาน
ก่อนเรียน
- ควรทบทวนความรพู้ น้ื ฐานในเรอื่ ง สมบัตเิ ก่ยี วกับจานวนจริงและเลขยกกาลงั การแก้สมการ
สญั ลักษณ์แทนการบวก เป็นต้น
- เมือ่ พบปัญหาการเรยี นควรจบั กลมุ่ เพื่อนแลกเปล่ยี นความรู้ หรือรบี ปรกึ ษาครผู ู้สอน
- หลงั เรยี นเนือ้ หาแต่ละหวั ข้อควรกลับไปทบทวน หลักการทฤษฎี กฎที่สาคัญ เพ่ือเปน็ พ้ืนฐาน
สร้างความเข้าใจในการทาโจทย์ฝกึ ทกั ษะ

เอกสารเพ่ิมเติม
- หนงั สอื เรียนรายวิชาพ้ืนฐานคณิตศาสตร์ เล่ม 2 ของ สสวท.
- หนงั สอื คู่มอื คณิตศาสตร์พื้นฐานระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 เทอม 2 ของสานกั พมิ พ์ตา่ งๆ

โครงการอบรมเตรยี มความพรอ้ มส่คู วามเปน็ เลศิ ทางวชิ าการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

4. คณิตศาสตรเ์ สริม 4 (ค30204) จานวน 2 หน่วยกิต ห น้ า | 10
หัวขอ้
ความรู้พืน้ ฐานที่ควรรู้
1. ลาดบั และอนุกรม - กราฟของความสัมพันธ์
- ลาดับจากัดและลาดบั อนันต์ - พหุนามและเศษส่วนพหนุ าม
- ลาดับเลขคณติ และลาดับเรขาคณติ - การแกส้ มการพหนุ าม
- ลมิ ิตของลาดับอนันต์ - ความรเู้ กย่ี วกับเลขยกกาลงั
- อนกุ รมจากัดและอนกุ รมอนันต์ - อตั ราส่วนและรอ้ ยละ
- อนุกรมเลขคณติ และอนุกรมเรขาคณิต
- ผลบวกของอนุกรมอนนั ต์ - ลาดับอนนั ตแ์ ละอนุกรมอนันต์
- การนาความรเู้ กี่ยวกับลาดับและอนุกรมไปใชใ้ นการ - การแก้ปญั หาหรือสถานการณโ์ ดยใช้
แก้ปญั หามลู คา่ ของเงินและค่ารายงวด ความรูเ้ กย่ี วกบั ปริมาตรและพน้ื ทผี่ ิว
2. แคลคลู สั เบือ้ งต้น - เรขาคณติ วิเคราะห์เบื้องต้น
- ลิมิตและความต่อเน่ืองของฟังกช์ ัน - กราฟความสัมพนั ธแ์ ละกราฟฟงั กช์ นั
- อนุพันธ์ของฟงั ก์ชนั พชี คณิต - พชี คณิตของฟังก์ชนั
- ปรพิ นั ธข์ องฟงั กช์ ันพชี คณิต

ปญั หาทีพ่ บ
- แกโ้ จทยป์ ัญหาเร่ือง ลมิ ติ ของลาดบั อนันต์ ผลบวกของอนกุ รมอนนั ต์ ไม่ได้
- หาค่าอนพุ นั ธอ์ ันดับสงู ของฟังก์ชัน ไมไ่ ด้
- แก้โจทย์ประยุกตเ์ กี่ยวกับค่าสูงสดุ และค่าต่าสุด พน้ื ที่ปิดล้อมด้วยเสน้ โค้ง ไม่ได้

แนวทางการเรียนและข้อเสนอแนะ
- นกั เรยี นควรศกึ ษาเนือ้ หาเรื่อง ลาดบั และอนุกรม และแคลคลู สั เพื่อเป็นพน้ื ฐานก่อนเรียน
- ควรทบทวนความร้พู นื้ ฐานในเรอ่ื ง ลาดับจากัด อนุกรมจากัด เรขาคณิตวิเคราะหเ์ บ้ืองต้น เป็นตน้
- หลังเรยี นเน้ือหาแต่ละหวั ข้อควรกลับไปทบทวน หลักการทฤษฎี กฎที่สาคัญ เพ่ือเป็นพื้นฐาน
สร้างความเข้าใจในการทาโจทย์ฝกึ ทักษะ

เอกสารเพิ่มเติม
- หนังสอื เรยี นรายวิชาเพ่มิ เติมคณิตศาสตร์ เลม่ 4 ของ สสวท.
- หนังสอื ค่มู อื คณิตศาสตรเ์ พิ่มเตมิ ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 เทอม 2 ของสานักพิมพ์ต่างๆ

โครงการอบรมเตรยี มความพรอ้ มสูค่ วามเปน็ เลศิ ทางวชิ าการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 11
1. คณติ ศาสตร์ 5 (ค33101) จานวน 1 หน่วยกิต
ความรู้พ้ืนฐานที่ควรรู้
หวั ข้อ - ความรูเ้ รอ่ื งลาดบั และอนุกรม
1. หลกั การนับเบื้องตน้ - ความรเู้ รื่องเซตและจานวนจรงิ
- หลักการบวกและการคูณ - แผนภาพต้นไม้
- การเรยี งสบั เปลยี่ นเชงิ เส้นกรณขี องแตกต่างกนั ทงั้ หมด
- การจดั หมูก่ รณีของแตกตา่ งกันทง้ั หมด - หลกั การนบั เบื้องตน้
2. ความนา่ จะเปน็ - แผนภาพต้นไม้
- การทดลองสุ่มและเหตุการณ์ - ความรู้เร่อื งเซตและคุณสมบัตขิ องเซต
- ความนา่ จะเปน็ ของเหตุการณ์

ปัญหาทีพ่ บ
- แก้โจทยป์ ัญหาเร่ือง กฎเกณฑ์เบ้ืองต้นเกย่ี วกบั การนบั ไมไ่ ด้
- แก้โจทยป์ ญั หาเรอื่ งการเรยี งสบั เปลี่ยน และการจดั หมู่ ความน่าจะเปน็ ไม่ได้

แนวทางการเรียนและข้อเสนอแนะ
- นกั เรยี นควรศึกษาเนือ้ หาเรื่อง หลกั การนบั เบือ้ งต้น ความน่าจะเปน็ เพ่อื เป็นพ้ืนฐานก่อนเรยี น
- ควรทบทวนความรพู้ นื้ ฐานในเรอ่ื ง กฎการบวก และกฎการคูณ การทดลองส่มุ เป็นตน้
- เม่อื พบปัญหาการเรยี นควรจบั กล่มุ เพื่อนแลกเปลย่ี นความรู้ หรือรบี ปรึกษาครูผสู้ อน
- หลงั เรียนเนือ้ หาแต่ละหัวข้อควรกลับไปทบทวน หลกั การทฤษฎี กฎทีส่ าคัญ เพ่ือเปน็ พื้นฐาน
สร้างความเข้าใจในการทาโจทยฝ์ กึ ทักษะ

เอกสารเพม่ิ เติม
- หนังสอื เรยี นรายวชิ าพื้นฐานคณิตศาสตร์ เล่ม 3 ของ สสวท.
- หนังสือคูม่ ือคณิตศาสตร์พื้นฐานระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 6 เทอม 1 ของสานกั พมิ พ์ตา่ งๆ

โครงการอบรมเตรยี มความพร้อมสคู่ วามเป็นเลศิ ทางวิชาการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 12

2. คณิตศาสตรเ์ สริม 5 (ค30205) จานวน 2 หนว่ ยกิต

หัวข้อ ความรูพ้ ้นื ฐานที่ควรรู้

1. จานวนเชิงซ้อน - สมบตั ขิ องจานวนจรงิ

- จานวนเชิงซอ้ น และสมบตั ขิ องจานวนเชิงซอ้ น - พหุนามและเศษสว่ นพหุนาม

- จานวนเชิงซ้อนในรปู เชงิ ขั้ว - การแก้สมการกาลงั สองโดยใช้สตู ร

- รากที่ n ของจานวนเชิงซ้อน เมื่อ n เปน็ จานวนนบั ที่ - การแยกตวั ประกอบพหุนามดีกรมี าก

มากกว่า 1 กว่าสอง

- สมการพหนุ ามตวั แปรเดยี ว - การหาคา่ ตรโี กณมิติของมุม

2. หลักการนบั เบอื้ งตน้ - ความรเู้ ร่ืองลาดับและอนุกรม

- หลักการบวกและการคูณ - ความรูเ้ ร่ืองเซตและจานวนจริง

- การเรียงสบั เปล่ยี น - แผนภาพต้นไม้

๐ การเรียงสับเปลี่ยนเชงิ เส้น

๐ การเรียงสบั เปลี่ยนเชงิ วงกลมกรณีท่ีสิง่ ของแตกตา่ งกนั

ท้ังหมด

- การจดั หมู่

- ทฤษฎบี ททวินาม

3. ความน่าจะเป็น - หลกั การบวก และการคูณ

- การทดลองสมุ่ และเหตุการณ์ - การเรียงสับเปลยี่ น และการจดั หมู่

- ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ - ความรู้เรื่องเซตเบื้องต้น

4. การแจกแจงความนา่ จะเป็นเบอ้ื งต้น - ความรู้เกี่ยวกับลาดบั อนุกรม

- การแจกแจงเอกรปู - ความร้เู กี่ยวกบั ทวนิ าม

- การแจกแจงทวนิ าม - ความรู้เกย่ี วกบั สถติ เิ บ้ืองตน้

- การแจกแจงปกติ

ปัญหาที่พบ
- แกโ้ จทยป์ ญั หา เร่อื ง จานวนเชิงซ้อน ความน่าจะเป็น และการแจกแจงความน่าจะเป็น ไมไ่ ด้
- ไมท่ าแบบฝึกหัด ไมท่ บทวนเนอื้ หาท่ีเรียน ไมค่ ้นควา้ เพิ่มเตมิ

แนวทางการเรียนและข้อเสนอแนะ
- นกั เรยี นควรศกึ ษาเนื้อหาเร่ือง จานวนเชิงซอ้ น ความนา่ จะเปน็ และการแจกแจงความนา่ จะเป็น

เพ่อื เป็นพืน้ ฐานก่อนเรยี น
- ควรทบทวนความรูพ้ ืน้ ฐานในเรื่อง การแยกตัวประกอบพหนุ าม ตรีโกณมิตขิ องมุม
- หลังเรยี นเนอื้ หาแต่ละหวั ข้อควรกลับไปทบทวน หลกั การทฤษฎี กฎท่สี าคัญ เพ่ือเปน็ พ้ืนฐาน

สรา้ งความเข้าใจในการทาโจทย์ฝกึ ทกั ษะ

โครงการอบรมเตรียมความพร้อมสู่ความเปน็ เลิศทางวิชาการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 13

เอกสารเพม่ิ เติม
- หนังสอื เรยี นรายวชิ าเพิม่ เตมิ คณติ ศาสตร์ เล่ม 5 ของ สสวท.
- หนงั สือคูม่ ือคณิตศาสตร์เพ่ิมเตมิ ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 6 เทอม 1 ของสานักพิมพ์ต่างๆ

3. คณติ ศาสตร์ 6 (ค33102) จานวน 1 หนว่ ยกติ ความรู้พ้ืนฐานที่ควรรู้
หวั ขอ้ - การนาเสนอและการวิเคราะห์ข้อมลู
เบอื้ งต้น
1. สถติ ิ - ความรู้เร่ืองจานวนจรงิ และเซต
- ข้อมูล - ความรเู้ รือ่ งความน่าจะเป็น
- ตาแหน่งทขี่ องข้อมูล
- คา่ กลาง (ฐานนยิ ม มธั ยฐาน คา่ เฉล่ียเลขคณิต)
- ค่าการกระจาย (พสิ ัย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความ
แปรปรวน)
- การนาเสนอข้อมลู เชิงคุณภาพและเชงิ ปริมาณ
- การแปลความหมายของคา่ สถิติ

ปัญหาที่พบ
- จาสตู รสถติ ิ ไม่ได้ หรอื เลือกใชส้ ูตรสถติ ไิ ม่ถกู ต้อง
- ไมท่ าแบบฝกึ หัด ไมท่ บทวนเนือ้ หาทีเ่ รยี น ไมค่ ้นควา้ เพิ่มเตมิ

แนวทางการเรยี นและข้อเสนอแนะ
- ควรทบทวนความรูพ้ ืน้ ฐานในทุกเรอื่ งทงั้ หมด
- เมือ่ พบปัญหาการเรียนควรจับกลมุ่ เพ่ือนแลกเปล่ียนความรู้ หรือรบี ปรึกษาครูผสู้ อน
- หลงั เรียนเนอื้ หาแตล่ ะหัวข้อควรกลับไปทบทวน หลักการทฤษฎี กฎที่สาคัญ เพื่อเปน็ พ้ืนฐาน
สร้างความเขา้ ใจในการทาโจทย์ฝกึ ทักษะ

เอกสารเพิ่มเตมิ
- หนังสือเรียนรายวชิ าพน้ื ฐานคณติ ศาสตร์ เล่ม 4 ของ สสวท.
- หนงั สือคูม่ ือคณติ ศาสตรพ์ ื้นฐานระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 6 เทอม 2
- แนวขอ้ สอบของสถาบันต่างๆ

โครงการอบรมเตรียมความพรอ้ มสคู่ วามเปน็ เลศิ ทางวิชาการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

4. คณิตศาสตรเ์ สรมิ 6 (ค30206) จานวน 2 หนว่ ยกิต ห น้ า | 14
หวั ขอ้
ความรพู้ ืน้ ฐานที่ควรรู้
1. สถิติ - การนาเสนอและการวเิ คราะหข์ ้อมูล
- ขอ้ มลู เบอ้ื งตน้
- ตาแหน่งทข่ี องข้อมลู - ความรเู้ ร่อื งจานวนจริง และเซต
- คา่ กลาง (ฐานนิยม มธั ยฐาน คา่ เฉล่ยี เลขคณิต) - ความรเู้ ร่ืองความน่าจะเป็น
- คา่ การกระจาย (พสิ ัย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความ
แปรปรวน)
- การนาเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพและเชงิ ปริมาณ
- การแปลความหมายของค่าสถติ ิ

ปญั หาทพ่ี บ
- จาสูตรสถิติ ไม่ได้ หรอื เลือกใช้สูตรสถิติไม่ถกู ต้อง
- เนอ้ื หาบางเรือ่ งยังไม่มคี วามรคู้ วามเข้าใจในหลักการทฤษฎี และกฎทส่ี าคัญ
- ไมท่ าแบบฝึกหัด ไม่ทบทวนเนอื้ หาทเ่ี รียน ไม่คน้ คว้าเพ่ิมเติม

แนวทางการเรยี นและขอ้ เสนอแนะ
- ควรศึกษาและฝึกทักษะการทาโจทยจ์ ากขอ้ สอบต่างๆ
- เม่อื พบปัญหาการเรียนควรจับกลมุ่ เพ่ือนแลกเปลยี่ นความรู้ หรอื รบี ปรกึ ษาครูผสู้ อน
- หลังเรียนเน้ือหาแตล่ ะหวั ข้อควรกลบั ไปทบทวน หลกั การทฤษฎี กฎท่สี าคัญ เพ่ือเป็นพ้ืนฐาน
สร้างความเขา้ ใจในการทาโจทย์ฝึกทกั ษะ

เอกสารเพ่ิมเตมิ
- หนังสือเรียนรายวชิ าเพม่ิ เตมิ คณติ ศาสตร์ เล่ม 6 ของ สสวท.
- หนังสอื คมู่ อื คณติ ศาสตรเ์ พ่ิมเติมระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เทอม 2 ของสานักพิมพ์ต่างๆ
- แนวข้อสอบของสถาบนั ต่างๆ

โครงการอบรมเตรียมความพรอ้ มสูค่ วามเปน็ เลศิ ทางวิชาการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 15

3. การจดั การเรียนการสอน
มีการจัดการเรียนรทู้ ห่ี ลากหลาย ส่งเสริมการเรยี นรู้ให้นักเรียนศกึ ษาคน้ ควา้ หาความรดู้ ้วยตนเอง โดย

มีแหลง่ เรียนรู้ เช่นห้องสมุด ห้องสมดุ กล่มุ สาระฯ คอมพวิ เตอรส์ าหรบั การค้นควา้ หาความรู้ มีระบบการ
เรียนรรู้ ว่ มกนั แบบเพ่ือนชว่ ยเพื่อน ตลอดจนฝกใหนักเรยี นทางานอยางเปนระบบ มรี ะเบียบวนิ ัย รอบคอบ มี
ความรับผิดชอบ มีวจิ ารณญาณ และมีความเชือ่ มน่ั ในตนเองรวมท้งั สง่ เสริมความรู้ความสามารถของนักเรียน
โดยจัดส่งแข่งขันทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรยี น

4. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้
เนน้ วิธกี ารประเมินทีห่ ลากหลายตรงตามสภาพจรงิ เช่น ประเมินจากการตอบคาถาม การทาใบงาน

การทาแบบฝึกทักษะ การทารายงาน และจากการทดสอบโดยจดั เกบ็ คะแนนการประเมินระหว่างภาคเรียนกบั
ปลายภาคเรียน เทา่ กบั 70 : 30 เปน็ ดงั นี้

1. คะแนนระหว่างภาคเรยี น 70 คะแนน แบง่ เปน็
- คะแนนก่อนกลางภาค (FOR1) 10 คะแนน โดยวิธี การทดสอบ
- คะแนนกลางภาค (SUM) 40 คะแนน โดยวิธี การทดสอบ

ลักษณะของแบบทดสอบ เป็นข้อสอบอตั นัย เน้นการเขียนแสดงวิธที า
- คะแนนหลังกลางภาค (FOR2) 10 คะแนน โดยการทาช้นิ งานหรือรายงาน
- คะแนนคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 10 คะแนน
2. คะแนนปลายภาคเรยี น30 คะแนน โดยวธิ ที ดสอบ ลกั ษณะของแบบทดสอบ เป็นข้อสอบปรนัย

5. การจดั กจิ กรรมเสริมหลกั สตู ร
กลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตรม์ ีการจดั กจิ กรรมเพอื่ เพิ่มพูนความรู้และพัฒนาศักยภาพให้กบั

นกั เรยี น มรี ายละเอยี ดดงั นี้
1. สอนเสริมคณิตศาสตรเ์ รื่อง สถติ ิ ให้กับนกั เรยี นระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 เพื่อเตรียมสอบ
รบั ตรง
2. สอนเสรมิ เตรยี มสอบเข้ามหาวิทยาลัยติว GAT-PAT และ O-net
3. จัดส่งนกั เรยี นแข่งขันทางวิชาการ เช่น สมาคมคณติ ศาสตรแ์ ห่งประเทศไทย ,
แข่งขนั ความสามารถทางคณิตศาสตร์ชิงถ้วยรางวัลพระราชทานสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ
สยามบรมราชกมุ ารี , แข่งขันงานศลิ ปหตั ถกรรม เป็นตน้
4. จัดกจิ กรรมโครงการสรรหาผู้มีความสามารถพเิ ศษทางคณิตศาสตร(์ TUGMOs & TUGSELA)
ฯลฯ

โครงการอบรมเตรียมความพร้อมสู่ความเป็นเลศิ ทางวิชาการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 16

ความรู้พืน้ ฐานท่ีควรรู้
พหนุ าม (Polynomail)

สตู รการคูณพหุนามและการแยกตัวประกอบ
1. กาลังสองสมบรู ณ์

 A  B2  A2  2AB  B2

 A  B  C 2  A2  B2  C2  2AB  2BC  2CA
2. ผลต่างกาลังสอง

 A  B A  B  A2  B2

A2  B2  A BA B

3. กาลังสามสมบรู ณ์

 A  B3  A3  3A2B  3AB2  B3

 A  B  C 3  A3  B3  C3  3 A  BB  C C  A
4. ผลบวกกาลังสาม

 A3  B3   A  B A2  AB  B2

5. ผลตา่ งกาลงั สาม

 A3  B3   A  B A2  AB  B2

6. สตู รอน่ื ๆ

 A3  B3  C3  3ABC   A  B  C  A2  B2  C2  AB  BC  CA

 An  Bn   A  B An1  An2B  An3B2 ... A2Bn3  ABn2  Bn1

7. ทฤษฎีเศษเหลือ
7.1 พหนุ าม P x ถูกหารด้วย x c จะเหลือเศษ Pc เสมอ

7.2 พหุนาม P x จะมี x c เปน็ ตวั ประกอบก็ต่อเม่ือ Pc  0

7.3 พหุนาม P x จะมี ax c เปน็ ตวั ประกอบก็ต่อเมื่อ P  c   0
 a 

โครงการอบรมเตรียมความพรอ้ มส่คู วามเป็นเลิศทางวิชาการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 17

ตวั อย่างโจทยช์ นั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4

1. จากการสารวจผู้ใช้บรกิ ารรา้ น F-Coffee เกีย่ วกบั ความชอบด่มื เครื่องดม่ื 3 ชนดิ ไดแ้ ก่ กาแฟ ,ชาเขียว

และโกโก้ จานวน 950 คน พบวา่

มีผทู้ ี่ไมช่ อบด่มื เครอ่ื งดืม่ ชนิดใดเลย 30 คน

มีผทู้ ่ชี อบดมื่ กาแฟ 453 คน

มีผูช้ อบดมื่ โกโก้ 287 คน

มีผูท้ ี่ชอบด่ืมกาแฟและชาเขียว 103 คน

มผี ทู้ ี่ชอบดม่ื กาแฟและโกโก้ 87 คน

มีผทู้ ีช่ อบดืม่ ชาเขยี วและโกโก้ 79 คน

มผี ู้ที่ชอบดืม่ เคร่อื งดืม่ สองอย่าง 170 คน

จงหาผู้ทชี่ อบดมื่ กาแฟหรือโกโก้แต่ไม่ชอบด่มื ชาเขยี วมีทั้งหมดก่ีคน

โครงการอบรมเตรยี มความพร้อมสคู่ วามเป็นเลิศทางวิชาการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 18
2. กาหนดให้ n P  A  B  C   8 , n A  B  C   108 , n  A  B  45 และ

nC  A  28 แล้วจงหาค่าของ nB C

  3. จงพิสจู นว์ ่า ถ้า a เปน็ จานวนค่แี ลว้ 32 หาร a2  3 a2  7 ลงตัว

โครงการอบรมเตรียมความพรอ้ มสคู่ วามเปน็ เลศิ ทางวิชาการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 19

4. กาหนดให้ U   xI / x 3  5 และ A   x / x2  4x  4  x2 12  0
 x2  6x  9 x3 


ผลบวกสมาชิกทุกตวั ในเซต A มีค่าเทา่ ไร

5. กาหนด f (x)  ax 8 และ g(x)  ax 11 ถ้า a คือจานวนจริงที่ทาให้

g f (x)   f g(x) แลว้ จงหาคา่ ของ 3a 5

โครงการอบรมเตรยี มความพรอ้ มสคู่ วามเป็นเลศิ ทางวิชาการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 20

6. กาหนดให้ g x  2  g x5x 1 และ f 2x 3  3x2 และ g 0  5
คา่ ของ f 1g 2 เท่ากบั เท่าไร

7. กาหนดพาราโบลา P มจี ดุ ยอดอยู่ในจตภุ าคที่ 1 ละจดุ ปลายเลตสั เรกตมั อย่ทู ี่โฟกสั ท้ังสองของ
ไฮเพอร์โบลา H ทม่ี ีสมการเปน็ 9x2 16y2 18x 64y 89  0 จงหาสมการไดเรกตรกิ ซ์
ของพาราโบลา P

โครงการอบรมเตรยี มความพรอ้ มสู่ความเป็นเลิศทางวชิ าการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 21

 2  5 5 x  17 
   y  
8. กาหนด A   1 2 3  , B   , C   9  ถา้ AB  C

1 3 0  z  4 

จงหาคา่ ของ det   x  z x2  
  x  y z  
y 

9. กาหนด A เปน็ นอนซงิ กูลารเ์ มทรกิ ซ์ เม่ือ k เปน็ ค่าคงที่ ถ้า A2  A และ
I  A3  I  kA จงหาคา่ ของ k

โครงการอบรมเตรยี มความพรอ้ มสู่ความเปน็ เลศิ ทางวิชาการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 22

10. กาหนดให้ A เป็นเซตคาตอบของ   x  799 x2  3x  4
 x  2 x  399  0

และ B เป็นเซตคาตอบของ x 5
 x 1 x  3  0

ถา้ A  B คอื ชว่ ง a,b แลว้ คา่ ของ a  b มีค่าเทา่ กับเท่าไร

โครงการอบรมเตรยี มความพร้อมสู่ความเปน็ เลศิ ทางวิชาการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 23
11. ถา้ กราฟ y  x4 5 ตดั กราฟของ y  3 x  x 2 ท่จี ุด A และจดุ B แล้ว

ระยะหา่ งระหวา่ ง จดุ A และจุด B มีคา่ เทา่ ไร

12. กาหนด P   q  r  s  r มคี ่าความจริงเปน็ เท็จ จงหาคา่ ความจริงของประพจน์
p , q , r และ s

โครงการอบรมเตรียมความพร้อมสู่ความเป็นเลศิ ทางวิชาการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 24

ตัวอย่างโจทย์ชัน้ มธั ยมศึกษาปี ท่ี 5

13. กาหนดให้ x เปน็ จานวนเตม็ ถา้ 9x  4x  2  2 3x  2x  3x  2x
แล้วจงหาค่าของ 43x  2x

14. จงหาเซตคาตอบของอสมการ 1  1
 243 2x
log3  3x   log3 4 2



โครงการอบรมเตรียมความพร้อมส่คู วามเป็นเลศิ ทางวิชาการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 25

15. กาหนดให้ A  sin 8 sin 7  sin 2  sin เมอื่   
cos8  cos 7  cos 2  cos 12

และ B  sin 72  cos 72 ค่าของ A B เทา่ กับเท่าไร

cos 27

โครงการอบรมเตรยี มความพรอ้ มสคู่ วามเปน็ เลิศทางวชิ าการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 26

16. กาหนด u , v เป็นเวกเตอร์ในระนาบโดยท่ี u  v  i  2 j  k และ u v  34

ถ้า 3u  2v  u  2v แล้วจงหาค่าของ u 2v  u 

17. จงหาค่าของ 20  k 
   4n  2   2

k 3 n1

โครงการอบรมเตรียมความพร้อมสูค่ วามเป็นเลิศทางวิชาการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 27
18. ในการปลูกมะนาว 50 ต้น พบว่า ไดผ้ ลผลติ เฉลี่ย 120 ผลต่อต้น แตถ่ ้าลดจานวนการปลกู มะนาวลง

จะทาใหผ้ ลผลติ เฉลยี่ เพม่ิ ขึน้ อีกต้นละ 5 ผลต่อจานวนต้นมะนาวท่ลี ดลง ชาวสวนต้องปลกู มะนาวก่ีต้น
จงึ จะได้ผลผลิตมากทส่ี ุด

โครงการอบรมเตรยี มความพร้อมสู่ความเป็นเลศิ ทางวชิ าการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 28

ตวั อย่างโจทยช์ น้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 6

19. จากตัวอักษร “คคคสสสชช” ตอ้ งการจัดเรยี งอักษรทกุ ตวั โดยไม่คานงึ ความหมาย จะได้กวี่ ิธี
โดยตัวอักษร ค แต่ละตัวอยู่แยกกนั และตัวอักษร ช แตล่ ะตัวอยู่แยกกัน

20. กาหนด A  1,2,3,4,5,6 , B   a , b , c ต้องการสรา้ งฟังก์ชนั จาก A ไป B แบบ
ทัว่ ถึงจะเกิดฟังกช์ นั ท้งั หมดก่ฟี ังก์ชนั

โครงการอบรมเตรยี มความพรอ้ มสคู่ วามเป็นเลศิ ทางวชิ าการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 29

 21. จงหาสมั ประสทิ ธ์ขิ อง x5 จากการกระจาย x2  2 3 2x6

22. กาหนดให้ z เป็นจานวนเชงิ ซอ้ น ซ่ึง z12  512i และ z1 1  2 5 และ z22  2 3  2i
จงหา z1 z2 ในรปู a  bi

โครงการอบรมเตรยี มความพรอ้ มสูค่ วามเปน็ เลิศทางวิชาการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 30
23. ผลการสอบวชิ าสถติ ิของนกั เรยี นกลุม่ หน่ึงซ่ึงมี 6 คน ปรากฏว่ามี 3 คนเท่าน้ันทไี่ ด้คะแนนเทา่ กัน

และไดค้ ะแนนมากกวา่ อีก 3 คนทเี่ หลือ ถ้าควอไทลท์ ี่ 1 , มัธยฐาน , ฐานนยิ มและพิสยั ของคะแนนสอบ
ของนักเรยี นกลุ่มนี้เป็น 6 , 8, 5 , 9 และ 6 คะแนนตามลาดบั จงหาความแปรปรวนของคะแนนสอบของ
เดก็ กลุ่มนี้

24. ข้อมลู ประชากร 6 จานวน มีค่ามธั ยฐาน, คา่ กง่ึ กลางพิสยั และค่าสว่ นเบ่ยี งเบนควอไทลเ์ ท่ากบั
33, 29 และ 4.5 ตามลาดับ ถา้ มีจานวน 3 จานวนของข้อมลู ชดุ น้ีมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเปน็ 35 และ
ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานเปน็ 0 แล้ว จงหาสว่ นเบี่ยงเบนเฉลย่ี ของข้อมูลท้ัง 6 จานวนนี้

โครงการอบรมเตรยี มความพรอ้ มสคู่ วามเป็นเลศิ ทางวชิ าการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 31

ตัวอยา่ งโจทยเ์ พ่มิ เติม

25. กาหนดให้ x, y และ z เปน็ จานวนเตม็ บวกซึง่ 1000 x y  z และสอดคลอ้ งกบั สมการ
1  1  1  1  1  1  1  1 แล้วคา่ ของ x y  z เท่ากบั เท่าใด

2 3 7 45 x y z

26. จานวนเฉพาะทมี่ ีคา่ มากท่สี ดุ ซ่ึงเป็นตวั ประกอบของ
1 23  23 4  3 45  . . .  994995 996 เท่ากับเทา่ ใด

โครงการอบรมเตรียมความพรอ้ มสู่ความเปน็ เลิศทางวชิ าการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 32
27. จานวนเต็มบวก n ซงึ่ มคี า่ นอ้ ยทส่ี ดุ ซง่ึ ทาให้ 17n  n ถกู หารดว้ ย 307 มีคา่ เท่ากบั เท่าใด

28. กาหนดให้ a และ b เปน็ จานวนเต็มบวกซ่ึง 43  a  17 แลว้ b มคี า่ น้อยที่สุดเทา่ กบั เท่าใด

197 b 77

โครงการอบรมเตรยี มความพร้อมสูค่ วามเปน็ เลิศทางวิชาการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 33

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
ภาษาไทย

กลมุ่ สาระการเรียนรู้

โครงการอบรมเตรียมความพร้อมสคู่ วามเปน็ เลิศทางวชิ าการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 34

โครงการเตรยี มความพรอ้ มสู่ความเป็นเลศิ
รายวชิ าภาษาไทย

สาระการเรียนรู้แกนกลาง
คาอธิบายรายวชิ ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

โรงเรยี นเตรยี มอดุ มศกึ ษา
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน

พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
ตามหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล

โครงการอบรมเตรียมความพร้อมสูค่ วามเป็นเลิศทางวชิ าการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 35

กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย

ความสาคัญ

ภาษาไทยอยู่คู่ประเทศชาติและคนไทยมานานหลายร้อยปี คนไทยใช้ภาษาไทยในการส่ือสาร การ
สร้างความสัมพันธ์ ความเข้าใจกันในสังคม การค้นคว้าหาความรู้ และประสบการณ์เพ่ือพัฒนาตัวเอง
พัฒนาองค์กร ภาษาไทยทาให้คนไทยอยู่ร่วมกันได้อย่างสงบและสันติ คนไทยใช้ภาษาไทยในการดารงชีวิต
ในการประกอบอาชีพ ประกอบกิจกรรมอื่น ๆ ท่ีทาให้มีชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข นอกจาก
ภาษาไทยจะมเี อกลักษณ์ในตัวเองในด้านความหลากหลายของถอ้ ยคาแล้ว ภาษาไทยยังสร้างเอกลกั ษณ์ให้คน
ไทยและชาติไทยอีกด้วย กล่าวคือ ภาษาไทยเป็นส่ือท่ีแสดงถึงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษที่ได้สร้างสรรค์งาน
ทางด้านวัฒนธรรม ประเพณี และสอดแทรกความนึกคิดที่มีคุณค่าโดยบันทึกเป็นวรรณคดีและวรรณกรรมที่
ควรแกก่ ารศึกษา ภาษาไทยจึงเปน็ มรดกของคนไทยท่ีคนไทยทกุ คนควรหวงแหนไวเ้ ปน็ สมบัติอนั ล้าค่าของเรา

ธรรมชาต/ิ ลักษณะเฉพาะ

ภาษาไทยมีลักษณะท่ัวไปเช่นเดียวกับภาษาอื่นๆ กล่าวคือ เป็นภาษาท่ีใช้ระบบเสียงเพ่ือส่ือ
ความหมาย แต่ในเร่ืองของเสียงนั้น ภาษาไทยมีลักษณะเฉพาะในเรื่องของระดับเสียงสูงต่าของเสียง
วรรณยุกต์ ซ่ึงเป็นส่วนประกอบส่วนหนึ่งของตัวอักษรไทยนอกเหนือไปจากพยัญชนะและสระ นอกจากนี้
ภาษาไทยยังมีการสร้างคาโดยการนาคามารวมกัน มีความหมายหลากหลายของคา หลักเกณฑ์การสร้าง
ประโยคในภาษาไทยชัดเจน การใช้คาต้องเลือกสรรคาที่เหมาะแก่กาลเทศะ และฐานะของบุคคล ภาษามี
การเกิด การตาย มีการเปล่ียนแปลงไปตามสภาพแวดล้อมที่ผันแปรไปตามกระแสสังคมและวัฒนธรรม
การใช้ภาษาให้ถกู ต้องและคล่องแคล่ว ไมว่ ่าจะเปน็ การดู การฟงั การอ่าน หรอื การเขยี นนัน้ ตอ้ งเรยี นรู้หลัก
หรือวิธีการที่ถูกต้อง อาศัยการฝึกฝนอยู่เสมอๆ จนกระทั่งเกิดความชานาญหรือทักษะ นอกจากน้ีการใช้
ภาษายังต้องคานงึ ถงึ มารยาทและคุณธรรมต่างๆ อกี ดว้ ย

โครงการอบรมเตรยี มความพร้อมสคู่ วามเปน็ เลศิ ทางวชิ าการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 36

คุณภาพผ้เู รยี น

คุณภาพของผเู้ รยี นวิชาภาษาไทย เมอ่ื จบช่วงช้นั ที่ 4
1. ฟังได้ ฟังเป็น และรูจ้ ักเลอื กฟงั สารทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ อ่ ตนเอง
2. ใช้วิจารณญาณในการฟัง จับประเด็นเร่ืองท่ีฟังได้อย่างถูกต้อง วิเคราะห์ วิจารณ์เรื่องท่ีฟังได้

อยา่ งมีเหตผุ ล
3. เลือกดูส่ือตา่ งๆ ท่เี ปน็ ประโยชนต์ ่อตนเอง และนาสง่ิ ทีด่ ูนน้ั มาประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวัน
4. รู้จักเลือกอ่านหนังสือหรือส่ือเอกสารอ่ืนๆ ท่ีมีคุณค่า ตีความ แปลความได้ถูกต้อง

รจู้ ักใช้วิจารณญาณในการอ่าน วเิ คราะหว์ จิ ารณเ์ ร่ืองทอี่ า่ นไดอ้ ย่างสมเหตุสมผล
5. พูดในโอกาสต่างๆ ท้ังท่ีเป็นทางการและไม่เป็นทางการได้ เช่น การพูดสนทนา การพูดต่อหน้า

ประชุมชน
6. พดู ไดต้ รงตามจุดประสงค์ เชน่ การพดู เล่าเรอื่ ง พดู แสดงความคิดเหน็ พดู อธบิ าย พูดโน้มนา้ ว

ใจ
7. เขยี นรายงานเชงิ วิชาการ โดยเขยี นอ้างองิ ข้อมูลบรรณานกุ รมและสารสนเทศได้ถกู ต้อง
8. เขียนเชิงสร้างสรรค์ เช่น การเขียนเรียงความ บทความ การเขียนอภิปรายแสดงทรรศนะ

การเขียนอธิบาย การเขียนบรรยาย การเขียนพรรณนา และการเขียนอ่ืนๆ ได้ตรงตาม
จุดประสงค์
9. เขยี นบทร้อยกรองได้ตามศกั ยภาพ ทั้ง โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน รา่ ย
10. ใช้ภาษาในการส่ือสารได้ตามความต้องการอย่างมีประสิทธิภาพ มีมารยาทในการส่ือสาร
ตามสากลนิยม
11. เขา้ ใจหลักเกณฑก์ ารใช้ภาษาไทย และนาไปใชไ้ ดใ้ นชีวิตประจาวนั อยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม
12. ใชภ้ าษาไทยเป็นเครอื่ งมอื ศึกษาคน้ ควา้ ความรู้ในสาขาวิชาตา่ งๆ เพือ่ พัฒนาตนเองและสังคม
13. เข้าใจวรรณคดีและวรรณกรรมแต่ละยุค ด้านประวัติและจุดมุ่งหมายการแต่ง รู้จักเลือกอ่าน
วรรณกรรมท่ีมคี ณุ คา่ และวิเคราะห์วจิ ารณ์ตามหลักเกณฑก์ ารวิจารณว์ รรณคดเี บ้ืองตน้ ได้
14. สนใจศึกษาวรรณกรรมพ้ืนบ้าน ภาษาถ่ิน สานวน สุภาษิต วิเคราะห์คุณค่าด้านภาษา
และสังคม รู้สึกซาบซึ้งสะเทือนอารมณ์ เกิดสุนทรียภาพ เม่ือรับสารท่ีมีพลังของภาษา
และมีคุณค่าความงามด้านวรรณศิลป์

โครงการอบรมเตรียมความพร้อมสู่ความเป็นเลิศทางวชิ าการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 37

ตวั ช้วี ัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

สาระท่ี 1 การอ่าน

มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหาในการ
ดาเนนิ ชีวิต และมนี ิสยั รกั การอ่าน

สาระที่ 2 การเขียน

มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเร่ืองราวใช้
รูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมี
ประสิทธภิ าพ

สาระท่ี 3 การฟัง การดู และการพูด

มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และ
ความรู้สึกในโอกาสตา่ ง ๆ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์

สาระที่ 4 หลักการใชภ้ าษาไทย

มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลัง
ของภาษา ภูมิปัญญา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบตั ขิ องชาติ

สาระที่ 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม

มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า
และนามาประยกุ ต์ใช้ในชีวิตจริง

โครงการอบรมเตรียมความพรอ้ มสคู่ วามเป็นเลิศทางวิชาการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 38

คาอธบิ ายรายวชิ าภาษาไทย

ท 31101 ภาษาไทย 1 ภาคเรียนท่ี 1
ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 4 เวลา 40 ชว่ั โมง
จานวน 1 หนว่ ยกิต

ศึกษาสาระสาคัญเร่ืองการเพ่ิมคา การส่ือสารของมนุษย์ การรับสารด้วยการอ่าน อ่านเพื่อพัฒนา
ตน ส่งสารด้วยการอ่าน ส่งสารด้วยการเขียน ผังมโนภาพ โวหารภาพพจน์ วรรณศิลป์ รสวรรณคดี
การอ่านวรรณคดี เรื่องอิเหนาตอนศึกกะหมงั กหุ นิง นิทานเวตาลเรือ่ งที่ 10 ทุกข์ของชาวนาในบทกวี
ประวตั ิวรรณคดีสมัยสุโขทัย ศกึ ษาวรรณกรรมท้องถิน่ เรื่องสมบัติของผ้ดู ีและมารยาทเลม่ น้อย

โดยใชท้ กั ษะกระบวนการทางด้านภาษา การฟงั การพดู การอา่ น การเขียน และการสบื ค้นข้อมูล
มีทักษะในการใชภ้ าษาไทย ศึกษาค้นควา้ ความรู้ และทฤษฎีความรเู้ ก่ียวกบั ภาษาไทยและวรรณกรรมของไทย
เปรียบเทียบกับความเป็นจริง สามารถใช้ภาษาเขียนที่ถูกต้องตามหลักภาษา สามารถถ่ายทอดความคิดใน
การเขียนรายงาน การเขียนความเรียงขั้นสูงและสร้างโครงงานที่สามารถปฏิบัติได้จริงอันเป็นประโยชน์ต่อ
ตนเอง ต่อผู้อ่ืน รวมทั้งสังคมด้วย และมีมารยาทในการฟัง พูด อ่าน เขียน สามารถพิจารณารูปลักษณ์
ของคาและคาภาษาต่างประเทศ รวมทั้งภาษาถิ่น วิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากสิ่งพิมพ์หรือส่ือ
อิเล็กทรอนิกส์ และประเมินแนวคิดการใช้ถ้อยคาสานวนโวหาร กลวิธีในการเขียนของผู้อื่นมาพัฒนางาน
เขียนของตนเองได้ มีความสามารถในการเขียนและนาถ้อยคามาเรียบเรียงได้ถูกต้องตามหลักการเขียน
ตรงตามวัตถุประสงค์ สามารถอ่านออกเสียงร้อยแก้วและร้อยกรองได้อย่างถูกต้องไพเราะ อ่านแปลความ
ขยายความ ตีความ วิเคราะห์วิจารณ์เรื่องท่ีอ่านได้อย่างมีเหตุผลและจับประเด็นสาคัญของเรื่องที่อ่านได้
เห็นคุณค่าของบทร้อยกรองที่กาหนดท่องเป็นบทอาขยาน วิเคราะห์กลวิธีในการแต่ง จุดมุ่งหมาย
ความไพเราะในดา้ นวรรณศิลป์ ภาพพจน์ รส วรรณคดขี องวรรณคดี และวรรณกรรมท่ีศึกษารวมทั้งวเิ คราะห์
ลักษณะเด่น ข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติและนามา
ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจาวันได้ ผู้เรียนมศี กั ยภาพเปน็ พลโลกท่ีดี

โครงการอบรมเตรยี มความพร้อมส่คู วามเป็นเลิศทางวชิ าการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 39

ท 31102 ภาษาไทย 2 ภาคเรยี นที่ 2
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เวลา 40 ช่วั โมง
จานวน 1 หนว่ ยกติ

ศึกษาสาระสาคัญเร่ือง การออกเสียงคา การสะกดคา การใช้คา รับสารด้วยการฟัง ส่งสาร
ด้วยการพดู การส่งสารเพ่ือกจิ ธุระ การคน้ คว้าหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต เรยี งความเรอ่ื งเก่ียวกับโลกส่วนตัว
ฝึกแต่งบทร้อยกรอง หัวใจชายหนุ่ม โคลงนิราศนรินทร์ มงคลสูตรคาฉันท์ บทนมัสการมาตาปิตุคุณ
และอาจาริยคณุ ประวัตวิ รรณคดีสมยั กรุงศรีอยธุ ยาตอนตน้ ศึกษาวรรณกรรมท้องถ่นิ เร่อื งหางวา่ ว

โดยใช้ทักษะกระบวนการทางด้านภาษา การฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และการสืบค้นข้อมูล
ศึกษาค้นคว้าความรู้ และทฤษฎีความรู้เก่ียวกับภาษาไทยและวรรณกรรมของไทยเปรียบเทียบกับความเป็น
จริง สามารถถ่ายทอดความคิดในการเขียนรายงานการเขียนความเรียงขั้นสูงและสร้างโครงงานท่ีสามารถ
ปฏบิ ตั ิได้จรงิ อันเป็นประโยชนต์ ่อตนเอง ตอ่ ผอู้ ืน่ รวมทั้งสงั คมด้วย มีมารยาทในการเขยี น เขยี นโวหารรอ้ ย
แก้วในรูปแบบต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ เขียนสะกดคา อ่านออกเสียงคาและสามารถใช้คาได้ถูกต้อง
ตรงตามความหมาย ใช้ถ้อยคาในการเรียบเรียงสานวนโวหารและกลวิธีในการเขียนได้ถูกต้องตามหลักการ
เขียนและสาระสาคัญชัดเจน มมี ารยาทในการฟัง การดู และการพูด มวี จิ ารณญาณในการเลือกเร่ืองท่ีจะฟัง
และดูเพ่ือนาแนวทางมาใช้ประยุกต์ในการดาเนินชีวิต สามารถพูดต่อประชุมชนในโอกาสต่างๆ มี
ความสามารถในการแต่ง โคลงสี่สุภาพและคาประพันธ์ชนิดอื่นๆ นาข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมมา
ปรบั ใชก้ ับชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ทักษะการฟัง การอ่าน การพูด และ การเขียน
มาใช้ติดต่อสื่อสารกับบุคคลต่างๆได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความภาคภูมิใจในภูมิปัญญาไทย และวิถีชีวิต
ไทยอย่างแทจ้ ริง ผ้เู รียนมีศักยภาพเปน็ พลโลกทด่ี ี

ท 30201 ประวัตวิ รรณคดี 1 ภาคเรยี นท่ี 1
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 เวลา 40 ชัว่ โมง
จานวน 1 หนว่ ยกติ

ศึกษาความหมายของวรรณคดีและวรรณกรรม วิวัฒนาการของวรรณคดีและวรรณกรรม
ปัจจัยแวดล้อมที่ทาให้เกิดวรรณคดี ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์กับความเจริญ
และความเส่ือมของวรรณคดี ศึกษาประวัติของวรรณคดีสาคญั ในสมัยกรงุ สโุ ขทัยและสมัยกรงุ ศรีอยุธยา

โดยใช้ทักษะกระบวนการอ่าน การเขียน การฟัง การดู การพูด และการสืบค้นข้อมูลเพ่ือให้เกิด
ความรูค้ วามเขา้ ใจถึงวถิ ีชีวิตและสภาพสังคมของคนไทยในอดีต มนี ิสยั รกั การอ่านและการเขยี น มีค่านิยมท่ีดี
ต่อวรรณคดีไทย มีความภูมใิ จในความเปน็ ไทย รู้สึกรกั และหวงแหนวรรณคดซี ึง่ เปน็ สมบัติลา้ ค่าของชาติ

โครงการอบรมเตรียมความพร้อมสคู่ วามเป็นเลิศทางวชิ าการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 40

ท 30202 ประวัติวรรณคดี 2 ภาคเรียนท่ี 2
ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 เวลา 40 ชัว่ โมง
จานวน 1 หน่วยกิต

ศึกษาประวัติของวรรณคดีที่สาคัญในสมัยกรุงธนบุรี และสมัยรัตนโกสินทร์ รวมถึงวรรณกรรม
ปัจจุบัน ให้ทราบถึงปัจจยั แวดลอ้ มท่ีทาให้เกิดวรรณคดี ความสัมพันธร์ ะหวา่ งเหตกุ ารณท์ างประวตั ิศาสตร์กับ
ความเจรญิ และความเสื่อมของวรรณคดี

โดยใช้ทักษะกระบวนการอ่าน การเขียน การฟัง การดู การพูด และการสืบค้นข้อมูลเพ่ือให้เกิด
ความรู้ความเขา้ ใจถึงวิถีชวี ิตและสภาพสังคมของคนไทยในอดตี มนี สิ ยั รกั การอา่ นและการเขียน มคี ่านิยมท่ีดี
ต่อวรรณคดีไทย มคี วามภูมใิ จในความเปน็ ไทย รู้สกึ รกั และหวงแหนวรรณคดีซึง่ เป็นสมบัติลา้ ค่าของชาติ

ท 32101 ภาษาไทย 3 ภาคเรียนที่ 1
ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 เวลา 40 ช่วั โมง
จานวน 1 หน่วยกิต

ศึกษาสาระสาคัญเรื่องความเกี่ยวข้องระหว่างวัฒนธรรมกับภาษา ส่วนประกอบของภาษา คุณธรรม
และมารยาทในการส่ือสาร การพูดต่อประชุมชน การถามและการตอบ การอ่านวรรณคดี การพิจารณา
คุณค่าด้านวรรณศิลป์ และด้านสังคมของวรรณคดเี ร่ืองลิลิตตะเลงพ่าย บทละครพูดคาฉันท์เรื่องมัทนะพาธา
บทร้อยกรองเร่ืองสมเด็จพระปิยมหาราช โดยใช้ทักษะกระบวนการทางด้านภาษา การฟัง การพูด การอ่าน
การเขียน และการสืบค้นข้อมูล เพื่อให้เห็นความสาคัญของภาษาไทย และมีทักษะการใช้ภาษา ศึกษา
ค้นคว้าความรู้ และทฤษฎีความรู้เก่ียวกับภาษาไทยและวรรณกรรมของไทยเปรียบเทียบกับความเป็นจริง
สามารถใช้ภาษาเขียนที่ถูกต้องตามหลักภาษา สามารถถ่ายทอดความคิดในการเขียนรายงานการเขียนความ
เรียงข้ันสูงและสร้างโครงงานที่สามารถปฏิบัติได้จริงอันเป็นประโยชน์ต่อตนเองต่อผู้อื่น รวมทั้งสังคมด้วย
สามารถถาม-ตอบอย่างมีคุณธรรม และมีมารยาทในการฟัง อ่าน เขียน พูดต่อหน้าประชุมชนได้หลาย
รูปแบบ ตระหนักในคุณค่าและความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรม สามารถอ่านบทร้อยกรองได้อย่าง
ถูกต้อง ไพเราะ และเหมาะสมกับเร่ืองที่อ่าน วิเคราะห์สานวนโวหารภาพพจน์ และคุณค่าท่ีได้รับจากการ
อ่านแสดงความคิดเห็นและวิเคราะห์แนวคิดจากเร่ืองท่ีได้ฟังหรืออ่านได้ มีความสามารถในการแต่งร่าย
มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ มีนิสัยรัก การอ่าน และมีรสนิยมในการเลือกอ่านหนังสือผู้เรียนมีศักยภาพ
เปน็ พลโลกท่ดี ี

โครงการอบรมเตรียมความพร้อมสคู่ วามเป็นเลิศทางวิชาการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 41

ท 32102 ภาษาไทย 4 ภาคเรียนที่ 2

ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 5

จานวน 1 หน่วยกิต เวลา 40 ช่วั โมง

ศึกษาสาระสาคัญเรื่อง การเขียนเชิงวิชาการ เขียนเชิงกิจธุระ เรียงความเกี่ยวกับเร่ือง

ของโลกสาธารณะ วิธีสื่อสารในที่ประชุม การฟังและการอ่านให้เกิดวิจารณญาณ ความคิดกับภาษา

คาและสานวน การอ่านวรรณคดีร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี ฉันทศาสตร์แพทยศาสตร์สงเคราะห์

ความนยิ มเปน็ เสมียน

โดยใชท้ กั ษะกระบวนการทางด้านภาษา ฟัง พูด อ่าน เขยี น การสืบค้นข้อมลู ภาษา ศกึ ษาค้นคว้า

ความรู้ และทฤษฎีความรู้เกี่ยวกับภาษาไทยและวรรณกรรมของไทยเปรียบเทียบกับความเป็นจริง สามารถใช้

ภาษาเขียนที่ถูกต้องตามหลักภาษา สามารถถ่ายทอดความคิดในการเขียนรายงานการเขียนความเรียงข้ันสูง

และสร้างโครงงานท่สี ามารถปฏบิ ัตไิ ดจ้ ริงอันเป็นประโยชน์ต่อตนเอง ตอ่ ผูอ้ น่ื รวมทงั้ สังคมด้วย สามารถเขียน

ส่ือสารได้ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ภาษาเรียบเรียงได้ถูกต้อง มีข้อมูลและสาระสาคัญชัดเจน เขียน

รายงานการศึกษาค้นคว้าเร่ืองท่ีสนใจตามหลักการเขียนเชิงวิชาการ และใช้ข้อมูลสารสนเทศอ้างอิงได้อย่าง

ถูกต้อง สามารถฟังและอ่านได้อย่างมีวิจารณญาณ ตระหนักถึงความสาคัญของการฝึกคิด และคิดไปในทาง

สร้างสรรค์ โดยใช้ภาษาเป็นเครื่องมือ รู้จักคิดอย่างมีเหตุผล ใช้คาได้ถูกต้อง เหมาะสมกับกาลเทศะและ

บคุ คล และร้จู ักใช้คาท่ีมีความหมายนัยตรง และความหมายโดยนยั รวมทั้งรจู้ ักใช้สานวนไทยได้อยา่ งถูกต้อง

เหมาะสม รู้จักเลือกอ่านหนังสืออย่างหลากหลาย นาเรื่องที่อ่านมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน และศึกษา

วรรณกรรมของภูมิปัญญาท้องถ่ินด้วยความภูมิใจ วิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดีท่ีสะท้อนวิถีชีวิต

ของสังคมไทย และวิเคราะห์ข้อคิดท่ีได้จากการศึกษาวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อนามาประยุกต์ใช้ใน

ชีวติ ประจาวัน ผ้เู รียนมีศกั ยภาพเป็นพลโลกทดี่ ี

ท 30203 วรรณคดีมรดก 1 ภาคเรียนท่ี 1

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 5

จานวน 1 หน่วยกติ เวลา 40 ชวั่ โมง

ศึกษาหลักการวิจารณ์วรรณคดีเบ้ืองต้น และนามาใช้ศึกษาวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีมรดก

เร่ืองรามเกียรติ์ รัชกาลที่ ๑ ขุนช้างขุนแผน อิเหนา และพระอภัยมณี ด้านประวัติผู้แต่ง จุดมุ่งหมายการ

แต่ง รูปแบบคาประพันธ์ การดาเนินเรื่อง เน้ือเรื่อง โครงเร่ือง ตัวละคร ฉาก กลวิธีการแต่ง การใช้คา

การใช้กวีโวหาร รสวรรณคดี ทัศนะของผู้แต่ง องค์ประกอบของวรรณศิลป์ คุณค่าของวรรณคดีด้านเน้ือ

เร่อื ง ดา้ นวรรณศลิ ป์ ด้านสังคมและวฒั นธรรม ศึกษาคน้ ควา้ ความรแู้ ละทฤษฎีความรเู้ กีย่ วกับภาษาไทยและ

วรรณกรรมไทยเปรียบเทยี บกับความเป็นจรงิ

โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการอ่านเพ่ือความเข้าใจ การอ่านวิเคราะห์ การอ่านอย่างมี

วิจารณญาณ การค้นหาความรู้และข้อมูล การอภิปรายตามประเด็นต่างๆ เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด

ความเขา้ ใจ การนาไปใช้ การเขียนแสดงความรู้สึก ความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์ ประเมนิ ค่าวรรณคดีท่ีอ่านได้

อย่างมีเหตุผล เห็นคุณค่าของวรรณคดีด้านความงดงามของภาษา และด้านให้ความรู้เร่ืองราวของสังคมไทย

วิถีชีวิตไทย ข้อคิด คติธรรม ความเชื่อ ค่านิยมของคนไทยในอดีต จดจาคาประพันธ์ นาข้อคิด คติธรรม

โครงการอบรมเตรียมความพร้อมส่คู วามเปน็ เลศิ ทางวชิ าการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 42

เหตุการณ์จากวรรณคดี มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม
ผู้เรียนมศี ักยภาพเป็นพลโลกท่ีดี

ท 30204 วรรณคดีมรดก 2 ภาคเรยี นท่ี 2
ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 5 เวลา 40 ชั่วโมง
จานวน 1 หน่วยกิต

ศึกษาหลักการวิจารณ์วรรณคดีเบ้ืองต้นและนามาใช้ศึกษาวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีมรดกเรื่องนิราศ
เมืองแกลง นิราศภูเขาทอง อิลราชคาฉันท์ ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก ด้านประวัติผู้แต่ง จุดมุ่งหมายการ
แต่ง รูปแบบคาประพันธ์ การดาเนินเรื่อง เน้ือเรื่องและโครงเร่ือง แนวคิด ตัวละคร ฉาก กลวิธีการแต่ง
การใช้คา การใช้กวีโวหาร รสวรรณคดี ทัศนะของผู้แต่ง องค์ประกอบของวรรณศิลป์ คุณค่าของวรรณคดี
ด้านเน้ือเร่ือง ด้านวรรณศิลป์ ด้านสังคมและวัฒนธรรม ศึกษาค้นคว้าความรู้และทฤษฎีความรู้เก่ียวกับ
ภาษาไทยและวรรณกรรมไทยเปรียบเทยี บกบั ความเป็นจริง

โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการอ่านเพ่ือความเข้าใจ การอ่านวิเคราะห์ การอ่านอย่างมี
วิจารณญาณ การค้นหาความรู้และข้อมูล การอภิปรายตามประเด็นต่างๆ เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด
ความเขา้ ใจ การนาไปใช้ การเขยี นแสดงความรู้สึก ความคดิ เหน็ เชิงวิเคราะห์ ประเมินค่าวรรณคดีที่อ่านได้
อย่างมีเหตุผล เห็นคุณค่าของวรรณคดีด้านความงดงามของภาษา และด้านให้ความรู้เรื่องราวของสังคมไทย
วิถีชีวิตไทย ข้อคิด คติธรรม ความเช่ือ ค่านิยมของคนไทยในอดีต จดจาคาประพันธ์ นาข้อคิด คติธรรม
เหตุการณ์จากวรรณคดี มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม
ผ้เู รยี นมีศักยภาพเปน็ พลโลกที่ดี

ท 33101 ภาษาไทย 5 ภาคเรียนท่ี 1
ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 เวลา 40 ชวั่ โมง
จานวน 1 หน่วยกิต

ศึกษาวิเคราะห์พันธกิจของภาษา ธรรมชาติของภาษา อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถ่ิน
การเปลี่ยนแปลงของภาษา ระดับภาษา ราชาศัพท์ การอธิบาย บรรยาย พรรณนา ใช้ภาษาให้งดงาม
ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับความคิด เรียงความ เหตุผลกับภาษา ภาษาแสดงทรรศนะ ภาษาเพ่ือการ
โต้แย้ง ภาษาเพ่ือโน้มนา้ วใจ คุณค่าด้านวรรณศิลป์ และคุณค่าด้านสังคมเร่ืองกาพย์เห่เรือ สามก๊ก ขุนช้าง
ขนุ แผน

โดยใช้ทักษะกระบวนการอ่าน การเขียน การฟัง การดู การพูด และการสืบค้นข้อมูล ศึกษา
ค้นคว้าความรู้ และทฤษฎีความรู้เก่ียวกับภาษาไทยและวรรณกรรมของไทยเปรียบเทียบกับความเป็นจริง
สามารถใช้ภาษาเขียนท่ีถูกต้องตามหลักภาษา สามารถถ่ายทอดความคิดในการเขียนรายงานการเขียนความ
เรียงข้ันสูงและสร้างโครงงานที่สามารถปฏิบัติได้จริงอันเป็นประโยชน์ต่อตนเอง ต่อผู้อ่ืน รวมทั้งสังคมด้วย
เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจภาษา สามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ มี
ความสามารถในการตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดาเนินชีวิต มีนิสัยรักการอ่าน มีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
เห็นคุณค่าของการนาความรู้มาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มีจิตสาธารณะ

โครงการอบรมเตรยี มความพร้อมสคู่ วามเปน็ เลศิ ทางวิชาการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 43

จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม รักษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบัตขิ องชาติ ผู้เรียนมีศักยภาพเป็นพล

โลกที่ดี

ท 33102 ภาษาไทย 6 ภาคเรยี นท่ี 2

ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6

จานวน 1 หนว่ ยกิต เวลา 40 ช่ัวโมง

ศึกษาวเิ คราะหพ์ ลังของภาษา ภาษากบั วฒั นธรรม บทความ สารคดี ขา่ วสารจากสอื่ อิเล็กทรอนิกส์
หลักการวิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดี วรรณกรรมเบื้องต้น การแต่งฉันท์ชนิดต่าง ๆ สามัคคีเภทคาฉันท์
ไตรภมู ิพระรว่ ง ประวตั วิ รรณคดสี มัยรชั กาลท่ี 1 ถงึ รัชกาลท่ี 6

โดยใช้ทักษะกระบวนการอ่าน คิด วิเคราะห์ กระบวนการเขียน ส่ือสาร การสืบค้นข้อมูล การฟัง
การดู และการอภิปราย ศึกษาค้นคว้าความรู้ และทฤษฎีความรู้เก่ียวกับภาษาไทยและวรรณกรรมของไทย
เปรียบเทียบกับความเป็นจริง สามารถใช้ภาษาเขียนท่ีถูกต้องตามหลักภาษา สามารถถ่ายทอดความคิดใน
การเขียนรายงานการเขียนความเรียงข้ันสูงและสร้างโครงงานท่ีสามารถปฏิบัติได้จริงอันเป็นประโยชน์ต่อ
ตนเอง ต่อผู้อื่น รวมท้ังสังคมด้วย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถส่ือสารส่ิงท่ีเรียนรู้ได้
เหมาะสมแก่โอกาส กาลเทศะ และบุคคล มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไป
ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มีจิตสาธารณะ คุณธรรม จริยธรรม และ
ค่านยิ มอนั พึงประสงค์ รักษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบตั ิของชาติ ผู้เรียนมีศกั ยภาพเปน็ พลโลกทด่ี ี

ท 30205 หลกั ภาษาไทย ภาคเรียนท่ี 1
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 เวลา 40 ชัว่ โมง
จานวน 1 หนว่ ยกติ

ศึกษาหลักภาษาไทยโดยแบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 ตอน คือ ตอนท่ี 1 ลักษณะภาษาไทย เป็นเรื่อง
ความรู้เก่ียวกับภาษา ลักษณะภาษาไทย ระบบเสียงในภาษาไทยและอักษรไทย และการเขียนคาใน
ภาษาไทย ตอนที่ 2 การเพิ่มคาในภาษาไทย เปน็ เร่อื งการยมื คาภาษาอื่นมาใชใ้ นภาษาไทย การนาวธิ กี ารของ
ภาษาอื่นมาใช้ในการเพิ่มคา การสร้างคาไทยและการบัญญัติศัพท์ ตอนท่ี 3 ชนิดของคา การวิเคราะห์คา
กลุ่มคา ประโยคและการใช้ถ้อยคา การวิเคราะห์กลุ่มคาและประโยค เนื้อหาของแต่ละบทจะช้ีให้เห็นถึงการ
วิเคราะห์การใชภ้ าษา เพอ่ื ใหเ้ ข้าใจหลักภาษาและการนาไปใช้ได้อย่างถูกตอ้ ง

โดยใช้ทักษะกระบวนการอ่าน การเขียน การฟัง การดู การพูด และการสืบค้นข้อมูล เพื่อให้นักเรียน
สามารถอธิบายธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา และลักษณะของภาษา, สามารถใช้คา และกลุ่มคาสร้าง
ประโยคตรงตามวัตถุประสงค์, สามารถใช้ภาษาเหมาะสมแกโ่ อกาส กาลเทศะ และบคุ คล รวมทงั้ คาราชาศัพท์
อย่างเหมาะสม, สามารถแต่งบทร้อยกรอง, สามารถวิเคราะห์อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น,
สามารถอธิบายและวเิ คราะหห์ ลักการสรา้ งคาในภาษาไทย, สามารถวิเคราะห์และประเมินการใชภ้ าษาจากส่ือ
ส่ิงพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์, สามารถใช้ภาษาเขียนที่ถูกต้องตามหลักภาษา, สามารถถ่ายทอดความคิดใน
การเขียนรายงาน การเขียนเรียงความขนั้ สูง ผเู้ รียนมศี ักยภาพเป็นพลโลกท่ีดี

โครงการอบรมเตรียมความพรอ้ มส่คู วามเป็นเลศิ ทางวชิ าการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 44

ท 30206 การเขยี น ภาคเรียนที่ 2
ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 เวลา 40 ช่ัวโมง
จานวน 1 หนว่ ยกติ

ศึกษาและฝึกฝนทักษะการเขียนตามรปู แบบต่าง ๆ โดยแบ่งเน้ือหาเปน็ 3 ตอน คอื ตอนที่ 1 วา่ ดว้ ย
หลักการเขียน และความรู้พื้นฐานประกอบการเขียน ได้แก่ การสะกด และระดับของภาษา, คา ประโยค
และย่อหน้า, โวหาร และท่วงทานองการเขียน ตอนท่ี 2 ว่าด้วยการเขยี นตามรปู แบบตา่ ง ๆ ได้แก่ การเขียน
ประกาศ, การเขียนจดหมาย, การเขียนย่อความ, การเขียนบันทึก, การเขียนเรียงความ, และการเขียน
รายงานเชิงวชิ าการ ตอนที่ 3 วา่ ด้วยการเขียนรอ้ ยกรอง ได้แก่ กาพย์, กลอนสุภาพ, โคลงสี่สุภาพ, และฉนั ท์

โดยใช้ทักษะกระบวนการอ่าน การเขียน การฟัง การดู การพูด และการสืบค้นข้อมูล เพื่อให้นักเรียน
สามารถเขียนสื่อสารในรูปแบบต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ภาษาเรียบเรียงถูกต้อง มีข้อมูล และ
สาระสาคัญชัดเจน, สามารถเขียนเรียงความ, สามารถใช้ภาษาเขียนที่ถูกต้องตามหลักภาษา, สามารถ
ถ่ายทอดความคิดในการเขียนรายงาน การเขียนเรียงความขั้นสูง, สามารถเขียนย่อความจากส่ือท่ีมีรูปแบบ
และเน้ือหาหลากหลาย, สามารถผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบต่างๆ, สามารถประเมินงานเขียนของ
ผู้อ่ืนแล้วนามาพัฒนางานเขียนของตนเอง, สามารถเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่องท่ีสนใจตามหลักการ
เขียนเชิงวิชาการ และใช้ข้อมูลสารสนเทศอ้างอิงอย่างถูกต้อง, สามารถบันทึกการศึกษาค้นคว้าเพื่อนาไป
พฒั นาตนเองอยา่ งสมา่ เสมอ, และมีมารยาทการเขียน ผเู้ รยี นมีศักยภาพเปน็ พลโลกทีด่ ี

ท 30291 เพ่มิ พนู ประสบการณ์ 1 ภาคเรยี นที่ 1
ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 เวลา 40 ชัว่ โมง
จานวน 1 หน่วยกติ

การพฒั นาผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษด้านภาษาไทยในระดบั ท่ียากและลึกซ้งึ กว่าหลักสูตรปกติโดย
เน้นกระบวนการฝึกทักษะจากประสบการณ์ตรงทั้งการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน รวมท้ังการคิด
วิเคราะห์ การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง มีการวางแผนการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ สามารถนามาใช้ให้เป็น
ประโยชน์ตอ่ ตนเองและสงั คม ผู้เรยี นมีศกั ยภาพเป็นพลโลกท่ดี ี

ผลการเรียนรู้
เม่ือผู้เรียนจบหลักสูตรลดระยะเวลาเรียนและหลักสูตรเพ่ิมพูนประสบการณ์ในเวลา 4 ภาคเรียน
หลกั สตู รนม้ี ุ่งเนน้ ใหผ้ เู้ รยี นมีคุณภาพ ดงั นี้
1. มีความสามารถในการฟัง รู้จักเลือกฟังสารท่ีเป็นประโยชน์ต่อตนเอง ใช้วิจารณญาณในการฟัง

สามารถจับประเดน็ เร่อื งทฟี่ งั ได้อย่างถูกต้อง วิเคราะห์ วจิ ารณเ์ ร่อื งทฟ่ี ังไดอ้ ย่างมีเหตผุ ล
2. เลือกดูส่ือต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อตนเอง สามารถนาส่ิงท่ีดูนั้นมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน

ได้ รู้จักเลือกอ่านหนังสือหรือสื่อเอกสารอ่ืน ๆ ท่ีมีคุณค่า สามารถพัฒนาความเร็วในการอ่าน

โครงการอบรมเตรียมความพรอ้ มสคู่ วามเปน็ เลศิ ทางวชิ าการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 45

สามารถตีความ แปลความได้ถกู ต้อง รู้จักใชว้ จิ ารณญาณในการอ่านวิเคราะห์วิจารณ์เรื่องที่อ่าน
ได้อยา่ งสมเหตสุ มผล
3. มีความสามารถในการพูดในโอกาสต่าง ๆ ท้ังท่ีเป็นทางการและไม่เป็นทางการ การพูดสนทนา
การพูดตอ่ หน้าประชมุ ชน พดู เพ่ือนาเสนอผลงาน สามารถพดู ไดต้ รงตามจดุ ประสงค์
4. มีความสามารถในการเขียนเชิงวิชาการประเภทต่าง ๆ การเขียนเชิงสร้างสรรค์ เขียนร้อยกรอง
และเขียนประเภทอ่นื ๆ ได้ สามารถใช้ทักษะการเขยี นไปใช้ในประโยชน์ด้านตา่ งๆได้
5. เข้าใจหลักเกณฑ์การใช้ภาษาไทย สามารถใช้ภาษาในการส่ือสารได้ตามความต้องการอย่างมี
ประสิทธิภาพ มีมารยาทในการส่ือสารตามสากลนิยม สามารถใช้ภาษาไทยเป็นเคร่ืองมือใน
การศึกษาค้นคว้าความร้แู ขนงตา่ ง ๆ เพื่อพัฒนาตนเองและสังคม
6. เข้าใจวรรณคดีและวรรณกรรมในแต่ละยุค วรรณคดีมรดก วรรณกรรมพ้ืนบ้าน ภาษาถิ่น
สานวนภาษิต และสามารถวิเคราะห์วิจารณ์ตามหลักเกณฑ์ท่ีถูกต้องได้ มีความรู้สึกซาบซ้ึง
สะเทือนอารมณ์ เกิดสนุ ทรยี ภาพเมือ่ รับสารทีม่ คี วามงดงามทางภาษาและมคี ุณคา่ ทางวรรณศิลป์
7. มีความสามารถทางการคิด ไดแ้ ก่ คิดเชงิ โครงสรา้ ง คดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ คิดอยา่ งสรา้ งสรรค์
คดิ อยา่ งเอือ้ อาทร เปน็ ต้น
8. มีความฉลาดทางอารมณ์ ได้แก่ การเห็นคุณค่าในตนเอง ความสามารถในการควบคุมอารมณ์
มที ักษะทางสงั คม และความสามารถในการควบคุมความเครียด
9. มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มคี วามเออ้ื เฟือ้ เผ่อื แผต่ อ่ เพ่ือนร่วมงานและผู้อน่ื เหน็ อกเหน็ ใจและพร้อม
ทจี่ ะใหค้ วามชว่ ยเหลอื เพ่ือนมนุษย์
10. มีหลักการในการเรียนรู้ รู้จักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง มีการวางแผนการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ
สามารถนาผลการเรียนรู้มาใช้เปน็ ประโยชนต์ ่อตนเองและสังคมได้

ท 30292 เพ่ิมพนู ประสบการณ์ 2 ภาคเรียนท่ี 1
ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 5 เวลา 40 ชว่ั โมง
จานวน 1 หนว่ ยกิต

การพัฒนาผ้เู รียนท่ีมคี วามสามารถพิเศษดา้ นภาษาไทยในระดบั ท่ียากและลึกซ้งึ กว่าหลักสูตรปกติโดย
เน้นกระบวนการฝึกทักษะจากประสบการณ์ตรงทั้งการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน รวมท้ังการคิด
วิเคราะห์ การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง มีการวางแผนการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ สามารถนามาใช้ให้เป็น
ประโยชนต์ ่อตนเองและสังคม ผเู้ รยี นมศี กั ยภาพเป็นพลโลกทด่ี ี

ผลการเรยี นรู้
เม่ือผู้เรียนจบหลักสูตรลดระยะเวลาเรียนและหลักสูตรเพิ่มพูนประสบการณ์ในเวลา 4 ภาคเรียน
หลกั สูตรนม้ี ุง่ เน้นใหผ้ ู้เรียนมีคุณภาพ ดงั น้ี
1. มีความสามารถในการฟัง รู้จักเลือกฟังสารท่ีเป็นประโยชน์ต่อตนเอง ใช้วิจารณญาณในการฟัง

สามารถจับประเด็นเรือ่ งทฟ่ี ังได้อยา่ งถูกต้อง วิเคราะห์ วิจารณเ์ ร่อื งที่ฟงั ไดอ้ ยา่ งมีเหตผุ ล
2. เลือกดูส่ือต่างๆท่ีเป็นประโยชนต์ ่อตนเอง สามารถนาส่งิ ที่ดนู ้ันมาประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวันได้

รู้จักเลือกอ่านหนังสือหรือสื่อเอกสารอ่ืน ๆ ที่มีคุณค่า สามารถพัฒนาความเร็วในการอ่าน
สามารถตคี วาม แปลความได้ถูกต้อง รู้จกั ใช้วจิ ารณญาณในการอ่านวิเคราะหว์ ิจารณเ์ รื่องที่อ่าน
ได้อย่างสมเหตุสมผล

โครงการอบรมเตรียมความพร้อมสู่ความเปน็ เลศิ ทางวิชาการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 46

3. มีความสามารถในการพูดในโอกาสต่าง ๆ ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ การพูดสนทนา

การพดู ตอ่ หน้าประชุมชน พดู เพ่ือนาเสนอผลงาน สามารถพดู ได้ตรงตามจุดประสงค์

4. มีความสามารถในการเขียนเชิงวิชาการประเภทต่าง ๆ การเขียนเชิงสร้างสรรค์ เขียน

ร้อยกรอง และเขียนประเภทอ่ืน ๆ ได้ สามารถใช้ทักษะการเขียนไปใช้ในประโยชน์ด้านต่าง ๆ

ได้

5. เข้าใจหลักเกณฑ์การใช้ภาษาไทย สามารถใช้ภาษาในการสื่อสารได้ตามความต้องการอย่างมี

ประสิทธิภาพ มีมารยาทในการส่ือสารตามสากลนิยม สามารถใช้ภาษาไทยเป็นเคร่ืองมือใน

การศึกษาค้นควา้ ความรู้แขนงต่าง ๆ เพอ่ื พฒั นาตนเองและสังคม

6. เข้าใจวรรณคดีและวรรณกรรมในแต่ละยุค วรรณคดีมรดก วรรณกรรมพื้นบ้าน ภาษาถ่ิน

สานวนภาษิต และสามารถวิเคราะห์วิจารณ์ตามหลักเกณฑ์ที่ถูกต้องได้ มีความรู้สึกซาบซึ้ง

สะเทอื นอารมณ์ เกดิ สนุ ทรียภาพเมื่อรบั สารทม่ี ีความงดงามทางภาษาและมคี ุณค่าทางวรรณศิลป์

7. มคี วามสามารถทางการคิด ได้แก่ คิดเชิงโครงสรา้ ง คิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ คดิ อย่างสร้างสรรค์

คิดอย่างเออื้ อาทร เปน็ ตน้

8. มีความฉลาดทางอารมณ์ ได้แก่ การเห็นคุณค่าในตนเอง ความสามารถในการควบคุมอารมณ์

มที ักษะทางสังคม และความสามารถในการควบคมุ ความเครยี ด

9. มีคุณธรรม จรยิ ธรรม มีความเอ้ือเฟ้ือเผ่ือแผต่ ่อเพ่ือนร่วมงานและผอู้ ืน่ เหน็ อกเห็นใจและพร้อม

ทจี่ ะให้ความช่วยเหลือเพือ่ นมนุษย์

10. มีหลักการในการเรียนรู้ รู้จักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง มีการวางแผนการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ

สามารถนาผลการเรียนรมู้ าใช้เปน็ ประโยชนต์ ่อตนเองและสงั คมได้

โครงการอบรมเตรยี มความพรอ้ มสู่ความเป็นเลศิ ทางวชิ าการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 47

ประมวลรายวิชาภาษาไทย ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 ปกี ารศกึ ษา 2562

กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย

1. ภาคเรียนท่ี 1 รหัสวชิ า : ท 31101 ชือ่ วิชา : ภาษาไทย 1

2. ภาคเรยี นท่ี 2 รหสั วิชา : ท 31102 ช่อื วิชา : ภาษาไทย 2

3. จานวนหนว่ ยกิต : วชิ าละ 1 หน่วยกิต

4. สถานภาพของวิชา เปน็ รายวิชาสาระพนื้ ฐาน นักเรียนระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลายทุกคนต้องเรยี นและ

สอบผา่ น

5. จานวนเวลาเรียน 2 คาบ/สปั ดาห์ นักเรียนต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไม่นอ้ ยกว่า 80 % จึงจะมี

สทิ ธ์สิ อบปลายภาค

6. ครูผู้สอน

1. นางฐติ าพร วภิ ววาณชิ ย์ 2. นายอรรคราวุฒิ ประชานันท์ 3. นางสาวสธุ าสนิ ี พลอยขาว

4. นางสาวนา้ ทิพย์ ชัยวงศ์ 5. นายณฐั พชั ร์ เพ็ชรสมิ าลยั 6. นายคมชาญ สุนทรวงศ์

7. นางธัญจติ รา หงษ์พญา

7. เนอ้ื หารายวิชา

ตอนท่ี 1 ความร้เู กยี่ วกบั หลักภาษา : ความรู้และขอ้ น่าสังเกตเกีย่ วกับภาษา, เสยี ง, อักษร, คา

ตอนท่ี 2 การใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร : การส่ือสารของมนุษย์, รับสารด้วยการฟัง, รับสารส่งสารด้วย

การอ่าน

และอ่านเพ่ือพัฒนาตนเองส่งสารด้วยการพูด, ส่งสารด้วยการเขียน, การสื่อสารเพื่อกิจธุระ, ผังมโนภาพ ,

ภาษาเพื่อการสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต, เรียงความเรื่องเก่ียวกับโลกส่วนตัว, ฝึกแต่งร้อยกรอง,การเขียน

โครงงานเพอื่ การเรียนรู้

ตอนที่ 3 วรรณคดวี ิจกั ษ์ : การอา่ นวรรณคด,ี นมัสการมาตาปิตคุ ณุ และนมสั การอาจรยิ คุณ, อิเหนา ตอน

ศกึ กะหมงั กหุ นิง, นิทานเวตาลเรื่องที่ 10, นริ าศนรนิ ทร์คาโคลง, หวั ใจชายหนมุ่ , ทกุ ข์ของชาวนาในบทกวี

มงคลสูตรคาฉันท,์ มหาชาติหรอื มหาเวสสันดรชาดก

8. การวัดผล ประเมนิ ผล

อัตราสว่ นคะแนนระหวา่ งภาค : คะแนนปลายภาค = 70 : 30

1. การวดั ผลรายจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ครัง้ ที่ 1 10 คะแนน

2. การสอบวัดผลกลางภาค 30 คะแนน

3. การวดั ผลรายจุดประสงค์การเรียนรคู้ รั้งท่ี 2 20 คะแนน

4. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 10 คะแนน

5. การสอบวดั ผลปลายภาค 30 คะแนน

9. รายชอ่ื หนงั สอื อ่านประกอบ

1. หนงั สอื หลกั ภาษาและการใช้ภาษาเพอื่ การสอ่ื สาร, หนังสอื วรรณคดวี ิจกั ษ์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๔

2. หนังสืออ่านเพ่ิมเติม หนังสือประวัติวรรณคดี หนังสือทักษะการสื่อสาร หนังสือหลักภาษาไทย

หนงั สืออ่านอย่างไรเขยี นอยา่ งไร หนังสอื อา่ นนอกเวลาเรื่องอย่กู ับกง๋ และเรื่องกามนติ

3. สอ่ื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ หรอื เวบ็ ไซต์ที่เกย่ี วขอ้ ง

โครงการอบรมเตรยี มความพร้อมสคู่ วามเปน็ เลิศทางวชิ าการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)


Click to View FlipBook Version