The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Academic Administration, 2019-12-11 11:10:42

pae2562

pae2562

ห น้ า | 198

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เน้ือเรอื่ ง สิง่ ที่นักเรียนได้รับ สิ่งทนี่ ักเรยี นนาไปใช้ หมายเหตุ

ในชีวติ ประจาวัน

4. สามารถนาความรู้ ความหมาย และ 1.มีความรคู้ วามเข้าใจ สามารถซื้อหา
เกย่ี วกับงานชา่ งไปใช้ ความสาคัญของงานชา่ ง
ในชวี ติ ประจาวนั ได้ และเคร่ืองมือชา่ ง เกย่ี วกบั ความหมาย และ นาไปใช้และเก็บ
เบอ้ื งตน้ ท่ีควรมไี วใ้ ชใ้ น
บ้าน การดูแลรกั ษา ความสาคญั ของงานชา่ ง รักษาเคร่ืองมือช่าง
เคร่อื งมือ
2.เครื่องมือช่างเบื้องต้น เบ้อื งต้น ได้ตรงกับ
ทีค่ วรมีไวใ้ ชใ้ นบ้าน การ งานชา่ งตา่ งๆ

ดแู ลรกั ษาเครื่องมือ

5. สามารถนาความรู้ 1.ความหมาย และ 1.มคี วามรู้ความเขา้ ใจ สามรถจัดการ
เก่ยี วกบั การทางานให้ เก่ียวกบั งานเกษตร
สัมพนั ธก์ ับงานเกษตร ความสาคัญของงาน ความหมาย และ ภายในบ้านให้
และงานอืน่ ๆได้ เหมาะสมกับสภาพ
เกษตร ความสาคัญของงาน ของบ้าน และให้
สัมพันธก์ ับงานอืน่ ๆ
2.นักเรยี นสามารถปฏบิ ัติ เกษตร ได้

เก่ียวกบั งานเกษตร 2.นักเรยี นสามารถ

ภายในบ้านตามความ ปฏบิ ตั เิ กยี่ วกับงาน

สนใจ เช่น สวนครัว เกษตรภายในบ้านตาม

สวนหย่อม สวนถาด ความสนใจ เชน่ สวน

สวนแกว้ เปน็ ตน้ เพอื่ ครัว สวนหยอ่ ม สวน

ประโยชนต์ า่ งๆตามความ ถาด สวนแกว้ เปน็ ตน้

เหมาะสมของสถานที่ เพอ่ื ประโยชน์ตา่ งๆตาม

และความต้องการใช้ ความเหมาะสมของ

ประโยชน์เครอ่ื งมือช่าง สถานทแี่ ละความ

เบือ้ งต้นที่ควรมไี วใ้ ชใ้ น ต้องการใชป้ ระโยชน์

บ้าน การดแู ลรักษา 3.เคร่ืองมือช่างเบื้องต้น
เครื่องมอื ท่ีควรมไี ว้ใช้ในบ้าน และ

การดแู ลรักษาเครื่องมือ

โครงการอบรมเตรยี มความพรอ้ มสู่ความเป็นเลศิ ทางวชิ าการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 199

รายวชิ า วิทยาการเกษตร ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 5

หน่วย เน้อื หา การเชอื่ มโยงนาไปใช้ การบรู ณการกับโครงงาน
ที่
การบูรณการกับงานสวน
1 1 ความหมายและความสาคัญของ 1. เห็นคุณคา่ และประโยชน์ของ พฤกษศาสตร์

การปลูกพืช พชื โรงเรียนเตรยี มอดุ มศึกษา

2. สามารถแยกประเภทของพืช

2 2. การจาแนกพืช แต่ละชนดิ ในชีวติ ประจาวันได้
3. เครือ่ งมือทใี่ ช้ในการผลิตพืช 3. สามารถเลอื กใชเ้ คร่อื งมือให้
4. ปัจจัยในการเจรญิ เตบิ โตของ เหมาะสมกบั งานแตล่ ะประเภท
พืช. 4. สามารถเลอื กพืชทจี่ ะนามา
5. การขยายพันธุ์พชื ปลกู ในแตล่ ะสภาพแวดล้อมได้
5.สามารถเลือกใช้วธิ กี าร
6. การปลกู และการดูแลพชื ขยายพนั ธพุ์ ืชมาใชใ้ น
ชีวติ ประจาวัน
6. สามารถปลูกและดูแลพืชใน

7. การจัดการผลผลิตและการ ชวี ติ ประจาวนั ได้ เชน่ ไม้ดอก
จาหนา่ ยผลผลติ พืชผักสวนครวั
7. เข้าใจวิธกี ารจดั การผลผลิต

3 การผลิตสตั ว์ และสามารถเลือกซ้ือผลผลติ
ทางการเกษตรมาบรโิ ภคใน
ชีวติ ประจาวันได้

4 การอนุรักษ์ทรัพยากรและพลงั งาน

โครงการอบรมเตรียมความพร้อมส่คู วามเป็นเลศิ ทางวิชาการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 200

รายวิชา พรรณพืชกบั คณุ ภาพชีวิต ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรยี นท่ี 1-2

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ เนือ้ เรือ่ ง ส่ิงทีน่ ักเรียนไดร้ ับ สิง่ ท่ีนกั เรยี นนาไปใช้

ในชีวิตประจาวัน

1. อธิบาย ความหมาย ความหมาย ความสาคัญ เห็นความสาคญั ของพชื นักเรียนนาความสาคญั

ความสาคัญของพรรณ ของพรรณพืชกบั คุณภาพ ของพชื ไปใช้ประโยชน์

พืชกบั คุณภาพชีวิต ชีวิต

2.อธิบายและจาแนก จาแนกประเภทพรรณพชื รูช้ ่ือ รจู้ กั รลู้ ักษณะของ นกั เรียนสามารถเขยี นชื่อ

ประเภทพรรณพืชได้ พชื วทิ ยาศาสตรไ์ ด้ถกู ต้อง

3.อธิบายถึงโครงสรา้ ง โครงสร้างภายนอกของพชื ร้จู กั สงั เกตลักษณะความ นักเรยี นอธบิ ายลักษณะ

ภายนอกของพืชได้ เหมอื นและความต่างของ ของส่วนตา่ งๆของพชื ได้

พชื

4. อธิบายประโยชนแ์ ละ หลกั การใชส้ มนุ ไพรจากพชื รกู้ ารใช้ประโยชน์และ นกั เรยี นเลือกใชส้ มุนไพร

หลักการใช้สมุนไพรจาก หลกั การใชส้ มุนไพรจาก ในชีวิตประจาวนั ได้ถูกต้อง

พืช และนาภูมิปัญญา พืช

ชาวบ้านมาประยุกต์ใช้

ตามสรรพคุณของพรรณ

พืชได้

5.อธบิ ายการอนรุ กั ษ์ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรม รคู้ วามเป็นมาของ นักเรียนมีจิตสานกึ ในการ

พันธุกรรมพืช และ พืชอันเนื่องมาจาก โครงการอนุรักษ์พันธกุ รรม อนรุ ักษ์พนั ธุกรรมพืช และ

โครงการอนุรักษ์ พระราชดาริได้ พืชอนั เนื่องมาจาก นาพชื ไปใช้อยา่ งมีคุณค่า

พนั ธุกรรมพืชอัน พระราชดาริได้

เนือ่ งมาจากพระราชดาริ

ได้

6.อธิบายวิธีการศึกษา วธิ ีการศกึ ษาขอ้ มลู และเก็บ รจู้ ักเกบ็ ตวั อยา่ งพรรณพชื นกั เรยี นสามารถจัดเกบ็

ขอ้ มลู และเก็บตวั อย่าง ตัวอย่างพรรณพืชได้ ข้อมลู ไดอ้ ย่างมีขัน้ ตอน

พรรณพชื ได้

7.อธบิ ายการเขียน การเขยี นโครงงาน การ รจู้ กั สืบค้น และวเิ คราะห์ นักเรียนสามารถทา
โครงงาน การคน้ คว้า ค้นควา้ ข้อมลู การวเิ คราะห์ ข้อมลู จนนามาศึกษา ผลิตภณั ฑ์ตา่ งๆท่ีใช้ใน
ขอ้ มูล การวิเคราะห์ ข้อมูล ศึกษาทดลองใช้ และ ทดลองใช้ ชวี ิตประจาวนั ไดด้ ว้ ย
ขอ้ มลู ศึกษาทดลองใช้ นาเสนอผลงานในรูปแบบ ตนเอง
และนาเสนอผลงานใน ตา่ งๆ
รปู แบบต่างๆ

โครงการอบรมเตรียมความพรอ้ มสคู่ วามเป็นเลิศทางวิชาการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 201

รายวิชา การเขยี นโปรแกรม 1

กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี สาระการเรียนรู้ เพิ่มเตมิ
รหสั วิชา ง30221
รายวชิ า การเขียนโปรแกรม 1 เวลา 40 ช่ัวโมง

ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 5 จานวน 1 หน่วยกติ

ศึกษาภาษาคอมพิวเตอร์และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ข้ันตอนการพัฒนาโปรแกรม เคร่ืองมือการออก
แบบโปรแกรม ประเภทของข้อมูลและตัวดาเนินการ โครงสร้างของภาษาคอมพิวเตอร์ การควบคุมแบบเลือก
การควบคุมแบบวนซา้ และฟงั กช์ ันประเภทต่าง ๆ

โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีเหตุผล คิดอย่างเป็นระบบ การอภิปราย ความคิด
สร้างสรรค์การฝึกปฏิบัติ การช่วยเหลือผู้อ่ืน การแสวงหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล เพ่ือให้เกิดความรู้ ความ
เข้าใจและสามารถปฏิบตั ิ วิเคราะห์โจทย์ปญั หาและเขียนโปรแกรมแก้ปัญหาต่าง ๆ ในชีวิตประจาวันได้อย่าง
สร้างสรรค์ มีความขยัน อดทน มุ่งม่ันในการทางานให้สาเร็จอย่างมีคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสานึกและใช้
ทรพั ยากรไดอ้ ย่างคุ้มคา่

รายวชิ า การเขียนโปรแกรม 2 สาระการเรยี นรู้ เพิ่มเตมิ
กล่มุ สาระการเรียนร้กู ารงานอาชีพและเทคโนโลยี รหัสวชิ า ง30222
เวลา 40 ชว่ั โมง
รายวชิ า การเขียนโปรแกรม 2

ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 5 จานวน 1 หน่วยกิต

ศึกษาฟังก์ชันและแบบของตัวแปร ตัวแปรแถวลาดับหลายมิติ พอยน์เตอร์ ข้อมูลเชิงโครงสร้าง
แฟ้มข้อมูล โครงงานและการนาเสนอโครงงานโดยใช้กระบวนการกลุ่ม การอภปิ ราย กิจกรรมเรยี นดีมีสุข การ
ชว่ ยเหลือซ่งึ กนั และกนั ความสามคั คี การคดิ อย่างเป็นระบบ การคดิ อย่างมวี ิจารณญาณ การค้นพบดว้ ยตนเอง
ความคิดสร้างสรรค์ การสืบค้นและการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การปฏิบัติโครงงาน
และนาเสนอโครงงาน เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติสร้างโครงงานและนาเสนอโครงงาน
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ดว้ ยวิธีการบูรณการความรู้ ความคิดอย่างเป็นระบบและสร้างสรรค์ มีความขยัน อดทน
มีความมุ่งม่ันในการทางานให้สาเร็จ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม รู้จักช่วยเหลือผู้อื่น มีความ
ภาคภมู ิใจในตนเอง มีจิตสานกึ ทดี่ ีและใช้ทรพั ยากรทม่ี ีอย่ใู ห้เกดิ ประโยชนส์ งู สดุ

โครงการอบรมเตรยี มความพรอ้ มสคู่ วามเป็นเลศิ ทางวิชาการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 202

ข้อแนะนาในการเตรียมความพรอ้ มสาหรบั การเรยี น

คาแนะนาในการเรียน

ส่ิงที่จะช่วยให้นักเรียนเรียนวิชาการเขียนโปรแกรมได้ดีและง่าย คือ นักเรียนต้องคิดวิเคราะห์เก่ง
คิดอยา่ งเป็นระบบทเ่ี ป็นขนั้ ตอนทส่ี ามารถปฏิบตั งิ านได้

ส่ิงที่เป็นปัญหากับการเรียนวิชานี้คือ นักเรียนไม่ต้ังใจเรียนและไม่ไปทาแบบฝึกหัดด้วยตนเอง
ทาใหเ้ รียนรูเ้ นอ้ื หาขน้ั ตอ่ ๆไป ไมเ่ ขา้ ใจ เพราะเปน็ วิชาที่ต้องใชท้ กั ษะในการฝกึ ปฏิบัติ ทักษะการคิดแก้ปัญหา
อย่างเป็นระบบ รวมท้ังภาษาที่ใช้ในการส่ือสารกับคอมพิวเตอร์ก็เป็นภาษาท่ีนักเรียนยังไม่รู้มาก่อน
ทาให้นักเรียนตามบทเรียนไม่ทัน ไม่สามารถาทาแบบฝึกหัดขั้นต่อ ๆ ไปด้วยตนเองได้ นักเรียนจึงอาจเกิด
ความเครียดในการเรียนเพราะเร่ิมเรียนไม่เข้าใจ วิธีการแก้ปัญหา คือนักเรียนต้องตั้งใจเรียน
และทาแบบฝึกหัดด้วยตนเองทุกคร้ัง จนเมื่อนักเรียนเข้าใจและมีทักษะในการปฏิบัติในระดับหน่ึง นักเรียน
จะสามารถต่อยอดความรู้ได้ด้วยตนเอง นักเรียนจะสามารถทาโครงงานเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้อย่าง
สร้างสรรค์ตามที่ต้องการ นักเรียนจะเกิดความภาคภูมิใจในผลงานที่นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง
นอกจากน้ีสิ่งท่ีจะปลูกฝังในตัวนักเรียนคือ การคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ สามารถคิดแก้ปัญหาได้ต้ังแต่
เร่มิ จนจบอยา่ งมขี ัน้ ตอนที่สมารถปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธภิ าพสูงสดุ

ตัวอยา่ งข้อสอบ ง 30221 การเขยี นโปรแกรม 1

- คาสงั่ ขอ้ สอบมที ั้งหมด 2 ข้อ ข้อละ 10 คะแนน

- ใหน้ ักเรยี นเขยี นผังงาน (Flowchart) และลงรหัสโปรแกรมดว้ ยภาษา C

1. เขียนโปรแกรมรับตวั เลขจานวนเต็ม (N) จาก Keyboard และพมิ พ์ตัวเลขแต่ละตัว เรม่ิ จากตัวสุดทา้ ย

จนถึงตัวแรกของ N เป็นคาๆ เช่น 0:Zero, 1:One, 2:Two, 3:Three, 4:Four, 5:Five, 6:Six, 7:Seven,

8:Eight, 9:Nine โดยใช้คาสงั่ switch และ do-while แนะนา การหาตวั เลขตวั สดุ ทา้ ยของเลขจานวนเตม็

ใด

ตวั อยา่ ง INPUT 294 ตวั อยา่ ง INPUT 120

OUTPUT 4: Four OUTPUT 0 : Zero

9: Nine 2 : Two

2:Two 1 : One

โครงการอบรมเตรียมความพร้อมสคู่ วามเปน็ เลิศทางวชิ าการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 203

2. เขียนโปรแกรมรับค่า N จากคียบ์ อรด์ และแสดงการพมิ พ์ตารางการคานวณค่า n, n2 และ n4 เมื่อ n = 1,
2, 3, … , N
ตัวอยา่ ง INPUT : 4
OUTPUT ---------------------------------------------
n n^2 n^4
---------------------------------------------
111
2 4 16
3 9 81
4 16 256

ตัวอยา่ งข้อสอบ ง 30222 การเขียนโปรแกรม 2

- คาสง่ั ข้อสอบมีท้ังหมด 2 ข้อ ข้อละ 10 คะแนน
- ให้นกั เรยี นเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษา C ตัง้ ชื่อแฟ้มข้อมลู testone.c และ testtwo.c ตามลาดบั
1. จงเขยี นโปรแกรมกาหนดรูปแบบข้อมลู เป็นข้อมูลชนดิ โครงสรา้ งทป่ี ระกอบด้วย

- เลขประจาตัว - ชอ่ื - นามสกลุ -

- เกรดวชิ าคณิตศาสตร์ - เกรดวชิ าชวี ทิ ยา - เกรดวิชาเคมี

- เกรดวชิ าฟสิ กิ ส์ - เกรดวิชาคอมพิวเตอร์

โดยกาหนดให้แต่ละวิชามีจานวน 2 หน่วยกิต แล้วให้รับข้อมูลเข้าไปเก็บไว้จานวนก่ีคนก็ได้แล้วแต่

ผู้ใช้โปรแกรมกาหนด(ไม่เกิน 50 คน) จากน้ันให้คานวณหาเกรดเฉลี่ยของแต่ละคนพร้อมทั้งแสดงผล

ขอ้ มูลของแต่ละคน วา่ ได้เกรดแตล่ ะวชิ าและเกรดเฉลีย่ เท่าใด

1. จงเขียนฟังกช์ นั เปลีย่ นจากองศา C(Celsius) เป็น F(Fahrenheit) มสี ูตรดงั นี้ F = (9/5) C +32

ดงั น้ี

ตัวอย่าง Input CTOF(100)

Output 212 F

โครงการอบรมเตรียมความพรอ้ มสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 204
การสมัครสอบคัดเลือกเพ่ือเข้าค่ายของศูนย์ส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐาน
วิทยาศาสตร์ศึกษาในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพ่ีนางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาส
ราชนครนิ ทร์(สอวน.) สาขาวิชา คอมพิวเตอร์
สาหรับนักเรียนที่สนใจสมัครสอบเข้าแข่งขัน วิชา คอมพิวเตอร์ ของศูนย์ส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ
และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา
กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) เพื่อเปน็ ผแู้ ทนประเทศไปแข่งขนั ระหวา่ งประเทศ ทางกลุ่มสาระการ
งานอาชีพและเทคโนโลยีโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ได้เปิดรับสมัครนักเรียนท่ีสนใจในภาคเรียนที่ 1
ซึ่งจะประกาศรับสมัครผ่านทาง INTERCOM ของโรงเรียน และได้จัดให้มีการสอนเสริมให้ในช่วงตอนเย็น
หลังเลิกเรียน เวลา 16.00 – 18.00 น. ณ ห้องปฏิบัติคอมพิวเตอร์ช้ัน1 ตึก 9 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
โดยรุ่นพ่ีที่มปี ระสบการณ์ในการแขง่ ขนั ระดบั ชาตแิ ละระดบั ระหวา่ งประเทศมาแล้ว

โครงการอบรมเตรยี มความพรอ้ มสู่ความเปน็ เลิศทางวิชาการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 205

กลุม่ สาระการเรียนรู้
ภาษาตา่ งประเทศที่ 2

โครงการอบรมเตรยี มความพร้อมสูค่ วามเปน็ เลิศทางวิชาการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 206

กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศท่ี 2

แนวทางการเรียนในโรงเรยี นเตรยี มอดุ มศึกษาในระยะเวลา 3 ปี

แนวทางการเรียนภาษาต่างประเทศท่ี 2 มุ่งเน้นการเรียนภาษาและวัฒนธรรมของภาษาตลอดจนภูมิ
ปัญญา ท้องถ่ินของเจ้าของภาษา รวมท้ังการใช้ภาษาเพ่ือการส่ือสารเพื่อติดต่อส่ือสารกันอย่างเข้าใจทั้งภาษา
และวัฒนธรรม ของเจ้าของภาษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาจึงวางแนวทางการเรียนภาษาต่างประเทศท่ี ให้
ผู้เรียนมีโอกาสเลือกเรียน ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน ภาษาสเปน ภาษาญ่ีปุ่น ภาษาจีน และภาษาเกาหลี
ตามความถนัด ความสนใจ และศักยภาพของตน เพราะภาษาเป็นเคร่ืองมือของการแสวงหาความรู้ท่ี
หลากหลาย รวมถึงวิทยาการของศาสตร์ ทุกสาขา อีกทั้งเป็นการส่งเสริมให้ผ้เู รยี นมีโลกทัศน์กว้างไกล มีความ
รอบรู้ทั้งโลกตะวันออก และตะวันตก โดยผ่านการเรียนรู้ภาษา ความคิด รวมถึงวัฒนธรรมของโลกท้ังสองฝ่ัง
และเปน็ การสร้างบรรยากาศ ทางวิชาการท่หี ลากหลาย

สง่ิ ท่ผี ูเ้ รียนควรปฏบิ ัติตามเพ่อื วางแนวทางการเรยี นภาษาตา่ งประเทศที่ 2
ในช่วงเวลา 3 ปี ต้ังแตร่ ะดบั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 – 6

 ระดบั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 : ระยะเรมิ่ ตน้ พ้ืนฐาน

1. ผูเ้ รยี นควรสรา้ งทศั นคติทด่ี ตี อ่ การเรียนภาษาตา่ งประเทศท่ี 2 โดยศึกษาประโยชนข์ องการเรยี น
และตั้งเปา้ หมายในการเรียน เพอื่ นาไปใช้ในการสือ่ สาร

2. ผูเ้ รียนควรมีความมุ่งมัน่ ในการฝึกฝนทักษะทัง้ 4 คือการฟัง พูด อา่ น เขยี น เบอ้ื งตน้ โดยเน้นการ
ฟัง และพูด เน่อื งจากการเรยี นร้ภู าษาต้องมีการฝึกฝนอย่างสมา่ เสมอ เพอ่ื ให้เกดิ ทักษะและ
ความชานาญในการนาไปใช้ได้อยา่ งถูกต้อง และการฝึกฝนเบื้องตน้ ท่ีถูกต้องและมปี ระสทิ ธภิ าพ
เป็นสงิ่ สาคญั อยา่ งยิ่ง

 ระดบั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 : ระยะกา้ วหน้า

1. ผเู้ รียนควรหมน่ั ทบทวนคาศัพท์ สานวน ไวยากรณ์ ความรดู้ ้านวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และ
พฒั นาทกั ษะการฟงั พดู อ่าน เขยี น ให้มีประสิทธภิ าพมากข้ึน

2. ผ้เู รยี นควรรจู้ กั ค้นคว้าและเรียนรดู้ ว้ ยตนเองจากแหลง่ เรยี นรู้ทหี่ ลากหลาย ทั้งหนงั สือเสรมิ ความรู้
นอกเหนอื แบบเรียน และแหล่งความรูจ้ ากเว็บไซต์ อีกทงั้ สามารถเป็นผ้นู าการจัดกิจกรรมส่งเสริม
การเรียนรทู้ ่ีหลากหลายได้

 ระดับมัธยมศึกษาปที ่ี 6 : ระยะตอ่ ยอด

1. ผู้เรียนควรมีทักษะภาษาที่มีความชานาญและพร้อมใช้ความรู้ภาษาต่างประเทศที่ 2 เพ่ือเข้าสู่
กระบวนการคัดเลอื กบุคคลเขา้ ศึกษาในสถาบนั อดุ มศึกษา

2. ผู้เรียนควรวางแผนต่อยอดการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศที่ 2 ให้เป็นผู้ที่มีความรู้และทักษะ
ภาษาต่างประเทศท่ี 2 ตามมาตรฐานสากล ซ่ึงจะเป็นโอกาสท่ีดีในการศึกษาระดับสูงข้ึนและการ
ประกอบอาชีพในอนาคต

โครงการอบรมเตรยี มความพรอ้ มสคู่ วามเปน็ เลิศทางวชิ าการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 207

กจิ กรรมส่งเสริมความเป็นเลศิ ทางวชิ าการ

วตั ถุประสงค์
1. เพ่ือพฒั นาผู้เรียนให้มีความรดู้ ้านวิชาการในระดบั มาตรฐานสากล
2. เพื่อพัฒนาผ้เู รียนใหส้ ามารถสอบเข้าเรียนต่อในระดบั อุดมศกึ ษา
3. เพ่อื พฒั นาศกั ยภาพผ้เู รยี นในด้านวิชาการเพื่อเขา้ ร่วมกิจกรรม/การแข่งขันภายนอกโรงเรียน
4. เพือ่ พฒั นาศักยภาพผเู้ รียนเพอ่ื เขา้ รว่ มการแขง่ ขันโอลิมปกิ วิชาการระดับประเทศและระหว่าง

ประเทศ
5. เพือ่ พฒั นาศกั ยภาพผเู้ รียนเพอื่ สอบชงิ ทุนการศกึ ษา

กจิ กรรมสง่ เสรมิ ความเปน็ เลศิ ทางวชิ าการทโ่ี ดดเด่น

1. การแขง่ ขันภาษาเยอรมนั โอลิมปกิ วชิ าการระดับประเทศและระหวา่ งประเทศ

2. การแข่งขันทกั ษะภาษาฝรั่งเศส เยอรมนั ญีป่ ุ่น จนี เกาหลี ในงานศิลปหัตกรรม
นกั เรยี น

3. การแข่งขันเพชรยอดมงกุฎภาษาญีป่ ุ่น ภาษาจีน

โครงการอบรมเตรียมความพรอ้ มสคู่ วามเป็นเลิศทางวิชาการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 208

4. การสอบวัดระดับความร้แู ละทักษะภาษาท้ัง 6 ภาษา

ภาษาฝร่ังเศส (DELF) ระดับ A1 , A2
ภาษาเยอรมนั (Fit in Deutsch) ระดับ A1, A2 และ B1
ภาษาสเปน (DELE) ระดับ A1, A2 และ B1
ภาษาญี่ปุน่ (JLPT) ระดบั N1-N5
ภาษาจีน (HSK) ระดับ 1-5
ภาษาเกาหลี (TOPIK) ระดับ 1-4

5. การแข่งขนั ทักษะภาษาตา่ งๆ จัดโดย สถาบัน สมาคม และหน่วยงานภายนอก
0

กจิ กรรมสง่ เสรมิ ทกั ษะทางภาษาและวฒั นธรรม

1. โครงการแลกเปล่ยี นภาษาและวฒั นธรรม
ภาษาเยอรมัน

ภาษาญป่ี ุ่น

โครงการอบรมเตรยี มความพรอ้ มสูค่ วามเป็นเลิศทางวิชาการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 209

ภาษาจีน

ภาษาเกาหลี

2. คา่ ยภาษาและวัฒนธรรม
ภาษาฝรั่งเศส
ภาษาเยอรมัน

ภาษาสเปน

โครงการอบรมเตรียมความพร้อมสคู่ วามเป็นเลิศทางวชิ าการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 210

3. กจิ กรรมอื่นๆ
- การขับร้องเพลงประสานเสยี งภาษาฝรั่งเศส

- การเรยี นรกู้ ารทาอาหาร

- ชมรมสสี รรพภ์ าษาตา่ งประเทศท่ี 2

โครงการอบรมเตรยี มความพรอ้ มสู่ความเปน็ เลศิ ทางวชิ าการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)

ห น้ า | 211

องคก์ รท่สี นบั สนนุ การเรียนการสอนภาษาต่างประเทศท่ี 2

องคก์ รภายในประเทศ

สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน สมาคมครภู าษาฝรง่ั เศสแหง่ ประเทศไทย สมาคมครูภาษาเยอรมนั ในประเทศไทย
ในพระบรมราชปู ถมั ภส์ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ

สยามบรมราชกุมารี

ในพระบรมฯ สยามบรม

โรงเรยี นเตรยี มอดุ มศึกษา โรงเรียนศรีอยุธยาในพระอุปถัมภ์ฯ โรงเรยี นวัดไตรมิตรวราราม
ศูนย์พฒั นาการเรียนการสอนภาษาฝรง่ั เศส ศูนยพ์ ฒั นาคณุ ภาพภาษาญี่ปุ่น ศูนยพ์ ฒั นาคณุ ภาพวชิ าภาษาจนี
ศูนย์พัฒนาการเรยี นการสอนภาษาเยอรมัน ศนู ย์พฒั นาคณุ ภาพวิชาภาษาจีน
ศูนย์พัฒนาการเรียนการสอนภาษาสเปน
องค์กรตา่ งประเทศ

สมาคมฝรัง่ เศส กรงุ เทพฯ สถาบนั เกอเธ่ สมาคมครภู าษาเยอรมันนานาชาติ

เจแปนฟาวเดชนั่ สถาบนั ขงจอื๊ สถานทตู สเปน
แห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ประจาประเทศไทย

โครงการอบรมเตรียมความพร้อมสูค่ วามเป็นเลศิ ทางวิชาการ

ศูนย์การศกึ ษาเกาหลีประจาประเทศไทย

(PAE = Prepaสrถaานtเiอoกnอคั รfรoาชrทตูAเกcาหaลdปี eระmจาปicระเEทศxไcทยellence)

ห น้ า | 212

มาทาความรู้จักแต่ละภาษากันเถอะ

ภาษาใดที่มีอิทธิพลต้ังแต่สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ภาษาใดท่ีใช้แพร่หลายถึง 5 ทวีป
ภาษาใดที่มีเน้ือหาในวิกิพีเดียสูงเป็นอันดับ 3 ของโลก ภาษาใดท่ีเป็นหน่ึงในภาษาหลักของสหภาพยุโรป
องคก์ ารสหประชาชาติ องค์การยูเนสโก และองค์การโอลิมปิกสากล ภาษาใดท่เี ป็นภาษากฎหมายของโลก ภาษา
ใดท่ี Chic ท่สี ุด ภาษาใดทมี่ คี วามเป็น Haute couture มากท่ีสดุ หากคาตอบในใจของนกั เรียนคอื

ภาษาฝรั่งเศส ครูทุกท่านและรุ่นพ่ีทุกคนก็ขอกล่าวว่า «Bonjour et bienvenue à Triam Udom
Suksa !» การเรียนการสอนภาษาฝรงั่ เศสในยุคปจั จุบนั มีแนวทางมุ่งสู่การเรียนภาษาฝร่ังเศสเพื่อเติมเต็ม ต่อยอด
ทักษะความสามารถท่ีตนมี และเป็นเคร่ืองมือในการแสวงหาความรู้ ดังคาขวัญของสถาบันฝรั่งเศส ที่กล่าวว่า
« Et en plus, je parle français » (และย่ิงไปกว่าน้ัน ฉันยังพูดภาษาฝรั่งเศสได้) หมายความว่าทุกคนมี
ความสามารถ ความถนัดในด้านต่าง ๆ แต่ถ้าเราใช้ภาษาฝรั่งเศสได้ด้วย ความสามารถของเราก็จะยิ่งโดดเด่นขนึ้
ผู้ทีป่ ระกอบอาชพี ตา่ ง ๆ เม่ือรภู้ าษาฝรง่ั เศสกจ็ ะมีโอกาสก้าวหนา้ ก้าวไกลไปถึงระดับสากลไดโ้ ดยงา่ ย
ดังนนั้ หากจะต้องเรยี นภาษาทชี่ ่วยฉายแสงความสาเร็จ อาจกล่าวได้วา่ “ภาษาฝร่ังเศสคือสปอตไลท์ทคี่ คู่ วร”

รู้หรือไม่... ธรรมชาติของภาษาฝรั่งเศสมักออกเสียงโดยเช่ือมคาเรียงร้อยต่อกัน ไม่อ่านเป็นคา ๆ อีกทั้ง
ยังมีเสียงทิ้งท้าย จึงเป็นเสน่ห์ที่ไพเราะของภาษาฝร่ังเศส ทั้งนี้หลักสูตรของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา เอ้ือให้
นกั เรยี นได้ ฝึกฝน ภาษาฝรัง่ เศสครบทัง้ 4 ทกั ษะ และยังเปดิ โอกาสให้นักเรียนทากิจกรรมทางวัฒนธรรม ฝรงั่ เศส
อีกมากมาย เช่น การทาอาหารฝรั่งเศส การขับร้องเพลงประสานเสียงภาษาฝร่ังเศส การเยี่ยมชมสถาน
เอกอัครราชทตู ฝรงั่ เศส

ปัจจุบันภาษาต่างประเทศมีความสาคัญกับคนเรามากขึ้น หากใครรู้ภาษาต่างประเทศมากกว่า 1 ภาษา
ย่อมไดเ้ ปรยี บผอู้ ่นื ยิ่งรูม้ ากยงิ่ ได้เปรียบมาก

ภาษาเยอรมนั เป็นอกี ภาษาหนึ่งทเ่ี ข้ามามีบทบาทและความสาคญั ต่อสังคมบ้านเรา ไม่ว่าจะในแวดวง
การศึกษา แวดวงวรรณกรรม หรืออ่ืนๆ หากพิจารณาเหตุผลท่ีจะกล่าวต่อไปน้ี จะทราบว่า เหตุใดเราจึงควรเลือก
เรียนภาษาเยอรมันเปน็ ภาษาตา่ งประเทศท่ีสอง

1. ภาษาเยอรมันสร้างโอกาสในการทางานได้มากกว่า เพราะมีบริษัทสัญชาติเยอรมันมากมายที่เข้ามา
ตัง้ อยู่ ในประเทศไทย ไดแ้ ก่ Siemens, Bosch, BMW, Mercedes Benz และอนื่ ๆ
2. ภาษาเยอรมันเป็นภาษาแห่งวรรณกรรม บทเพลง ศิลปะ และปรัชญา ของบุคคลที่มีชื่อเสียงอย่าง
Goethe, Kafka, Mozart, Bach และ Beethoven

3. ประเทศเยอรมนสี นับสนุนเงนิ ในสว่ นของทนุ สาหรบั นกั เรียนแลกเปลยี่ นกวา่ 60,000 ทนุ ต่อปีทัว่ โลก
4. ภาษาเยอรมันเป็นภาษาท่ีสาคัญที่สุดเป็นอันดับสองของภาษาที่ใช้ในด้านวิชาการ เพราะประเทศ
เยอรมนีเป็นผ้นู าทางดา้ นการวิจยั และพฒั นาทางด้านวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
5. นักท่องเที่ยวจากประเทศท่ีพูดภาษาเยอรมันมักจะท่องเที่ยวบ่อยคร้ังและใช้จ่ายเงินมากกว่า
นักท่องเทยี่ ว จากชาตอิ ื่นๆ และพวกเขาชอบไกด์นาเทย่ี วทส่ี ามารถพดู ภาษาของเขาได้
6. ภาษาเยอรมันเป็นภาษาที่ไม่ยากอย่างท่ีคิด มีคาศัพท์หลายคาท่ีมีความคล้ายคลึงกับภาษาอังกฤษ
อีกท้ังยังมหี ลกั ในการออกเสียงทงี่ ่ายตอ่ การเข้าใจ

โครงการอบรมเตรียมความพรอ้ มสูค่ วามเปน็ เลศิ ทางวิชาการ
(PAE = Preparation for Academic Excellence)






































































Click to View FlipBook Version