การพฒั นาหลักสตู ร
(Curriculum Development)
คณะครศุ าสตร์
มหาวิทยาลยั ราชภัฏบา้ นสมเด็จเจ้าพระยา
2563
2
คานา
หนังสือการพัฒนาหลักสูตร (Curriculum Development) เล่มน้ี เรียบเรียงข้ึนจากคณาจารย์
ผู้สอนในรายวิชาการพัฒนาหลักสูตร โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้อ่านมีความรู้ความเข้าใจในระดับเบื้องต้น
เกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร (Curriculum Development) ซ่ึงประกอบด้วย หลักการ แนวคิด ทฤษฏี
การพัฒนาหลักสูตร วิวัฒนาการของหลักสูตรในประเทศไทย รูปแบบของหลักสูตร กระบวนการพัฒนา
หลักสูตร การนาหลักสูตรไปใช้ การประเมินและปรับปรุงหลักสูตร หลักสูตรแกนกลาง หลักสูตร
สถานศึกษา หลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ปัญหาและแนวโน้มในการพัฒนาหลักสูตร ตลอดจนการ
ออกแบบและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา คณะผ้เู ขียนเชื่อว่า การมีความรู้ความเข้าใจในประเด็นเบือ้ งต้น
จะเป็นฐานความรูท้ ส่ี าคัญอย่างยิง่ สาหรับการศึกษาคน้ คว้าเกย่ี วกับการพัฒนาหลักสูตรในระดบั สูงต่อไป
ทั้งน้ี คณะผู้เขียนหว่างเป็นอย่างย่ิงว่า หนังสือการพัฒนาหลักสูตรเล่มน้ี จะเป็นประโยชน์สูงสุด
ต่อการจดั การศกึ ษาและการเรียนการสอนในรายวิชาท่เี ก่ียวข้องต่อไป
คณะครศุ าสตร์
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั บา้ นสมเดจ็ เจ้าพระยา
พ.ศ.2563
3
สารบัญ
บทท่ี 1 ความรู้พนื้ ฐานการพัฒนาหลักสูตร...............................................................................................1
บทนา...................................................................................................................................................1
1. แนวคดิ เกย่ี วกบั หลกั สูตร..................................................................................................................1
2. หลกั การของหลกั สตู ร ................................................................................................................... 10
3. วิวฒั นาการของหลักสูตร............................................................................................................... 14
4. ลักษณะของหลกั สตู รที่ดี............................................................................................................... 20
บทสรปุ ............................................................................................................................................. 23
บทที่ 2 พนื้ ฐานของการพฒั นาหลกั สูตร ................................................................................................ 27
บทนา................................................................................................................................................ 27
1. พ้นื ฐานด้านปรชั ญาการศึกษา (Philosophy of Education Foundation)................................. 30
2. พืน้ ฐานจากจิตวิทยา (Psychological Foundations) ................................................................. 38
3. พน้ื ฐานทางดา้ นสังคมและวฒั นธรรม ............................................................................................ 49
4. พื้นฐานทางด้านเศรษฐกิจ ............................................................................................................. 50
5. พื้นฐานทางด้านการเมืองการปกครอง .......................................................................................... 52
6. พ้นื ฐานทางสภาพปญั หาและแนวทางการแก้ไขปัญหาในสังคม ..................................................... 53
7. พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ........................................................................................ 54
8. พื้นฐานทางสภาพของสังคมในอนาคต .......................................................................................... 54
9. พืน้ ฐานจากบุคคลภายนอก และนักวิชาการสาขาตา่ ง ๆ ............................................................... 55
10. พื้นฐานทางประวัตศิ าสตร์และการศึกษาหลกั สูตรเดมิ ................................................................ 56
11. ข้อมลู พื้นฐานเก่ยี วกบั ธรรมชาตขิ องความรู้................................................................................. 56
บทสรปุ ............................................................................................................................................. 59
บทที่ 3 การพฒั นาหลกั สูตร................................................................................................................... 61
บทนา................................................................................................................................................ 61
1. ความหมายของการพัฒนาหลักสูตร .............................................................................................. 62
2. ความสาคญั ของการพฒั นาหลกั สูตร.............................................................................................. 63
3. หลกั การพฒั นาหลักสตู ร ............................................................................................................... 64
4. คาศัพท์เกยี่ วกับการพฒั นาหลักสตู ร.............................................................................................. 65
4
5. รปู แบบการพฒั นาหลักสตู ร .......................................................................................................... 66
6. คาถามและข้อแนะนาในการพฒั นาหลกั สตู ร................................................................................. 78
7. กระบวนการพฒั นาหลกั สูตร......................................................................................................... 80
บทสรปุ ............................................................................................................................................. 81
บทท่ี 4 การสรา้ งหลกั สูตร..................................................................................................................... 83
บทนา................................................................................................................................................ 83
ขนั้ ตอนท่ี 1 การวิเคราะหข์ ้อมลู พื้นฐาน ............................................................................................ 84
ขั้นตอนที่ 2 การกาหนดจุดหมายของหลกั สูตร.................................................................................. 86
ข้นั ตอนท่ี 3 การกาหนดรปู แบบและโครงสรา้ งของหลักสูตร ............................................................. 90
ขั้นตอนที่ 4 การกาหนดจุดประสงคข์ องวชิ า ..................................................................................... 93
ขน้ั ตอนท่ี 5 การเลอื กเนื้อหาวิชา....................................................................................................... 97
ขัน้ ตอนที่ 6 การกาหนดจดุ ประสงค์การเรยี นรู้................................................................................ 103
ขน้ั ตอนท่ี 7 การกาหนดประสบการณ์การเรยี นรู้............................................................................. 105
ข้ันตอนที่ 8 การกาหนดกจิ กรรมการเรยี นการสอน ......................................................................... 108
ขน้ั ตอนท่ี 9 การประเมนิ ผลการเรียนรู้............................................................................................ 113
ขั้นตอนที่ 10 การจัดทาวสั ดุหลกั สูตรและส่อื การเรียนการสอน....................................................... 115
บทสรุป ........................................................................................................................................... 117
บทท่ี 5 การนาหลักสูตรไปใช้............................................................................................................... 119
บทนา.............................................................................................................................................. 119
1. หลักการนาหลกั สูตรไปใช้ ........................................................................................................... 119
2. ภาระงานสาคัญในการนาหลักสูตรไปใช้...................................................................................... 120
3. ข้นั ตอนการนาหลกั สตู รสกู่ ารปฏิบตั ิ............................................................................................ 127
4. บทบาทของบุคคลท่เี ก่ียวข้องในการนาหลักสูตรไปใช้ ................................................................. 129
5. ปัญหาการนาหลักสตู รไปใช้ ........................................................................................................ 133
6. รปู แบบการเปลย่ี นแปลงพฤติกรรมการใช้หลักสูตร..................................................................... 136
บทสรุป ........................................................................................................................................... 138
บทท่ี 6 การประเมินและปรับปรงุ หลักสูตร.......................................................................................... 141
บทนา.............................................................................................................................................. 141
1.ความหมายของการประเมินหลกั สูตร........................................................................................... 141
5
2. ความจาเป็นของการประเมินหลักสูตร ........................................................................................ 143
3. จดุ มงุ่ หมายของการประเมินหลกั สตู ร.......................................................................................... 143
4. ขอบเขตของการประเมินหลกั สตู ร .............................................................................................. 144
5. กระบวนการประเมินหลกั สูตร .................................................................................................... 145
6. ปญั หาในการประเมินหลกั สูตร.................................................................................................... 145
7. รปู แบบการประเมินหลกั สูตร...................................................................................................... 146
8. การปรบั ปรุงหลกั สูตร ................................................................................................................. 153
บทสรปุ ........................................................................................................................................... 153
บทท่ี 7 การออกแบบและการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา................................................................... 155
บทนา.............................................................................................................................................. 155
1. การออกแบบและการพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษา....................................................................... 155
2. แนวโน้มของหลักสตู รสาหรบั พัฒนาผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21........................................................ 157
3. ข้นั ตอนการพัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษา...................................................................................... 161
บทสรุป ........................................................................................................................................... 164
บทที่ 8 หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน และหลกั สูตรสถานศกึ ษา ......................................... 165
บทนา.............................................................................................................................................. 165
1. หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551........................................................ 167
2. หลกั สตู รสถานศึกษา................................................................................................................... 179
บทสรปุ ........................................................................................................................................... 181
บทที่ 9 ปญั หาและแนวโนม้ การพฒั นาหลกั สูตรในศตวรรษที่ 21......................................................... 183
บทนา.............................................................................................................................................. 183
1. ปญั หาในการพฒั นาหลกั สูตร ...................................................................................................... 183
2. แนวโน้มการพัฒนาหลักสูตรในศตวรรษที่ 21.............................................................................. 185
3. แนวคิดหลักของศตวรรษท่ี 21.................................................................................................... 185
4. แนวคิดการจดั การศกึ ษาในศตวรรษที่ 21 ................................................................................... 191
5. การพฒั นาหลักสตู รในศตวรรษท่ี 21........................................................................................... 201
6. ข้อเสนอแนวทางการพฒั นาหลักสตู รในศตวรรษที่ 21................................................................. 208
บทสรุป ........................................................................................................................................... 211
บรรณานกุ รม....................................................................................................................................... 214
6
สารบญั ตาราง
ตารางที่ หน้า
2.1 การเปรยี บเทียบปรชั ญาสากลและปรัชญาการศึกษา ………………………………………………… 37
6.1 การประเมินหลักสูตรของสเต้ก..........................................................................................147
บทท่ี 1
ความรู้พ้นื ฐานการพัฒนาหลักสตู ร
พัชรีภรณ์ บางเขยี ว
บทนา
หลักสูตร ถือเป็นหัวใจของการจัดการศึกษา เพราะเป็นเคร่ืองมือสาคัญในการกาหนดแนวทางการจัด
การศึกษา เพื่อท่ีจะพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะพ้ืนฐานในการดารงชีวิตอยู่ในสังคม การจัดการศึกษาท่ีดีจึงควรมี
ความเหมาะสม สอดคล้องกับสภาพชีวิตและสังคมของผู้เรียน หลักสูตรจึงจาเป็นต้องปรับปรุงหรือพัฒนาให้
มีความทันสมัยต่อการเปล่ียนแปลงของสังคมในปัจจุบันและอนาคตอยู่เสมอ กระบวนการพัฒนาหลักสูตรจึงมี
ความสาคัญอย่างย่ิงต่อการจัดการศึกษา เพ่ือให้การพัฒนาคุณภาพการศึกษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
จาเป็นจะต้องมีหลักสูตรท่ีมีคุณภาพเป็นปัจจัยการดาเนินการท่ีสาคัญ ดังน้ันการศึกษาเกี่ยวกับหลักสูตรและ
การพัฒนาหลักสูตรจึงเป็นสิ่งจาเป็นท่ีควรได้รับการพัฒนาให้เกิดขึ้นอย่างกว้างขวาง ซึ่งข้อความรู้ท่ีเป็น
ประโยชน์ตอ่ การพฒั นาหลักสตู รดังกล่าว จะได้นาเสนอเป็นลาดบั ดังนี้
1. แนวคดิ เก่ยี วกับหลกั สตู ร
1.1 ความหมายของหลกั สตู ร (Curriculum)
หลักสูตร (Curriculum) มีรากศัพท์มาจากภาษาลาตินว่า "Currere" หรือ "Racecourse" ซึ่งมี
ความหมายถึงช่องทางสาหรับวิ่ง "running sequence of course or learning experience" ซ่ึงเป็น
การเปรียบเทียบหลักสูตรกับสนามหรือเส้นทางที่ใช้วิ่งแข่ง อาจเน่ืองจากการที่ผู้เรียนจะสาเร็จการศึกษา
ในระดับใดระดับหน่ึงหรือจบหลักสูตรใด ๆ น้ัน ผู้เรียนจะต้องเรียนและฟันฝ่าความยากของวิชาหรือ
ประสบการณ์การเรียนรู้ต่าง ๆ ท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตรตามลาดับ เช่นเดียวกับนักวิ่งที่ต้องว่ิงแข่งและ
ฟันฝ่าอุปสรรคเพือ่ ชัยชนะและความสาเร็จให้ได้ (Pinar, 1974) นอกจากน้ยี ังมีนักพัฒนาหลักสูตรได้ใหค้ า
นยิ าม ความหมายของหลกั สูตรไวอ้ ยา่ งหลากหลาย ดงั ตอ่ ไปนี้
2
ทาบา (Taba. 1962: 10) ได้กล่าวไว้ว่า หลักสูตร คือ แผนการเรียนรู้ท่ีประกอบด้วย จุดประสงค์และ
จุดหมายเฉพาะ การเลือกและการจัดเน้ือหา วิธีการจัดการเรียนการสอน และการประเมินผล เพื่อการจัดการ
เรียนรู้ ซ่ึงเปน็ วิธีการเตรียมเยาวชนใหม้ สี ่วนร่วมในฐานะสมาชิกท่สี ามารถสร้างผลผลิตให้แกส่ ังคมของเรา
ก๊ดู (Good. 1973: 157) ไดใ้ หค้ วามหมายของหลกั สตู รไว้ 3 ประการ ดงั นี้ คือ
1. หลักสูตร หมายถึง เนื้อหาวิชาท่ีจัดไว้เป็นระบบให้ผู้เรียนได้ศึกษา เพ่ือสาเร็จหรือ รับ
ประกาศนยี บัตรในสาขาวชิ าหนงึ่
2. หลักสูตร หมายถึง เค้าโครงสร้างทั่วไปของเน้ือหาหรือส่ิงเฉพาะท่ีจะต้องสอน ซึ่งโรงเรียนจัด
ให้แก่เดก็ เพอ่ื ให้สาเร็จการศึกษาและสามารถเขา้ ศึกษาต่อในทางอาชพี ต่อไป
3. หลักสูตร หมายถึง กลุ่มวิชาและการจัดประสบการณ์ท่ีกาหนดไว้ให้ผู้เรียนได้เรียนภายใต้การ
แนะนาของโรงเรียนและสถานศกึ ษา
ออนสเตน (Ornstein, 2013) ได้ให้คาจากัดความของคาว่าหลักสูตรว่า หมายถึง ลักษณะของ
แบบแผนท่ีนามาใช้เพ่ือบรรลุเป้าหมายของการเรียนการสอน เป็นประสบการณ์ของผู้เรียน ซึ่งหมาย
รวมถึงสิ่งท่ีอยู่ภายในและภายนอกโรงเรียน สามารถเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรได้ท้ังหมด รวมทั้งระบบที่
เก่ยี วข้องกบั บุคคลในโรงเรียน และหลักสตู รยังเปน็ วิชาทแ่ี บง่ ตามเน้ือหาสาระหรือองคค์ วามรู้หลกั ของวชิ า
นัน้ ๆ ดว้ ย
เซเลอรแ์ ละโอลิวา (Sayl & Oliva, 2013) ได้ให้คาจากัดความของหลักสตู ร หมายถึง สง่ิ ที่จะสอน
ในโรงเรียน เป็นองค์ความรู้หลัก หรือโปรแกรมการเรียนรู้ และเป็นทุก ๆ ประสบการณ์ท้ังในและนอก
โรงเรียน โดยการให้ความหมายหลักสูตรขึ้นอยู่กับลักษณะความเชื่อหรือปรัชญาการจัดการศึกษาของ
แตล่ ะบคุ คล โดยอาจมคี วามหมายท่ีอาจแตกตา่ งกนั ดังตอ่ ไปน้ี
1. หลักสตู ร คอื สงิ่ ทส่ี อนในสถานศึกษา
2. หลกั สตู ร คือ เน้ือหาวชิ า
3. หลกั สูตร คอื โปรแกรมสาหรับการเรยี น
4. หลกั สูตร คอื กลุ่มของวสั ดอุ ปุ กรณ์
5. หลักสูตร คือ กลุ่มวชิ า
6. หลกั สูตร คือ ลาดับของรายวิชา
7. หลกั สตู ร คอื กลุ่มการปฏิบตั ติ ามวตั ถุประสงค์
8. หลกั สูตร คือ รายวชิ าท่จี ะศกึ ษา
9. หลักสูตร คอื ทุกสงิ่ ทุกอยา่ งทดี่ าเนินการภายในสถานศึกษา การแนะแนว กจิ กรรมนอก
ชัน้ เรียน รวมท้ังบคุ คลที่เกีย่ วขอ้ ง
3
10. หลกั สูตร คอื สง่ิ ทส่ี อนทัง้ ในและนอกสถานศกึ ษา โดยการดแู ลจากสถานศกึ ษา
11. หลกั สตู ร คอื ทุกสิง่ ทไ่ี ดว้ างแผนจากบคุ ลากรในสถานศึกษา
12. หลักสตู ร คือ ลาดับขน้ั ตอนของประสบการณท์ สี่ ถานศึกษาจดั ให้กบั ผู้เรียน
13. หลกั สูตร คือ ผลของประสบการณท์ ี่ผเู้ รียนแต่ละคนได้รบั มาจากสถานศึกษา
มอร์ (Moore, 2015) ได้ให้ความหมายของหลักสูตรว่า หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่ประกอบด้วย
องค์ความรแู้ ละมาตรฐานการเรยี นรู้ โดยหลกั สตู รมกั จะเป็นกระบวนการทเ่ี กดิ ข้ึนเฉพาะภายในห้องเรยี น
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2554 ได้นิยามความหมายของหลักสูตรว่า
หมายถึงประมวลวิชาและกิจกรรมตา่ ง ๆ ทกี่ าหนดไว้ในการศึกษาเพ่ือวัตถุประสงค์อยา่ งใดอยา่ งหนึ่ง
วิชัย วงษ์ใหญ่ (2554: 6) ได้ให้แนวคิดเก่ียวกับความหมายของหลักสูตรไว้ว่า มีท้ังความหมาย
แคบและความหมายกว้าง ความหมายแคบ หลักสูตรจะหมายถึงวิชาท่ีใช้สอนเพ่ือให้เกิดการเรียนรู้กับ
ผู้เรียน ส่วนความหมายกว้างจะหมายถึง มวลประสบการณ์ท้ังหลายที่จัดให้กับผู้เรียนท้ังภายในและ
ภายนอกสถานศึกษา ท้ังทางตรงและทางอ้อม การจัดประสบการณ์การเรียนต้องมีความหลากหลาย
สอดคลอ้ งกับสังคมของการเรียนรู้
สุเทพ อ่วมเจริญ (2557: 4) กล่าวว่า “หลักสูตร (Curriculum) ” หมายถึง ศาสตร์ท่ีเรียนรู้เพ่ือ
นาไปกาหนดวิถีทางท่ีนาไปสู่การจัดประสบการณ์ให้กับผู้เรียนเพื่อการเรียนรู้ ซึ่งจัดกลุ่มได้เป็น 5 กลุ่ม
ดงั นี้
1. หลักสตู รเป็นผลผลิตในรปู แบบ เอกสาร สอื่ อิเล็กทรอนิกส์ หรอื มัลติมีเดยี เป็นตน้
2. หลกั สูตรเป็นโปรแกรมการศึกษา โดยปกติเขียนในรปู แบบหลักสูตรรายวชิ า การจดั ลาดับของ
มาตรฐานในการเรียนรู้ตามหลกั สูตร
3. หลักสตู รเป็นความตั้งใจเพ่ือการเรยี นรู้ จะบอกจุดหมาย เนือ้ หาสาระ มโนทศั น์ หลกั การท่วั ไป
และผลการเรียนรู้
4. หลักสตู รเป็นประสบการณ์ของผู้เรยี น มกี ิจกรรม ทงั้ ทมี ีการวางแผนและไม่ไดว้ างแผนไว้
5. หลักสตู รแฝง ไม่ไดเ้ ป็นหลกั สูตรโดยตรง แตจ่ ะเป็นสิ่งใดหรืออะไรก็ตาม ทผ่ี เู้ รยี นเรียนรทู้ ่ีไม่ได้
วางแผนไว้ หรือถงึ แม้จะไม่ได้เปน็ ความคาดหวังไว้ แต่สามารถเปน็ ไปได้
ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์ (2559: 3) ได้สรุปความหมายของหลักสูตรไว้ว่า หมายถึง มวลประสบการณ์
ท้ังหลายซ่ึงเป็นแนวทางสาหรับจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ที่โรงเรียนจัดให้แก่ผู้เรียนเพื่อพัฒนาให้เขามี
คุณลักษณะตามทสี่ ังคมคาดหมายไว้
4
จากข้อความข้างต้นสามารถสรุปความหมายของการพัฒนาหลักสูตรโดยจาแนกความหมายเป็น
กลุ่มได้ ดงั นี้
1. หลักสูตร คือ รายวิชาหรือเน้ือหาสาระท่ีใช้สอน ซึ่งเด็กและเยาวชนจะต้องทาและจะต้อง
ประสบโดยการพฒั นาความสามารถเพือ่ จะทาสง่ิ ต่าง ๆ ให้ดแี ละเหมาะสมสาหรบั การดารงชีวิตต่อไป
2. หลักสูตร คือ มวลประสบการณ์ท่ีโรงเรียนจัดให้แก่ผู้เรียน เป็นประสบการณ์ทุกชนิดของ
ผู้เรียนท่ีโรงเรียนรับผิดชอบดาเนินการ รวมท้ังรายวิชาที่เปดิ สอน เอกสารหลักสูตร กระบวนการเรียนการ
สอน รวมทงั้ ปฏสิ มั พันธ์และประสบการณข์ องแต่ละคน
3. หลักสูตร คือ กิจกรรมการเรียนการสอน เป็นกิจกรรมการเรียนการสอนต่าง ๆ ที่เตรียมการ
ไว้ และจัดใหแ้ ก่ผ้เู รียนโดยโรงเรยี นหรือระบบโรงเรยี น
4. หลักสูตร คือ สิ่งที่สังคมคาดหมายหรือมุ่งหวังจะให้เด็กได้รับ เป็นชุดของการเรียนและ
ประสบการณส์ าหรบั ผเู้ รยี นท่วี างแผนไว้โดยโรงเรยี น เพ่ือให้ผเู้ รยี นบรรลุจดุ ประสงค์ของการศึกษา
5. หลักสูตร คือ ส่ือกลางหรือวิถีทางที่จะนาผู้เรียนไปสู่จุดหมายปลายทาง เป็นวิธีการเตรียม
เยาวชนใหม้ ีสว่ นร่วมในฐานะทเี่ ปน็ สมาชกิ ท่ีสามารถสร้างผลผลิตใหแ้ กส่ งั คม
6. หลักสูตร คือ กระบวนการปฏิสมั พันธร์ ะหว่างผู้เรยี นกับครู และสิ่งแวดล้อมทางการเรยี น เป็น
กระบวนการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับครู และเนื้อหาสาระในส่วนที่เป็นงานทางการศึกษา ซ่ึง
ประกอบด้วย ขอ้ มลู ทักษะ และค่านยิ ม เพือ่ ท่ีจะนาไปสูจ่ ุดหมายปลายทางท่ีได้กาหนดไว้
ความหมายของการพัฒนาหลักสตู ร
ทาบา (Taba (1962: 6 - 7) กล่าวถึงความหมายของการพัฒนาหลักสูตรไว้ว่า การพัฒนาหลักสูตร
เป็นงานท่ีสลับซับซ้อน ซึ่งรวมการตัดสินใจเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ ที่เก่ียวกับการเรียนการสอนไว้หลายประการ
ได้แก่ การตัดสินใจเกี่ยวกับจุดมุ่งหมายท่ัวไปที่โรงเรียนต้องการจะจัดการศึกษาและจุดมุ่งหมายเฉพาะเก่ียวกับ
การเรยี นการสอน การตัดสินใจเกี่ยวกับการเลือกวิชาหรือรายวิชาในหลักสูตรและเน้ือหาวิชาที่จะบรรจุไว้
ในแต่ละวิชา การเลือกประสบการณ์การเรียนใหัสอดคล้องกับเนื้อหาและจุดมุ่งหมายการตัดสินใจเกี่ยวกับ
การประเมินผลว่านักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างและสัมฤทธ์ิผลของหลักสูตรในการบรรลุผล ตามจุดมุ่งหมาย
ท่ตี งั้ ไวแ้ ละประการสุดทา้ ยจะต้องตัดสินใจเลอื กรปู แบบของหลักสตู รทจ่ี ะใช้ได้ด้วย
กูด (Good ,1973: 157 - 158) ได้ให้ความหมายของการพัฒนาหลักสตู รไว้วา่ การพัฒนาหลักสูตร
มีความหมายใน 2 ลักษณะ คือ การปรับปรุงและการเปลี่ยนแปลงหลักสูตร การปรับปรุงหลักสูตรเป็น
วิธีการพัฒนาหลักสูตรอย่างหน่ึง เพ่ือให้เหมาะสมกับโรงเรียนหรือระบบโรงเรียน จุดหมายของการสอน
วัสดุ อุปกรณ์ วิธีสอนรวมท้ังการประเมินผล ส่วนคาว่าการเปล่ียนแปลงหลักสูตร หมายถึง การแก้ไข
หลกั สูตรให้แตกต่างไปจากเดิมเปน็ การสรา้ งโอกาสทางการเรยี นขนึ้ ใหม่
5
เซเลอร์ แอนด์ อเล็กซานเดอร์ (Saylor and Alexander ,1974: 17) ได้กล่าวไว้ว่าการพฒั นาหลักสูตร
หมายถึง การทาหลักสูตรท่ีมีอยูแ่ ล้วให้ดีขึ้นหรือการจดั หลักสตู รข้ึนมาใหม่โดยไมม่ ีหลักสตู รเดิมเป็นพ้ืนฐานอยู่
เลย ความหมายของคาว่าการพัฒนาหลักสตู รจะไมร่ วมถงึ การผลติ เอกสารใด ๆ สาหรับผู้เรียนดว้ ย
ไทเลอร์ (Tyler,(1975: 17) ได้ให้ความหมายของการพัฒนาหลักสูตรไว้ว่าหมายถึง การพัฒนา
แผนสาหรับโปรแกรมการศึกษาซ่ึงจะมีการกาหนดและการเลือกจุตมุ่ งหมายทางการศึกษาการเลือก
ประสบการณก์ ารเรียน การจดั ประสบการณ์การเรียน และการประเมนิ ผลโปรแกรมการศึกษา
วิชัย วงษ์ใหญ่ (2525: 10) กล่าวว่า การพัฒนาหลักสูตร คือ การพยายามวางโครงการท่ีจะช่วยให้
นักเรียนได้เรียนรู้ตรงตามจุดหมายท่ีกาหนดไว้ หรือการพัฒนาหลักสูตรและการสอนคือ ระบบโครงสร้างของ
การจัดโปรแกรมการสอนกาหนดจุดมุ่งหมาย เน้ือหาสาระ การปรับปรุงตารา แบบเรียน คู่มือครูและสื่อการ
เรียนต่าง ๆ การวัดและประเมินผลการใช้หลักสูตรการปรับปรุงแก้ไข และการให้การอบรมครูผู้ใช้หลักสูตรให้
เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการพัฒนาหลักสูตรและการสอนรวมท้ังการบรหิ ารและบริการหลักสูตร
ชัยวัฒน์ สทุ ธิรตั น์ (2559, 73) กล่าวว่าการพัฒนาหลกั สูตร เปน็ ความหมายของการดาเนินการใน
2 ลักษณะ คือ ดาเนินการพัฒนาหลักสูตรเดิมที่มีอยู่แล้วให้ดีข้ึน หรือเป็นการจัดทาหลักสูตรใหม่ท่ีไม่มี
หลักสูตรเดิมอยู่ก่อนเลย ซ่ึงในการพัฒนาหลักสูตรนักพัฒนาหลักสูตรต้องทาอย่างมีหลักการ มีระบบ
พัฒนาอย่างต่อเน่ือง โดยอาศัยการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายท่ีเก่ียวข้อง และควรให้ผู้เชี่ยวชาญภายนอกเข้า
มามีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตร รวมทั้งมีการพัฒนาครูและผู้เกี่ยวข้องในการพัฒนาหลักสูตรให้มี
สมรรถนะในการพัฒนาหลักสตู ร
จากความหมายการพัฒนาหลักสูตรดังกล่าว สรุปได้ว่า การพัฒนาหลักสูตร หมายถึง การ
ดาเนินการจัดทาหลักสูตรขึ้นมาใหม่ หรือการพัฒนาหลักสูตรทีม่ ีอยเู่ ดิมใหด้ ีขนึ้ มีความเหมาะสมกับบรบิ ท
มากขึ้น โดยมีกระบวนการวางแผนการดาเนนิ การอย่างเป็นระบบ ทั้งการกาหนดจุดมุ่งหมาย การกาหนด
เน้ือหา/มวลประสบการณ์ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทุกประเภท และการประเมิลผล เพื่อให้ผู้เรียนเกิด
การเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรมตามจุดประสงค์ของหลกั สูตร และสามารถพฒั นาผู้เรยี นให้บรรลคุ วามมุ่งหมาย
ของการจดั การศกึ ษาไดเ้ ปน็ อย่างดี
1.2 ความสาคัญของหลักสตู ร
นักการศึกษาหลายท่านได้แสดงทัศนะและความคิดเห็นท่ีเก่ียวกับความสาคัญของหลักสูตรว่า
หลักสูตรมีความสาคัญอย่างไรต่อการจัดการศึกษา ซึ่งส่วนใหญ่เห็นตรงกันว่าหลักสูตรมีความสาคัญต่อ
คณุ ภาพการเรยี นรขู้ องผูเ้ รียน โดยมีสาระสาคญั ดงั นี้
6
วชิ ัย วงศ์ใหญ่ (2554, 4) ไดก้ ล่าวถึงความสาคัญของหลักสูตรไว้ว่า หลักสูตรมีความสาคัญและจาเป็น
สาหรับการจัดการศึกษาของประเทศไทยในระดับและประเภทต่าง ๆ ต้ังแต่การจัดการศึกษาผู้เรียนก่อนวัย
เรียน การประถมศึกษา การมัธยมศึกษา การศึกษานอกระบบ การศึกษาประเภทอาชีวศึกษา และการ
อุดมศึกษา รวมท้ังการฝึกอบรมท้ังระยะสั้นและระยะยาว ซึ่งหลักสูตรเป็นเคร่ืองมือท่ีทาให้ความมุ่งหมายของ
การจัดการศึกษาของประเทศมปี ระสิทธิภาพ ความสาคญั ของหลักสูตร สรปุ ไดด้ งั นี้
1. หลักสูตรเป็นแผนและแนวทางในการจัดการศึกษาของชาติให้บรรลุตามความมุ่งหมายและ
นโยบาย
2. หลักสูตรเป็นหลักและเป็นแนวทางในการวางแผนวิชาการ การจัดการ การบริหารการศึกษา
การสรรหา และการพัฒนาบุคลากร การจัดวัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ นวัตกรรมการเรียนการสอน
งบประมาณ อาคารสถานที่ ซง่ึ จาเป็นต้องได้รบั การพิจารณาใหเ้ หมาะสมและสอดคล้องกับความคาดหวัง
ของหลักสูตร
3. หลักสูตรเป็นเคร่ืองมือในการควบคุมมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและคุณภาพของผู้เรียน
ให้เป็นไปตามนโยบายและแผนการศึกษาชาติ และสอดคล้องกับความต้องการของแต่ละท้องถนิ่
4. ระบบหลักสูตรจะกาหนด ความมุง่ หมาย ขอบขา่ ยเนื้อหาสาระ แนวทางการจัดประสบการณ์
การเรียนการสอน แหลง่ ทรพั ยากร และการประเมนิ ผลสาหรับการจัดการศกึ ษาของผ้สู อนและผบู้ รหิ าร
5. หลักสูตรจะเป็นเคร่ืองบ่งช้ีทิศทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพและสอดคล้องกับ
แนวโน้มการพฒั นาสังคมของประเทศ
มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช (2555) กล่าววา่ การพัฒนาหลักสตู รมคี วามสาคญั ต่อปัจจัยด้าน
ต่าง ๆ ดงั นี้
1. การพัฒนาเศรษฐกิจ สภาวะการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจมีรวดเร็วมาก ระบบการค้าใน
ระดับโลกหรือภูมิภาคท่ีมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศมีหลายอย่างมากข้ึน เช่น องค์การค้าโลก
เขตการค้าเสรี การปรับตัวด้านการค้าไม่ทันการสภาวะการเปลี่ยนแปลงระดับโลก ทาให้เสียเปรียบคู่แข่ง
ขันในต่างประเทศ อาชีพเกิดใหม่มีมากขึ้น การพัฒนาให้ผู้เรียนสามารถสร้างอาชีพด้วยตนเองมีความจา
เปน็ มากข้นึ
2. การพัฒนาการเมืองการปกครอง การปลูกฝังแนวความคิดที่ช่วยส่งเสริมความเป็น
ประชาธิปไตยอย่างถูกต้องเป็นสิ่งสาคัญ ซึ่งจะช่วยแก้ปัญหาในเรื่องการซื้อสิทธิขายเสียงในการเลือก
ผูแ้ ทนแต่ละครงั้ ท่ียงั คงมมี ากอย่ใู หห้ มดไป
7
3. การพัฒนาสังคม โดยทส่ี ังคมคาดหวังทจี่ ะให้การศกึ ษาช่วยปลูกฝังและถ่ายทอดวัฒนธรรมที่ดี
งามของสังคมสืบต่อไป ซ่ึงขณะน้ีการไหลบ่าทางวัฒนธรรมจากต่างประเทศกาลังเข้ามาและรวดเร็ว
โดยเฉพาะจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ตลอดจนปัญหาสังคมในกลุ่มวัยรุ่น ได้แก่ ปัญหายาเสพติด ปัญหาโรค
เอดส์ นอกจากนีย้ ังมีปัญหาสงั คมอนั เนอ่ื งมาจากการพฒั นาประเทศ เช่น สภาพสงั คมท่ีมีความแตกต่างกัน
มากของสังคมเมืองกบั สังคมชนบท สภาพปัญหาต่าง ๆ เหล่าน้ีหลักสูตรท่ีพฒั นาใหม่ตอ้ งชว่ ยพัฒนาสงั คม
ให้ดีขึน้ ด้วย
4. การพัฒนาด้านวิชาการ ความรู้วิทยาการต่าง ๆ มีเพ่ิมขึ้นรวดเร็วมาก โดยเฉพาะความรู้
ความก้าวหน้าด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทาให้เกิดเทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่มีผลกระทบต่อการ
เปล่ียนแปลงของสังคมเร็วมาก เช่น เทคโนโลยีส่ือสารโทรคมนาคม คอมพิวเตอร์ ตลอดจนความรู้ใหม่ ๆ
ดา้ นชวี ภาพการปรับแต่งพนั ธกุ รรม การพัฒนาหลกั สตู รตอ้ งเตรียมพร้อม ผู้เรยี นใหพ้ ร้อมรับวิทยาการใหม่
ไดท้ ันกบั ความก้าวหน้าได้
5. การแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติจนเกินขีดจากัด
มีผลต่ออนาคตของคนรุ่นต่อไป ทาให้ไม่มีทรัพยากรธรรมชาติเพียงพอ ปัญหามลพิษทั้งทางน้า ทางบก
และทางอากาศมีมากข้ึน การพัฒนาหลักสูตรช่วยลดปัญหาด้านนี้ลงได้ โดยสร้างความตระหนักให้กับ
ผเู้ รียนได้รับรู้ในปัญหาเหล่าน้ีให้ได้ความรู้ในการรองรับป้องกนั ปัญหาหรืออาจถึงข้ึนช่วยแก้ไขปัญหาด้วย
ในบางส่วน
จากข้อความข้างต้น จึงสรุปได้ว่า หลักสูตรมีความสาคัญเป็นอย่างมากในกระบวนการจัดการ
เรียนการสอน เพราะหลักสูตรเป็นแม่บทที่จะบอกให้ทราบว่าผู้เรียนจะบรรลุจุดมุ่งหมายอย่างไร และ
จะต้องจัดเน้ือหาสาระอย่างไร จัดกิจกรรมการเรียนการสอนย่างไร และใช้เครื่องมือวัดผลประเมินผล
อย่างไร ดังน้ันหลักสูตรจึงเป็นหัวใจของการจัดการเรียนการสอน และเป็นตัวกาหนดแนวทางในการจัด
การศกึ ษาเพอ่ื นาไปสคู่ วามมุง่ หมาย ตามแผนการศึกษาแหง่ ชาติ และเป็นไปตามทส่ี ังคมตอ้ งการ
1.3 องค์ประกอบของหลักสตู ร (Curriculum Component)
หลักสูตรที่สมบูรณ์ต้องมีองค์ประกอบท่ีจาเป็นอย่างครบถว้ น ผู้สอนจึงจะสามารถนาไปใช้ในการ
จัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึงในเร่ืององค์ประกอบของหลักสูตรน้ี ได้มีนักการศึกษาให้
ขอ้ เสนอแนะทเี่ ป็นสาระสาคญั ไว้ดังนี้
ไทเลอร์ (Tyler, 1971: 1) ได้ตงั้ คาถามซึ่งนาไปสขู่ ้อสรปุ เพอ่ื เป็นองคป์ ระกอบสาคัญของหลักสตู ร
มี 4 ประการ คือ
1. จุดมุ่งหมายทางการศึกษา (Educational purpose) ที่โรงเรียนต้องการให้ผู้เรียนเรียน
บรรลุผล
8
2. ประสบการณ์ทางการศึกษา (Educational experience) ที่โรงเรียนจะจัดประสบการณ์
อะไรบ้างท่ีจะทาใหผ้ ู้เรยี นบรรลผุ ลตามจดุ มุง่ หมายท่กี าหนดไว้
3. วิธีการจัดประสบการณ์ (Organizational of educational experience) โรงเรียนจะจัด
ประสบการณ์ให้มีประสิทธภิ าพได้อย่างไร
4. วิธีการประเมิน (Determination of what to evaluate) เพื่อตรวจสอบจุดมุ่งหมายท่ี
กาหนดไว้ และจะทราบได้อยา่ งไรว่าผูเ้ รียนบรรลุจุดมุ่งหมายนั้น ๆ แล้ว
ทาบา (Taba, 1962: 422-423) ได้นาเสนอองค์ประกอบของหลักสูตรที่สาคัญไว้ 4 ประการ
ได้แก่ จุดประสงค์ เน้ือหาวิธีสอน และการดาเนินการและการประเมินผล ซึ่งแต่ละองค์ประกอบมี
สาระสาคัญ ดังนี้
1. จดุ ประสงค์ (Objectives) มีความสาคัญยิ่งเนอ่ื งจากจุดประสงค์จะเป็นแนวทางของการเรียน
การสอน ทาใหผ้ ้สู อนรู้วา่ มีจุดประสงค์อะไรบ้างในการสอน ตอ้ งสอนเน้อื หาอะไร สอนใคร สอนทาไม และ
จะมวี ิธีการสอนและประเมินผลอยา่ งไร
2. เน้อื หา (Subject matter) หมายถงึ สาระของความรแู้ ละประสบการณ์ในการแสวงหาความรู้
ตามศาสตร์สาขาวิชาน้ัน ๆ เนื้อหาวิชาจะเป็นรายละเอียดของสาระความรู้และประสบการณ์ดังกล่าวท่ี
นามาถา่ ยทอดใหก้ ับผเู้ รยี นใหม้ คี ุณลกั ษณะตามจดุ ประสงค์ทก่ี าหนดไว้ในหลกั สูตร
3. วิธีสอนและการดาเนินการ (Methods and organization) เป็นการแปลงจุดประสงค์และ
เนอ้ื หาของหลักสูตรไปสกู่ ารสอนตามทหี่ ลักสูตรกาหนดไว้ โดยใช้วธิ ีสอนแบบตา่ ง ๆ ทหี่ ลากหลาย เพ่ือให้
ผเู้ รียนมผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นและคุณลักษณะตามจุดประสงค์ของหลักสตู ร
4. การประเมินผลหลักสูตร (Evaluation) เป็นการประเมินเพ่ือปรับปรุงการเรียนการสอน โดย
ประเมินว่าผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณลักษณะตามจุดประสงค์ของหลักสูตรหรือไม่ โดยใช้
จุดประสงคเ์ ป็นแนวทางหรอื เป็นเกณฑใ์ นการประเมนิ
วตั ถปุ ระสงค์
เนือ้ หาวิชา กจิ กรรม
ประเมนิ ผล
ภาพที่ 1.1 องคป์ ระกอบหลักสูตร (ทม่ี า: Hilda Taba. 1962: 423)
9
โบแชมพ์ (George Beauchamp. 1968: 108) เป็นผู้กล่าวถึงองค์ประกอบของหลักสูตรในเชิง
ระบบ คอื ส่วนทีป่ อ้ นเขา้ (Input ) กระบวนการ (Process ) และผลลัพธ์ทไ่ี ด้ (Output) ตามภาพท่ี 1.2
ส่วนท่ีป้อนเขา้ กระบวนการ ผลลัพธ์
เนือ้ หาวชิ า ลกั ษณะการใช้ ความรู้
ผู้เรียน ส่อื /อุปกรณ์ ทักษะ
ชมุ ชน ระยะเวลา เจตคติ
พน้ื ฐานการศึกษา การวัดผล ความมน่ั ใจ
ภาพที่ 1.2 โครงสร้างหลักสูตรเชิงระบบ (ทมี่ า: George Beauchamp. 1968: 109)
ธารง บวั ศรี (2542: 8-9) ไดส้ รุปองคป์ ระกอบสาคญั ของหลักสตู รไว้ 9 ประการ ไดแ้ ก่
1. เป้าประสงค์และนโยบายการศึกษา (Education goals and policies) หมายถึง สิ่งท่ีรัฐ
ตอ้ งการตามแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาตใิ นเรื่องท่เี ก่ียวกับการศึกษา
2. จุดหมายของหลักสูตร (Curriculum aims) หมายถึง ผลส่วนรวมที่ต้องการให้เกิดแก่ผู้เรียน
หลังจากเรียนจบหลักสูตรแล้ว
3. รูปแบบและโครงสร้างหลักสูตร (Types and structures) หมายถึง ลักษณะและแผนผังท่ี
แสดงการแจกแจงวิชาหรือกล่มุ วชิ า หรอื กลุ่มประสบการณ์
4. จุดประสงค์ของวิชา (Subject objectives) หมายถึง ผลที่ต้องการให้เกิดแก่ผู้เรียน หลังจาก
ที่ได้เรยี นวิชานัน้ แลว้
5. เน้ือหา (Content) หมายถึง ส่ิงที่ต้องการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ทักษะและความสามารถที่
ตอ้ งการใหม้ ี รวมท้ังประสบการณท์ ่ีตอ้ งการให้ไดร้ ับ
6. จุดประสงค์ของการเรียนรู้ (Instructional ojectives) หมายถึง ส่ิงที่ต้องการให้ผู้เรียนได้
เรยี นรู้ ไดม้ ที ักษะและความสามารถ หลังจากทไ่ี ดเ้ รียนรู้เน้อื หาท่กี าหนดไว้
7. ยุทธศาสตร์การเรียนการสอน (Instructional strategies) หมายถึง วิธีการจัดการเรียนการ
สอนที่เหมาะสมและมีหลักเกณฑ์ เพื่อให้บรรลุผลตามจุดประสงค์ของการเรียนรู้
10
8. การประเมินผล (Evaluation) หมายถึง การประเมินผลการเรียนรู้เพื่อใช้ในการปรับปรุงการ
เรียนการสอนและหลกั สูตร
9. วสั ดุหลกั สตู รและสอ่ื การเรยี นการสอน (Curriculum materials and Instructional media)
หมายถึง เอกสารส่ิงพิมพ์ วีดิทัศน์ ภาพ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เป็นต้น ท่ีจะช่วยส่งเสริมคุณภาพและ
ประสทิ ธิภาพการเรยี นการสอน
จากสาระขา้ งต้นจึงสรุปได้ว่า องค์ประกอบหลักสูตรประกอบด้วยองค์ประกอบสาคญั 4 ประการ
ดังนี้
1. จุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ เป็นการกาหนดคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ซึ่งจะ
กาหนดให้ครบทง้ั 3 ด้าน คือดา้ นพุทธิพสิ ยั ด้านจิตพิสัย และดา้ นทักษะพิสยั
2. เนื้อหาวิชาหรือสาระการเรียนรู้เป็นเน้ือหาสาระสาคัญท่ีต้องจัดไว้อย่างเป็นระบบ เพื่อเอ้ือต่อ
การบรรลุความจุดมุ่งหมายของหลักสูตร โดยทั่วไปถ้าเป็นหลักสูตรระดับอุดมศึกษามักจะเรียกว่าเนื้อหา
รายวิชาแต่ถ้าหลกั สูตรสถานศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน ซง่ึ เป็นหลกั สตู รกลางจะเรยี กว่า สาระการเรียนรู้
3. การนาหลักสูตรไปใช้หรือจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เป็นหน้าที่ของครูผู้สอนและผู้ท่ี
เกี่ยวข้องที่ จะต้องจัดส่วนประกอบต่าง ๆ เช่น คู่มือครู แผนการสอน ส่ือต่างๆ ในการจัดการเรียนการ
สอนเพือ่ ให้หลักสูตรบรรลจุ ดุ มุ่งหมายได้
4. การประเมินผล เป็นการพิจารณาตัดสินว่ามีคุณค่าบรรลุตามจุดมุ่งหมายที่กาหนดไว้หรือไม่
เพยี งใด
2. หลักการของหลกั สตู ร
คาวา่ "หลักการ" ในบรบิ ทนี้ หมายถึง ข้อเท็จจริง ธรรมชาติ คุณสมบัติ หรือข้อตกลงท่ัวไปท่ีถือ
วา่ เป็นจริงและยอมรับกันทวั่ ไปในระหว่างนักพัฒนาหลักสูตร เชน่ ข้อเท็จจรงิ หรือความเชื่อท่ีว่า หลักสตู ร
เป็นงานกลุ่มท่ีต้องอาศัยความรว่ มมือจากหลายฝ่าย เป็นกระบวนการตอ่ เน่อื ง หรอื หลักสูตรมลี ักษณะเป็น
พลวัตที่ต้องมีการปรับปรุงเปล่ียนแปลงเพื่อให้สอดคล้องกับความเปล่ียนแปลงของสังคม เป็นต้น โอลิว่า
(Oliva, 1982 อ้างถึงใน ทัศนีย์ ชาติไทยและคณะ 2557, 13-21) ได้ศึกษาและรวบรวมหลักการของ
หลกั สตู รไว้ 10 หลักการ ดงั ต่อไปน้ี
11
หลักการที่ 1 การเปลี่ยนแปลงหลักสตู รเปน็ สง่ิ ท่ีพงึ กรทาและเป็นสิง่ ที่ไมม่ ใี ครหา้ มได้
ความเปล่ียนแปลงเป็นสิ่งที่จาเป็นและเป็นสิ่งท่ีขาดไม่ได้ ที่เป็นเช่นน้ีก็เพราะชีวิตของคนเรา
เจริญเติบโตและพัฒนาโดยกระบวนการของการเปลี่ยนแปลงของมนุษย์เอง การเจริญเติบโต การเรียนรู้
และการพัฒนาตนเองเป็นสัดส่วนกับความสามารถของเขาท่ีจะตอบสนองและปรับตนเองให้เข้ากับการ
เปล่ียนแปลง สังคมและสถาบันทางสังคมจะเผชิญกับปัญหาต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง สังคมจึงมีหน้าท่ีที่จะ
ตอบสนองและขจดั ปญั หาอันเกิดจากการเปลย่ี นแปลงเหลา่ นี้
หลกั การท่ี 2 หลกั สูตรเป็นผลิตผลของแตล่ ะช่วงเวลา
ความจรงิ ขอ้ น้เี กี่ยวเนอื่ งกับข้อแรก ซึ่งพอจะทาความเข้าใจอย่างง่าย ๆ วา่ หลกั สูตรของโรงเรียน
ไม่เพียงแต่เป็นผลสะท้อนเท่านั้น แต่ยังเป็นผลิตผลของช่วงเวลาน้ันด้วย หลักสูตรสามารถตอบสนองต่อ
พลังทางสงั คม และจะถกู เปลีย่ นแปลงโดยพลังดังกล่าว เช่น ความเชื่อทางปรัชญา หลักทางจิตวิทยา องค์
ความรทู้ ี่เพ่ิมข้ึนเร่ือย ๆ ภาวะผู้นาทางการศึกษาในช่วงเวลานั้น ๆ และส่ิงประดิษฐ์ใหม่ ๆ ในขณะนั้นต่าง
กม็ ีพลงั และอิทธิพลตอ่ หลกั สตู รด้วยกันทัง้ ส้ิน กลา่ วคอื การปรับปรงุ และเปลี่ยนแปลงหลกั สูตรบางสว่ นเกิด
จากผลของการค้นพบนวตั กรรมสง่ิ ใหม่ ๆ รวมท้ังผลสาเร็จทางด้านวทิ ยาศาสตร์
หลักการท่ี 3 การเปลี่ยนแปลงหลักสูตรที่เกิดข้ึนในช่วงแรกจะมีส่วนหน่ึงท่ีขนานและเกิดข้ึน
รว่ มกนั กับการเปล่ียนแปลงหลักสตู รท่ีเกดิ ข้นึ ในชว่ งตอ่ มา
ความจริงในประเด็นนี้ก็คือ การเปล่ียนแปลงหลักสูตรท่ีได้เกิดขึ้นในตอนแรกของช่วงระยะเวลา
หนึ่งยังสามารถดารงอยู่ร่วมกันได้กับการเปล่ียนแปลงหลักสูตรใหม่ที่เกิดขึ้นในช่วงระยะเวลาต่อมา
ซึ่งหมายความว่า การปรับปรุงเปล่ียนแปลงหลักสูตรมักจะไม่เป็นการเริ่มต้นแล้วจบสิ้นลงทันทีทันใด
แต่ความเปล่ียนแปลงนั้น ๆ ต้องใช้เวลานานและดาเนินต่อไปในขณะที่มีการเปล่ียนแปลงหลักสูตร
โครงการใหม่เกดิ ขน้ึ จงึ มกี ระบวนการและข้ันตอนสว่ นหน่ึงทเ่ี กดิ ข้ึนพร้อมกันหรือซ้อนกันอยู่
หลักการที่ 4 การเปลย่ี นแปลงหลกั สตู รเปน็ ผลมาจากการเปลี่ยนแปลงในตัวบคุ คล
หลักการน้ตี อ้ งการจะชใ้ี ห้เห็นว่า การเปลี่ยนแปลงหลกั สูตรที่ประสบความสาเรจ็ นัน้ จาเปน็ จะต้อง
มีการเปล่ียนแปลงในตัวบุคคลที่เกี่ยวข้องด้วย ตัวบุคคลที่เก่ียวข้อง ในท่ีน้ีหมายรวมตั้งแต่นักพัฒนา
หลักสูตรเอง เจ้าหน้าที่ทางด้านหลักสูตร ผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้สอน และบุคลากรอื่นที่เกี่ยวข้อง
นักพัฒนาหลักสูตรจึงควรเร่ิมงานที่การเปล่ียนตนเองและการใช้ความพยายามให้เกิดการเปล่ียนแปลงใน
ตัวบุคคลท่ีเกี่ยวข้อง ในรูปของการให้ความรู้ การฝึกอบรม และการให้มีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนา
หลักสูตร เพ่ือให้บุคคลเหล่านี้เกิดความรู้ใหม่ มีเจตคติและค่านิยมใหม่เก่ียวกับหลักสูตรใหม่ เพื่อว่าพวก
เขาจะไดด้ าเนินการและจดั การเรียนการสอนใหส้ อดคล้องกบั จุดหมายและความต้องการของหลกั สูตรใหม่
อยา่ งแท้จรงิ
12
หลักการที่ 5 การพัฒนาหลักสตู รเป็นงานกลุ่มทต่ี อ้ งอาศยั ความรว่ มมือจากหลายฝ่าย
ในอดีต การดาเนินงานเกีย่ วกับหลักสตู รมักจะจากัดอยู่ทกี่ ารทางานของกลุ่มเล็ก ๆ หรือข้ึนอยู่กับ
คาสัง่ ของฝ่ายบรหิ าร แตใ่ นปัจจบุ ันน้ีมีการสนบั สนนุ ให้กลุม่ ต่าง ๆ และบคุ คลเปน็ จานวนมากได้มีสว่ นรว่ ม
ในการพัฒนาหลักสูตรอย่างแท้จริง ถ้าครูแต่ละคนต่างทางานของตนไปก็จะมีผลต่อการเปล่ียนแปลง
หลักสูตรเฉพาะในส่วนท่ีเขาทาได้และภายในวงแคบ ๆ ดังนั้น ถ้าจะให้การเปลี่ยนแปลงท่ีมากมายและมี
นัยสาคัญประสบความสาเร็จจึงจาเป็นจะต้องใช้การตัดสินของกลุ่มเท่าน้ัน และกลุ่มต่าง ๆ จะเกี่ยวข้อง
กบั การพฒั นาหลักสูตรภายใตบ้ ทบาทและหนา้ ท่ีท่ีแตกต่างกนั ออกไป
หลักการท่ี 6 การพัฒนาหลักสูตรเป็นกระบวนการของการตัดสินใจเลือกจากทางเลือกท่ีมีอยู่
หลายทางเลือก
โดยพ้ืนฐานการพัฒนาหลักสูตรเป็นเร่ืองของการตัดสินใจ โดยเฉพาะนักพัฒนาหลกั สูตรที่จะต้อง
ทางานกับผู้คนทเี่ กยี่ วขอ้ งหลาย ๆ ฝา่ ย จะต้องพจิ ารณาตดั สินใจในเรือ่ งตอ่ ไปนี้
1. ทางเลือกที่เก่ียวข้องกับวิชาต่าง ๆ การท่ีหลักสูตรไม่ได้กาหนดให้มีวิชาปรัชญา มานุษยวิทยา
และภาษาจนี แสดงใหเ้ ห็นว่า ได้มีการตดั สนิ ใจเลือกแลว้ วา่ ผ้เู รียนควรจะเรียนวิชาใดบา้ ง
2. ทางเลือกระหว่างทรรศนะที่แตกต่างกัน เช่น นักพัฒนาหลักสูตรจะต้องตัดสินใจว่า เขาเห็น
ดว้ ยหรือไม่กับความเชื่อที่วา่ การจัดการศึกษาในลักษณะทใ่ี ห้ใช้สองภาษาจะสนองความตอ้ งการของสังคม
ที่ประกอบด้วยคนหลายภาษาได้ ควรจะมีการจัดให้เด็กเรียนช้าอยู่ในห้องพิเศษแยกออกไปจากห้องเด็ก
ปกติหรอื ไม่
3. ทางเลือกทเี่ กย่ี วกับการเนน้ เช่น โรงเรยี นควรให้ความช่วยเหลือแก่เด็กอ่านหนังสือไม่ออกเป็น
พเิ ศษหรอื ไม่ และควรจดั โปรแกรมสาหรับเดก็ ท่มี ีความถนัดพเิ ศษหรอื ไม่
4. ทางเลอื กเก่ียวกับวิธีการ เป็นต้นวา่ วิธกี ารใดเหมาะสมทสี่ ุดสาหรับการสอนอ่าน สอนให้อ่าน
เป็นคาหรือใช้วิธีประสมอกั ษร และส่ือประเภทใดใช้ได้ผลดี
5. ทางเลือกเก่ียวกบั การจัดระบบ เชน่ โรงเรียนแบบไม่มีชั้นเรียนเหมาะทจี่ ะเปิดโอกาสใหท้ ุกคน
ได้เรียนรู้อย่างดีหรือไม่ ควรจะจัดโปรแกรมประถมศึกษาเป็นแบบห้องเรียนท่ีมีเน้ือที่เปิดกว้าง (Open
Space) หรือแบบหอ้ งเรยี นปกติ
เป็นที่ประจักษ์ชัดว่า คุณลักษณะท่ีจาเป็นสองประการของนักพัฒนาหลักสูตร ได้แก่
ความสามารถท่ีจะตัดสินใจลงไปหลังจากได้มีการศึกษามาอย่างรอบคอบและเพียงพอ และมีความยินดีที่
จะตดั สินใจ บุคคลทไี่ ม่ชอบตัดสนิ ใจไมค่ วรจะทาหนา้ ทเ่ี ป็นนักพฒั นาหลักสูตร
13
หลักการท่ี 7 การพฒั นาหลักสตู รเปน็ กระบวนการต่อเนือ่ ง
ตามหลักการน้ีแสดงว่านักพัฒนาหลักสูตรจะทางานต่อไปไม่หยุดยั้งเพื่อไปสู่ส่ิงท่ีเป็นอุดมคติ
ดังนั้นการสอน การประเมินผล และการปรับปรุงหลักสูตรอย่างต่อเนื่องจึงมีความสาคัญอย่างยิ่งยวด
เน่ืองจากสังคมเปล่ียนแปลงอยู่เสมอ เราจึงไม่เคยบรรลุถึงการมีหลักสูตรท่ีสมบูรณ์อย่างแท้จริง จึง
จาเป็นต้องมีการปรับปรุงหลักสูตรอยู่เสมอ การแก้ปัญหาที่ได้ผลก็อาจพบได้เฉพาะการบรรลุจุดหมาย
เฉพาะกิจเท่านั้น ในขณะที่ความตอ้ งการของผู้เรียนเปล่ียนไป สังคมเปล่ียนไปและในขณะท่ีความรู้ใหม่ ๆ
เพ่ิมขึน้ เร่อื ย ๆ หลักสูตรจึงจาเป็นจะต้องเปล่ียนแปลงและพัฒนาไปเร่ือย ๆ
หลักการที่ 8 การพัฒนาหลักสูตรจะมีประสิทธิผลมากขึ้น ถ้ามีการพิจารณากันอย่าง
ครอบคลมุ
ตามหลักการน้ีเป็นการชี้ให้เห็นว่าการพัฒนาหลักสูตรเป็นกระบวนการท่ีครอบคลุมกว้าง จาก
เหตุการณ์ในอดีต การพัฒนาหลักสูตรส่วนใหญ่ ได้แก่ การใช้วิธีการที่เรียกว่า ถ้าไม่ถูกต้องก็ต้องผิด เป็น
เร่ืองของการปะ การตดั การเพิม่ การสอดแทรก การตดั ทอนและการเสรมิ ใหม้ ากขึ้น เปน็ ตน้
การพัฒนาหลักสูตรท่ีเน้นทรรศนะท่ีครอบคลุม รวมถึงการระลึกถึงผลของการพัฒนาหลักสูตรที่
ไม่เพียงแต่มีต่อนักเรียนและครูผู้ซ่ึงได้รับจากการเปลี่ยนแปลงโดยตรงเท่าน้ัน แต่ยังมีต่อคนอื่น ๆ ท่ีไม่รู้
เรื่องรู้ราวด้วย ซึ่งเป็นผู้ท่ีไม่ได้มีส่วนในการพัฒนาหลักสูตรโดยตรง แต่จะได้รับผลกระทบไม่ทางใดก็ทาง
หนง่ึ จากการเปล่ียนแปลงนนั้ ๆ ยกตวั อย่าง เชน่ เรือ่ งเพศศกึ ษา อาจจะมีผลไม่เพียงแตเ่ ฉพาะครู นกั เรียน
และพ่อแม่ของนักเรยี นทีเ่ กยี่ วข้องเท่าน้ัน แต่ยังมีผลต่อนกั เรียน ครู และพ่อแม่ที่ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องด้วย
คนในกลุ่มหลังนีอ้ าจจะอยากเขา้ มามีสว่ นร่วม อาจจะปฏิเสธท่ีจะมีส่วนร่วม หรืออาจจะปฏิเสธวิชานีว้ ่าไม่
เหมาะสมที่จะเปดิ สอนในโรงเรียนกไ็ ด้
หลกั การที่ 9 การพฒั นาหลกั สตู รจะมีประสิทธิภาพมากขึ้นถ้าดาเนินการไปตามกระบวนการที่
มีระบบ
การพัฒนาหลักสูตรท่ีเป็นระบบจะมีประสิทธิผลมากกว่าการลองผิดลองถูกตามปกติ การพัฒนา
หลักสูตรจะมีลักษณะท่ีครอบคลุม เป็นการมองภาพรวมของข้ันตอนและกิจกรรมการพัฒนาหลักสูตร
มีการนาส่วนต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องทั้งหมดมาพิจารณาและศึกษาความสัมพันธ์ของมัน จากกิจกรรมและ
ขั้นตอนท่ีมีอยู่ทั้งหมดนักพัฒนาหลักสูตรจะวางแผนและกาหนดวิธีการดาเนินงาน หลังจากนั้นก็จะ
ปฏบิ ัตงิ านตามวิธีการและกิจกรรมที่ได้กาหนดเอาไว้อย่างดีแลว้ และแน่นอนท่ีสุดวธิ กี ารท่ีไดก้ าหนดเอาไว้
แล้วอย่างเป็นระบบนี้จาเป็นจะต้องได้รับความเห็นชอบและรับรู้จากทุกฝ่ายที่มี ส่วนร่วมในการพัฒนา
หลกั สตู ร
14
หลักการท่ี 10 การพัฒนาหลักสูตรจะเร่ิมจากหลกั สูตรเดิมทีม่ ีอยูแ่ ลว้ ในขณะน้นั
ตามที่เป็นจริง นักพัฒนาหลักสูตรจะเริ่มงานของตนจากหลักสูตรที่มีอยู่แล้วในเวลานั้น โดย
ตรวจสอบและประเมินดูว่ามีส่วนใดท่ีเป็นส่วนดีและยังสามารถนาไปใช้ได้อยู่ และมีส่วนใดบ้างท่ีเป็น
ปัญหา ล้าสมัย และผิดข้อเท็จจริง ซ่ึงจาเป็นจะต้องแก้ไขหรือตัดท้ิงไป กล่าวอีกนัยหน่ึงก็คือการพัฒนา
หลักสูตรไมไ่ ดเ้ ร่ิมจากศูนยห์ รอื เร่มิ จากความว่างเปล่า
เนื่องจากนักพัฒนาหลักสูตรเร่ิมงานการพัฒนาหลักสูตรจากหลักสูตรเดิมท่ีมีอยู่แล้วใ นขณะน้ัน
จึงเป็นความถูกต้องและตรงกับข้อเท็จจริงมากข้ึน ถ้าจะใช้คาว่าการจัดหลักสูตรขึ้นมาใหม่ (Curriculum
Reorganization) แทนที่จะเป็นการจัดหลักสูตร (Curriculum Organization) โดยไม่มีคาขยาย ดังน้ัน
การลงทุนลงแรงในด้านความคิด เวลา และผลงานที่นักพัฒนาหลักสูตรคนก่อน ๆ ได้เร่ิมเอาไว้ก็ไม่ควรจะ
ตัดท้ิงไปโดยสิ้นเชิง แม้นักพัฒนาหลักสูตรกลุ่มใหม่จะมองเนความจาเป็นของการปรับปรุงอย่างฉับพลันก็
ตาม ผูป้ ฏบิ ตั ิงานทางดา้ นหลกั สตู รจึงควรจะยดึ หลักทีว่ ่าสิ่งใดทีด่ ีและเป็นประโยชน์อยแู่ ลว้ ก็ควรเก็บรักษาไว้
3. วิวฒั นาการของหลกั สูตร
หากพิจารณาหลักสูตรและการศึกษาของไทยจากอดีตจนถึงปัจจุบัน จะพบว่ามีความ
เจริญก้าวหน้ามาเป็นลาดับ ซ่ึงแต่ละยุคสมัยก็มีการพัฒนาและส่งต่อความเจริญมาอย่างต่อเน่ือง มี
นักวิชาการหลายท่านได้จาแนกยุคสมัยของวิวัฒนาการของหลักสูตรไว้อย่างหลากหลาย โดยในเร่ือง
ดังกล่าวนี้ กนิษณ์ฐา ทองดี (2553) ชัยอนันทร์ นวลสวุ รรณ์ (2555) และ ธนภทั ร จันทร์เจริญ (2557) ได้
สรุปวิวัฒนาการของหลักสูตรไว้อย่างสอดคล้องกับพัฒนาการของการศึกษาในสังคมไทย โดยจาแนกเป็น
9 สมยั ดงั นี้
3.1 หลักสูตรและการศกึ ษาสมยั กอ่ นกรุงสุโขทัย
ยุคสมัยน้ีจะตรงกับสมัยอาณาจักรล้านนาไทย กิจกรรมทางการศึกษาท่ีมีอิทธิพลต่อชีวิตความ
เป็นอยู่ของคนในอาณาจักรล้านนาไทยก็คือกิจกรรมอันเน่ืองด้วยพระพุทธศาสนา มีหลักฐานมากมายที่
ยนื ยันและแสดงให้เห็นว่าชาวล้านนาสนใจศึกษาและปฏิบัติตามพระธรรมคาสั่งสอนของพระพุทธศาสนา
อย่างจริงจัง เพราะนอกจากจะได้ความรู้ในด้านพุทธธรรมแล้ว ยังก่อให้เกิดความรู้ความสามารถในด้าน
สถาปัตยกรรม และปฏิมากรรมอันวิจิตร ตลอดจนศิลปะการช่างแขนงต่าง ๆ เช่น ช่างทอง ช่างเงิน
ช่า ง เ หล็ ก ร ว มอ ยู่ ด้ ว ย ก า ร เรี ย น รู้ เรื่ อ ง ส กุล ช่ า ง ท้ัง ห ล า ยจึ ง มี ค ว า ม เ จ ริญ ก้ า ว หน้ า เ ป็ น
อันมากในอาณาจกั รล้านนาไทย
15
3.2 หลกั สตู รและการศึกษาสมัยกรงุ สุโขทัย
คนในสมัยกรุงสุโขทัยถือว่าการครองชีวิตและการศึกษาเป็นเรื่องเดียวกัน การศึกษาจึงมิใช่การ
เตรียมตัวเพ่ือชีวิต แต่การศึกษาคือชีวิต (Education is Life) การศึกษาในลักษณะนี้เป็นการศึกษาโดย
การลงมือปฏิบัติจริง (Learning by Doing) พระพุทธศาสนาจึงมีอิทธิพลอย่างสาคัญต่อการดาเนินชีวิต
ของคนไทยในสมยั นี้ ซงึ่ แบง่ ออกเปน็ 2 สาย คือ
1. สายฆราวาส การศึกษาเล่าเรียนจะเน้นด้านวิชาชีพ คือศึกษาและเรียนรู้ในครอบครัวจากพ่อ
แม่หรือเครือญาติ และดา้ นความประพฤติ คอื ศึกษาและปฏิบตั ติ ามหลกั ธรรมของพระพุทธองค์ มีพระสงฆ์
เป็นผูอ้ บรมสง่ั สอนและมีวัดเป็นศนู ย์กลางการเรียนรู้
2. สายบรรพชิต เป็นการศึกษาของพระสงฆ์ ซึ่งพอสรุปได้ว่าพระสงฆ์ในสมัยกรุงสุโขทัยให้
ความสาคัญและสนใจศึกษาพระไตรปฎิ กอย่างลึกซึ้ง โดยมพี ระเจา้ แผน่ ดินทรงให้การสนับสนุนอยา่ งเต็มท่ี
ด้วยการพระราชทานราชสานักให้เป็นท่ีเล่าเรียนของพระสงฆ์ มีการอาราธนาพระสงฆ์ที่มีความรอบรู้ใน
พระธรรมวนิ ัยจากดนิ แดนต่าง ๆ มาเผยแผ่ความรู้ยังกรุงสุโขทัย ดงั จะเห็นได้จากหนังสือไตรภมู ิพระร่วงที่
พระมหาธรรมราชาลิไททรงพระราชนิพนธ์ข้ึนน้ัน ก็ด้วยทรงประสงค์ให้พระสงฆ์ใช้เป็นแนวทางในการ
อบรมสัง่ สอนพทุ ธศาสนกิ ชนเป็นสาคัญ
ต่อมาพอ่ ขุนรามคาแหงมหาราชได้ทรงประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นใหม่ในปี พ.ศ.1826 พระองคท์ รงย้า
ว่า "ลายสือไทย" น้ี หรืออักษรไทยแบบน้ีเม่ือก่อนไม่มี แต่อักษรไทยแบบอื่น ๆ มี ตัวอักษรที่ พ่อขุน
รามคาแหงประดิษฐ์ข้ึนใช้น้ัน สันนิษฐานกันว่าเป็นการใช้วิธีผสมผสานอักษรไทยแบบเดิมและอักษรขอม
หวดั เขา้ ดว้ ยกัน เพอ่ื ให้ใช้เขียนไดส้ ะดวกยงิ่ ขึน้
3.3 หลกั สูตรและการศกึ ษาสมัยกรงุ ศรอี ยธุ ยา
จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีอนุมานได้ว่าการศึกษาในสมัยกรุงศรีอยุธยามี
ธรรมเนียมเช่นเดียวกับกรุงสุโขทัย ต่อมาเม่ือมีการติดต่อกับฝรั่งต่างชาติมากขึ้น การศึกษาจึงมีการ
เปล่ยี นแปลงไป การศกึ ษาในสมัยกรงุ ศรีอยธุ ยามีลกั ษณะดังนี้
1. วดั เป็นศนู ยก์ ลางการศึกษาทัง้ ของฆราวาสและบรรพชิต รวมท้ังเป็นศูนยก์ ลางในดา้ นกิจกรรม
ต่าง ๆ ของสังคมด้วย พระสงฆ์เป็นผู้มีบทบาทสาคัญในการอบรมสั่งสอนประชาชน วัดจึงได้สืบทอด
ประเพณีมาจนต้นสมยั กรงุ รัตนโกสนิ ทร์
2. มีการเรียนวิชาชีพ อันได้แก่ การเกษตรกรรม เช่น การทานา ทาสวน การช่างต่าง ๆ มี
ช่างเหลก็ ช่างทอง ชา่ งหล่อ ชา่ งบาตร ซ่งึ สอนกันในครอบครวั หรือในวงศาคณาญาติ นอกจากน้ียังมสี านัก
ตา่ ง ๆ ที่เปดิ สอนวิชาการตอ่ สู้และปอ้ งกนั ตวั เช่น วชิ ามวย วชิ าฟนั ดาบ วชิ ากระบี่กระบอง เปน็ ตน้
16
3. ทางฝ่ายราชสานัก มีพระมหาราชครูและโหราธิบดีเป็นผู้ถา่ ยทอดความรู้วิชานิติศาสตร์ อกั ษร
ศาสตร์ ราชประเพณี ตลอดจนวิชาการปกครองและการรบพุ่งอื่น ๆ ให้แก่พระราชกุมาร นอกเหนือจาก
การสง่ ไปศึกษากับพระสงฆ์ตามพระอารามตา่ ง ๆ
3.4 หลักสตู รและการศกึ ษาสมัยกรุงธนบรุ ี
กรุงธนบุรีเป็นเมืองหลวงของประเทศไทยอยู่เพียง 15 ปี ซึ่งเป็นช่วงระยะเวลาแห่งการทาศึก
สงคราม แต่ก็ถือได้ว่ากรุงธนบุรียังได้วางพ้ืนฐานทั้งในด้านการค้า การศาสนา และอักษรศาสตร์ ไว้ให้กับ
ราชอาณาจักรไทยอย่างมั่นคง ทั้งน้ีก็ด้วยพระอัจฉริยภาพแห่งสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี การจัดการศึกษา
ในสมัยนี้แม้จะไม่มีความเจริญก้าวหน้ามากนัก แต่ก็เป็นการเร่ิมต้นทางการศึกษาท่ีเป็นพ้ืนฐานให้เกิด
ความเจรญิ ก้าวหนา้ ตอ่ มาในสมยั กรุงรัตนโกสินทร์
3.5 หลกั สูตรและการศึกษาสมัยกรุงรัตนโกสินทรต์ อนต้น (รัชกาลท่ี 1-4)
การจดั การศึกษาในสมยั กรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นมีระบบแบบแผนชัดเจนมากข้ึน มีการกาหนดใช้
หนังสือแบบเรียน เช่น หนังสือจินดามณี หนังสือประถม ก กา และปฐมมาลา การศึกษาในสมัยนี้ไม่ผิด
แผกไปจากการศึกษาสมัยกรุงศรีอยุธยาเท่าใดนัก กล่าวคือ ในราชสานักคงมีนักปราชญ์ราชบัณฑิต เป็น
ผู้ให้ความรู้แก่พระราชโอรส พระราชธิดา พระบรมวงศานุวงศ์ และบุตรหลานข้าราชการช้ันสูง ส่วน
การศึกษาของสามัญชนก็อาศัยวัดเป็นศูนย์กลางการให้ความรู้โดยมีพระสงฆ์เป็นผู้สอน การเรียนเน้นให้
รู้จักการอ่าน เขียน คิดเลขเป็น พร้อมท้ังสอดแทรกจริยธรรมและหลักธรรมของพระพุทธศาสนาไปในตัว
มกี ารกาหนดหลกั การและวธิ ีการในการจดั การศกึ ษา เรียกว่า "มาตกิ าการศึกษา" ตามหลักฐานท่ีปรากฏมี
หนังสือเรียนท่ีใช้กันอยู่ 5 เล่ม คือ ประถม ก กา ปฐมมาลา สุบินทกุมาร ประถมจินดามณี เล่ม 1 และ
ประถมจินดามณี เลม่ 2
3.6 หลกั สตู รและการศึกษาสมยั ปฏิรปู การศกึ ษา (รัชกาลที่ 5-7)
ในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยหู่ ัวนบั ได้ว่าเป็นยุคของการปฏิรูปประเทศไทยอยา่ ง
แท้จริง การปฏิรูปได้เกดิ ข้นึ อยา่ งกว้างขวางในแทบจะทุกด้าน เร่ิมตัง้ แต่การปกครอง สงั คม กฎหมาย รวม
ไปถึงการศึกษาด้วย การศึกษาในระบบโรงเรียนได้เกิดขึ้นเป็นครั้งแรก และกลายเป็นรากฐานท่ีสาคัญทา
ให้เกิดพระราชบัญญัติการประถมศึกษาในปี พ.ศ.2464 การปฏิรูปการศึกษามีความสาคัญในยุคนี้เป็น
พิเศษ เพราะได้ส่งผลต่อการผลิตนักเรียนให้กับหน่วยงานราชการอ่ืน ๆ ท่ีกาลังขยายตัวอย่างกว้างขวาง
ด้วย ปัจจัยที่ทาให้เกิดการปฏิรูปการศึกษา ได้แก่ การคุกคามของจักรวรรดินิยมตะวันตก อิทธิพลของ
ชาวตะวันตก การศึกษาในระบบโรงเรียนจากต่างประเทศ และความขาดแคลนบุคคลท่ีมีความร้เู พื่อมารับ
ราชการ
17
3.7 หลักสตู รและการศกึ ษาสมัยหลังเปลีย่ นแปลงการปกครอง
เมื่อวันท่ี 24 มิถุนายน พ.ศ.2475 ได้เกิดการเปล่ียนแปลงการปกครองระบอบ สมบูรณาสิทธิราชย์
มาสู่ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ซึ่งส่งผลกระทบต่อการเมือง เศรษฐกิจ
สงั คม และการศึกษาของชาติ โดยเฉพาะเมื่อ "คณะราษฎร"์ ไดก้ าหนดว่า "จะต้องให้การศึกษาอย่างเต็มที่
แก่ราษฎรทุกชนชั้น" เพ่ือประโยชน์ในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย และมีเจตนาท่ีจะพัฒนา
การศกึ ษาของชาตใิ ห้เจริญก้าวหน้าย่งิ ข้ึน
ต่อมาในปี พ.ศ.2475-2503 มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญรวม 15 ฉบับ มีรัฐบาลเข้ามาบริหาร
ราชการแผ่นดิน 30 ชุด มีผู้เข้ามาดารงตาแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ 16 ท่าน ซึ่งมี
ผลกระทบต่อการกาหนดนโยบายและการดาเนินงานด้านการศึกษาเป็นอย่างมาก ยุคนี้เปน็ ยุคที่เช่ือมโยง
การจัดการศึกษาของไทยในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์กับระบอบประชาธิปไตย ซ่ึงแบ่งออกเป็น 3
ระยะ คอื
1. ระยะแรก (พ.ศ.2475-2485) นโยบายในการจัดการศึกษาเป็นการขยายการศึกษาระดับ
ประถมศึกษา และให้ความสาคัญมากกว่าระดบั อ่ืน สว่ นในระดับมธั ยมศึกษา อาชีวศกึ ษา และอุดมศึกษา
นนั้ เปน็ การขยายด้านปรมิ าณและปรับปรงุ คณุ ภาพเท่าน้ัน
2. ระยะทส่ี อง (พ.ศ.2485-2493) ระยะน้ปี ระเทศตกอยู่ภายใต้ภาวะสงครามนโยบายการบริหาร
ราชการแผ่นดิน จึงเน้นหนักในด้านการทหารและการป้องกันประเทศ หลังภาวะสงครามรัฐบาลได้
ปรับปรงุ การศึกษาหลายประการ ทาให้นโยบายการจัดการศึกษาของชาติในทุกระดับมีความเด่นชัดข้ึนท้ัง
ในดา้ นปรมิ าณและคณุ ภาพ
3. ระยะที่สาม (พ.ศ.2493-2503) เป็นช่วงหนึ่งท่ีมีความสาคัญสาหรับการศึกษาของชาติ เพราะ
เป็นช่วงท่ีมีการปรับปรุงและพัฒนาการศึกษาให้เจริญก้าวหน้าในทุกด้านและทุกระดับ เช่น รัฐบาลจะ
ส่งเสริมการศึกษาในทางปริมาณและคุณภาพ จะวางรากฐานเพื่อให้ประชาชนมีพื้นความรู้สูงขึ้น และมี
ความสามารถที่จะประกอบอาชีพได้ดี และพร้อมท่ีจะส่งเสริมให้ประชาชนมีวัฒนธรรมและศีลธรรมอันดี
งามด้วยศาสนาและการศกึ ษาเป็นหลัก แผนการศกึ ษาชาติ พ.ศ.2494 ได้กาหนดแนวทางการจดั การศึกษา
เป็นสี่ส่วน ได้แก่ พุทธิศึกษา จริยศึกษา พลศึกษา และหัตถศึกษา ในระยะน้ีมีการประกาศใช้แผนการ
ศึกษาชาติ รวม 3 ฉบับ คือ แผนการศึกษาชาติ พ.ศ.2475 แผนการศึกษาชาติ พ.ศ.2479 และแผนการ
ศกึ ษาชาติ พ.ศ.2494
18
ในปี พ.ศ.2494-2520 กระทรวงศึกษาธิการได้ผลักดันให้มีการประกาศใช้แผนพัฒนาการศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ.2503 และปรับปรุงหลักสูตรการศึกษา ทาให้เกิดการเปล่ียนแปลงท่ีสาคัญ คือมีการขยาย
การศึกษาภาคบังคับเป็น 7 ปี ใน พ.ศ.2506 ต่อมาได้มีการโอนการศึกษาประชาบาลไปสังกัดองค์การ
บริหารส่วนจังหวัดในปี พ.ศ.2509 ในยุคนี้มีจุดท่ีน่าสนใจคือการศึกษาในสายอาชีวศึกษามีผู้สนใจจะเข้า
ศึกษาน้อยมาก ในขณะเดียวกันก็มีการผลิตนักเรียนฝึกหัดครูเป็นจานวนมาก และภายหลังได้ลดความ
นิยมลงไป เน่ืองจากสาเร็จการศึกษาออกมาแล้วไม่มีงานทา ส่วนด้านภาคเอกชนก็เร่ิมหันมาให้
ความสาคัญในการจัดการพัฒนาระดับมัธยมศึกษาและอุดมศึกษาแทนการจัดการศึกษาในระดับประถม
มากข้ึน ในที่สุดปี พ.ศ.2503-2520 นโยบายในการบริหารงานการพัฒนาการศึกษาของชาติก็ได้ยึดเอา
แผนการศกึ ษาชาติ พ.ศ.2503 เปน็ แผนแมบ่ ทในการดาเนนิ การ
ในระยะท่ีมีการประกาศใช้แผนการศึกษาชาติ พ.ศ.2479 ได้มีการปรับหลักสูตรและการศึกษา
เพ่ือให้เหมาะสมกับการปกครองระบอบประชาธิปไตย เป็นผลให้เกิดการปรับปรุงหลักสูตรประถมศึกษา
และมธั ยมศกึ ษา โดยสรปุ ดังน้ี
1. ประมวลศกึ ษาภาค 2 หลักสูตร ช้นั ประถมศกึ ษา มธั ยมต้นและมธั ยมปลาย พ.ศ.2480
2. หลกั สูตรประถมศกึ ษา และหลักสูตรเตรยี มอดุ มศกึ ษา พ.ศ.2491
3. หลักสูตรมธั ยมศึกษาตอนต้น และหลักสตู รมัธยมศกึ ษาตอนปลาย พ.ศ.2493
4. หลกั สตู รประถมศึกษา และหลกั สูตรเตรยี มอุดมศกึ ษา พ.ศ.2498
5. หลกั สูตรประถมศึกษาสาหรับใช้ในโรงเรียน ปรบั ปรงุ ป.1 และ ป.2 พ.ศ.2501
6. หลักสูตรประถมศึกษาตอนต้น หลักสูตรประโยคประถมศึกษาตอนปลาย หลักสูตรประโยค
มธั ยมศึกษาตอนต้นและหลักสตู รประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย พทุ ธศักราช 2503
7. หลักสตู รประโยคมัธยมศกึ ษาตอนปลาย พุทธศกั ราช 2518 และ
8. หลักสูตรประโยคประถมศึกษา หมวดวิชาสังคมศึกษา หลักสูตรประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น
หมวดวชิ าสงั คมศึกษา และหลักสตู รประโยคมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หมวดวิชาสงั คมศกึ ษา พ.ศ.2520
3.8 หลกั สูตรและการศกึ ษาไทยในปัจจบุ นั
การศึกษาที่นับเป็นการศึกษาในยุคปัจจุบันเร่ิมต้ังแต่หลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช
2503 มีจุดมุ่งหมายเพ่ือให้พลเมืองทุกคนได้รับการศึกษาตามควรแก่อัตภาพ ในการจัดการศึกษานั้น
เพ่ือสนองตอบความต้องการของกระแสการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคมและบุคคล เพื่อให้สอดคล้องกับ
แผนเศรษฐกิจและแผนการปกครองประเทศ เน้ือหาสาระท่ีใช้ในหลักสูตรระดับประถมศึกษาตอนต้นมี
ด้วยกัน 6 หมวด คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศิลปศึกษา และพลานามัย ส่วน
ระดับประถมศึกษาตอนปลายได้มีการเพ่ิมหมวดวิชาภาษาอังกฤษและหัตถศึกษา ระดับมัธยมศึกษา
19
ตอนต้นทั้งสายสามัญและสายอาชีพมีการกาหนดให้เรียนเลขคณิตและพีชคณิตต่อเนื่องกันไปตลอดท้ัง 3
ปี ส่วนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายมีการแบ่งสายการเรียนออกเป็น 2 แผนกคือ แผนกทั่วไป แผนก
วิทยาศาสตร์ และแผนศิลปะ หลังจากน้ันมีสภาวะการเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างมาก การศึกษาไม่สามารถ
สนองตอบตามความต้องการได้ ทาให้การศึกษาไทยได้เปล่ียนมาใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2521
หลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521 ได้กาหนดจุดมุ่งหมายให้ผู้เรียนเป็นคนดีมีคุณธรรม มี
ความรู้ความสามารถ มีความสุข รวมทั้งเป็นพลเมืองดขี องสังคมและประเทศชาติ เนื้อหาสาระท่ีใช้จัดการ
เรยี นการสอนตามหลกั สตู รนี้มี 4 กลุ่ม คือ
1. กลุ่มทักษะ ได้แก่ วิชาภาษาไทยและคณิตศาสตร์
2. กลมุ่ ประสบการณช์ วี ติ
3. กลุ่มลกั ษณะนสิ ัย
4. กลุ่มการงานและพ้ืนฐานอาชพี
จากน้ันได้มีการพัฒนาหลักสูตรให้มีความทันสมัยและสอดรับกับการเปลี่ยนแปลงอีกคร้ัง นั่นคือ
หลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง 2533) หลักสูตรฉบับน้ีมีจุดมุ่งหมายเพ่ือมุ่ง
พัฒนาผู้เรียนให้สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตให้พร้อมที่จะทาประโยชน์เพื่อสังคมภายใต้ระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข เน้ือหาสาระท่ีใช้ในการจัดการเรียนการสอนมี 5 กลุ่ม
กลุ่มทักษะในหลักสูตร พ.ศ.2521 ได้เปลี่ยนเป็นกลุ่มทักษะท่ีเป็นเคร่ืองเมืองในการเรียนรู้ พร้อมกับเพิ่ม
กลุ่มประสบการณ์พิเศษเข้ามา ส่วนหลักสูตรมัธยมศึกษา พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง 2533)
กาหนดจุดมุ่งหมายเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตและการศึกษาต่อให้สามารถทาประโยชน์เพ่ือสังคมในระบอบ
ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์เปน็ ประมุข เนอื้ หาสาระทเ่ี รียนประกอบด้วย
1. วิชาบังคับแกน ได้แก่ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ สังคมศึกษา พลานามัย และ
ศลิ ปศกึ ษา
2. วชิ าบงั คับเลอื ก
3. วิชาเลือกเสรี
4. กิจกรรม
ต่อมาได้มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญและพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ จึงได้มีการเปล่ียนไปใช้
หลกั สตู รการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2544
20
หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 ได้กาหนดจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็น
มนุษย์ท่ีสมบรู ณ์ เป็นคนดี มีปัญญา มีความสขุ และมีความเป็นไทย มีศักยภาพในการศึกษาต่อและประกอบ
อาชีพ แบ่งระดับการศึกษาเป็น 4 ช่วงชั้น ได้แก่ ช่วงชั้นที่ 1 (ระดับ ป.1-ป.3) ช่วงชั้นที่ 2 (ระดับ ป.4-ป.6)
ช่วงชัน้ ที่ 3 (ระดับ ม.1-ม.3) และช่วงชั้นที่ 4 (ระดบั ม.4-ม.6) สาระการเรยี นรมู้ ี 8 กลุ่มสาระ คอื
1. กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย
2. กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์
3. กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์
4. กลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
5. กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ขุ ศกึ ษาและพลศึกษา
6. กลุ่มสาระการเรยี นรูศ้ ลิ ปะและดนตรี
7. กล่มุ สาระการเรียนรูก้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี
8. กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
เมื่อมกี ารนาหลกั สตู รการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ไปใช้ ทาให้พบวา่ มีความสบั สนในผู้
ปฏิบัติการในสถานศึกษา กอปรกับหลักสูตรแน่นเกินไป มีปัญหาในการเทียบโอน และปัญหาคุณภาพ
ผ้เู รียนในด้านความรู้ ทักษะ และคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ กระทรวงศึกษาธิการจึงเปลีย่ นมาใชห้ ลกั สูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยเพ่ิมสมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ของผู้เรียนเข้ามา ส่วนเน้ือหาสาระยังคงใช้ 8 กลุ่มสาระเหมือนเดิม หลักสูตรน้ีได้มีการกาหนด
ตัวช้วี ัดมาใหแ้ ละเนน้ กิจกรรมพฒั นาผู้เรียนในลกั ษณะกิจกรรมบาเพญ็ ประโยชนเ์ พือ่ สงั คมด้วย
4. ลกั ษณะของหลักสูตรที่ดี
จากขอ้ มลู พื้นฐานของการพฒั นาหลักสตู รหลายประการท่ีกลา่ วมาขา้ งต้น นามาประมวลใหเ้ ห็น
ถงึ ลกั ษณะหลักสูตรที่ดีได้หลายประการ ซ่ึงหลักสูตรจะดีหรือไม่น้ันอาจพิจารณาได้จากหลายเหตุผล ดังที่
นักการศกึ ษาต่างประเทศและในประเทศไทยได้เสนอไวด้ ังนี้
เซลเลอร์ และอเล็กซานเดอร์ (Saylor and Alexander, 1981: 44-45) ได้สรุปลักษณะของ
หลักสูตรทด่ี ี โดยพจิ ารณาจากส่งิ ตอ่ ไปนี้
1. เป็นหลักสูตรท่ีมีเน้ือหาสาระสาคัญครอบคลุมข้อมูลท่ีได้มาจากนักเรียน สังคม กระบวนการ
เรยี น และความรทู้ คี่ วรจะไดร้ ับในระหวา่ งการศกึ ษา
2. เป็นหลักสูตรท่ีมีจุดมุ่งหมายชัดเจน ผู้เก่ียวข้องเข้าใจง่าย และมีช่องว่างที่จะขยาย ตัดต่อ
เพ่มิ เตมิ ได้
21
3. เป็นหลักสูตรที่มีกระบวนการเรียนท่ีให้ผู้เรียนได้มีโอกาสก้าวหน้าและมีอิสระที่จะพัฒนาตาม
ความสามารถ ความสนใจ และตามแนวทางของตนเอง
4. เป็นหลักสูตรท่ีนักเรียนและครูมีความเข้าใจตรงกันเกี่ยวกับแผนการเรียนต่าง ๆ ในหลักสูตร
และนักเรยี นมีสว่ นรว่ มในการทาแผนการเรียนน้นั ๆ
5. เป็นหลกั สตู รทม่ี ีแผนงานสอดคล้องสัมพันธก์ ับการเรียนการสอนและการวัดผล
6. เป็นหลักสูตรที่ได้มีการอธิบายและชี้แจงแก่ผู้เรียน ผู้ปกครอง และบุคคลอื่นท่ีเกี่ยวข้องจน
เขา้ ใจชัดเจน
7. เป็นหลักสูตรท่ีเปิดโอกาสให้ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และผู้เกี่ยวข้องได้แสดงความ
คดิ เห็น และให้ผลย้อนกลบั เพือ่ การปรับปรงุ เปลย่ี นแปลงหลกั สตู ร
8. เป็นหลักสตู รทใ่ี ชว้ สั ดุอปุ กรณข์ องโรงเรียน ชุมชน อย่างกว้างขวางทัว่ ถึง
อมรา เล็กเริงสินธุ์ (2540: 21-22 อ้างถึงใน ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์,2559) ได้สรุปประเด็นท่ีควร
พจิ ารณาวา่ เปน็ ลกั ษณะหลักสตู รท่ดี ไี วห้ ลายประการดังน้ี
1. เป็นหลักสูตรท่ีมาจากการวางแผนงานท่ีรัดกุม มีข้ันตอนในการดาเนินงาน และต้ังอยู่บน
รากฐานทเี่ ชอ่ื ถอื ได้
2. เป็นหลักสูตรท่ีมีวิธีการกาหนดจุดมุ่งหมาย การเลือกเน้ือหา และการจัดเน้ือหา การจัด
กระบวนการเรียนการสอน และการวัดประเมนิ ผล ถกู ต้องตามหลักการ ทฤษฎี การสร้างหลกั สตู ร
3. เป็นหลักสูตรที่ตรงตามความมุ่งหมายของการศึกษาของชาติ เป็นเครื่องมือทีช่ ่วยให้เป้าหมาย
ทางการศกึ ษาบรรลุตามวัตถปุ ระสงคท์ ีก่ าหนดไว้
4. เปน็ หลกั สูตรท่ีไดม้ าจากแนวคิดของบคุ คลหลายฝ่ายที่เข้ามามีส่วนร่วมในการสร้างและพฒั นา
หลักสตู รทัง้ ผู้ปกครอง ประชาชน และผู้เรยี น
5. เป็นหลักสูตรท่ีสอดคล้องกับพ้ืนฐานท่ีสาคัญ ได้แก่ ปรัชญา จิตวิทยา สังคม เศรษฐกิจ และ
การปกครอง ตลอดจนวฒั นธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี และเอกลกั ษณ์ของชาติ
6. เป็นหลักสูตรที่จัดลาดับเน้ือหาและประสบการณ์ไว้อย่างต่อเน่ือง ไม่ข้ามข้ัน ไม่วกวน หรือ
ขาดตอน จนผูเ้ รยี นไดร้ บั ประสบการณ์ทไี่ ม่ต่อเนือ่ ง
7. เป็นหลักสูตรท่ีต้องคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียน โดยให้ผู้เรียนได้มีโอกาส
เลอื กเรยี นไดต้ ามความถนัด และความสนใจ
8. เป็นหลักสตู รท่ียึดผู้เรียนเป็นสาคัญ มีเน้ือหา กิจกรรม ทีเ่ หมาะสมกับพ้ืนฐานธรรมชาติ ความ
ตอ้ งการของผูเ้ รียน
22
9. เปน็ หลกั สตู รทีส่ ่งเสริมความเจริญงอกงามในตวั ผ้เู รยี นทุกด้าน รวมทงั้ ความคดิ ริเร่ิมสร้างสรรค์
และชว่ ยให้ผู้เรียนแก้ปัญหาได้เอง
10.เป็นหลักสูตรทบี่ อกแนวทางการสอน สื่อการเรียนการสอน และแนวทางการวัดประเมินผลไว้
อยา่ งเหมาะสม
11.เป็นหลักสูตรท่ีมีความยืดหยุ่น ปรับปรุง เปล่ียนแปลงให้เข้ากับสภาวการณ์ต่าง ๆ ได้ง่าย
สามารถนาไปดดั แปลงใหเ้ หมาะสมกบั สภาพการดาเนินชวี ติ ของผูเ้ รียน
12.เปน็ หลักสตู รที่ครเู ขา้ ใจง่าย และนาไปปฏบิ ตั ิไดจ้ ริงและสะดวก
13.เป็นหลักสูตรที่มีเน้ือหาสาระบริบูรณ์เพียงพอท่ีจะให้ผู้เรียนได้ความรู้ ทักษะ คิดเป็น ทาเป็น
แก้ปญั หาเป็น
14.เป็นหลักสูตรท่ีบรรจุเนื้อหา ประสบการณ์ และกิจกรรมการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับ
ชว่ งเวลาทใี่ ห้การศกึ ษา
15.เป็นหลักสตู รท่ีกาหนดเนื้อหาสอดคล้องกับสภาพการณ์ดาเนินชีวิตใกล้ตัว ผู้เรียน สามารถให้
เด็กนาไปใช้ในชวี ติ ประจาวันได้
16.เป็นหลกั สตู รทีม่ ีการติดตามและประเมินผลเป็นระยะ ๆ เพ่ือนาผลมาปรับปรุงพัฒนาหลกั สตู ร
ให้ดีขึน้
ดงั นน้ั หลกั สตู รทีด่ นี ั้นพิจารณาได้ 3 ประการสาคัญ คือ ประการแรกพิจารณาได้จากกระบวนการ
สร้างหลักสูตร ท่ีหลักสูตรต้องได้มาจากความสนใจของผู้เรียนและสอดคล้องกับข้อมูลในชุมชน รวมทั้งมี
ผู้เกี่ยวข้องในการสร้างหลักสูตรจากหลายฝ่าย ทั้งในสถานศึกษาและในชุมชน ประการท่ีสอง การนา
หลักสูตรไปใช้จริง โดยหลักสตู รที่นาไปใช้ต้องจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคญั ตอบสนองความสนใจ
ของผู้เรยี น ให้อิสระในการเรียนร้แู กผ่ ู้เรียน และมีใช้วัสดุอุปกรณ์ของโรงเรียน ชุมชน อย่างกวา้ งขวาง และ
ประการที่สาม หลักสูตรท่ีดีต้องยืดหยุ่น สามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้เหมาะสมกับผู้เรียนและบริบท
ต่าง ๆ ได้ มีการติดตามและประเมินผลหลักสูตรเพ่ือปรับปรุงเป็นระยะ ๆ โดยเปิดโอกาสให้ครู นักเรียน
ผู้ปกครอง ชุมชน และผู้เก่ียวข้องได้แสดงความคิดเห็นและให้ผลย้อนกลับเพื่อการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
หลักสตู รให้ดยี ิ่งขึ้น
หลักสูตรจึงมีความสาคัญอย่างยิ่งสาหรับผู้สอนที่จะนาไปเป็นกรอบแนวทางในการจัดการศึกษา
เพ่อื พัฒนาผ้เู รียนใหม้ ีความรู้ ทกั ษะและคุณลักษณะทีจ่ ะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การพฒั นาสงั คมโดยรวม
23
บทสรปุ
หลักสูตรนับว่ามีความสาคัญอย่างมากต่อการจัดการศึกษา เนื่องจากหลักสูตรเป็นมวล
ประสบการณ์ที่โรงเรียนจัดให้แก่ผู้เรียนเพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะตามจุดหมายท่ีกาหนดไว้ และ
เม่ือหลกั สูตรถกู นามาใช้ได้ระยะหน่ึง จาเป็นต้องมีการพัฒนาหลักสูตรให้ดีขึ้น ซ่ึงตามความหมายของการ
พัฒนาหลักสูตรจะหมายถึง การดาเนินการพัฒนาหลักสูตรท่ีมีอยู่เดิมให้ดีข้ึนหรือจัดทาหลักสูตรขึ้นมา
ใหม่ เพื่อให้มีความเหมาะสมกับบริบทมากข้ึน โดยมีกระบวนการวางแผนการดาเนินการอย่างเป็นระบบ
ท้ังการกาหนดจุดมุ่งหมาย การกาหนดเนื้อหา/มวลประสบการณ์ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทุกประเภท
และการประเมิลผล เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมตามจุดประสงค์ของหลักสูตร และ
สามารถพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุความมุ่งหมายของการจัดการศึกษาไดเ้ ป็นอยา่ งดี และเป็นทีท่ ราบกันดแี ล้ว
ว่าหลักสูตรมีความสาคัญเป็นอย่างมากในกระบวนการจัดการเรียนการสอน เพราะหลักสูตรเป็นแม่บทท่ี
จะบอกให้ทราบว่าผู้เรียนจะบรรลจุ ุดมุ่งหมายอย่างไร และจะต้องจัดเน้ือหาสาระอยา่ งไร จัดกจิ กรรมการ
เรียนการสอนยา่ งไร และใช้เคร่ืองมือวัดผลประเมินผลอย่างไร ดังนั้นหลักสูตรจึงเปน็ หัวใจของการจัดการ
เรียนการสอน และเป็นตัวกาหนดแนวทางในการจัดการศึกษาเพื่อนาไปสู่ความมุ่งหมายตามแผนการ
ศึกษาแห่งชาติ และเป็นไปตามที่สงั คมตอ้ งการ
โดยมีองค์ประกอบท่ีสาคัญ ได้แก่ จุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ เน้ือหาวิชาหรือสาระการเรียนรู้
เป็นเนอื้ หาสาระสาคญั ท่ีต้องจัดไวอ้ ยา่ งเปน็ ระบบ การนาหลกั สตู รไปใชห้ รอื จัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ซึ่งเป็นหน้าที่ของครูผู้สอนและผู้ท่ีเกี่ยวข้อง และการประเมินผลหลักสูตรซ่ึงเป็นการพิจารณาตัดสินว่ามี
คุณค่าบรรลตุ ามจุดมุง่ หมายทก่ี าหนดไวห้ รือไม่เพียงใด โดยในการพัฒนาหลักสูตรนัน้ นกั พัฒนาหลักสูตรมี
ความจาเป็นต้องศึกษาหลักการของหลักสูตรให้ชัดเจนเน่ืองจากหลักสูตรเป็นผลิตผลของแต่ละช่วงเวลา
มักมีการเปลี่ยนแปลงตามบริบทท่ีเปลี่ยนไป เป็นงานกลุ่มที่ต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายฝ่าย เป็น
กระบวนการของการตัดสินใจและเป็นกระบวนการต่อเน่ือง เป็นท่ีน่าสังเกตว่าหลักสูตรจะมีประสิทธิผล
มากข้ึน ถา้ มกี ารพจิ ารณาองค์ประกอบสาคญั กันอย่างครอบคลุม ดาเนนิ การไปตามกระบวนการท่ีมีระบบ
รวมท้งั มีการศกึ ษาบทเรียนในอดีตตามววิ ฒั นาการของหลกั สูตรเพื่อนาส่วนดีมาพัฒนาให้เกดิ ประสทิ ธิภาพ
มากขึน้ เหมาะสมกับสภาพของสงั คม การเมอื ง เศรษฐกิจ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี
24
วิวัฒนาการของหลักสูตรและการศึกษาของไทยน้ันเร่ิมจากหลักสูตรและการศึกษาสมัยก่อนกรุง
สุโขทัย สมัยกรุงสุโขทัย กรุงศรีอยุธยา กรุงธนบุรี กรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น (รัชกาลท่ี 1-4) สมัยปฏิรูป
การศึกษา (รัชกาลที่ 5-7) สมัยหลังเปล่ียนแปลงการปกครอง และหลักสูตรการศึกษาไทยในปัจจุบัน ซ่ึง
เรม่ิ ต้ังแต่หลักสตู รการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2503 จนถึงปจั จุบนั ซง่ึ จะพบวา่ หลกั สูตรไทยนั้นได้มี
ความเจริญกา้ วหนา้ มาเปน็ ลาดบั ซ่ึงแตล่ ะยุคสมยั ก็มีการพฒั นาและสง่ ต่อความเจรญิ มาอย่างตอ่ เนื่อง โดย
ท้ังน้ีหลักสูตรท่ีจะสามารถพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนได้เป็นอย่างดีน้ัน จะต้องเป็นหลักสูตรท่ีได้มาจาก
ความสนใจของผูเ้ รียนและสอดคลอ้ งกับข้อมูลในชุมชน รวมทง้ั มีผู้เกี่ยวข้องในการสร้างหลักสูตรจากหลาย
ฝ่าย ทั้งในสถานศึกษาและในชุมชน สามารถนาหลักสูตรไปใช้ได้จริง โดยหลักสูตรที่นาไปใช้ต้องจัดการ
เรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ตอบสนองความสนใจของผู้เรียน ให้อิสระในการเรียนรู้แก่ผู้เรียน และมีใช้
วัสดุอุปกรณ์ของโรงเรียน ชุมชน อย่างกว้างขวาง มีความยืดหยุ่น สามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้
เหมาะสมกับผู้เรียนและบริบทต่าง ๆ ได้ มีการติดตามและประเมินผลหลักสูตรเพื่อปรับปรุงเป็นระยะ ๆ
โดยเปิดโอกาสให้ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และผู้เกี่ยวข้องได้แสดงความคิดเห็นและให้ผลย้อนกลับ
เพอ่ื การปรบั ปรุงเปลี่ยนแปลงหลักสูตรให้ดยี ิ่งขึ้นไดต้ ่อไป
25
เอกสารอ้างองิ
กนิษณ์ฐา ทองดี. (2553). สรปุ พฒั นาการหลกั ของหลกั สตู รการศกึ ษาไทย. (ข้อมูลออนไลน์).
เขา้ ถึงได้จาก: http://www.learners.in.th/blogs/posts/410600.
สบื ค้นเมื่อ 24 กันยายน 2556.
ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2559). การพัฒนาหลักสูตร: ทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งท่ี 5. กรุงเทพฯ:
วพี รินท์.
ชัยอนันทร์ นวลสวุ รรณ.์ (2555). ประวตั ิหลกั สตู รและการศึกษาไทย. (ขอ้ มูลออนไลน)์ .
เข้าถึงได้จาก: http://chainan1.blogspot.com/2012/01/blog-post_11. Html.
สืบค้นเม่ือ 20 กนั ยายน 2556.
ทศั นยี ์ ชาตไิ ทย และคณะ (2557). แก่นการศกึ ษา. กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลยั ธุรกิจบัณฑติ ย์
ธนภัทร จันทร์เจริญ. (2557). พิพัฒนาการหลักสูตรและการศึกษา. ใน แก่นการศึกษา. หน้า 27-51.
กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลยั ธรุ กิจบัณฑติ ย์
วิชัย วงศ์ใหญ่ (2554). การพัฒนาหลักสูตรอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ: บริษัท อาร์ แอนด์ ปริ้นส์ จากัด.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2555). ประมวลสาระชุดวิชาการประเมินผลหลักสูตรและ
การเรยี น การสอนสาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช. นนทบุรี: โรงพมิ พ์
สโุ ขทัย ธรรมาธิราช.
Alexander, W.M. (1981). Curriculum planning for better teaching and learning
(4 th ed.) New York: holt, Rinehart and Winston.
Amstrong, D.G. (1989). Developing and documenting the curriculum. Boston: Allyn
and Bacon.
Beauchamp, G.A (1981). A curriculum theory (4th ed.). Itusch, Illinois: F.E.Peacock.
Eisner, E.W. & Vallance, E. (1974). Conflicting conceptions of curriculum. Berkeley CA:
McCutchan.
Good, C.V. (1973). Dictionary of education. New York: McGraw-Hill.
Moore, A. (2015). Understanding the school curriculum: theory, politics and
principles. London: Routledge.
Oliva. P.F. (1982). Developing the curriculum. New York: Harper Collins.
26
Pinar, W. (1974). Curere: Toward reconceptualization. In Jelinek (Ed). Basic problems in
modern education. Tempe, AZ: Arizona.
Saylor. J. G., & Oliva, P. F. (2013). Developing the curriculum. Boston: Ma: Pearson.)
Ornstein, A. C. (2013). Curriculum: foundations, principles, and issues. Boston:
Pearson.
Saylor, J. G., & Alexander, W. M. (1974). Planning Curriculum for Schools. New York:
Holt, inehart and Winston: Inc.)
Taba, H. (1962). Curriculum development: Theory and practice. New York: Harcourt,
Brace & World.
Tyler, R.W. (1969). Basic principle of curriculum and instruction. University of Chicago
press.
27
บทท่ี 2
พนื้ ฐานของการพัฒนาหลักสูตร
วา่ ทร่ี ้อยตรหี ญิง แฝงกมล เพชรเกล้ียง
บทนา
การพัฒนาหลักสูตรจาเป็นตอ้ งใช้ข้อมูลพ้ืนฐานในดา้ นต่าง ๆ ไดแ้ ก่ พน้ื ฐานจากปรัชญา สังคมวทิ ยา
จิตวิทยา และวิชาความรู้ต่าง ๆ มาเพ่ือให้ได้ข้อมูลอย่างเพียงพอท่ีจะใช้ในการพัฒนาหลักสูตร เพื่อให้ได้
หลกั สูตรทดี่ ี มปี ระสิทธิภาพสามารถพฒั นาใหผ้ ู้เรยี นมคี วามรคู้ วามสามารถ และทศั นคติทต่ี อ้ งการ เพราะขอ้ มูล
เหล่านจ้ี ะชว่ ยนกั พัฒนาหลกั สตู รในเร่ืองต่าง ๆ (สนุ ยี ์ ภู่พนั ธ์, 2546: 28) คือ
1. ช่วยให้มองเห็นภาพรวมว่า ในการจัดทาหลักสูตรนั้นจาเป็นต้องคานึงถึงส่ิงใดบ้าง และสิ่ง
ตา่ งๆ เหล่านนั้ มอี ทิ ธิพลต่อหลักสูตรอยา่ งไร
2. ช่วยให้สามารถกาหนดองค์ประกอบของหลักสูตรได้อย่างเหมาะสม เช่นการกาหนด
จุดมุง่ หมายของหลักสตู ร และการกาหนดเนือ้ หาวิชา ฯลฯ
3. ชว่ ยให้สามารถกาหนดยุทธศาสตร์การเรยี นการสอนได้อย่างเหมาะสม และมปี ระสทิ ธิภาพ
4. ช่วยเพิ่มพูนความรู้และทักษะในการออกแบบและพัฒนาหลักสูตร อันจะส่งผลให้การ
ดาเนนิ การในอนาคตประสบผลดียงิ่ ขึ้น
นอกจากนไ้ี ดม้ ีนักการศึกษาท้ังไทยและต่างประเทศที่ได้กล่าวถงึ ขอ้ มลู พ้นื ฐาน ที่ควรนามาใช้ใน
การพัฒนาหลกั สูตร ดงั น้ี
ไทเลอร์ (Tyler, 1949: 1 – 43 ; อ้างอิงจาก Ornstein, 1993: 35 - 36) กล่าวถึงส่ิงท่ีควร
พิจารณาในการสร้างจุดมุ่งหมายของการศึกษา คอื
1. ขอ้ มูลเก่ียวกับตัวผเู้ รยี น
2. ขอ้ มลู จากภายนอกโรงเรยี น
3. ขอ้ มลู ทไ่ี ด้จากผเู้ ชยี่ วชาญในสาขาต่างๆ
4. ขอ้ มลู ทางดา้ นปรชั ญา
5. ขอ้ มูลทางด้านจติ วิทยาการเรยี นรู้
28
ทาบา (Hilda Taba, 1962: 16 - 87 ; อ้างอิงจาก วิชัย วงษ์ใหญ่, 2537 - 17) กล่าวว่า การ
พัฒนาหลักสตู รโดยใช้วิธกี ารทางวิทยาศาสตร์จะตอ้ งคานึงถึงสิ่งตอ่ ไปนี้
1. ความตอ้ งการและลักษณะโครงสร้างของสังคมและวัฒนธรรม
2. ผเู้ รยี น ความตอ้ งการ ความสนใจและกระบวนการเรียนรู้
3. ธรรมชาตขิ องวชิ าความรู้
4. จุดมุ่งหมายของโรงเรยี น
เซเลอร์ และอเล็กซานเดอร์ (Saylor and Alexander, 1974: 102 - 103) กล่าวถึงข้อมูล
พน้ื ฐานในการพัฒนาหลักสตู รไว้วา่
1. ข้อมูลเกยี่ วกบั ตวั ผู้เรยี น
2. ข้อมลู เกยี่ วกบั สังคมซ่ึงสนับสนนุ โรงเรียน
3. ขอ้ มูลเกี่ยวกับธรรมชาติ และลกั ษณะของกระบวนการเรียนรู้
4. ความร้ทู ีไ่ ด้สะสมไวแ้ ละความรู้ทีจ่ าเปน็ อยา่ งยิ่งทีต่ ้องให้แก่นกั เรียน
แฮส (Hass, 1977: 6) แบ่งพ้ืนฐานของการพัฒนาหลักสูตรไว้ว่า ต้องอาศัยข้อมูลพื้นฐาน 4 ด้าน
ดังต่อไปน้ี
1. อิทธพิ ลจากแรงผลักดนั ของสังคม
2. การพฒั นาการของมนษุ ย์
3. ธรรมชาติของการเรยี นรู้
4. ธรรมชาตขิ องความรู้
ออนสเตน (Ornstein, 1993: 14 - 15) กล่าวถึง ข้อมูลพื้นฐานสาคัญท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนา
หลักสูตรว่า ควรจะมาจากท้งั ข้อมูลท่ีมาจากภายนอกและภายใน ซ่ึงประกอบดว้ ย ปรชั ญา ประวัติศาสตร์
จติ วิทยา และสังคมวิทยา
สาโรช บัวศรี (2514: 21 - 22) ได้กล่าวว่า ในการจัดการศึกษาหรือจัดหลักสูตรต้องอาศัย
พนื้ ฐานหลัก 5 ประกอบ คือ
1. พ้ืนฐานทางปรชั ญา
2. พื้นฐานทางจิตวทิ ยา
3. พื้นฐานทางสังคม
4. พ้นื ฐานทางประวัตศิ าสตร์
5. พื้นฐานทางดา้ นเทคโนโลยี
29
ธารง บัวศรี (2532: 4) กลา่ วว่า พน้ื ฐานการพัฒนาหลกั สตู ร มดี งั น้ี
1. พน้ื ฐานทางปรชั ญา
2. พน้ื ฐานทางสงั คม
3. พ้ืนฐานทางจิตวิทยา
4. พนื้ ฐานทางความรแู้ ละวิทยากร
5. พื้นฐานทางเทคโนโลยี
6. พน้ื ฐานทางประวตั ิศาสตร์
สงดั อทุ รานันท์ (2532: 46) กล่าวถงึ พื้นฐานในการพฒั นาหลักสูตร ไว้ดงั น้ี
1. พื้นฐานทางปรชั ญาการศกึ ษา
2. ขอ้ มูลทางสังคมและวัฒนธรรม
3. พ้นื ฐานเกี่ยวกับพฒั นาการของผ้เู รยี น
4. พน้ื ฐานเกี่ยวกบั ทฤษฎีการเรยี นรู้
5. ธรรมชาตขิ องความรู้
บุญชม ศรีสะอาด (2546: 21) กล่าวถึง พื้นฐานการพฒั นาหลักสูตรไม่ว่าจะเป็นหลักสูตรระดับ
ใดกต็ ามจาเป็นตอ้ งอาศยั พนื้ ฐานจากดา้ นตา่ งๆหลายด้านประกอบกันดงั น้ี
1. พ้ืนฐานจากประวัตศิ าสตร์
2. พน้ื ฐานจากปรัชญา
3. พื้นฐานจากสังคมวิทยา
4. พื้นฐานจากจติ วทิ ยา
5. พ้นื ฐานจากวิชาความรู้
จะเห็นได้วา่ ข้อมูลที่นามาเป็นพนื้ ฐานในการพัฒนาหลักสูตรมีมากมายหลายดา้ นประเดน็ สาคัญ
ของขอ้ มลู พ้นื ฐานในการนามา เพือ่ ใชใ้ นการพฒั นาหลกั สูตร สรปุ ได้ดงั ตอ่ ไปนี้
1. ปรัชญาการศกึ ษา
2. จติ วิทยาพฒั นาการ
3. สงั คมและวัฒนธรรม
4. เศรษฐกจิ
5. การเมือง การปกครอง
6. สภาพปัญหาและแนวทางการแกป้ ัญหาในสังคม
7. สภาพสังคมในอนาคต
30
8. บคุ คลภายนอกและนกั วชิ าการสาขาตา่ งๆ
9. ประวตั ศิ าสตร์การศกึ ษา
10. ธรรมชาติของความรู้
1. พน้ื ฐานด้านปรัชญาการศึกษา (Philosophy of Education Foundation)
ความหมายของปรัชญา
คาว่า ปรัชญา ตรงกับในภาษาอังกฤษว่า Philosophy แปลว่า วิชาท่ีว่าด้วยหลักแห่งความรู้
และความจริง ซึ่งมาจากรากศัพท์ภาษากรีกว่า "Philosophia" คาว่า Philip หมายถึง Loving หรือความ
รัก คาว่า Sophia หมายถึง wise หรือ wisdom ซึ่งแปลว่า ความรู้หรือความฉลาด ดังน้ันคาว่าปรัชญา
ตามความหมายในภาษาอังกฤษ ซึ่งมีรากศัพท์มาจากภาษากรีก จึงแปลว่า love of wisdom หรือความ
รกั ที่มีต่อความรู้
ส่วนในเชิงวิชาการ ปรัชญา หมายถึง การศึกษาหาความจริงหรือแก่นแท้ของสรรพสิ่งที่มีอยู่
ในโลก และจกั รวาลอย่างมีระบบ และมรี ะเบยี บแบบแผน
ปรัชญามีส่วนสาคัญต่อการสร้าง หรือการพัฒนาหลักสูตรมาก ซึ่งในการพัฒนาหลักสูตรจะใช้
ปรัชญาช่วยในการกาหนดจุดประสงค์ ในการจัดหลักสูตร และการจัดการสอน ทั้งน้ีขึ้นอยู่กับว่ามีความ
เชื่อหรือยึดถือปรัชญาใด ได้แก่ จิตนิยม (Idealism) สัจจนิยม (Realism) เทวนิยม (Neo - Thomism)
ปฏิบัติการนิยม (Experimentalism or Pragmatism) อัตถิภาวนิยม (Existentialism) และปรัชญา
วเิ คราะห์ (Philosophical Analysis or Scientific Empiricism)
จากแนวความเชอื่ ของปรัชญาจึงพัฒนาขึ้นมาเป็นปรัชญาการศึกษาต่าง ๆ โดยแตล่ ะสาขาต่างก็
ยึดแนวความเชือ่ ของปรัชญาสากลเป็นหลัก และปรชั ญาการศึกษาบางสาขาก็จะรวมเอาปรชั ญาสากลบาง
สาขาเขา้ ดว้ ยกนั
ปรัชญาการศกึ ษา
ปรัชญาการศึกษา หมายถึง อุดมคติ อุดมการณ์ อันสูงสุดซึ่งยึดเป็นหลักในการจัดการศึกษามี
บทบาทในการเป็นแม่บทเป็นต้นกาเนิดความคิดในการกาหนดความมุ่งหมายของการศึกษาและเป็น
แนวทางในการจัดการศึกษาตลอดจนกระบวนการในการเรยี นการสอน
ในดา้ นการศึกษา ปรัชญาได้เขา้ มามีบทบาทสาคัญ และกอ่ ให้เกิดประโยชน์นานปั การดงั น้ี
1. อธิบายถึงสภาพการณ์ของการศกึ ษาวา่ อยู่ในสภาพอย่างไร
2. วจิ ารณ์ทง้ั ภาคทฤษฎีและภาคปฏบิ ัตขิ องการศกึ ษาว่า มคี วามเหมาะสมมากน้อยเพียงไร
31
3. เปรียบเทียบแนวความเชอื่ ของตนกับแนวการจัดการศึกษาว่า แตกต่างกันอย่างไร โดยอาศัย
การวิเคราะห์ วิจารณจ์ ากความคดิ เห็นของบคุ คลทีเ่ ก่ยี วข้อง
4. เกิดความริเร่ิมสร้างสรรค์ในการพัฒนาการศึกษาให้ดีข้ึน หรือกาหนดแนวปฏิบัตทิ ี่เหมาะสม
กับการจัดการศึกษา
การจดั หลกั สตู รตามแนวปรชั ญาการศึกษาตา่ งๆ
ปรัชญาการศกึ ษาสาขาสารนยิ มหรือปรชั ญาสารัตถนยิ ม (Essentialism)
แนวคิดและความเช่ือ สารนิยมเป็นชื่อของปรัชญาการศึกษาทก่ี าหนดข้ึนมาโดยวิลเลียม ซี แบกเลย์
(Bagley) ซึ่งมีความเช่ือว่า ในแต่ละวัฒนธรรมมีความรู้ ทักษะ ความเช่ือ อุดมการณ์ ฯลฯ ท่ีเป็นแกนกลางหรือ
เป็นหลัก ทุกคนในวัฒนธรรมนั้นควรรู้ส่ิงเหล่านี้ และระบบการศึกษามุ่งถ่ายทอดสิ่งเหล่านี้แก่เยาวชน
หลักสูตรที่จัดตามแนวปรัชญาน้ีได้แก่ หลักสูตรแบบเนื้อหาวิชา (Subject Curriculum) และหลักสูตรแบบ
สหสัมพันธ์ (Correlated Curriculum) ในด้านการเรียนการสอนตามแนวปรัชญาการศึกษาน้ีมุ่งเน้นให้ผู้เรียน
รับรู้และเข้าใจเพ่ือให้ผู้เรียนคล้อยตามและยอมรับหลักการ ความคิด และค่านิยมท่ีครูนามาให้ การเรียนการ
สอนจึงไม่เป็นการสร้างสรรค์ความคิดใหม่ๆ แต่เป็นการยอมรับสิ่งท่ีคนในสังคมเคยเชื่อและเคยปฏิบัติกันมา
กอ่ น (ไพฑรู ย์ สินลารตั น์, 2553)
ขอ้ สงั เกตในการพฒั นาหลักสตู รโดยใช้ปรัชญาการศึกษาสารนยิ ม มดี งั นี้
1. กระบวนการเรียนรโู้ ดยผา่ นกระบวนการทางจิต ซึ่งประกอบดว้ ยญาณและแรงบนั ดาลใจ
2. มุ่งพฒั นาให้จิตของผ้เู รยี นให้เปน็ จติ ท่ีสมบรู ณ์
3. สาระสาคัญของความรู้ คือ วิชาที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ และความรู้ปัจจุบัน ซ่ึงเน้นปริมาณ
ความรเู้ ปน็ สาคัญ
4. การเรียนการสอนมุ่งเน้นทจ่ี ะฝึกการอ่าน การเขยี น การคิดเลข
อย่างไรก็ตาม ในการพัฒนาหลักสูตรตามแนวปรชั ญาการศึกษาสารนิยม พบว่า ยังมีข้อด้อย คือ
การเรยี นการสอนท่ีเน้นเนื้อหาวิชา และเน้นให้ผเู้ รียนเช่ือฟังครู ทาให้ผ้เู รียนขาดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
และขาดความเป็นตัวของตัวเอง ซ่ึงเป็นสิ่งที่จาเป็นในการปกครองตามแนวระบอบประชาธิปไตย
นอกจากน้ีการสอนที่เน้นความจา ทาให้นักเรียนไม่มีความคิดก้าวหน้า มีแต่ความรู้ในทางทฤษฎีท่ีนาไป
ปฏิบัติได้ยาก การยึดถือมรดกวัฒนธรรมเกินไป ทาให้ผู้เรียนขาดอิสรภาพและความมีเหตุผล และการ
กาหนดจุดมุ่งหมายของการศึกษาไว้แน่นอน ซ่ึงขัดกับแนวคิดในการพัฒนาผู้เรียนในยุคสังคมแห่งการ
เรยี นรู้
32
ปรัชญาการศกึ ษาสัจวิทยานยิ ม หรอื นิรันตรนยิ ม (Perenialism)
แนวคิดและความเช่ือ แนวความคิดหลักการทางการศึกษาของสัจวิทยานิยม ได้แก่ ความเช่ือ
ที่ว่าหลักการของความรู้จะต้องมีลักษณะจีรังย่ังยืนอย่างแท้จริง Perenia มีความหมายถึง ความคงท่ี
ความไม่เปลี่ยนแปลง รากฐานของทัศนะน้ีมาจากงานของ เซนต์ โทมัส อะไควนัส (St. Thomas
Aquinas)
สัจวิทยานิยมเป็นปรัชญาการศึกษาท่ียึดแนวความเชื่อตามหลักปรัชญาสาขาเทวนิยม โดยมี
ความเชื่อว่าส่ิงที่สาคัญที่สุดของธรรมชาติของมนุษย์ คือ ความสามารถในการคิด ความสามารถในการใช้
เหตุผล การตัดสินแยกแยะ และมีความเชื่อถือพระเจ้า การจัดหลักสูตรจึงเน้นความสัมพันธ์ของวิชา
พืน้ ฐานทงั้ สาม คอื การอ่าน การเขยี น และการคานวณ (Three R’s)
ในการจัดการเรียนการสอน ผู้สอนมีความเช่ือว่า นักเรียน คือ ดวงวิญญาณท่ีมีเหตุผล ครู คือ
ดวงวิญญาณทีม่ ลี ักษณะของการเปน็ ผ้นู า และนกั วิชาการ สาหรับหลักสูตรน้ันก็เปน็ เน้ือหาสาระที่เกี่ยวกับ
ดวงวิญญาณและสติปัญญา เช่น หลักการของศาสนา กฎเกณฑ์ หลักการต่าง ๆ ของภาษา คณิตศาสตร์
เป็นต้น จุดเน้นอยู่ท่ีการจัดกิจกรรมเพื่อการฝึกและควบคุมจิต เน้ือหาสาระที่มาจากธรรมชาติในรูปของ
สาขาวิชาการและความสามารถทางจิต วิชาการสอนจึงได้แก่ การฝึกฝนทางปัญญา เช่น การอ่าน การ
เขียน การฝึกทักษะ การท่องจา และการคานวณ พวกสัจวิทยานิยมถือว่า การเรียนรู้เก่ียวกับการหา
เหตุผลที่มีความสาคัญมากด้วยเช่นกัน และการจะได้สิ่งเหล่านี้มาจาเป็นจะต้องมีการฝึกฝนสติปัญญา
เพ่ิมเติม โดยการเรียนรู้ไวยากรณ์ ตรรกวิทยา และวาทศิลป์ ซึ่งนักการศึกษาได้ยืนยันความเช่ือเก่ียวกับ
การสอนโดยเฉพาะในระดบั ประถมศึกษาวา่ เราไมส่ ามารถทาอะไรใหแ้ ก่เด็กได้ดไี ปกว่าการเก็บความจาใน
ส่งิ ที่ควรแก่ความจา เขาจะรู้สึกยินดีและพอใจเม่ือเขาเตบิ โตเป็นผู้ใหญ่ นับถือลักษณะของการศึกษาที่ยึด
หลักการฝึกอบรมให้เป็นบุคคลท่ีดีมีเหตุผล ท้ังน้ีโดยมีเป้าหมายจะให้ผู้เรียนสามารถค้นพบชีวิตท่ีมี
ความสุขและมีเหตุผลตามหลักของศาสนาเป็นประการสาคัญ (วิทวัฒน์ ขัตติยะมาน และอมลวรรณ วีระ
ธรรมโม, 2554: 35)
ขอ้ สงั เกตเกยี่ วกับปรชั ญาการศกึ ษาสาขาสัจนยิ ม มดี ังนี้
1. มีแนวความคิด และความเชอ่ื ใกลเ้ คยี งกบั สาขาสารนยิ มแต่ยดึ หลักความศรัทธาเป็นหลักการ
เบื้องต้นของความมีเหตุผลของมนุษย์ และท่ีมาของความรู้
2. จุดมุ่งหมายของการศึกษามุ่งท่ีจะเตรียมเด็กให้เป็นผู้ใหญ่ที่ดีในอนาคต ทาให้การอ่าน การ
เขยี น การคิดเลข มคี วามสาคัญในระดับประถมศกึ ษา
33
อยา่ งไรก็ตาม ในการพัฒนาหลักสูตรตามแนวปรชั ญาการศึกษาสารนิยม พบว่า ยังมขี ้อดอ้ ย คือ
การท่ีถือว่า นักเรียนทุกคนเหมือนกัน เป็นการขัดกับหลักจิตวิทยาในเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคล
การเรียนท่ีถือเอาครูเปน็ ศนู ย์กลางจะทาให้ผู้เรยี นขาดความคิดริเริ่ม ขาดลกั ษณะผนู้ า เป็นการฝกึ นกั เรยี น
ให้เป็นผู้ตาม นักเรียนน่าจะได้เรียนตามความสามารถและความถนัดของตน ไม่ใช่บังคับให้ทุกคนเรียน
เหมือนกันหมด การวัดผลที่เน้นความจาจะนาความรู้ไปใช้ได้น้อย ไม่เหมาะสมกับความต้องการของเด็ก
ไม่เหมาะสมกับสังคมยุคใหม่ ไม่ส่งเสริมความเป็นประชาธิปไตย ทาให้เกิดการแบ่งชนช้ัน และ
กระบวนการเรยี นรอู้ าศยั การข่บู งั คับเปน็ หลกั
ปรัชญาการศกึ ษาสาขาพิพัฒนาการนยิ ม (Progressivism)
พิพัฒนาการนิยมเป็นปรัชญาการศึกษาในปัจจุบันของอเมริกา เร่ิมข้ึนในปี ค.ศ.1925 นับเป็น
ทัศนะทางการศึกษาที่มีอิทธิพลมากท่ีสุดในอเมริกา รุสโซ (Jean Jacques Rousseau) เป็นบุคคลแรกที่ หัน
มาให้ความสาคัญต่อการพัฒนาการของเด็ก รุสโซ เชื่อวา่ การศึกษาจะชว่ ยพฒั นาเด็กไปในทางท่ีดีได้
แนวคิด และความเชื่อของปรัชญาพิพัฒนาการนิยม หรือ ปรัชญาวิวัฒนาการนิยม เป็นปรัชญา
การศึกษาที่ยึดหลักของปรัชญาสากลของสาขาปฏิบัติการนิยม โดยมีความเช่ือว่า นักเรียนเป็นบุคคลท่ีมี
ทกั ษะพร้อมที่จะปฏิบัติงานได้ นักเรียนจะเรียนรู้ได้โดยอาศยั ประสบการณ์ ครมู ีหน้าท่ีจัดประสบการณ์ให้แก่
เด็ก ครูนั้นเป็นผู้นาทางด้านการทดลอง และวิจัย หลักสูตรเป็นเนื้อหาสาระท่ีเก่ียวกับประสบการณ์ต่าง ๆ
ของสังคม เช่น ปัญหาของสงั คม รวมท้ังแนวทางท่ีจะแก้ปัญหาน้ัน ๆ จนกระท่ัง จอหน์ ดิวอี้ (John Dewey)
ได้ทาการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมในต้นคริสต์ศตวรรษท่ี 20 โลกจึงได้รู้จักปรัชญาพิพัฒนาการนิยมในนามของ
ดิวอี้ หลักปรัชญาของดิวอี้นั้น แตกต่างจากปรัชญาในสาขาที่แล้ว ๆ มา คือ แทนที่จะเน้นการศึกษา เพื่อ
พัฒนาความเป็นเลิศทางสติปัญญาของผู้เรียน ดิวอ้ีหันมาเน้นใช้การศึกษาเป็นเคร่ืองมือในการพัฒนา ตัว
ผู้เรียนแทน โดยเน้นว่าผู้เรียนควรมีความเข้าใจ และตระหนักในตนเอง (Self-realization) ดิวอ้ีเช่ือว่า ใน
กระบวนการท่ีเด็กพยายามแก้ปัญหาหรือสนองความสนใจของตนเองน้ัน เด็กจะต้องลงมือกระทาอย่างใด
อย่างหนึ่ง และกระบวนการนี้เองจะเกิดข้ึน หลักการนี้ทาให้เกิดวิธีการเลียนแบบ แก้ปัญหา (Problem
Solving) หรือเรียนด้วยการปฏิบัติ (Learning by Doing) และจากหลักการที่ว่า การพัฒนา คือ การ
เปลี่ยนแปลง คนเราจะหยุดพัฒนาไม่ได้ ดังน้ัน การเรียนรู้ของคนเราจึงมิได้หยุดอยู่แต่ในโรงเรียนเท่าน้ัน แต่
จะดาเนินไปตลอดชีวิตของผู้เรียน ทาให้เกิดความเช่ือว่า การศึกษาคือชีวิต (Education is Life) หลักสูตรที่
จัดตามแนวปรัชญาน้ี ได้แก่ หลักสูตรแบบประสบการณ์หรือกิจกรรม (Experience or Activity
Curriculum)
34
การจัดหลักสูตรตามแนวคดิ ของพพิ ัฒนาการนิยม หน้าท่ีของโรงเรียนแบบพิพัฒนาการนิยม ได้แก่
การเตรียมพร้อมท่ีจะให้ผู้เรียนเกิดความร่วมมืออย่างกระตือรือร้นต่อการเปล่ียนแปลง จุดเน้นที่สาคัญของ
โรงเรียนตามแนวปรัชญานอ้ี ยู่ท่ีการเรยี นรู้วธิ ีการคิดมากกว่าส่ิงที่จะคิด จุดเน้นอยู่ทีก่ ารทดลอง จึงไม่มีการให้
ความสาคัญแก่เนื้อหาใดเป็นพิเศษ แต่จะใช้ประสบการณ์ชีวิตเป็นตัวกาหนดหลักสูตรและเน้ือหาทุกชนิด
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จึงเน้นวิธีการทางวิทยาศาสตร์ มาจัดการเนื้อหาวิชาโดยยึดประสบการณ์เป็น
ศูนย์กลาง หรือ ยึดนักเรียนเป็นศูนย์กลาง ส่งเสริมการฝึกหัดทาโครงการต่าง ๆ เพื่อฝึกแก้ปัญหา โดยอาศัย
การอภิปราย ซักถาม และการถกปัญหาร่วมกัน ซ่ึงเป็นลักษณะของการจัดการศึกษาที่มุ่งให้ผู้ เรียน มี
ความสามารถ ท่จี ะพิจารณาตัดสินใจ โดยอาศัยประสบการณ์และผลท่เี กิดจากการทางานเป็นกลุ่ม ทัง้ นโี้ ดยมี
เป้าหมายให้ผู้เรียนมีความสามารถท่ีจะควบคุมการเปล่ียนแปลง และปรับปรุงตนเองให้อยู่ในสังคมได้อย่างมี
ความสขุ (วิทวฒั น์ ขตั ตยิ ะมาน และอมลวรรณ วีระธรรมโม, 2554: 36 - 37)
ข้อสงั เกตในการพฒั นาหลกั สตู ร ตามแนวปรชั ญาการศึกษาสาขาพพิ ัฒนาการนิยม มีดังน้ี
1. ประสบการณ์ของมนุษย์เป็นพื้นฐานของความรู้ มนุษย์เรยี นรู้สภาพการณ์ของทุกสิ่งในโลกน้ี
ทกี่ าลงั เปล่ียนแปลง ดงั นัน้ กระบวนการเรยี นรทู้ างวิทยาศาสตร์จะทาให้ผ้เู รียนรู้วา่ คิดอยา่ งไร
2. กระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมอย่างไร เน้นการคิดอย่างไร มากกว่าคิดอะไร กระบวน
การศึกษาเน้นกระบวนการของกลุ่ม (Group Process) และมาตรฐานของกลุ่ม (Group Norms)
3. โรงเรียนเป็นสถาบันทางสังคม และฝึกวิถีทางแบบประชาธิปไตย มีเสรีภาพภายใต้กฎเกณฑ์
ของประชาธปิ ไตย
อย่างไรก็ตาม การพัฒนาหลักสูตรตามแนวปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม ยังพบว่ามี
ข้อด้อยดังต่อไปนี้
1. ทาใหเ้ ดก็ มคี วามรไู้ มเ่ ปน็ ช้นิ เป็นอนั
2. ขาดระเบยี บวินยั ขาดความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม
3. ทาให้เดก็ ขาดทัศนคตทิ จี่ ะอนรุ กั ษ์สถาบนั ใด ๆ ของสังคม
4. ทาให้การศึกษาด้อยในคุณภาพ โดยเฉพาะการพัฒนาทางด้านสติปัญญา เพราะการสอนที่
เนน้ ความต้องการและความสนใจของเด็กนน้ั เด็กสว่ นมากยังขาดวุฒภิ าวะพอท่ีจะรู้ความสนใจของตนเอง
ธรรมชาติของเด็กชอบเลน่ มากกว่าเรยี น
5. การจัดหลักสูตรให้สนองความต้องการและความสนใจของผู้เรียนทั้งหมดเป็นส่ิงท่ีทาได้ยาก
เพราะความสนใจ และความตอ้ งการบางอย่างของผู้เรยี นอาจจะไมม่ ปี ระโยชน์ในชีวิต
6. การเรียนการสอนที่เน้นการปรับตัวของนักเรียนให้เข้ากับสังคมและสิ่งแวดล้อม อาจทาให้
สูญเสียความเป็นตวั ของตวั เอง
35
ปรัชญาการศึกษาสาขาปฏิรูปนยิ ม (Reconstructionism)
ธีโอดอร์ บราเมลด์ (Theodore Beamed) นักปรัชญาการศึกษาชั้นนาของอเมริกาได้รับเกียรติให้
เป็นบิดาของปฏิรูปนิยม เนื่องจากปฏิรูปนิยมแยกออกมาจากพิพัฒนาการนิยม แนวคิดและความเช่ือของ
ปรัชญาการศึกษาสาขาปฏิรปู นิยม มีความเช่ือเก่ียวกับผู้เรียน ครู หลักสูตร กระบวนการเรียนการสอนทเี่ น้นใน
เรื่องชีวิตและสังคม ตลอดจนลกั ษณะของการจัดการศึกษาว่า คล้ายคลงึ กบั ปรชั ญาการศึกษาสาขาพิพัฒนาการ
นิยม แตกต่างกันตรงท่ีเป้าหมายของสังคมท่ีแตกต่างกัน และแนวความคิดของพิพัฒนาการนิยมเองมีลักษณะ
เปน็ กลางจงึ ไม่สามารถนาไปใช้ในการปฏริ ูปการศกึ ษาในสว่ นทีจ่ าเปน็ ได้ (ทศิ นา แขมมณี, 2556: 28)
หลักสูตรท่ีจัดตามแนวปรัชญาน้ี ไดแ้ ก่ หลักสูตรที่ยดึ หลกั สังคมและการดารงชีวิต (Social Process
and life Function Curriculum) และหลักสูตรแบบแกน (Core Curriculum) ความมุ่งหมายของหลักสูตรจะ
เน้นการพฒั นาผเู้ รียนให้มคี วามรู้ ความสามารถ และทัศนคติท่ีจะออกไปปฏิรปู สงั คมใหด้ ขี ึน้
เนื้อหาวิชา และประสบการณท์ ี่เลือกมาบรรจุในหลักสูตรจะเก่ียวกับสภาพและปัญหาของสังคมเป็น
ส่วนใหญเ่ นือ้ หาวิชาเหล่านี้จะเน้นหนักในหมวดสังคมศกึ ษา
การสอนจะไมเ่ น้นการถา่ ยทอดวชิ าความรู้ โดยการบรรยายของครูมากเหมือนหลักสูตรในปรัชญาสาร
นยิ ม แต่มงุ่ สง่ เสริมใหผ้ ้เู รยี นสารวจความสนใจความต้องการของตนเอง และสนองความสนใจด้วยการค้นควา้ หา
ความรู้ด้วยตนเองเน้นการอภิปราย และแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเรื่องต่าง ๆ โดยเฉพาะเรื่องท่ีเกี่ยวกบั ปัญหา
ของสงั คม พร้อมทง้ั หาขอ้ เสนอแนะ และแนวทางในการปฏิรปู สังคมด้วย
การจัดตารางสอนไม่ออกมาในรูปแบบตารางสอนตายตัว (Block Schedule) แต่จะออกมาในรูปของ
ตารางสอนแบบยืดหยุ่น (Flexible Schedule) บางคาบเป็นเวลาช่วงส้ัน ๆ สาหรับการบรรยายนาของครู บาง
คาบเป็นชว่ งเวลาสาหรับการศกึ ษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง
การประเมินผลนอกจากจะวัดผลการเรียนทางด้านวิชาความรู้แล้วยังวัดผลทางด้านพัฒนาการ
ของผูเ้ รียน และทศั นคตเิ กี่ยวกับสงั คมอกี ดว้ ย
ปรัชญาสาขาอัตถิภาวนยิ มหรือปรชั ญาสวภาพนิยม (Existentialism)
แนวคดิ และความเชื่อ ปรัชญาสาขาน้แี พร่หลายในปลายคริสต์ศตวรรษท่ี 19 โดยมีเคอคการ์ด (Soren
Kierkegaard) เป็นผู้ริเร่ิม และสาตร์ (Jean Paul Sartre) ได้เผยแพร่ต่อมา จนถึงในคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยมี
ความเชื่อว่าบุคคลย่อมเป็นตัวของตัวเอง มีเสรีภาพ และความรับผิดชอบของตัวเอง แต่ละคนสามารถกาหนด
ชีวิตของตนเองได้เป้าหมายของสังคมนั้นต้องมีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาให้คนเรามีอิสรภาพ และมีความ
รับผิดชอบ และส่ิงนี้จะเกิดข้ึนได้ก็ต่อเมื่อเราพยายามเปิดโอกาสหรือยอมรับให้ผู้เรียนมีสิทธิเสรีภาพ ท่ีจะเป็น
ผเู้ ลือกเอง ครเู ปน็ เพียงผูก้ ระตุ้น หลกั สตู รกป็ ระกอบไปด้วยเนือ้ หาสาระทกุ สาขาวิชา เพื่อเปดิ โอกาสให้ผเู้ รยี นได้
36
เลือกตามความถนัดและความสนใจของตนเอง หลักสูตรท่ีจัดตามแนวปรัชญาน้ี ได้แก่ หลักสูตรเอกัตตภาพ
(Individualized Curriculum) (ทศิ นา แขมมณ.ี 2556: 27)
กระบวนการเรียนการสอนของครูจะให้เสรีภาพแก่นักเรียนมากท่ีสุดเท่าท่ีจะทาได้ โดยยึดหลักให้ผู้เรียน
ได้มีโอกาสรู้จักตนเอง มีครูกระตุ้นให้แต่ละบุคคลได้ใช้คาถาม นาไปสู่เป้าหมายที่ตนเองต้องการ ซึ่งเป็นการจัด
การศึกษาที่เน้นผู้เรียนมีความรับผิดชอบในหน้าท่ีของตน ตัวอย่างวิชาท่ีเด่นชัดสาหรับปรัชญาอัตถิภาวนิยม ได้แก่
วชิ าศิลปศึกษา เป็นตน้
ข้อสังเกตการพฒั นาหลักสตู รตามแนวปรัชญาการศกึ ษาอัตถภิ าวนิยม มดี งั น้ี
1. เน้นเอกตั บุคคลเปน็ สาคญั คานึงถึงความแตกตา่ งสว่ นบุคคลจงึ ทาใหแ้ นวคิดทจ่ี ะสง่ เสรมิ ใหผ้ ้เู รียน
มีความรูส้ กึ วา่ ตนเองประสบความสาเรจ็
2. มงุ่ ส่งเสรมิ ผู้เรียนใน 4 ประการคอื การพฒั นาตนเอง อิสรภาพ การเลอื ก และความรับผิดชอบ
ปรัชญาวิเคราะห์ (Philosophical Analysis)
ปรัชญาวิเคราะหเ์ ปน็ ปรัชญาแนวใหม่ แนวคิดและความเชื่อปรัชญาวิเคราะหเ์ มือ่ นามาใช้กับการศึกษา
จะนามาใช้ในลักษณะของการวิเคราะห์ความคิดรวบยอดทางการศึกษา ข้อความต่างๆทางการศึกษาเช่นความ
พยายามจะอธิบายว่าการสอนคืออะไร การสอนกับการเรียนต่างกันอย่างไร ซ่ึงการนาไปใช้ในการศึกษา สงัด
อทุ รานันท์ม (2532: 68) ได้อธิบายไวด้ งั ภาพที่ 2.1
กข
คง
จ
ภาพที่ 2.1 การวเิ คราะห์ความคิดรวบยอดทางการศึกษาตามแนวปรัชญาวเิ คราะห์
ที่มา: วทิ วัฒน์ ขตั ติยะมาน และอมลวรรณ วีระธรรมโม, (2554: 35)
ก หมายถงึ กฎเกณฑ์พ้ืนฐานคา่ นยิ มหรอื จุดหมายปลายทาง
ข หมายถึง ข้อเทจ็ จรงิ ตา่ งๆท่ีมาจากการสงั เกตหรอื ทฤษฎีและแนวคดิ ตา่ งๆ
ค หมายถงึ สงิ่ ที่การศึกษาจะต้องทา
ง หมายถงึ ขอ้ เทจ็ จริงต่างๆทีไ่ ดจ้ ากการสงั เกตและประสบการณ์
จ หมายถึง วิธีการเรยี นการสอนและการบรกิ าร
37
ตัวอย่างเช่น เรายอมรับกฎเกณฑ์ (ก) ตามความคิดของอริสโตเติลว่า ชีวิตที่ดีเป็นชีวิตที่มี
ความสุข และอริสโตเติลได้เสนอแนวคิดซึ่งเป็นข้อเท็จจริง (ข) ว่าถ้าจะให้คนมีชีวิตท่ีดีแล้วจาเป็นต้องให้
เขาได้มีความรู้ความช่วยเหลือใช้จากการศึกษาวิชาคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ และปรัชญา ดังน้ันเราก็จะได้ข้อ
สรุปว่า (ค) โรงเรียนครูให้การศึกษาแก่ผู้เรียนในวิชาคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ และปรัชญา ต่อจากน้ันใน
ข้ันตอนต่อไปเราก็พิจารณา (ง) ว่าในสภาพความเป็นจริงแล้ว การให้ความรู้เก่ียวกับคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์
และปรัชญา ควรจะดาเนินการอย่างไร ในที่สุดเราก็จะได้แนวทางในการจัดการเรียนการสอน (จ) ตาม
ตอ้ งการ
กล่าวโดยสรุป การที่เราจะพิจารณาว่าการศึกษาควรจัดข้ึนเพื่อสิ่งใดและจะมีวิธีจัดการศึกษาได้
อยา่ งไรน้นั จาเป็นจะต้องวิเคราะหก์ ฎเกณฑ์ และขอ้ เทจ็ จรงิ ต่าง ๆ อย่างเปน็ ระบบและข้นั ตอน
ปรัชญาวิเคราะห์เป็นการวิเคราะห์ถึงแนวความคดิ ทางปรชั ญาท่มี ีอยู่แล้ว เพือ่ หาเหตผุ ลสาหรับ
สนับสนุน แนวความคิดที่เพงิ่ เกิดใหม่ เนื่องจากปรัชญาสาขาน้ีเป็นแนวคิดใหม่ ดังน้ันความเข้าใจเกีย่ วกับ
แนวคิดน้ีจึงยงั ไม่แพร่หลายนกั
จากแนวปรชั ญาสากลและแนวปรัชญาการศึกษาท่ไี ด้นาเสนอในเบอ้ื งต้นสามารถสรปุ เป็นตาราง
แสดงการเปรยี บเทยี บดังต่อไปนี้
ตารางที่ 2.1 การเปรียบเทยี บปรชั ญาสากลและปรัชญาการศึกษา
สมยั ปรัชญาท่ัวไป ปรชั ญาการศึกษา
จิตนยิ ม (Idealism) สารนยิ ม หรอื สารตั ถนยิ ม (Essentialism)
สมยั เก่า สจั นยิ ม (Realism) สจั วิทยานิยม หรือนิรันตรนยิ ม
เทวนิยม (Neo-Thomism) (Perenialism)
สมยั ปฏบิ ตั กิ ารนยิ ม พพิ ัฒนาการนิยม
ปัจจุบัน (Pragmaticism or Experimentalism) หรือวิวัฒนาการนยิ ม (Progressivism)
ปฏิรูปนยิ ม (Reconstructionism)
แนวคดิ อตั ถภิ าวนยิ ม (Existentialism) อัตถิภาวนิยม หรอื สวภาพนยิ ม
ใหม่ ปรัชญาวเิ คราะห์ (Existentialism)
(Philosophical Analysis) ปรัชญาวิเคราะห์
(Philosophical Analysis)
38
2. พื้นฐานจากจติ วิทยา (Psychological Foundations)
จิตวิทยามีส่วนสาคัญต่อการสร้างหรือพัฒนาหลักสูตร โดยเฉพาะจิตวิทยาพัฒนาการและจิตวิทยา
การเรยี นรู้
พนื้ ฐานจากจิตวิทยาพฒั นาการ
พัฒนาการเป็นกระบวนการเปล่ียนแปลงท่ีเป็นระบบระเบียบ ท้ังในด้านรูปร่าง ขนาด และ
โครงสรา้ งตลอดจนคุณภาพ และประสิทธภิ าพในการทางานของรา่ งกาย การเปลีย่ นแปลงซ่ึงได้รบั อิทธิพล
จากวุฒภิ าวะการเรยี นรู้ และส่ิงแวดล้อมนี้ เกดิ ขึ้นร่วมกันระหว่างร่างกายและจิตใจ นอกจากหลักสูตรจะ
มีส่วนขององค์ความรู้ท่ีเก่ียวข้องกับพัฒนาการของมนุษย์ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนมีความเข้าใจตนเอง เข้าใจ
ธรรมชาติของมนุษย์แล้ว องค์ความรู้เหล่าน้ียังมปี ระโยชน์ในแง่ที่สามารถนาไปใชก้ ับผู้เรียนหรือศึกษาผู้เรียน
เพื่อปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับธรรมชาติ และความต้องการของผู้เรียน ซึ่ง แฮส
(Hass, 1977: 89) ไดใ้ ห้ความเหน็ ว่า การพัฒนาหลกั สูตรควรนาพ้ืนฐานทางพัฒนาการ 5 ด้านมาใช้คือ
1. พน้ื ฐานทางชวี วิทยาของความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล
2. วุฒิภาวะทางกาย
3. พัฒนาการและสมั ฤทธิผลทางสติปญั ญา
4. พฒั นาการทางด้านอารมณ์
5. พฒั นาการทางสงั คมและวฒั นธรรม
ในที่นจ้ี ะขอกลา่ วถงึ จติ วทิ ยาพัฒนาการของมนุษย์ จิตวิทยาการเรยี นรู้
พฒั นาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์เป็นการทางานประสานกันระหว่างองค์ประกอบที่สาคัญ 2 อย่าง คือ
วฒุ ิภาวะ และการเรียนรู้
1. วุฒิภาวะ (Maturity) หมายถงึ กระบวนของความเจริญเติบโตสูงสุดของอินทรียใ์ นร่างกาย
ท่ีทาให้เกิดความพร้อมที่จะทากิจกรรมอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ ในขณะนั้น โดยไม่ต้องอาศยั การฝกึ ฝนหรือเรียนรู้
ใด ๆ หรือเป็นไปโดยธรรมชาติ
วุฒิภาวะประกอบด้วย วุฒิภาวะทางด้านร่างกาย และวุฒิภาวะทางด้านจิตใจ ตามปกติ
กระบวนการพัฒนาของมนุษย์จะดาเนินควบคู่กันไปท้ังร่างกายและจิตใจ วุฒิภาวะทางร่างกายเจริญเต็มท่ี
เม่ือเข้าสู่วยั ผใู้ หญต่ อนต้น
39
2. การเรียนรู้ (Learning) การเรียนรู้เป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันเป็นผลมาจาก
ประสบการณก์ ารเรียนรู้อาจเกิดข้ึนด้วยการจงใจ หรืออาจเกิดข้ึนโดยไม่ตัง้ ใจก็ได้ เชน่ การคดิ คานวณเป็น
การเรียนรู้แบบจงใจ และการเล่นฟุตบอลทาให้เรียนรู้กระบวนการทางานร่วมกัน หรือทาให้เกิดเรียนรู้
เรอ่ื งความสามคั คี ซึ่งเปน็ การเรียนรแู้ บบไมไ่ ด้ตงั้ ใจ
เราสามารถแบ่งกระบวนการพัฒนาและการเจริญเติบโตของมนุษย์ตามลักษณะของการ
เปลี่ยนแปลงทีเ่ ด่นชัดออกเปน็ 6 ระยะดว้ ยกัน คอื
1. กระบวนการพฒั นาและการเจริญเตบิ โตภายในครรภ์
2. กระบวนการพัฒนาและการเจรญิ เติบโตของวัยทารก
3. กระบวนการพัฒนาและการเจริญเตบิ โตของวัยเดก็
4. กระบวนการพฒั นาและการเจรญิ เตบิ โตของวยั รุ่น
5. กระบวนการพฒั นาและการเจรญิ เติบโตของวัยผใู้ หญ่
6. กระบวนการพฒั นาและการเจริญเตบิ โตของวยั ชรา
ซึ่งในบทน้ีจะกล่าวเฉพาะระยะท่ีมีความสาคัญที่นักพัฒนาหลักสูตรต้องศึกษา เพ่ือเป็นข้อมูล
การพัฒนาหลักสูตร คือ กระบวนการพฒั นาและเจรญิ เติบโตของวัยเด็ก และวัยร่นุ เท่านนั้
กระบวนการพฒั นาและการเจริญเตบิ โตของวัยเด็ก
กระบวนการพัฒนาของเด็กเป็นกระบวนการพัฒนาท่ีเป็นไปอย่างรวดเร็ว และมีพัฒนาการท่ี
แตกต่างกนั มาก จึงได้แบ่งพฒั นาการในวยั เด็กออกเป็น 3 ระยะ คอื วยั เด็กตอนตน้ วัยเด็กตอนกลาง และ
วัยรนุ่
1. วัยเด็กตอนตน้ (2 – 5 ปี)
1.1 เด็กเรยี นรู้การสร้างมโนทศั น์อยา่ งงา่ ยเกี่ยวกบั สังคมและความเปน็ จรงิ ทางวตั ถุ
1.2 เดก็ เรยี นรู้เสถยี รภาพทางกาย
1.3 เดก็ เรยี นรู้ความแตกตา่ งระหว่างเพศและการสารวมทางเพศ
1.4 เดก็ เรียนรกู้ ารฝกึ ควบคมุ และการขับถา่ ยของเสีย
1.5 เด็กเรยี นรกู้ ารพูด
1.6 เดก็ เรียนรู้การรับประทานอาหาร
1.7 เด็กเรียนรู้การเดนิ
1.8 เดก็ เรยี นรู้การฝกึ ปรบั ตวั ทางอารมณ์ให้เข้ากบั บิดา มารดา พ่ีน้อง และบคุ คลอ่นื
1.9 เดก็ เรียนรู้การจาแนกส่งิ ทีถ่ ูกและส่งิ ท่ผี ดิ
40
2. วัยเด็กตอนกลาง (6 – 12 ป)ี
2.1 การฝกึ ทักษะทางกายทจี่ าเปน็ ตอ่ การเล่นเกมง่าย ๆ
2.2 การสร้างเจตคตทิ ด่ี ตี ่อตนเองในฐานะอินทรยี ์ที่กาลงั พฒั นา
2.3 เรยี นรู้การเข้ากบั คนอืน่ ในระดับอายุเดยี วกนั ได้
2.4 เรียนรู้บทบาททางสังคมทีเ่ หมาะสมของเพศชายและเพศหญงิ
2.5 พฒั นาทกั ษะพื้นฐานการอ่าน การเขยี น และการคานวณ
2.6 พฒั นามโนทศั น์ท่จี าเป็นสาหรบั การดารงชวี ิตประจาวนั
2.7 พฒั นาหริ ิโอตปั ปะ ศลี ธรรมและคา่ นยิ มต่าง ๆ
2.8 สร้างความสามารถในการพง่ึ พาตนเอง
2.9 พฒั นาเจตคติทมี่ ีต่อสถาบนั และกลุม่ ทางสงั คม
3. วัยร่นุ (12 – 18 ป)ี
3.1 การสร้างความสัมพันธ์กับคนที่มีระดับอายุเดียวกันทั้งสองเพศ เป็นความสัมพันธ์ในรูป
ใหม่ท่มี ีวฒุ ิภาวะสงู ขนึ้
3.2 การสร้างความสามารถในการดาเนนิ บทบาททางสงั คมของเพศชายหรือหญงิ
3.3 การยอมรบั ในรา่ งกายและการใชร้ า่ งกายอย่างมีประสิทธิภาพ
3.4 การสร้างอารมณ์ทเี่ ป็นอสิ ระของตนเอง
3.5 การสรา้ งหลกั ประกนั ในการพงึ่ ตนเองทางเศรษฐกจิ
3.6 การเลือกอาชพี และการเตรียมตัวเพือ่ ประกอบอาชีพ
3.7 การเตรยี มตัวเพ่อื แต่งงานและสาหรบั ชีวติ ครอบครัว
3.8 การพฒั นาทักษะทางสติปญั ญาและมโนทัศน์ที่จาเป็นสาหรบั ประชากรทม่ี ีความสามารถ
3.9 ความปรารถนาและสมั ฤทธผิ ลของพฤตกิ รรมที่รับผิดชอบต่อสังคม
3.10 การมีค่านยิ มและจรยิ ธรรมต่าง ๆ ทใี่ ชเ้ ป็นหลกั ในการประพฤตปิ ฏิบตั ิ
ความสาคัญของจติ วิทยาพฒั นาการต่อการพัฒนาหลักสูตร
จากพัฒนาการทางด้านร่างกาย จิตใจ และสติปัญญาท่ีกล่าวมาแล้ว สามารถนามาพิจารณาใน
การจดั ทาหลกั สตู ร ดังน้ี
1. การออกแบบ จัดทา และพัฒนาหลักสูตรควรกาหนดวิชาต่าง ๆ ไว้อย่างมีระเบียบและ
สอดคล้องกับพัฒนาการของผู้เรียนด้านวุฒิภาวะและความพร้อม รวมท้ังความยากง่ายของเนื้อหาวิชา
และนามาจัดลาดบั รายวิชาที่เรยี นกอ่ นหลังอยา่ งเหมาะสม
2. การออกแบบ จัดทาและพฒั นาหลักสูตรตอ้ งคานึงถึงความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล
41
3. การออกแบบ จัดทาและพฒั นาหลักสูตร ควรคานึงถึงผลประโยชนท์ ่จี ะเกดิ แก่ผูเ้ รยี น
4. การออกแบบ จัดทาและพฒั นาหลกั สตู ร ควรคานึงถึงอตั ราความเรว็ ของการเจริญเติบโตและ
พฒั นาการในวัยต่าง ๆ ของผ้เู รยี น
5. การออกแบบ จัดทาและพัฒนาหลักสูตร ควรคานึงถึงความจริงที่ว่าในแต่ละวัยพัฒนาการ
ยอ่ มแสดงออกเด่นชัดแตกต่างกันไป
6. การออกแบบ จดั ทาและพัฒนาหลกั สูตร ควรคานึงถงึ ความแตกตา่ งทางเพศ
7. การออกแบบ จดั ทาและพัฒนาหลักสตู ร ควรคานึงถึงการปรงุ แตง่ บคุ ลกิ ภาพ
8. การออกแบบ จัดทาและพัฒนาหลักสูตร ควรมุ่งส่งเสริมพัฒนาการปัจจุบันให้เป็นรากฐาน
ของการพัฒนาในอนาคต
9. การออกแบบ จดั ทาและพัฒนาหลกั สูตร ควรเริม่ ต้นจากสิ่งท่ัวไปกอ่ นเข้าสู่สง่ิ ท่เี ฉพาะเจาะจง
พื้นฐานจากจติ วิทยาการเรียนรู้
การพัฒนาหลักสูตรน้ัน นักพัฒนาหลักสูตรต้องมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการเรียนรู้ของ
มนุษย์ว่า มนุษย์เรียนรู้ได้อย่างไรในสถานการณ์ใด หรือมีอะไรเป็นอุปสรรคในการเรียนรู้บ้าง ธรรมชาติ
ของกระบวนการเรียนรู้มอี ิทธพิ ลตอ่ หลักสตู รในหลายลกั ษณะและในการพฒั นาหลักสตู ร จาเปน็ ต้องอาศัย
ทฤษฎีการเรียนรู้เป็นอย่างมาก จึงเป็นหน้าที่ของนักพัฒนาหลักสูตรที่ต้องศึกษาทฤษฎีการเรียนรู้ต่าง ๆ
ให้ถ่องแท้ ทั้งนี้โดยพิจารณาว่าในการเรียนเด็กเรียนส่ิงต่าง ๆ ได้อย่างไร มีองค์ประกอบอะไรบ้างที่ บ่ัน
ทอนหรอื ส่งเสรมิ ประสทิ ธิภาพในการเรยี นของเดก็ เพอ่ื ที่จะไดพ้ ิจารณาทฤษฎที ี่เหมาะสมทีส่ ุดมาใชใ้ นการ
พฒั นาหลักสูตรใหม้ ปี ระสิทธิภาพ
ความหมายของการเรียนรู้
การเรียนรู้เกิดข้ึนได้ทุกหนทุกแห่งในชีวิตประจาวัน ไม่จากัดว่าจะเกิดจากการลองผิดลองถูก
การวางเงือ่ นไข หรือการเรียนแบบก็ตาม ถือได้ว่าทาให้เกิดการเรยี นรูไ้ ดท้ ้ังสิ้น การเรียนรคู้ ือ การที่บคุ คล
สามารถเปล่ียนแปลงนั้น สามารถเกิดข้ึนได้ทั้งพฤติกรรมภายนอกและพฤติกรรมภายใน และ การ
เปลยี่ นแปลงไดท้ ง้ั ด้านความรู้ อารมณ์ และทักษะ
ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ (Theories of Learning)
จิตวิทยาหลายคนทาการศึกษาเก่ียวกับการเรียนรู้ของมนุษย์และสัตว์ ทาให้เกิดทฤษฎีการ
เรียนรู้หลายทฤษฎี บคุ คลเหล่านั้น ได้แก่ ธอร์นไดค์ พาฟลอฟ กัทรี สกินเนอร์ เพียเจต์ ฯลฯ นักจิตวิทยา
เหล่านี้ได้ศึกษาเกี่ยวกับการเรียนรู้ท่ีแตกต่างกันออกไป จึงสามารถจัดกลุ่มของผู้ที่ศึกษาเก่ียวกับการ
เรียนรู้ได้เป็น 2 กลุ่ม คือ 1) จิตวิทยาการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism Theories) และ 2)
จิตวิทยาการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม (Cognitive Theories)
42
จิตวทิ ยาการเรยี นรกู้ ล่มุ พฤตกิ รรมนยิ ม
จิตวิทยาการเรยี นรู้ในกลุ่มนรี้ ูจ้ ักกนั ทว่ั ไปในทฤษฎี S - R ซงึ่ มแี นวคิดว่าการเรียนรู้เกดิ ข้ึนจาก
พฤติกรรมที่เปน็ การตอบสนองสิ่งเร้า นักจิตวิทยาพฤติกรรมนิยมที่มีชือ่ เสียงในกลุ่มนี้ ได้แก่ เอ็ดวาร์ด ลี
ธอร์นไดค์ อิวาน พาฟลอฟ และบี เอฟ สกินเนอร์ ฯลฯ ซ่ึงมีความเชื่อว่า ศาสตร์แห่งจิตวิทยาจะต้องยึด
การศึกษาเฉพาะ สิ่งท่ีสังเกตได้จากภายนอก เช่น การเคล่ือนไหวของกล้ามเนื้อ สิ่งเร้าทางกายภาพ และ
โดยส่วนใหญ่นักจิตวิทยากลุ่มพฤติกรรมนิยมจะทาการศึกษาทดลองกับสัตว์และเด็กทารก เพราะถือว่า
เปน็ นกั ชีววิทยาผู้ซ่ึงมีความสนใจเกย่ี วกบั กิจกรรมของอินทรีย์ภายใต้สภาพการณต์ ่าง ๆ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์หรือทฤษฎีการเช่ือมโยงของธอร์นไดค์ ( Thorndike's
Connected Theory)
เอ็ดวาร์ด ลี ธอร์นไดค์ (Edward L. Thorndike) ธอร์นไดค์ถือว่าการเรียนรู้การแก้ปัญหา
การศึกษาถึงการเรียนรู้นั้นผู้เรียนตอ้ งมีปัญหาก่อน ธอร์นไดค์ได้พูดถึงทฤษฎีการเรียนรู้ว่า การเรียนรู้เป็น
การเกิดความสัมพันธ์เช่ือมโยง (Connection) ระหว่างส่ิงเร้า (Stimulus) กับปฏิกิริยาตอบสนอง
(Response) ทฤษฎขี องธอรน์ ไดค์ คอื การลองผิดลองถูก (Trial and Error) เขาสรุปว่า การกระทาผิดลอง
ถกู สามารถนาไปสู่การเช่ือมโยงระหว่างสิ่งเร้ากบั การตอบสนอง เช่น การทดลองแก้ปญั หา จะใช้หลาย ๆ
วิธแี ต่ละวธิ กี ต็ อบสนองตา่ ง ๆ กนั และก็จะมีวิธีที่ตอบสนองท่ดี ีและนา่ พอใจทสี่ ดุ
ธอร์นไดค์ไดส้ รปุ เปน็ กฎเกีย่ วกับการเรยี นรู้ 3 ขอ้ (Hergenhahn and Olson. 1993: 56 – 57
; อา้ งองิ จาก ทศิ นา แขมมณี. 2550: 51 – 52) สามารถนาไปใช้ในการเรยี นการสอนได้ คือ
1. กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness) กฎน้ีกล่าวถึงสภาพการเรียนรู้จะเกิดข้ึนได้ต้องมี
ความพร้อมทุกด้าน ทุกองค์ประกอบ ไม่ว่าจะเป็นด้านครูผู้สอน คือ มีความพร้อมด้านการเตรียมเนื้อหา
สาระ ท่ีจะถา่ ยทอด เตรียมส่ือการสอนทมี่ ีประสิทธิภาพ ด้านผู้เรียนกต็ ้องมีความพรอ้ มในเรื่องความสนใจ
ทีจ่ ะรบั รู้เน้ือหาในแต่ละหน่วยการสอน มีความพรอ้ มด้านสติปญั ญาอารมณส์ งั คม และภาวะทางรา่ งกาย
2. กฎแห่งผล (Law of Effect) การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ดี หากผู้เรียนรู้ผลการกระทา ผลจาก
การกระทาจะเป็นเหตุทา้ ทายความสามารถกระทาอีก หรือเม่ือแสดงพฤติกรรมการเรียนรู้แล้วถ้าได้รับผล
ที่พงึ พอใจผ้เู รียนยอ่ มอยากจะเรยี นรู้ต่อไปอีก
3. กฎแหง่ การฝึกหัด (Law of Exercise) ส่ิงใดก็ตามหากได้มีการกระทาบ่อย ๆ กจ็ ะเกิดความ
ชานาญเกิดทักษะ หรอื เรยี กว่า กฎแห่งการใช้ (Law of Uses) เม่ือนาสิ่งท่ีเรยี นรู้ไปใช้บอ่ ย ๆ จะทาให้การ
เรียนรู้นน้ั คงทนถาวร และส่ิงใดกต็ ามหากท้ิงไว้นาน ๆ ย่อมทาได้ไม่ดีเหมือนเดมิ หรอื ในที่สุดก็เกดิ การลืม
จนไมไ่ ด้เรยี นร้อู ีกเลยหรือเรียกวา่ กฎแห่งการไมใ่ ช้ (Law of Disuses)
43
ทฤษฎีการเรียนรขู้ องพาฟลอฟ(Classical Conditioning Theory)
พาฟลอฟ (Pavlov. Ivan. 1849-1936) นักสรรี วิทยาชาวรัสเซีย ได้ศกึ ษาการเรยี นรู้โดยกาหนด
เงื่อนไข (Conditioning) คือการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองที่ต้องวางเงื่อนไข พา
ฟลอฟ เรียกว่า ทฤษฎีเงื่อนไขแบบคลาสสิค (Classical Conditioning) พาฟลอฟ สรุปเป็นหลักทฤษฎี 4
ประการ คอื
1. กฎการลดพฤตกิ รรม หมายถึง การตอบสนองจะลดน้อยลงเร่อื ย ๆ ถ้าให้ร่างกายไดร้ บั ส่ิงเร้า
ท่วี างเงื่อนไขอย่างเดียวหรือความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าที่วางเง่ือนไขกับสิ่งเร้าที่ไม่วางเงื่อนไขหา่ งกันออก
ไปมากขึ้น การลบพฤติกรรมมิใช่การลืม แต่เป็นเพียงการลดลงเร่ือย ๆ เช่น การให้แต่เสียงกระด่ิง โดย
ไม่ให้ผงเนอ้ื ตามมาจะทาให้ปฏกิ ิรยิ าน้าลายไหลลดลงเรอื่ ย ๆ
2. กฎแห่งการคืนกลับ หมายถึง การตอบสนองท่ีเกิดจากการวางเงื่อนไขท่ีลดลงเพราะได้รับ
แต่สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขเพียงอย่างเดียว จะกลับปรากฏขึ้นอีกและเพิ่มมากข้ึน ๆ ถ้าร่างกายมีการเรียนรู้
อย่างแท้จริงโดย ไม่ต้องมีสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขมาเข้าช่วย เช่น การที่สุนัขน้าลายไหลอีกเม่ือได้ยินเสี ยง
กระดิ่งอย่างเดียวโดยไมต่ ้องมผี งเนอื้ เขา้ มาคู่กบั เสียงกระดิ่ง
3. กฎความคล้ายคลึงกัน หมายถึง ถ้าร่างกายมีการเรียนรู้โดยแสดงอาการตอบสนองจากการ
วางเงื่อนไขต่อสง่ิ เร้าที่วางเง่ือนไขหนึ่งแลว้ ถ้ามีส่ิงเร้าอ่นื ที่มีคณุ สมบัติคล้ายคลึงกันกบั สิ่งเร้าที่วางเงอ่ื นไข
เดิม ร่างกายจะตอบสนองต่อสิ่งเร้าท่ีวางเง่ือนไขน้ัน เช่น ถ้าสุนัขมีอาการน้าลายไหลจากการสั่นกระดิ่ง
แลว้ เมื่อไดย้ ินเสยี งระฆังหรือเสยี งท่ีใกล้เคยี งกันกจ็ ะมีอาการนา้ ลายไหล
4. กฎการจาแนก หมายถึง ถ้าร่างกายมีการเรียนรู้ด้วยการแสดงอาการตอบสนองจากการวาง
เงือ่ นไขตอ่ สิ่งเร้าทว่ี างเงอื่ นไขเดิม รา่ งกายจะตอบสนองแตกตา่ งไปจากสงิ่ เร้าทวี่ างเง่อื นไขน้ัน เช่น ถา้ สุนัข
มีอาการน้าลายไหลจากการส่ันกระด่ิงแล้วเมื่อได้ยินเสียงการเคาะไม้จะรู้สึกถึงความแตกต่างและจะไม่มี
อาการนา้ ลายไหล
ในการพัฒนาหลักสูตรสามารถประยุกต์หลักการวางเงื่อนไขไปใช้ในการเรียนการสอน สุนีย์ ภู่
พนั ธ์ (2546: 106 - 107) ไดก้ ลา่ วไว้ ดงั น้ี
1. ในแง่ของความแตกต่างระหว่างบุคคล การสอนจะต้องคานึงถึงสภาพทางร่างกายและ
อารมณ์ของผเู้ รยี นแต่ละคนวา่ ใครเหมาะท่จี ะสอนเนือ้ หาอะไร หรอื ให้เกิดการตอบสนองอย่างไร
2. การวางเง่ือนไข การวางเง่ือนไขเป็นเร่ืองที่เกี่ยวกับพฤติกรรมทางอารมณ์ ซึ่งผู้สอนสามารถ
ทาให้ผเู้ รยี นรู้สกึ ชอบ หรอื ไมช่ อบเน้อื หาท่เี รยี นหรอื สิ่งแวดล้อมในการเรยี นหรอื แมแ้ ต่ตวั ครูได้
44
3. การลบพฤติกรรมท่ีวางเง่ือนไข นอกจากครูเป็นผู้วางเงื่อนไขให้เด็กสนใจในการเรียนแล้ว ครูยัง
นาความรู้เกี่ยวกับการลดพฤติกรรมไปลดพฤติกรรมท่ีไม่ต้องการให้เกิดขึ้นในตัวเด็กไปใช้ในการจัดการเรียน
การสอนได้
4. การสรุปความเหมือนและความแตกต่าง ในการจัดการเรียนการสอนครูควรส่งเสริมให้
นักเรยี นมีโอกาสพบส่งิ เร้าใหม่ ๆ เพ่ือจะได้ใช้ความรู้และกฎเกณฑต์ ่าง ๆ ใหก้ ว้างขวางขึ้น โดยส่งเสริมให้
นกั เรียนสรุปความเหมอื นในทางบวก
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฎีการวางเงื่อนไขด้วยการกระทา ( Operant
Conditioning Theory)
สกินเนอร์ (B.F.Skinner) เชื่อว่า หลักการเรียนรู้เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมกับ
ส่ิงแวดล้อมเป็นสิ่งท่ีก่อให้เกิดพฤติกรรม และผลของการกระทาของพฤติกรรมน้ันมีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
นน้ั ทฤษฎีน้เี นน้ การกระทามากกว่าสิ่งเร้าท่ีผ้สู อนกาหนดข้ึน จึงสรุปเป็นกฎการเรียนรวู้ า่ กฎการเสริมแรง
ซงึ่ แบง่ ออกเป็น 2 วิธี คือ
1. การเสริมแรงทันที หรือการเสริมแรงแบบต่อเนื่อง ( Immediately or Continuous
Reinforcement) หมายถึง การเสริมแรงทุกครั้งเม่ือผู้เรียนแสดงพฤติกรรมการเรียนรู้เป็นการเสริมแรง
โดยใชค้ วามสม่าเสมอ
2. การเสริมแรงเป็นครั้งคราว (Partially Reinforcement) หมายถึง การเสริมแรงท่ีไม่
สม่าเสมอ คือ มีการเสริมแรงบ้างในบางคร้ัง หรือบางคร้ังก็งดการเสริมแรงบ้างสลับกันไป การเสริมแรง
แบบเป็นคร้ังเปน็ คราว แบง่ ออกเปน็ 4 ลกั ษณะ คือ
2.1 การเสริมแรงโดยใชก้ าหนดเวลาแบบแน่นอน เช่น ทุก 2 นาที ทุก 5 นาที เป็นต้น
2.2 การเสริมแรงโดยใช้พฤติกรรมกาหนดแบบแน่นอน เช่น แสดงพฤติกรรมตามที่กาหนด
ไว้ 5 ครั้งจะไดร้ ับการเสรมิ แรง 1 ครั้ง
2.3 การเสริมแรงโดยการใช้ช่วงเวลาเป็นเกณฑ์ เช่น ถ้าแสดงพฤติกรรมได้ ภายใน 5 นาที
จะไดร้ ับการเสริมแรง 1 ครงั้
2.4 การเสริมแรงโดยใช้ช่วงของพฤติกรรมเป็นเกณฑ์ เช่น แสดงพฤติกรรมในช่วง 3 ถึง 5
ครง้ั จะไดร้ ับแรงเสรมิ 1 ครงั้
สรุปได้ว่า ระยะแรกของการฝึกนั้นต้องให้รางวัลตอบสนองทุกครั้งการเรียนรู้จะเร็วขึ้น และ
ดาเนินไปอย่างไดผ้ ลเป็นท่ีน่าพอใจแต่เมอ่ื เกิดการเรียนร้แู ล้ว ควรจะเป็นการเสรมิ แรงแบบแนน่ อนเสีย หัน
มาใช้การเสริมแรงแบบเป็นระยะ ท้ังน้ีเพ่ือเป็นการช่วยผู้เรียนให้สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพความเป็น
จริงของเหตุการณ์มีชีวติ เพ่อื การตอบสนองของบคุ คลไม่จาเป็นต้องได้รบั การเสรมิ แรงทุกครงั้