145
2.5) ประเมินโปรแกรมการประเมินผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน คือ ความสอดคล้องของวิธีการ
ประเมินผลการเรียนกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตร ความเหมาะสมของระยะเวลาการประเมินความถูกต้อง
ตามหลักวิชาการประเมนิ ผลการเรยี น
3. การประเมินผลผลิต ติดตามผลผู้สาเร็จการศึกษาในด้านความรู้ความสามารถและทักษะใน
การปฏิบัติงาน เจตคติต่อวิชาชีพ ความสามารถในการแก้ปัญหาและการปรับตัวกับสภาพงานและ
สภาพแวดล้อมทั่วไป ความสาเร็จในการประกอบอาชีพ ความกระตือรือร้นในการแสวงหาความก้าวหน้า
ในการประกอบอาชพี และในชีวติ ส่วนตวั
5. กระบวนการประเมนิ หลักสตู ร
ในการประเมินหลักสูตร มีการดาเนินการตามขัน้ ตอนดงั นี้
1. การวางแผนการประเมินหลักสูตร เป็นการวางแผนว่าจะประเมินหลักสูตรท้ังระบบ หรือ
ประเมินหลักสูตรเฉพาะระบบย่อยอันใดอันหนึ่งเช่นประเมินเฉพาะการจัดการเรยี นการสอน เป็นต้น แล้ว
กาหนดแผนการเก็บข้อมูล กลุ่มตัวอย่างท่ีจะเป็นผู้ให้ข้อมูล ระยะเวลาการเก็บข้อมูลและเกณฑ์การ
วิเคราะห์ข้อมูล
2. การรวบรวมข้อมูล ได้แก่การเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง การจัดข้อมูลเป็นหมวดหมู่และการ
เตรยี มการวเิ คราะหข์ อ้ มูล
3. การวิเคราะห์ข้อมูล คือการนาข้อมูลท่ีรวบรวมได้มาวิเคราะห์ตามเกณฑ์และวิธีการวิเคราะห์
ขอ้ มูลทว่ี างแผนไว้
4. การรายงานผลการวิเคราะห์ข้อมูล เป็นการรายงานผลตามข้อมูลจริงที่พบพร้อมทั้งปัญหา
อุปสรรค และขอ้ ควรปรับปรงุ แกไ้ ข
6. ปญั หาในการประเมนิ หลักสูตร
การประเมินหลักสูตรเป็นงานที่มีขอบเขตกว้างขวาง มีขั้นตอนในการปฏิบัติงานหลายข้ันตอน
และต้องเกี่ยวข้องกับบุคคลหลายฝ่าย ดังน้ัน ในการประเมินหลักสูตรจึงมักพบกับปัญหาในแต่ละขั้นตอน
หรือแตล่ ะกระบวนการทแี่ ตกตา่ งกนั ไป ปัญหาทีม่ กั พบโดยทั่วไปในการประเมนิ หลกั สูตรมดี ังนี้
1. ปัญหาด้านการวางแผนการประเมินหลักสูตร การประเมินหลักสูตรมักไม่มีการวางแผน
ล่วงหนา้ ทาใหข้ าดความละเอียดรอบคอบในการประเมินผล และไม่ครอบคลมุ ส่งิ ทต่ี ้องการประเมิน
2. ปัญหาด้านเวลา การกาหนดเวลาไมเ่ หมาะสม การประเมินหลักสูตรไมเ่ สรจ็ ตามเวลาท่ีกาหนด
ทาใหไ้ ดข้ อ้ มลู เนิ่นชา้ ไม่ทนั ตอ่ การนามาปรบั ปรงุ หลกั สูตร
146
3. ปัญหาด้านความเช่ียวชาญของคณะกรรมการประเมิน หรือไม่มีความเช่ียวชาญในการ
ประเมินผล ทาให้ผลการประเมินที่ได้ไม่น่าเช่ือถือ ขาดความละเอียดรอบคอบ ซึ่งมีผลทาให้การแก้ไข
ปรบั ปรุงปัญหาของหลักสูตรไม่ตรงประเด็น
4. ปัญหาด้านความเท่ียงตรงของข้อมูล ข้อมูลท่ีไม่ใช่ในการประเมินไม่เที่ยงตรง เนื่องจากผู้
ประเมินมีความกลัวเก่ียวกับผลการประเมิน จึงทาให้ไม่ได้เสนอข้อมูลตามสภาพความเป็นจริง หรือผู้ถูก
ประเมินกลัววา่ ผลการประเมินออกมาไม่ดี จึงให้ขอ้ มลู ทไี่ ม่ตรงกบั สภาพความเป็นจรงิ
5. ปัญหาด้านวิธกี ารประเมิน การประเมินหลักสตู รส่วนมากมาจากประเมินในเชิงปริมาณ ทาให้
ไดข้ ้อคน้ พบทผ่ี วิ เผินไม่ลกึ ซงึ้ จงึ ควรมกี ารประเมนิ ผลทใ่ี ชว้ ธิ ีการประเมนิ เชิงปริมาณและเชงิ คุณภาพควบคู่
กัน เพ่อื ให้ไดผ้ ลสมบรู ณแ์ ละมองเห็นภาพทช่ี ดั เจนยงิ่ ข้ึน
6. ปัญหาด้านการประเมินหลักสูตรท้งั ระบบ การประเมนิ หลักสูตรทั้งระบบมีการดาเนนิ งานน้อย
มาก ส่วนมากมักจะประเมินเฉพาะด้าน เช่น ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในด้านวิชาการ (Academic
Achievement) เป็นหลัก ทาใหไ้ ม่ทราบสาเหตุทีแ่ น่ชดั
7. ปัญหาด้านการประเมินหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง คณะกรรมการประเมินหลักสูตรหรือผู้ท่ี
เกยี่ วข้องมักไม่ประเมนิ หลกั สตู รอย่างต่อเน่ือง
8. ปัญหาดา้ นเกณฑ์การประเมนิ เกณฑ์การประเมนิ หลักสูตรไม่ชัดเจน ทาให้ผลการประเมินเป็น
ท่ยี อมรับ และไมไ่ ดน้ าผลไปใช้ในการปรบั ปรุงหลักสตู รจริงจัง
7. รูปแบบการประเมนิ หลักสตู ร
รูปแบบการประเมินหลักสูตรน้ันได้มีนักวิชาการด้านหลักสูตรได้คิดไว้หลายรูปแบบดังตัวอย่าง
ต่อไปนี้ ซ่ึงผู้ประเมินหลักสูตรจะเลือกใช้ให้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของการประเมินหลักสูตรในแต่ละ
คร้ังได้
แบบที่ 1: รูปแบบการประเมินความสอดคล้อง-ผลท่ีเกิดข้ึนของสเต้ก (The Stake
Congruence-Contingency Model)
รปู แบบน้ีคิดขึ้นโดย โรเบิร์ต อี สเตก้ (Robert E. Stake) ให้ตีตารางแบ่งออกเป็น 12 ช่องโดยแต่
ละช่องจะสามารถกรอกข้อมูลเข้าไปได้ ข้อมูลในแต่ละช่องจะแสดงให้เห็นถึงความสอดคล้องของสิ่งท่ี
ต้องการประเมินผลและในขณะเดียวกัน จะช้ีให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของ ตัวแปรต่างๆ ท่ีมีอิทธิพลต่อการ
บริหารงานหลักสูตร ดังน้ันรปู แบบน้ีจึงช่วยประเมินในด้านความสอดคล้อง และความสัมพนั ธ์ของตัวแปร
ในหลักสูตรได้มากเป็นพิเศษ ตัวอย่างตารางการประเมินหลักสตู รของสเตก้ ดังนี้
147
ตารางที่ 6.1 การประเมนิ หลักสตู รของสเตก้ (ท่ีมา: Armstorng. 2003: 280)
ข้อมลู ทีใ่ ชใ้ นการประเมินหลักสตู ร
เกณฑ์ในการวิเคราะห์ ผลที่ ผลที่ มาตรฐานที่ ท่มี าของหลกั การ
หลักสูตร คาดหวงั เกดิ ขน้ึ ใช้ ตดั สิน
1) สง่ิ ทมี่ มี าก่อน
- บุ คลิก และ นิสัย ขอ ง
นกั เรียน
- บุคลกิ และนิสยั ของครู
- เ น้ื อ ห า ส า ร ะ ข อ ง
หลกั สูตร
- วสั ดุอุปกรณ์การสอน
- บริเวณโรงเรียน
- ระบบการจดั โรงเรียน
- ชุมชน
2) กระบวนการในการสอน
- การสอื่ สาร
- เวลาท่จี ดั ให้
- ลาดบั ของเหตุการณ์
- การให้กาลงั ใจ
- บรรยากาศ
3) ผลทเี่ กิดขนึ้
- สัมฤทธิ์ผลของนกั เรยี น
- ทศั นคตขิ องนักเรียน
- ทักษะตา่ งๆ ของนักเรยี น
- ผลที่มีต่อครู
- ผลที่มีต่อสถานศึกษา
148
จากรปู แบบการประเมนิ หลกั สตู รของสเตก้ จะเห็นไดว้ า่ ข้นั ตอนในการประเมินหลกั สูตร คือ
1. การตง้ั เกณฑใ์ นการวเิ คราะหห์ ลักสูตร
สเต้ก ได้เสนอหัวขอ้ ของเกณฑ์ทีจ่ ะใช้ในการประเมินหลักสูตรไว้ 3 หัวข้อ คือ เรื่องเก่ยี วกบั ส่ิงที่
มีมากอ่ น กระบวนการในการสอน และผลทีเ่ กิดขนึ้ เกณฑ์ของ เสต้ก น้ีนับว่าแตกตา่ งกับของผู้อ่นื ตรงท่ีว่า
เสต้ก ไมไ่ ด้พิจารณาแต่ผลทเ่ี กิดขน้ึ แตเ่ พียงอย่างเดยี ว เพราะการประเมินผลทไี่ ดร้ ับเท่านัน้ ไมเ่ พียงพอทจ่ี ะ
ประเมินวา่ หลักสตู รท่ีจัดนนั้ ดีหรือไม่เพียงใด เพราะผลท่ีไดน้ ้ันข้ึนอยกู่ ับองค์ประกอบอีกหลายอย่าง เป็น
ตน้ วา่ หากผู้เรยี นไม่สามารถบรรลุตามจดุ มุ่งหมายท่ีวางไวก้ ็มไิ ด้หมายความว่า หลกั สตู รน้ันเป็นหลกั สูตรที่
ไม่ดี การที่ผู้เรียนไม่สามารถเรียนได้ตามท่ีต้องการอาจจะมาจากองค์ประกอบทางด้านเวลา เช่น ให้เวลา
แก่ผ้เู รียนนอ้ ยไป เวลา ทจ่ี ดั ใหไ้ มเ่ หมาะสม เป็นต้น
ดังนั้น การท่ีจะดูผลท่ีได้รับ และนามาประเมินค่าหลักสูตรน้ันเป็นการไม่เพียงพออาจจะไม่
สามารถช่วยชี้ช่องทางของการปรับปรุงหลักสูตรนั้นแต่อย่างใด ด้วยเหตุนี้ สเต้ก จึงได้เสนอว่า ควรมีการ
พจิ ารณาขอ้ มูลเพอ่ื ประเมินหลกั สูตรถงึ 3 ด้านดว้ ยกันคือ
ก) ด้านสง่ิ ท่ีมีมาก่อน ด้านน้ีหมายถึง สง่ิ ใดๆ ก็ตามท่ีเกี่ยวข้องกับผลที่ได้รับจากหลักสูตรท่ีมีอยู่
กอ่ นที่จะมีการเรียนการสอนเกิดข้ึน ในท่ีนี้ สเต้ก ได้จาแนกหัวข้อสาคัญๆ ออกเป็น 7 หัวข้อ ดังในตาราง
ชอ่ ง 1) ข้างต้น
ข) ด้านกระบวนการในการสอน ด้านนี้หมายถึงปฏิสัมพันธ์ต่างๆ ที่เกิดข้ึนระหว่างครูกับผู้เรียน
ผู้เรียนกับผู้เรียน ครูกับผู้ปกครอง ฯลฯ ซ่ึงนับว่าเป็นกระบวนการท่ีมีอิทธิพลต่อการศึกษาตามหลักสูตร
น้ันๆ ในด้านนี้ สเตก้ ได้จาแนกหัวข้อยอ่ ยออกเปน็ 5 หวั ขอ้ ดงั ในตารางช่องที่ 2) ข้างต้น
ค) ด้านผลท่ีเกิดข้ึน ด้านนี้หมายถึงผลที่เกิดขึ้นจากการใช้หลักสูตรนั้น มี 5 หัวข้อดังในตาราง
ชอ่ งท่ี 3) ขา้ งตน้
2. การหาข้อมลู มาประกอบ
หลังจากท่ีได้ต้ังเกณฑ์ข้ึนมาเพ่ือนาเป็นแนวทางในการประเมินหลักสูตรแล้ว ผู้ประเมินผลกลัก
สูตรจะต้องทาการเก็บรวบรวมข้อมูลที่มีอยู่ มาประกอบการพิจารณา ข้อมูลที่นามาพิจารณาตามแบบ
ตวั อยา่ งของ สเต้ก น้มี อี ยู่ดว้ ยกนั 4 หมวด คอื
ก) ผลทตี่ ้องการหรอื ผลทค่ี าดหวัง ซ่ึงไดแ้ ก่ จุดมุ่งหมายและจุดประสงคต์ า่ งๆ
ข) ผลท่ีเกิดข้ึน ซึ่งได้มาจากแหล่งต่างๆ เช่น จากการสังเกต การทดลอง การสัมภาษณ์จาก
แบบสอบถาม จากรายงานและการติดตามผลวิธตี ่างๆ
149
ค) มาตรฐานที่ใช้ซ่ึงได้แก่เกณฑ์ต่างๆ ผู้เชี่ยวชาญ เช่น ครู นักบริหารเช่ือว่าควรจะใช้ผู้เรียน
ผปู้ กครอง ฯลฯ เห็นวา่ ควรจะใช้
ง) ทม่ี าของหลกั การตัดสินใจ เช่น ค่านยิ มตา่ งๆ ขนบธรรมเนยี มประเพณี ความเช่ือตา่ งๆ เปน็ ต้น
3. วธิ ีใช้ตารางในการประเมินหลกั สตู ร
เร่ิมต้นด้วยการพิจารณาข้อมูลท้ัง 4 หมวด ตามเกณฑ์ที่ต้ังขึ้น เช่น จากตารางแบบตัวอย่าง
ของ สเต้ก ถ้าพิจารณาในแนวนอน จะเริ่มที่ด้านสิ่งที่มีมาก่อน ข้อบุคลิกและนิสัยของผู้เรียน เราก็จะ
พิจารณาว่า ผลที่คาดหวังหรือวัตถุประสงค์ ในด้านนี้คืออะไร และนามาเปรียบเทียบกับผลที่เกิดขึ้นว่า
ตรงหรือสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หรือไม่เพียงใด และผลที่เกิดข้ึนนั้น ใช้มาตรฐานอะไรวัดและถืออะไร
เปน็ หลักในการตดั สิน
ข้อมลู ตามทีค่ าดหวงั ความสอดคลอ้ ง ขอ้ มลู ตามผลท่เี กดิ ข้นึ
ดา้ นสิ่งทม่ี มี าก่อน ความสอดคล้อง ด้านสิง่ ที่มมี ากอ่ น
ความสัมพนั ธ์ ความสอดคลอ้ ง ความสัมพันธ์
ดา้ นกระบวนการในการสอน ด้านกระบวนการในการสอน
ความสมั พันธ์ ความสัมพนั ธ์
ด้านผลท่ีเกิดขึ้น ด้านผลท่เี กดิ ขึน้
ภาพที่ 6.1 การวิเคราะห์ถึงความสอดคลอ้ งกับความสัมพันธ์ของหลักสตู ร
(ทม่ี า: Armstrong. 2003: 280 - 283)
การวิเคราะห์ถึงความสอดคล้องกับความสัมพันธ์ของหลักสูตรน้ี จะเป็นแนวทางชี้ให้เห็นถึง
ข้อบกพร่องตา่ งๆ ซง่ึ จะมีส่วนช่วยในการปรับปรงุ หลกั สูตรได้ (Armstorng. 2003: 280-283)
150
แบบท่ี 2: รูปแบบบการประเมินหลักสูตรของไฟ เดลตา คัปปา หรือรูปแบบซิป (The Phi
Delta Kappa Committee Model or CIPP Model)
รูปแบบคล้ายคลึงกับรูปแบบแรกในแง่ที่เน้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์และความ
สอดคล้องของสง่ิ ที่บรรจุอยใู่ นหลักสูตร แตแ่ บบที่ 2 นี้ ใหห้ ัวขอ้ ท่ีต่างไปจากแบบท่ี 1 เล็กนอ้ ย ดังภาพ
การประเมิน ก า ร ป ร ะ เ มิ น ก า ร ป ร ะ เ มิ น การประเมินผล
บรบิ ท ปจั จัยปอ้ นเข้า กระบวนการ ผลติ
CONTEXT INPUT PROCESS PRODUCT
EVALUTION EVALUATION VALUATION EVALUATION
ภาพท่ี 6.2 การประเมนิ หลักสูตรของไฟ เดลตา คัปปา หรอื รูปแบบซปิ
(ท่ีมา: Armstrong. 2003: 277)
การประเมินบริบท เป็นการประเมินการตัดสินใจในการวางแผนก่อนการใช้หลักสูตรความ
ต้องการและความจาเป็นของกลุ่มเป้าหมาย เป้าหมายและจุดมุ่งหมายของหลักสูตร และจุดประสงค์ใน
ระดบั ตา่ งๆ ที่สนองตอบต่อความต้องการและความจาเป็น ซึ่งอาจประเมินโดยการวิเคราะห์ระบบ สารวจ
ทบทวนเอกสาร รบั ฟงั ความคดิ เหน็ สัมภาษณ์ ทดสอบและวนิ ิจฉยั และใช้เทคนคิ เดลฟาย (Delphi)
การประเมินปัจจัยป้อนเข้า เป็นการประเมินแผนการใช้หลักสูตรโครงสร้างของหลักสูตร การ
ตัดสินใจเลือกเน้ือหา การจัดลาดับเน้ือหา เทคนิควิธีการที่เลือกใช้ ทรัพยากรบุคคล สื่อการเรียนรู้
งบประมาณ และการกาหนดการใชห้ ลกั สูตร ซ่งึ อาจประเมนิ โดยการประเมินจากสภาพจริงในการเย่ยี มชม
โปรแกรม และการสารวจความคดิ เห็น
การประเมินกระบวนการ เป็นการประเมินกระบวนการใช้หลักสูตร กระบวนการสอนของครู
กิจกรรมต่างๆ ในสถาบนั ปฏิสัมพนั ธร์ ะหว่างบุคลากร ระบบการบรหิ ารจัดการหลักสูตรท้งั หมดและความ
สอดคล้องของการใช้หลักสูตรกับการออกแบบหลักสูตร ซึ่งอาจประเมินโดยการตรวจสอบ สังเกต และ
สอบถามความคดิ เหน็
การประเมินผลผลลัพธ์ เป็นการประเมินว่าหลักสูตรบรรลุเป้าหมายหรือไม่หลังจากได้ใช้หลักสูตร
แล้วหรืออยู่ระหว่างการใช้ ประเมินความสัมพันธ์ระหว่างบริบท ปัจจัยป้อนเข้า และกระบวนการประเมิน
คณุ ค่าของผลผลิตและระบบหลักสตู รท้ังหมด ซ่ึงอาจประเมินโดยการวัดผลลัพธ์ตามเกณฑ์ที่กาหนด ประเมิน
จากการตดั สินคุณค่าของผมู้ สี ว่ นรว่ มหรือผู้ที่เกยี่ วข้องกับหลักสูตร (Armstrong. 2003: 277-280)
151
จากรูปแบบนี้ จะเห็นว่า วิธีการประเมนิ หลักสูตรคือ การท่ีผปู้ ระเมินหลกั สูตรจะทาการประเมินด้าน
ต่างๆ ทั้ง 4 ด้านดังกล่าว แล้วนามาเทียบกันดูว่า มีความสอดคล้องและมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
ตัวอย่างเชน่ ในด้านจุดมุ่งหมายหากต้องการจะสร้างเสริมผู้เรียนให้มีความเป็นนักประชาธิปไตยแล้ว ก็นามา
เทยี บดูวา่ ระบบโครงสรา้ ง และการบริหารหลักสูตรเปน็ ระบบที่เอ้ือตอ่ การช่วยให้ผเู้ รยี นเป็นนกั ประชาธิปไตย
หรือไม่ และจะดูต่อไปว่า การจัดการเรียนการสอนเป็นไปในวิถีทางท่ีช่วยเสริมความเป็นนักประชาธิปไตย
เพียงใด และผลท่ีเกิดข้ึนจริงๆ สอดคล้องกันอย่างไร จากการเทียบข้อมูลตามหัวข้อดังกล่าว จะสามารถช่วย
ใหผ้ ู้ประเมนิ หลักสูตรได้เหน็ ว่าหลักสูตรนั้นๆ มคี วามสมั พันธ์และสอดคลอ้ งกันเพยี งใดและมจี ดุ ใดท่คี วรแก้ไข
แบบที่ 3: รปู แบบการประเมินความไม่สอดคล้องของโพรวัส (Provus’s discrepancy evaluation model)
SC D Decision Making
P
ภาพท่ี 6.3 รูปแบบของมลั คลั ์ม โพรวสั (Malcolm Provus)
(ทมี่ า: Armstrong. 2003: 280)
S = Standard เป็นขั้นแรกของการดาเนินการประเมินหลักสูตรกล่าวคือ ผู้ประเมินจะต้องตั้ง
มาตรฐานของส่งิ ทีต่ ้องการวดั ไว้เสียกอ่ น
P = Performance หลังจากท่ีได้ดาเนินงานขั้นแรกเสร็จลงไปแล้ว ผู้ประเมินจะต้องรวบรวม
ข้อมูลในเร่ืองของสิ่งท่ีต้องการวัดมาให้เพียงพอ ข้อมูลท่ีรวบรวมควรเป็นข้อมูลที่แสดงให้เห็นเป็น
พฤติกรรมทีช่ ัดเจน
C = Compare เม่ือตั้งมาตรฐานและรวบรวมข้อมูลเสร็จแล้ว ก็นาข้อมูลนั้นมาเปรียบเทียบกับ
มาตรฐานทต่ี ้ังไว้
D = Discrepancy จากการเปรียบเทียบข้อมูลกับมาตรฐานที่กาหนดไว้ ผู้ประเมินจะพบว่ามี
ช่องว่างอะไรระหวา่ งผลทเี่ กดิ ขึน้ กับผลที่คาดหวัง
Decision - Making ผู้ประเมินจะส่งผลการประเมินไปให้ผู้ท่ีจะต้องตัดสินใจเกี่ยวกับหลักสูตรเพื่อทา
การตัดสินใจอย่างใดอย่างหน่ึงเช่น จะหยุดใช้หลักสูตรน้ันหรือไม่ จะปรับปรุงอะไร หรือเปลี่ยนแปลง ซ่ึง
ขนั้ ตอนการประเมินดังกลา่ วสามารถอธบิ ายเป็นรูปแบบไดด้ ังน้ี (Armstrong. 2003: 284 - 286)
152
เกณฑ์มาตรฐาน การปฏบิ ัตจิ รงิ
เปรียบเทยี บ
ความสอดคลอ้ ง/ไม่สอดคลอ้ ง
ระหว่างการปฏิบตั จิ ริงกบั เกณฑม์ าตรฐาน
ตดั สนิ ใจ
ยกเลิก ปรับปรงุ
ภาพท่ี 6.4 กระบวนการในการตดั สินในการประเมินของโพรวสั
(ที่มา: Armstrong. 2003: 286)
รูปแบบการประเมินหลักสูตรของโพรวัส น้ีนับว่าให้ความสะดวกแก่ผู้ประเมินหลายประการ ผู้
ประเมนิ ผลสามารถที่จะหยิบยกขอ้ มลู ใดข้อมลู หนึ่ง เช่น การสอนแต่ละเร่ือง หรอื กิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง
มาประเมนิ โดยเฉพาะ โดยดาเนินการตามกระบวนการขา้ งต้น หรือจะประเมินทง้ั 5 ด้าน คอื การประเมิน
การออกแบบ (Design) การประเมินการจัดทา (Installation) การประเมินกระบวนการ (Process) การ
ประเมนิ ผลผลิต (Product) และการประเมนิ งบประมาณทีใ่ ชไ้ ป (Cost) โดยเปรยี บเทียบกับมาตรฐาน
แบบท่ี 4: รูปแบบการประเมินผลการฝึกอบรมของเคิร์ก แพททริค สาหรับพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
(Kirkpatrick’s Training Evaluation Model for Human Resource Development)
โดนัล เคิร์ก (Donald L. Kirkpatrick) ได้เสนอรูปแบบการประเมินโปรแกรมการฝึกอบรม
(training programs) โดยใหป้ ระเมนิ 4 ระดบั คอื
1. ประเมินปฏิกิริยาของผู้เรียน (Reaction of Students) ได้แก่ การประเมินความคิด ความรู้สึก
เกี่ยวกบั การฝึกอบรม และประสบการณ์การเรยี นรู้ท่ีจัดในโปรแกรม โดยใชแ้ บบสอบถามหลงั การฝึกอบรม
153
2. ประเมินการเรียนรู้ (Learning) เป็นการประเมินความรู้และความสามารถท่ีเพิ่มข้นึ โดยมีการ
ประเมนิ เปรียบเทียบกอ่ นและหลงั การฝกึ อบรมด้วยแบบทดสอบ และอาจใชก้ ารสมั ภาษณร์ ่วมด้วย
3. ประเมินพฤติกรรม (Behavior) เป็นการประเมินขอบเขตของพฤติกรรมและความสามารถที่
พัฒนาขึ้น รวมถึงการนาประสบการณ์จากการฝึกอบรมไปใช้และประยุกต์ใช้ในงาน เม่ือกลับไปทางาน
หลังจากรับการฝึกอบรมแลว้ โดยใช้การสังเกตและสัมภาษณ์เพ่ือประเมินการเปล่ียนแปลงและร่วมมือใน
การประเมนิ กบั หัวหน้างาน
4. ประเมินผลลัพธ์ (Results) เป็นการประเมินผลการพัฒนาความสาเร็จของผู้ได้รับการฝึกอบรมแล้ว
ท่ีมีผลต่อองค์กรหรือชุมชน โดยประเมินจากผลท่ีเกิดเป็นรูปธรรม เช่น ประเมินเป็นขนาด ผลประกอบการ
ร้อยละ ระดบั คณุ ภาพ การรบั รองมาตรฐาน การเพ่มิ ผลผลติ รายไดบ้ คุ ลากร ปรมิ าณข้อผิดพลาด เป็นต้น
จะเห็นได้ว่าการประเมินโปรแกรมฝึกอบรมจะเน้นการประเมินผลที่เกิดแก่ตัวผู้เข้ารับอบรมที่จะ
ส่งผลถึงหน่วยงาน ชุมชน สงั คม และอาจสะท้อนถึงตวั หลกั สูตรด้วย
8. การปรบั ปรงุ หลักสูตร
คุณภาพการศึกษาจะเป็นอย่างไรน้ัน ตัวช้ีวัดที่สาคัญคือคุณภาพของผู้เรียน ซ่ึงสะท้อนถึง
กระบวนการในการหล่อหลอมและการสร้างประสบการณ์เรียนรู้ท่ีมีความหมาย ตลอดถึงการนาไปใช้ใน
อนาคตอย่างเกิดประโยชน์และเจริญงอกงาม ในโลกของอนาคตที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและ
ความต้องการของมนุษย์ที่เพ่ิมมากขึ้น วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจึงมีบทบาทสาคัญต่อการกาหนดและ
ปรบั ปรุงหลักสตู รใหม้ ีความเท่าทนั ต่อการเปลยี่ นแปลงในอนาคต
บทสรปุ
ในการพัฒนาหลักสูตรจะต้องมีการประเมินหลักสูตรเพ่ือตรวจสอบว่าหลักสูตรที่นาไปใช้แล้วนั้น
ยังคงมีประเด็นใดที่ต้องปรับปรุงอีกบ้าง หรือสมควรจะใช้หลักสูตรนั้นต่อไปหรือไม่ โดยอาศัยวิธีการตา่ งๆ
ในการประเมินหลักสูตร โดยผู้ประเมินสามารถเลือกใช้ให้เหมาะสมกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตรเป็นหลัก
เพื่อใหไ้ ด้ข้อมูลทเี่ ป็นจริงนามาวิเคราะห์และสรุป ช้ีให้เหน็ ขอ้ บกพรอ่ งต่างๆ นาไปเป็นข้อมลู ในการพัฒนา
หลักสูตรในโอกาสต่อไป ในการประเมินหลักสูตรอาจดาเนินการเป็นระยะๆ ระหว่างการใช้หลักสูตรได้
และเม่ือใช้หลักสูตรเสร็จสิ้นหรือครบวงจรแล้วต้องมีการประเมินรวบยอดอีกครั้งหน่ึง ประเมินให้ครบทุก
องค์ประกอบของหลักสูตรและท้ังระบบของหลักสูตรด้วย และผลจากการประเมินหลักสูตรย่อมมี
คุณประโยชน์ทั้งต่อผู้บริหารและผู้ใช้หลักสูตรตลอดจนประสิทธิภาพของการศึกษา หากมีการประเมิน
อย่างมีระบบ มีเป้าหมาย และมีวิธีการท่ีชัดเจนเป็นที่น่าเช่ือถือ เม่ือนาไปปรับปรุงแล้วย่อมเป็น
หลกั ประกนั ว่าหลักสตู รจะมคี ณุ ภาพ
154
เอกสารอา้ งอิง
ใจทิพย์ เช้อื รตั นพงษ.์ 2539. การพฒั นาหลกั สูตร: หลกั การและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อลนี เพรช.
ชมพันธ์ กุญชร ณ อยุธยา. 2541. เอกสารเก่ียวกับการพัฒนาหลักสูตร. กรุงเทพฯ: โรงเรียนครูทหาร
กองการศกึ ษา, กรมยทุ ธศึกษาทหารอากาศ กองบญั ชาการฝึกศกึ ษาทหารอากาศ.
ชาญเจริญ ซ่ือชวกรกุล. 2550. การดาเนินงานประกันคณภาพภายในเพ่ือรองรับการประเมิน ภายนอก
รอบทส่ี องของโรงเรียนโปงหลวงวิทยารัชมังคลาภเิ ษก จงั หวัดลาปาง. การคนควาแบบอิสระ
ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่.
ฐรี ะ ประวาลพฤกษ.์ 2538. การพัฒนาบคุ คลและการฝกึ อบรม. กรุงเทพฯ: สานกั งานสภาสถาบันราชภฎั .
ดาราวรรณ สุวรรณชฎ. 2540. ความคิดเห็นของนายทหารสัญญาบัตรเหล่าสารบรรณที่มีต่อการ
ฝกึ อบรมหลักสูตรชั้นนายรอ้ ยเหล่าสารบรรณ กองบญั ชาการทหารสงู สดุ . กรุงเทพฯ: ปรญิ ญา
นพิ นธ์การศกึ ษามหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์.
วิชยั วงษใ์ หญ่. (2523). พฒั นาหลักสูตรและการสอน. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์รุ่งเรอื งธรรม.
ทศิ นา แขมมณี. 2540. “ การประเมินหลกั สูตร ” . รวมบทความทางการประเมินโครงการ. (พิมพ์ครั้งท่ี
4 ). กรุงเทพฯ: สานักพิมพจ์ ุฬาลงการณม์ หาวิทยาลัย.
สันต์ ธรรมบารุง. (2527). หลักสูตรและการบริหารหลกั สูตร. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พก์ ารศาสนา.
สุมติ ร คุณานุกร. (2533). หลกั สตู รและการสอน .กรุงเทพ ฯ: โรงพิมพ์ ชวนพมิ พ์.
Conbach.(1971). Essentials of Psychological Testing 3rdcd. New York: Harper&Row.P161.
Good, C.V. (1973). Dictionary of Education. New York: McGraw - Hill Book Company.
Washington, D.C.: Office of Vocational and Adult Education (ED.
Stake, R.E. ( 1967) . “The Countenence of Education Evaluation”. Teacher College
Record. 68 (April 1967).
Stufflebeam, D.L., Madaus, G.F. and Scriven, M.S. ( 1971) . Educational Evaluation And
Dicision-Marking. Itaca, Illinois: Peacock.
155
บทที่ 7
การออกแบบและการพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษา
อารีวรรณ เอีย่ มสะอาด
บทนา
การออกแบบและการพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา เป็นกระบวนการสาคัญโดยมีเปา้ หมายท่สี าคัญ
เพื่อให้ได้หลักสูตรที่นามาใชใ้ นการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงคือผู้เรียน
เกิดการเรยี นรู้อยา่ งเต็มศักยภาพตรงตามจุดมุ่งหมายทกี่ าหนดไว้ ดังนั้นผทู้ ่ีรบั ผิดชอบในการการออกแบบ
และการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา จึงจาเป็นต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับการออกแบบและการพัฒนา
หลักสูตรสถานศึกษา มีประเดน็ ที่สาคัญดังน้ี
1. การออกแบบและการพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษา
2. แนวโน้มของหลักสตู รสาหรบั พัฒนาผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21
3. ขน้ั ตอนการพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษา
แต่ละประเดน็ มีสาระสาคญั ดงั นี้
1. การออกแบบและการพัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษา
การออกแบบและการพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษา หมายถึง การออกแบบหลักสูตรที่สถานศึกษา
หรือโรงเรียนพัฒนาข้ึนให้สอดคล้องกับสภาพท้องถิ่นและธรรมชาติของผู้เรียนในสถานศึกษานั้นๆ โดยมี
โครงสร้างของหลักสูตรที่เป็นไปตามข้อกาหนดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 และ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560 โดยศึกษา
ความสัมพันธข์ องการพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียนตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐานดังภาพที่ 7.1
156
สาระการเรียนรู้ ประกอบด้วย องค์ความรู้ ทกั ษะหรอื กระบวนการเรียนรู้ และคุณลักษณะอนั พึง
ประสงค์ ซ่ึงกาหนดให้ผู้เรียนทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจาเป็นต้องเรียนรู้ โดยแบ่งเป็น 8 กลุ่ม
สาระการเรียนรู้ ดงั น้ี
ภาษาไทย: ความรู้ ทักษะและ คณติ ศาสตร์ : การนาความรู้ วทิ ยาศาสตร:์ การนาความรแู้ ละ
วัฒนธรรมการใชภ้ าษา เพอ่ื การ ทักษะและกระบวนการทาง กระบวนการทางวิทยาศาสตรไ์ ปใช้
ส่อื สาร ความชนื่ ชม การเห็นคณุ คา่ คณิตศาสตร์ไปใช้ใน การแก้ปญั หา ในการศึกษา คน้ ควา้ หาความรู้ และ
ภูมิปัญญา ไทย และภมู ใิ จในภาษา การดาเนนิ ชีวิต และศกึ ษาต่อ แก้ปญั หาอยา่ งเป็นระบบ การคดิ
ประจาชาติ การมเี หตมุ ผี ล มีเจตคตทิ ดี่ ีตอ่ อยา่ งเป็นเหตเุ ปน็ ผล คิดวิเคราะห์
คณติ ศาสตร์ พัฒนาการคดิ อยา่ ง คดิ สร้างสรรค์ และจติ วทิ ยาศาสตร์
เป็นระบบและสร้างสรรค์
ภาษาต่างประเทศ: ความรู้ องคค์ วามรู้ ทักษะสาคัญ สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม :
ทกั ษะ เจตคติ และวัฒนธรรม และคณุ ลกั ษณะ การอยูร่ ว่ มกนั ในสังคมไทยและสังคม
การใชภ้ าษาตา่ งประเทศในการ โลกอยา่ งสนั ตสิ ุข การเป็นพลเมอื งดี
สือ่ สาร การแสวงหาความรู้ ในหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษา ศรัทธาในหลักธรรมของศาสนา
และการประกอบอาชพี ขนั้ พ้ืนฐาน การเหน็ คณุ ค่าของทรพั ยากรและ
ส่งิ แวดล้อม ความรกั ชาติ และภมู ใิ จ
ในความเป็นไทย
การงานอาชีพและเทคโนโลยี: ศลิ ปะ: ความรแู้ ละทกั ษะในการ สุขศึกษาและพลศกึ ษา: ความรู้ ทักษะ
ความรู้ ทักษะ และเจตคติในการ คิดรเิ ร่มิ จินตนาการ สรา้ งสรรค์ และเจตคตใิ นการสร้างเสรมิ สขุ ภาพ
ทางาน การจัดการ การดารงชวี ติ งานศิลปะ สนุ ทรยี ภาพและการ พลานามัยของตนเองและผู้อ่ืน การ
การประกอบอาชีพ และการใช้ เห็นคุณคา่ ทางศลิ ปะ ป้องกนั และปฏิบัตติ อ่ ส่งิ ตา่ ง ๆ ทม่ี ีผล
เทคโนโลยี ตอ่ สขุ ภาพอยา่ งถูกวธิ แี ละทกั ษะในการ
ดาเนินชวี ติ
ภาพท่ี 7.1 ความสมั พันธ์ของการพฒั นาคุณภาพผู้เรียนตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน
สิ่งท่ีควรคานึงในการการออกแบบและการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ผูอ้ อกแบบหลักสูตรต้อง
ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐาน ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560 ทกุ หวั ขอ้
157
2. แนวโนม้ ของหลกั สูตรสาหรบั พัฒนาผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21
จากแนวคิดสาคัญของการพัฒนาคือการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยกระบวนการทางการศึกษา
ซึ่งเครื่องมือสาคัญของการจัดการศึกษา คือ หลักสูตร โดยนัยดังกล่าวนี้การจัดหลักสูตรจึงต้องให้
สอดคล้องกับบริบทของสังคมและเป้าหมายของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในขณะนั้น ในปัจจุบันน้ีคือ
ศตวรรษท่ี 21 เป็นชว่ งของการ เปลยี่ นแปลงทางสังคม และความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
การจัดหลักสูตรเพ่ือพัฒนาทรัพยากร มนุษย์จึงต้องพัฒนาให้บุคคลมีศักยภาพท่ีสามารถดารงชีวิตอยู่ใน
สังคมได้อย่างปกติสุข ซ่ึงคนในศตวรรษท่ี 21 น้ีจะต้องมีทักษะที่สาคัญและแตกต่างจากในอดีตท่ีผ่านมา
ซึ่ง วิจารณ์ พานิช (2555) ได้กล่าวถึงทักษะเพื่อการดารงชีวิตในศตวรรษท่ี 21 ไว้ว่า บุคคลต้องมีทักษะ
อย่างนอ้ ย 4 ด้าน ไดแ้ ก่
1. ทักษะด้านความรู้ จะต้องมี ความรู้เกี่ยวกับโลก (Global Awareness) ความรู้เก่ียวกับ
การเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการ (Financial, Economics, Business and
Entrepreneurial Literacy) ความรู้ด้านการเป็นพลเมืองท่ีดี (Civic Literacy) ความรู้ด้านสุขภาพ
(Health Literacy) และความรู้ด้านส่ิงแวดล้อม (Environmental Literacy)
2. ทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม จะเป็นตัวกาหนดความพร้อมของผู้เรียนเข้าสู่โลกการ
ทางานท่ีมีความซับซ้อนมากข้ึนในปัจจุบัน ได้แก่ ความริเร่ิมสร้างสรรค์และนวัตกรรม การคิดอย่างมี
วิจารณญาณและการแก้ปญั หา การส่ือสารและการรว่ มมือ
3. ทักษะด้านสารสนเทศ ส่ือ และเทคโนโลยี เน่ืองด้วยในปัจจุบันมีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร
ผ่านทางสื่อและเทคโนโลยีมากมาย ผู้เรียนจึงต้องมีความสามารถในการแสดงทักษะการคิดอย่างมี
วิจารณญาณและปฏิบัติงานได้หลากหลาย โดยอาศัยความรู้ในหลายด้านคือ ความรู้ด้านสารสนเทศ
ความรู้เก่ยี วกบั ส่อื และความรดู้ ้านเทคโนโลยี
4. ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ ในการดารงชีวิตและทางานในยุคปัจจุบันให้ประสบความสาเร็จ
ผ้เู รียนจะต้องพัฒนาทักษะชีวิตท่ีสาคัญดังต่อไปนี้ ความยืดหยุ่นและการปรับตัว การริเร่ิมสร้างสรรค์และ
เป็นตัวของตัวเอง ทักษะสังคมและสังคมข้ามวัฒนธรรม การเป็นผู้สร้างหรือผู้ผลิต (Productivity) และ
ความรบั ผิดชอบเชอื่ ถือได้ (Accountability) และภาวะผู้นาและความรับผิดชอบ (Responsibility)
การพัฒนาให้เกิดทักษะท้ัง 4 ด้าน ดังกล่าว วิจารณ์ พานิช (2555) ได้ให้ข้อเสนอแนะว่าทุกคน
จะต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต ด้วยวิธีการเรียนรู้ 3R x7C ซ่ึง 3R คือ Reading (อ่านออก), (W)Riting (เขียนได้),
และ (A)Rithemetics (คิดเลขเป็น) และ 7C ได้แก่ Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้าน
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา) Creativity and Innovation (ทักษะด้านการ
สร้างสรรค์ และนวัตกรรม) Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม
158
ต่างกระบวนทัศน์) Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็น
ทีม และภาวะผู้นา) Communications, Information, and Media Literacy (ทักษะด้านการส่ือสาร
สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ) Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร) Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการเรยี นรู้)
จากแนวคิดทักษะ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และกรอบแนวคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี
21 การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 เป็นการกาหนดแนวทางยุทธศาสตรใ์ นการจดั การเรียนรู้ โดยร่วมกันสร้าง
รูปแบบและแนวปฏิบัติในการเสริมสร้างประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 โดยเน้นท่ี
องค์ความรู้ ทักษะ ความเชี่ยวชาญและสมรรถนะท่ีเกิดกับตัวผู้เรียน เพื่อใช้ในการดารงชีวิตในสังคมแห่ง
ความเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน โดยจะอ้างถึงรูปแบบ (Model) ท่ีพัฒนามาจากเครือข่ายองค์กรความ
ร่ ว ม มื อ เ พื่ อ ทั ก ษ ะ แ ห่ ง ก า ร เ รี ย น รู้ ใ น ศ ต ว ร ร ษ ที่ 21 (Partnership For 21st Century Skills)
(www.p21.org ) ท่ีมีช่ือย่อว่า เครือข่าย P21 ซึ่งได้พัฒนากรอบแนวคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
โดยผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะเฉพาะด้าน ความชานาญการและความรู้เท่าทันด้านต่างๆ เข้าด้วยกัน
เพ่อื ความสาเร็จของผู้เรยี นทัง้ ด้านการทางานและการดาเนนิ ชวี ติ ดงั ภาพท่ี 7.2
ภาพที่ 7.2 กรอบแนวคดิ เพอ่ื การเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 (21st Century Learning Framework)
(วจิ ารณ์ พานิช ,2555)
159
กรอบแนวคิดเชิงมโนทัศน์สาหรับทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เปน็ ท่ียอมรบั ในการสร้างทักษะการ
เรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 (Model of 21st Century Outcomes and Support Systems) ซึ่งเป็นท่ี
ยอมรับอย่างกว้างขวางเนื่องด้วยเป็นกรอบแนวคิดที่เน้นผลลัพธ์ท่ีเกิดกับผู้เรียน (Student Outcomes)
ทั้งในดา้ นความรู้สาระวชิ าหลัก (Core Subjects) และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ท่จี ะช่วยผู้เรียนไดเ้ ตรียม
ความพร้อมในหลากหลายด้าน รวมท้ังระบบสนับสนุนการเรียนรู้ ได้แก่มาตรฐานและการประเมิน
หลักสูตรและการเยนการสอน การพัฒนาครู สภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมต่อการเรียนในศตวรรษที่ 21
ดงั นั้น การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ตอ้ งก้าวข้าม “สาระวิชา” ไปสู่การเรียนรู้ “ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21”
(21st Century Skills)
จากทักษะที่ต้องพัฒนาคนในศตวรรษที่ 21 ดังกล่าวน้ัน ในการจัดหลักสูตรและการเรียนการ
สอน วิจารณ์ พานิช (2555) ได้ให้ความเห็นไว้ว่า “สาระวิชาก็มีความสาคัญ แต่ไม่เพียงพอสาหรับการ
เรียนรู้เพ่ือมีชีวิตในโลกยุคศตวรรษท่ี 21 ปัจจุบันการเรียนรู้สาระวิชา (content หรือ subject matter)
ควรเป็นการเรียนจากการค้นคว้าเอง ของศิษย์ โดยครูช่วยแนะนา และช่วยออกแบบกิจกรรมที่ช่วยให้
ผู้เรียนแต่ละคนสามารถประเมินความ ก้าวหน้าของการเรียนรู้ของตนเองได้” ซ่ึง สาระวิชาหลัก (Core
Subjects) ประกอบด้วย ภาษาแม่ และภาษาสาคัญของโลก ศิลปะ คณิตศาสตร์ การปกครองและหน้าที่
พลเมือง เศรษฐศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภูมิศาสตร์ และ ประวัติศาสตร์ โดยวิชาแกนหลักนี้จะนามาสู่การ
กาหนดเป็นกรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์สาคัญต่อการหลักสูตร และการจัดการเรียนรู้ในเนื้อหาเชิงสห
วทิ ยาการ (Interdisciplinary) หรือหัวข้อสาหรับศตวรรษที่ 21 โดยการส่งเสริมความเข้าใจในเนื้อหาวิชา
แกนหลกั และสอดแทรกทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 เขา้ ไปในทกุ วชิ าแกนหลัก
ในทานองเดียวกัน ไพฑูรย์ สินลารัตน์ (2559) ได้ให้ข้อเสนอแนะเก่ียวกับการจัดการศึกษาเพ่ือ
พฒั นาผู้เรียนให้มีทักษะในศตวรรษท่ี 21 บนพื้นฐานของ UNESCO,s Guidelines ท่ีได้ให้ข้อเสนอแนะไว้
ว่า คนรุ่นใหม่ตอ้ งมลี ักษณะ 4 อยา่ ง (Four pillars) คอื (1) Learning how to learn (2) Learning how
to do (3) Learning how to work (4) Learning how to be ซ่ึงในการจัดหลักสูตรการศึกษาจะต้องช้ี
ชัดลงไปวา่ ต้องให้ผเู้ รียนรวู้ ิธีการเรยี นรอู้ ย่างวิเคราะห์ วิจารณ์ (Learning how to learn critically) รู้วิธี
ทาอย่างสร้างสรรค์ (Learning how to do creatively) รู้วิธีทางานอย่างมีความก้าวหน้า (Learning
how to work constructively) และรู้วิธีอยู่ด้วยกัน (Learning how to be wisely) โดยนัยดังกล่าวนี้
คนในศตวรรษที่ 21 จึงต้องมีคุณลกั ษณะ 4 ประการ คือ (ไพฑรู ย์ สินลารตั น์, 2559)
1. Smart consumer เป็นคนที่รู้จักคิดวิเคราะห์มีวิจารณญาณในการเลือกอย่างมีเหตุผล ไม่
หลงตามคาโฆษณา และไม่ตามกระแสสงั คมโดยไม่มองตนเอง
160
2. Break-though Thinking สามารถคิดสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆข้ึนได้ในสังคมไทยด้วยตนเองแล้ว
พัฒนาตามความคิดน้ันหรือพัฒนาผลงานจากความคิดนั้นๆได้เพ่ือให้ได้ผลงานที่อยู่บนพ้ืนฐานของ
สังคมไทย รวมทัง้ สามารถคิดพัฒนาผลงานต่อยอดจากต่างประเทศไดด้ ว้ ย
3. Social concerned หมายถึงการมีความรู้สึกร่วมได้ร่วมเสียกับสังคม มีสานึกทางสังคม
ตระหนักว่าปัญหาและทางออกของสังคมจะต้องเป็นความรับผิดชอบร่วมกัน ทุกคนต้องมีส่วนร่วมในการ
แกไ้ ขสังคมไทยและสงั คมโลกไปพรอ้ มๆกัน
4. Thai Pride มคี วามภาคภูมใิ จในวฒั นธรรมของตนเองควบคู่ไปกับการเห็นคุณคา่ ของคนอืน่
จากคุณลักษณะท้ังสี่ประการดังกล่าว ประมวลเป็นคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ท่ี
เรยี กวา่ CCPR Model ไดด้ งั น้ี
C: Critical Mind มองสังคมรอบด้าน รู้ทีม่ าที่ไป และ เข้าใจเหตแุ ลผล
C: Creative Mind คิดตอ่ ยอดจากที่มีอยู่ ประยกุ ตแ์ ละใช้ประโยชน์ และมองประเดน็ ใหม่ได้
P: Productive Mind คานงึ ถงึ ผลผลิต มีวธิ กี ารและคณุ ภาพ และคณุ ค่าของผลงาน
R: Responsible Mind นึกถึงสังคมและประเทศชาติ มีจิตสานึกสาธารณะ และมีคุณธรรม
จรยิ ธรรม / ความดีงาม (ไพฑรู ย์ สนิ ลารัตน์, 2559)
การกาหนดคุณลักษณะของผู้เรียนดังกล่าว ได้นามาใช้เป็นพ้ืนฐานของหลักสูตรตาม CCPR
Model ที่กาหนดเน้ือหาสาระท่ีต้องใหผ้ ้เู รียนไดเ้ รียนรู้ ไว้ สป่ี ระการ คือ
ประการแรก เรียนความรู้ท่ัวโลกและภูมิปัญญาไทยและขณะเดียวกันต้องเรียนนวัตกรรมใหม่
ของโลก เพอ่ื ใหท้ นั กบั การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขน้ึ
ประการท่ีสอง ต้องให้ศึกษาทางเลือกโดยเฉพาะอย่างย่ิงอนาคตเป็นโลกที่มีทางเลือก
หลากหลาย
ประการทสี่ าม เรยี นรู้การวิเคราะห์นวัตกรรมใหม่ของโลก
ประการทสี่ ี่ เรยี นรู้กระบวนการท่จี ะแสวงหาความรู้ใหม่
จากแนวคิดของหลักสูตรเพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 ดังกล่าว จึงสามารถกล่าวได้ว่า
หลักสูตรในศตวรรษท่ี 21 จะเป็นหลักสูตรที่แตกต่างจากหลักสูตรแบบเดิม และมีความโดดเด่นที่มีเน้ือหาของ
หลักสูตรท่ีเป็นสหวิทยาการ (Interdisciplinary) ในลักษณะท่ีเป็นหลักสูตรแบบบูรณาการ (Integrated
Curriculum) เนื้อหาของหลักสูตรเน้นการพัฒนาคุณลกั ษณะของผู้เรียนให้เป็นผู้ที่คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และ
สร้างสรรค์ส่ิงใหม่ๆอย่างมีเหตุผล และเป็นประโยชน์ต่อการดารงชีวิตท้ังต่อตนเองและสังคม นอกจากนั้น
เน้ือหาของหลักสูตรนอกจากเนื้อหาท่ีเป็นองค์ความรู้เดิมแล้ว ยังต้องสร้างเน้ือหาใหม่ที่ตอบต่อความต้องการ
ของสงั คม เช่น เนื้อหาเกีย่ วกับการดูแลผสู้ ูงอายุเพราะสงั คมกาลังเป็นสังคมผู้สงู อายุ เปน็ ต้น
161
3. ข้นั ตอนการพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษา
ขนั้ ตอนการพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษา มรี ายละเอยี ด ดังนี้
1. วเิ คราะห์ความต้องการของสถานศกึ ษา นกั เรียนและผู้ปกครอง
โดยส่งแบบสอบถามความต้องการของคณะกรรมการสถานศึกษา คณะครู นักเรียนและสอบถามความ
คิดเห็นผู้ปกครองทุกช้ันเพ่ือเป็นข้อมูลเบ้ืองต้นในการกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย การทาสาระ
ท้องถนิ่ และใช้ปราชญท์ อ้ งถ่ินให้เป็นประโยชน์ตอ่ สถานศึกษา
2. ศึกษาขอ้ มูลของสถานศกึ ษา
ศึกษาข้อมูลของสถานศึกษา เกี่ยวกับจานวนบุคลากร อาคารสถานที่ หอ้ งปฏิบัติการ เครื่องอานวยความ
สะดวก วัสดุ อุปกรณ์ ยานพาหนะ สนามกีฬา อปุ กรณ์กีฬา และชมรมตา่ ง ๆ
3. ประชมุ ช้ีแจงคณะผ้บู ริหารและคณะครูในสถานศึกษา
ดาเนินการประชุมช้ีแจงคณะผู้บริหารและคณะครูในสถานศึกษาในการพัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา สร้างความตระหนักในการท่ีสถานศึกษาจะต้องพัฒนาหลักสูตรของ
ตนเอง ตงั้ คณะกรรมการหลกั สูตรฯ กาหนดงานตามแบบประเมินหลักสตู ร
4. ประชุมเชงิ ปฏิบตั ิการแบบมีสว่ นร่วมแต่ละกล่มุ สาระการเรียนรู้
แจกแบบใบงาน ใบความรู้ต่าง ๆ และแบบประเมินหลักสูตรเพื่อเป็นแนวในการพัฒนา
หลกั สูตร
พร้อมกาหนดเวลาในการสง่ งาน จัดคณะกรรมการในการประเมนิ ความกา้ วหนา้ และติดตามงานเป็นระยะ
4.1 กาหนดวิสัยทัศน์ให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของสถานศึกษาวิเคราะห์ตัวช้ีวัดแต่ละชั้นปี
กาหนดสาระการเรียนรพู้ ้ืนฐาน/ ท้องถิ่น สาระสาคญั หนว่ ยการเรียนรู้ เวลา และนา้ หนักคะแนน
4.2 เขียนคาอธิบายรายวชิ า แลว้ ส่งใหห้ ัวหน้าทมี พฒั นาหลักสตู รสถานศึกษา
4.3 กาหนดส่ือการเรียนร้/ู แหลง่ การเรียนรู้
4.4 กาหนดการวดั และประเมนิ ผล
5. ประเมนิ หลกั สูตรสถานศึกษา
162
สรุปขั้นตอนการพัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษาแบบอิงมาตรฐาน ดงั ภาพท่ี 7.3
1. วิเคราะหค์ วามต้องการของสถานศึกษา นกั เรียนและผู้ปกครอง
2. ศึกษาข้อมลู ของสถานศึกษา
3. ประชมุ ชแ้ี จงคณะผบู้ ริหารและคณะครูในสถานศึกษา
4. ประชมุ เชิงปฏิบตั กิ ารแบบมสี ่วนร่วมแตล่ ะกลุม่ สาระการเรยี นรู้
.
5. ประเมินหลกั สูตรสถานศึกษา
ภาพท่ี 7.3 ขั้นตอนการพฒั นาหลักสตู รสถานศึกษา
ท้ังน้ี เม่ือพัฒนาหลักสูตรเสร็จแล้ว ต้องมีการประเมินหลักสูตรเพ่ือตรวจสอบคุณภาพของ
หลักสูตรว่ามีความเหมาะสมดีและถูกต้องกับหลักการพัฒนาหลกั สูตรเพียงใด ครอบคลุมตามหลักสูตรอิง
มาตรฐานหรือไม่ จงึ ขอเสนอแบบประเมินเอกสารหลกั สตู รสถานศกึ ษา ดงั นี้
163
แบบประเมนิ เอกสารหลักสูตรสถานศกึ ษา
โรงเรียน .........................................อาเภอ............................จงั หวัด................................สงั กดั .................................
ไมม่ ี มี / ระดับคุณภาพ
องค์ประกอบหลกั (0) ปรับปรุง พอใช้ ดี ดีมาก
(1) (2) (3) (4)
1. วิสัยทศั น์
2. จุดหมาย
3. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น
4. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
5. มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด 8 กลุ่มสาระฯ/ กิจกรรมพัฒนา
ผู้เรยี น
6. โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศึกษา/เวลาเรียน
7. รายวิชาตามกลมุ่ สาระการเรียนรู้พน้ื ฐาน
8. คาอธบิ ายรายวิชากลุ่มสาระการเรยี นรู้พ้นื ฐาน
9. หนว่ ยการเรยี นรกู้ ล่มุ สาระการเรียนรพู้ ้ืนฐาน
10. รายวิชาเพม่ิ เตมิ
11. คาอธบิ ายรายวชิ าเพ่ิมเตมิ
12. โครงสร้างรายวิชา
12. หนว่ ยการเรียนรสู้ าระการเรยี นรูเ้ พ่มิ เติม (ถา้ ม)ี
13. กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน (แนะแนว,ชมุ นมุ ,เพ่อื สงั คม)
14. การจดั การเรยี นรู้และการสง่ เสรมิ การเรยี นรู้
15. สือ่ และแหล่งเรียนรู้
16. การวดั และประเมินผล
17. การบรหิ ารจัดการหลักสตู รสถานศกึ ษา
18. มีหลักสูตรสถานศึกษาท่ีสอดแทรกคุณธรรมนาความรู้และ
ประยุกต์ใชป้ รัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง/ประวัติศาสตร/์ อาชพี ในชมุ ชน
รวม
เฉล่ีย
จุดเด่นที่พบ .....................................................................................................................................................
จุดที่ต้องพฒั นา .............................................................................................................................................
ภาพท่ี 7.3 แบบประเมนิ เอกสารหลกั สตู รสถานศกึ ษา
ท่ีมา: (เบญจลกั ษณ์ นา้ ฟ้า,2552)
164
บทสรปุ
การศึกษาเป็นกระบวนการสาคัญของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพ่ือการพัฒนาตนเอง สังคม
และประเทศชาติ หลักสูตร เปน็ เคร่ืองมือสาคัญของการจัดการศึกษา หลกั สูตรท่ีดีและเหมาะสมเท่านั้นจึง
จะนาไปสู่การจัดการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูง นักวิชาการทางด้านหลักสูตรรวมทั้ง
ผู้เรียนและผู้สนใจทางด้านหลักสูตร จึงตอ้ งมีความรู้ความเขา้ ใจอย่างลึกซึ้ง เก่ียวกับการออกแบบและการ
พฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษา และแนวโนม้ ของหลักสตู รสาหรบั พฒั นาผ้เู รียนในศตวรรษที่ 21 จดั ว่าเปน็ พื้น
ฐานความรู้ความเข้าใจที่มีความสาคัญมากสาหรับการเรียนรู้และการปฏิบัติในการพัฒนาหลักสูตร
สถานศกึ ษา
เอกสารอ้างอิง
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน, สานักงาน. (2547). แนวปฏิบัติเก่ียวกับการใช้หลักสูตรการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์
(ร.ส.พ.).
. (2547). แนวทางการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาแบบอิงมาตรฐาน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์
องคก์ ารรับส่งสินค้าและพัสดุภณั ฑ์ (ร.ส.พ.).
เบญจลกั ษณ์ น้าฟา้ .. (2552). เอกสารประกอบการอบรมการพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษา ตาม
หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑. สานักนวตั กรรมการศกึ ษา
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร.
ไพฑูรย์ สนิ ลารัตน.์ ( 2559). คิดเพอ่ื ครู. กรุงเทพฯ.: วทิ ยาลยั ครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธุรกิจบัณฑติ ย์.
_____. (2559). ปรัชญาการศึกษาเชิงสร้างสรรค์และผลิตภาพ. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยครุศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ธรุ กจิ บัณฑติ ย์.
วิจารณ์ พานิชย์. (2555). การเรียนรเู้ พ่อื ศิษย์ในศตวรรษท่ี 21. กรงุ เทพฯ: มลู นธิ ิสดศรี-สฤษดวิ์ งศ.์
165
บทที่ 8
หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน และหลกั สตู รสถานศกึ ษา
ธิดารตั น์ ตนั นริ ัตร์
บทนา
หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 เกิดจากหน่วยงานต่างๆ ทร่ี ับผดิ ชอบ
ได้ติดตามและประเมินผลการใชห้ ลักสูตรการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2544 พบว่า มีจุดดี เช่น 1)
ช่วยส่งเสรมิ การกระจายอานาจทางการศกึ ษาทาใหท้ ้องถ่ินและสถานศกึ ษามสี ่วนร่วมและมีบทบาทสาคัญ
ในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการของตนเอง 2) มีแนวคดิ และหลักการในการส่งเสริม
การพัฒนาผู้เรียนแบบองค์รวมอย่างชัดเจน แต่อย่างไรก็ตาม ผลการศึกษาดังกล่าวก็ยังสะท้อนสภาพ
ปัญหาและความไม่ชัดเจนหลายประการ เช่น 1) ความชัดเจนของเอกสารหลักสูตร 2) กระบวนการนา
หลักสูตรไปสู่การปฏิบัติ 3) ความสับสนของผู้ปฏิบัติในระดับสถานศึกษาในการพัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษา 4) สถานศึกษาส่วนใหญ่กาหนดสาระการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ไว้มาก ทาให้หลักสูตรมี
เนื้อหาแน่น 5) การวัดประเมินผลการเรียนรู้ไม่สะท้อนมาตรฐานการเรียนรู้ 6) การจัดทาเอกสาร
หลักฐานทางการศึกษา และการเทียบโอนผลการเรียน และ 7) คุณภาพของนักศึกษาครูในด้านความรู้
ทักษะ ความสามารถ และคุณลักษณะพึงประสงค์ยังไม่ได้ตามเป้าหมายท่ีกาหนดไว้มากนัก (วิโฬฏฐ์
วฒั นานิมิตรกลู , 2559: 40-42)
จากปัญหาข้างต้นคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานโดยสานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน จึงได้ทบทวนหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 เพ่ือพัฒนามาสู่ โดยหลักการ
สาคัญของหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551
1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานได้กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสาคัญ และ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนไว้เป็นเป้าหมายของการจัดกระบวนการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระการ
เรียนรู้ ให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามเป้าหมาย โดยส่งเสริมให้เรียนรู้จากการเผชิญ สถานการณ์ การได้สัมผัส
สัมพันธ์กับส่ิงแวดล้อม มนุษย์และธรรมชาติ ลงมือปฏิบัติจริง ฝึกให้คิดเป็น ทาเป็นแก้ปัญหาเป็น รักการ
อา่ น และใฝร่ ู้ ใฝเ่ รียนอยา่ งต่อเนือ่ ง
166
2. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐานไดก้ าหนดมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชี้วัดชั้นปีของแต่
ละกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ เพอื่ ใหค้ รูผู้สอนมองเห็นผลคาดหวังท่ีต้องพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนให้มีความรู้
ความสามารถ และทักษะที่สาคัญของแต่ละชั้นปี และต่อเน่ืองจนจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ดังนั้น การ
จัดทาสาระการเรียนรู้ การกาหนดเนื้อหา การจัดทาหน่วยการเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอน และการ
วดั ประเมินผลการเรยี นรู้ จะต้องสะท้อนคุณภาพของผ้เู รียนตามมาตรฐานการเรยี นรู้ และตัวชี้วัดท่ีกาหนด
ไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพ่ือใชต้ รวจสอบคุณภาพผู้เรียน และเทียบโอนผลการเรียน
ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
3. การจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีคุณลักษณะตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ค้นพบความรู้เอง มีส่วนร่วมในการสร้างผลการ
เรียนรู้ที่มีความหมายแก่ตนเอง ผู้สอนต้องออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ และจัดประสบการณ์การเรียนรู้
อย่างเป็นระบบ เน้นประโยชน์สูงสุดท่ีจะเกิดแก่ผู้เรียน และคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล พัฒนา
ผูเ้ รยี นจนเต็มศักยภาพตามความถนัด และความสนใจเป็นรายบุคล
4. การจัดการเรียนรใู้ ห้ผู้เรียนบรรลุเป้าหมายตามมาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชี้วัดช้ันปีจะต้องใช้
กระบวนการการเรียนรู้ที่หลากหลาย ได้แก่ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการทาง
สังคม กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์การจริง กระบวนการปฏิบัติ
กระบวนการพัฒนาค่านิยม กระบวนการบูรณาการ ฯลฯ กระบวนการทผี่ ู้สอนต้องฝึกฝนให้ผู้เรียนเกิดการ
เรยี นร้แู ละพัฒนาตนเองจนบรรลมุ าตรฐาน การเรยี นรขู้ องหลักสูตรอย่างมีประสิทธภิ าพ
5. ผู้สอนต้องออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยศึกษาวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด
สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสาระการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับวยั ผูเ้ รียน แล้ว
จึงเลือกใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอน สื่อ แหล่งเรียนรู้ เคร่ืองมือ และวิธีการวัดและประเมินผลที่มี
คุณภาพ เพ่อื พัฒนาผู้เรียนไปส่เู ปา้ หมายการเรยี นร้ทู ่ีกาหนดไว้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ และเต็มตามศกั ยภาพ
ของผูเ้ รียนแตล่ ะคน
กระทรวงศึกษาธิการ (2551) จึงได้กาหนดส่วนประกอบสาคัญของหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 ไดแ้ ก่ วสิ ยั ทศั น์ เปา้ หมาย สมรรถนะของผู้เรียน คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และการวัดประเมินผล ซึ่งมีความสัมพันธ์กันเป็น
ระบบ ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน การศกึ ษาต่อ การประกอบอาชีพ และการเรยี นรู้ตลอดชีวิต ดังภาพที่ 8.1
และมีรายละเอียดดงั ด้านลา่ ง
167
วิสยั ทัศน์ คุณลักษณะ 67 มาตรฐานการเรียนรู้
เปา้ หมาย อนั พงึ ประสงค์ 2,190 ตวั ชว้ี ดั
สมรรถนะ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
ศกึ ษาต่อ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น
ประกอบอาชีพ กจิ กรรมแนะแนว
การเรยี นรู้ตลอดชวี ติ กิจกรรมนักเรียน
กจิ กรรมสาธารณะประโยชน์
การวดั และประเมนิ ผล
คณุ ภาพผู้เรยี น
ภาพที่ 8.1 สว่ นประกอบสาคัญของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ท่ีมา: กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (2551)
1. หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551
ความนา
กระทรวงศึกษาธกิ ารได้ประกาศใช้หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ให้
เป็นหลักสูตรแกนกลางของประเทศเม่ือวันท่ี 11 กรกฎาคม 2551 เริ่มใช้ในโรงเรียนต้นแบบการใช้
หลักสูตรและโรงเรียนีที่มีความพร้อมในปีการศึกษา 2552 และเร่ิมใช้ในโรงเรียนท่ัวไปในปีการศึกษา
2553 ซ่ึงใช้มาเป็นเวลากว่า 8 ปีแล้วสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานโดยสานักวิชาการและ
มาตรฐานการศึกษาได้ดาเนินการติดตามผลการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติอย่างต่อเนื่องในหลายรูปแบบ
ท้ังการประชุมรับฟังความคิดเห็นการนิเทศติดตามผลการใช้หลักสูตรของโรงเรียนการรับฟังความคิดเห็น
ผ่านเว็บไซต์ของสานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษารายงานผลการวิจัยของหน่วยงานและองค์กรท่ี
เก่ียวข้องกับหลักสูตรและการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ผลจาก
168
การศึกษาพบว่า หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มีข้อดีหลายประการเช่น
กาหนดเป้าหมายการพัฒนาไว้ชัดเจนมีความยืดหยุ่นเพียงพอให้สถานศึกษาบริหารจัดการหลักสูตร
สถานศึกษาได้สาหรับปัญหาท่ีพบส่วนใหญ่เกิดจากการนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 สู่การปฏิบัติในสถานศึกษาและในห้องเรียนนอกจากน้ีการศึกษาข้อมูลทิศทางและ
กรอบยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับท่ี 12 2560 - 2564 ซึ่งเกิดขึ้นใน
ช่วงเวลาของการปฏิรูปประเทศและสถานการณ์โลกท่ีเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วและเช่ือมโยงใกล้ชิดกัน
มากขึ้น โดยจัดทาบนพ้ืนฐานของกรอบยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ. 2560 - 2579 ซึ่งเป็นแผนหลักของ
การพัฒนาประเทศและเป้าหมายของการพัฒนาท่ีย่ังยืนแผนการศกึ ษาแห่งชาติ 2560 - 2579 รวมทั้งการ
ปรับโครงสร้างประเทศไปสู่ประเทศ 4.0 ซ่ึงยุทธศาสตร์ชาติที่จะใช้เป็นกรอบแนวทางการพัฒนาในระยะ
20 ปีต่อจากน้ี ประกอบดว้ ย 6 ยุทธศาสตร์ไดแ้ ก่
1. ยทุ ธศาสตร์ด้านความมั่นคง
2. ยทุ ธศาสตรด์ ้านการสร้างความสามารถในการแข่งขนั
3. ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพคน
4. ยทุ ธศาสตรด์ ้านการสรา้ งโอกาสความเสมอภาคและเทา่ เทียมกนั ทางสังคม
5. ยุทธศาสตรด์ ้านการสร้างการเตบิ โตบนคุณภาพชีวิตทเี่ ปน็ มิตรกับส่ิงแวดล้อม
6. ยุทธศาสตร์ดา้ นการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจดั การภาครัฐ
เพ่ือมุ่งสู่วิสัยทัศน์และทิศทางการพัฒนาประเทศความม่ันคงมั่งคั่งย่ังยืนเป็นประเทศพัฒนาแล้ว
ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงประเด็นท่ีสาคัญเพ่ือแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติให้
เกิดผลสัมฤทธ์ิได้อย่างแท้จริงตามยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพคนคือคือการเตรียมความ
พร้อมด้านกาลังคนและการเสริมสร้างศักยภาพของประชากรในทุกช่วงวัยมุ่งเน้นการยกระดับคณุ ภาพทุน
มนุษย์ของประเทศโดยพัฒนาคนให้เหมาะสมตามช่วงวัยเพื่อให้เติบโตอย่างมีคุณภาพการพัฒนาทักษะที่
สอดคล้องกับความต้องการในตลาดแรงงานและทักษะที่จาเป็นต่อการดารงชีวติ ในศตวรรษท่ี 21 ของคน
ในแต่ละช่วงวัยตามความเหมาะสมการเตรียมความพร้อมของกาลังคนด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่
จะเปล่ียนแปลงในอนาคตตลอดจนการยกระดับคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศดังน้ันเพื่อให้การ
ขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ชาติเพื่อเตรียมความพร้อมคนให้สามารถปรับตัวรองรับผลกระทบจากการ
เปล่ียนแปลงไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
กระทรวงศึกษาธิการจึงกาหนดเป็นนโยบายสาคัญและเร่งด่วนให้มีการปรับปรุงหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์และ
สาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมรวมท้ังเทคโนโลยีในกลุ่ มสาระ
169
การเรียนรกู้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี โดยมอบหมายให้สถาบันส่งเสริมการสอนดาเนินการตามประกาศ
ของกระทรวงศึกษาธิการตามคาสั่งกระทรวงศึกษาธกิ ารที่สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐานที่
293/2551 เร่ืองให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานลงวันที่ 11 กรกฎาคม 2551 กาหนดให้
สถานศึกษาในสังกัดจัดการเรียนการสอนโดยใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 ดงั น้ี
1. โรงเรยี นต้นแบบการใช้หลักสตู รและโรงเรียนท่ีมคี วามพร้อมตามรายชือ่ ที่กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในปีการศึกษา 2552 ให้ใช้ในชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 1-6 และช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 และ 4 ในปีการศึกษาถัดไปก็เพิ่มชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1
และ 2 และชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 และ 5 จนครบทกุ ชั้นในปีการศกึ ษา 2554
2.โรงเรียนทั่วไปให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในปีการศึกษา
2553 ให้ใช้ในชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1-6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4 ในปีการศึกษาถัดไปก็เพิ่มช้ัน
มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 และ 2 และช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 และ 5 จนครบทกุ ช้ันในปีการศกึ ษา 2555
วสิ ยั ทศั น์
หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน มงุ่ พฒั นาผู้เรยี นทุกคนซ่ึงเปน็ กาลังของชาติ ใหเ้ ป็นมนุษย์
ทีม่ คี วามสมดุลท้ังด้านรา่ งกาย ความร้คู ุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมอื งไทย และพลโลก ยึดม่ันใน
การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขมีความรู้และทักษะพ้ืนฐาน
รวมทั้งเจตคติที่จาเป็นต่อการศึกษาต่อการประกอบอาชีพโดยมุ่งเนน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญบนพื้นฐานความเช่อื ว่า
ทุกคนสามารถเรยี นรแู้ ละพัฒนาตนเองได้เต็มศกั ยภาพ
หลักการ
1. เป็นหลักหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการ
เรียนรู้เป็นเป้าหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชน ให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐาน
ของความเปน็ ไทย ควบค่กู ับความเป็นสากล
2. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือปวงชนท่ีประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค
และมคี ณุ ภาพ
3. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอานาจให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาให้
สอดคล้องกบั สภาพหรอก ความตอ้ งการของท้องถิน่
4. เป็นหลกั สูตรการศกึ ษาท่มี ีโครงสร้างยืดหยุน่ ท้งั ดา้ นสาระการเรียนรู้ เวลา การจัดการเรยี นรู้
5. ในหลักสูตรการศึกษาท่ีเนน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญ
170
6. เป็นหลักสูตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบนอกระบบและตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก
กลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรยี นร้แู ละประสบการณ์
จุดหมาย
1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีพึงประสงค์เห็นคุณค่าของตนเองมีวินัยและปฏิบัติตนตาม
หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาทต่ี นนับถอื ยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2. มีความรู้ความสามารถในการสอ่ื สาร การคดิ การแกป้ ัญหา การใช้เทคโนโลยี และทักษะชวี ิต
3. มีสุขภาพกายและสขุ ภาพจิตทด่ี ี มีสุขนสิ ัยและรักการออกกาลงั กาย
4. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการ
ปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข
5. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม จิต
สาธารณะที่มุ่งทาประโยชน์และ สรา้ งสิ่งทด่ี งี ามในสงั คมและอยรู่ ว่ มกันในสังคมอย่างมีความสขุ
สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น
1.ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการรับส่งและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้
ภาษาถ่ายทอดความคิดความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึกและทัศนะของตนเอง เพ่ือแลกเปลี่ยนขอ้ มูลข่าวสาร
และประสบการณ์อันเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเอง และสังคมรวมท้ังการเจรจาต่อรองเพ่ือขจดั และ
ลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับขอ้ มูลข่าวสารด้วยหลักเหตแุ ละความถูกตอ้ ง ตลอดจน
การเลือกใช้วธิ ีการสอื่ สารท่ีมีประสทิ ธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม
2.ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคดิ วิเคราะห์การคิดสงั เคราะห์การคดิ สร้างสรรค์
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิดเป็นระบบเพ่ือนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ เพ่ือการ
ตดั สินใจเกีย่ วกบั ตนเองและสงั คมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
3.ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปญั หาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่ีเผชิญได้
อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์
และการเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆในสังคม แสวงหาความรู้ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกัน
และแก้ไขปัญหาและมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่เกิดข้ึนต่อตนเองสังคมและ
สิง่ แวดลอ้ ม
4.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่างๆ ไปใช้ในการ
ดาเนินชีวิตประจาวนั การเรยี นรู้ด้วยตนเองการเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองการทางานและการอยู่รว่ มกนั ในสังคม
ด้วยการสรา้ งเสรมิ ความสัมพนั ธอ์ ันดีระหว่างบุคคลการจัดการปัญหาและความขัดแย้งตา่ งอย่างเหมาะสม
171
การปรับตัวให้ทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อมและการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมท่ีไม่
พงึ ประสงคท์ สี่ ง่ ผลกระทบต่อตนเองและผ้อู น่ื
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลอื กใช้เทคโนโลยีด้านต่างๆ และมี
ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้การสอื่ สารการทางาน
การแกป้ ัญหาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ถูกตอ้ งเหมาะสมและมคี ุณธรรม
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐานพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถ
อยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคม ได้อย่างมีความสุขในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้ 1) รักชาติศาสนา
กษัตริย์ 2) ซ่ือสัตย์สุจริต 3) มีวินัย 4) ใฝ่เรียนรู้ 5) อยู่อย่างพอเพียง 6) มุ่งม่ันในการทางาน 7) รักความ
เปน็ ไทย และ 8) มีจิตใจสาธารณะ
สาระการเรียนรู้
สาระการเรียนรู้ หมายถึง สาระสาคัญหรือแก่นของความรู้ จัดสาระการเรียนรู้ตามพัฒนาการทาง
สมองและพหุปัญญาของผู้เรียน ดังน้ี 1) ภาษาไทย 2) คณิตศาสตร์ 3) วิทยาศาสตร์ 4) สังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม 5) สุขศึกษาและพลศึกษา 6) ศิลปะ 7) การงานอาชีพและเทคโนโลยี และ 8)
ภาษาตา่ งประเทศ
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้ หมายถึง สิ่งที่ผู้เรียนรู้และสามารถทาอะไรได้ตามที่กาหนดไว้ มาตรฐานการ
เรียนรู้มี 2 ประเภท ไดแ้ ก่
1) มาตรฐานวิชาการ (Academic Standard) เป็นสิ่งท่ีผู้เรียนต้องรู้และเข้าใจอย่างลึกซึ้งและ
สามารถทาได้ในชว่ งเวลาทก่ี าหนด
2) มาตรฐานการปฏิบัติ (Performance Standard) เป็นผลการปฏิบัติหรือระดับความสามารถท่ี
ผู้เรียนจะต้องแสดงออก ซึ่งแต่ละกลุ่มสาระจะเขียนในลักษณะรวมกับมาตรฐานวิชาการหรือบางกลุ่ม
สาระจะเขียนแยกเฉพาะ เช่น กลมุ่ สาระคณติ ศาสตร์ในสาระที่ 6 คอื ทักษะกระบวนการทางคณติ ศาสตร์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้ไว้จานวน
67 มาตรฐานการเรยี นรู้
ตวั ชีว้ ัด
ตัวช้ีวัดมีลักษณะการเขียนท่ีประกอบด้วยคากริยา และประเด็นของสาระหลัก (Main Concept)
ดังนี้
172
1) ระบุส่ิงท่ีผู้เรียนต้องรู้และปฏิบัติได้รวมทั้งคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนในแต่ละ
ระดบั ชั้น
2) มคี วามสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้
3) มีความเฉพาะเจาะจงและเป็นรปู ธรรม
4) นาไปใชก้ าหนดเน้อื หาสาระการจัดทาหน่วยการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ และเป็นเกณฑส์ าหรับ
การวัดประเมินผล เพื่อตรวจสอบคุณภาพผู้เรียน
ตัวชี้วัดแบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ตัวช้ีวัดชั้นปี เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนแต่ละช้ันปีใน
ระดับการศึกษาภาคบังคับ (ป.1-3) และตัวชี้วัดช่วงช้ัน เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนในระดับ
มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-6)
กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นกิจกรรมที่มุ่งให้ผู้เรียนพัฒนาตนเองตามศักยภาพอย่างรอบด้าน
เพอ่ื ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ท้ังร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสรา้ งให้มีศีลธรรม จรยิ ธรรม
มรี ะเบียบวนิ ัย ปลูกฝังและสร้างจติ สานึกของการทาประโยชน์เพื่อสังคม สามารถจัดการตนเองได้ และอยู่
ร่วมกับผอู้ ่นื อย่างมคี วามสขุ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนมี 3 ลกั ษณะ เนน้ ความสอดคล้องกับคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ของโรงเรยี น ดงั นี้
1. กิจกรรมแนะแนว
2. กิจกรรมนักเรียน ประกอบด้วย กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บาเพ็ญประโยชน์
นกั ศึกษาวิชาทหาร และ กิจกรรมชมุ นมุ ชมรม
3. กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ เปน็ กิจกรรมท่ีม่งุ ปลูกฝังให้ผู้เรียนเกิดจิตอาสา โดย
ผา่ นกระบวนการกิจกรรมท่ีสง่ เสริมให้ผู้เรียนบาเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชนและท้องถิ่น ตาม
ความสนใจ แสดงถงึ ความรบั ผดิ ชอบและเสยี สละตอ่ ชมุ ชนและสังคม ตามจานวนเวลาดงั นี้
ก) ระดับประถมศึกษา รวม 6 ปี 60 ชั่วโมง
ข) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น รวม 3 ปี 45 ชว่ั โมง
ค) ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รวม 3 ปี 60 ช่ัวโมง
ระดบั การศกึ ษาเวลาเรียน
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 แบง่ ระดับการศกึ ษาเป็น 3 ระดับ ได้แก่
ระดับประถมศึกษา ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น และระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย มีเวลาเรยี น ดังน้ี
1. ระดบั ประถมศึกษา (ป.1 – ป.6) จดั ทาหลกั สูตรเป็นรายปี มเี วลาเรยี นวันละไมเ่ กนิ 5 ช่วั โมง
173
2. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1 – ม. 3) จัดหลักสูตรเป็นรายภาค มีเวลาเรียนวันละไม่เกิน 6
ช่ัวโมง คิดน้าหนักของรายสาระการเรียนรู้ท่ีเรียนเป็นหน่วยกิต ใช้เกณฑ์ 40 ชั่วโมงต่อภาคเรียน มีค่า
น้าหนักเทา่ กบั 1 หน่วยกิต
3. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 – ม.6) จัดหลักสูตรเป็นรายภาค มีเวลาเรียนวันละไม่น้อย
กว่า 6 ชั่วโมง คิดน้าหนักของรายวิชาท่ีเรียนเป็นหน่วยกิต ใช้เกณฑ์ 40 ช่ัวโมงต่อภาคเรียน มีค่าน้าหนัก
เทา่ กับ 1 หนว่ ยกิต
หลกั การจัดการเรียนรู้
1. ยึดหลักผ้เู รยี นมีความสาคัญ เชอื่ ว่าทกุ คนสามารถเรยี นรแู้ ละพัฒนาตนเองได้
2. จัดกระบวนการเรียนรู้ เน้นการเรียนรู้ด้วยตนเองเป็นหลัก ใช้วิธีการสอนท่ีหลากหลาย
เหมาะสมกบั ผเู้ รยี นรายบคุ คล
3. ออกแบบการจัดการเรียนรู้ใช้วิธีการ กิจกรรมสื่อและแหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมินผลที่
เหมาะสมกบั ผู้เรยี น
บทบาทผ้สู อนและผเู้ รยี น
บทบาทผ้สู อน
1. วิเคราะหผ์ ู้เรียนและนาข้อมูลมาวางแผนการจัดการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับความต้องการและ
ความสนใจของผู้เรยี น
2. กาหนดผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ การคดิ ทักษะ กระบวนการ และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์
3. ออกแบบและจัดการเรียนรูท้ ่ีสอดคล้องกบั การพัฒนาสมอง และความแตกตา่ งระหว่างบุคคล
4. จดั บรรยากาศที่เออ้ื ต่อการเรยี นรู้ และระบบการดูแลช่วยเหลือผ้เู รยี น
5. เลอื กใช้สื่อเทคโนโลยภี ูมิปญั ญาท้องถิ่นท่เี หมาะสมกบั กิจกรรมการเรยี นรู้
6. ใชว้ ธิ ีการประเมนิ ตามสภาพจริง
7. นาผลการประเมินมาพัฒนาผเู้ รยี น และปรับปรุงการจดั การเรียนรู้
บทบาทของผเู้ รียน
1. กาหนดเปา้ หมายการเรยี นรู้ วางแผนและรบั ผดิ ชอบการเรียนร้ขู องตนเอง
2. แสวงหาความรู้จากแหล่งการเรียนรู้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ ต้ังคาถามและ
หาแนวทางแก้ปัญหาด้วยวิธีการตา่ ง ๆ
3. ลงมือปฏิบัติ สรปุ สง่ิ ท่เี รียนร้ดู ้วยตนเองและนาไปประยุกตใ์ ช้ในสถานการณต์ ่าง ๆ
4. มีปฏิสมั พนั ธใ์ นการเรยี นรแู้ ละรว่ มกิจกรรมกับกลุ่มเพอ่ื นและผสู้ อน
5. ประเมนิ และพฒั นาการเรยี นรู้ของตนเองอยา่ งต่อเนื่อง
174
ส่อื การเรยี นรู้
ส่ือการเรียนรู้เป็นตัวกลางสาหรับส่งเสริมและสนับสนุนกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างมี
ประสิทธิภาพ เช่น สอ่ื ธรรมชาติ สื่อสง่ิ พิมพ์ สือ่ เทคโนโลยี ตลอดจนเครอื ข่ายการเรยี นรทู้ ี่มใี นท้องถนิ่ การ
ใช้สื่อการเรียนรู้จะต้องเลือกให้มีความเหมาะสมกับระดับพัฒนาการและรูปแบบการเรียนรู้ ท่ีหลากหลาย
ของผเู้ รยี นแต่ละคน
การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 4 ระดับ ได้แก่
1. การประเมินระดับชัน้ เรียน เป็นการและประเมินผลท่ีอยู่ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ เน้นการ
วดั และประเมินผลตามสภาพจริง
2. การประเมนิ ระดบั สถานศึกษา เป็นการวัดและประเมินผลการเรียนเป็นรายปี รายภาค รวมท้ัง
การอ่าน วเิ คราะห์และเขียน คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ และกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน
3. การประเมินระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนตามาตรฐานการเรียนรู้
เพอื่ ใชเ้ ปน็ ข้อมลู พ้ืนฐานสาหรบั การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษา
4.การประเมินระดับชาติ เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่
สถานศึกษาตอ้ งจัดให้ผเู้ รยี นทุกคนท่เี รยี นในช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 3 และช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 6 เข้ารับการประเมิน
เกณฑก์ ารจบการศกึ ษา
1.ระดับประถมศึกษา
1.1 ผู้เรียนเรียนสาระพ้ืนฐาน และสาระ/กิจกรรมเพิ่มเติม ตามโครงสร้างเวลาเรียนท่ีหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐานกาหนด
1.2 ผู้เรยี นต้องมผี ลการประเมนิ สาระพน้ื ฐานผ่านเกณฑ์การประเมนิ ตามทีส่ ถานศึกษากาหนด
1.3 ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน วิเคราะห์และเขียน ในระดับที่ผ่านเกณฑ์การประเมินตาม
สถานศึกษากาหนด
1.4 ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับท่ีผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่
สถานศกึ ษากาหนด
1.5 ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่
สถานศกึ ษากาหนด
175
2. ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น
2.1 ผู้เรียนเรียนสาระพ้ืนฐานและเพิ่มเติมไม่เกิน 81 หน่วยกิต โดยเป็นสาระพื้นฐาน 63 หน่วย
กติ และสาระเพิม่ เติมตามทีส่ ถานศึกษากาหนด
2.2 ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็นสาระพื้นฐาน 63
หนว่ ยกติ และสาระเพิม่ เติมไม่นอ้ ยกว่า 14 หน่วยกิต
2.3 ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน วิเคราะห์และเขียน ในระดบั ท่ีผา่ นเกณฑ์การประเมินตามที่
สถานศึกษากาหนด
2.4 ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน วิเคราะห์และเขยี น ในระดับที่ผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่
สถานศกึ ษากาหนด
2.5 ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี
สถานศกึ ษากาหนด
3.ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
3.1 ผู้เรียนเรียนสาระพ้ืนฐานและเพิ่มเติมไม่เกิน 81 หน่วยกิต โดยเป็นสาระพ้ืนฐาน 39 หน่วย
กิต และสาระเพ่มิ เติมตามทส่ี ถานศึกษากาหนด
3.2 ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็นสาระพ้ืนฐาน 39
หนว่ ยกติ และสาระเพิม่ เติมไม่นอ้ ยกว่า 38 หน่วยกติ
3.3 ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน วิเคราะห์และเขียน ในระดบั ที่ผา่ นเกณฑ์การประเมินตามท่ี
สถานศึกษากาหนด
3.4 ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับที่ผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี
สถานศึกษากาหนด
3.5 ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่
สถานศึกษากาหนด
การเทียบโอนผลการเรียน
การเทยี บโอนผลการเรยี นสามารถดาเนนิ การไดด้ ังน้ี
1.พิจารณาจากหลักฐานการศึกษาและเอกสารอื่นๆ ท่ีให้ข้อมูลแสดงความรู้ ความสามารถของ
ผูเ้ รยี น
2. พิจารณาจากความรู้ ความสามารถของผู้เรียน โดยการทดสอบดว้ ยวธิ ีต่างๆ ทัง้ ภาคความรแู้ ละ
ภาคปฏบิ ัติ
3. พิจารณาจากความสามารถและการปฏบิ ัตใิ นสภาพจริง
176
คาส่ังและประกาศท่เี กยี่ วข้อง
ภายหลังการใช้หลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 พบว่า ควรมีการปรับปรุง
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารจึงมีคาส่ัง ดงั นี้
1) คาส่ัง ท่ี สพฐ. 1239/2560 เร่ือง ให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดกลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ลงวันท่ี 7 สิงหาคม พ.ศ. 2560 โดยรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงศึกษาธิการ คอื นายธรี ะเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ มรี ายละเอยี ดดงั นี้
เพื่อให้การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม
สภาพแวดล้อม และความร้ทู าวิทยาศาสตร์ตร์และเทคโนโลยีท่ีเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็วเป็นการพัฒนา
และเสริมสร้างศักยภาพคนของชาติให้สามารถเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ การ
ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ให้มีคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล สอดคล้องกับประเทศ
ไทย 4.0 โลกในศตวรรษที่ 21 และทัดเทียมกับนานาชาติ ผู้เรียนมีศักยภาพในการแข่งขันและดารงชีวิต
อยา่ งสร้างสรรค์ในประชาคมโลก ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ฉะน้ัน อาศัยอานาจตามความในมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 และมาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบราชการ
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดกลุ่ม
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 ) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551 ดังปรากฏแนบท้ายคาสั่งนี้ แทนมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณติ ศาสตร์วิทยาศาสตร์ และสาระภมู ิศาสตร์ ในกล่มุ สาระการเรยี นร้สู ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551
เง่ือนไขและระยะเวลาการใชม้ าตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชีว้ ดั กลุม่ สาระการเรยี นรู้
คณติ ศาสตร์วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และ
วฒั นธรรม (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560 ) ให้เปน็ ไปดงั น้ี
1. ปกี ารศกึ ษา 2561 ให้ใช้ในช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 1 และ4 และชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 และ4
2. ปีการศึกษา 2562 ให้ใช้ในชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 2 4 และ5 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 2 4
และ 5
3. ต้งั แตป่ ีการศึกษา 2563 เปน็ ต้นไป ใหใ้ ชใ้ นทุกชัน้ เรยี น
177
ให้เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมีอานาจในการยกเลิก เพิ่มเติม เปลี่ยนแปลง
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วดั กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ใน
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551
2) คาสง่ั สพฐ. ที่ 922/2561 เรอ่ื ง การปรบั ปรุงโครงสรา้ งเวลาเรียน ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ลงวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 โดยเลขาธิการคณะกรรมการ
ศึกษาข้นั พน้ื ฐาน คอื นายบุญรักษ์ ยอดเพชร มรี ายละเอยี ดดังน้ี
อนุสนธิคาส่ังกระทรวงศึกษาธิการที่สพฐ. 1231/2520 สั่ง ณ วันท่ี 7 สิงหาคม 2560 เร่ือง ให้ใช้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ใน
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และคาสั่งสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พ้นื ฐาน ที่ 30/2561 ส่ัง ณ วันที่ 5 มกราคม 2561 เรื่อง ให้เปล่ียนแปลงมาตรฐานการเรยี นรู้และตัวช้ีวัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 เพ่ือให้สถานศึกษาพัฒนาผู้เรียนให้มีศกั ยภาพในการแข่งขันและ
ดารงชีวติ อย่างสรา้ งสรรคใ์ นประชาคมโลก ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ฉะนั้น อาศัยอานาจตามคาสั่งกระทรวงศึกษาธิการท่ี สพฐ. 293/2551 เร่ือง ให้ใช้หลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ให้เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานโดย
ความเห็นชอบของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีอานาจในการยกเลิก เพิ่มเติม เปลี่ยนแปลง
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายและวิธีการจัด
การศึกษา ดังน้ัน เพื่อให้สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการเวลาเรียนได้เหมาะสมกับบริบทและจุดเน้น
ของสถานศกึ ษา โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในคราวประชุมคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน คร้ังที่ 4/2561 เมื่อวันท่ี 20 เมษายน 2561 จึงปรับปรุงโครงสร้างเวลาเรียนให้มี
ความยืดหยุน่ ดงั นี้
1. ระดับประถมศกึ ษา
1) ปรับเวลาเรียนพื้นฐานของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้ตามความเหมาะสม สอดคล้องกับ
บริบท จุดเน้นของสถานศึกษา และศักยภาพของผู้เรียน โดยจัดเวลาเรียนพ้ืนฐานสาหรับสาระ
ประวัตศิ าสตร์ 40 ชัว่ โมงต่อปี ทงั้ น้ี ต้องมีเวลาเรียนพน้ื ฐานรวม จานวน 840 ชว่ั โมงต่อปี และผ้เู รยี นตอ้ ง
มคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชี้วัดท่กี าหนด
178
2) จัดเวลาเรียนเพิ่มเติม โดยจัดเป็นรายวิชาเพ่ิมเติม หรือกิจกรรมเพิ่มเติมให้สอดคล้องกับ
จุดเน้นและความพร้อมของสถานศึกษา และเกณฑ์การจบหลักสูตร เฉพาะระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 -
3 สถานศึกษาอาจจัดใหเ้ ปน็ เวลาสาหรบั สาระการเรยี นรู้พื้นฐานในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยและกลุ่ม
สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์
3) จดั เวลาสาหรบั กิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น จานวน 120 ชว่ั โมงต่อปี
4) จัดเวลาเรียนรวมท้ังหมด ให้เป็นไปตามความเหมาะสมของสถานศึกษา ทั้งนี้ ควรคานึงถึง
ศกั ยภาพและพัฒนาการตามช่วงวยั ของผ้เู รยี นและเกณฑก์ ารจบหลกั สตู ร
2. ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้
1) ปรับเวลาเรียนพื้นฐานของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้ตามความเหมาะสม สอดคล้องกับ
บริบท จุดเน้นของสถานศึกษา และศักยภาพของผู้เรียน โดยจัดเวลาเรียนพื้นฐานสาหรับสาระ
ประวัติศาสตร์ 40 ช่ัวโมงต่อปี หรือ 1 หน่วยกิตต่อปี ทั้งนี้ ต้องมีเวลาเรียนพ้ืนฐานรวม จานวน 480
ช่ัวโมงต่อปี หรือ 22 หน่วยกิตต่อปี และผู้เรียนต้องมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่
กาหนด และสอดคลอ้ งกบั เกณฑ์การจบหลักสูตร
2) จดั เวลาเรยี นเพิม่ เติม โดยจัดเปน็ รายวชิ าเพ่ิมเติมหรือกจิ กรรมเพิ่มเติมใหส้ อดคลอ้ งกบั จดุ เน้น
และความพร้อมของสถานศกึ ษา และเกณฑก์ ารจบหลักสตู ร
3) จัดเวลาสาหรบั กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น จานวน 120 ช่วั โมงต่อปี
4) จัดเวลาเรียนรู้วมท้ังหมด ให้เป็นไปตามความเหมาะสมของสถานศึกษา ทั้งนี้ ควรคานึงถึง
ศักยภาพและพฒั นาการตามช่วงวัยของผู้เรยี นและเกณฑ์การจบหลักสูตร
3. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
1) ปรับเวลาเรียนพื้นฐานของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้ตามความเหมาะสม สอดคล้องกับ
บริบท จุดเน้นของสถานศึกษา และศักยภาพของผู้เรียน โดยจัดเวลาเรียนพื้นฐานสาหรับสาระ
ประวัติศาสตร์ รวม 3 ปี จานวน 80 ช่ัวโมง หรือ 2 หน่วยกิต ท้ังน้ี ต้องมีเวลาเรียนพื้นฐานรวม 3 ปี
จานวน 1,640 ช่ัวโมง หรือ 41 หน่วยกิต และผู้เรียนต้องมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่
กาหนด และสอดคลอ้ งกบั เกณฑก์ ารจบหลักสตู ร
2) จัดเวลาเรียนเพ่ิมเติม โดยจัดเป็นรายวิชาเพิ่มเติม หรือกิจกรรมเพิ่มเติมให้สอดคล้องกับ
จุดเน้นและความพร้อมของสถานศกึ ษา และเกณฑ์การจบหลกั สตู ร
3) จัดเวลาสาหรบั กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น รวม 3 ปี จานวน 360 ช่วั โมง
4) จัดเวลาเรียนรวมท้ังหมด ให้เป็นไปตามความเหมาะสมของสถานศึกษา ทั้งน้ี ควรคานึงถึง
ศกั ยภาพและพัฒนาการตามชว่ งวยั ของผเู้ รียนและเกณฑ์การจบหลักสูตร
179
สรุปลักษณะของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีรายละเอียด
ดังนี้ 1) เป็นหลักสูตรที่สถานศึกษาและท้องถ่ินนาไปใช้เป็นกรอบทิศทางในการจัดทาหลักสูต ร
สถานศึกษาและการจัดการเรียนรู้ 2) มีมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดเป็นเป้าหมายของการพัฒนาการ
เรียนรู้ของผู้เรียนตลอดแนว 3) ใช้เป็นกรอบทิศทางสาหรับการจัดการศึกษาทุกรูปแบบและทุกกลุ่ม
ผเู้ รียนในระดับการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน (วิโฬฏฐ์ วัฒนานิมิตรกูล, 2559: 42)
จากข้างต้น จึงขออธิบายหลักสูตรสถานศึกษา โดยจะอธิบายถึงความสาคัญและความจาเป็น
จุดมงุ่ หมายที่สาคญั ของหลกั สูตรสถานศกึ ษา และตวั อย่างหลกั สูตรสถานศกึ ษา ดังน้ี
2. หลกั สตู รสถานศกึ ษา
สถานศึกษาเป็นหน่วยงานท่ีจัดการศึกษาเป็นแหล่งของการแสวงหาความรู้จึงต้องมีหลักสูตรเป็นของ
ตนเอง คือหลักสูตรสถานศึกษาต้องครอบคลุมภาระงานการจัดการศึกษาทุกด้านหลักสูตรสถานศึกษาจึง
ประกอบด้วยการเรียนรู้ท้ังมวลเป็นประสบการณ์อ่ืนๆ ที่สถานศึกษาแต่ละแห่งวางแผนเพ่ือพัฒนาผู้เรียนซ่ึง
เกิดจากการมีสว่ นรว่ มของบุคลากรและผูเ้ กี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา
หลักสูตรสถานศึกษา เป็นแบบแผนหรือแนวทางหรือข้อกาหนดของการจัดการที่จะพัฒนาให้
ผ้เู รียนมีความรู้ ความสามารถโดยส่งเสรมิ ให้แต่ละบุคคลพฒั นาไปสู่ศักยภาพสงู สดุ ของตนรวมถงึ ระดับข้ัน
ของมวลประสบการณ์ท่ีก่อให้เกิดการเรียนรู้สะสมซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนนาควา มรู้ไปสู่การปฏิบัติได้
ประสบการณ์สาเร็จในการเรียนรดู้ ้วยตนเอง รู้จักตนเอง มีชวี ิตอยู่ในโรงเรียน ชุมชน สังคม และโลกอย่าง
มคี วามสขุ
ความสาคัญและความจาเปน็ ของหลักสตู รสถานศกึ ษา
สถานศึกษาจาเป็นต้องจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาตามกรอบของหลักสูตรแกนกลางท่ีก รม
วิชาการกาหนดไว้ พระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 ดว้ ยเหตผุ ลดงั ต่อไปน้ี
มาตรา 27 ระบุข้อความทม่ี สี ่วนเกี่ยวข้องกับบทบาทหน้าท่ีของสถานศกึ ษา ในการนาหลักสตู รไป
ใช้โดยตรง ซ่ึงกาหนดไว้ว่า ให้คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานกาหนดหลักสูตรแนวทางการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐานเพ่ือความเป็นไทย ความเป็นพลเมืองที่ดีของชาติ การดารงชีวิตและการประกอบอาชีพ ตลอดจน
เพือ่ การศึกษาต่อ และใหส้ ถานศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน มหี น้าทจ่ี ัดทาสาระของหลกั สูตรตามวัตถปุ ระสงคใ์ นวรรค
หนึ่งในส่วนที่เก่ียวกับปัญหาในชุมชนและสังคมภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณลักษณะอันพึงประสงค์เพ่ือเป็น
สมาชิกทีด่ ขี องครอบครัว ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติ
180
จากข้างต้นจะเห็นได้ว่า สถานศึกษาจัดทาสาระของหลักสูตร จากหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน ในส่วนที่เก่ียวกับปัญหาในชุมชนและสังคมภูมิปัญญาท้องถ่ิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อ
เป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชนและประเทศชาติ รวมทัง้ ทาหลกั สูตรใหเ้ ป็นไปตามความต้องการของ
ผู้เรียน โดยมนนิภา ชุติบุตร (2538) ได้เสนอแนวทางการนาภูมิปัญญาท้องถิ่นไปใช้ในการจัดทาหลักสูตร
สถานศกึ ษาดังน้ี
1. เน้นการศึกษา วิเคราะห์ ทาความเขา้ ใจวธิ ีคิดและความคิดของภมู ปิ ัญญาท้องถ่ิน
2. นากระบวนการหรือแนวคิดของภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ มาจดั ทาหลักสูตรสถานศึกษา
3. นากระบวนการคดิ ของภมู ิปญั ญาชาวบา้ นมาเสริมสร้างกับแนวคิดแบบวทิ ยาศาสตร์
4. สร้างกระบวนการคิด หลายมมุ โดยสง่ เสริมให้ผู้เรียนได้คิดอย่างอิสระแล้วเช่ือมโยงกับชีวิตจริง
5. ให้ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ มีส่วนรว่ มในการจัดทาหลกั สตู ร
หลักสูตรท่ีสร้างขึ้นจาเป็นต้องมีความสอดคล้องกับสภาพปัญหา และสนองความต้องการของ
สังคมท่ีใช้หลักสูตรนั้นๆ โดยเหตุนี้ หลักสูตรท่ีสร้างข้ึนมุ่งหมายในการใช้ในชุมชนแห่งใดแห่งหน่ึง
โดยเฉพาะ ก็ย่อมสามารถตอบสนองต่อความต้องการของสังคมได้มากท่ีสุด ท้องถิ่นและชุมชนมีสภาพที่
แตกต่างกัน เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็วการจะทาหลักสูตรระดับชาติไปใช้กับท้องถิ่นก็ไม่ทันกับ
ความเจรญิ ของเทคโนโลยี สถานศกึ ษาจึงตอ้ งจัดทาหลกั สูตรสถานศกึ ษาเอง
จุดมงุ่ หมายท่สี าคัญของหลกั สูตรสถานศกึ ษา
1. หลกั สูตรสถานศึกษา ควรพัฒนาผู้เรียนใหเ้ รยี นรู้อยา่ งมคี วามสุข เพื่อให้มีความรู้ความสามารถ
มีทักษะการเรียนที่สาคัญๆ มีกระบวนการคดิ อย่างมเี หตมุ ีผล มีโอกาสใช้ขอ้ มลู สารสนเทศ และเทคโนโลยี
ส่ือสาร หลักสูตรสถานศึกษาควรส่งเสริมจิตใจท่ีอยากรู้อยากเห็น สร้างความมั่นใจและให้กาลังใจในการ
เรียนรู้และเป็นบุคคลทส่ี ามารถเรียนรไู้ ดต้ ลอดเวลา
2. หลักสูตรสถานศึกษาควรส่งเสริมการพัฒนาด้านจิตวิญญาณ จริยธรรม สังคม และวัฒนธรรม
โดยเฉพาะพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความเข้าใจและศรัทธาในความเช่ือของตน ความเชื่อและวัฒนธรรมท่ี
แตกต่างกัน มีอิทธิพลต่อบุคคลและสังคมสถานศึกษาควรต้องพัฒนาหลักคุณธรรมและความอิสระของ
ผู้เรียน มีความพร้อมในการเป็นผู้บริโภคทีต่ ัดสินใจแบบมีข้อมูลและเป็นอสิ ระเข้าใจในความรับผิดชอบที่มี
ต่อสังคมโดยรวม สามารถช่วยพัฒนาสังคมให้ความเป็นธรรม มีความเสมอภาค มีความตระหนัก เข้าใจ
และยอมรับที่ตนดารงอยู่ได้ ยึดมั่นในข้อตกลงร่วมกันต่อการพัฒนาที่ย่ังยืนท้ังในระบบส่วนตน ระดับ
ท้องถ่ิน ระดับชาติ และระดับโลก หลักสูตรท่ีมีความหลากหลายตามสภาพและบริบทของท้องถิ่นที่
แตกต่างกัน แต่กม็ คี วามเชื่อมโยง กบั สาระการเรียนร้จู ากหลกั สูตรแกนกลางดงั แผนภาพต่อไปน้ี
181
ภาพที่ 8.2 ความเช่ือมโยงระหว่างคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคก์ ับมาตรฐานสาระการเรียนรู้
สาระการเรยี นร้ชู ่วงชัน้ สาระการเรยี นรรู้ ายปีคาอธบิ ายรายวชิ าและหนว่ ยการเรียนรู้
ท่มี า: วชิ ัย วงษใ์ หญ่ (2550: 427)
บทสรปุ
หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 เปน็ การตอ่ ยอดจากหลกั สูตรการศึกษา
ข้นั พื้นฐาน พ.ศ. 2544 ทม่ี ุ่งพัฒนาผู้เรยี นทุกคน ซ่ึงเป็นกาลังของชาติให้เป็นมนุษย์ท่มี ีความสมดุลทั้งด้าน
ร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตาม
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพ้ืนฐาน รวมท้ัง เจตคติ ที่
จาเป็นต่อการศึกษาต่อการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบน
พ้นื ฐานความเชอื่ ว่า ทกุ คนสามารถเรยี นรู้และพฒั นาตนเองไดเ้ ต็มตามศักยภาพ โดยหลักสตู รแกนกลาง มี
โครงสร้างยืดหยุ่นได้ กาหนดจุดหมายหรอื มาตรฐานการเรียนรู้ในภาพรวม 12 ปี กาหนดสาระการเรียนรู้
แต่ละกลุ่มสาระท้ัง 8 กลุ่ม และมาตรฐานการเรียนรู้ช่วงช้ัน โดยจัดเนื้อหาสาระเฉพาะท่ีจาเป็นในการ
พัฒนาคุณภาพชีวิตไทย หลักสูตรสถานศึกษา จัดทาสาระการเรียนรู้อย่างละเอียดเป็นรายปี/รายภาคให้
สอดคล้องกับสภาพปัญหา ชุมชน สังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้ผู้เรียนมีคุณสมบัติอันพึงประสงค์ โดยให้
สอดคลอ้ งกบั ความสามารถ ความถนัด ความสนใจของผู้เรยี น
182
เอกสารอา้ งอิง
กรมวิชาการ, กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544.
กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ องคก์ ารรับสง่ สนิ คา้ และพัสดุภัณฑ์ (รสพ.).
มณนภิ า ชุติบุตร. (2538). แนวทางการใชภ้ ูมิปัญญาท้องถ่ินในการจัดการเรียนการสอน. หมบู่ ้าน, 7(87): 5.
วิชยั วงษใ์ หญ่. (2550). “ผู้เรยี นเปน็ สาคัญ”. สารานุกรมวิชาชีพครู เฉลมิ พระเกียรติ พระบาทสมเดจ็ พระ
เจา้ อยหู่ ัวเนื่องในโอกาสฉลองสริ ริ าชสมบตั ิครบ 60 ปี. กรุงเทพฯ: สานักงานเลขาธกิ ารครุ ุสภา.
วิโฬฏฐ์ วัฒนานมิ ิตกลู . (2559). การพัฒนาหลักสตู รและการสอน ปจั จยั ความสาเร็จของการจดั
การศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์ บริษัท สหธรรมกิ จากัด.
สานักวิช าการและมาตรฐ านการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ื นฐ าน
กระทรวงศึกษาธิการ. (2561). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551
และมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดฯ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) . 6 ก.ค. 2562
http://academic.obec.go.th/newsdetail.php?id=75
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
และทแ่ี กไ้ ขเพมิ่ เติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.
183
บทท่ี 9
ปัญหาและแนวโน้มการพฒั นาหลกั สตู รในศตวรรษที่ 21
วโิ ฬฏฐ์ วัฒนานิมิตกูล
บทนา
ในการพฒั นาหลักสูตรดังได้กล่าวมาแลว้ จะเห็นได้ว่า เป็นกระบวนการดาเนินงาน ที่จาเป็นต้องมี
ปจั จยั เกอื้ หนนุ ต่างๆ อีกทง้ั ต้องกาหนดกระบวนการทางานอย่างรัดกมุ ภายใต้การสง่ เสรมิ สนับสนนุ จากทุก
ฝา่ ยที่เกี่ยวข้องและจาเป็นตอ้ งได้รับการประเมนิ ผลอยา่ งเป็นรูปธรรม ดังน้นั หากการดาเนินการในส่วนใด
ขาดความสมบูรณ์ย่อมส่งผลกระทบต่อเน่ืองกันท้ังระบบของการพัฒนาหลักสูตร สาหรับเน้ือหาสาระใน
บทนี้จึงนาเสนอให้เห็นปัญหาในการพัฒนาหลักสูตรในแง่มุมต่างๆ เพื่อให้ผู้ที่เก่ียวข้องกับการพัฒนา
หลักสูตรได้พิจารณาและหลีกเลี่ยงหรือหากลไกในการป้องกันมิให้เกิดปัญหาดังกล่าว และเพื่อให้
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรมีความทันสมัยสอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงของโลกผู้เขียนได้นาเสนอ
แนวโน้มการพัฒนาหลักสูตรในศตวรรษที่ 21 เพื่อให้เป็นข้อมูลและกรอบแนวทางในการพัฒนาหลักสูตร
ต่อไป
1. ปญั หาในการพัฒนาหลักสูตร
จากที่ได้กล่าวมาแล้วว่าการพัฒนาหลักสูตรประกอบด้วยกระบวนการหลัก 3 ประการ คือ การสร้าง
หลักสูตร การนาหลักสูตรไปใช้ และการประเมินหลักสูตร ดังน้ันปัญหาในการพัฒนาหลักสูตรในภาพรวม
น้ันจงึ มักมีปัญหาท่ีเกิดข้ึนในกระบวนการพฒั นาหลักสตู รดังกล่าว ซง่ี สามารถสรุปได้เปน็ 4 ประเดน็ หลักๆ
ได้แก่ ปัญหาด้านงบประมาณในการดาเนินการ ปัญหาด้านบุคลากร ปัญหาด้านวัสดุอุปกรณ์ และปัญหา
ด้านการบริหารหลักสูตร ดังท่ีสุนีย์ ภู่พันธ์ (2546, หน้า 311-313) และบุญเลี้ยง ทุมทอง (2553, หน้า
354-355) ได้กลา่ วไว้อย่างสอดคล้องกนั สรุปได้ ดังน้ี
1.ปญั หาด้านงบประมาณ
การพัฒนาหลักสูตรมีการจัดเตรียมงบประมาณสาหรับการดาเนินงานที่ไม่เพียงพ อสาหรับการ
ดาเนนิ การตา่ งๆ ดงั น้ี
1) งบประมาณสาหรับการวจิ ัยเพื่อศกึ ษารวบรวมขอ้ มลู พื้นฐานสาหรับการพฒั นาหลักสตู ร
184
2) งบประมาณสาหรับการอบรมครู และผู้ที่เกี่ยวข้องเพ่ือให้ทราบถึงวัตถุประสงค์ของการ
ปรับปรุงหลักสูตร การดาเนินการต่างๆ รวมท้ังเทคนิควิธีการในการปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับ
บรบิ ทของท้องถ่นิ
3) งบประมาณสาหรับการทดลองใช้หลกั สูตรอย่างเปน็ ระบบและทวั่ ถงึ ซง่ึ หากมงี บประมาณไม่
เพียงพอในการทดลอง ย่อมส่งผลให้การพัฒนาหลกั สูตรไม่มีประสทิ ธภิ าพ
4) งบประมาณสาหรับการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงแบบเรียน เช่น การจัดพิมพ์ตารา ชุดการสอน
รวมทงั้ คมู่ อื การใช้หลกั สูตรเพือ่ เผยแพร่ให้ครบทุกสถานศึกษา
2. ปญั หาดา้ นบคุ ลากร
บุคลากรท่ีเก่ียวข้อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งครูผู้สอน และผู้บริหารสถานศึกษา ขาดความรู้ความ
เข้าใจ เก่ียวกับกระบวนการในการพัฒนาหลกั สตู ร ดงั นี้
1) ครูผู้สอนไม่ทราบหรือไม่เข้าใจหรือไม่เห็นด้วยกับการแก้ไข ปรับปรุง และเปล่ียนแปลงหลักสูตร
เม่ือมีกรเปล่ียนแปลงหรือปรับปรุงหลักสูตรจึงจาเป็นต้องให้ครูรับทราบ และปฏิบัติตามโดยทั่วกนั เพราะ
ครูส่วนใหญ่มิได้เป็นกรรมการในการปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรโดยตรง ดังนั้นผู้ท่ีไม่ทราบจาเป็นต้องได้รับ
การอบรมชีแ้ จงใหเ้ ขา้ ใจถึงวัตถุประสงค์ เน้อื หาวิชา วิธีสอน การวัดผลและขอ้ ปลีกย่อยอ่นื ๆ
2) ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาบางสว่ นอาจไมเ่ หน็ ด้วยกบั การส่งเสรมิ การพฒั นาหลักสูตรเพราะตอ้ งใช้
งบประมาณจานวนมากในการสนับสนุนบุคลากร เช่น การฝึกอบรมวิธีการเรียนการสอนแบบใหมท่ ีร่ องรับ
การเปล่ยี นแปลงของหลกั สูตร เปน็ ต้น
3. ปญั หาดา้ นวัสดอุ ุปกรณ์
ในการพัฒนาหลักสูตรย่อมก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลไกในการ
จัดการเรียนการสอน จงึ จาเป็นต้องใชว้ ัสดุอุปกรณ์ประกอบ การสอนเพ่มิ ขึ้นหรอื หลากหลายมากขึ้น ซึง่ ใน
สภาพความเป็นจริงแล้วหน่วยงานราชการท่ีมีหน้าที่ให้การสนับสนุนอาจไม่สามารถผลิตให้พอเพียงต่อ
ความตอ้ งการ และนอกจากนี้บางเน้ือหาวชิ า ยงั จาเป็นต้องใช้อาคารสถานที่ โดยเฉพาะอย่างย่ิงการศึกษา
สายอาชีพจาเป็นต้องมีเครื่องมือ ที่ครบครัน ดังนั้นเมื่อไม่มีความพร้อมหรือจัดหาวัสดุอุปกรณ์และ
สิ่งจาเป็นต่างๆได้อย่างเพียงพอ อาจส่งผลต่อการแก้ไข ปรับปรุงหลักสูตรไม่เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
เทา่ ทตี่ ั้งวัตถุประสงค์ไว้
4.ปญั หาด้านการบริหารจัดการ
ในข้ันตอนของการบริหารจัดการในการกระบวนการพัฒนาหลักสูตรย่อมต้องเกี่ยวข้องกับ
ผู้บริหารในระดับต่างๆ จานวนมาก และผลของการเปล่ียนแปลงแก้ไขหลักสูตรจะไดผ้ ลหรือไม่ ย่อมข้นึ อยู่
กบั การบริหารจดั การของผู้บริหารเหลา่ น้ี ซง่ึ ปญั หาตา่ งๆท่ีเกิดข้ึนมี ดังน้ี
185
1) ผู้บริหารขาดความรับผิดชอบ ขาดการติดต่อประสานงานท่ีดี ส่งผลให้การพัฒนาหลักสูตรไม่
ไดผ้ ลตามทีต่ ัง้ วตั ถปุ ระสงค์ไว้
2) ผบู้ รหิ ารขาดความริเริ่มในการปรับปรุงหลกั สตู รใหเ้ ข้ากบั สภาพท้องถน่ิ ของโรงเรียน
3) ผู้บริหารไม่สืบทอดเจตนารมณ์ของการพัฒนาหลักสตู ร
4) ผู้บริหารมีความยึดมั่นในความเคยชินด้ังเดิม และมักปฏิเสธที่จะรับการเปล่ียนแปลง หรือไม่
ยอมรับส่งิ ใหมๆ่
2. แนวโนม้ การพัฒนาหลกั สูตรในศตวรรษท่ี 21
ดังที่เห็นพ้องกันว่า “ การศึกษา ” เป็นเคร่ืองมือพัฒนามนุษย์ให้สามารถอยู่ในสังคมโลก ที่
เปล่ียนแปลงได้อยา่ งมีความสุข โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ในกระแสความเปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเร็ว ในศตวรรษท่ี
21 ท่ีส่งผลให้เกิดการปฏิรูปทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ดังนั้นความสามารถ ในการจัดการศึกษาที่
สอดคล้องกับกระแสการเปล่ียนแปลงดังกล่าวได้น้ัน “การพัฒนาหลักสูตร” นับเป็นกลไกสาคัญยิ่งที่จะ
นาไปสูค่ วามสาเร็จในการพฒั นาการศึกษา ด้วยเหตนุ ้ี นักปกครอง นักคิด รวมทั้งนักการศกึ ษาตา่ งไดแ้ สดง
ทรรศนะเก่ียวกับแนวทางการพัฒนาหลักสูตรในศตวรรษท่ี 21 ไว้อย่างน่าสนใจยิ่ง สมควรที่จะได้นาไป
ปรับประยุกตเ์ ปน็ แนวทางในการพัฒนาหลักสตู รต่อไป
ก่อนที่จะได้กล่าวถึงแนวโน้มในการพัฒนาหลักสูตรในศตวรรษที่ 21 น้ัน จะขอนาเสนอสาระ
เกี่ยวกับแนวคิดและบริบทของความเปล่ียนแปลงต่าง ๆ ในศตวรรษท่ี 21 เพ่ือให้เห็นภาพรวมโดยทั่วไป
ของศตวรรษท่ี 21 และเชอื่ มโยงไปยังแนวคดิ การพฒั นาหลกั สตู รตอ่ ไป ดงั น้ี
3. แนวคดิ หลักของศตวรรษที่ 21
ศตวรรษท่ี 21 เป็นช่วงเวลาในระหว่างคริสต์ศักราชที่ 2001-2100 มีผู้สนใจแสดงทรรศนะ
เกี่ยวกับศตวรรษท่ี 21 ไว้ในมุมมองหลักเก่ียวข้องกับโลกในศตวรรษท่ี 21 และทักษะในศตวรรษท่ี 21 ซ่ึง
สรปุ เปน็ สาระสาคญั ได้ดงั นี้
1. มมุ มองโลกในศตวรรษท่ี 21
ด้วยมีผู้คาดการณ์เก่ียวกับโลกในศตวรรษท่ี 21 ไว้หลากหลายแง่มุมด้วยกัน จึงมีนักการศึกษาได้
พยายามหาขอ้ สรุปให้เหน็ ภาพรวมของโลกในศตวรรษที่ 21 อาทิ ไพฑูรย์ สินลารัตน์ (2557ก, หน้า 2 - 4) ได้
สรปุ ไวเ้ ปน็ 7 ลักษณะ คือ
186
1.1 โลกเทคโนโลยี (Technologicalization ) บทบาทและความสาคัญของเทคโนโลยี จะมี
มากขึ้น คนจะอยู่กบั เทคโนโลยีเป็นหลกั เทคโนโลยีจะเข้าไปมสี ่วนในการทางานของมนษุ ย์อยา่ งมาก ชีวิต
ของคนจะเดินไปตามเส้นทางของเทคโนโลยีเป็นหลัก
1.2 เศรษฐกิจการค้า (Commercialization & Economy) การเติบโตทางเทคโนโลยี จะทา
ให้เกิดผลผลิตทางเทคโนโลยีมากขึ้น อันจะนาไปสู่การค้าขายสินค้าเทคโนโลยี และใช้เทคโนโลยีเพื่อการค้า
ขายด้วยกนั ไป
1.3 โลกาภิวัตน์กับเครือข่าย (Globalization and Network) รูปแบบโลกาภิวัตน์ จะ
เปล่ียนเป็นโลกาภิวัตน์ใหม่ท่ีเป็นกระแสตะวันออก เป็นโลกาภิวัตน์ท้องถ่ินที่จับมือกันเองในกลุ่มเดียวกัน
จงึ จาเปน็ ต้องมีการสื่อความหมายใหม่ ๆ และรว่ มมอื กันมากขึน้
1.4 สิ่งแวดล้อมและพลังงาน (Environment & Energy) ความสนใจและการเรียนรู้ ใน
ส่ิงแวดล้อมจะมีมากขน้ึ ในศตวรรษที่ 21 โดยเฉพาะความยั่งยนื ของสงิ่ แวดล้อมและการพฒั นาต่าง ๆ
1.5 ความเป็นเมือง (Urbanization) ความเป็นเมืองจะเกิดข้ึนชัดเจน และก่อให้เกิด การซ้ือ
ขายสินค้า ธรุ กจิ การค้า การใช้เทคโนโลยตี า่ ง ๆ จะตามมา ดงั จะเหน็ ได้จากตวั อย่าง ร้านสะดวกซ้ือที่มีอยู่
ท่วั ไป
1.6 คนจะอายุยืนขึ้น (Ageing & Health) ความก้าวหน้าทางยาและความรู้เร่ืองการดูแล
สุขภาพทาให้คนอายุยืนข้ึน สภาพท่ีผู้สูงอายุมีมากขึ้นและอายุยืนยาวขึ้นตลอดเวลาจะปรากฏชัดเจนข้ึน
คนรนุ่ ใหมจ่ ะอยู่กบั คนร่นุ เกา่ อยา่ งไร จะเปน็ ปญั หาให้สังคมในอนาคตตอ้ งคิดหาทางออกให้ชัดเจนข้นึ
1.7 การอยู่กับตวั เอง (Individualization) สภาพสังคม การทางานและเทคโนโลยจี ะ ทาให้คนใน
สังคมอยกู่ บั ตัวเองหรอื มลี กั ษณะเฉพาะตนเองมากยงิ่ ขน้ึ
จากมุมมองโลกในศตวรรษที่ 21 ดังกล่าวข้างต้น จะพบว่าผู้คนที่จะอยู่ในโลกใหม่ ในศตวรรษที่
21 ซ่ึงเป็นโลกแห่งการเปล่ียนแปลงในทุกด้าน โดยเฉพาะอย่างย่ิงด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศ
จาเป็นต้องมีความรอบรู้ในศาสตร์หลายศาสตร์ ต้องมีความสามารถทั้งในด้านเป็นผู้ผลิตและผู้บริโภค มี
ความสามารถในการอยู่ร่วมกับผู้อื่น ด้วยการปรับตัวให้อยู่บนพ้ืนฐาน การเข้าใจตนเอง และรับรู้ถึงความ
ตา่ งทงั้ แนวคดิ และการปฏบิ ัตขิ องบุคคลรอบข้าง สามารถเรียนรู้ที่จะอยู่ในสงั คมโลกโดยรบั ผดิ ชอบรว่ มกัน
ตอ่ ส่ิงแวดล้อมและการใช้พลังงานร่วมกัน ตลอดจนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศได้
อยา่ งมปี ระสิทธิภาพเพ่ือความเจริญรว่ มกนั ของทงั้ ตนเองและเครือขา่ ยของประชาคมโลก
187
2. มุมมองทกั ษะในศตวรรษท่ี 21
นักการศึกษาและนักคิดหลายท่าน อาทิ เบลลันกา (Bellanca, 2010) เบลลันกา และแบรนด์ท
(Bellanca and Brandt, 2010) ทิศนา แขมมณี (2555) และไพฑูรย์ สินลารัตน์ (2557) ได้กล่าวไว้
เกี่ยวกบั ทกั ษะในศตวรรษที่ 21 ซึง่ สรปุ ได้เปน็ 7 ทกั ษะดว้ ยกนั ประกอบด้วย
2.1 ทักษะทางด้านเทคโนโลยี (Computing and ICT Literacy) เป็นทักษะ ท่ีเกี่ยวกับ
เทคโนโลยีสมัยใหม่ ซึ่งผู้เรียนและคนในยุคศตวรรษท่ี 21 จะต้องเรียนรู้และใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
โดยเฉพาะทกั ษะเกยี่ วกับข้อมลู ข่าวสาร และการส่ือสารที่มกี ารพัฒนาอย่างรวดเร็วกวา้ งขวาง
2.2 ความสนใจใคร่รู้และมีจินตนาการ (Curiosity and Imagination) ผู้เรียนในอนาคตในโลก
แหง่ ศตวรรษท่ี 21 จะต้องสนใจใฝ่รูใ้ นสง่ิ ใหม่ ๆ อยตู่ ลอดเวลา และมจี นิ ตนาการต่อไปจากความรทู้ ่ีได้รับ
2.3 การคิดวิจารณญาณและการแก้ปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving)
การวิเคราะห์ สังเคราะห์ ส่ิงที่ได้ศึกษามาว่า อะไรดี ไม่ดี เหมาะสมหรือไม่ อะไรเป็นความจริง อะไรเป็น
ความเขา้ ใจ โดยต้องให้ความสาคัญควบคู่ไปกบั ทักษะในการแก้ปัญหา
2.4 ความคิดสร้างสรรค์และพัฒนานวัตกรรม (Creating and Innovation) ด้วยความ
เปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนอย่างมากมายและรวดเร็วในศตวรรษที่ 21 การแก้ปัญหาหรือดาเนินการใด ๆ
จาเป็นอยา่ งย่ิงต้องใช้ความคดิ ใหม่ ๆ อย่างมาก ซงึ่ ตามดว้ ยนวัตกรรมท่เี กดิ ข้นึ จากความคิดใหม่ ๆ นน้ั
2.5 ทักษะในการสื่อสารและร่วมมือกัน (Communication and Collaboration) ยุค
ศตวรรษที่ 21 เป็นยคุ ของความร่วมมือ ยุคของเครือข่ายที่ผู้คนติดต่อถงึ กันผ่านเทคโนโลยีและการส่ือสาร
ในรปู แบบใหม่ ๆ
2.6 การคิดในเชิงธุรกิจและทกั ษะประกอบการ (Corporate and Entrepreneurial Spirit)
ซ่ึงเป็นทักษะในเชงิ ของการดาเนนิ งานทางธุรกิจและการคา้ ทีน่ ับว่ามีความสาคัญในลักษณะของโลกในยุค
ศตวรรษท่ี 21
2.7 ทักษะการเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรมและการสนใจต่อโลก (Cross-Cultural & Awareness)
เป็นทักษะท่ีสะท้อนของความเป็นโลกยุคใหม่ที่ผู้คนในสังคมโลก จาเป็นต้องรู้จักคน อื่น ๆ โดยเฉพาะใน
มุมมองของวัฒนธรรมอ่ืน ๆ โดยมีเป้าหมายเพื่อการอยู่ร่วมกันและเป้าหมายในเชิงเศรษฐกิจไปพร้อม ๆ
กันด้วย
จากมุมมองในดา้ นทักษะสาคัญของผู้คนในศตวรรษที่ 21 ดงั กล่าว ส่งผลให้เกดิ ความพยายามใน
การท่ีจะกาหนดทักษะที่พึงประสงค์ในเยาวชนไทยภายใต้บริบทของไทย เพ่ือเป็นกรอบในการพัฒนา
เยาวชนไทยใหส้ อดคล้องกบั ความเปล่ียนแปลงในศตวรรษที่ 21 ดงั น้ี
188
พิณสุดา สิริธรังศรี (2552, หน้า 124 - 135) ได้สรุปไว้ว่า จากแนวโน้มสภาพแวดล้อมที่กาลัง
เปล่ียนแปลงในปัจจุบันและอนาคตท้ังทางด้านสังคม เศรษฐกิจ ลักษณะของการผลิตและบริการ
วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม สิง่ แวดล้อม ประชากร และการเมืองการปกครอง ถ้าประเทศไทย
ต้องการดารงอยู่ในสังคมท่ีมีการเปลี่ยนแปลง หรือสังคมในยุคโลกาภิวัตน์ ภาพอนาคตคนไทยควรมี
ลักษณะพึงประสงค์ ดังน้ี
1. ดา้ นร่างกาย มสี ุขภาพดี และรูจ้ กั รกั ษาสขุ ภาพให้แข็งแรงตามชว่ งวัยและวอ่ งไว ในการทางาน
2. ด้านจติ ใจ มีสุขภาพจติ ดี มีจติ ใจเข็มแข็ง ไมห่ วัน่ ไหวต่อวกิ ฤตการณไ์ ด้ง่าย ทั้งวิกฤตการณ์ส่วน
ตนและสงั คม
3. ด้านอารมณ์ มีอารมณ์ดี มั่นคงบนพ้ืนฐานของการขัดเกลาและยึดม่ันทางศาสนา มีศีลธรรม
คุณธรรมและจริยธรรม
4. ด้านสังคม สามารถปรับตัวและเข้ากับผู้อื่นได้ มีจิตสาธารณะและจิตอาสา เอื้อเฟื้อเผ่ือแผ่ มี
นา้ ใจ มีความสามัคคี เปน็ คนดี มอี าชพี และมคี วามปลอดภัยในชวี ติ และทรพั ย์สิน
5. ด้านความรู้ มคี วามรู้ในสาระวิชาและงานท่ีรับผิดชอบ มีความรู้เชิงสหวิทยาการ รู้ไกล รู้กว้าง
รู้ลึกในสาขาวิชาท่ีตนถนัด และใช้ความรู้ให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาตนและพัฒนางาน มีความใฝ่รู้ รัก
การอ่าน รกั การเรยี นรู้ และแสวงหาความรู้อยา่ งตอ่ ไปเนอื่ งตลอดชีวติ
6. ด้านทักษะและความสามารถ มีทักษะและความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การส่ือสารได้
หลายภาษา เพ่ือเป็นช่องทางการแสวงหาและพัฒนาความรู้และอาชีพ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การ
ทางาน การจัดการทั้งด้านตนเองและความรู้ มีทักษะชีวิต มีความขยันหม่ันเพียร ซ่ือสัตย์สุจริต มีวินัย
อดทนและมุ่งม่ันในการทางานให้ประสบผลสาเร็จ ประหยัด รู้จักกลั่นกรองและเลอื กดาเนินชีวิตที่ถูกต้อง
และเหมาะสม มคี วามสามารถในการแก้ปญั หาทั้งเฉพาะหน้าและ ระยะยาว
7. ด้านเจตคติและค่านิยม มีเจตคตแิ ละคา่ นิยมของการเป็นพลเมืองไทยและพลโลกที่ดี รักความ
เปน็ ประชาธปิ ไตย พร้อมเผชญิ ตอ่ การเปล่ยี นแปลง
8. ด้านความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีวิสัยทัศน์และความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์มองการณ์ไกล และใช้
ประโยชนจ์ ากความคดิ รเิ รมิ่ สร้างสรรค์ สรา้ งนวตั กรรมและนาไปสู่เปา้ หมายอนาคตได้
วิจารณ์ พานิช (2557, หน้า 16-17) ได้กล่าวถึงทักษะในศตวรรษที่ 21 ว่าควรประกอบด้วย “
3Rs + 8Cs + 2Ls ” โดยให้คาอธิบายไว้สรุปได้ว่า ทักษะการเรียน (Learning Skills) ต้องมี 3
องค์ประกอบคือ (1) Learning คือเรียนสิ่งใหม่ (2) Delearning หรือ Unlearning คือ การเลิกความเชื่อใน
เร่อื งเก่า และ (3) Relearning คือ การเรยี นสิ่งใหม่ นนั่ คือต้องเปลยี่ นชุดความรู้เป็นโลกสมัยใหม่ เพราะมี
189
ความรู้เกิดข้ึนใหม่มากมาย นอกจากนี้ความรู้เดิมหลายส่วนผิดและไม่เหมาะสมความรู้ใหม่เป็นสิ่งท่ีดีกว่า
สมบูรณ์กว่า ดงั นั้นทักษะการเรียนรตู้ ้องประกอบดว้ ย 3 สว่ นดังนี้
1. ส่วนที่ 1 คือ “3Rs” ได้แก่ Reading คือ การอ่านออก (W)Riting คือ การเขียนได้ และ
(A)Rithmatics คอื การคดิ เลขเปน็ โดยการเรยี นรู้ตามแนวใหม่ตอ้ งตคี วามเพม่ิ เติมสรปุ ได้วา่
การอ่านออก หมายถึง ความสามารถอ่านได้ มีนิสัยรักการอ่าน อ่านแล้วเกิดสุนทรียะ เกิด
ความสุข จับใจความเป็น มที กั ษะในการอ่านหลาย ๆ แบบ
การเขียนได้ หมายถึง ความสามารถเขียนได้ โดยส่ือความหมายได้ ย่อความเป็น รู้วิธีเขียนหลาย ๆ
แบบตามวตั ถปุ ระสงคท์ แ่ี ตกต่างกัน
การคิดเลขได้ หมายถึง ความสามารถคิดเลขได้ และเรียนให้ได้ทักษะการคิดแบบนามธรรม
(Abstract thinking)
2. สว่ นท่ี 2 คือ “8Cs” ไดแ้ ก่
Critical Thinking & Problem Solving คือ ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะ
ในการแกป้ ญั หา
Creativity & Innovation คอื ทักษะด้านการสรา้ งสรรค์และนวัตกรรม
Collaboration, Teamwork & Leadership คือ ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีม และ
ภาวะผูน้ า
Cross - cultural Understanding คอื ทักษะด้านความเขา้ ใจตอ่ วฒั นธรรมต่างกระบวนทัศน์
Communication, Information & Media Literacy คือ ทักษะด้านการสื่อสารสนเทศ และ
รเู้ ท่าทันสื่อ
Computing & Media Literacy คือ ทักษะด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
ส่อื สาร
Career & Learning Self-reliance คือ ทกั ษะอาชพี และทกั ษะการเรียนรู้
Change คอื ทักษะการเปลย่ี นแปลง
3. ส่วนท่ี 3 คอื “2Ls” ไดแ้ ก่
Learning Skills คือ ทักษะการเรียนรู้
Leadership คือ ภาวะผ้นู า
ดวงจิต สนิทกลาง และเป่ียมพร ตังตระกูลไพศาล (2557, 48-49) ได้กล่าวถึง การพัฒนาทักษะ สู่
ศตวรรษที่ 21 เพ่ือให้เด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ โดยหากต้องการให้เด็กไทยมีทักษะที่เท่าทันโลก จะต้อง
สร้างและปลกู ฝังวฒั นธรรมให้เด็กไทยอยู่ในวัฒนธรรมดว้ ยการมีทักษะท่ีพึงประสงค์ ตอ่ ไปนี้
190
1. มีเอกลักษณ์ คิดสรา้ งสรรค์
2. ทา้ ทาย ขยันหมน่ั เพยี ร
3. ประณตี
4. รอบคอบ มรี ะบบ
5. คิดวเิ คราะห์ใครค่ รวญ
6. มจี ิตสาธารณะ
7. ดแี ละเกง่
พิมพันธ์ เตชะคุปต์ (2558,หน้า 1) ได้กล่าวถึงเด็กไทยผู้มีทักษะในศตวรรษที่ 21 ควรมีคุณธรรม
จริยธรรม คา่ นิยม พร้อมการใช้เทคโนโลยีอยา่ งมคี ณุ ภาพ โดยมที ักษะดงั น้ี
1. การรหู้ นงั สอื (Literacy) หรอื ทักษะการสือ่ สาร (Communicative skills)
2. การรู้เรื่องจานวน (Numeracy)
3. การใช้เหตผุ ล (Reasoning)
4. ทกั ษะการแกป้ ัญหาเชิงสร้างสรรค์ (Creative problem solving skills)
5. ทักษะการคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ (Critical thinking skills)
6. ทักษะการทางานแบบรว่ มมือรว่ มใจ (Collaborative skills)
7. ทกั ษะการใช้คอมพวิ เตอร์ (Computing skill)
8. ทกั ษะอาชีพและทกั ษะชีวิต (Career and life skills)
9. ทกั ษะข้ามวฒั นธรรม (Cross-culture skills)
เมื่อพิจารณาจากแนวคิดหลักของศตวรรษที่ 21 ในมุมมองโลกในศตวรรษท่ี 21 และมุมมอง
ทักษะในศตวรรษท่ี 21 แล้ว กล่าวได้ว่าในศตวรรษท่ี 21 สังคมมีความเปล่ียนแปลงเป็นอย่างมากมาย
หลายดา้ น การที่บุคคลจะดารงชวี ิตอยู่ในสังคมของศตวรรษที่ 21 อย่างมีความสุขจาเปน็ ต้องมีคุณลักษณะ
และทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 สรุปได้ดังนี้ 1) มีความรอบรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ อย่างหลากหลาย 2) มี
คุณลักษณะที่เอ้ือต่อการดารงตนในสังคม ได้แก่ คุณธรรมจริยธรรม กล้าหาญ ซ่ือสัตย์ มั่งคง อดทน มี
ทักษะทางอารมณ์ และการปรับตัว 3) มีทักษะทางสังคม ได้แก่ ความสามารถในการอยู่ร่วมกับผู้อื่น การ
ทางานเป็นทีม ความเป็นผู้นา การเคารพและยอมรับในความแตกต่าง ความสามารถในการสื่อสารผ่าน
การพูดและการเรียน การตระหนักในความแตกต่างทางความคิดและมุมมอง สามารถแก้ปัญหาความ
ขัดแย้ง 4) ทักษะทางปัญญา ได้แก่ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ ความคิดสร้างสรรค์ ความคิดวิเคราะห์
สังเคราะห์อย่างมีเหตุผล สามารถสร้างจินตนาการที่นาไปสู่การปฏิบัติได้จริง และความสามารถสร้าง
ผลผลิตและนวัตกรรม 5) ทักษะการเรียนรู้และพัฒนาตน ได้แก่ การเรียนรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ และมีทักษะ
191
ทาง ICT สามารถเรียนรู้ตลอดชีวิต สามารถเข้าถึงข้อมูล มีทักษะทางวิทยาศาสตร์ มีความมุ่งม่ันที่จะ
พฒั นาตนเอง และมีทักษะการเรียนรจู้ ากภายใน และประการสาคญั คือ ทักษะการสรา้ งความรู้
4. แนวคดิ การจดั การศึกษาในศตวรรษท่ี 21
ดงั ไดก้ ล่าวแล้วว่าในศตวรรษท่ี 21 ไดเ้ กิดการเปลยี่ นแปลงอย่างรวดเร็วในทุกด้าน การสรา้ งความ
สมดุลในการดารงชีวิตอยู่ในสังคมแห่งการเปลี่ยนแปลงได้อย่างเหมาะสม จาเป็นที่ต้องทาให้บุคคลใน
สังคมมีความพร้อมรับกับการปรับเปลี่ยนดังกล่าว ซ่ึงเป็นท่ียอมรับกันว่า “การจัดการศึกษา” เป็นปัจจัย
สาคัญในการสร้างความพร้อมใหแ้ กบ่ คุ คล ดงั นั้น การจดั การศกึ ษาจงึ นบั เปน็ เรื่องเร่งด่วนของชาติทตี่ ้องให้
ความสาคัญเปน็ ลาดบั ตน้ ของประเทศเพื่อเป็นการเตรยี มประชาชน เพอื่ อนาคตท่ยี ่ังยนื ตอ่ ไป
อย่างไรก็ตามด้วยความเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 เป็นภาพรวมในระดับโลก ในที่น้ีจะได้
นาเสนอแนวคิดการจัดการศึกษาในศตวรรษท่ี 21 ทั้งของหน่วยงาน องค์กรระดับสากลที่เผยแพร่ไว้ และ
แนวความคิดของนักการศึกษาไทย เพ่ือนามาเป็นกรอบการปรับประยุกต์การดาเนินการ ในประเด็น
ต่อไปนี้
1. ความคาดหวงั ของสังคมเก่ยี วกับการจดั การเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21
ศตวรรษที่ 21 เปน็ ยุคท่ีเต็มไปด้วยการแข่งขันอย่างไร้ขดี จากัด ลกั ษณะการเจริญเติบโตและการ
เปล่ียนแปลงมีลักษณะที่เป็นการก้าวกระโดดในทุกด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านเทคโนโลยีและข้อมูล
ข่าวสาร จาเป็นที่ระบบการจัดการศกึ ษาต้องส่งเสริมให้ประชาชนมสี มรรถภาพสูงสุด ในการดารงชีวิต ซ่ึง
ในเร่ืองนี้นักการศึกษา จากหอ้ งวจิ ัยทางการศกึ ษาเขตภาคกลางตอนเหนือและกลุ่มเมทริ ิ North Central
Regional Educational Laboratory and Metiri Group (NCREL) (2003) ได้กล่าวถึงสมรรถภาพใน 4
ด้าน คือ
1.1 การรพู้ ื้นฐานในยุคดจิ ติ ลั (Digital-age Literacy)
1.2 การคดิ เชงิ ประดิษฐส์ รา้ งสรรค์ (Inventive Thinking)
1.3 การส่ือสารอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ (Effective Communication)
1.4 ประสทิ ธภิ าพการผลติ ในระดบั สูง (High Productivity)
โดยมีรายละเอยี ดของสมรรถภาพ ดงั น้ี
1.1 การรู้พ้ืนฐานในยุคดิจิตัล ควรจดั การเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับศาสตร์และสาขาวชิ า ท่ีเกี่ยวข้อง
กับพืน้ ฐานการดารงชีวิตประจาวนั ได้แก่
1.1.1 การรู้พื้นฐาน (Basic Literacy) ซ่ึงเก่ียวข้องกับการใช้ภาษาในการสื่อสาร และมี
ความสามารถในการคิดคานวณในระดับท่จี าเป็นกบั การดารงชวี ติ
192
1.1.2 การรู้ทางเศรษฐศาสตร์ (Economic Literacy) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการระบุปัญหาทาง
เศรษฐศาสตร์ รวมถึงการวิเคราะห์ผลกระทบของสภาพทางเศรษฐกิจและนโยบายของรัฐ และการ
ประเมินผลดีผลเสีย
1.1.3 การรู้ด้านเทคโนโลยี (Technology Literacy) เป็นการเข้าใจว่าเทคโนโลยีคืออะไร
และจะเอาไปใช้อยา่ งไรใหเ้ กิดประสิทธภิ าพและประสิทธิผล
1.1.4 การรู้ด้านทัศนศิลป์ (Visual Literacy) เป็นความสามารถในการตีความ การใช้และ
การสร้างภาพวีดีทัศน์โดยใช้สื่อต่าง ๆ ในลักษณะท่ีเก่ียวข้องกับการคิดข้ันสูง การตัดสินใจ การส่ือสาร
และการเรียนรู้
1.1.5 การรู้สารสนเทศ (Information Literacy) คือ ความสามารถในการใช้ การสังเคราะห์
การประเมนิ ข้อมูลท่ไี ด้จาการใชเ้ ทคโนโลยี
1.1.6 การรู้ดา้ นพหุวัฒนธรรม (Multicultural Literacy) เปน็ ความสามารถในการเข้าใจ เห็น
คณุ ค่าของความเหมือน หรือความแตกต่างของประเพณี คุณค่า ความเชื่อ และวฒั นธรรมของตนเองและ
ของผอู้ ่ืน
1.1.7 การรู้ความตระหนักเกี่ยวกับโลก (Global Awareness) เป็นความเข้าใจ การมี
ปฏิสมั พนั ธ์ของส่วนตา่ ง ๆ ในสงั คมของโลก
1.2 การคิดเชิงประดิษฐ์สรา้ งสรรค์
การคิดเชิงประดิษฐ์สร้างสรรค์เป็นความสามารถทางสติปัญญาในการใช้เทคโนโลยีใน
สถานการณ์ที่ซับซ้อน และในการเข้าใจผลท่ีตามมาจากการใช้เทคโนโลยีดงั กล่าว ซ่ึงเป็นทักษะชีวิตในยุค
ของเทคโนโลยสี ารสนเทศ ซ่ึงครอบคลมุ ความสามารถต่อไปนี้
1.2.1 การปรับตัวและจัดการกับสิ่งที่ซับซ้อน (Adaptability and Managing Complexity)
ซึ่งเป็นความสามารถในการปรับความคิด ทัศนคติ และพฤติกรรมให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมใน
ปัจจบุ ัน และอนาคต รวมทงั้ ความสามารถในการจัดการกับเป้าหมายและข้อจากดั ในดา้ นตา่ ง ๆ เช่น เวลา
ทรัพยากร และระบบ ได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ
1.2.2 การชี้นาตนเอง (Self-direction) เป็นความสามารถในการต้ังเป้าหมาย ท่ีเก่ียวข้องกับ
การเรยี นรู้ การวางแผนเพือ่ บรรลุเปา้ หมายท่ีต้งั ไว้ การจดั การกับเวลาและประเมนิ คณุ ภาพของการเรียนรู้
และผลผลิตทเ่ี กดิ ขึน้
1.2.3 ความกระหายใคร่รู้ (Curiosity) เป็นความปรารถนาท่ีอยากจะรู้หรือมีความสนใจที่นาไปสู่
การสบื เสาะหาความรู้
193
1.2.4 ความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) เป็นความสามารถในการสร้างสรรค์ ส่ิงใหม่ ๆ ทั้งใน
ระดับตนเองและสังคม
1.2.5 ความกล้าเสี่ยง (Risk-taking) เป็นความตั้งใจที่จะทาผิดพลาดสวนกระแส กับความ
คิดเหน็ อื่น ๆ เพื่อจัดการกบั ปัญหาที่ไม่สามารถหาทางออกได้ ทาให้เกดิ การเรียนรู้ การมวี ุฒิภาวะ และทา
ใหเ้ กดิ ความสาเรจ็ ข้นึ
1.2.6 ความคิดข้ันสูงและการมีเหตุผล (Higher - order Thinking and Sound Reasoning)
เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางสติปัญญาในการวเิ คราะห์ เปรยี บเทียบ แปลความ ตีความ ประเมินค่า และ
สังเคราะห์ เพ่ือนาไปใชเ้ ก่ยี วกับการศกึ ษาและการแกป้ ัญหา
1.3 การส่อื สารอย่างมีประสทิ ธภิ าพ
การสือ่ สารท่มี ีประสิทธิภาพในยคุ น้ีไม่ได้หมายถึง ความสามารถในการสร้างความหมายโดยใช้
สื่อ เคร่ืองมือ และกระบวนการในการแลกเปล่ียนข้อมูลระหว่างกัน (Interactive Communication)
เท่านน้ั แตย่ ังครอบคลุมถึง
1.3.1 การทางานเป็นกลุ่มและความร่วมมือ (Teaming and Collaboration) ซ่ึงเป็น
ความสามารถในการทางานร่วมกับผู้อ่นื ในการแกป้ ญั หา สรา้ งสิง่ ใหม่ ๆ จนเกิดการเรียนรู้และมีความชานาญ
1.3.2 การมีมนุษย์สัมพันธ์ (Interpersonal Skills) เป็นความสามารถในการอ่านและจัดการกับ
อารมณ์ แรงกระตนุ้ และพฤตกิ รรมของตนเองและผู้อื่นในการมปี ฏิสัมพันธ์และ ในสถานการณ์ต่าง ๆ
1.3.3 ความรับผิดชอบส่วนตน (Personal Responsibility) เกี่ยวกับความรู้ที่เก่ียวข้องกับ
กฎหมายและประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีและการประยุกต์ใช้ในชีวิตได้อย่างสมดุล
ซอื่ สตั ย์ และมีคุณภาพ
1.3.4 ความรับผิดชอบต่อสังคมและความเป็นพลเมืองดี (Social and Civic Responsibility)
เกี่ยวกับความสามารถในการจัดการและใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และระบอบ
ประชาธิปไตย
1.4 ประสทิ ธิภาพการผลติ ในระดับสงู
ประสิทธิภาพการผลิตในระดับสูงในยุคนี้เก่ียวข้องกับความสาเร็จของแรงงาน ในด้านต่างๆ
ตอ่ ไปนี้
1.4.1 การจัดลาดับ การวางแผน และการจัดการเพ่ือผลลัพธ์ (Prioritizing, Planning and
Managing for Results) ซึ่งเป็นความสามารถในการจัดการเพื่อบรรลุเป้าหมายของโครงการหรือการ
แก้ปญั หาท่วี างไว้
194
1.4.2 การใช้เครื่องมือในโลกแห่งความจริงอย่างมีประสิทธิภาพ (Effective Use of Real-
World Tools) ซ่ึงเก่ียวข้องกับความสามารถในการใช้เครื่องมือต่าง ๆ เพื่อการสื่อสาร การทางานรว่ มกัน
การแก้ปญั หา เปน็ ต้น
1.4.3 ความสามารถในการผลิตงานท่ีมีคุณภาพสูง (Ability to Produce Relevant, High -
Quality Products) เป็นความสามารถในการผลิตผลงานที่มีคุณภาพ ด้วยเคร่ืองมือ ในปัจจุบันท่ีได้
มาตรฐาน และสามารถนาไปใชไ้ ดจ้ ริง
2. กรอบความคิดเกีย่ วกับการจัดการศึกษาสาหรับศตวรรษที่ 21
องค์กรและนักการศึกษาได้ศึกษาลักษณะของสังคมในศตวรรษท่ี 21 และได้เสนอกรอบ
แนวคิดเก่ียวกับการจดั การศึกษาสาหรบั ศตวรรษที่ 21 ไว้ดังนี้
2.1 กรอบความคิดแนวการจัดการศึกษาเพ่ือการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของภาคี เพื่อ
ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
องค์กรภาคเี พอ่ื ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 (Partnership for 21st Century Skills) ได้ออกแบบ
และเสนอความคดิ องค์รวมเกี่ยวกับแนวทางจัดการศึกษาในศตวรรษท่ี 21 ดงั นี้ (เบลลันกา และแบรนด์ท
(Bellanca & Brandt, 2010, pp. 118-120)
2.1.1 วิชาแกน โดยผู้เรียนต้องมีความรอบรู้และเรียนร้จู นมคี วามเชี่ยวชาญใน วิชาแกนต่าง ๆ
ได้แก่ ภาษาอังกฤษ การอ่าน ศิลปะการใช้ภาษา ศิลปะ คณิตศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ วิทยาศาสตร์
ภูมศิ าสตร์ ประวัตศิ าสตร์ และการปกครองและหนา้ ท่พี ลเมือง
2.1.2 แนวคิดสาคญั ในศตวรรษท่ี 21 แนวคิดสาคัญที่ส่งผลตอ่ ความสาเร็จ ในการทางานและ
การอยู่ร่วมกันในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ จิตสานึกต่อโลก ความรู้พ้ืนฐาน ด้านการเงิน เศรษฐกิจ ธุรกิจและ
การเป็นผู้ประกอบการ ความรู้พื้นฐานด้านพลเมือง ความรู้พื้นฐานด้านสุขภาพ ความรู้พื้นฐานด้าน
สงิ่ แวดลอ้ ม
2.1.3 ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม โดยผู้เรียนต้องได้รับการฝกึ ในด้านความคิดสรา้ งสรรค์
และนวัตกรรม ความคดิ เชิงวิพากษแ์ ละการแก้ไขปัญหา และการสอ่ื สารและ การทางานรว่ มกนั
2.1.4 ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี โดยผู้เรียนต้องได้รับความรู้พ้ืนฐานด้าน
สารสนเทศ ความรู้พืน้ ฐานด้านสื่อ และความรพู้ น้ื ฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศฯและการส่อื สาร (ICT)
2.1.5 ทักษะชีวิตและการทางาน โดยผู้เรียนได้ฝึกและเรียนรู้เก่ียวกับความยืดหยุ่นและ
ความสามารถในการปรับตัว ความคิดริเริ่มและการชี้นาตนเอง ทักษะทางสังคมและการเรียนรู้ข้าม
วัฒนธรรม การเพม่ิ ผลผลติ และความรรู้ ับผดิ และความเปน็ ผ้นู าและความรับผดิ ชอบ