The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการสอน การพัฒนาหลักสูตร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thidarat.ta, 2021-01-17 22:21:04

เอกสารประกอบการสอน การพัฒนาหลักสูตร

เอกสารประกอบการสอน การพัฒนาหลักสูตร

45

แนวคิดสาคัญอีกอย่างหน่ึงที่ได้จากทฤษฎีของสกินเนอร์ คือ การตั้งจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม
ถ้าครูไม่สามารถต้ังจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรมได้ ครูก็ไม่อาจบอกได้ว่าผู้เรียนประสบผลสาเร็จในส่ิงท่ี มุ่ง
หมายหรือไม่ และครูไม่อาจเสริมแรงได้อย่างเหมาะสม เพราะไม่ทราบว่าจะให้แรงเสริมหลังจากผู้เรียนมี
พฤติกรรมใดในช้นั เรยี น แรงเสรมิ เปน็ สิ่งที่สาคัญมาก โดยเฉพาะการเสรมิ แรงในขั้นทุติยภมู ิ ซ่ึงไดแ้ ก่ การ
แสดงสีหน้า การชมเชย คะแนน ความรู้สึกท่ีได้รับความสาเร็จและโอกาสที่ได้ทาในสิ่งท่ีต้องการ ในการ
เรยี นการสอนครูจะตอ้ งเสริมแรงเหลา่ นอี้ ย่างเหมาะสม

จิตวิทยาการเรยี นร้กู ลุ่มพทุ ธนิ ิยม
นักจิตวิทยากลุ่มพุทธินิยมเป็นกลุ่มท่ีอาศัยการใช้เหตุผล เป็นเครื่องมือในการอธิบาย
ปรากฏการณท์ างจิตวทิ ยา และการเรยี นรูท้ ่ีเกดิ ขึ้นกับจิตวิทยากลุ่มดังกล่าว ได้แก่ จติ วิทยากลุม่ เกสตอลท์
และนักจิตวิทยารุ่นใหม่เช่น เพียเจต์ บรูเนอร์ และกาเย่ เป็นต้น ข้อตกลงเบ้ืองต้นของทฤษฎีน้ี คือ
พฤติกรรมของบุคคลจะข้ึนอยูก่ ับการรู้ - การคดิ เก่ียวกับสถานการณ์ท่ีพฤติกรรมบังเกิดขึ้น ทฤษฎีกลุ่มน้ี
จะเน้นความหมายทม่ี ตี อ่ ตนเองของบุคคล การอ้างสรปุ หลกั การและการเรียนด้วยการค้นพบเอง
ทฤษฎขี องกล่มุ เกสตอลท์ (Gestalt's Theory)
นักจิตวิทยากลุ่มน้ีมีหลักการและแนวคิดแตกต่างไปจากกลุ่มพฤติกรรมนิยม การคิดและ
กระบวนการแก้ปัญหา การเรยี นรู้ในทศั นะของกลุ่มเกสตอลท์เกิดจากความคิดในลักษณะของการหยั่งเห็น
(Insight) มิใช่เกิดจากการลองผิดลองถูก หรือการตอบสนองสิ่งเร้าง่าย ๆ ที่สังเกตได้ กลุ่มเกสตอลท์
อธิบายว่าการเรียนรู้ คือ “การหยั่งเห็น”และได้ให้คาจากัดความของการหย่ังเห็นว่า เป็นความรู้สึกใน
ความสัมพันธ์เป็นวิธกี ารอันมีเหตผุ ลท่ีจะแก้สถานการณท์ ่ีเป็นปัญหา เป็นการแปลความหมายของส่ิงที่เขา
ได้รับเข้ามา เพ่ือจะได้ใช้เป็นรากฐานในการปฏิบัติการต่าง ๆ การหย่ังเห็นเป็นของผู้เรียนเอง ครูไม่
สามารถจะถ่ายทอดการหยั่งเห็นให้แก่ผู้เรียนได้ แต่ผู้เรียนจะต้องพัฒนาขึ้นมาเองจากง่ายถึงยากขึ้นไป
เรื่อย ๆ และสมบรู ณ์มากยิ่งขึ้น โดยมีหลักการดังนี้
1. วิธกี ารแกป้ ัญหาโดยการหย่ังเหน็ จะเกิดขนึ้ ทันทีทนั ใด เปน็ ความกระจา่ งแจง้ ในใจ
2. การเรียนรู้การหย่ังเห็น คือ การท่ีผู้เรียนมองเห็น รับรู้ความสัมพันธ์ของเหตุการณ์ ไม่ใช่เป็น
การตอบสนองของสงิ่ เร้าเพยี งอย่างเดียว
3. ความรู้เร่ืองความผู้เรียน หรือประสบการณ์ของผู้เรียนล้วนมีส่วนที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการ
หยั่งเห็นเหตุการณ์ท่เี ปน็ ปญั หา และชว่ ยให้การหย่งั เห็นเกดิ ขน้ึ ได้รวดเรว็
กฎการเรยี นรู้
หลักการเรียนรู้ของทฤษฎี กลุ่มเกสตอลท์เน้นการเรียนรู้ท่ีส่วนรวมมากกว่าส่วนย่อย ซึ่งจะเกิด
จากประสบการณ์ และการเรียนรใู้ น 2 ลกั ษณะตามท่ี บกิ ก์ (Bigge 1982: 190-202) ได้แบง่ ไว้ คือ

46

1. การรับรู้ (Perception) เป็นการแปลความหมายจากการสัมผัสด้วยอวัยวะสัมผัสท้ัง 5 ส่วน
คือ หู ตา จมูก ล้ิน และผิวหนัง การรับรู้ทางสายตาจะประมาณร้อยละ 75 ของการรับรู้ท้ังหมด ดังน้ัน
กลุ่มเกสตอลท์จึงจัดระเบียบการรับรู้โดยแบ่งเป็น 4 กฎ เรียกว่ากฎแห่งการจัดระเบียบ (The Law of
Organization) คอื

1. กฎแห่งความคลา้ ยคลงึ (Law of Similarity)
2. กฎแหง่ ความใกล้เคียง (Law of Proximity)
3. กฎแห่งความต่อเน่อื ง (Law of Continuity)
4. กฎแห่งความสมบรู ณ์ (Law of Closure)
2. การหย่ังเหน็ (Insight) หมายถงึ การเกิดความคดิ แวบขึน้ มาทันทที นั ใดในขณะท่ีมีปัญหา โดย
การมองเห็นแนวทางในการแก้ปัญหาตั้งแต่เริ่มแรกเป็นข้ันตอนจนสามารถแก้ปัญหาได้ เป็นการมองเห็น
สถานการณ์ในแนวทางใหม่ ๆ ขึ้น โดยเกิดจากความเข้าใจและความรู้สึกที่มีต่อสถานการณ์ว่าได้ค้นพบ
แล้ว ผเู้ รยี นจะมองเห็นช่องทางการแก้ปัญหาขึน้ ได้ทนั ทีทันใด
การเรียนร้ตู ามแนวคิดของเพยี เจต์
เพียเจต์ (Jean Piaget) มีแนวคิดที่อยู่บนรากฐานของท้ังองค์ประกอบที่เป็นพันธุกรรม และ
สิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นหลักที่เขาใช้ในการอธิบายพัฒนาการทางสติปัญญา อันเป็นทฤษฎีธรรมชาติระยะ
ข้ันตอนของการพัฒนาการแต่ละตอน มีความสัมพันธ์กับความเจริญเติบโตทางสติปัญญา ซ่ึงกาหนดโดย
วุฒิภาวะทางพันธุกรรม มิใช่องค์ประกอบทางด้านสิ่งแวดล้อม และสามารถเป็นทฤษฎีการฝึกฝน เพราะ
ประสบการณ์ของเด็กที่ได้จากส่ิงแวดล้อมมีส่วนกาหนดอายุพัฒนาการของเด็กแต่ละคน เพียเจต์สรุปว่า
พัฒนาการของเด็กสามารถอธิบายได้โดยลาดับของระยะพัฒนาทางชีววิทยาท่ีคงท่ี แสดงให้ปรากฏโดย
ปฏิสัมพันธ์ของเด็กกับสิ่งแวดล้อมพัฒนาการทางสติปัญญาแบ่งออกเป็น 4 ระยะ มีลักษณะดังนี้ (Lall
and Lall. 1983: 45 - 54)
1. ข้ันการรับรู้ทางประสาทและการเคล่ือนไหว (The Sensorimotor Period) (อายุแรกเกิด
– 2 ปี) เป็นระยะแรกของพัฒนาการ เด็กขาดความสามารถในกิจกรรมทางสัญลักษณ์ แต่เพียเจต์รู้สึกว่า
ในระยะสองปีแรกน้ี เด็กได้สร้างโครงสร้างใหญ่และโครงสร้างย่อยทางสติปัญญาแล้ว ซ่ึงจะทาหน้าท่ีเป็น
ตัวแยกพัฒนาการทางการรับรู้ และสติปัญญาในเวลาต่อมา เป็นระยะท่ีเด็กเปลี่ยนจากระยะช่วยเหลือ
ตนเองไม่ได้เลย มาเป็นระยะที่พอจะช่วยเหลือตัวเองได้บ้างในบางกิจกรรม ความเปล่ียนแปลงพ้ืนฐานใน
ระยะนอ้ี าจได้แก่ การรับรตู้ ่อสิง่ แวดล้อมของเขาเปล่ียนไปในขณะทเี่ ขาเรมิ่ เข้าใจและควบคุมมนั ได้

47

2. ขน้ั ก่อนการใชค้ วามคิด (The Preoperational Period) (อายุ 2 - 7 ปี) เป็นระยะท่ีเดก็ เร่ิม
ใช้สัญลักษณ์และภาษาเป็นเคร่ืองมือแทนเหตุการณ์ และวัตถุจากสิ่งแวดล้อมแทนที่จะเป็นเพียงการ
ตอบสนองตอ่ สิ่งเร้าทางกายภาพในขณะนั้น เด็กจะสร้างและใช้สญั ลักษณ์แทนสง่ิ ของและการกระทา และ
สามารถสร้างการกระทาขึ้นมาใหม่ หรือเลียนแบบการกระทาทีเ่ กิดขึน้ มาแลว้ หลาย ๆ ช่ัวโมงได้ ในขณะที่
แตก่ ่อนเด็กตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมของเขาได้เฉพาะที่เกิดกับเขาโดยตรงและทันทีเท่านัน้ แต่ในชว่ งนี้เขา
เริ่มพัฒนาความสามารถท่จี ะเก็บสิ่งต่าง ๆ ไว้ในสติปัญญาของเขา และเก็บไวใ้ ช้โอกาสต่อมา แต่อย่างไรก็
ตามเขายังไม่สามารถแก้ปัญหาต่าง ๆ อยา่ งผูใ้ หญไ่ ด้ ในการกระทาบางอย่าง

3. ขั้นการใช้ความคิดทางรูปธรรม (The Concrete Operation Period) เด็กในระยะน้ีจะ
สามารถแยกแยะระหว่างขนั้ หรอื กล่มุ ของวัตถุ เช่น ส่งิ มีชีวติ ตรงข้ามกบั สิ่งไม่มีชวี ิต นอกจากนีเ้ ดก็ ในระยะ
การใช้ความคิดทางรูปธรรม สามารถสัมพันธ์การนับด้วยวาจากับการนับจานวนสิ่งของได้ ในระยะน้ีเขา
สามารถแก้ปัญหาง่าย ๆ โดยใช้เหตุผลมากกว่าการลองผิดลองถูก เขาสามารถเรียกปัจจุบันออกจากอดีต
ได้ และจดั เรียงอนั ดับสิง่ ของจากสง่ิ เลก็ ท่ีสดุ ไปสู่สิ่งใหญ่ทส่ี ดุ ได้

4. ขนั้ การใช้ความคดิ ทางนามธรรม (The Formal Operation Period) เปน็ ระยะท่ีเดก็ มอี ายุ
ตั้งแต่ 11 หรือ 12 ปขี น้ึ ไป เมื่อเด็กย่างเข้าในวัยนี้เขาสามารถจดั การกับตวั แปรหลายตัวในเวลาเดียวกนั ได้
และมคี วามเขา้ ใจความสมั พันธเ์ ชงิ นามธรรม ในระยะนกี้ ารหาเหตผุ ลของเขามีลักษณะเหมือนของผใู้ หญ่

ระดับของพัฒนาแตกต่างกันไปตามบุคคล การพัฒนาไปสู่ระยะการใช้ความคิดทางนามธรรม
เป็นผลมาจากส่ิงท่ีเพียเจต์เรียกว่า “การถ่ายทอดทางสังคม” (Social Transmission) ซึ่งหมายถึง
ประสบการณ์นั่นเอง เพ่ือเป็นสมมติฐานไว้ให้เลือก เขาแนะนาว่าแต่ละคนมีความแตกต่างกันในแง่ของ
ความถนัด และองค์ประกอบอันน้ีรับผิดชอบต่อความแตกต่างที่เห็นได้ชัดในการพัฒนาประเภทของ
ลักษณะการคิดในระยะการใช้ความคิดแบบนามธรรม

แนวคิดของเพียเจต์อาจนาไปใช้ในการประเมินศักยภาพทางสติปัญญา เพื่อจัดหลักสูตรการ
เรียนรู้ตามระดับสติปัญญาของผู้เรียน และการเรียนรู้จะขึ้นอยู่กับพัฒนาการทางสติปัญญาของแต่ละคน
นั่นคือการเน้นการเรียนรู้ที่ผู้เรียนจะเรียนรู้ด้วยตนเองมากที่สุด ครูเป็นเพียงผู้ร่วมมือในกระบวนการ
เรียนรู้ และเป็นผู้เตรียมเนื้อหาและประสบการณ์ที่จะให้เด็กได้ค้นพบความรู้ด้วยตนเองเท่าน้ัน และ
พฒั นาการทางด้านสติปัญญามีความสาคัญในเรื่องการวดั ผล เช่น เด็กท่ีพัฒนาในขั้นประสาทรับรู้และการ
เคลื่อนไหวก็ควรวัดผลจากการกระทาหรือกิจกรรมทางกลไกหรือการวัดผลเด็กในขั้นปฏิบัติการคิดด้วย
นามธรรมก็ต้องวัดด้วยการใช้เหตุผลที่ลึกซ้ึง นอกจากนี้ความเช่ือและความคิดของเพียเจต์เก่ียวกับ
พัฒนาการทางสติปัญญาของเด็ก จะช่วยนักพัฒนาหลักสูตรได้เป็นอย่างมากในการกาหนดเนื้อหา และ
กิจกรรมใหเ้ หมาะกบั ผูเ้ รยี นในแตล่ ะวยั

48

การเรยี นรูต้ ามแนวคดิ ของบรูเนอร์
เจอโรม บรูเนอร์ (Jerome S. Bruner) อธิบายลักษณะพัฒนาการทางสติปัญญาและการคิด
ของมนษุ ย์ออกเป็น 3 ข้นั คือ
1. การเรียนรู้จากการสัมผัส (The Enactive Mode) ได้แก่ การเป็นตัวแทนผ่านทางการ
กระทาด้วยตนเอง ปฏิสัมพันธ์ระหวา่ งเด็กกับวัตถุเหล่าน้ันท่ใี หค้ วามจริงเก่ียวกับวัตถุขน้ั น้ีเปรยี บได้กบั ข้ัน
ประสาทรบั รู้และการเคล่อื นไหวของเพียเจต์ เปน็ ขนั้ ท่ีเดก็ จะเรียนร้จู ากการกระทามากที่สุด
2. การเรียนรู้จากภาพความจา (The Iconic Mode) ได้แก่ รูปแบบท่ีเกี่ยวกับการใช้
จินตนาการเพ่ือท่ีจะสรุปและใช้แทนการกระทา เด็กสังเกตและจาลักษณะหรือผิวนอกของวัตถุท่ีเห็นได้
ขัน้ นี้เปรียบได้กบั ขนั้ กอ่ นปฏิบัติการคดิ ของเพียเจต์ซึ่งจะควบคุมข้ันการคดิ ก่อนเกิดความคิดรวบยอด และ
การคิดแบบทางนามธรรมลา้ ลึก ในวัยน้เี ด็กจะเกี่ยวข้องกับความจริงมากข้ึน จะเกิดความคิดจากการรับรู้
เปน็ ส่วนใหญ่ อาจจะมจี ินตนาการบา้ งแตย่ ังไมส่ ามารถคดิ ไดล้ กึ ซึ้งนัก
3. การเรียนรู้จากสัญลักษณ์ (The Symbolic Mode) เป็นพัฒนาการขั้นสูงสุด ขั้นนี้เด็กจะ
สามารถเขา้ ใจความสัมพันธ์ของส่ิงของ สามารถเกดิ ความคิดรวบยอดในสิ่งตา่ ง ๆ ทซี่ ับซ้อนได้มากขนึ้ การ
ใช้สัญลักษณ์ทางภาษามีความคล่องและได้ผลมากกว่าการกระทา หรือภาพ ซ่ึงนาไปสู่จุดสูงสุดของ
ความสามารถทางพุทธิลักษณะได้ ขั้นน้ีเปรยี บได้กับข้ันปฏิบัตกิ ารคิดดว้ ยรูปประธรรม และขั้นปฏิบัติการ
คดิ ดว้ ยนามธรรมของเพียเจต์ เดก็ จะสามารถเขา้ ใจความสมั พนั ธ์ของสง่ิ ของ สามารถเกดิ ความคิดรวบยอด
ในส่ิงต่าง ๆ ที่ซับซ้อนได้มากขึ้น แม้ว่าลักษณะของการเรียนรู้ท้ัง 3 ประเภทน้ีจะจัดลาดับขั้นตอนเอาไว้
แต่ทฤษฎีของบรูเนอร์ไม่ยึดข้ันท่ีกาหนดไว้เป็นกฎตายตัวเหมือนทฤษฎีของเพียเจต์ เพียเจต์เน้นข้อจากัด
ของความสามารถของเด็กในแตล่ ะข้ันแต่บรูเนอร์เน้นผลงานที่เด็กทาไดส้ าเร็จ
การนาทฤษฎขี องบรเู นอรไ์ ปประยกุ ตใ์ ช้ในการพัฒนาหลกั สูตร ควรคานงึ ถงึ สง่ิ ตอ่ ไปน้ี
1. เก่ียวกับโครงสร้างของความรู้ หลักสูตรโรงเรียนจะต้องเปลี่ยนมาให้ความสาคัญต่อการจัด
ระเบียบหรือการจัดเรียบเรียงเนื้อหา หรือโครงสร้างของความรู้ซ่ึงจะช่วยให้ผู้เรียนได้มองเห็น
ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้หรือประสบการณ์เดิมกับความรู้หรือประสบการณ์ใหม่ โดยนัยน้ี การสอน
ของครจู ะต้องมีวิธีการซ่ึงจะส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เข้าใจถึงโครงสรา้ งพื้นฐาน หรือจัดเรียบเรียงความร้ตู ่าง ๆ
ให้อยใู่ นรูปที่มคี วามสมั พนั ธ์กนั และใหส้ อดคลอ้ งกบั พฒั นาการทางสติปญั ญาให้มากทสี่ ุด

49

2. เก่ียวกับความพร้อม การที่คนเราจะเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพน้ัน จาเป็นต้องใช้
หลักสูตรให้เหมาะสมกับความพร้อมทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา จะต้องจัดรูปแบบของ
กิจกรรม ทักษะ และการฝึกหัดให้เหมาะสม และสอดคล้องกับความเจริญงอกงามทางสติปัญญาของเด็ก
จากแนวคดิ ข้างตน้ บรเู นอร์ไดเ้ สนอหลักสตู รแบบใหม่เรยี กว่า หลักสตู รแบบเกลียว (Spiral Curriculum)
ซ่ึงเป็นหลกั สูตรทจ่ี ดั สอนพน้ื ฐานทุกวชิ าให้กบั เด็กทกุ ระดบั

3. เก่ียวกับการจูงใจ บรูเนอร์ได้เน้นเกี่ยวกับการจูงใจ เขาเชื่อว่ากิจกรรมทางการใช้สติปัญญาจะ
ประสบผลสาเร็จอย่างเต็มที่ก็ต่อเมอื่ ผู้เรียนมีความพอใจ ครูควรสร้างแรงจูงใจภายนอกแล้วค่อย ๆ เปล่ยี นเป็น
แรงจูงใจภายใน

3. พ้ืนฐานทางด้านสังคมและวฒั นธรรม
สถานศึกษาเป็นส่วนย่อยส่วนหน่ึงในชุมชนและในภาพกว้าง โรงเรียนจดั เปน็ ส่วนหนึ่งของสังคม

ดว้ ย แต่สถานศึกษาจะเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนที่ดีได้ ก็ต่อเม่ือสถานศึกษาสามารถทางานร่วมกับชมุ ชนได้
สถานศึกษาแต่ละแห่งต่างก็มีลักษณะเช่นเดียวกับชุมชนนั่นคือ ในแต่ละชุมชนต่างก็มีวัฒนธรรมของตนเอง
วัฒนธรรมเป็นเสมือนกรอบของมาตรฐานท่ีแสดงให้เห็นถงึ ความเชื่อและคา่ นยิ มท่ีได้ปฏิบัติมาแล้วเป็นอยา่ งดี
สังคมและวฒั นธรรมและหลกั สูตรของสถานศึกษาจึงต้องเกย่ี วข้องกนั เสมอ (Wood. 1990: 33)

การศึกษาทาหน้าท่ีสาคัญคือ อนุรักษ์และถ่ายทอดวัฒนธรรมของสังคมไปสู่คนรุ่นหลัง และ
ปรับปรุงเปล่ียนแปลงวัฒนธรรมของสังคมให้เข้ากบั การเปล่ียนแปลงทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ต่าง ๆ โดยหน้าที่ดังกล่าวการศึกษาจะช่วยควบคุมการเปลี่ยนแปลงสังคมให้เป็นไปในทิศทางท่ีพึง
ปรารถนา เพราะฉะนั้นหลักสูตรที่จะนาไปสอนอนุชนเหล่านั้นจึงต้องมีความเก่ียวข้องสัมพันธ์กับสังคม
อย่างแยกไม่ออก และโดยธรรมชาตขิ องสงั คมและวัฒนธรรม มักมีการเปล่ียนแปลงไปตามกาลเวลา ดังน้ัน
การพัฒนาหลักสูตรจงึ จาเปน็ ตอ้ งคานึงถึงข้อมูลทางสังคมและวฒั นธรรมท่ีเป็นปจั จุบันอยเู่ สมอ ประเด็นท่ี
ควรคานงึ ถงึ มีดงั น้ี

1. โครงสร้างของสังคม การพัฒนาหลักสูตรจาเป็นต้องศึกษาโครงสร้างของสังคมท่ีเป็นอยู่ใน
ปจั จุบนั และแนวโนม้ โครงสร้างสงั คมในอนาคต เพื่อท่จี ะได้ข้อมูลมาจัดหลักสูตรว่า จะจดั หลักสูตรอย่างไร
เพ่ือยกระดับการพัฒนาสังคมเกษตรกรรมและเตรียมพ้ืนฐานเพื่อการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคมไปสู่การ
พัฒนาอุตสาหกรรม และนวตั กรรมสมัยใหมต่ ามความจาเป็น

50

2. ค่านิยมและความเช่ือของคนในสังคม เน่ืองจากการศึกษาเป็นตัวการท่ีทาให้เกิดการ
เปล่ียนแปลงในสังคม ดังนั้นการพัฒนาหลักสูตรจึงจาเป็นต้องศึกษาถึงค่านิยมต่าง ๆ ในสังคมไทยว่า
ค่านิยมชนิดไหนสมควรจะได้รับการเปลี่ยนแปลง หรือดารงไว้ หรือค่านิยมชนิดไหนควรสร้างข้ึนใหม่
เพ่ือใหม้ คี วามเหมาะสมกับสภาพสังคมไทยในปัจจบุ นั ให้มากทีส่ ุด

3. ธรรมชาติของคนในสังคม ธรรมชาติของคนในแต่ละสังคมย่อมแตกต่างกันออกไป ท้ังน้ี
ข้ึนอยู่กับสภาพพ้ืนฐานทางวัฒนธรรมและค่านิยมนั้น ๆ ในการพัฒนาหลักสูตร ควรคานึงถึงลักษณะ
ธรรมชาติ บุคลิกภาพของคนในสังคม โดยศึกษาพิจารณาว่าลักษณะใดควรจะคงไว้ ลักษณะใดควรจะ
เปล่ียนแปลงไปในทางที่พึงประสงค์ของสภาพสังคมปัจจุบัน เพ่ือท่ีจะจัดการศึกษาในอันท่ีจะสร้าง
บคุ ลิกลักษณะของคนในสังคมตามท่ีสังคมต้องการ เพราะหลักสูตรเป็นแนวทางในการสร้างลักษณะสังคม
ในอนาคต

4. การชี้นาสังคมในอนาคต การศึกษาควรมีบทบาทในการชี้นาสังคมในอนาคตด้วย เพราะใน
อดีตที่ผ่านมาระบบการศึกษา และระบบพัฒนาหลักสูตรของไทยเป็นลักษณะของการตั้งรับมาโดยตลอด
ฉะน้ันการจัดการศึกษาที่ดีควรใช้การศึกษาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาประเทศในอนาคตให้เป็นไปตาม
เป้าหมายที่วางไว้ นักพฒั นาหลกั สตู รจึงควรศกึ ษาข้อมูลตา่ ง ๆ ทีเ่ ปน็ เครื่องช้นี าสังคมในอนาคต

5. การคานึงถึงความหลากหลายของคนและวัฒนธรรมในสังคม เนื่องจากในสภาพสังคม
ปัจจุบันเป็นสังคมยคุ โลกาภิวตั น์ มีการไหลบ่าของคนแต่ละสังคม ดังนั้นสังคมจงึ เป็นทร่ี วมของกลมุ่ คนที่มี
ความแตกต่างในด้านเชื้อชาติ ศาสนา ค่านิยม และความเช่ือ ในการจัดหลักสูตรสถานศึกษาควรคานึงถึง
เรื่องเหลา่ นด้ี ว้ ย

6. ศาสนาและวัฒนธรรมในสังคม ศาสนาเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของคนในสงั คม วฒั นธรรม
เป็นสัญลักษณ์อันสาคัญที่จะแสดงใหท้ ราบว่าเขาเหล่านน้ั เปน็ คนในสังคมเดียวกนั หรอื เปน็ คนชาติเดียวกัน
การพัฒนาหลักสูตรจึงจาเป็นต้องคานึงถึงศาสนาและวัฒนธรรม ความรู้และหลักธรรมทางศาสนาต่าง ๆ
นามาบรรจไุ วใ้ นหลกั สตู ร

4. พนื้ ฐานทางดา้ นเศรษฐกจิ
การศึกษาเป็นเคร่ืองมือสาคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ เพราะการศึกษาเป็นเคร่ืองมือสาคัญใน

การพัฒนาคนซึ่งเป็นส่วนประกอบท่ีสาคัญที่สุดในทุกระบบเศรษฐกิจ เพราะระบบเศรษฐกิจจะ
เจริญก้าวหน้าได้เพียงใดขนึ้ อยู่กับคุณภาพของคนในสังคมนั้น การพัฒนาหลักสูตรให้เหมาะสมกับพ้นื ฐาน
ทางเศรษฐกจิ ควรพจิ ารณาประเดน็ ต่อไปน้ี

51

1. การเตรียมกาลังคน การให้การศึกษาเป็นส่ิงสาคัญในการผลิตกาลังคนในด้านต่าง ๆ ให้
เพียงพอเหมาะสม และสอดคล้องกับความต้องการในแต่ละสาขาวิชาชีพ เพื่อป้องกันการสูญเปล่าทาง
การศึกษา และเพื่อลดปัญหาการว่างงานอันเป็นอุปสรรคตอ่ การพฒั นาประเทศ

2. การพัฒนาอาชีพ การพัฒนาหลักสูตรควรเนน้ การส่งเสรมิ อาชีพส่วนใหญ่ของคนในประเทศ
จัดหลักสูตรเพ่ือพัฒนาอาชีพตามศักยภาพและท้องถิ่น เพ่ือพัฒนาอาชีพให้เหมาะสมเป็นการยกระดับ
รายได้คนในชมุ ชนใหส้ ูงข้นึ เพอ่ื ลดปญั หาช่องวา่ งระหว่างคนรวยและคนจน ลดการหลัง่ ไหลของประชาชน
เข้าไปทางานตามเมืองใหญ่ ส่ิงเหล่าน้ีเป็นหนา้ ท่ีสาคัญที่นักพัฒนาหลักสูตรจะต้องร่วมมือร่วมใจกันจัดทา
หลักสตู รเพื่อพัฒนาอาชพี ให้บรรลุผล

3. การขยายตัวทางด้านอุตสาหกรรม ปัจจุบันประเทศไทยกาลังพัฒนาจากเกษตรกรรมไปสู่
ภาคอุตสาหกรรมมากขนึ้ เรอื่ ย ๆ นักพฒั นาหลักสูตรควรศึกษาขอ้ มูลแนวโนม้ และทศิ ทางการขยายตัวทาง
อตุ สาหกรรม อุตสาหกรรมดา้ นไหนท่ีควรจะได้รับการพัฒนาหรือส่งเสรมิ หรอื เป็นอุตสาหกรรมท่ีต้องการ
และจาเป็นของสังคมหรือของโลก เพื่อท่ีจะได้พัฒนาหลักสูตรให้สามารถพัฒนาเยาวชนให้มีความพร้อม
สาหรับการขยายตัวทางด้านอุตสาหกรรม สามารถผลิตผู้จบการศึกษาที่สามารถเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรมได้
อย่างเหมาะสม

4. การพัฒนาคุณลักษณะของบุคคลในระบบเศรษฐกิจของคนไทย การพัฒนาหลักสูตรต้อง
คานึงถึงการพัฒนาคุณลักษณะของคนไทย ในหลักสูตรจะต้องบรรจุเน้ือหาสาระ และประสบการณ์การ
เรียนรู้ท่มี ีการปลกู ฝังจิตสานึกในความรับผิดชอบร่วมกัน การสร้างค่านิยมในการทางานร่วมกัน การไม่เอา
รัดเอาเปรียบกัน ความขยันหมั่นเพียร การรู้จักอดออม การมีสติรู้คิด การมีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ การ
สร้างเสริมความสามารถในการผลิต การสร้างงานและการประกอบอาชีพ ถ้าหลักสูตรในระดับต่าง ๆ ได้
บรรจุและปลกู ฝังสง่ิ เหลา่ น้ีไวท้ ้ังในแนวกว้างและแนวลึกตามระดับการศึกษาแล้ว ผู้จบการศึกษาก็จะเป็น
บุคคลท่ีสามารถพฒั นาตนเองให้มปี ระสิทธภิ าพทางเศรษฐกิจภายใต้ความเจรญิ ทางด้านเศรษฐกิจได้อย่าง
เหมาะสม

5. การลงทนุ ทางการศึกษา การจัดการศึกษาในทกุ ระดับตอ้ งใช้งบประมาณของรัฐ โดยเฉพาะ
การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน การจัดการศึกษาควรคานึงถึงงบประมาณเพ่ือการศึกษา แหล่งเงินที่จะช่วยเหลือรัฐ
ในรูปงบประมาณในการพัฒนาหลักสูตรควรจัดให้สอดคล้องกับงบประมาณของรัฐ ไม่ว่าในด้านการ
จัดการเรียนการสอน ด้านวัสดุอุปกรณ์ เพ่ือให้การใช้หลักสูตรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และต้อง
คานึงถงึ ผลตอบแทนจากการลงทนุ ในด้านกาลังคน ปรมิ าณ และคณุ ภาพ

52

5. พืน้ ฐานทางดา้ นการเมืองการปกครอง
การเมืองการปกครองเป็นเร่ืองท่ีเก่ียวกับการจัดระเบียบการอยู่ร่วมกัน ในสังคมหมู่มาก

จาเป็นต้องมีระเบียบแบบแผนหรือกติกาต่าง ๆ สาหรับสมาชิกในสังคมยึดถือเป็นแนวปฏิบัติต่อกัน เพ่ือ
ความสงบเรียบร้อยและการอยู่ร่วมกันอย่างสนั ติ ดังนน้ั การเมืองการปกครองจึงเป็นเร่ืองเกี่ยวกบั บทบาท
หนา้ ที่ สทิ ธิ และความรับผดิ ชอบทบ่ี คุ คลพึงมีตอ่ สงั คมและประเทศชาติ

การเมืองการปกครองมีความสัมพันธ์กับการศึกษา ในฐานะท่ีการศึกษามีหน้าท่ีผลิตสมาชิกท่ีดี
ให้แก่สังคมให้อยู่ในระบบการปกครองของประเทศชาติ ช่วยให้ผู้เรียนทราบว่าตนมีสิทธิ์หน้าที่และความ
รับผิดชอบต่อสังคมอย่างไร และควรแสดงแนวคิดและปฏิบัติตนอย่างไร หลักสูตรของประเทศต่าง ๆ จึง
ควรบรรจุเนื้อหาวิชาและประสบการณ์ท่ีจะปลูกฝังให้ประชากรอยู่ร่วมกันในสังคมได้ด้วยความเป็น
ระเบียบเรียบร้อย และสนั ตสิ ุข

ข้อมูลที่เกี่ยวกับการเมืองการปกครองท่ีควรจะนามาเป็นพ้ืนฐานประกอบการพิจารณาในการ
พัฒนาหลักสูตรก็คือ ระบบการเมือง และระบบการปกครอง นโยบายของรัฐ และรากฐานของ
ประชาธิปไตย ฯลฯ เป็นตน้

1. ระบบการเมืองการปกครอง เนื่องจากการศึกษาเป็นเคร่ืองมืออันหนึ่งของสังคม ดังน้ัน
การศึกษากับระบบการเมืองการปกครองจึงแยกกันไม่ออก หลักสูตรของประเทศต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่าง
ยิ่งในระดับประถมศึกษาซึ่งเป็นการศึกษาข้ันพ้ืนฐานมักจะบรรจุเน้ือหาสาระของระบบการเมืองการ
ปกครองไว้ เพอื่ สรา้ งความเข้าใจให้ประชาชนอยรู่ ่วมกันในสงั คมไดด้ ว้ ยความเปน็ ระเบยี บเรยี บร้อย ในบาง
ประเทศท่ีต้องการปลูกฝังอุดมการณท์ างการเมืองให้แกป่ ระชาชน จะบรรจเุ นื้อหาเกี่ยวกับระบบการเมือง
การปกครองไว้ในหลักสูตรระดับต่าง ๆ มากเป็นพิเศษ เพราะฉะน้ัน ในการพัฒนาหลักสูตรควรเลือก
เนื้อหาวิชาประสบการณ์เรียนรู้ และการจัดให้มีการเรียนการสอนเกี่ยวกับระบบการเมืองการปกครองท่ี
ต้องการปลูกฝัง

2. นโยบายของรัฐ เนื่องจากการศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของระบบสังคมจึงมีความจาเป็นต้อง
สอดคล้องกับระบบอ่ืน ๆ ในสังคม การท่ีจะให้ระบบต่าง ๆ สามารถเกื้อหนุนส่งเสริมซึ่งกันและกันจึง
จาเป็นจะต้องมีการประสานสัมพันธ์ระหว่างระบบเหล่านั้น ด้วยเหตุนีร้ ัฐบาลจึงต้องมีนโยบายแห่งรัฐเพื่อ
เป็นแนวทางในการดาเนินงานของระบบต่าง ๆ ให้มีความต่อเน่ืองและสอดคล้องซึ่งกันและกัน นโยบาย
ของรัฐท่ีเห็นได้ชัด คือ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาการศึกษา ในการพัฒนา
หลักสูตรควรจะไดพ้ ิจารณานโยบายของรัฐดว้ ย เพอ่ื ทจ่ี ะได้จดั การศกึ ษาให้สอดคลอ้ งกัน

53

3 รากฐานของประชาธิปไตย จากการที่ประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบ
สมบูรณาญาสิทธริ าชยม์ าเป็นระบอบประชาธิปไตยในปีพ.ศ. 2475 นั้น ความรูค้ วามเข้าใจตลอดจนความร้สู ึก
นึกคิดต่าง ๆ เกี่ยวกับประชาธิปไตยในสังคมไทยยังไมเ่ พียงพอ หลักสูตรในฐานที่เป็นเครื่องมือสาหรับพัฒนา
คนควรที่จะได้วางรากฐานท่ีเกี่ยวกับประชาธิปไตยให้แก่สังคม เพ่ือให้มีความรู้ความเข้าใจอันถูกต้องซึ่งจะ
สรา้ งสรรค์ใหท้ กุ คนอยรู่ ่วมกนั ในสงั คมได้อย่างสันติสุข และไม่มีการเอารัดเอาเปรียบซ่ึงกนั และกัน

6. พ้ืนฐานทางสภาพปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหาในสงั คม
สภาพปัญหาและแนวทางในการแก้ไขปัญหาของสังคม เป็นข้อมูลพื้นฐานที่สาคัญที่ต้องศึกษา

สังคมไทยปัจจุบันกาลังประสบปัญหายุ่งยากหลายประการ ทั้งปัญหาส่ิงแวดล้อม ปัญหาสภาพสังคม
ปัญหาเศรษฐกิจ และปัญหาการเมือง ซึ่งการจะแก้ปัญหาเหล่านี้มีทั้งระยะส้ันและระยะยาว และการ
แก้ปัญหาอาจทาได้ช่ัวคราวหรืออย่างถาวร การจัดการศึกษาเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าวจึงเป็นเร่ืองสาคัญ ที่
นกั พฒั นาหลักสตู รจะตอ้ งศกึ ษาแลว้ นามาสร้างเป็นหลักสตู ร ปญั หาสาคญั ๆ ท่คี วรศกึ ษา คอื

1. ปัญหาทางด้านสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ การขยายตัวของอุตสาหกรรม และการใช้
เทคโนโลยี ทาใหเ้ กดิ ปญั หาสภาวะแวดล้อมทางธรรมชาตมิ ากข้ึน เช่น ปัญหาการทาลายป่าไม้ ความเส่ือมโทรม
ของดิน น้าเสีย และอากาศเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น ปัญหาต่าง ๆ สมควรท่ีจะได้ศึกษาข้อเท็จจริง
ถงึ สภาพปญั หาและแนวทางการแก้ไข เพอื่ ทจี่ ะนาไปเป็นข้อมลู ในการจัดการศึกษาและพฒั นาหลกั สูตร

2. ปัญหาทางด้านสังคม ปัญหาทางสังคมท่ีเป็นอยู่ในปัจจุบันมักจะเกิดขึ้นจากการเปล่ียนแปลง
ของสังคม ซึ่งมีสาเหตุมาจากความเจริญทางวัตถุและวัฒนธรรมตะวันตกที่หล่ังไหลเข้ามาอย่างรวดเร็ว ด้วย
อทิ ธิพลของการส่ือสาร ทาใหค้ นไทยรับวัฒนธรรมตะวันตกเข้ามามากโดยเฉพาะคนในวยั หนุ่มสาวหรือเยาวชน
ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางด้านความคิดระหว่างคนหนุ่มสาวกับผู้ใหญ่ที่ยึดม่ันในวัฒนธรรมเดิม ทาให้เกิด
ปัญหาเก่ียวกับยาเสพติด ปัญหาทางเพศ ปัญหาอาชญากรรม ซึ่งการศึกษาปัญหาเหล่านี้จะเป็นข้อมูลในการ
จัดหลกั สูตร เพอื่ เตรียมเยาวชนใหส้ ามารถดารงอย่ใู นสังคมที่เปลีย่ นแปลงได้อย่างมคี วามสุขและไม่เกิดปัญหา

3. ปัญหาด้านเศรษฐกิจ การพัฒนาหลักสูตรควรได้ศึกษาปัญหาทางด้านเศรษฐกิจท้ังในอดีต
ปัจจุบัน และแนวโน้มปัญหาที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เพ่ือที่จะได้นาข้อมูลทางเศรษฐกิจท่ีได้มาจัดการศึกษาที่
สอดคล้องกับทรัพยากรทางธรรมชาติ และแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ เพื่อกาหนดจุดมุ่งหมาย
ของหลักสูตร การสร้างหลักสูตรรายวิชา และการบรรจุเน้ือหาสาระให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ และ
ประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ ทาให้ผู้ท่ีจบการศึกษาในระดับต่าง ๆ สามารถออกใบประกอบอาชีพได้ และ
สามารถดารงอยู่ได้ในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ โดยไม่เป็นปัญหาหรือภาระของสังคม หรือ
จดั การศกึ ษาเพ่ือใหบ้ ุคคลสามารถสร้างงานได้

54

4. ปัญหาทางด้านการเมืองการปกครอง สภาพปัญหาทางด้านการเมืองของไทยเป็นมาอย่าง
ยาวนานสมควรที่การศึกษาจะเข้าไปมีบทบาทในการพัฒนาทางด้านการเมือง คือ การให้ความรู้และ
ปลูกฝังในเร่ืองของประชาธิปไตย จึงควรท่ีนักพัฒนาหลักสูตรจะได้ตระหนักและพัฒนาหลักสูตร
เน้ือหาวชิ า หรือกิจกรรมการเรยี นการสอน ให้สามารถพัฒนาผเู้ รยี นใหม้ ีจติ สานึกและความรู้สึกรบั ผดิ ชอบ
ตอ่ การเมอื งการปกครองของประเทศ

7. พน้ื ฐานทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าทางดา้ นวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ทาให้สังคมเปลยี่ นแปลงไป ผู้เรยี นเกิด

ความจาเป็นต้องเพิ่มความรู้ใหม่ ทักษะใหม่ แล้วต้องเปล่ียนแปลงเจตคติใหม่ ทาให้เกิดความจาเป็น
จะต้องสร้างคุณธรรมและความคิดใหม่ เพ่ือให้คนในสังคมสามารถปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลงของ
สงั คมได้ โดยใช้การศกึ ษาทาหน้าที่สร้างประชาชน ท่ีมคี ุณภาพและมีความสามารถปรบั ตวั ให้เขา้ กับความ
เจริญทางด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม หลักสูตรที่นามาใช้จึงจาเป็นต้ องมีความ
สอดคล้องกับความเจริญทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปัจจุบันประเทศไทยได้นาเอาความก้าวหน้า
ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาใช้ในสังคมอย่างกว้างขวางในทุก ๆ ด้าน ทาให้เกิดผลกระทบต่อ
สังคมและสง่ิ แวดล้อมทงั้ ทางตรงและทางอ้อม

ดงั นนั้ การจัดการศึกษาจงึ ควรใหป้ ระชาชนตระหนักถึงสภาพข้อเทจ็ จรงิ ต่าง ๆ ที่เปน็ ผลกระทบ
จากความเจริญทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พร้อมท้ังให้เขาได้รับข้อมูลต่าง ๆ อย่างเพียงพอ
เพ่ือให้เขาสามารถเลือกตัดสินใจ ใช้วิธีการปฏิบัติท่ีถูกต้อง ดังน้ันนักพัฒนาหลักสูตรต้องศึกษาข้อมูล
ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทั้งในปัจจุบันและแนวโน้มความเจริญในอนาคต เพ่ือท่ีจะได้พัฒนา
หลักสูตร เพื่อพฒั นาคนใหส้ ามารถดารงตนอยูไ่ ดอ้ ย่างเหมาะสม ในสงั คมที่เปลีย่ นแปลงไป

8. พืน้ ฐานทางสภาพของสังคมในอนาคต
จากสภาพการเปล่ียนแปลงท้ังทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และความเจริญก้าวหน้าทาง

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทยในปัจจุบัน ชี้ให้เห็นว่าในอนาคตประเทศไทยมีแนวโน้มที่จะ
พฒั นาทางด้านอตุ สาหกรรมมากข้ึน ซึ่งจะเป็นผลให้เกิดอุตสาหกรรมใหม่หลากหลายสาขา จากสภาพการ
เปลีย่ นแปลงดังกลา่ ว มผี ลทาใหส้ งั คมเปลย่ี นแปลงไปดงั น้ี

1. จะมีการสง่ เสรมิ อุตสาหกรรมขนาดย่อม (SME) รวมท้งั อตุ สาหกรรมท้องถิน่ (OTOP) มากข้นึ
2. งานอาชีพอิสระมีแนวโน้มจะมีความสาคัญมากข้ึนในอนาคต ทั้งนี้เน่ืองจากลักษณะของการ
ผลติ อตุ สาหกรรมสว่ นใหญ่มกั จะเปน็ การผลติ แบบใชท้ ุนมากกวา่ แรงงาน

55

3. ในอนาคตสภาพสังคมจะมีการแข่งขันและการต่อสู้เพื่อความอยู่รอดเฉพาะตัวมากข้ึน เพราะ
ท่ีดินทากินไม่สามารถขยายเพิ่มให้สมดุลกับประชากรได้ ทาให้เกิดการเข้ามาทางานในเมืองมากข้ึน และ
ภาคอุตสาหกรรมก็ไม่สามารถรองรับแรงงานได้ท้งั หมด เพราะฉะนั้นการแข่งขนั เพ่ือความอยู่รอดจึงมีมากข้ึน

4. การประพฤติปฏิบัติของคนไทยจะเปล่ียนไปจากวัฒนธรรมด้ังเดิม ซ่ึงเป็นผลมาจากการ
เปล่ียนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ความเจริญทางด้านเทคโนโลยี และการหลั่งไหลเข้ามา
ของวัฒนธรรมตะวันตก ซง่ึ จะมผี ลกระทบต่อคณุ ธรรมจริยธรรม ค่านยิ ม และส่ิงแวดลอ้ มของสังคมไทย

5. ในอนาคตคาดว่าการดาเนินชีวิตของคนไทยจะประสบปัญหา ทั้งในด้านสุขภาพและการ
ประกอบอาชีพมากขึ้น ซ่ึงเป็นผลกระทบมาจากการเปล่ียนแปลงทางสังคมเศรษฐกิจ และการเพ่ิมของ
ประชากร

9. พืน้ ฐานจากบุคคลภายนอก และนักวชิ าการสาขาตา่ ง ๆ
ข้อมูลพื้นฐานจากบุคคลภายนอกเป็นข้อมูลท่ีสาคัญอีกส่วนหนึ่งท่ีจะช่วยให้ข้อมูลในการพัฒนา

หลักสูตรสามารถครอบคลุมความจาเป็นในการพัฒนาหลักสูตรได้อย่างกว้างขวาง ข้อมูลดังกล่าว ได้แก่
ข้อมูลจากนักวิชาการในสาขาวิชาต่าง ๆ นักการศึกษา หรือบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้ผลผลิตของการจัด
การศึกษา คอื สถานประกอบการท่ีผู้จบการศึกษาเขา้ ไปสู่ หรืออาจจะเรียกข้อมูลจากสถานประกอบการหรือ
ตลาดแรงงาน เป็นต้น

1. ขอ้ มูลจากนักวิชาการ นักวชิ าการแต่ละสาขาที่มคี วามรู้ ความสามารถ ความชานาญเฉพาะ
ทาง ย่อมรู้ทฤษฎี หลักของธรรมชาติ โครงสร้าง และระดับความยากง่ายของความรู้ในแต่ละศาสตร์ของ
ตนเป็นอย่างดี คณะพัฒนาหลักสูตรจะต้องปรึกษาและร่วมมือกับนักวิชาการเหล่าน้ี เกี่ยวกับการกาหนด
จดุ มุง่ หมายการเรียนรู้ในแต่ละสาขาวิชา ในการกาหนดเน้ือหาวิชาความกว้างความลึก และความต่อเน่ือง
สัมพันธ์ของเน้ือหาเร่ืองในทางปฏิบัติ การพัฒนาหลักสูตรของไทยยังขาดข้อมูลทางด้านน้ีมาก ทาให้เกิด
การสูญเปล่าทางการศึกษา นักวิชาการสาขาต่าง ๆ จึงน่าจะมีบทบาทในการพัฒนาหลักสูตรโดยร่วมเป็น
คณะกรรมการพฒั นาหลักสตู รในแตล่ ะสาขา เพอ่ื สร้างหลกั สูตรทส่ี มเหตุสมผลและสมจริงทางวิชาการ

2. ข้อมูลจากสถานประกอบการ สถานประกอบการเป็นแหล่งข้อมูลท่ีสาคัญแหล่งหน่ึงที่นักพัฒนา
หลักสตู รไม่ควรมองข้าม เพราะหลกั สูตรจะต้องผลิตคนสู่สถานประกอบการต่าง ๆ ในสังคม โดยเฉพาะอยา่ งย่ิง
การพัฒนาหลักสูตรในระดับอาชีวศึกษา ความต้องการของสถานประกอบการเป็นข้อมูลสาคัญที่นักพัฒนา
หลักสูตรควรนาไปพิจารณา เพ่ือจัดหลักสูตรและการเรียนการสอนให้ผู้จบหลักสูตรสามารถเข้าไปสู่สถาน
ประกอบการได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ

56

10. พื้นฐานทางประวัตศิ าสตรแ์ ละการศึกษาหลักสูตรเดิม
การที่ต้องมีการวิเคราะห์หลักสูตรเก่า เน่ืองจากในการพัฒนาหลักสูตรน้ัน เราต้องตั้งต้นจาก

สง่ิ ท่เี รามีอยู่หรือใช้อยู่ จดุ ประสงค์ของการวิเคราะห์ก็เพือ่ ตรวจสอบว่าหลกั สูตรทใี่ ชอ้ ยู่น้ันดหี รือไมอ่ ยา่ งไร
อะไรท่ีดีอยู่แล้ว มีอะไรที่บกพร่อง ล้าสมัย หรือไม่สามารถสนองความต้องการของผู้เรียนและสังคมท่ี
เปล่ียนแปลงไป จุดเด่น จุดด้อย ข้อดี ข้อบกพร่องขององค์ประกอบต่าง ๆ ของหลักสูตรท้ังในแง่ของ
ประสิทธิภาพของการนาไปใช้ รวมท้ังความพึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้อง ข้อมูลเหล่าน้ีเป็นข้อมูลในอดีตท่ีมี
คณุ ค่าแก่การจดั ทาหรอื พัฒนาหลักสูตรปัจจุบันซึ่งในการศึกษาประวัตศิ าสตรแ์ ละประวัติการศึกษาควบคู่
กันไปน้ัน ธารง บัวศรี (2532: 128) ได้แสดงความคิดเห็นว่าหากลองต้ังคาถามต่าง ๆ แล้ว ลองพิจารณา
หาคาตอบจะช่วยให้เห็นความเหมาะสมของการจัดการศึกษาในขณะนั้น ตัวอย่างคาถาม เช่น ปัญหา
เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองในขณะนั้นเป็นอยา่ งไร การจัดการศึกษามีจุดมงุ่ หมายจะแก้ปัญหาดังกล่าว
หรือไม่ วธิ ีการที่ใชแ้ ก้ปัญหาช่วยได้หรือไม่ การจดั การศึกษามีส่วนช่วยยกระดับเศรษฐกิจหรือทาใหร้ ะบบ
สงั คมดขี ้ึนหรือไม่ มีสง่ิ ชี้บอกใด ๆ หรือไม่ ทแี่ สดงว่าหลักสตู รได้คานึงถงึ ความแตกตา่ งระหว่างบุคคล หรือ
พัฒนาการของผู้เรียน หลักสูตรได้ส่งเสริมการถ่ายทอดวัฒนธรรมหรือปรับปรุงวัฒนธรรมอย่างไร
หลกั สูตรมกี ารสง่ เสรมิ จติ สานกึ ในการชว่ ยตนเองหรือไม่ ฯลฯ

เพราะฉะนั้น ถ้านักพัฒนาหลักสูตรได้ศึกษาประวัติศาสตร์ และประวัติการศึกษาแล้วได้มา
วิเคราะห์หาคาตอบจากคาถามเหล่านี้ หรือคาถามอ่ืนที่มีประโยชน์เหมาะสมก็จะช่วยให้ได้คาตอบที่เป็น
ประโยชน์ และเป็นขอ้ มูลในการจดั การศึกษาและพฒั นาหลกั สูตรปัจจุบนั ได้เป็นอย่างดี

11. ขอ้ มูลพน้ื ฐานเกย่ี วกับธรรมชาติของความรู้
การพัฒนาหลักสูตรจะต้องเก่ียวข้องกับความรู้ ไม่ว่าการนาความรู้มาบรรจุไว้ในหลักสูตร หรือ

การจัดหมวดหมู่ความรู้ให้เหมาะสม เพราะฉะนั้นนักพัฒนาหลักสูตร จะต้องมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง
ของความรู้เกี่ยวกับแนวคิดของความรู้ โครงสร้างของความรู้ หรือโครงสร้างของสมองกับพัฒนาการ
ทางด้านความรู้ และแบบฉบับของการสร้างความรู้ความเข้าใจ เพราะข้อมูลดังกล่าวมีผลต่อการพัฒนา
หลักสูตรเปน็ อย่างย่งิ ไมว่ า่ จะเปน็ การออกแบบหลักสูตรหรอื การจดั ทาหลักสตู รก็ตาม

57

1. แนวคิดเกย่ี วกับความรู้
1.1 ความรู้คือ วชิ าหรอื สาขาทเ่ี กดิ จากการประมวลขอ้ เท็จจริงและมโนทัศน์ เข้าเปน็ หมวดหมู่

อย่างเป็นระเบียบ ตามแนวคิดน้ีเช่ือว่า ความรู้ต่าง ๆ ที่มนุษย์ได้ค้นพบ ได้เรียนรู้ หรือได้รวบรวมขึ้นใหม่
คือ ส่ิงท่ีได้ถูกประมวลเข้าไวด้ ้วยกันเป็นหมวดหม่ทู ี่เรียกกนั ว่าเป็นวิชา และเป็นสาขาวชิ า ถ้าหากเอาวิชา
รวมกันเข้าให้อยู่ภายใต้ความหมายที่กว้างข้ึน ตามแนวความคิดน้ีรูปแบบของหลักสูตรจะมีลักษณะเป็น
หลักสูตรรายวชิ าซง่ึ มงุ่ ใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ รยี นร้เู นื้อหาวิชาเปน็ สาคญั

1.2 ความรู้คือผลที่เกิดจากประสบการณ์ ตามแนวคิดน้ีเชื่อว่า ความรู้ไม่ใช่วิชา เพราะวิชาถ้าอยู่
เฉย ๆ โดยลาพังจะไมเ่ กิดอะไรข้ึน แต่ความรเู้ ปน็ ผลจากประสบการณท์ ี่ผู้เรียนได้รบั หรือผู้เรียนได้มีปฏสิ ัมพันธ์
กบั ส่ิงแวดล้อมหรือสิง่ ท่ีต้องการเรียนรู้ ทาใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงในตัวผู้เรียนข้ึน นักพัฒนาหลักสูตรท่ีอยู่ตาม
แนวคิดนี้ ไม่เห็นด้วยกับการใช้วิชาเป็นพื้นฐาน ในการจัดทาหลักสูตร แต่จะจัดหลักสูตรให้สอดคล้องกับความ
ตอ้ งการของผู้เรยี น

1.3 ความรู้คอื ส่ิงที่เกิดข้ึนจากการผสมผสานระหว่างวิชากับสาขาวิชาต่าง ๆ กับประสบการณ์ตาม
แนวคิดนเ้ี ป็นการรวมสองแนวคิดข้างต้นเข้าด้วยกัน เพราะเห็นว่าทางเน้ือหาวิชาและประสบการณ์ต่าง ๆ ล้วน
มีความสัมพันธ์ต่อการออกแบบหลักสูตร ซ่ึงแนวคิดน้ีช่วยในการออกแบบและพัฒนาหลักสูตรมากโดยเฉพาะ
ในการแก้ปัญหาความแตกต่างระหว่างบุคคล การทาหลักสูตรให้สอดคล้องกับพัฒนาการของผู้เรียน และการ
ทาหลักสูตรให้ยดื หยุน่

2. โครงสรา้ งของความรู้
ในอดีตการเลือกความรู้บรรจุลงในหลักสูตร จะพิจารณาในแง่ของการเลือกเน้ือหาให้เหมาะสม
เพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายของหลักสูตร ต่อมาเร่ิมสนใจเจาะลึกเบ้ืองหลังของความรู้ เมื่อเบนจามิน เอส บลูม
(Benjamin S. Bloom) ได้จดั ระบบการจาแนกจุดประสงค์การเรียนร้แู สดงถึงพสิ ยั ต่าง ๆ ของความรู้ ไดแ้ ก่ พุทธิ
พิสัย จิตพิสัยและทักษะพิสัย และต่อมาบรุนเนอร์ (Jerome S.Bruner) ได้วิเคราะห์ความรู้ท่ีมีอยู่ในสาขาวิชา
ตา่ ง ๆ โดยแบ่งโครงสร้างออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนท่ีเปน็ ข้อเท็จจริง (Facts) สว่ นท่เี ป็นหลกั เกณฑ์ (Principles)
และส่วนท่ีเป็นมโนทัศน์ (Concepts) เพราะฉะนั้น ในการจัดทาหลักสูตรความรู้เก่ียวกับโครงสร้างของความรู้
เป็นสิ่งจาเป็นที่นักพัฒนาหลักสูตรจะต้องมีความรู้ความเข้าใจ เพ่ือจะได้บรรจุข้อมูลความรู้ลงในหลักสูตรให้
บรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้ทางด้านพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย อีกทั้งสามารถเลือกความรู้ท่ีเป็น
ขอ้ เท็จจริง หลกั เกณฑ์ หรือมโนทัศน์ ให้เหมาะสมกับการเรยี นรู้ในระดบั ต่าง ๆ ได้

58

3. โครงสร้างของสมองกับพฒั นาการทางความรู้
ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างทางสมองกับพัฒนาการทางความรู้ มีผลต่อการออกแบบ
หลกั สูตร เพราะสมองของคนเรา แบง่ ออกเปน็ 2 สว่ น แตล่ ะสว่ นมีคุณสมบัติเฉพาะตัว สมองส่วนขา้ งซ้าย
ควบคุมการกระทาบางอย่าง เช่น การอ่าน การเขียน การคิดเลข และการลาดับความคิดเป็นขั้นตอน
รวมท้ังการคิดแบบวิทยาศาสตร์ส่วนสมองข้างขวาจะควบคุมการทางานในด้านศิลปะ การสร้างมโนทัศน์
ในสิ่งทีส่ มองเห็น ความคดิ คานงึ จินตนาการ และความเพ้อฝัน เพราะฉะน้นั ในการพัฒนาหลกั สูตร จะตอ้ ง
คานงึ ถึงความสาคญั ของการจดั วชิ าที่มีส่วนสง่ เสรมิ สมองทั้งสองขา้ งใหส้ มดุลกัน พฒั นาสมองท้ัง 2 ดา้ นไป
พรอ้ ม ๆ กัน
4. แบบฉบับของการสร้างความรคู้ วามเขา้ ใจ
แบบฉบับของความรู้ความเข้าใจ หมายถึง วิธีการท่ีแต่ละคนยึดถือเป็นหลักในการประมวล
ข้อมูล และแสวงหาความหมายของข้อมูลน้ัน การที่ทราบว่าผู้ใดมีแบบฉบับในการสร้างองค์ความรู้ความ
เข้าใจอย่างไร จะช่วยให้สามารถกาหนดเน้ือหา และวิธีการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสม ทาให้
ประสิทธิภาพในการเรียนร้สู ูงข้ึน เพราะแบบฉบบั ของความรูค้ วามเข้าใจเป็นปจั จัยสาคญั อย่างหนึ่งที่มีผล
ตอ่ การเรยี นของเดก็
ประเภทของความรู้ความเขา้ ใจ
ในเรื่องของความรู้ความเข้าใจน้ัน ศาสตราจารย์โจเซฟ อี ฮิล (Joseph E. Hill) อธิการบดีของ
วิทยาลัยชุมชนโอคแลนด์ รัฐมิชิแกน สหรัฐอเมริกา ได้ศึกษาวิจัยและจาแนกไว้เป็น 4 ประเภท (Hill
อา้ งองิ จาก ธารง บัวศรี. 2532: 113 - 114)
1. ประเภททแ่ี สดงสญั ลกั ษณ์ (Symbolic Orientation Set)
2. ประเภทที่เกี่ยวกับวฒั นธรรมในการตัดสินใจ (Cultural Determinant Set)
3. ประเภทท่เี กี่ยวกับการใชเ้ หตผุ ล (Modalities of Inference Set)
4. ประเภทที่เกย่ี วกับความจา (Memory Set)
ข้อมูลเกี่ยวกับธรรมชาติของความรู้ดังกล่าว มีความสาคัญต่อการพัฒนาหลักสูตรและ
การจัดการเรียนการสอน นับต้ังแต่การเลือกส่ิงที่ต้องเรียนรู้ การสร้างความสมดุลทางความรู้ การจัด
หลักสูตรที่สร้างความเข้าใจในตนเอง และความสามารถในการแก้ปัญหา สามารถสนองความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล และการสร้างศักยภาพในการเส่ียงหาความรู้ความเข้าใจตามที่ผู้เรียนถนัด เพราะฉะน้ัน
นักพฒั นาหลักสตู รจงึ ควรให้ความสนใจขอ้ มูลดังกล่าวข้างต้นด้วย

59

บทสรปุ
การพัฒนาหลักสูตรจาเป็นต้องใช้ขอ้ มูลพื้นฐานในด้านต่าง ๆ มาพิจารณา เพื่อใช้ประกอบในการ

พฒั นาหลักสูตร โดยข้อมูลเหลา่ น้ีจะช่วยนักพัฒนาหลักสูตรในการทาการตัดสินใจ การออกแบบหลักสูตรได้
อย่างชัดเจน เหมาะกับความต้องการ ความสนใจของผู้เรียน สอดคล้องกับความต้องการของสังคม
สามารถพัฒนาใหผ้ ูเ้ รียนมคี วามร้คู วามสามารถ และทัศนคติทีต่ ้องการได้ ประกอบด้วย

1. ข้อมูลพ้ืนฐานทางด้านปรัชญาการศึกษา ได้แก่ แนวคิดของปรัชญาการศึกษาและแนวคิด
เกยี่ วกับวิธีการสอนตามปรัชญาน้นั ๆ

2. ข้อมลู พ้นื ฐานดา้ นจติ วิทยา ได้แก่ จติ วิทยาพัฒนาการ และจิตวิทยาการเรียนรู้
3. ข้อมูลพ้ืนฐานด้านสังคมและวัฒนธรรม ได้แก่ โครงสร้างของสังคม ค่านิยมและความเช่ือของ
คนในสังคมธรรมชาติของคนในสังคม การชี้นาสังคมในอนาคต การคานึงถึงความหลากหลายของคนและ
วัฒนธรรมในสังคม และศาสนาและวัฒนธรรมในสังคม
4. ขอ้ มลู พื้นฐานดา้ นเศรษฐกจิ ไดแ้ ก่ การเตรยี มกาลังคน การพฒั นาอาชีพ การขยายตวั ทางดา้ น
อุตสาหกรรม การพัฒนาคุณลักษณะของบุคคลในระบบเศรษฐกิจของคนไทย และการลงทนุ ทางการศึกษา
5. ขอ้ มลู พื้นฐานด้านการเมอื ง การปกครอง ได้แก่ ระบบการเมืองและระบบการปกครอง นโยบายของรัฐ
และรากฐานของประชาธปิ ไตย
6. ข้อมูลพื้นฐานด้านสภาพปัญหาและแนวทางการแก้ปัญหาในสังคม ได้แก่ ปัญหาทางด้าน
ส่งิ แวดล้อมทางธรรมชาติ ปญั หาทางด้านสังคม ปญั หาด้านเศรษฐกิจ และปัญหาทางด้านการเมืองการปกครอง
7. ข้อมูลพ้ืนฐานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้แก่ ข้อมูลทางด้านวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีในปัจจุบันและแนวโนม้ ความเจริญทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีในอนาคต
8. ข้อมูลพื้นฐานด้านสภาพสังคมในอนาคต ได้แก่ อุตสาหกรรมขนาดย่อม (SME) อุตสาหกรรมท้องถิ่น
(OTOP) มีมากข้ึน งานอาชีพอิสระมีแนวโน้มจะมีความสาคัญมากข้ึน สภาพสังคมจะมีการแข่งขันและการต่อสู้
เพื่อความอยู่รอดเฉพาะตัวมากข้ึน การประพฤติปฏิบัติของคนไทยจะเปล่ียนไปจากวัฒนธรรมดั้งเดิม และการ
ดาเนินชวี ติ ของคนไทยจะประสบปัญหา
9. ข้อมูลพื้นฐานด้านบุคคลภายนอกและนักวิชาการสาขาต่างๆ ได้แก่ ข้อมูลจากนักวิชาการ
ข้อมูลจากสถานประกอบการ
10. ข้อมูลพื้นฐานด้านประวัติศาสตร์และการศึกษาหลักสูตรเดิม ได้แก่ การศึกษาประวัติศาสตร์ และ
การศึกษาประวัตกิ ารศกึ ษา
11. ข้อมูลพื้นฐานด้านธรรมชาตขิ องความรู้ ได้แก่ แนวคิดและโครงสร้างของความรู้ โครงสร้างของสมอง
กับพฒั นาการทางความรู้ แบบฉบับของการสรา้ งความรูค้ วามเข้าใจ และประเภทของความรคู้ วามเขา้ ใจ

60

เอกสารอา้ งอิง
ทิศนา แขมมณี. (2550). รูปแบบการเรียนการสอนทางเลือกที่หลากหลาย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลยั .
________. (2556). ศาสตรก์ ารสอน: องค์ความรูเ้ พือ่ การจดั กระบวนการเรียนรู้ท่ีมีประสทิ ธภิ าพ. (พิมพ์

ครัง้ ที่ 15). กรงุ เทพฯ: จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
ธารง บัวศร.ี (2532). ทฤษฎีหลกั สูตร (พมิ พค์ รัง้ ที่ 2). กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
บุญชม ศรีสะอาด. (2546). การพัฒนาหลักสูตรและการวิจัยเก่ียวกับหลักสูตร . กรุงเทพฯ:

สุวรี ิยาสาส์น.
ไพฑูรย์ สนิ ลารัตน์. (2553). CCPR กรอบคิดใหมท่ างการศึกษา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลยั ธรุ กจิ บณั ฑิตย์.
วิชัย วงษ์ใหญ่. (2537). กระบวนการพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ.

กรงุ เทพฯ: สุวีริยาสาสน์ .
วิทวัฒน์ ขัตติยะมาน และอมลวรรณ วีระธรรมโม. (2554). การพัฒนาหลักสูตร. สงขลา: คณะ

ศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยทกั ษิณ.
สงดั อทุ รานนั ท์. (2532). พนื้ ฐานและการพัฒนาหลกั สูตร (พิมพค์ ร้ังที่ 3). กรุงเทพฯ: มิตรสยาม.
สาโรช บัวศรี. (2514). ข้อคิดเก่ียวกับปรัชญาการศึกษาไทย: ความคิดบางประการทางการศึกษา.

กรงุ เทพฯ: กรมการฝกึ หัดคร.ู
สาโรช บัวศร.ี (2532). วฒั นธรรมประจาชาติ. กรงุ เทพฯ: อมรินทร์พร้นิ ต้งิ .
สนุ ีย์ ภพู่ นั ธ.์ (2546). แนวคิดพ้นื ฐานการสรา้ งและพัฒนาหลกั สตู ร. เชยี งใหม่: โรงพมิ พเ์ ชียงใหม่.

Bigge, M.L.(1982). Learning theories for teachers (4th ed.). New York: Harper & Row,
Publishers.

Hass. G. (1977). Curriculum Planning: A New Approach. Boston: Allyn and Bacon.
Lall. G.R. and Lall, B.M. (1983). Ways children learn. Illinois: Charles C. Thomas Publishers.
Ornstein. A. C. (1993). Curriculum Foundations, Principles and lssues (2nd ed.). Boston:

Allyn and Bacon.
Pavlov. I. P. (1926). Lectures on Conditioned Reflexes. New York: International Publishers.
Saylor Galen J. and Alexander, W.M. (1974). Planing Curriculum for Schools (3rd ed.). New

York: Holt Rinchart and Winston.
Wood G.H. (1990). Teaching for Democracy educational Leadership 48 (3rd ed.). 32 -37.

61

บทท่ี 3
การพฒั นาหลักสตู ร

ธนภทั ร จันทร์เจรญิ

บทนา

การพัฒนาหลักสูตรเป็นกระบวนการวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทุกประเภท เพ่ือให้ผู้เรียน
เกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมตามจุดประสงค์ท่ีกาหนดไว้ และเป็นการวางแผนกาประเมินผลเพ่ือให้ทราบ
ถงึ การเปลี่ยนแปลงในตัวผู้เรียนว่าบรรลุตามจุดประสงคท์ ม่ี ุ่งหมายหรือกาหนดไว้จริงหรือไม่ มากน้อยเพยี งใด
เพ่ือนาผลท่ีได้ไปปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนาหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพมากข้ึนหลักสูตรท่ีดีจะต้องเหมาะสม
และสอดคล้องกับสภาพวิถีชีวิต สังคมของผู้เรยี น สภาพเศรษฐกจิ การเปลี่ยนแปลงของสังคม ความก้าวหน้า
ทางวิทยาการและเทคโนโลยีต่างๆ ตลอดจนแนวนโยบายของรัฐต่อการพัฒนาประเทศในทุกๆ ด้าน จึงจะ
พฒั นาผ้เู รยี นให้เท่าทนั ต่อการเปลยี่ นแปลงของสงั คมและสามารถดารงชีวติ อย่ดู ีได้

ความต้องการในการพัฒนาหลักสูตรเป็นสิ่งท่ีเห็นได้ชัดเจนอย่างมาก เพราะการจัดการศึกษาไม่
ว่าจะเป็นระดับใด รปู แบบใด ก็ลว้ นแลว้ แต่ต้องอาศัยหลกั สตู รเป็นเข็มทศิ ชี้นาแนวทางในการจัดการศึกษา
ท้งั สน้ิ การพัฒนาหลกั สูตรจึงตอ้ งดาเนนิ การอย่างมีหลกั การ มีระบบ และพฒั นาอย่างตอ่ เนอื่ ง บนพ้ืนฐาน
ของความร่วมมอื และการมีส่วนร่วมของผูท้ ี่มีส่วนเก่ียวขอ้ งทุกฝ่ายทุกระดบั ตลอดจนผู้เช่ียวชาญภายนอก
ด้วย จงึ จะถือไดว้ ่ากระบวนการพัฒนาหลกั สูตรน้นั มปี ระสทิ ธิภาพและเป็นทยี่ อมรับได้ในวงวิชาการ

กระบวนการพัฒนาหลักสูตรที่มีประสิทธิภาพ จาเป็นอย่างย่ิงที่นักหลักสูตรจะต้องศึกษาและทา
ความเข้าใจในองคค์ วามรู้ทเ่ี กีย่ วข้องอยา่ งละเอยี ดลึกซ้ึงและครอบคลุมในศาสตรอ์ ยา่ งชัดเจนและเพียงพอ
ฐานความคิดของการพัฒนาหลักสูตรอยู่ที่ความเช่ือ ปรัชญา และโลกทัศน์ของผู้รับผิดชอบในการพัฒนา
หลักสูตร กอปรกับจะต้องมีความรู้ในหลักวิชาท่ีถูกต้องและชัดเจนเก่ียวกับแนวคิดทฤษฎีด้านการพัฒนา
หลักสูตรควบคู่กันไป ในบทเรียนน้ีจะได้นาเสนอแนวคิดและทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้องกับการพัฒนาหลักสูตรใน
ประเด็นต่างๆ ประกอบด้วย ความหมายของการพัฒนาหลักสูตร ความสาคัญของการพัฒนาหลักสูตร
หลักการพัฒนาหลักสูตร คาศัพท์เกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร คาถามและ
ข้อแนะนาในการพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการพัฒนาหลักสูตร ซึ่งมีรายละเอียดตามลาดับหัวข้อ (ธน
ภทั ร จนั ทร์เจรญิ . 2561: 39-53) ดังน้ี

62

1. ความหมายของการพัฒนาหลกั สูตร
การพัฒนาหลักสูตร ตรงกับคาศัพท์ว่า Curriculum Development มีความหมายตามแนวคิด

ของนกั การศกึ ษาและนกั พัฒนาหลักสูตร ดงั นี้
ทาบา (Taba. 1962A: 82) กล่าวว่า การพัฒนาหลักสูตร หมายถึง การเปลี่ยนแปลงปรับปรุง

หลักสูตรอันเดิมให้ได้ผลดียิ่งข้ึน ทั้งในด้านการวางจุดมุ่งหมาย การจัดเนื้อหา การเรียนการสอน การวัดผล
ประเมนิ ผลและอ่นื ๆ เพื่อให้บรรลจุ ุดมุ่งหมายใหมท่ ี่วางไว้

กู๊ด (Good. 1973: 157) ได้กล่าวถึงความหมายของการพัฒนาหลักสูตรไว้ 2 ประการ คือ
1) การปรับปรุงหลักสูตร หมายถึง การพัฒนาหลักสูตรเพ่ือให้มีความเหมาะสมกับโรงเรียนหรือระบบ
โรงเรียน จุดมุ่งหมายของการสอน หลักสูตร วิธีสอน รวมท้ังการประเมินผล โดยจัดให้มีการปรับปรุง
หลักสูตรท้ังระบบติดต่อกันไปหรือปรับปรุงโปรแกรมการศึกษาให้เหมาะสม และ 2) การเปล่ียนแปลง
หลักสูตร หมายถึง การดัดแปลงให้แตกต่างออกไปจากเดมิ เป็นการสร้างโอกาสทางการเรียนขึ้นใหม่ โดย
การเปลย่ี นแปลงแบบหลกั สูตร

เซเลอร์ และอเล็กซานเดอร์ (Saylor and Alexander. 1974: 86) ให้ความหมายของการพัฒนา
หลักสูตรว่า หมายถึง การจัดทาหลักสูตรเดิมที่มีอยู่แล้วให้ดีข้ึน หรือเป็นการจัดทาหลักสูตรใหม่โดยไม่มี
หลักสูตรอย่กู ่อน การพฒั นาหลกั สูตรอาจหมายรวมถงึ การสรา้ งเอกสารอน่ื ๆ สาหรบั นกั เรยี นดว้ ย

วิชัย วงษ์ใหญ่ (2525: 10) ให้ความหมายของการพัฒนาหลักสูตรว่า หมายถึง การพยายาม
วางโครงการที่จะช่วยให้นักเรียนได้เรียนรู้ ตรงตามจุดมุ่งหมายท่ีกาหนดไว้ หรือการพัฒนาหลักสูตรและ
การสอน คือ ระบบโครงสร้างของการจัดโปรแกรมการสอน การกาหนดจุดมุ่งหมาย เนื้อหาสาระ การ
ปรับปรุงตาราแบบเรียน คู่มือครู และสื่อการเรียนต่างๆ การวัดและการประเมินผลการใช้หลักสูตร การ
ปรับปรุงแก้ไข และการให้การอบรมครูผู้ใช้หลักสูตรให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการพัฒนาหลักสูตรและ
การสอน รวมท้ังการบริหารและบริหารหลักสตู ร

ศักดิ์ศรี ปาณะกุล และคณะ (2556: 5) กลา่ วว่า การพัฒนาหลกั สตู ร หมายถงึ การจดั ทาหลกั สูตร
ข้นึ มาใหม่ โดยที่ยังไม่เคยมีหลักสูตรน้ันมาก่อนเลย กับในอีกความหมายหนึ่ง หมายถึง การจัดทาหลักสูตรท่ีมี
อย่แู ลว้ ให้ดีข้นึ กว่าเดมิ

ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์ (2559: 75) กล่าวว่าการพัฒนาหลักสูตรมีความหมายอยู่ 2 ลักษณะ คือ
1) เป็นการพัฒนาหลักสูตรเดิมท่ีมีอยู่แล้วให้ดีข้ึน และ 2) เป็นการจัดทาหลักสูตรใหม่ท่ีไม่มีหลักสูตรเดิมอยู่
ก่อนเลย ซึ่งการพัฒนาดังกล่าวจะช่วยพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะท่ีดีขึ้น สอดคล้องกับสภาพสังคม และ
บรรลุตามจดุ มุ่งหมายทีก่ าหนดไว้

63

จากแนวคิดของนักหลักสตู รท่ีไดก้ ล่าวมาข้างตน้ สรุปได้วา่ การพัฒนาหลักสูตรมคี วามหมายกวา้ ง
ครอบคลุม 2 นัย คือ 1) การสร้างหลักสูตรข้ึนมาใหม่โดยท่ียังไม่เคยมีหลักสูตรนั้นปรากฏมาก่อน หรือ
2) การพัฒนาหลักสูตรอันเดิมท่ีมีอยู่แล้วให้ดียิ่งข้ึนหรือมีประสิทธิภาพมากข้ึน เหมาะสมสอดคล้องกับ
โรงเรียนหรือระบบโรงเรียน จุดมุ่งหมายของการสอน หลักสูตรและวิธีสอน รวมทั้งการประเมินผล เพ่ือ
พัฒนาผู้เรียนใหม้ ีคณุ ลกั ษณะท่ดี ตี ามจุดมุ่งหมายหรือความคาดหวังที่กาหนดไว้
2. ความสาคญั ของการพฒั นาหลกั สูตร

โลกในปัจจุบันมีสภาวะการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว รุนแรง ต่อเนื่อง สลับซับซ้อน และเป็นพลวัต
อยู่ตลอดเวลา การเปล่ียนแปลงดังกล่าวเป็นผลท่ีเกิดขึ้นจากสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติเองและสิ่งท่ี
เกิดข้ึนจากการสรรค์สร้างส่ิงประดิษฐ์จากความคิดของมนุษย์ โดยอาศัยความเจริญก้าวหน้าทางด้าน
เทคโนโลยีและวิทยาการต่างๆ ส่งผลกระทบให้สังคม เศรษฐกจิ และด้านอื่นๆ เกดิ การเปล่ียนแปลงตามไปด้วย
การศึกษาจึงไม่อาจหยุดนิ่งและใช้วิธีการต้ังรับเหมือนในอดีตได้อีกต่อไป การใช้หลักสูตรเดิมๆ เพื่อการ
จัดการเรียนรู้แบบเดิมจะไม่สามารถพัฒนาทรัพยากรบุคคลให้เป็นต้นทุนทางสังคมท่ีมีคุณค่าและ มี
คุณภาพสอดรับกับความเปล่ียนแปลงของสังคมในยุคโลกาภิวัตน์ได้กระบวนการพัฒนาหลักสูตรจึงต้อง
กระทาอยู่อย่างต่อเน่ืองเป็นระยะๆ เพื่อให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้นและก้าวทันต่อความ
ต้องการของสังคมอย่างเพียงพอ การพัฒนาหลักสูตรมีความสาคัญต่อปัจจัยในด้านต่างๆ (ศักดิ์ศรี ปาณะกุล
และคณะ. 2556: 5-6) ดงั น้ี

1. การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ สภาวะการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจเป็นไปอย่างรวดเร็ว ระบบ
การค้าในระดับโลกหรือภูมิภาคท่ีมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศมีหลายอย่างมากขึ้น การปรับตัว
ทางการค้าไม่เท่าทันสภาวะการเปลี่ยนแปลงระดับโลกทาให้เสียเปรียบคู่แข่งในต่างประเทศ อาชีพเกิด
ใหมม่ ีมากข้ึนทกุ ขณะ การพัฒนาให้ผ้เู รยี นสามารถสรา้ งอาชีพไดด้ ว้ ยตนเองจึงมคี วามจาเปน็ มากขึน้

2. การพัฒนาด้านการเมืองและการปกครอง การปลูกฝังแนวความคิดท่ีช่วยส่งเสริมความเป็น
ประชาธิปไตยอย่างถูกต้องเป็นสิ่งสาคัญและจาเป็นอย่างย่ิง ซึ่งจะช่วยแก้ปัญหาในเร่ืองการซ้ือสิทธิขาย
เสียงในการเลอื กผแู้ ทนแตล่ ะคร้งั ที่ยังคงมีมากอยูใ่ หห้ มดไป

3. การพัฒนาดา้ นสังคม โดยสังคมคาดหวังทจ่ี ะใหก้ ารศึกษาชว่ ยปลกู ฝังและถ่ายทอดวัฒนธรรมท่ี
ดีงามของสังคมให้ดารงคงอยู่ต่อไป ซ่ึงในขณะน้ีการไหลบ่าทางวัฒนธรรมจากต่างประเทศกาลัง
เคล่ือนย้ายเข้ามาอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ตลอดจนปัญหาสังคมในกลุ่มวัยรุ่น เช่น
ปัญหายาเสพติด ปัญหาโรคเอดส์ นอกจากนี้ยังมีปัญหาสังคมอันเน่ืองมาจากการพัฒนาประเทศในด้าน
อ่นื ๆ อีกด้วย เช่น สภาพสังคมที่มีความแตกตา่ งกนั มากของสังคมเมืองกับสังคมชนบท สภาพปัญหาตา่ งๆ
เหล่านี้ หลกั สตู รทพี่ ัฒนาใหม่ตอ้ งช่วยพฒั นาสังคมให้ดีขึน้ ได้ดว้ ย

64

4. การพัฒนาด้านวิชาการ ความรู้ทางด้านวิทยาการต่างๆ มีความเจริญและเพ่ิมข้ึนรวดเร็วมาก
โดยเฉพาะความรู้ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทาให้เกิดเทคโนโลยีใหม่ๆ ท่ีส่งผล
กระทบต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม เช่น เทคโนโลยีส่ือสารโทรคมนาคมคอมพิวเตอร์ ตลอดจนความรู้
ใหม่ๆ ด้านชวี ภาพการปรับแต่งพนั ธุกรรม การพัฒนาหลกั สตู รจงึ ต้องสามารถเตรยี มผู้เรยี นให้พร้อมรับมือ
กบั วิทยาการใหมๆ่ ได้ทนั กบั ความกา้ วหน้าทีเ่ กิดขนึ้

5. การแก้ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติจนเกิน
ขีดจากัด มีผลต่ออนาคตของคนรุ่นต่อๆ ไป ทาให้ไม่มีทรัพยากรธรรมชาติเพียงพอ ปัญหามลพิษทางน้า ทาง
บกและทางอากาศมีมากขึ้น การพัฒนาหลักสูตรต้องช่วยลดปัญหาเหล่าน้ีลงได้ โดยสอนให้ผู้เรียนเกิด
ความรู้ รับรู้ และตระหนักในปญั หาที่เกิดข้ึน เพอื่ จะได้ช่วยปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาต่อไปในอนาคต

3. หลักการพัฒนาหลักสตู ร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรที่มีประสิทธิภาพจะต้องมีการวางแผนการดาเนินงานอย่างเป็นระบบ

มีลาดับขั้นตอนท่ีต่อเน่ือง ชัดเจนและถูกต้อง จึงจะทาให้การพัฒนาหลักสูตรนั้นมีคุณภาพ การดาเนินการ
เพอ่ื พฒั นาหลกั สตู รจาเปน็ ต้องคานงึ ถึงหลกั การสาคัญ (ชัยวัฒน์ สทุ ธริ ตั น.์ 2559: 75 - 76) ดงั นี้

1. การพัฒนาหลักสูตรจาเป็นต้องมีผู้นาที่เชี่ยวชาญและมีความสามารถเร่ืองการพัฒนาหลักสูตร
เป็นอยา่ งดี

2. การพัฒนาหลกั สตู รจาเป็นตอ้ งได้รบั ความชว่ ยเหลือ ความร่วมมอื และการประสานงานอย่างดี
จากบคุ คลทเ่ี ก่ยี วขอ้ งทุกฝา่ ยทกุ ระดับ

3. การพัฒนาหลักสตู รจาเป็นต้องมีการดาเนินงานอย่างเป็นระเบียบแบบแผนต่อเนอื่ งกันไป เร่ิม
ตั้งแต่การวางจุดมุ่งหมายในการพัฒนาหลักสูตรจนถึงการประเมินผลหลักสูตร ในการดาเนินงานจะต้อง
คานึงถึงจุดเร่ิมต้นในการเปลี่ยนแปลงว่า การพัฒนาหลักสูตรจะเร่ิมที่จุดใด จะเป็นการพัฒนาส่วนย่อย
หรือการพัฒนาทั้งระบบ และจะดาเนินการอย่างไรในข้ันต่อไป สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่ผู้มีหน้าท่ีในการพัฒนา
หลักสตู รไม่ว่าจะเปน็ ผเู้ ชยี่ วชาญทางดา้ นการจัดหลักสูตร ครูผสู้ อนหรือนักวชิ าการทางด้านการศกึ ษาและ
บคุ คลต่างๆ ที่เกย่ี วข้อง จะตอ้ งรว่ มมือกนั พจิ ารณาอย่างรอบคอบและดาเนนิ การอย่างมีระเบียบแบบแผน
ทีละข้ันตอน

4. การพัฒนาหลักสูตรจะต้องรวมถึงผลงานต่างๆ ทางด้านหลักสูตรท่ีได้สร้างข้ึนมาใหม่อย่างมี
ประสิทธิภาพ ไม่ว่าจะเป็นเอกสารหลักสูตร เน้ือหารายวิชา การทาการทดสอบหลักสูตร การนาหลักสูตรไปใช้
หรอื การจัดการเรยี นการสอน

65

5. การพัฒนาหลักสูตรที่มีประสิทธิภาพ จะต้องมีการฝึกอบรมครูประจาการให้มีความรู้ ความ
เข้าใจในหลักสูตรใหม่ ความคิดใหม่ และแนวทางการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรใหม่ การพัฒนา
หลกั สูตรจาเป็นท่ีจะตอ้ งคานึงถงึ ประโยชน์ในการพฒั นาจติ ใจ และทศั นคติของผเู้ รียนดว้ ย

4. คาศัพท์เกี่ยวกับการพัฒนาหลกั สูตร
ในการศึกษาทฤษฎีการวางแผนหรือพัฒนาหลักสูตร จะพบว่ามีคาศัพท์อยู่หลายคาที่มี

ความหมายเฉพาะ แต่คล้ายคลึงกันและสามารถนามาใช้แทนกันได้ (สิริพัชร์ เจษฎาวิโรจน์. 2559: 221;
มนสชิ สทิ ธิสมบูรณ์. ม.ป.ป.: 4-6) ดังน้ี

การร่างหลักสูตร (Curriculum Planning) หมายถึง กระบวนการการสร้างหลักสูตร ซึ่งจะ
กล่าวถงึ หลกั สตู รในรูปท่ีคาดหวงั หรือทเี่ ป็นแผนอยา่ งหนงึ่

การพัฒนาหลักสูตร (Curriculum Development) หมายถึง การสร้าง Curriculum Materials
รวมทั้งสื่อการเรียนท่ีนักเรียนใช้ มิได้หมายถึงการวางแผนหลักสูตร แต่จะเป็นผลท่ีเกิดข้ึนจากการวางแผน
หลกั สูตร

การสร้างหลักสูตร (Curriculum Construction และ Curriculum Revision) เป็นคาศัพท์ท่ีใช้
กนั มาแต่ดัง้ เดมิ หมายถงึ การเขยี นและการปรับปรงุ รายวชิ าท่ศี ึกษา

การปรับปรุงหลักสูตร (Curriculum Improvement) หมายถึง การปรับปรุงหรือการวางแผน
หลักสูตรในส่วนท่ีเป็นเป้าประสงค์มากกว่าที่จะหมายถึงกระบวนการในการวางแผนหรือพัฒนาหลักสูตร
ทฤษฎีเก่ียวกับวิชาและเน้ือหาวิชาที่จะนาไปสอน ในกรณีที่มองหลักสูตรว่า เป็นวิชาและเนื้อหาวิชาท่ีจะ
นาไปสอน ทฤษฎีการพัฒนาหลักสูตรก็จะกล่าวถึงในการเลือกเนื้อหาและการจัดการเน้ือหาลงในระดับช้ัน
ต่างๆ

จากความหมายของคาศัพท์ท่ีได้กล่าวมาแล้วในเบื้องต้น อาจกล่าวได้ว่า การพัฒนาหลักสูตร มี
ความหมายกว้างโดยจะหมายถึง การดาเนินการจัดทาหลักสูตรขึ้นมาใหม่หรือการจัดทาหลักสูตรที่มีอยู่
แล้วให้ดีข้ึนก็ได้ ซ่ึงคาศัพท์ท่ีมีความหมายใกล้เคียงกับการพัฒนาหลักสูตรมากที่สุดก็คือ การร่างหลักสูตร
(Curriculum Planning) สาหรับการสร้างหลักสูตร ( Curriculum Construction) ค่อนข้างจะมี
ความหมายแคบ คือ มุ่งถึงการสร้างหลักสูตรหรือจัดทารายวิชาขึ้นมาใหม่เพียงอย่างเดียว ส่วนการปรับปรุง
หลักสตู ร (Curriculum Improvement) ก็คอ่ นข้างจะมุ่งถึงการจัดทาหลักสูตรโดยอาศัยหลกั สตู รที่มอี ยูเ่ ดิม
เปน็ รากฐาน จงึ มคี วามหมายท่ีแคบกวา่ คาวา่ การพัฒนาหลักสตู ร

66

5. รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบของการพัฒนาหลักสูตรโดยทั่วไปส่วนมากมักจะพัฒนามาจากแนวคิดของนักการศึกษา

ชาวต่างชาติ แต่ละรูปแบบอาจจะมีรายละเอียดหรือข้ันตอนที่แตกต่างกันออกไปอยู่บ้าง การเลือกใช้
ขึน้ อยู่กบั ความเหมาะสมและความสนใจของผู้พฒั นาหลักสูตร การนาเสนอในสว่ นนจ้ี ะขอนาเสนอรูปแบบ
ของการพฒั นาหลักสตู รตามแนวคิด ดังน้ี

1. รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรของไทเลอร์ (Ralph W. Tyler)
ไทเลอร์ได้เสนอแนวคิดพ้ืนฐานในการพัฒนาหลักสูตร โดยระบุว่าการพัฒนาหลักสูตรน้ันต้อง
ตอบคาถามสาคัญให้ไดท้ ั้ง 4 ข้อ (Tyler. 1949: 3) คอื

1) มคี วามม่งุ หมายทางการศึกษา (Educational Purposes) อะไรบ้างทโี่ รงเรียนควรจะ
แสวงหา

2) มีประสบการณ์ทางการศกึ ษา (Educational Experiences) อะไรบ้างท่โี รงเรียนควร
จัดขึ้นเพอ่ื ให้บรรลจุ ดุ ประสงค์ทกี่ าหนดไว้

3) จะจัดประสบการณท์ างการศึกษาอย่างไรจงึ จะทาให้การสอนมปี ระสทิ ธภิ าพ
4) จะประเมินประสิทธผิ ลของประสบการณใ์ นการเรยี นอยา่ งไรจงึ จะตดั สินใจไดว้ ่าบรรลุ
ถงึ จดุ ประสงคท์ ี่กาหนดไว้
จากคาถามข้างต้นนามาสู่การกาหนดรูปแบบการพัฒนาหลักสูตรของไทเลอร์ซึ่งสามารถอธิบาย
รายละเอียดในแต่ละประเดน็ ได้ ดังน้ี
1) การกาหนดวัตถุประสงค์ (Identify General Objectives) เป็นการคัดเลือกวัตถปุ ระสงค์ของ
หลักสูตร โดยอาศัยแหล่งข้อมูล 3 ทางคือ ข้อมูลทางด้านเน้ือหาวิชา ข้อมูลด้านผู้เรียน และข้อมูล ทาง
สังคม โดยเรียกว่าวัตถุประสงค์ช่ัวคราว (Tentative General Objectives) เมื่อเลือกวัตถุประสงค์ ได้แล้ว
ต้องนามากล่ันกรองโดยใช้เกณฑ์การพิจารณา 2 ด้าน คือ พิจารณาจากปรัชญาการศึกษาของโรงเรียน
ปรัชญาทางสังคมและจิตวิทยาการเรียนรู้ วัตถุประสงค์ที่ผ่าน การกลั่นกรองแล้ว จะเป็น ลักษณะ
วัตถปุ ระสงค์ที่เจาะจงมากขึ้น ซ่งึ ไทเลอรเ์ รียกว่า จุดประสงค์การเรยี นการสอน (Instructional Objectives)
2) การเลือกประสบการณ์การเรียนรู้ (Selection of Educational Experiences) โดยคัดเลือกให้
สอดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงค์ หลักการเรียนร้แู ละพัฒนาการของผู้เรียน
3) การจัดเรียงลาดับประสบการณ์การเรียนรู้ (Organization of Learning Experiences) เป็น
ประสบการณ์การเรียนรู้อยา่ งเป็นระบบ เรียงตามลาดับข้ันตอน ต้องมเี น้ือหาครบทุกด้านทั้งด้านความคิด
หลักการ ค่านิยมและทักษะ ต้องมีความสัมพันธ์ สอดคล้องกับธรรมชาติของผู้เรียน และธรรมชาติของ
เน้อื หาทีม่ คี วามแตกต่างกัน

67

4) การประเมินผลประสบการณ์การเรียนรู้ (Evaluation of Learning Experiences) เป็น
ขน้ั ตอนสุดท้ายของการพัฒนาหลักสูตร เนื่องจากเป็นขั้นตอนที่ตรวจสอบว่าประสบการณ์ การเรียนรู้ทจี่ ัด
สาหรับผ้เู รยี นนน้ั บรรลุตามวัตถปุ ระสงคท์ ก่ี าหนดไวห้ รอื ไม่เพยี งใด

จากรูปแบบการพัฒนาหลักสูตรของไทเลอร์ เป็นการใช้ข้อมูลที่หลากหลายในการคัดเลือก
จดุ มุ่งหมาย โดยอาศัยข้อมูลด้านเน้ือหาวิชา ข้อมูลทางด้านสังคม และข้อมูลด้านตัวผ้เู รียน มาช่วยในการ
กาหนดจดุ มุ่งหมายช่ัวคราวและมกี ารกล่ันกรองดว้ ยข้อมูลด้านปรชั ญาการศึกษา และจิตวิทยาการเรียนรู้
อีกคร้ังเพ่ือกาหนดเป็นจุดมุ่งหมายที่แท้จริงของหลักสูตร ต่อมาจึงดาเนินการเลือกและ จัดประสบการณ์
การเรียนรู้ โดยใช้หลักความต่อเนื่องจากระดับหน่ึงไปยังอีกระดับหนึ่งท่ีสูงขึ้น จากสิ่งท่ีเกิดก่อนไปสู่ส่ิงท่ี
เกิดข้ึนภายหลัง หรือจากสิ่งที่มีความง่ายไปสู่สิ่งที่มีความยากและบูรณาการ และ การประเมินผลโดยยึด
หลักการใช้เครื่องมือท่มี คี วามเป็นปรนัย มคี วามเชื่อม่ันได้และมคี วามเทยี่ งตรง

2. รปู แบบการพฒั นาหลักสตู รของทาบา (Hilda Taba)
ทาบาเป็นนักการศึกษาอีกผู้หน่ึง ท่ีมีแนวคิดเก่ียวกับรูปแบบการพัฒนาหลักสูตรท่ีมีข้ันตอน
คล้ายรปู แบบของไทเลอร์ ซงึ่ ประกอบด้วย 7 ขนั้ ตอน (Taba. 1962B: 456-459) ดงั น้ี
1) การศึกษาวิเคราะห์ความต้องการ (Diagnosis of Needs) ตรวจสภาพปัญหาและความต้องการและ
ความจาเปน็ ตา่ งๆ ของสงั คมและผูเ้ รียน
2) การกาหนดจุดมุ่งหมาย (Formulation of Objective) การกาหนดจุดมุ่งหมายให้ชัดเจน
หลงั จากการไดศ้ กึ ษาวิเคราะห์ความต้องการแลว้
3) การเลือกเนื้อหาสาระ (Selection of Content) จุดมุ่งหมายท่ีกาหนดแล้วจะมีส่วนช่วยเหลือใน
การเลอื กเน้ือหาสาระ ซ่งึ นอกจากจะต้องใหส้ อดคลอ้ งกบั จุดมงุ่ หมาย วัยและความสามารถของผูเ้ รยี นแล้ว
ยังจาเป็นต้องมคี วามเชื่อถอื และมคี วามสมั พนั ธต์ ่อผู้เรียนดว้ ย
4) การจัดรวบรวมเนื้อหาสาระ (Organization of Content) เน้ือหาสาระท่ีเลือกได้ ต้องนามา
จดั ลาดบั โดยคานึงถงึ ความตอ่ เนอื่ ง ความยากง่าย วฒุ ิภาวะ ความสามารถและความสนใจของผเู้ รียน
5) การคัดเลือกประสบการณ์การเรียนรู้ (Selection of Learning Experiences) ครูผสู้ อนหรือ
ผทู้ เี่ ก่ยี วข้องจะตอ้ งคัดเลอื กประสบการณเ์ รยี นรู้ใหส้ อดคล้องกับเน้ือหาวชิ าและจุดมุ่งหมายของหลกั สูตร
6) การจัดประสบการณ์เรียนรู้ (Organization of Learning Experiences) ประสบการณ์
เรยี นรู้ควรจัดโดยคานงึ ถึงเนื้อหาสาระและความตอ่ เน่อื ง
7) การกาหนดส่ิงท่ีจะประเมินและวิธีการประเมนิ ผล (Determination of What to Evaluate
and of the Ways and Means of Doing it) คือ การตัดสินใจว่าจะต้องประเมินอะไรเพื่อตรวจสอบว่า
บรรลุตามจุดมงุ่ หมายท่ีกาหนดไว้หรือไม่ และกาหนดด้วยว่าจะใช้วธิ ีประเมินอยา่ งไร

68

ท้ังน้ี การดาเนินการทง้ั 7 ข้นั ตอนนี้ ผู้พัฒนาหลกั สตู รไม่จาเป็นตอ้ งเรมิ่ ท่ขี น้ั แรกเสมอไป สามารถ
เรม่ิ ไดจ้ ากขน้ั ตอนท่ีตนเองถนัดหรือมีความสนใจข้ันใดขน้ั หนงึ่ กไ็ ด้

3. รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรของเซย์เลอร์และอเล็กซานเดอร์ (Saylor and Alexander)
เซย์เลอร์และอเล็กซานเดอร์ (Saylor and Alexander) ได้นาเสนอรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
ทมี่ ีขนั้ ตอนสมั พันธต์ ่อเนอ่ื งกันดังภาพที่ 3.1

เปา้ หมาย การออกแบบหลกั สตู ร การนาหลกั สตู รไปใช้ การประเมินหลกั สตู ร
จุดประสงคแ์ ละ ผวู้ างแผนหลักสตู ร ผสู้ อนด้วยประสบการณ์ นกั พัฒนาหลกั สูตร
คดั เลอื กเนื้อหาและจัด หรือสาระการเรียนรวู้ ธิ ี และครเู ลือกวิธี
ขอบเขต ประสบการณ์การ สอน และสอื่ เพอ่ื ช่วยให้ การประเมินหลักสตู ร
เรียนรูใ้ หส้ อดคลอ้ งกัน ผู้เรยี นเกดิ การเรยี นรู้

ผลยอ้ นกลับและปรับปรุง

ภาพที่ 3.1 รูปแบบการพัฒนาหลกั สตู รของเซย์เลอรแ์ ละอเล็กซานเดอร์
ทม่ี า: Saylor and Alexander (1974: 265)

จากภาพท่ี 3.1 จะเห็นได้ว่าเซย์เลอร์และอเล็กซานเดอร์เสนอรูปแบบการพัฒนาหลักสูตรที่เป็น
เชิงระบบโดยเร่ิมท่ีการกาหนดเป้าหมายของหลักสูตรไว้ก่อน แล้วจึงออกแบบสร้างหลักสูตร หลังจากน้ัน
จึงนาหลักสูตรไปใช้ และประเมินผลหลักสูตรตามลาดับ ซ่ึงประมวลผลแล้วต้องมีการนาผล ท่ีได้จากการ
ประเมินไปปรับปรุงหลักสูตรอีกคร้ังหน่ึงเพ่ือให้ได้หลักสูตรท่ีมีคุณภาพสูงขึ้นขบวนการพัฒนาหลักสูตรนี้จะ
ดาเนนิ การต่อเน่อื งกันเปน็ วงจรทีไ่ ม่สิ้นสดุ

69

4. รปู แบบการพฒั นาหลักสูตรของ โอลวิ า (Oliva)
โอลิวา (Oliva. 1992: 171-175) ได้แนวคิดในการพัฒนาหลักสูตร โดยขยายความคิดของ
ตนเองจากท่ีได้เสนอรูปแบบการพัฒนาหลักสูตรไว้เมื่อปี ค.ศ. 1976 ไว้แล้ว กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
ของโอลิวา ได้เสนอองค์ประกอบต่างๆ ดงั นี้
1. กาหนดเป้าหมายของการจัดการศึกษา ปรัชญาและหลักจิตวิทยาการศึกษา ซ่ึงเป้าหมายน้ี
เป็นความเชื่อท่ีไดม้ าจากต้องการของสังคมและผู้เรียน
2. วิเคราะห์ความต้องการของชุมชน ผเู้ รยี นและเน้อื หาวชิ า
3. กาหนดจุดหมายของหลกั สูตร
4. กาหนดวัตถุประสงคข์ องหลกั สูตร
5. จัดโครงสร้างของหลกั สูตรและนาหลกั สตู รไปใช้
6. กาหนดจดุ หมายของการเรยี นการสอน
7. กาหนดจุดประสงค์การเรียนการสอน
8. เลือกยุทธวิธกี ารจัดการเรียนการสอน
9. เลือกวิธกี ารประเมนิ ผลก่อนเรยี นและหลงั เรียน
10. นายุทธวิธกี ารจดั การเรยี นการสอนไปใช้
11. ประเมนิ ผลการจัดการเรียนการสอนไปใช้
12. ประเมนิ ผลหลักสูตร
จากที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นได้ว่า แนวคิดของโอลิวาเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรนั้นเป็น
กระบวนการทางานท่ีเป็นระบบ เปน็ วงจร เชอ่ื มโยงกัน ซง่ึ แสดงได้ดังภาพท่ี 3.2

ภาพที่ 3.2 แบบจาลองการพัฒนาหลักสตู รของ โอลวิ า
ทีม่ า: http://lifestyemyself.blogspot.com/p/oliva.html (เข้าถงึ เมื่อ 7 สงิ หาคม 62)

70

รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรของ โอลิวา มุ่งเน้นความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรและการเรียนการ
สอนอยา่ งเปน็ ขนั้ ตอนซง่ึ สามารถอธิบายได้ดงั ภาพท่ี 3.3

ภาพท่ี 3.3 กระบวนการพฒั นาหลักสูตรของ โอลิวา (Oliva)
ทมี่ า: http://lifestyemyself.blogspot.com/p/oliva.html (เข้าถงึ เมื่อ 7 สงิ หาคม 62)

5. รปู แบบการพฒั นาหลกั สตู รของโบแชมพ์ (Beauchamp)
โบแชมพ์ได้เสนอรูปแบบการพัฒนาหลักสูตรเชิงระบบ ( Model of Curriculum System) ซ่ึง
ระบบประกอบด้วย 3 องค์ประกอบสาคัญ คือ ตัวป้อน เนื้อหาและกระบวนการ และผลผลิต
(Beauchamp. 1981: 145-149) รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรของโบแชมพ์ เร่ิมจากการวิเคราะห์ตัว
ป้อนเข้าของระบบหลักสูตร โดยพิจารณาถึงพ้ืนฐานทางการศึกษาลักษณะของชุมชน ลักษณะและ
บุคลกิ ภาพของบุคคล รวมท้ังยงั ได้วเิ คราะห์หลักสูตรที่มีอยู่ ความรู้ของมนษุ ย์และเน้ือหาวชิ าแตล่ ะวิชา คณุ ค่า
ทางสังคมและวัฒนธรรม และความสนใจของผู้เรียน เพ่ือนาข้อมูลเหล่าน้ีมากาหนดขอบเขตในการทา
หลกั สูตร เลือกบคุ ลากรที่เกี่ยวขอ้ ง เลือกลาดบั การดาเนินงานและวธิ กี ารดาเนนิ งานโดยเลอื กวัตถปุ ระสงค์
ของหลักสูตร เลือกรูปแบบของหลักสูตร วางแผนและเขียนหลักสูตร จัดวิธีการในการนาหลักสูตรไปใช้
ตลอดจนวธิ ีการประเมินผลและการปรับปรุงหลักสูตร สาหรับด้านผลผลติ นัน้ จะได้หลักสูตรที่ประกอบดว้ ย
เนอ้ื หาที่เพ่ิมขน้ึ โดยอาศัยผู้ที่มีสว่ นเกย่ี วข้องได้ช่วยกันสร้างขน้ึ มีการเปลยี่ นแปลงเจตคติ และไดข้ ้อคิดเห็นใน
การนาหลกั สตู รไปสู่การปฏิบตั ิดงั ภาพท่ี 3.4

71

ตวั ป้อน เน้ือหาและกระบวนการ ผลผลิต
(Input) (Output)
( Content and Processes )
-พื้นฐานทางการศึกษา -ขอบเขตในการทาหลกั สตู ร -ไดห้ ลักสตู รทปี่ ระกอบด้วย
-ลักษณะของชุมชน เนื้อหาทเี่ พิม่ ขน้ึ โดยผู้ทม่ี สี ว่ น
-ลักษณะและบคุ ลิกภาพของ -เลือกบุคลากร เกยี่ วขอ้ ง
บคุ คล -เปลี่ยนแปลงเจตคติ
-วิเคราะหห์ ลักสูตรท่ีมีอยู่ -เลือกลาดับการดาเนนิ งานและ -ได้ข้อคิดเห็นในการนา
-ความรขู้ องมนุษยแ์ ละ วธิ ีการ หลกั สตู รไปส่กู ารปฏิบตั ิ
เน้ือหาวิชาแต่ละวชิ า
-คณุ คา่ ทางสงั คมและ -ดาเนินงานโดยการเลือก
วัฒนธรรม วัตถปุ ระสงคข์ องหลกั สูตร
-ความสนใจของผู้เรียน
-วางแผนและเขียนหลักสูตร

ภาพท่ี 3.4 รูปแบบการพฒั นาหลักสูตรของโบแชมพ์
ทมี่ า: Beauchamp (1981: 146)

จากภาพท่ี 3.4 จะเห็นได้ว่ารูปแบบการพัฒนาหลักสูตรของโบแชมพ์ เริ่มจากการวิเคราะห์ตัว
ป้อนเข้าของระบบหลักสูตร โดยพิจารณาถึงพ้ืนฐานทางการศึกษาลักษณะของชุมชน ลักษณะและ
บุคลิกภาพของบุคคล รวมทั้งยังได้วิเคราะห์หลักสูตรทีม่ ีอยู่ ความรู้ของมนุษย์และเน้ือหาวชิ าแตล่ ะวิชา คุณค่า
ทางสังคมและวัฒนธรรม และความสนใจของผู้เรียน เพ่ือนาข้อมูลเหล่าน้ีมากาหนดขอบเขตในการทา
หลักสตู ร เลือกบคุ ลากรท่ีเกย่ี วข้อง เลอื กลาดับการดาเนนิ งานและวธิ ีการดาเนนิ งานโดยเลอื กวัตถปุ ระสงค์
ของหลักสูตร เลือกรูปแบบของหลักสูตร วางแผนและเขียนหลักสูตร จัดวิธีการในการนาหลักสูตรไปใช้
ตลอดจนวธิ ีการประเมินผลและการปรับปรุงหลักสูตร สาหรบั ดา้ นผลผลติ นัน้ จะได้หลกั สูตรท่ีประกอบด้วย
เนือ้ หาที่เพิ่มข้ึนโดยอาศยั ผู้ท่ีมีสว่ นเก่ียวข้องได้ช่วยกันสร้างข้ึน มกี ารเปลยี่ นแปลงเจตคติ และได้ข้อคดิ เห็นใน
การนาหลกั สตู รไปส่กู ารปฏบิ ตั ิ

6. รปู แบบการพฒั นาหลกั สูตรแบบ Backward Design
วิโฬฏฐ์ วัฒนานิมิตกูล (2559: 203-206) ได้ศึกษาแนวคิดของ วิกกิน แกรนท์และเจย์แมคทิค
(Wiggins Grant & Jay McTighe. 1998: 2) แลว้ นาเสนอว่า แนวทางการพัฒนาหลกั สูตรแบบ Backward
Design มีรากฐานจากความคิดในเรื่อง“ ความเข้าใจ (Understanding)” บุคคลท้ัง 2 ดังกล่าวเสนอ

72

แนวคิดไว้ในหนังสือช่ือ“ Understanding by Design” ที่เน้นการเริ่มต้นจากเป้าหมายหรือผลลัพธ์ท่ี
ตอ้ งการ แล้วจงึ ดาเนินการพัฒนาหลักสูตรโดยเทียบจากผลการเรยี นรู้กับมาตรฐานและความต้องการท่ีจะ
ให้ผู้เรียนมีพฤติกรรม นอกจากนั้นยังต้องคานึงถึงความรู้พ้ืนฐานของผู้เรียน แบบแผนของหลักสูตร การ
วัดผล และมาตรฐานจากภายนอกด้วย สาระสาคัญของการพัฒนาหลักสูตรตามแนวทาง Backward
Design ประกอบดว้ ยข้ันตอน 3 ขนั้ ตอน คือ

ขน้ั ตอนที่ 1 การกาหนดผลลัพธท์ ่ีต้องการ (Identify Desired Results) ขนั้ ตอนแรกนเ้ี ริ่มต้นจาก
การตั้งคาถาม 3 ประการคือ 1) ผู้เรียนควรมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถทาอะไรได้บ้าง 2) ความ
เข้าใจที่จะทาให้เกิดคุณค่ามีอะไรบ้าง 3) ความเข้าใจน้ันจะกาหนดได้อย่างไร การดาเนินการในข้ันน้ีจึง
ต้องตรวจสอบมาตรฐานการเรียนรู้ในระดับต่างๆ และความมุ่งหวังของชุมชน แล้วนามากาหนดความ
คาดหวงั ของหลักสตู รกาหนดกรอบแนวคิด จัดลาดับเน้ือหาสาระ ซ่ึงสามารถลาดับเปน็ ภาพวงแหวนซ้อน
กัน 3 วง ดงั ภาพที่ 3.5

คุณค่าทใี่ กลเ้ คยี ง

ความสาคญั ของ
ความรู้ และลงมือทา

ความคงอยขู่ อง
ความในใจ

ภาพท่ี 3.5 การจัดลาดบั หลักสูตรแบบ Backward Design
ท่มี า: Wiggins G & McTigle J. (1998: 10 อา้ งถึงใน วโิ ฬฏฐ์ วัฒนานมิ ิตกูล. 2559: 204)

73

จากภาพท่ี 3.5 อธิบายได้ว่า 1) วงแหวนที่ใหญ่ท่ีสุดกล่าวถึงคุณค่าท่ีใกล้เคียง เป็นเน้ือหาท่ี
กาหนดในภาพกว้างท่ีเก่ียวข้องหรือเป็นพื้นฐานของการเรียนรู้ เช่น กาหนดว่าต้องการให้ผู้เรียนมี
ความสามารถในการอ่านเขียน ฟัง มองเห็น ศึกษา วิจยั หรืออ่ืนๆ ในด้านใดบ้าง 2) ในวงแหวนตอนกลาง
เป็นความรู้ท่ีสาคัญ (ข้อเท็จจริง มโนทัศน์ และหลักการ) และทักษะ (กระบวนการ กลยุทธ์ วิธีการ) ซึ่ง
เป็นส่วนท่ีกาหนดถึงประเด็นสาคัญ ๆ ท่ีทาให้ผู้เรียนรอบรู้ทั้งนี้การตรวจสอบความรู้ อาจใช้วิธีการวัดผล
ท้ังแบบอิงเกณฑ์ และอิงกลุ่ม โดยกาหนดความรู้พื้นฐานและทักษะที่จาเป็นที่จะทาให้ผู้เรียนมีผลการ
ปฏิบัติได้สาเร็จลุล่วง และ 3) วงแหวนตอนในที่เล็กท่ีสุด เป็นการแสดงถึงความคงอยู่ของความเข้าใจใน
กระบวนวิชาโดยท่ี “ความคงอยู่ (Enduring)” กาหนดเฉพาะใจความสาคัญท่ีต้องการให้ผู้เรียนเกิดความ
เข้าใจอย่างลึกซ้ึงและยังคงความรู้น้ันไว้ ทั้งนี้เพื่อยืนยันว่าเนื้อหาใดบ้างที่มีคุณค่าต่อความเข้าใจ ดังนั้น
เนื้อหาในส่วนน้ีจึงควรได้รับการคัดเลือกภายใต้เกณฑ์ที่ชัดเจน กล่าวคือควรเป็นเนื้อหา หัวข้อและ
กระบวนการท่ีมีลักษณะ ดังนี้ 1) เป็นประเด็นสาคัญ 2) เป็นหลักการสาคัญของวิชานั้นๆ 3) ต้องมีความ
ชัดเจน และ 4) มศี กั ยภาพพอเพยี งทีจ่ ะทาใหผ้ ู้เรยี นผกู พันกบั สิง่ น้ันๆ ตลอดไป

ข้ันตอนที่ 2 พิจารณาผลที่ยอมรับได้ (Determine Acceptable Evidence) เป็นข้ันตอนที่เน้น
การตรวจสอบถึงหน่วยการเรียนรู้และกระบวนวิชาในลักษณะการวัดผ ลท่ีคาดว่าจะเกิดแก่ผู้เรียนโดย
จะต้องมีการยอมรับเกี่ยวกับแผนการเรียนรู้ท่ีจะทาให้ผู้เรียนประสบความสาเร็จดังนั้นหน่วย
การเรียนหรือกระบวนวิชาจึงต้องคานึงถึงขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนที่ส่งเสริมความสาเร็จของ
ผู้เรียนอย่างไรก็ตามในการวัดผลต้องคานึงถึงช่วงเวลาและวิธีการวัดผลด้วย ซึ่งลาดับข้ันตอนวิธี
การวัดผลจะเริ่มตั้งแต่การตรวจสอบว่าผู้เรียนมีความเข้าใจเพียงใดโดยดาเนินการอย่างไม่เป็นทางการ
เชน่ การซกั ถามปากเปล่า การสงั เกต พูดคุยอยา่ งไม่เป็นทางการ ในระหวา่ งดาเนินการสอนอาจมีแบบทด
สอยย่อยด้วยแบบทดสอบ นอกจากน้ีให้มีการสร้างเสริมทางวิชาการและให้ตอบคาถามปลายเปิดและ
ทา้ ยทส่ี ุดจึงประเมินผลการปฏิบัติดว้ ยการวดั ผลตามสภาพจรงิ

ข้ันตอนท่ี 3 การวางแผนจัดประสบการณ์การเรียนและการสอน (Plan Learning Experiences
and Instruction) ในขั้นตอนสดุ ทา้ ยน้เี ป็นการออกแบบการจดั ประสบการณก์ ารเรียนการสอนทจี่ ะให้เกิด
ความคงอยู่ของความเข้าใจอยู่ในความทรงจาตลอดไปจึงเน้นการวางแผนการจัดกิจกรรมการสอนโดย
คานึงถึงประเด็นหลักดังต่อไปนี้ 1) ความรู้ (ข้อเท็จจริง) มโนทัศน์ และหลักการ) รวมทั้งทักษะหรือ
กระบวนการที่ผ้เู รยี นจะมคี วามรแู้ ละพฤติกรรมท่ีคาดหวงั 2) กิจกรรมท่ีจะทาใหผ้ ู้เรียนมีความร้แู ละทักษะ
ตามที่ต้องการ 3) วัสดุอุปกรณ์ที่จะช่วยเสริมให้ผู้เรียนบรรลุเป้าหมาย และ 4) แบบของการสอนท่ี
ครอบคลุมจดุ มงุ่ หมายได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิผล

74

7. รปู แบบการพฒั นาหลกั สูตรของวชิ ยั วงษใ์ หญ่
วิชัย วงษ์ใหญ่ (2535 อ้างถึงใน ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. 2559: 89-91) ได้นาเสนอรูปแบบ
การพัฒนาหลักสูตรแบบครบวงจร (Integrated Curriculum Development Model) ซ่ึงเป็นรูปแบบท่ี
ประกอบด้วยระบบใหญๆ่ 3 ระบบ คือ ระบบการรา่ งหลักสูตร ระบบการนาหลักสูตรไปใช้ และระบบการ
ประเมินหลักสูตร ระบบท้ัง 3 จะสัมพันธ์ต่อเน่ืองกันเพื่อให้เกิดภาพรวมที่เป็นเอกภาพของ
กระบวนการพฒั นาหลักสตู ร ดงั ภาพท่ี 3.6

ระบบการร่างหลักสตู ร ระบบการนาหลักสตู รไปใช้ ระบบการประเมนิ หลกั สูตร
-ส่งิ กาหนดหลักสตู ร -การขออนมุ ตั ิหลกั สตู ร -การวางแผนการประเมิน
-รปู แบบหลักสตู ร -การวางแผนการใชห้ ลกั สูตร หลักสตู ร
-การตรวจสอบหลักสูตร -การดาเนนิ การใช้หลกั สตู ร -การเก็บขอ้ มลู
-การปรบั แก้หลกั สตู รก่อน -การวิเคราะหข์ อ้ มูล
นาไปใช้ -การรายงานขอ้ มลู

ภาพที่ 3.6 รปู แบบการพัฒนาหลกั สตู รของ วชิ ยั วงษ์ใหญ่
ท่ีมา: ชัยวัฒน์ สทุ ธริ ตั น.์ (2559: 89-91)

จากภาพท่ี 3.6 รปู แบบการพัฒนาหลกั สตู รของ วชิ ยั วงษใ์ หญ่ ทัง้ 3 ระบบมรี ายละเอียดดงั น้ี
1. ระบบการร่างหลกั สูตร ประกอบดว้ ย 4 ข้ันตอน ยอ่ ยๆ คอื
1.1 ส่ิงกาหนดหลักสูตร คือ ขั้นของการเตรียมศึกษาข้อมูลพ้ืนฐานด้านต่างๆ ท่ีจะนามาใช้
สาหรับการพฒั นาหลักสตู ร อนั ได้แก่

1.1.1 สง่ิ กาหนดทางวิชาการ เป็นส่ิงสาคัญยิ่ง นักพฒั นาหลักสตู รต้องพยายามหายุทธวธิ ีปรับ
ความหลากหลายทางความคิดของผู้เชี่ยวชาญสาขาต่างๆ และความสาคัญของสาขาวิชาต่างๆ ให้มี
เอกภาพเปน็ ไปตามหลกั การและโครงสรา้ งของหลักสตู รทกี่ าหนดไว้

1.1.2 ส่ิงกาหนดทางสังคม วัฒนธรรมและเศรษฐกิจ เป็นส่ิงท่ีนักพัฒนาหลักสูตร ควรต้อง
ศึกษาข้อมูลพื้นฐานด้านต่างๆ ของส่ิงกาหนดเหล่าน้ีอย่างชัดเจนและถูกต้องตามหลักการ จะช่วยให้การ
กาหนดรูปแบบ โครงสร้าง และมาตรฐานการศึกษาได้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย ข้อมูลในด้านน้ี ได้แก่
ความเช่ือ ค่านิยม ความคาดหวังของสังคม ความต้องการจัดการศึกษา หลักสูตรท่ีจะพัฒนาในอนาคต
ผู้สาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรควรมีบทบาทอย่างไรในสังคม วฒั นธรรมและเศรษฐกจิ

75

1.1.3 สิ่งกาหนดทางการเมือง จะบ่งช้ีถึงงบประมาณ ระยะเวลาและคุณภาพของการจัด
การศึกษา เพ่ือให้สอดคลอ้ งกับความจาเป็นตามสภาพการเมอื ง

1.2 รูปแบบหลักสูตร เป็นข้ันของการนาข้อมูลพ้ืนฐานจากส่ิงกาหนดหลักสูตรต่างๆ มาใช้เพ่ือ
กาหนดรูปแบบหลักสูตรข้อควรมีลักษณะใด ความมีโครงสร้างและองค์ประกอบหลักสูตรอย่างไร ซ่ึงจะ
สะทอ้ นใหเ้ หน็ ภาพรวมและมาตรฐานการศกึ ษาของแต่ละหลักสตู ร

1.3 การตรวจสอบหลักสูตร เป็นข้ันของการตรวจสอบคุณภาพและศึกษาความเป็นไปได้ของ
หลักสูตรที่ร่างข้ึนเพ่ือปรับปรุงแก้ไขก่อนนาไปใช้จริง วิธีการตรวจสอบมีหลายวิธี เช่น จัดประชุมสัมมนา
ผู้เชี่ยวชาญและผู้มีประสบการณ์ตรงในเรื่องน้ัน วิจัยเอกสารหลักสูตร การใช้เทคนิคเดลฟาย (Delphi
Technique) การทดลองใชห้ ลักสตู รเพ่อื ให้ได้ข้อมูลทนี่ าไปสู่การปรบั แก้กอ่ นนาไปใช้ต่อไป

1.4 การปรับแก้หลักสูตรก่อนนาไปใช้ เป็นการนาข้อมูลจากข้อ 1.3 ที่ได้จัดหรือสังเคราะห์เป็น
หมวดหมู่ชัดเจน มาปรับแก้ไขหลกั สตู รอย่างเป็นระบบและมีประสิทธภิ าพ ทงั้ นี้ควรทบทวนให้รอบคอบว่า
ข้อมูลส่วนใดท่ีจะใช้เพื่อปรับแก้หลักสูตรส่วนใด และถ้าปรับแก้แล้วจะไปกระทบหลักการโครงสร้างของ
หลักสตู รมากนอ้ ยเพยี งใดรวมท้งั ชีแ้ นวทางปฏิบตั ิให้ชัดเจนขนึ้ หรือไม่

2. ระบบการใชห้ ลักสูตร ประกอบด้วยขนั้ ตอนย่อย 3 ขั้นคือ
2.1 การขออนุมัติหลักสูตร เมื่อได้ตรวจสอบคุณภาพและปรับแก้ไขหลักสูตรเรียบร้อยแล้ว

ข้ันตอนต่อไปก่อนจะนาหลักสูตรไปใช้ก็คือ ต้องนาหลักสูตรไปเสนอหน่วยงานระดับสูงก็ขอความเห็นชอบให้
นาไปใช้ได้ เช่น ขออนุมัติผู้บริหารสถานศึกษา หรือผู้อานวยการเขตพ้ืนท่ีการศึกษา หรือ
กระทรวงศึกษาธกิ าร หรือหน่วยงานท่ีมอี านาจในการอนุมัติใชห้ ลักสูตร

2.2 การวางแผนใช้หลักสูตร เป็นขั้นตอนที่ดาเนินควบคู่กันกับขั้น 1.2.1 เพราะต้องรอขอ
อนมุ ัติหลักสูตร ขนั้ น้เี ป็นการวางแผนการใชห้ ลกั สูตรประกอบด้วย

2.2.1 การประชาสมั พนั ธห์ ลกั สูตร
2.2.2 การเตรยี มงบประมาณ
2.2.3 การเตรยี มความพร้อมของบุคลากรทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับหลกั สตู ร
2.2.4 การเตรียมวสั ดหุ ลกั สูตร
2.2.5 การเตรียมงานบรกิ ารสนับสนุนอาคารสถาน
2.2.6 การเตรียมระบบบรหิ ารหลักสูตรของสถาบนั การศึกษา
2.2.7 การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการให้กับผสู้ อน
2.2.8 การประเมนิ ผลและติดตามการใช้หลกั สูตร

76

2.3 ขั้นดาเนินการใช้หลักสูตรหรือบริหารหลักสูตร ถือเป็นข้ันตอนที่สาคัญ ดังมีคากล่าวว่า
“หลักสูตรแม้จะปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอย่างใด ถ้าผู้สอนผู้สนใจ ไม่เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนการ
สอน หลักสูตรใหม่นั้นก็ไม่มีความหมาย” ดังนั้นนอกจากนักพัฒนาหลักสูตรจะต้องใช้ศาสตร์ คือ การ
วางแผนการใช้อย่างเป็นระบบและเทคโนโลยกี ารศึกษามาช่วยเสริมแล้ว ยงั ต้องใช้ศลิ ป์ คือต้องสร้างความ
เข้าใจกับผู้ใช้หลักสูตรให้ชัดเจนซ่ึงได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้สอน และผู้เกี่ยวข้อง ซ่ึงเป็นบุคคลท่ีมี
บทบาทสาคัญมากในการทาให้การใชห้ ลักสตู รประสบความสาเรจ็

3. ระบบการประเมินหลักสูตร คือ ข้ันตอนสุดท้ายของการพัฒนาหลักสูตรเป็นกระบวนการ
เปรียบเทียบระหว่างผลการใช้หลักสูตรท่ีวัดได้กับวัตถุประสงค์ของหลักสูตรว่าการปฏิบัติจริงน้ันได้ผล
ใกล้เคยี งกับวตั ถุประสงคท์ ีก่ าหนดหรอื ไม่ จดุ ประสงค์ของการประเมนิ หลักสูตร คือ

3.1 เพอื่ ศึกษาว่าหลักสตู รเมอื่ นาไปปฏิบตั จิ ริงได้ผลเพียงใด บรรลวุ ตั ถุประสงค์หรอื ไม่
3.2 เพอ่ื ค้นหาแนวทางปรับปรุงหลกั สูตร หากพบสง่ิ บกพร่อง
3.3 เพ่ือวิเคราะหข์ อ้ ดีและขอ้ เสยี ของวธิ กี ารจัดประสบการณ์การเรียนรู้
3.4 เพื่อช่วยการตดั สนิ ใจของฝ่ายบริหารวา่ ควรจะใช้หลกั สตู รน้ีต่อไปอกี หรือไม่ โดยระบบการ
ประเมนิ หลักสูตรมี ดงั นี้

3.4.1 การวางแผนการประเมนิ หลักสูตร ว่าจะประเมินหลกั สตู รในส่วนใดบา้ ง เช่น ประเมิน
เอกสารหลักสูตร ประเมินระบบย่อยๆ ของระบบหลักสูตร หรือประเมินทั้งระบบ พร้อมทั้งวางแผนการ
เกบ็ รวบรวมข้อมลู

3.4.2 การเกบ็ ข้อมลู คอื การรวบรวมข้อมูลให้เป็นหมวดหมูต่ ามท่ีวางแผน
3.4.3 การวเิ คราะห์ข้อมูล คือ การนาขอ้ มูลที่เก็บรวบรวมจาก 3.4.2 มาวิเคราะหต์ ามแผนท่ี
กาหนด
3.4.4 การรายงานข้อมูล คือ การจัดทารายงานเพื่อประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารและ
เพ่อื การตัดสินใจของคุณค่าของหลักสูตรว่า เป็นไปตามวัตถุประสงค์หรือไมต่ ้องปรับแก้ไขส่วนใด
8. รปู แบบการพฒั นาหลักสูตรของ สงดั อุทรานนั ท์
สงดั อุทรานนั ท์ (2532: 38-43) ไดเ้ สนอแนะวฏั จกั รของกระบวนการพัฒนาหลกั สตู รไว้ 7
ขั้นตอน ดังภาพท่ี 3.7

77

ภาพที่ 3.7 รูปแบบการพฒั นาหลักสูตรของสงัด อุทรานนั ท์
ที่มา: สงดั อทุ รานันท์ (2532: 39)

จากภาพท่ี 3.7 รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรของ สงัด อุทรานันท์ อธิบ ายวัฏจักรของ
กระบวนการพัฒนาหลกั สตู รท้งั 7 ขัน้ ตอนได้ ดงั น้ี

ขั้นท่ี 1 การวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน เป็นกระบวนการท่ีมีความสาคัญและเป็นข้ันตอนของการ
พัฒนาหลักสูตร เพื่อให้ทราบถึงสภาพปัญหา ความต้องการทางของสังคม และผู้เรียนจะช่วยให้สามารถ
จดั หลกั สตู รใหส้ นองต่อความต้องการและสามารถแกป้ ญั หาแตกต่างๆ ได้

ขั้นท่ี 2 การกาหนดจุดมุ่งหมายของหลักสูตร เป็นข้ันตอนท่ีกระทาหลังจากการวิเคราะห์และได้
ทราบถึงสภาพปัญหา ตลอดจนความต้องการต่างๆ การกาหนดจุดมุ่งหมายของหลักสูตรน้ัน เป็นการมุ่ง
แกไ้ ขปัญหา และสนองความต้องการทไี่ ด้จากการวเิ คราะหข์ ้อมลู

ขนั้ ที่ 3 การคัดเลอื ก การจัดเน้ือหาสาระ และการจัดการเรียนรู้ เนื้อหาสาระและประสบการณ์เรียนรู้
ที่นามาจัดไว้ในหลักสูตรต้องผ่านการพิจารณากลั่นกรองตามความเหมาะสม และสอดคล้องกับ
จุดมุง่ หมายที่เราถูกกาหนดไว้

ข้ันที่ 4 การกาหนดมาตรการวัดผลประเมินผล ขั้นน้ีมุ่งทีจ่ ะหาเกณฑม์ าตรฐานเพ่ือที่ใช้ในการวัด
ประเมินวา่ วัดผลประเมนิ ผลอะไรบา้ ง ซง่ึ สอดคล้องกบั เจตนารมณห์ รอื จดุ มงุ่ หมายของหลักสตู ร

78

ข้ันท่ี 5 การทดลองใช้หลักสูตร ข้ันตอนนี้มุ่งหาจุดอ่อนหรือข้อบกพร่องต่างๆ ของหลักสูตร หลัง
ไดม้ กี ารร่างหลักสตู รเสร็จแล้ว ทั้งนเ้ี พ่ือหาวิธีแก้ไขและปรับปรงุ แก้ไขใหด้ ียิ่งขึ้น

ข้ันที่ 6 การประเมินผลการใช้หลักสูตร หลังจากได้นาหลักสูตรไปทดลองใช้แล้ว ก็ควรประเมินผลจาก
การใช้ว่า หลักสตู รทสี่ ร้างขนึ้ มีความเหมาะสม สอดคล้องและมีจดุ ใดบ้างท่คี วรได้รับการปรบั ปรุงแก้ไขบา้ ง

ข้ันท่ี 7 การปรับปรุงแก้ไขหลักสูตร หลังจากท่ีได้มีการตรวจสอบและประเมินเบ้ืองต้นแล้วหา
พบว่ายังมีข้อบกพร่องจะต้องแก้ไขปรับปรุงให้ถูกต้องหรือเหมาะสมก่อนท่ีจะนาหลักสูตรไปใช้ในสถานท่ี
จรงิ ทั้งนีเ้ พอ่ื ใหห้ ลกั สตู รไดบ้ รรลตุ ามเป้าหมายทีก่ าหนดไว้

จากแนวคิดของ สงัด อุทรานันท์ สรุปได้ว่าข้ันตอนของการพัฒนาหลักสูตร ผลประกอบด้วย
ข้ันตอนหลักหลัก คือ การวิเคราะห์ข้อมูลพ้ืนฐาน การกาหนดจุดมุ่งหมายของหลักสูตร การคัดเลือก
เน้ือหาสาระ การกาหนดแนวทาง การวัดผลประเมินผล การทดลองใช้และการปรับปรุงแก้ไข การนา
หลักสตู รไปใช้ และนามาปรบั ปรุงแก้ไข

6. คาถามและข้อแนะนาในการพัฒนาหลักสูตร
ในการดาเนินการเพื่อพัฒนาหลักสูตร ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องจาเป็นต้องศึกษาและทาความเข้าใจใน

ประเด็น (สนุ ทร โคตรบรรเทา. 2553: 34 - 37) ดงั ต่อไปน้ี
1. กระบวนการวางแผนหลกั สูตรมีคาถาม ดงั น้ี
1) ผแู้ ต่งตัง้ สมาชิกคณะกรรมการวางแผนหลกั สตู รเปน็ ใคร
2) ผทู้ ี่เข้ามาเป็นผู้แทนในคณะกรรมการมีใครบา้ ง
3) ผกู้ าหนดลาดับความสาคญั มาตรฐานและสมรรถภาพเปน็ ใคร
4) ความตอ้ งการ ปญั หาและประเดน็ โตแ้ ยง้ มกี ารกาหนดไว้อย่างไร
5) ผู้ตัง้ เปา้ หมายและวตั ถุประสงคเ์ ป็นใคร
6) เปา้ หมายและวตั ถุประสงค์เปน็ ประเภทใดบา้ ง
2. กระบวนการการนาหลักสูตรไปใชม้ ีคาถาม ดังน้ี
1) ผกู้ าหนดวา่ ความรู้อะไรสาคัญที่สดุ เป็นใคร
2) ผตู้ ดั สินใจเกี่ยวกับวัสดแุ ละสอื่ การสอนเปน็ ใคร
3) ผู้ประเมนิ ครูเปน็ ใคร และใช้เกณฑว์ ดั อยา่ งไร
4) ผ้ตู ดั สนิ ใจว่าจะมกี ารเตรยี มและวธิ ีการฝึกครูสาหรบั โครงการเปน็ ใคร
5) ผกู้ าหนดว่าจะต้องใชเ้ งินและทรพั ยากรมากหรือนอ้ ยเป็นใคร

79

3. กระบวนการประเมินผลหลักสูตรมีคาถาม ดังน้ี
1) ผ้ตู ดั สินใจเก่ียวกบั วธิ กี ารประเมินผลหลักสตู รเปน็ ใคร
2) ผู้ตัดสนิ ใจเก่ยี วกับวธิ ีดาเนนิ การประเมินข้อทดสอบและวธิ กี ารนาไปใช้เป็นใคร
3) การประเมินผลสัมพนั ธก์ บั เป้าหมายและวตั ถุประสงคห์ รอื ไม่
4) โครงการใชไ้ ด้หรอื ไม่ ใช้ได้มากน้อยเพยี งใด และจะปรับปรุงไดอ้ ยา่ งไร
5) ผรู้ บั ผดิ ชอบในการรายงานผลลพั ธ์และการเผยแพร่เปน็ ใคร
6) ตอ้ งมีการเปรียบเทยี บหรือตัดสนิ ใจเกี่ยวกับโครงการหรือไมว่ า่ ทาไมต้องทาและไม่ทา
4. ขอ้ แนะนาผบู้ รหิ ารในการพัฒนาหลกั สตู รมี ดังนี้
1) คณะกรรมการสรา้ งหลักสตู รควรประกอบด้วยครู ผปู้ กครองและผู้บริหารสถาบัน ซึ่งอาจจะ
มีนกั เรยี นเป็นกรรมการดว้ ยกไ็ ด้
2) คณะกรรมการควรสรา้ งพนั ธกจิ หรอื ความมุง่ หมายในระยะแรกหรือในการประชมุ ครงั้ แรกๆ
3) ควรพิจารณาความตอ้ งการและอนั ดบั ความสาคัญให้สอดคล้องกบั นักเรียนและสังคม
4) ควรมีการทบทวนเปา้ หมายและวัตถุประสงค์ของสถานศกึ ษา แตไ่ ม่ควรถือเปน็ เกณฑ์นาทาง
ในการพัฒนาหลักสูตร เกณฑ์เช่นนี้ตามปกติจะกาหนดปรัชญาการศึกษากว้างๆ ที่จะนาทางการพัฒนา
หลกั สูตร
5) ควรเปรยี บเทยี บการออกแบบหลกั สูตรต่างๆ ในแง่ขอ้ ดีและข้อบกพร่อง เช่น ค่าใช้จา่ ย การ
กาหนดตารางเรียน ขนาดช้ันเรียน อาคารสถานท่ี บุคลากรท่ีตอ้ งการ และความสัมพันธ์กับโครงงานปัจจบุ ันที่
กาลงั ทาอยู่ เปน็ ต้น
6) เพ่ือช่วยให้ครูเข้าใจชัดเจนเก่ียวกับการออกแบบหลักสูตรใหม่ หรือปรับปรุงหลักสูตร ควร
ชใี้ หเ้ ห็นทักษะดา้ นพุทธิศึกษาและดา้ นสนุ ทรียภาพท่คี าดหวัง ความคดิ รวบยอดและผลลพั ธส์ ุดทา้ ย
7) ผู้อานวยการสถานศึกษามีผลกระทบสาคัญต่อการพัฒนาหลักสูตร จากการมีอิทธิพลเกี่ยวกับ
บรรยากาศของสถานศกึ ษาและการสนับสนุนกระบวนการทาหลกั สตู ร
8) ผบู้ ริหารเขตพืน้ ท่ีโดยเฉพาะผู้อานวยการเขตพ้ืนที่ มผี ลกระทบการพัฒนาหลกั สูตร เพียงผิว
เผิน เพราะงานและความสนใจมีศูนย์รวมอยู่ที่กิจกรรมการบริหารจัดการบทบาททางหลักสูตรมีน้อย แต่
การสนบั สนุนและรอการอนุมตั มิ คี วามจาเปน็
9) การศึกษาของรัฐย่ิงมีผลกระทบต่อการพัฒนาหลักสูตรน้อยลง แม้ว่าหลายฝ่ายจัดพิมพ์คู่มือ
เอกสารและรายงานที่เป็นประโยชน์ อย่างไรก็ดี นักการศึกษาเหล่านี้เป็นผู้กาหนดนโยบาย กฎ และ
ระเบียบทม่ี ผี ลกระทบตอ่ หลักสูตรและการสอน

80

10) อิทธิพลของกลุ่มสนใจพิเศษและนักการเมืองท้องถ่ิน ไม่ควรมองข้ามการแบ่ง เป็นฝ่ายหรือ
ความขัดแย้งมักเป็นอุปสรรคต่อความพยายามท่ีมีเหตุผลสาหรับการปฏิรูปและการเจรจาอย่างมี
ความหมายระหว่างนักการศึกษากบั ผู้ปกครองในเรื่องเกย่ี วกับการศึกษา

7. กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร โดยท่ัวไปมีกระบวนการท่ีเป็นขั้นตอนอย่างง่ายๆ (สิริพัชร์ เจษฎาวิโรจน์.

2559: 224-225) ดังน้ี
1. การศึกษาข้อมูลพ้ืนฐาน เป็นการศึกษาข้อมูลในด้านตา่ งๆ ที่เกี่ยวขอ้ งกับโรงเรียนและนักเรยี น

สภาพและปัญหาของชุมชน เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการกาหนดองค์ประกอบต่างๆ ของหลักสูตร เช่น
จุดหมาย เนอื้ หาสาระ กิจกรรม การวดั และการประเมนิ ผล

2. การกาหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์ เป็นการบอกถงึ ความต้องการอย่างชัดเจนท่ีปรารถนาจะให้
เกิดการเปล่ียนแปลงท่ีสาคัญแก่ผู้เรียน ควรเขียนให้สอดคล้องกับปรัชญาหรืออุดมการณ์ สนองความ
ต้องการของผูเ้ รยี นและสังคม รวมทงั้ แกป้ ญั หาของสังคมและสามารถปฏบิ ตั ไิ ดจ้ ริง

3. การออกแบบหลักสูตร เป็นการหารูปแบบ วิธีการวางแผนพัฒนาหลักสูตร จัดเตรียม
องค์ประกอบหลัก เช่น เน้ือหาสาระ วิธีการสอน ส่ือการเรียนการสอน กิจกรรมหรือประสบการณ์ของ
ผเู้ รียน เพือ่ กาหนดแนวทางการดาเนินงาน

4. การนาหลักสูตรไปใช้ เป็นการนาเอาหลักสูตรที่ได้พัฒนาตามข้ึนตามขั้นตอนท่ีกาหนดไป
ทดลองใช้สอนกับผู้เรียน ประสิทธิภาพของหลักสูตรข้ึนอยู่กับคณะครูที่สอน ถ้ามีความมุ่งมั่นในการสอน
แบบบูรณาการและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้เหมาะสม จะทาใหบ้ รรลผุ ลสาเร็จด้วยดี และในการใช้
หลกั สตู รนน้ั อาจจะตอ้ งมกี ารยดื หยุ่นเนอ้ื หาสาระหรือวธิ ีการจดั กจิ กรรมให้สอดคลอ้ งกับผู้เรยี นดว้ ย

5. การประเมินผลหลกั สตู ร เป็นการพิจารณาเกี่ยวกับคุณคา่ ของหลักสูตร ประเมนิ เพอ่ื ตรวจสอบ
ดเู นื้อหาสาระ กิจกรรม ประสบการณก์ ารเรียนรู้ท่ีจัดให้ผู้เรียนว่าเหมาะสมหรือไม่ เพียงใด การบูรณาการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้หรือไม่ และมีข้อสังเกตใดเกิดข้ึนในระหว่างใช้หลักสูตรบ้าง สรุปเป็น
ประเดน็ ๆ และบันทึกไว้

6. การปรับปรุงแก้ไขหลักสูตร เป็นการทบทวนดูองค์ประกอบทั้งหมดของหลักสูตรตั้งแต่ข้ันที่ 1
จนถึงขน้ั ท่ี 5 เพื่อดวู ่าจะมีส่วนใดที่ตอ้ งปรับปรงุ แก้ไขบ้าง ดว้ ยเหตุผลใด และใช้วิธีการใด อีกทงั้ ข้อสังเกต
ทไ่ี ด้ควรนามาประกอบในการพจิ ารณาปรบั ปรุงแก้ไขหลักสูตรด้วย

81

บทสรุป
จากหลักการ แนวคดิ และทฤษฎีเกี่ยวกบั การพัฒนาหลักสูตรที่ได้นาเสนอมาในเบื้องต้น ช้ีให้เห็น

ว่า ประเทศชาติจะพัฒนาได้ก็ต้องอาศัยการศึกษา การศึกษาจะดีได้ก็ต้องอาศัยหลักสูตรท่ีมีคุณภาพ
หลักสูตรจะมีคุณภาพก็ต้องดาเนินการอย่างมีหลักการ มีระบบและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยอาศัยความ
รว่ มมือและการมีส่วนร่วมของผเู้ ก่ียวข้องทกุ ฝ่ายทุกระดับ กระบวนการพัฒนาหลักสูตรประกอบด้วยหลาย
ขั้นตอน ซึ่งต้องทาให้สาเร็จตามลาดับเพื่อให้การพัฒนาหลักสูตรมีความสมบูรณ์ งานท่ีต้องทาในแต่ละ
ขั้นตอนนั้นมีความหลากหลาย แต่ก็มีการกาหนดผลที่แน่นอนเอาไว้กระบวนการพัฒนาหลักสูตรเป็น
กิจกรรมที่ทาเป็นวัฏจักร มีความเป็นพลวัตรมากกว่าจะเป็นกิจกรรมคงท่ี การพัฒนาหลักสูตรโดยท่ัวไป
ต้องยึดหลักพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพทั้งด้านความรู้และทักษะท่ีจาเป็นสาหรับการดารงชีวิตในสังคม ท่ีมี
การเปล่ียนแปลง ท่ีสาคัญต้องสามารถแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องในอนาคตได้
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรโดยรวมควรประกอบด้วย ขั้นตอน การวิเคราะห์และรวบรวมข้อมูลพ้ืนฐาน การ
กาหนดหลักการ การกาหนดจุดมุ่งหมาย การเลือกและจัดเนื้อหาหลักสูตร การกาหนดแนวทางการ
ประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน การตรวจสอบคุณภาพและปรับแก้หลักสูตรก่อนนาไปใช้ นอกจากน้ี
หลักสูตรที่พัฒนาขึ้นแล้วยังต้องมีการปรับปรุงเปล่ียนแปลงให้เหมาะสมทันสมัยอยู่เสมอ เป็นวัฎจักรของ
การพัฒนาที่ไม่หยุดย้ัง เพ่ือให้ได้หลักสูตรท่ีเท่าทันต่อบริบทและสภาพการณ์ของโลกท่ีมีการเปลี่ยนแปลง
อย่างตอ่ เนอ่ื งตลอดเวลา

82

เอกสารอ้างอิง

ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน.์ (2559). การพัฒนาหลักสตู ร ทฤษฎสี ูก่ ารปฏิบัต.ิ พมิ พ์คร้ังท่ี 5. กรุงเทพฯ:
วพี รินท.์

ธนภทั ร จนั ทรเ์ จริญ. (2561). การพฒั นาหลักสูตร. ในเอกสารประกอบการสอนรายวิชาการพฒั นา
หลักสูตร คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. กรุงเทพฯ: สหธรรมมิก
จากัด.

มนสิช สิทธสิ มบรู ณ.์ (ม.ป.ป.). ศาสตร์หลกั สตู ร. พิษณโุ ลก: มหาวิทยาลยั นเรศวร.
วิชยั วงษ์ใหญ.่ (2523). พัฒนาหลักสูตรและการสอน: มิตใิ หม่. กรงุ เทพฯ: รุ่งเรืองธรรม.
วโิ ฬฏฐ์ วัฒนานิมติ กลู . (2559). การพฒั นาหลักสูตรและการสอน ปัจจัยความสาเรจ็ ของการจัด

การศึกษา. กรุงเทพฯ: สหธรรมมกิ จากดั .
ศกั ด์ิศรี ปาณะกุล และคณะ. (2556). หลักสูตรและการจดั การเรียนรู้. พมิ พค์ รง้ั ที่ 3. กรุงเทพฯ:

มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง.
สงดั อทุ รานันท.์ (2532). พน้ื ฐานและหลักการพฒั นาหลกั สูตร. กรงุ เทพฯ: ภาควชิ าการบรหิ าร

การศึกษา คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
สิรพิ ชั ร์ เจษฏาวโิ รจน.์ (2559). การพฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษา. พิมพค์ รง้ั ท่ี 1 (ฉบับปรับปรุงใหม่).

กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลยั รามคาแหง.
สุนทร โคตรบรรเทา. (2553). การพัฒนาหลกั สูตรและการนาไปใช้. กรุงเทพฯ: ปญั ญาชน.
Beauchamp, G. A. (1981). Curriculum Theory. (4th ed). Liiinois: F. E. Peacock Publisher.
Good, Carter V. (1973). Dictionary of Education. (3rd. ed). New York: McGraw Hill.
Oliva. P.F. (1982). Developing the curriculum. New York: Harper Collins
Saylor, J.G. & Alexander, W.M. (1974). Planning Curriculum for School. New York:

Holt, Rinehart and Winston.
Taba H. (1962A). Curriculum Development Theory and Practice. New York:

Harcourt, Brace & World, INC.
Taba. H. (1962B). Curriculum: Theory and Practice. Javanovich: Harcourt, Brace.
Tyler. R. (1949). Basic Principle of Curriculum and Instruction: Syllabus for

Education 305. Chicago: The University of Chicago Press.

83

บทท่ี 4
การสรา้ งหลักสตู ร

วโิ ฬฏฐ์ วัฒนานิมติ กลู

บทนา

ดังได้กล่าวแล้วในบทที่ผ่าน ๆ มาเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรท่ีเก่ียวข้องกับกระบวนการหลัก
3 กระบวนการ ประกอบด้วย การสร้างหลักสูตร การนาหลักสูตรไปใช้ และการประเมินผลหลักสูตร
ซึ่งในการศึกษาเก่ียวกับการสร้างหลักสูตรนั้นควรมีความเข้าใจท่ีตรงกัน ในเบ้ืองต้นก่อนว่า การสร้างหรือ
จดั ทาหลักสูตรนั้นอาจเกิดขนึ้ ได้ใน 2 กรณี กล่าวคือ (1) การสร้างหลกั สูตรขึ้นใหม่ (2) การปรบั ปรุงแก้ไข
หลกั สตู รทม่ี อี ยเู่ ดิม สาหรบั ในทน่ี จ้ี ะใช้คาว่า “การสร้างหลกั สตู ร” โดยหมายความถงึ ท้ัง 2 กรณีดงั กลา่ ว

เมื่อกล่าวถงึ การสรา้ งหรือจัดทาหลักสูตรนน้ั คงต้องพิจารณาทบทวนถึงแนวคิดของนักการศกึ ษา
ต่าง ๆ ท่ีได้ให้แนวคิดในการพัฒนาหลักสูตรไว้หลายแนวทางด้วยกัน แต่ถ้าหากพิจารณาเฉพาะเจาะจง
ลงไปในส่วนทีเ่ ป็นการสร้างหลักสตู รแล้ว จะเหน็ ได้ว่ามีข้นั ตอนสาคัญ ๆ ในการสร้างหลักสูตร 10 ขั้นตอน
ได้แก่

1. การวิเคราะห์ข้อมูลพนื้ ฐาน
2. การกาหนดจดุ หมายของหลักสูตร
3. การกาหนดรูปแบบและโครงสรา้ งของหลักสตู ร
4. การกาหนดจุดประสงค์ของวชิ า
5. การคดั เลอื กเนือ้ หาวิชา
6. การกาหนดจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
7. การกาหนดประสบการณ์การเรยี นรู้
8. การกาหนดกิจกรรมการเรียนการสอน
9. การกาหนดวิธกี ารประเมนิ ผลการเรยี นรู้
10. การจัดทาวสั ดหุ ลกั สตู รและสอื่ การเรียนการสอน

84

เม่อื ไดด้ าเนนิ การครบทั้ง 10 ข้ันตอนแล้ว จะไดห้ ลักสูตรท่อี าจเรียกได้ว่า “หลักสตู รต้นแบบ” ซ่ึง
เป็นหลักสูตรทมี่ ีองค์ประกอบของหลกั สูตรที่ครบถ้วน ท่พี ร้อมจะนาไปทดลองใช้เพ่ือการปรบั ปรุงแก้ไขให้
สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ภายหลังจากนั้นจึงนาหลักสูตรน้ีไปสู่กระบวนการนาไปใช้ปฏิบัติจริง และกระบวนการ
ประเมนิ หลักสตู รตอ่ ไป

สาหรับสาระของบทนี้ จะได้นาเสนอขั้นตอนในการสร้างหลักสตู รทง้ั 10 ข้ันตอน มดี งั น้ี

ข้นั ตอนท่ี 1 การวเิ คราะหข์ ้อมลู พ้นื ฐาน
ในการสร้างหลักสูตรน้ัน ก่อนท่ีนักพัฒนาหลักสูตรจะกาหนดองค์ประกอบสาคัญของหลักสูตร

ได้แก่ จุดหมาย เน้ือหาสาระ ประสบการณเ์ รยี นรู้ ฯลฯ เพ่อื ให้ผเู้ รียนมีพัฒนาการในดา้ นต่าง ๆ และบรรจุ
เป้าหมายที่กาหนดนั้น นักพัฒนาหลักสูตรจะต้องวิเคราะห์ข้อมูลพ้ืนฐานที่สาคัญ และสัมพันธ์กับ
การศึกษานั้น ๆ อาทิ ปรัชญาการศึกษาของประเทศหรือสังคมคืออะไร ผู้เรียนและสังคมมีสภาพปัญหา
และความต้องการจาเป็นอะไร การสนองความต้องการทางจิตวิทยาของปัจเจกบุคคลได้อย่างไร เป็นต้น
ความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับข้อมูลพื้นฐานเหล่านี้จะช่วยกาหนดองค์ประกอบต่าง ๆ ของหลักสูตรได้อย่าง
เหมาะสมและทาให้หลักสูตรท่ีสรา้ งขึ้นนส้ี ามารถแก้ไขปัญหาและตอบสนองความต้องการของผู้เรียนและ
สงั คมได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ

อย่างไรก็ตามวิธีการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน อาจกระทาได้หลากหลายวิธี ซ่ึงในท่ีนี้จะ
นาเสนอวิธีการไว้ 2 ประการ คือ การวิเคราะห์สถานการณ์และการประเมินความจาเป็น มีสาระสาคัญ
สรปุ ได้ ดงั นี้

1. การวิเคราะห์สถานการณ์ (Situational Analysis)
ในการประมวลข้อมูลพื้นฐานเพื่อการสร้างหลักสูตร อาจเร่ิมตันด้วยการตรวจสอบสถานการณ์

ต่าง ๆ ในปัจจบุ นั โดยวิเคราะหจ์ ากองคป์ ระกอบของสถานการณ์ดงั ต่อไปนี้

1.1 องคป์ ระกอบภายนอก ประกอบดว้ ย
1.1.1 นโยบายและเปา้ หมายของการจัดการศึกษา
1.1.2 การเปลย่ี นแปลงและความคาดหวงั ทางด้านสังคมและวัฒนธรรม
1.1.3 แนวโน้มของเนือ้ หาวชิ าท่เี ปลี่ยนแปลงไป
1.1.4 แหลง่ สนบั สนนุ การเปล่ียนแปลง เชน่ งบประมาณ แหล่งวิทยาการตา่ ง ๆ เป็นต้น

85

1.2 องคป์ ระกอบภายใน ประกอบด้วย
1.2.1 ผู้เรียน เช่น พัฒนาการของผู้เรียน พัฒนาการทางด้านสติปัญญา บุคลิกภาพ พัฒนาการ

ดา้ นจรยิ ธรรม ค่านยิ ม เจตคติ ความต้องการ แนวโน้มพฤติกรรมทางสังคมในอนาคต เปน็ ตน้
1.2.2 ผู้เรียน เช่น จุดเด่นและดอ้ ยของผู้สอน ความสนใจของผูส้ อน ความคาดหวังของผู้สอน เจต

คติของผูส้ อนตอ่ การพฒั นาหลกั สูตร รปู แบบการสอน การประเมนิ ตนเอง เปน็ ต้น
1.2.3 บรรยากาศภายในสถานศึกษา

2. การประเมินความจาเปน็ (Need Assessment)
ภายหลังจากการวิเคราะห์สถานการณ์และมีข้อมูลในขั้นต้นแล้ว ในอันดับต่อมานักพัฒนา

หลกั สตู รควรประเมนิ ความจาเปน็ ซึง่ ต้องอาศัยการรวบรวมขอ้ มูลทง้ั ข้อคิดเหน็ และ ข้อเท็จจริงตา่ ง ๆ โดย
จะต้องกระทาอยา่ งเป็นทางการ โดยมีสิ่งที่ตอ้ งดาเนนิ การ สรุปไดด้ ังน้ี

2.1 การกาหนดแหล่งข้อมูล กลุ่มบุคคลท่ีจะเป็นผู้ให้ข้อมูลในการประเมินความจาเป็น ได้แก่
บุคคลต่อไปนี้ พ่อแม่และประชาชนท่ัวไป กลุ่มนักการศึกษา นักการเมืองและผู้มีอานาจหน้าที่ ผู้เรียน
ผู้สอน ผู้ชานาญการด้านสังคม นายจ้าง องค์กรแรงงาน ผู้ท่ีเพ่ิงสาเร็จการศึกษา ผู้ที่ไม่สาเร็จการศึกษา
และองค์กรในชมุ ชน เป็นตน้

2.2 วิธีการรวบรวมข้อมูลเพ่ือประเมินความจาเป็น นักพัฒนาหลักสูตรสามารถดาเนินการเก็บ
รวบรวมขอ้ มูลได้ใน 2 ลกั ษณะ คือ

2.2.1 การประเมินความจาเป็นอย่างเป็นทางการ การรวบรวมข้อมูลเพื่อ การประเมินความ
จาเป็นอย่างเป็นทางการเป็นกระบวนการท่ีตอ้ งใช้เวลา วิธกี ารท่หี ลากหลาย ใช้บุคลากรหลายฝ่ายซง่ึ อาจ
ส่งผลให้มีคา่ ใช้จ่ายจานวนมาก การรวบรวมดาเนินการไดห้ ลายวธิ ี อาทิ

2.2.1.1 แบบสอบถาม ซึ่งเป็นเครื่องมือที่สามารถแจกจ่ายไปอย่างรวดเร็ว และท่ัวถึง และเสีย
ค่าใช้จ่ายไม่สูงนัก วิธีการน้ีมักใช้ควบคู่กับวิธีการอื่น เช่น การสัมภาษณ์ เป็นต้น เพื่อเป็นการตรวจสอบ
ความเท่ยี งตรงของขอ้ มลู

2.2.1.2 การสัมภาษณ์ เป็นวิธีที่ผู้เก็บรวบรวมข้อมูลได้พบกับผู้ให้ข้อมูลโดยตรงและได้ข้อมูลที่
ละเอียดมากขึ้น แต่ต้องใช้เวลามากอีกท้ังข้อมูลที่ได้รับขึ้นอยู่กับทักษะของ ผู้สัมภาษณ์ ซึ่งจาเป็นต้องมีการ
ฝกึ ทกั ษะการสมั ภาษณ์โดยเฉพาะก่อน

2.2.1.3 การรับฟงั จากสาธารณะ การรับฟังข้อมลู จากชุมชนเป็นการเกบ็ ขอ้ มลู ในระยะเวลาส้ัน
ๆ ไม่เป็นทางการ วิธีน้ีอาจมีข้อจากัดตรงที่ทุกคนไม่สามารถแสดงความคิดเห็นได้ ส่วนใหญ่ผู้ที่มีชื่อเสียง
และผู้ทีเ่ ป็นทรี่ ู้จักมักจะเปน็ ผูผ้ ูกขาดการพดู เป็นสว่ นใหญ่

86

2.2.1.4 การวิเคราะห์ดัชนีทางสังคม โดยพิจารณาจากข้อมูลทางสถิติที่มีการรวบรวมแสดงไว้
แล้ว และนามาเป็นดัชนีบ่งชี้ความจาเป็น เช่น สถิติการมีงานทา สถิติทางด้านประชากร และปัญหาทาง
สขุ ภาพ เปน็ ต้น

2.2.1.5 การสังเกต เป็นวิธีท่ีใช้การสังเกตพฤติกรรมของบุคคลท่ีบ่งบอกถึงความต้องการได้ เช่น
การสังเกตการใชเ้ วลาในการค้นควา้ ของผเู้ รยี น การใชเ้ วลาว่าง เป็นตน้

2.2.1.6 การระดมพลงั สมอง เป็นวิธีการประชุมกลุ่มเพื่อระดมความคิดเหน็ ในเร่ืองใดเรอ่ื งหนึง่
2.2.2 การประเมินความจะเปน็ ในลกั ษณะเฉพาะกิจ เนอื่ งจากการประเมินความจาเป็นอยา่ งเป็น
ทางการเป็นกระบวนการท่ีต้องใช้เวลาและค่าใช้จ่ายมาก นักพัฒนาหลักสูตรจึงหลีกเล่ียงวิธีการดังกล่าว
และหันมาใช้วิธีการค้นหาและระบุปัญหาเฉพาะแทน โดยนักพัฒนาหลักสูตรจะต้องพิจารณาว่าปัญหาใด
เป็นปัญหาท่ีสาคัญและปัญหาใดเก่ียวข้องกับการพัฒนา หลักสูตร ทั้งน้ีปัญหาท่ีเกิดข้ึนอาจเป็นปัญหาที่
มองเห็นได้ชัดเจนหรือเป็นปัญหาซ่อนเร้นก็ได้ เช่น ปัญหาการสอนคณิตศาสตร์ ปัญหาการติดยาเสพย์ติด
ของวัยรุ่น เป็นตน้

ข้ันตอนท่ี 2 การกาหนดจดุ หมายของหลักสตู ร
ภายหลังจากการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานและวินิจฉัยสภาพการณ์ ปัญหา และ ความต้องการ

ผู้เรียนและสังคมแล้ว นักพัฒนาหลักสูตรจะต้องดาเนินการกาหนดจุดหมายของ หลักสูตร ซึ่งนับว่าเป็น
ขั้นตอนท่ีสาคัญขั้นตอนหน่ึง เพราะจุดหมายของหลักสูตรจะบอกถึงส่ิงท่ี มุ่งหวังจะให้เกิดแก่ผู้เรียนว่า จะ
ให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะและความรู้ความสามารถในลักษณะใด รวมท้ังเป็นแนวทางในการกาหนดเน้ือหา
สาระ กิจกรรมและประสบการณ์เรียนรู้ ตลอดจนการวัดและประเมินผลหลักสูตร จึงอาจกล่าวได้ว่า
“จุดหมายของหลักสูตร หมายถึง ผลหรือความเปลี่ยนแปลงท่ีต้องการให้เกิดขึ้นแก่ผู้เรียน หลังจากท่ีได้
ศกึ ษาเล่าเรียนครบตามหลักสูตรแลว้ ” (ธารง บวั ศรี, 2542, หนา้ 164) ในการดาเนินการกาหนดจุดหมาย
ของหลักสูตรควรคานึงถึงคุณสมบัติของ จุดหมายของหลักสูตร หลักการในการร่างจุดหมาย และวิธีการ
ในการกาหนดจุดหมาย สรุปได้ดังน้ี

1. หลกั การในการกาหนดจุดหมายของหลักสูตร
ในการกาหนดจดุ หมายของหลักสูตรมหี ลกั การสาคญั ทส่ี มควรยึดถือดังต่อไปน้ี

1.1 สอดคล้องกับปรัชญาหรืออุดมการณ์ของสังคม ตัวอย่างเช่น ประเทศไทยมีการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข จุดหมายท่ีกาหนดข้ึนจึงต้องสนับสนุน
แนวความคดิ ประชาธิปไตย ได้แก่ อิสรภาพ ความเสมอภาค สทิ ธแิ ละหน้าท่ี เป็นตน้

87

1.2 สอดคล้องและส่งเสริมค่านิยมของสังคม ตัวอย่างเช่น ความกตัญญูต่อผูม้ ีพระคุณ ความอ่อน
นอ้ มถอ่ มตน ความซื่อสัตยส์ จุ รติ เป็นตน้

1.3 สนองความต้องการและปัญหาท่ีเกิดข้ึนในสังคม ในการพัฒนาหลักสูตรน้ัน นักพัฒนาหลักสูตร
จาเป็นต้องวิเคราะห์ให้ละเอียด ลึกซ้ึง ว่าความต้องการที่แท้จริงของสังคม คืออะไร และมีสภาพปัญหา
อะไร แตอ่ ยา่ งไรกต็ าม สภาพของสงั คมจะมีการเปลย่ี นแปลงอยเู่ สมอ ซ่ึงส่งผลให้ปัญหาและความตอ้ งการ
ของสังคมเปลี่ยนไปด้วย นักพัฒนาหลักสูตรจึงควรพิจารณาไปภายหน้าว่าแนวโน้มของการเปลี่ยนแปลง
จะเป็นอยา่ งไร แลว้ จึงกาหนดจุดหมายให้รบั กบั การเปล่ียนแปลงท่คี าดวา่ จะเกิดข้นึ

1.4 สนองความต้องการของผู้เรียน ในการพิจารณาความต้องการของผู้เรียนนั้น ได้มีการกาหนดไว้
หลายลักษณะ ในที่น้ีขอนาแนวคิดของ ธารง บัวศรี (2542, หน้า 165 - 168) ที่ได้เสนอเกณฑ์ความ
ต้องการของผู้เรียน เพื่อเป็นทางเลือกสาหรับนักพัฒนาหลักสูตรนาไปพิจารณากาหนดจุดหมายของ
หลกั สตู ร สรปุ ไดด้ ังน้ี

1.4.1 กาหนดความต้องการโดยอาศยั ความจาเปน็ พ้ืนฐานเปน็ หลัก คอื
1.4.1.1 ความต้องการทางร่างกาย หมายถึง ความต้องการตามธรรมชาติของบุคคล เช่น

อาหาร นา้ เสื้อผ้า ท่อี ยอู่ าศยั เป็นตน้
1.4.1.2 ความต้องการทางสังคม หมายถึง ความต้องการในด้านความสัมพันธ์กับผู้อ่ืน เช่น

ความรัก ความเป็นพวกเดียวกนั การเปน็ ทยี่ อมรบั ของสงั คม เปน็ ต้น
1.4.1.3 ความต้องการทางบูรณาการส่วนตน หมายถึง ความต้องการท่ีจะสร้างพัฒนาการ

ด้านจติ ใจ เชน่ ความรู้สึกวา่ ตนมคี ุณค่า ความมั่นใจในตนเอง และความกล้าหาญ เป็นตน้
1.4.2 กาหนดความต้องการโดยถือความต้องการปัจจุบันเป็นหลัก กล่าวคือ เป็นจุดหมายของ

หลกั สตู รท่ีเน้นสอนส่งิ ทเี่ ป็นประโยชนแ์ ละสนองความต้องการปัจจบุ นั ของผเู้ รียน
1.4.3 กาหนดความต้องการโดยถือความต้องการเฉพาะเป็นหลัก กล่าวคือ การกาหนดจุดหมาย

ควรบ่งบอกความต้องการเฉพาะให้ชัดเจน นอกจากน้ียังจะต้องพิจารณาว่า เป็นความต้องการเฉพาะของ
สังคม ของผู้เรียนหรืออ่ืน ๆ ว่าควรจะเน้นหนักไปทางใด การกาหนดความต้องการเฉพาะจึงเป็นเร่ือง
ยงุ่ ยากพอสมควร

1.4.4 กาหนดความต้องการโดยยึดภารกิจในแต่ละขนั้ ตอนของพัฒนาการเป็นหลัก การกาหนด
จุดหมายของหลักสูตรให้สอดคล้องกบความต้องการหรือความจาเป็นตามภารกิจในแต่ละวัย เป็นสิ่งที่
สมควรกระทา ทั้งนี้อาจกาหนดจุดหมายของหลักสูตรได้ตรงกัน โดยเฉพาะในสังคมท่ีมีวัฒนธรรมอย่าง
เดียวกันภารกจิ ย่อมจะคลา้ ยกัน

1.5 สอดคลอ้ งและส่งเสริมจดุ หมายของหลักสูตรระดับอ่นื

88

1.6 สามารถนาไปปฏิบัติได้ กล่าวคือ การกาหนดจุดหมายต้องมีความชัดเจน เพ่ือมิให้เกิดการ
ไขวเ้ ขวในการตีความและนาไปปฏบิ ตั ิ

1.7 มคี วามสมดุลระหวา่ งความตอ้ งการของผู้เรียนและสงั คม
1.8 มีความสมดลุ ระหว่างความรู้และทักษะ หรือระหวา่ งทฤษฎกี บั การปฏบิ ัติ
1.9 มีความสาคญั หรอื มีคุณคา่ ต่อผู้เรยี น ทง้ั ในปจั จบุ นั และอนาคต
1.10 ใชภ้ าษาท่ชี ดั เจน กะทดั รดั ไมค่ ลุมเครอื และงา่ ยต่อการเข้าใจ รวมท้งั มีความต่อเนื่องกนั ทกุ ข้อ
1.11 ต้องมีการพัฒนาผู้เรียนท้ังในด้านสติปัญญา ทักษะ และเจตคติ อย่างเหมาะสม และเป็นเหตุ
เป็นผลซ่งึ กนั และกนั
1.12 ตั้งอยู่บนรากฐานของความจริง จุดหมายของหลักสูตรนอกจากจะสามารถนาไปปฏิบัติได้
แลว้ ยงั ต้องต้ังอยูบ่ นรากฐานของความจิรงดว้ ย
1.13 มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม ตามความต้องการของสังคม และผู้เรียนที่
เปลี่ยนแปลงไปด้วย

2. หลักในการร่างจุดหมายของหลกั สตู ร
จุดหมายของหลักสูตรนับเป็นองค์ประกอบสาคัญประการแรกที่ชี้ให้นักพัฒนาหลักสูตรได้

ดาเนินการตามข้ันตอนของการพัฒนาหลักสูตรได้ถูกต้อง การกาหนดจุดหมายของหลักสูตรจึงควร
คานึงถึงหลักการในการร่างจุดหมายท่ีเหมาะสม เพื่อให้จุดหมายของหลักสูตรมีความชัดเจน ครอบคลุม
และปฏิบัตไิ ด้ ซึ่งย่อมส่งผลโดยตรงถึงหลักสตู รทั้งฉบับด้วย สาหรบั หลักในการร่างจุดหมายของหลักสูตร
น้ันมีนักการศึกษาหลายท่านได้เสนอแนวทางไว้ ในท่ีนี้จะนาหลักในการร่างจุดหมายของหลักสูตรท่ีเสนอ
โดย เดวิด แพรต (David Pratt, 1980, pp. 147 - 152) เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการร่างจุดหมายของ
หลกั สูตร สรปุ ไดด้ งั นี้

2.1 บอกถงึ ความต้องการอย่างชดั เจน
2.2 บอกถึงความเปล่ยี นแปลงท่สี าคญั ซึ่งจะเกดิ แก่ผเู้ รยี น
2.3 กะทัดรัดไม่เยิน่ เย้อ
2.4 มีความสมบูรณใ์ นตวั เอง
2.5 มีความถกู ตอ้ งแนน่ อน
2.6 เป็นทย่ี อมรบั ของทุกฝา่ ยทีเ่ กี่ยวขอ้ ง

89

3. วธิ กี ารในการกาหนดจดุ หมายของหลักสูตร
การกาหนดจุดหมายของหลักสูตร เป็นหน้าท่ีของคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร ซึ่ง
คณะกรรมการดังกล่าวควรคานึงถึงเกณฑ์และหลักการในการร่างจุดหมายของหลักสูตรดังได้กล่าวแล้ว
ส่วนในด้านของวิธีการในการกาหนดจุดหมายหลักสูตรนั้นมีหลากหลายวิธี ซึ่งในท่ีน้ีจะได้นาเสนอวิธีการ
กาหนดจดุ หมายของหลกั สูตรท่ีนยิ มใช้กนั โดยทวั่ ไป 4 วธิ ีการ ดงั นี้
3.1 วิธีศึกษาสภาพปัญหา และความต้องการของสงั คม และผเู้ รียนในทุกด้าน การศึกษา โดย
ดาเนินการดงั นี้
3.1.1 ศึกษาสภาพปัญหา และความต้องการของสังคม และผู้เรียนในทุกด้านการศึกษา ทั้งใน
ระดบั ชาติและระดับท้องถนิ่
3.1.2 รวบรวมและจาแนกข้อคดิ เห็นท่ีตรงกัน และขัดแย้งกันเป็นพวก ๆ โดยพจิ ารณาเฉพาะที่
เกย่ี วขอ้ งกับหลักสูตรในระดับทต่ี ้องการกาหนดจุดหมาย
3.1.3 นาเฉพาะข้อขดั แยง้ มาศึกษาวเิ คราะห์อกี ครง้ั หนึ่งเพอื่ หาขอ้ ยตุ ิ
3.1.4 ประมวลข้อมูลของผูท้ ี่มีความคิดเหน็ ตรงกัน จัดทาจุดหมายของหลักสูตรในระดับนนั้ ๆ
อย่างไรก็ตามวิธีการนี้จะต้องใช้เวลาและความสามารถมากในการวิเคราะห์สภาพและปัญหา
ต่าง ๆ แต่นับได้ว่าเป็นวิธีการท่ีได้จุดหมายหลักสูตรท่ีชัดเจน ถูกต้อง และเป็นที่ยอมรับของทุกฝ่ายท่ี
เกี่ยวขอ้ ง
3.2 วิธปี ระชมุ พิจารณาจดุ หมายทีม่ ีอยู่กอ่ นแลว้ มวี ิธดี าเนินการดังน้ี

3.2.1 รวบรวมจุดหมายเดิมของหลักสตู รในระดับท่ีต้องการกาหนด ทัง้ หลกั สตู รภายในประเทศ
และตา่ งประเทศ

3.2.2 วิเคราะห์จดุ หมายที่รวบรวมมาได้วา่ มีข้อใด หรือประเด็นใดท่ีจะนามาใช้ในหลักสตู รท่ี
จะพฒั นาขึน้ ใหม่ไดบ้ า้ ง

3.2.3 สังเคราะหจ์ ุดหมายเดมิ เหลา่ นั้น แลว้ ดาเนินการปรับปรุงแกไ้ ขให้ สอดคล้องกบั ระดับ
ของหลักสตู รทจี่ ะพฒั นา โดยคานึงถึงความครอบคลุม และความสมบรู ณข์ องจุดหมายดว้ ย

ซึ่งหากพิจารณาวิธีการน้ีแล้วจะเห็นได้ว่าเป็นวิธีการลัด โดยเริ่มต้นจากจุดหมายของหลักสูตร
ที่กาหนดไว้เดิม แต่อย่างไรก็ตามวิธีการน้ีอาจมีข้อจากัดอยู่บ้าง กล่าวคือ นักพัฒนาหลักสูตรอาจมี
ความเห็นคล้อยตามหลักสูตรเดิมไปได้ง่าย ๆ เพราะเห็นว่าเป็นสิ่งที่ยอมรับกันอยู่แล้ว การวิเคราะห์อาจ
ขาดความรอบคอบ หรอื มิได้คานงึ ถึงความเหมาะสมกบั สภาพและปัญหาของสังคมทเ่ี ปน็ อยู่

90

3.3 วิธปี ระชมุ อภปิ รายทางวิชาการ โดยดาเนินการดังน้ี
3.3.1 จัดให้มีการอภปิ รายเก่ียวกับเรอื่ งต่าง ๆ โดยใชห้ ลักวิชาเปน็ แกนกลางในการอภิปราย

เช่น สภาพความเปลี่ยนแปลงและความต้องการของสังคม ปรัชญา ความคิดและอุดมการณ์ของชาติ
นโยบายของรฐั บาล ฯลฯ

3.3.2 สรุปสภาวะตา่ ง ๆ จากการอภิปรายในประเดน็ ต่าง ๆ น้ัน มคี วามหมายต่อการศกึ ษา
โดยรวม และต่อการศึกษาในระดับต่าง ๆ อย่างไรแล้วพิจารณาให้จากัดแคบลงมาในแวดวงของระดับ
การศกึ ษาทตี่ อ้ งการพฒั นาหลกั สตู ร

3.3.3 นาข้อสรปุ ดงั กลา่ วมาแจกแจงเป็นข้อ ๆ เพ่อื นามากาหนดเปน็ จุดหมายของหลกั สตู ร
วิธีการน้ีอาจมีข้อจากัดอยู่บ้าง ซ่ึงอาจเกิดจากวิธีการนี้มีจุดเน้นที่การอภิปรายโดยใช้หลักวิชาเป็น
แกนกลาง จึงอาจสร้างความคุ้นเคยให้แก่นักวิชาการ เน่ืองจากได้รับฟังมา บ่อยคร้ัง ทาให้พิจารณาได้ว่า
มิได้มีส่ิงใดแปลกใหม่ สาหรับบุคคลภายนอกท่ีไม่ได้เป็นนักวิชาการนั้นอาจไม่มีประเด็นท่ีจะร่วมอภิปราย
เน่อื งจากมรี ปู แบบท่ีเน้นหนักทางดา้ นวิชาการ
3.4 วิธกี ารประชมุ ทเ่ี นน้ การแสดงความคดิ เหน็ เพื่อหาคาตอบโดยตรง
วิธีการนี้มีลักษณะคล้ายกับวิธีประชุมอภิปรายทางวิชาการ แต่แตกต่างกันตรงที่วิธีการนี้ได้
กาหนดคาถามไว้ที่เฉพาะเจาะจงกับจุดหมายของหลักสูตร ผู้ร่วมประชุมจึงมี บทบาทให้การพยายามหา
คาตอบวา่ จุดหมายของหลกั สูตรระดบั นค้ี วรเป็นอย่างไร แลว้ นาความคดิ เหน็ ตา่ ง ๆ ทีไ่ ด้จากการอภปิ ราย
ในที่ประชุมมาวิเคราะห์ สรปุ ออกเปน็ หมวดหมู่ และ แจกแจงเปน็ จุดหมายของหลกั สูตรต่อไป

ข้นั ตอนท่ี 3 การกาหนดรูปแบบและโครงสรา้ งของหลักสูตร
หลังจากที่ได้กาหนดจุดหมายของหลักสูตรแล้ว ข้ันตอนต่อไปก็คือการกาหนด รูปแบบและ

โครงสร้างของหลกั สตู ร ซึ่งนับวา่ เป็นข้ันตอนท่ีมคี วามสาคัญ เน่ืองจากรูปแบบและโครงสร้างของหลักสูตร
เป็นองค์ประกอบที่เป็นเค้าโครงของหลักสูตร กล่าวคือ รูปแบบและ โครงสร้างของหลักสูตรที่กาหนดขึ้น
จะต้องสอดคล้องกับจุดหมายของหลักสูตร น่ันคือ ทาให้ จุดหมายของหลักสูตรลงสู่การปฏิบัติจริงได้
นอกจากนี้รูปแบบและโครงสร้างของหลักสูตรจะเป็นตัวกาหนดลักษณะของเน้ือหา ประสบการณ์การเรียนรู้
ยุทธศาสตรก์ ารเรียนการสอน สอ่ื การเรยี นการสอน และวิธกี ารวัดและประเมินผลการเรยี นรู้

91

1. แนวความคิดในการออกแบบหลักสตู ร
หลักสูตรมีหลายรูปแบบ มีชื่อเรียกเฉพาะเพื่อแสดงเอกลักษณ์ของหลักสูตรรูปแบบนั้น ๆ เช่น
หลักสูตรรายวิชา หลักสูตรสัมพันธ์วิชา หลักสูตรหมวดวิชา หลักสูตรแกน เป็นต้น ซึ่งเมื่อพิจารณาใน
รายละเอียดของหลักสตู รแต่ละแบบแล้ว จะพบว่ามแี นวคิดในการออกแบบของแต่ละหลักสูตรต่างกัน ซ่ึงเท่าที่
ไดร้ วบรวมกันไวส้ ามารถสรปุ แนวคดิ การออกแบบหลกั สูตรไดเ้ ปน็ 6 แนวคิด คอื
1.1 แนวความคิดที่ยึดวิชาหรือสาขาวิชาเป็นหลัก (Designs Focused on Disciplines
and Subjects)
แนวคิดนี้มีความเห็นว่า ส่ิงท่ีต้องการให้ผู้เรียนได้เรียนคือ ความรู้ที่มีอยู่ในวิชาต่าง ๆ ดังน้ันรูปแบบ
ของหลักสูตรจะต้องสะท้อนให้เห็นเนื้อหาวิชาที่ถูกจัดไว้เป็นระเบียบในกรอบของแต่ละวิชา โดยเรียงลาดับ
ตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ ความคิดน้ีทาให้เกิดรูปแบบหลักสูตรรายวิชา (The Subject Curriculum) หลักสูตร
สมั พนั ธ์วิชา (The Correlated Curriculum) และหลกั สตู รกว้าง (Broad - Field Curriculum)
1.2 แนวความคิดท่ียึดกิจกรรมและปัญหาของสังคมเป็นหลัก (Designs Focused on Social
Activities and Problems)
แนวความคิดของกลุ่มนี้มิได้มุ่งที่ความรู้ แต่มุ่งเน้นท่ีสังคม หน้าที่ของบุคคลในสังคม ปัญหาของ
สังคม และการเสริมสร้างสังคม แนวความคิดน้ีทาให้เกิดหลักสูตรท่ีเรียกว่า หลักสูตรแกน (The Core
Curriculum)
1.3 แนวความคิดทย่ี ดึ ความต้องการและความสนใจของผ้เู รียนเปน็ หลกั (Designs Focused
on Individual Needs and Interests)
ตามแนวคดิ น้ี ความสนใจของผูเ้ รียนในปัจจุบนั มีความสาคัญกวา่ ส่ิงใด กลา่ วคอื เป็นการยดึ ผู้เรียน
เป็นศูนย์กลาง ดังนั้นสิ่งต่าง ๆ ที่บรรจุไว้ในหลักสูตรจะเป็นส่ิงท่ีเกี่ยวข้องกับผู้เรียน และปัญหาท่ีผู้เรียน
สนใจ และต้องการแก้ไข หลักสูตรจะไม่กาหนดอะไรไว้แน่นอน เป็นเร่ืองที่ผู้สอนและผู้เรียนจะตกลงกัน
หลักสูตรนีม้ ชี อื่ วา่ หลักสูตรประสบการณ์ (The Experience Curriculum)
1.4 แนวความคิดท่ียึดความสามารถเฉพาะของผู้เรียนเป็นหลัก (Designs Focused on
Specific Competencies)
ตามแนวคิดน้ี การออกแบบหลักสูตรจะมีการกาหนดเกณฑ์ความสามารถท่ี ผู้เรียนพึงกระทาขึ้น
ซ่ึงส่วนใหญ่จะเป็นทักษะในด้านต่าง ๆ จัดเรียงลาดับกันไปโดยแบ่งกลุ่มวิชาหรือหมวดวิชาตามแต่จะ
สะดวก ตามแนวคิดน้ีจะได้หลักสูตรที่เรียกว่า หลักสูตรเกณฑ์ ความสามารถ (The Competency -
Based Curriculum)

92

1.5 แนวความคิดท่ียึดทักษะในกระบวนการเรียนรู้เป็นหลัก (Designs Focused on
Process Skills)

การออกแบบหลักสูตรตามแนวคิดนี้มุ่งในเร่ืองของวิชาการมากกว่าเน้ือหาวิชา โดยถือว่าความรู้
เป็นเพียงพาหะท่ีจะนาไปสู่จุดประสงค์ของการเรียนการสอน ไม่ใช่จุดหลายปลายทาง หลักสูตรท่ีเกิดจาก
แนวความคิดแบบนเ้ี รียกว่า หลักสูตรท่ีมุ่งกระบวนการ (The Process Approach Curriculum)

1.6 แนวความคิดที่ยดึ หลักการผสมผสานทัง้ ในด้านกระบวนการและความรู้ (Designs Focused
on Integration of Knowledge and Process)

ตามแนวคิดน้ีการออกแบบตั้งอยู่บนพื้นฐานของจิตวิทยาเกสตอลท์ ซึ่งต้องการเห็นภาพรวมของ
เน้ือหาวิชา และกระบวนการในการเรียนการสอน ทาให้มองไม่เห็นว่ามีการแยกวิชาออกจากกัน หลักสูตร
ตามแนวคดิ นี้ ได้แก่ หลักสตู รบรู ณาการ (The Integrated Curriculum) และหลักสตู รเพอื่ ชีวติ และสังคม
(The Social Process and Life Function Curriculum)

สาหรับรายละเอียดของหลักสูตรต่าง ๆ ท่ีออกแบบข้ึนตามแนวคิดดังกล่าว ข้างต้นน้ัน ได้นาเสนอ
ไว้เป็นสว่ นใหญ่ในบทที่ผ่านๆมาแลว้

2. โครงสร้างของหลกั สตู ร
โครงสร้างของหลักสูตร หมายถึง แผนผังที่แสดงการแจกแจงวิชาหรือกลุ่มวิชาหรือกลุ่ม
ประสบการณ์ ทผี่ ู้เรยี นจะต้องเรียนในแต่ละภาคเรียน และในแต่ละปีการศกึ ษา ตั้งแต่ภาคเรยี นแรกจนถึง
ภาคเรยี นสุดท้าย
จากนิยามความหมายดงั กล่าว ทาให้เห็นได้ชัดเจนว่าโครงสร้างของหลกั สตู รมีความสาคัญต่อการ
กาหนดเน้ือหาและประสบการณ์การเรียนรู้ที่จะต้องจัดให้แก่ผู้เรียนในแต่ละปีหรือแต่ละภาคเรียน
กล่าวคือ เม่ือโครงสร้างกาหนดเวลาการเรียนการสอนไว้อย่างไร การจัดเนื้อหาก็จะต้องให้พอเหมาะกับ
เวลาทกี่ าหนดไว้
ระบบการจดั โครงสรา้ งของหลักสูตร โดยทวั่ ๆ ไป จาแนกออกได้เป็น 2 ระบบ คอื
2.1 ระบบรายปี
ระบบรายปเี ปน็ ระบบทใี่ ช้กันมาต้ังแตด่ ั้งเดมิ มหี ลกั การจดั ระบบโครงสรา้ ง สรุปได้ดงั น้ี
2.1.1 ใหผ้ เู้ รยี นได้เรยี นวิชาทีก่ าหนดทุกภาคเรยี น
2.1.2 จัดเนอื้ หาวิชาเรียงตามลาดบั กอ่ นหลังเพ่อื กาหนดลงในแตล่ ะภาคเรียน
2.1.3 จดั ประสบการณ์การเรียนรู้ใหส้ มั พนั ธก์ บั เนอ้ื หาวชิ า
2.1.4 สัดส่วนจานวนช่ัวโมงในการเรียนการสอนในแต่ละสัปดาห์ข้ึนอยู่กับความสาคัญของวิชา
และปริมาณของเนอ้ื หา

93

2.1.5 ลักษณะของโครงสร้างหลักสตู ร ปรากฏในรูปของการแจกแจงจานวนช่ัวโมงเรียนของแต่
ละวชิ าในหนึง่ สัปดาห์

2.2 ระบบหนว่ ยกิต
ระบบน้ีเร่มิ นามาใช้เปน็ ครั้งแรกในประเทศสหรฐั อเมริกา โดยมลู นธิ คิ าร์เนกี เปน็ ระบบทพี่ ยายาม
จะสร้างความม่ันใจคุณภาพของการศึกษาโดยกาหนดจานวนชั่วโมงที่เรียน ทั้งในและนอกห้องเรียนข้ึน
เป็นหนว่ ย เรยี กว่า “หน่วยกิต (Carnegie Unit of Instruction)”
ประเทศไทยได้นาระบบหน่วยกิตมาใช้ในระดับอุดมศึกษาเป็นคร้ังแรก ท่ีวิทยาลัยวิชาการศึกษา
(ปัจจุบัน คือ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ) เมื่อ พ.ศ. 2496 และได้ขยายการใช้ไปสู่มหาวิทยาลัยและ
สถาบันอุดมศึกษาอ่ืน ๆ และการศึกษาในระดบั ท่ีต่าลงมาด้วย โดยใน ปี พ.ศ. 2521 ได้นาระบบนี้มาใช้ใน
การศึกษาระดับมัธยมศึกษา ดว้ ยการปรบั ปรุงเรยี กเป็น “หน่วยการเรยี น” แทนคาวา่ หน่วยกิต
ในการจัดโครงสรา้ งของหลกั สูตรระบบหนว่ ยกิต มวี ิธกี ารท่ีซับซ้อนกวา่ ระบบรายปี โดยมีขน้ั ตอน ดังน้ี
2.2.1 กาหนดจานวนหน่วยกิตทจี่ ะต้องเรยี นจนจบหลักสูตร
2.2.2 กาหนดอตั ราสว่ นน้าหนักของคุณคา่ หรือความสาคัญของแต่ละวชิ า
2.2.3 คานวณจานวนหน่วยกติ ของแตล่ ะวชิ าที่ผู้เรียนจะต้องเรียนจนจบหลักสตู ร
2.2.4 จดั ทาโครงสรา้ งโดยแจกแจงจานวนหนว่ ยกติ ทจ่ี ะต้องเรยี นในแต่ละ ภาคเรยี น

ขนั้ ตอนท่ี 4 การกาหนดจดุ ประสงคข์ องวิชา
ในข้ันตอนที่ 2 ที่ผ่านมา ได้กล่าวถึงการร่างจุดหมายของหลักสูตรไปแล้ว จุดหมายของหลักสูตร

นัน้ ถูกกาหนดข้ันไว้ในลักษณะกว้าง ๆ เพื่อให้เห็นภาพรวมของหลักสูตรว่า ควรมีวิชาหรือกลุ่มวิชาใดบ้าง
เท่าน้ัน ส่วนการกาหนดเนื้อหาสาระในแต่ละวิชาน้ัน จาเป็นต้องกาหนด จุดประสงค์ข้ึนอีกชั้นหนึ่งก่อน
เพ่ือให้การกาหนดเนื้อหาสาระนั้นทาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และพอเพียงท่ีจะส่งผลให้ผลผลิตของ
หลักสูตรเป็นไปตามจุดหมายของหลักสูตรท่ีกาหนดไว้ ในการกาหนดจุดประสงค์ของวิชาน้ัน นักพัฒนา
ห ลั กสู ต ร คว ร ทาคว ามเ ข้า ใจ ให้ ชั ด เ จ น เ ก่ีย ว กับ ความจ าเป็ นของการจ าแนกประเภทของจุ ดประสงค์
จุดประสงค์ประเภทตา่ ง ๆ และการจดั โครงสรา้ งของจดุ ประสงค์ ดังนี้

1. ความจาเป็นในการจาแนกประเภทจดุ ประสงค์
การจาแนกประเภทของจุดประสงค์ มีความจาเป็นและก่อให้เกิดประโยชน์ต่อ การกาหนด
จดุ ประสงค์ การพัฒนาผ้เู รยี น การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน และอ่นื ๆ พอสรุปได้ดังน้ี
1.1 ช่วยในการวเิ คราะหแ์ ละกาหนดจดุ ประสงค์
1.2 ช่วยใหเ้ กิดความคดิ และเข้าใจถึงการส่งเสริมผ้เู รียนให้มีการพัฒนาในทกุ ด้านว่า

94

จะดาเนินการอย่างไร และช่วยให้เกิดความสมดุลในการพัฒนาผู้เรียนให้ครบทุกด้าน ไม่เอนเอียงไป
ทางด้านใดด้านหนึ่ง

1.3 เพือ่ ใช้เปน็ กรอบในการประเมินผลสมั ฤทธ์ิในการเรยี นของผ้เู รียน
1.4 เพอ่ื ใชเ้ ป็นพ้นื ฐานในการเปรยี บเทยี บหลักสูตรหรือวชิ าที่จัดสอน
1.5 เพื่อใช้เป็นแนวทางในการรายงานความกา้ วหนา้ ของผู้เรยี น
2. การจาแนกประเภทของจดุ ประสงค์
ดังได้กล่าวถึงความจาเป็นในการจาแนกประเภทจุดประสงค์แล้วข้างต้น อย่างไรก็ตามในช่วงเวลา
ก่อนการจาแนกจุดประสงค์มักจะมุ่งไปสู่ด้านความรู้ความเข้าใจเป็นหลัก ส่งผลให้ การเลือกเนื้อหาวิชา
เอนเอียงไปในด้านความรใู้ นเชิงทฤษฎีเป็นสว่ นใหญ่ ซึ่งส่งผลต่อไปท่ีการจัดการเรียนการสอนให้เกิดความ
ไม่ครอบคลุมสง่ิ ทจ่ี าเป็นตอ่ พัฒนาการของผ้เู รียน ดว้ ยเหตนุ ี้จึงมี นักการศกึ ษาคดิ ค้นและพยายามจาแนก
ระบบจุดประสงค์ข้ึน โดยอาศัยหลักการว่า จุดประสงค์ท่ีจาแนกจะต้องครอบคลุมพัฒนาการด้านต่าง ๆ
ของผู้เรียนทุกด้าน คือ ร่างกาย อารมณ์ และสังคม ผู้ที่ริเร่ิมงานในด้านนี้ คือ เบนจามิน บลูมและคณะ
(Benjamin Bloom, et al.) โดยบลูมใช้คาว่า “พิสัย (Domain)” เพื่อกล่าวถึงพัฒนาการในการเรียนรู้ 3
ด้ า น ไ ด้ แ ก่ พุ ท ธิ พิ สั ย (Cognitive Domain) จิ ต พิ สั ย (Affective Domain) แ ล ะ ทั ก ษ ะ พิ สั ย
(Psychomotor Domain) อย่างไรก็ตาม ระบบจาแนกจุดประสงค์น้ีมีคณะนักการศึกษาร่วมกันคิดค้น
หลายคน กล่าวคือ บลูมได้สร้างระบบการจาแนก จุดประสงค์ด้านพุทธิพิสัยขึ้นในปี ค.ศ. 1956 และด้าน
จิตพสิ ัยในปี ค.ศ. 1964 ระบบการจาแนก ดังกลา่ วได้รบั การจัดพมิ พเ์ ผยแพร่ในหนังสอื ชอื่ ว่า Taxonomy
of Education Objectives, Handbook I and II สว่ นในด้านทกั ษะพิสยั นัน้ ซิมสนั (E.J. Simpson) และ
ก๊ิบเลอร์ (Kibler) เป็นผู้ริเร่ิมและ ต่อมาเดฟ (R.H. Dave) ได้ปรับปรุงโดยเน้นการประสานสัมพันธ์ของ
ทกั ษะต่าง ๆ สาระสาคัญของแต่ละพสิ ัย สรปุ ไดด้ งั น้ี

2.1 พุทธพิ สิ ัย
จุดประสงค์การเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัย เป็นจุดประสงค์เก่ียวข้องกับความรู้ อันได้มาจากความจา
และการระลึกได้ และการพัฒนาทกั ษะและความสามารถทางปัญญา ซ่ึงจาแนกจุดประสงค์ดา้ นพุทธิพิสัย
ออกเป็น 6 สว่ น ดงั นี้
2.1.1 ความรู้ ไดแ้ ก่ ความร้เู กยี่ วกับส่ิงจาเพาะ ศัพท์ต่าง ๆ ข้อเทจ็ จรงิ ทเ่ี ปน็ สง่ิ จาเพาะ วธิ กี ารที่
จะดาเนินการกบั สิ่งจาเพาะ ระเบียบแบบแผนดั้งเดิม แนวโน้มและลาดบั ข้นั ของส่งิ ต่าง ๆ การจัดและการ
จาแนกประเภท เกณฑ์สาหรับใช้วัดส่ิงต่าง ๆ วิธีการ ส่ิงที่เป็นสากลและที่เป็นนามธรรม หลักเกณฑ์และ
ข้อสรุปอยา่ งกวา้ ง ๆ และทฤษฎีและโครงสร้าง เปน็ ต้น


Click to View FlipBook Version