The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิเคราะห์มาตรฐานแลตัวชีวัด วิทยาศาสตร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jittanan.25, 2022-09-06 10:37:14

วิเคราะห์มาตรฐานแลตัวชีวัด วิทยาศาสตร์

วิเคราะห์มาตรฐานแลตัวชีวัด วิทยาศาสตร์

บทนำ

ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (ฉบบั ปรบั ปรุง
พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 นี้ได้กาหนดสาระการเรียนรู้
ออกเป็น ๘ สาระ ได้แก่ สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ สาระที่ ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ สาระที่ ๓
วทิ ยาศาสตร์โลกและอวกาศ สาระท่ี ๔ ชวี วทิ ยา สาระที่ ๕ เคมี สาระที่ ๖ ฟสิ ิกส์ สาระท่ี ๗ โลก ดาราศาสตร์
และอวกาศ และสาระท่ี ๘ เทคโนโลยี ซ่งึ องค์ประกอบของหลักสูตร ท้งั ในด้านของเน้อื หา การจัดการเรยี นการ
สอนและการวัดและประเมินผล การเรยี นรนู้ ั้นมีความสาคัญอย่างยิ่งในการวางรากฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ของผู้เรียนในแต่ละระดับช้นั ให้มี ความต่อเนื่องเช่ือมโยงกันต้ังแต่ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ จนถึงชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ ๖ สาหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ได้กาหนดตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ท่ีผู้เรียน
จาเปน็ ต้องเรยี นเปน็ พ้ืนฐาน เพือ่ ใหส้ ามารถ นาความรนู้ ไ้ี ปใช้ในการดารงชวี ติ หรือศึกษาต่อในวิชาชีพทีต่ ้องใช้
วิทยาศาสตร์ได้ โดยจัดเรียงลาดับความยากง่าย ของเนื้อหาท้ัง ๘ สาระในแต่ละระดับช้ันให้มีการเชื่อมโยง
ความรู้กับกระบวนการเรียนรู้ และการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาความคิด ทั้งความคิด
เป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์วิจารณ์ มีทักษะที่ สาคัญท้ังทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
และทักษะในศตวรรษท่ี ๒๑ ในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สามารถ
แก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจโดยใชข้ ้อมูลหลากหลายและประจกั ษ์พยานท่ีตรวจสอบได้ สถาบัน
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตระหนักถึงความสาคัญของการจัดการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ท่ีมุ่งหวังให้เกิดผลสัมฤทธ์ิต่อผู้เรียนมากที่สุด จึงได้จัดทาตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ขึ้น เพื่อให้สถานศึกษา ครูผู้สอน ตลอดจนหน่วยงานต่าง ๆ ได้ใช้เป็นแนวทาง
ในการพัฒนา หนงั สือเรียน คมู่ ือครู สอื่ ประกอบการเรยี นการสอน ตลอดจนการวดั และประเมนิ ผล โดยตัวชี้วัด
และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ท่ีจัดทาข้ึนนี้ได้ปรับปรุงเพื่อให้มีความ
สอดคลอ้ งและเชื่อมโยงกันภายในสาระการเรยี นรู้ เดยี วกันและระหว่างสาระการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตลอดจนการเช่ือมโยงเนื้อหาความรู้ ทางวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์ด้วย
นอกจากนี้ ยังได้ปรบั ปรงุ เพ่ือให้มีความทันสมยั ต่อการเปลย่ี นแปลง และความเจริญก้าวหนา้ ของวิทยาการต่าง
ๆ และทดั เทียมกบั นานาชาติ กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีสรปุ เป็น แผนภาพไดด้ ังน้ี

สาระที่ ๒
วทิ ยาศาสตร์กายภาพ
- มาตรฐาน ว ๒.๑-ว ๒.๓

สาระที่ ๑ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ สาระท่ี ๓
วิทยาศาสตร์ชีวภาพ วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ
- มาตรฐาน ว ๑.๑-ว ๑.๓ - มาตรฐาน ว ๓.๑-ว ๓.๒

สาระท่ี ๔
เทคโนโลยี
- มาตรฐาน ว ๔.๑-ว ๔.๒

วิทยำศำสตร์เพม่ิ เตมิ  สาระชวี วทิ ยา  สาระเคมี  สาระฟสิ ิกส์
 สาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ

หลักสตู รสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ ระดบั ประถมศึกษา

เปำ้ หมำยของกำรจดั กำรเรียนกำรสอนวิทยำศำสตร์

วิทยาศาสตร์เป็นเรื่องของการเรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติ โดยมนุษย์ใช้กระบวนการสังเกต สารวจ
ตรวจสอบ และการทดลองเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติและนาผลมาจัดระบบ หลักการ แนวคิดและ
ทฤษฎี ดังน้ันการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์จึงมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เป็นผู้เรียนรู้และค้นพบด้วยตนเองมากท่ีสุด
น่ันคือให้ได้ท้ังกระบวนการและองค์ความรู้ ต้ังแต่วัยเร่ิมแรกก่อนเข้าเรียน เม่ืออยู่ในสถานศึกษาและเม่ือออก
จากสถานศึกษาไปประกอบอาชีพแล้ว
การจดั การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ในสถานศึกษามีเป้าหมายสาคัญดังนี้

1. เพือ่ ใหเ้ ขา้ ใจหลักการ ทฤษฎที ่ีเปน็ พ้นื ฐานในวทิ ยาศาสตร์
2. เพอื่ ใหเ้ ข้าใจขอบเขต ธรรมชาตแิ ละข้อจากดั ของวทิ ยาศาสตร์
3. เพอ่ื ให้มที ักษะท่ีสาคัญในการศกึ ษาค้นคว้าและคิดค้นทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
4. เพ่ือพฒั นากระบวนการคดิ และจนิ ตนาการ ความสามารถในการแกป้ ญั หาและการจดั การทักษะใน
การสื่อสาร และความสามารถในการตดั สนิ ใจ
5. เพ่อื ให้ตระหนักถงึ ความสัมพนั ธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนุษย์และสภาพแวดล้อมใน
เชงิ ท่มี ีอทิ ธิพลและผลกระทบซึ่งกนั และกนั
6. เพื่อนาความรู้ความเข้าใจในเร่ืองวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ต่อสังคมและ
การดารงชีวิต
7. เพ่ือให้เป็นคนมีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยอี ย่างสร้างสรรค์

เรียนรอู้ ะไรในวิทยำศำสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมุ่งหวังให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ท่ีเน้นการ

เชื่อมโยงความรู้กับกระบวนการ มีทักษะสาคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้ กระบวนการในการ
สืบเสาะหาความรู้และแก้ปัญหาท่ีหลากหลาย ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ ทุกขั้นตอน มีการทากิจกรรม
ดว้ ยการลงมือปฏบิ ัตจิ ริงอย่างหลากหลาย เหมาะสมกับระดับชนั้ โดยกาหนดสาระสาคญั ดังน้ี

✧ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ เรียนรู้เกี่ยวกับ ชีวิตในสิ่งแวดล้อม องค์ประกอบของส่ิงมีชีวิต การดารงชีวิต
ของมนษุ ย์และสตั วก์ ารดารงชีวติ ของพชื พันธกุ รรม ความหลากหลายทางชวี ภาพ และวิวฒั นาการของส่ิงมีชีวิต

✧ วิทยาศาสตร์กายภาพ เรียนรู้เก่ียวกับ ธรรมชาติของสาร การเปล่ียนแปลงของสาร การเคล่ือนที่
พลงั งาน และคลน่ื

✧ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ เรียนรู้เก่ียวกับ องค์ประกอบของเอกภพ ปฏิสัมพันธ์ ภายในระบบ
สุริยะ เทคโนโลยีอวกาศ ระบบโลก การเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา กระบวนการ เปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศ
และผลตอ่ สง่ิ มชี วี ติ และสิ่งแวดลอ้ ม เทคโนโลยี

✧ การออกแบบและเทคโนโลยีเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีเพื่อการดารงชีวิต ในสังคมที่มีการ
เปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ และศาสตร์อ่ืน ๆ เพื่อ
แก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรม เลือ กใช้
เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคานึงถงึ ผลกระทบตอ่ ชีวติ สงั คม และสง่ิ แวดลอ้ ม

หลกั สตู รสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ระดบั ประถมศกึ ษา

✧ วิทยาการคานวณ เรียนรู้เกี่ยวกับการคิดเชิงคานวณ การคิดวิเคราะห์แก้ปัญหา เป็นขั้นตอนและ
เป็นระบบ ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสาร ในการ
แก้ปัญหาทีพ่ บในชีวติ จรงิ ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ

สำระและมำตรฐำนกำรเรียนรู้
สำระที่ ๑ วทิ ยำศำสตรช์ ีวภำพ
มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงไม่มีชีวิต กับสิ่งมีชีวิต และ

ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน การ
เปล่ียนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของ ประชากร ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการ
แกไ้ ขปัญหาสิ่งแวดลอ้ ม รวมท้งั นาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัตขิ องส่งิ มีชีวติ หนว่ ยพื้นฐานของสิ่งมชี วี ติ การลาเลียงสารเขา้ และออกจากเซลล์
ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าท่ีของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทางาน
สัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทางาน
สัมพนั ธก์ นั รวมทง้ั นาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์
มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพันธุกรรม
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อส่ิงมีชีวิต ความหลากหลาย ทางชีวภาพและ
ววิ ฒั นาการของส่งิ มีชีวติ รวมทั้งนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

สำระที่ ๒ วิทยำศำสตรก์ ำยภำพ
มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของ สสารกับ

โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติ ของการเปลี่ยนแปลง
สถานะของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี
มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาตขิ องแรงในชวี ิตประจาวัน ผลของแรงทกี่ ระทาต่อวัตถุ ลักษณะ การเคลื่อนที่
แบบตา่ ง ๆ ของวตั ถรุ วมท้ังนาความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์
มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์
ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจาวัน ธรรมชาติของ คล่ืน ปรากฏการณ์ท่ี
เก่ียวข้องกับเสยี ง แสง และคลน่ื แม่เหล็กไฟฟ้า รวมทง้ั นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

สำระท่ี ๓ วิทยำศำสตรโ์ ลก และอวกำศ
มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซีดาว

ฤกษ์และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ ท่ีส่งผลต่อส่ิงมีชีวิต และการ
ประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยอี วกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง ภายในโลก
และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้า อากาศและภูมิอากาศโลก
รวมท้งั ผลตอ่ ส่งิ มชี ีวติ และส่ิงแวดลอ้ ม

หลกั สตู รสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ระดบั ประถมศึกษา

สำระที่ ๔ เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพ่ือการดารงชีวิตในสังคมท่ีมีการเปลี่ยนแปลง อย่าง

รวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และ ศาสตร์อ่ืน ๆ เพ่ือ
แก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ ด้วยกระบวนการออกแบบเชิง
วิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยคานึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และ
สิง่ แวดล้อม
มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชงิ คานวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชวี ิตจริงอย่างเป็น ข้ันตอนและเป็น
ระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทางาน และการแก้ปัญหา
ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม

หลกั สตู รสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ระดบั ประถมศึกษา

วสิ ัยทศั น์กลุม่ สำระกำรเรียนร้วู ทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี
วิสัยทัศน์

“ยกระดับคุณภาพ สู่มาตรฐานการศึกษาช้ันนาและสู่สากล มีศักยภาพในการแข่งขัน ยึดหลักการ
บริหารจดั การแบบมสี ่วนรว่ ม ภายในปีการศึกษา ๒๕๖๑”

สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี นและคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ

ตามมาตรฐานท่ีกาหนด ซงึ่ จะชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นเกิดสมรรถนะสาคัญและคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ดงั น้ี

สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐานมุ่งให้ผเู้ รียนเกิดสมรรถนะสาคญั ๕ ประการ ดังน้ี
๑. ควำมสำมำรถในกำรส่ือสำร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา

ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาต่อรองเพ่ือขจัดและลด
ปัญหาความขัดแย้งตา่ ง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้องตลอดจนการ
เลอื กใช้วิธีการสือ่ สารท่ีมปี ระสทิ ธิภาพโดยคานึงถงึ ผลกระทบท่มี ีต่อตนเองและสงั คม

๒. ควำมสำมำรถในกำรคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง
สร้างสรรค์ การคดิ อย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ
เพอ่ื การตัดสินใจเก่ียวกับตนเองและสังคมไดอ้ ย่างเหมาะสม

๓. ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำ เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่ีเผชิญได้
อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลกั เหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธแ์ ละการ
เปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไข
ปัญหา และมีการตัดสนิ ใจท่ีมปี ระสิทธภิ าพโดยคานงึ ถึงผลกระทบท่ีเกิดข้ึนต่อตนเอง สังคมและสิง่ แวดล้อม

๔. ควำมสำมำรถในกำรใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการ
ดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การทางาน และการอยู่ร่วมกันในสังคม
ด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม
การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อมและการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึง
ประสงคท์ ่ีสง่ ผลกระทบต่อตนเองและผู้อนื่

๕. ควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และ
มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทางาน
การแก้ปัญหาอยา่ งสร้างสรรค์ ถกู ตอ้ ง เหมาะสม และมคี ณุ ธรรม

หลักสตู รสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ ระดบั ประถมศกึ ษา

คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพ่ือให้
สามารถอยรู่ ว่ มกบั ผอู้ น่ื ในสังคมไดอ้ ย่างมีความสุข ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ดงั นี้

๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
๒. ซ่อื สตั ยส์ จุ ริต
๓. มีวินยั
๔. ใฝ่เรยี นรู้
๕. อยอู่ ย่างพอเพียง
๖. มงุ่ มนั่ ในการทางาน
๗. รกั ความเปน็ ไทย
๘. มจี ติ สาธารณะ

หลกั สตู รสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ระดบั ประถมศึกษา

คณุ ภำพผู้เรียน

จบชน้ั ประถมศึกษำปีที่ ๓
✧ เขา้ ใจลกั ษณะที่ปรากฏ ชนดิ และสมบัติบางประการของวสั ดุท่ีใช้ทาวัตถุ และการเปล่ียนแปลงของ

วัสดรุ อบตวั
✧ เข้าใจการดึง การผลัก แรงแม่เหล็ก และผลของแรงท่ีมีต่อการเปล่ียนแปลง การเคล่ือนที่ของวัตถุ

พลงั งานไฟฟ้า และการผลติ ไฟฟา้ การเกดิ เสียง แสงและการมองเห็น
✧ เข้าใจการปรากฏของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาว ปรากฏการณ์ขึ้นและตกของ ดวงอาทิตย์

การเกิดกลางวันกลางคืน การกาหนดทิศ ลักษณะของหิน การจาแนกชนิดดินและการใช้ประโยชน์ ลักษณะ
และความสาคญั ของอากาศ การเกิดลม ประโยชนแ์ ละโทษของลม

✧ ตั้งคาถามหรือกาหนดปัญหาเก่ียวกับสิ่งท่ีจะเรียนรู้ตามที่กาหนดให้หรือตามความสนใจสังเกต
สารวจตรวจสอบโดยใชเ้ คร่ืองมืออย่างง่าย รวบรวมข้อมูล บันทึก และอธิบายผลการสารวจตรวจสอบด้วยการ
เขียนหรือวาดภาพ และสื่อสารสิง่ ท่เี รียนรดู้ ้วยการเลา่ เรื่อง หรือด้วยการแสดงท่าทางเพื่อใหผ้ อู้ ่ืนเข้าใจ

✧ แก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ขั้นตอนการแก้ปัญหา มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สือ่ สารเบอ้ื งต้น รักษาข้อมลู สว่ นตัว

✧ แสดงความกระตือรือร้น สนใจท่ีจะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์เก่ียวกับเร่ืองที่จะศึกษาตามท่ี
กาหนดใหห้ รอื ตามความสนใจ มสี ่วนร่วมในการแสดงความคิดเหน็ และยอมรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ผ้อู ืน่

✧ แสดงความรับผิดชอบดว้ ยการทางานทไ่ี ด้รับมอบหมายอยา่ งมงุ่ มัน่ รอบคอบ ประหยดั ซื่อสตั ย์ จน
งานลลุ ว่ งเปน็ ผลสาเร็จ และทางานร่วมกับผอู้ ่นื อย่างมีความสุข

✧ ตระหนักถึงประโยชน์ของการใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดารงชีวิต ศึกษา
หาความรู้เพม่ิ เตมิ ทาโครงงานหรือช้ินงานตามทกี่ าหนดใหห้ รือตามความสนใจ

จบช้ันประถมศกึ ษำปีที่ ๖
✧ เข้าใจโครงสร้าง ลักษณะเฉพาะและการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต รวมท้ังความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตใน

แหล่งทอ่ี ยู่ การทาหน้าทขี่ องส่วนตา่ ง ๆ ของพชื และการทางานของระบบยอ่ ยอาหารของมนุษย์
✧ เขา้ ใจสมบตั แิ ละการจาแนกกลุ่มของวัสดุ สถานะและการเปล่ียนสถานะของสสาร การละลาย การ

เปลี่ยนแปลงทางเคมี การเปลยี่ นแปลงท่ผี นั กลบั ไดแ้ ละผนั กลบั ไมไ่ ด้ และการแยกสารอย่างงา่ ย
✧ เข้าใจลักษณะของแรงโน้มถว่ งของโลก แรงลัพธ์ แรงเสียดทาน แรงไฟฟ้าและผลของแรงต่าง ๆ ผล

ท่ีเกดิ จากแรงกระทาต่อวัตถุ ความดัน หลักการท่ีมตี อ่ วตั ถุ วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ปรากฏการณ์เบือ้ งตน้ ของเสียง
และแสง

✧ เข้าใจปรากฏการณ์การข้ึนและตก รวมถึงการเปล่ียนแปลงรูปร่างปรากฏของดวงจันทร์
องค์ประกอบของระบบสุริยะ คาบการโคจรของดาวเคราะห์ ความแตกต่างของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ การ
ข้นึ และตกของกลุม่ ดาวฤกษ์ การใชแ้ ผนท่ีดาว การเกิดอุปราคา พัฒนาการและประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ

✧ เขา้ ใจลักษณะของแหล่งน้า วฏั จักรน้า กระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้าคา้ ง น้าค้างแข็ง หยาดนา้ ฟ้า
กระบวนการเกิดหิน วัฏจักรหิน การใช้ประโยชน์หินและแร่ การเกิดซากดึกดาบรรพ์ การเกิดลมบก ลมทะเล
มรสุม ลักษณะและผลกระทบของภัยธรรมชาติ ธรณีพิบัติภัย การเกิดและผลกระทบของปรากฏการณ์เรือน
กระจก

หลักสตู รสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ระดับประถมศกึ ษา

✧ ค้นหาข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพและประเมินความน่าเชื่อถือ ตัดสินใจเลือกข้อมูลใช้เหตุผลเชิง
ตรรกะในการแกป้ ัญหา ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการทางานร่วมกนั เข้าใจสิทธิและหน้าท่ีของ
ตน เคารพสทิ ธขิ องผอู้ ่นื

✧ ต้ังคาถามหรือกาหนดปัญหาเกี่ยวกับส่ิงที่จะเรียนรู้ตามท่ีกาหนดให้หรือตามความสนใจ คาดคะเน
คาตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐานที่สอดคล้องกับคาถามหรือปัญหาที่จะสารวจตรวจสอบ วางแผนและ
สารวจตรวจสอบโดยใชเ้ คร่ืองมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีเหมาะสม ในการเก็บรวบรวมข้อมูลท้ัง
เชงิ ปริมาณและคณุ ภาพ

✧ วิเคราะห์ข้อมูล ลงความเห็น และสรุปความสัมพันธ์ของข้อมูลท่ีมาจากการสารวจตรวจสอบใน
รูปแบบท่เี หมาะสม เพ่ือส่ือสารความรู้จากผลการสารวจตรวจสอบไดอ้ ย่างมีเหตุผลและหลักฐานอ้างองิ

✧ แสดงถึงความสนใจ มงุ่ มนั่ ในสง่ิ ทจี่ ะเรยี นรู้ มคี วามคิดสรา้ งสรรค์เกี่ยวกบั เรื่องที่จะศกึ ษาตามความ
สนใจของตนเอง แสดงความคิดเห็นของตนเอง ยอมรับในข้อมูลที่มีหลักฐานอ้างอิง และรับฟังความคิดเห็น
ผู้อ่ืน

✧ แสดงความรับผิดชอบด้วยการทางานทไ่ี ดร้ ับมอบหมายอยา่ งม่งุ มน่ั รอบคอบ ประหยัด ซอ่ื สตั ย์ จน
งานลลุ ่วงเป็นผลสาเรจ็ และทางานรว่ มกบั ผู้อื่นอยา่ งสรา้ งสรรค์

✧ ตระหนกั ในคณุ คา่ ของความร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใชค้ วามรแู้ ละกระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตร์ในการดารงชีวิต แสดงความชื่นชม ยกยอ่ ง และเคารพสิทธิในผลงานของผู้คดิ ค้นและศกึ ษาหา
ความรู้เพ่ิมเติม ทาโครงงานหรือช้นิ งานตามท่ีกาหนดใหห้ รือตามความสนใจ

✧ แสดงถึงความซาบซ้ึง ห่วงใย แสดงพฤติกรรมเก่ียวกับการใช้ การดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
และสง่ิ แวดล้อมอย่างรู้คุณคา่

ทักษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นทักษะทางสติปัญญา (Intellectual) ที่นักวิทยาศาสตร์และผู้ที่นา
วิธีการทางวิทยาศาสตร์มาแก้ปัญหา ใช้ในการศึกษาค้นคว้า สืบเสาะหาความรู้ และแก้ปัญหาต่าง ๆ ทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์แบ่งออกได้เป็น 13 ทักษะ ทักษะที่ 1-8 เป็นทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ข้ัน
พื้นฐาน และทักษะที่ 9-13 เป็นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ข้ันสูงหรือขั้นผสมหรือขั้นบูรณาการ ทักษะ
กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ท้ัง 13 ทักษะ มดี งั นี้

๑. การสังเกต (Observing) หมายถึง การใชป้ ระสาทสัมผัสอยา่ งใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างรวมกัน ได้แก่
ตา หู จมูก ล้ิน ผิวกาย เข้าไปสัมผัสโดยตรงกับวัตถุหรือเหตุการณ์ เพ่ือค้นห้าข้อมูลซึ่งเป็นรายละเอียดของส่ิงน้ัน
โดยไม่ใส่ความเห็นของผู้สังเกตลงไป ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตประกอบด้วยข้อมูลเชิงคุณภาพ ข้อมูลเชิงปริมาณ
และข้อมูลที่เกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงท่ีสังเกตเห็นได้จากวัตถุหรือเหตุการณ์นั้น ความสามารถที่แสดงให้เห็นว่าเกิด
ทักษะน้ีประกอบด้วยการชี้บ่งและการบรรยายสมบัติของวัตถุได้โดยการกะประมาณและการบรรยายการ
เปลย่ี นแปลงของสิ่งทส่ี งั เกตได้

๒. การลงความเห็นจากข้อมูล (Inferring) หมายถึง การเพิ่มความคิดเห็นให้กับข้อมูลที่ได้จากการสังเกต
อย่างมีเหตุผล โดยอาศัยความรู้และประสบการณ์เดิมมาช่วย ความสามารถที่แสดงให้เห็นว่าเกิดทักษะนี้ คือ การ
อธบิ ายหรือสรปุ โดยเพ่มิ ความคิดเห็นให้กับข้อมูลโดยใช้ความรูห้ รือประสบการณ์เดิมมาช่วย

๓. การจาแนกประเภท (Classifying) หมายถึง การแบ่งพวกหรือเรียงลาดับวัตถุหรือสิ่งที่มีอยู่ใน
ปรากฏการณ์โดยมีเกณฑ์ และเกณฑ์ดังกล่าวอาจใช้ความเหมือน ความแตกต่าง หรือความสัมพันธ์อย่างใดอย่าง

หลกั สตู รสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ ระดับประถมศกึ ษา

หนึ่งก็ได้ ความสามารถที่แสดงว่าเกิดทักษะนี้แล้ว ได้แก่ การแบ่งพวกของส่ิงต่าง ๆ จากเกณฑ์ที่ผู้อ่ืนกาหนดให้ได้
นอกจากน้ันสามารถเรียงลาดับสิ่งของด้วยเกณฑ์ของตัวเองพร้อมกับบอกได้ว่าผู้อื่นแบ่งพวกของส่ิงของน้ันโดยใช้
อะไรเป็นเกณฑ์

๔. การวัด (Measuring) หมายถงึ การเลอื กใช้เครื่องมือและการใช้เคร่ืองมือน้ันทาการวัดหาปริมาณของสิ่ง
ต่าง ๆ ออกมาเป็นตัวเลขท่ีแน่นอนได้อย่างเหมาะสมกับสิ่งท่ีวัด แสดงวิธีใช้เคร่ืองมืออย่างถูกต้อง พร้อมท้ังบอก
เหตุผลในการเลือกใชเ้ ครื่องมือ รวมทงั้ ระบหุ นว่ ยของตัวเลขท่ีได้จากการวัดได้

๕. การใช้ตัวเลข (Using Numbers) หมายถึง การนับจานวนของวัตถุและการนาตัวเลขท่ีแสดงจานวนที่
นบั ไดม้ าคดิ คานวณโดยการบวก ลบ คณู หาร หรือการหาคา่ เฉลี่ย ความสามารถที่แสดงให้เห็นว่าเกิดทักษะนี้ ได้แก่
การนับจานวนสิ่งของได้ถูกต้อง เช่น ใช้ตัวเลขแทนจานวนการนับได้ ตัดสินได้ว่าวัตถุ ในแต่ละกลุ่มมจี านวนเท่ากัน
หรือแตกต่างกัน เป็นต้น การคานวณ เช่น บอกวิธีคานวณ คิดคานวณ และแสดงวิธีคานวณได้อย่างถูกต้อง และ
ประการสุดท้ายคือ การหาคา่ เฉล่ีย เช่น การบอกและแสดงวิธีการหาค่าเฉลี่ยได้ถูกต้อง

๖. การหาความสัมพันธร์ ะหวา่ งสเปสกบั สเปสและสเปสกบั เวลา(Using Space/Time Relationships)
สเปสของวัตถุ หมายถึง ท่ีว่างที่วัตถุนั้นครองท่ีอยู่ ซึ่งมีรูปร่างลักษะเช่นเดียวกับวัตถุนั้นโดยท่ัวไป
แลว้ สเปสของวัตถุจะมี ๓ มติ ิ คือ ความกวา้ ง ความยาว และความสงู
ความสัมพันธร์ ะหวา่ งสเปสกับสเปสของวัตถุ ได้แก่ ความสมั พนั ธ์ระหว่าง 3 มิติ กบั 2 มิติ ความสัมพันธ์
ระหว่างตาแหน่งที่ของวัตถุหนึ่งกับอีกวัตถุหน่ึง ความสามารถท่ีแสดงให้เห็นว่าเกิดทักษะการหาความสัมพันธ์
ระหว่างสเปสกับสเปส ได้แก่ การชี้บ่งรปู 2 มิติ และ 3 มิติได้ สามารถวาดภาพ 2 มิติ จากวตั ถุหรือจากภาพ 3 มิติ
ได้
ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลา ได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่างการเปล่ียนตาแหน่งท่ีอยู่ของวัตถุกับเวลา
หรือความสัมพันธ์ระหว่างสเปสของวัตถุที่เปล่ียนไปกับเวลาความสามารถท่ีแสดงให้เห็ นว่าเกิดทักษะการหา
ความสมั พันธ์ระหว่างสเปสกับเวลา ไดแ้ ก่ การบอกตาแหน่งและทิศทางของวัตถโุ ดยใช้ตวั เองหรือวัตถุอื่นเปน็ เกณฑ์
บอกความสัมพันธร์ ะหวา่ งการเปล่ยี นตาแหน่ง เปลย่ี นขนาด หรอื ปริมาณของวัตถกุ ับเวลาได้
๗. การสื่อความหมายข้อมูล (Communicating) หมายถึง การนาข้อมูลที่ได้จาการสังเกต การวัด การ
ทดลอง และจากแหล่งอื่น ๆ มาจดั กระทาเสียใหมโ่ ดยการหาความถ่ี เรยี งลาดับ จัดแยกประเภท หรอื คานวณหาค่า
ใหม่ เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจความหมายได้ดีข้ึน โดยอาจเสนอในรูปของตาราง แผนภูมิ แผนภาพ ไดอะแกรม กราฟ
สมการ การเขียนบรรยาย เป็นต้น ความสามารถท่ีแสดงให้เห็นว่าเกิดทักษะน้ีแล้ว คือการเปลี่ยนแปลงข้อมูลให้อยู่
ในรูปใหม่ที่เข้าใจดีขึ้น โดยจะต้องรู้จักเลือกรูปแบบท่ีใช้ในการเสนอข้อมูลได้อย่างเหมาะสม บอกเหตุผลในการ
เสนอข้อมูลในการเลือกแบบแสนอข้อมูลนั้น การเสนอข้อมูลอาจกระทาได้หลายแบบดังที่กล่าวมาแล้ว โดยเฉพาะ
การเสนอข้อมูลในรูปของตาราง การบรรจุข้อมูลให้อยู่ในรูปของตารางปกติจะใส่ค่าของตัวแปรอิสระไว้ทางซ้ายมือ
ของตาราง และคา่ ของตัวแปรตามไว้ทางขวามือของตารางโดยเขียนค่าของตวั แปรอิสระไว้ให้เรียงลาดับจากค่าน้อย
ไปหาค่ามาก หรือจากค่ามากไปหาค่าน้อย ๘. การพยากรณ์ (Predicting) หมายถงึ การคาดคะเนคาตอบล่วงหน้า
ก่อนการทดลอง โดยอาศัยปรากฏการณ์ที่เกิดซ้า หลักการ กฎ หรือ ทฤษฏีท่ีมีอยู่แล้วในเรื่องน้ันมาช่วยสรุป เช่น
การพยากรณ์ข้อมูลเกี่ยวกับตัวเลข ได้แก่ ข้อมูลท่ีเป็นตารางหรือกราฟ ซึ่งทาได้สองแบบ คือ การพยากรณ์ภายใน
ขอบเขตของข้อมูลที่มีอยู่ กับการพยากรณ์นอกขอบของข้อมูลท่ีมีอยู่ เช่น การพยากรณ์ผลของข้อมูลเชิงปริมาณ
เปน็ ตน้
๙. การชี้บ่งและการควบคุมตัวแปร (Identifying and Controlling Variables) หมายถึง การช้ีบ่งตัวแปร
ตน้ ตวั แปรตาม และตัวแปรทต่ี ้องควบคุมให้คงที่ในสมมตุ ิฐาน หนึ่ง ๆ

หลักสตู รสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ระดบั ประถมศึกษา

ตัวแปรต้น หมายถึง สิ่งท่ีเป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดผลต่าง ๆ หรือส่ิงท่ีเราต้องการทดลองดูว่าเป็นสาเหตุที่
ก่อให้เกดิ ผลเช่นน้ันจริงหรือไม่

ตัวแปรตาม หมายถึง สิ่งที่เป็นผลเน่ืองมาจากตัวแปรต้น เมื่อตัวแปรต้นหรือส่ิงที่เป็นสาเหตุเปลี่ยนไป ตัว
แปรตามหรือส่ิงที่เป็นผลจะแปรตามไปด้วย

ตัวแปรท่ีต้องควบคุมให้คงที่ หมายถึง สิ่งอื่น ๆ นอกเหนือจากตัวแปรต้นที่จะทาให้ผลการทดลอง
คลาดเคลอื่ น ถา้ หากวา่ ไมม่ ีการควบคุมให้เหมือนกนั

๑๐. การต้ังสมมุติฐาน (Formulating Hypotheses) หมายถึง การคิดหาคาตอบล่วงหน้าก่อนทาการ
ทดลอง โดยอาศัยการสังเกต อาศัยความรู้หรือประสบการณ์เดิมเป็นพ้ืนฐาน คาตอบท่ีคิดล่วงหน้าน้ี ยังไม่ทราบ
หรือยังไม่เป็นทางการ กฎหรือทฤษฏีมาก่อน สมมุติฐาน คือคาตอบท่ีคิดไว้ล่วงหน้ามีกล่าวไว้เป็นข้อความที่บอก
ความสมั พันธร์ ะหว่างตัวแปรต้นกบั ตวั แปรตามสมมุตฐิ านทต่ี ั้งข้ึนอาจถูกหรือผิดก็ได้ซ่ึงทราบได้ภายหลังการทดลอง
หาคาตอบเพ่ือสนับสนุนสมมุติฐานหรือคัดค้านสมมตุ ิฐานท่ีต้ังไว้ สิง่ ทีค่ วรคานึงถึงในการตั้งสมมุติฐาน คือ การบอก
ช่ือตัวแปรต้นซึ่งอาจมีผลต่อตัวแปรตามและในการต้ังสมมตุ ฐิ านต้องทราบตัวแปรจากปัญหาและสภาพแวดล้อมของ
ตัวแปรนั้น สมมุติฐานที่ตั้งข้ึนสามารถบอกให้ทราบถึงการออกแบบการทดลอง ซ่ึงต้องทราบว่าตัวแปรไหนเป็นตัว
แปรต้น ตวั แปรตาม และตวั แปรท่ีตอ้ งควบคุมให้คงที่

๑๑. การกาหนดนิยามเชิงปฏิบัติการของตัวแปร (Defining Variables Operationally) หมายถึง การ
กาหนดความหมายและขอบเขตของค่าต่าง ๆ ท่ีอยู่ในสมมุติฐานท่ีต้องการทดลองและบอกวิธีวัดตัวแปรท่ีเกี่ยวกับ
การทดลองนั้น

๑๒. การทดลอง (Experimenting) หมายถงึ กระบวนการปฏิบัติการเพ่ือหาคาตอบจากสมมุติฐานท่ีต้ังไว้
ในการทดลองจะประกอบไปดว้ ยกจิ กรรม ๓ ขน้ั คือ

๑๒.๑ ออกแบบการทดลอง หมายถงึ การวางแผนการทดลองก่อนลงมือทดสอบจรงิ
๑๒.๒ ปฏิบัติการทดลอง หมายถึง การลงมือปฏิบัติจริงและให้อุปกรณ์ได้อย่างถูกต้องและ
เหมาะสม
๑๒.๓ การบันทึกผลการทดลอง หมายถึง การจดบันทึกข้อมูลท่ีได้จากการทดลองซึ่งอาจเป็น
ผลจากการสังเกต การวดั และอื่น ๆ ได้อย่างคล่องแคล่วและถูกต้อง การบนั ทึกผลการทดลอง อาจอยู่ในรูปตาราง
หรอื การเขียนกราฟ ซง่ึ โดยทั่วไปจะแสดงคา่ ของตวั แปรต้นหรือตัวแปรอสิ ระบนแกนนอนและค่าของตัวแปรบนแกน
ต้ัง โดยเฉพาะในแต่ละแกนต้องใช้สเกลท่ีเหมาะสม พร้อมทั้งแสดงให้เห็นถึงตาแหน่งของค่าของตัวแปรทั้งสองบน
กราฟด้วย
ในการทดลองแต่ละคร้ังจาเป็นอาศัยการวิเคราะห์ตวั แปรต่าง ๆ ทีเ่ กย่ี วข้อง คอื สามารถท่ีจะบอกชนิดของ
ตัวแปรในการทดลองว่า ตัวแปรนั้นเป็นตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม หรือตัวแปรที่ต้องควบคุม ในการทดลองหน่ึง ๆ
ต้องมีตัวแปรตัวหนึ่งเท่านั้นที่มีผลต่อการทดลอง และเพื่อให้แน่ใจว่าผลท่ีได้เกิดจากตัวแปรน้ันจริง ๆ จาเป็นต้อง
ควบคุมตัวแปรอนื่ ไม่ให้มีผลต่อการทดลอง ซึ่งเรียกตวั แปรน้ีวา่ ตัวแปรทีต่ ้องควบคุมให้คงท่ี
๑๓.การตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป (Interpreting Data and Making Conlusion) การ
ตีความหมายข้อมูล หมายถึง การแปลความหมายหรือบรรยายลักษณะข้อมูลท่ีมีอยู่ การตีความหมายข้อมูล ใน
บางคร้ังอาจต้องใช้ทักษะอื่น ๆ ด้วย เช่น การสังเกต การคานวณ เป็นต้น และการลงข้อสรุป หมายถึง การสรุป
ความสัมพันธ์ของข้อมูลทั้งหมด ความสามารถท่ีแสดงให้เห็นว่าเกิดทักษะการลงข้อสรุปคือบอกความสัมพันธ์ของ
ข้อมูลได้ เช่น การอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรบนกราฟ ถ้ากราฟเป็นเส้นตรงก็สามารถอธิบายได้ว่าเกิด
อะไรข้ึนกับตัวแปรตามขณะที่ตัวแปรอิสระเปล่ียนแปลงหรือถ้าลากกราฟเป็นเส้นโค้งให้อธิบายความสัมพันธ์

หลักสตู รสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ระดับประถมศึกษา

ระหว่างตัวแปรก่อนท่ีกราฟเส้นโค้งจะเปลี่ยนทิศทางและอธิบายความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรหลังจากท่ีกราฟเส้น
โค้งเปล่ียนทศิ ทางแล้ว.

คณุ ลักษณะดำ้ นจติ วทิ ยำศำสตร์ จติ วิทยำศำสตร์
๑.เห็นคณุ คา่ ทางวิทยาศาสตร์
ลกั ษณะช้ีบ่ง/พฤตกิ รรม

๑.๑ นยิ มยกยอ่ งกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
๑.๒ นยิ มยกย่องความกา้ วหน้าทางวิทยาศาสตร์
๑.๓ เพิ่มพนู ความรู้และประสบการณ์ทางวทิ ยาศาสตร์
๑.๔ ตระหนักความสาคญั ของวทิ ยาศาสตร์ ในการพฒั นา
คุณภาพชีวติ

๒.คณุ ลกั ษณะทางวทิ ยาศาสตร์ ๒.๑.๑ การยอมรบั ข้อสรุปท่ีมีเหตุผล
๒.๑ ความมเี หตุผล ๒.๑.๒ มคี วามเชอ่ื ว่าสิง่ ท่ีเกดิ ขึ้นต้องมสี าเหตุ
๒.๑.๓ นยิ มยกยอ่ งบุคคลที่มีความคดิ อยา่ งมเี หตผุ ล
๒.๒ ความอยากร้อู ยากเหน็ ๒.๑.๔ เหน็ คุณคา่ ในการสบื หาความจรงิ ก่อนท่ีจะยอมรับ
หรอื ปฏิบตั ิตาม
๒.๒.๑ ชือ่ ว่าวิธกี ารทดลองค้นคว้าจะทาให้คน้ พบวิธีการ
แกป้ ญั หาได้
๒.๒.๒ พอใจใฝห่ าความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์เพ่ิมเติม
๒.๒.๓ ชอบทดลองคน้ ควา้

๒.๓ ความใจกวา้ ง ๒.๓.๑ ตระหนักถงึ ความสาคัญของความมีเหตุผลของ
ผู้อืน่
๒.๓.๒ ยอมรับฟงั ความคดิ เหน็ และคาวจิ ารณ์ของผูอ้ นื่

๒.๔ ความมรี ะเบยี บในการทางาน ๒.๔.๑ ตระหนักถึงการระวงั รักษาความปลอดภัยของ
ตนเองและเพ่ือนในขณะทดลองวิทยาศาสตร์
๒.๔.๒ เหน็ คณุ คา่ ของการระวงั รักษาเครื่องมือที่ใช้มใิ ห้
แตกหักเสยี หาย ในขณะทดลองวิทยาศาสตร์

หลกั สตู รสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ ระดับประถมศกึ ษา

จติ วทิ ยำศำสตร์

คณุ ลกั ษณะดา้ นจติ พสิ ัย ลกั ษณะชีบ้ ่ง/พฤติกรรม
๒.๕ การมคี า่ นยิ มต่อความเสยี สละ
๒.๕.๑ ตระหนักถงึ การทางานใหส้ าเรจ็ ลลุ ว่ งตามเปา้ หมาย
โดยไม่คานึงถงึ ผลตอบแทน
๒.๕.๒ เต็มใจที่จะอุทิศตนเพื่อการสร้างผลงานทาง
วิทยาศาสตร์

๒.๖ การมคี ่านยิ มต่อความซ่ือสตั ย์ ๒.๖.๑ เหน็ คณุ คา่ ต่อการเสนอผลงานตามความเปน็ จริงที่
ทดลองได้
๒.๖.๒ ตาหนิบคุ คลทน่ี าผลงานผ้อู ่นื มาเสนอเป็นผลงาน
ของตนเอง

๒.๗ การมคี า่ นยิ มต่อการประหยดั ๒.๗.๑ ยินดที จี่ ะรกั ษาซ่อมแซมสิง่ ทีช่ ารดุ ให้ใช้การได้
๒.๗.๒ เหน็ คณุ คา่ ของการใชว้ ัสดอุ ุปกรณ์อยา่ งประหยดั
๒.๗.๓ เหน็ คุณค่าของวสั ดุที่เหลือใช้

หลกั สตู รสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ระดบั ประถมศกึ ษา

วิสัยทศั น์

หลักสูตรสถานศึกษา มุ่งพัฒนาผูเ้ รียนทุกคน ซงึ่ เปน็ กาลงั ของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลท้ังด้าน
ร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลเมืองโลก ยึดม่ันในการปกครองตาม
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมท้ังเจตคติที่จาเป็น
ต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพื้นฐานความ
เช่อื ว่า ทกุ คนสามารถเรียนร้แู ละพัฒนาตนเองไดเ้ ต็มตามศักยภาพ

หลกั กำร

หลกั สูตรสถานศกึ ษา มหี ลกั การที่สาคญั ดังนี้
1. เป็นหลกั สูตรการศึกษาเพ่อื ความเปน็ เอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐาน
การเรยี นรูเ้ ป็นเปา้ หมายสาหรับพัฒนาเดก็ และเยาวชนใหม้ ีความรู้ ทกั ษะ เจตคติ และคุณธรรม บนพืน้ ฐานของ
ความเปน็ ไทยควบคกู่ ับความเปน็ สากล
2. เปน็ หลกั สตู รการศึกษาเพือ่ ปวงชน ที่ทุกคนมีโอกาสไดร้ ับการศึกษาอย่างเสมอภาคและมีคุณภาพ
3. เป็นหลักสูตรการศึกษาท่ีสนองการกระจายอานาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาให้

สอดคล้องกับสภาพและความตอ้ งการของท้องถ่นิ
4. เปน็ หลักสตู รการศึกษาทมี่ โี ครงสรา้ งยดื หยนุ่ ทงั้ ด้านสาระการเรียนรู้ เวลา และการจัดการเรยี นรู้
5. เป็นหลักสตู รการศึกษาที่เน้นผเู้ รียนเป็นสาคัญ
6. เปน็ หลกั สตู รการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศัย
ครอบคลุมทุกกล่มุ เปา้ หมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์

จดุ หมำย

หลักสูตรสถานศึกษา มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพ ในการศึกษาต่อ
และประกอบอาชีพ จงึ กาหนดเป็นจุดหมายเพอื่ ให้เกดิ กับผู้เรียน เมอ่ื จบการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน ดงั นี้

1. มีคณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีพงึ ประสงค์ เหน็ คุณคา่ ของตนเอง มวี นิ ัยและ
ปฏบิ ตั ิตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาทีต่ นนบั ถือ ยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

2. มีความรู้ ความสามารถในการสือ่ สาร การคดิ การแก้ปญั หา การใช้เทคโนโลยี และ
มที กั ษะชวี ิต

3. มีสขุ ภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มสี ุขนิสยั และรักการออกกาลงั กาย
4. มคี วามรักชาติ มจี ิตสานึกในความเปน็ พลเมืองไทยและพลเมอื งโลก ยึดมั่นในวิถีชีวติ
และการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมุข
5. มจี ิตสานกึ ในการอนรุ ักษว์ ฒั นธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทย การอนรุ ักษ์และพัฒนา
ส่ิงแวดล้อม มีจิตสาธารณะมุ่งทาประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมี
ความสุข

สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานท่ี
กาหนด ซง่ึ จะชว่ ยให้ผูเ้ รียนเกดิ สมรรถนะสาคญั และคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ดงั น้ี

หลักสตู รสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ระดบั ประถมศึกษา

สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน

หลกั สตู รสถานศึกษา มงุ่ ให้ผเู้ รยี นเกิดสมรรถนะสาคญั 5 ประการ ดงั นี้
1. ควำมสำมำรถในกำรสื่อสำร เป็นความสามารถในการรบั และสง่ สาร มวี ฒั นธรรม
ในการใชภ้ าษาถ่ายทอดความคดิ ความร้คู วามเขา้ ใจ ความรสู้ กึ และทัศนะของตนเอง เพื่อแลกเปล่ียนข้อมูล
ข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพ่ื อ
ขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง
ตลอดจนการเลอื กใชว้ ิธีการสือ่ สารทมี่ ีประสิทธภิ าพ โดยคานึงถึงผลกระทบท่ีมตี ่อตนเองและสงั คม
2. ควำมสำมำรถในกำรคิด เป็นความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ การคดิ สงั เคราะห์
การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้
หรือสารสนเทศเพือ่ การตัดสินใจเกย่ี วกับตนเองและสังคมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
3. ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำ เปน็ ความสามารถในการแกป้ ัญหาและอปุ สรรคต่าง ๆ
ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ
ความสัมพันธ์และการเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ใน
การป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจท่ีมีประสิทธิภาพ โดยคานึงถึงผลกระทบท่ีเกิดขึ้นต่อตนเ อง
สงั คม และสิ่งแวดลอ้ ม
4. ควำมสำมำรถในกำรใชท้ กั ษะชวี ติ เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ
ไปใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การทางาน และการอยู่
ร่วมกันในสงั คมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ
อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเล่ียง
พฤตกิ รรมไม่พึงประสงคท์ ่ีส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อ่ืน
5. ควำมสำมำรถในกำรใชเ้ ทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลอื ก และใชเ้ ทคโนโลยี
ด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคมในด้าน การเรียนรู้
การส่อื สาร การทางาน การแกป้ ญั หาอย่างสรา้ งสรรค์ ถกู ตอ้ ง เหมาะสม และ มีคุณธรรม

คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

หลักสูตรสถานศึกษา มุ่งพัฒนาผู้เรียนใหม้ ีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถ อยู่ร่วมกับ
ผ้อู ่นื ในสงั คมอย่างมคี วามสุข ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลเมอื งโลก ดงั นี้

1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
2. ซือ่ สตั ยส์ ุจริต
3. มีวนิ ัย
4. ใฝเ่ รยี นรู้
5. อย่อู ยา่ งพอเพยี ง
6. มุ่งม่นั ในการทางาน
7. รกั ความเป็นไทย
8. มีจติ สาธารณะ

หลักสตู รสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ระดบั ประถมศกึ ษา

โครงสร้ำงเวลำเรยี น

โครงสร้ำงหลักสตู รเวลำเรยี นโรงเรียนบำ้ นเมืองแก พทุ ธศกั รำช 2561
ตำมหลักสตู รแกนกลำงกำรศึกษำขัน้ พ้ืนฐำน พุทธศกั รำช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560)

กลุม่ สำระกำรเรยี นรู้/ กจิ กรรม เวลำเรยี น(ช่ัวโมง/ปี)
ระดับประถมศึกษำ
 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖
ภาษาไทย
คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐
วทิ ยาศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐
สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
ประวัติศาสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
ศิลปะ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
ภาษาตา่ งประเทศ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
รวมเวลำเรยี น (พน้ื ฐำน) ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐
 รำยวิชำเพิม่ เตมิ
------
หนา้ ท่ีพลเมอื ง ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
เกษตรอินทรยี ์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
รวมเวลำเรียน (เพ่ิมเติม)
 กจิ กรรมพัฒนำผูเ้ รยี น ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
กิจกรรมแนะแนว
กิจกรรมนักเรียน ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐
- กิจกรรมลกู เสือ/เนตรนารี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
- ชุมนมุ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐
กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
รวมเวลำกจิ กรรมพฒั นำผ้เู รยี น ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐
รวมเวลำเรยี นทั้งหมด

ทำไมตอ้ งเรียนวิทยำศำสตร์

หลักสตู รสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ระดบั ประถมศึกษา

วิทยาศาสตร์มีบทบาทสาคัญยิ่งในสังคมโลกปัจจุบันและอนาคต เพราะวิทยาศาสตร์เกี่ยวข้องกับทุก
คนท้ังในชวี ิตประจาวันและการงานอาชีพต่าง ๆ ตลอดจนเทคโนโลยี เคร่ืองมือเครื่องใช้และผลผลิตต่าง ๆ ที่
มนุษย์ได้ใช้เพ่ืออานวยความสะดวกในชีวิตและการทางาน เหล่านี้ล้วนเป็นผลของความรู้วิทยาศาสตร์
ผสมผสานกับความคิดสร้างสรรค์และศาสตร์อื่น ๆ วิทยาศาสตร์ช่วยให้มนุษย์ได้พัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเป็น
เหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะสาคัญในการค้นคว้าหาความรู้ มีความสามารถใน
การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลท่ีหลากหลายและมีประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้
วิทยาศาสตร์เปน็ วฒั นธรรมของโลกสมยั ใหมซ่ ่ึงเป็นสงั คมแห่งการเรยี นรู้ (K knowledge-based society) ดงั น้ันทุก
คนจึงจาเป็นต้องได้รับการพัฒนาให้รู้วิทยาศาสตร์ เพื่อท่ีจะมีความรู้ความเข้าใจในธรรมชาติและเทคโนโลยีท่ี
มนษุ ยส์ รา้ งสรรค์ขึ้น สามารถนาความรไู้ ปใช้อยา่ งมีเหตุผล สร้างสรรค์ และมีคณุ ธรรม

เรยี นรอู้ ะไรในวทิ ยำศำสตร์

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมุ่งหวังให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่เน้นการ
เชื่อมโยงความรู้กับกระบวนการ มีทักษะสาคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการในการ
สืบเสาะหาความรู้ และแก้ปัญหาท่ีหลากหลาย ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกข้ันตอน มีการทากิจกรรม
ดว้ ยการลงมือปฏิบัตจิ รงิ อย่างหลากหลาย เหมาะสมกบั ระดับชนั้ โดยกาหนดสาระสาคัญไว้ 8 สาระ ดงั น้ี

วิทยาศาสตร์ชีวภาพ เรียนรู้เกี่ยวกับชีวิตในสิ่งแวดล้อม องค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต การดารงชีวิต
ของมนุษย์และสัตว์ การดารงชีวิตของพืช พันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการของ
สงิ่ มชี ีวิต

วิทยาศาสตร์กายภาพ เรียนรู้เก่ียวกับธรรมชาติของสาร การเปล่ียนแปลงของสาร การเคล่ือนท่ี
พลงั งาน และคล่ืน

วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ เรียนรู้เกี่ยวกับโลกในเอกภพ ระบบโลก และมนุษย์กับการ
เปลี่ยนแปลงของโลก

เทคโนโลยี
- การออกแบบและเทคโนโลยี เรียนรู้เกี่ยวกับการพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความเข้าใจ
เก่ียวกบั เทคโนโลยเี พ่อื ดารงชวี ติ ในสังคมทมี่ ีการเปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเรว็ ใชค้ วามรู้และ
ทกั ษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตรอ์ น่ื ๆ เพอื่ แก้ปญั หาหรือพฒั นางาน
อย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยี
อยา่ งเหมาะสมโดยคานงึ ถงึ ผลกระทบตอ่ ชีวิต สังคม และสง่ิ แวดล้อม
- วิทยาการคานวณ เรียนรู้เก่ียวกับการพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะการ
คิด เชงิ คานวณ การคิดวเิ คราะห์ แก้ปัญหาเปน็ ข้ันตอนและเป็นระบบ ประยกุ ต์ใชค้ วามรู้
ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการแก้ปัญหาท่ี
พบในชีวติ จริงไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

คณุ ภำพผู้เรยี น

จบชั้นประถมศกึ ษำปีท่ี 3

หลักสตู รสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ระดับประถมศกึ ษา

เข้าใจลักษณะท่ัวไปของสิ่งมีชีวิต การดารงชีวิตของส่ิงมีชีวิต และทรัพยากรธรรมชาติที่
หลากหลายในสิง่ แวดล้อมของทอ้ งถ่นิ

เข้าใจลกั ษณะทปี่ รากฏ สมบตั ิบางประการของวสั ดุ และการเปลยี่ นแปลงของวัสดุรอบตวั
เข้าใจการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุ และแรงท่ีกระทาต่อวัตถุทาให้วัตถุเปล่ียนแปลงการ
เคลื่อนที่ ความสาคัญของพลังงานไฟฟ้าและแหล่งผลติ พลงั งานไฟฟา้
เข้าใจลักษณะที่ปรากฏของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดวงดาว องค์ประกอบ และสมบัติทาง
กายภาพของดนิ หนิ นา้ อากาศ ลักษณะภูมิประเทศแบบต่าง ๆ ในทอ้ งถิ่น และการเกิดลม
ต้ังคาถามเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต วัสดุและส่ิงของ การเคล่ือนที่ของวัตถุ และปรากฏการณ์ต่าง ๆ
รอบตัว สงั เกต สารวจตรวจสอบโดยใช้เครื่องมืออย่างง่าย รวบรวมข้อมลู บันทกึ และอธิบายผลการสารวจ
ตรวจสอบด้วยการเขียนหรือวาดภาพ และส่ือสารส่ิงท่ีเรียนรู้ด้วยการเล่าเร่ือง หรือด้วยการแสดงท่าทาง
เพ่ือใหผ้ อู้ น่ื เข้าใจ
แก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ขั้นตอนการแก้ปัญหา มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
ส่ือสารเบือ้ งต้น รกั ษาขอ้ มลู สว่ นตวั
แสดงความกระตือรือร้น สนใจที่จะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์เก่ียวกับเร่ืองที่จะศึกษาตามท่ี
กาหนดให้หรือตามความสนใจ มสี ่วนรว่ มในการแสดงความคิดเหน็ และยอมรบั ฟงั ความคดิ เห็นผอู้ นื่
แสดงความรับผิดชอบด้วยการทางานท่ีได้รับมอบหมายอย่างมุ่งมั่น รอบคอบ ประหยัด ซ่ือสัตย์
จนงานลลุ ่วงเป็นผลสาเร็จ และทางานรว่ มกบั ผอู้ น่ื อยา่ งมีความสขุ
ตระหนักถึงประโยชน์ของการใชค้ วามรู้และกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ในการดารงชีวิต ศึกษา
หาความรู้เพม่ิ เติม ทาโครงงานหรือช้นิ งานตามท่ีกาหนดให้หรอื ตามความสนใจ

จบชน้ั ประถมศึกษำปีท่ี 6
เข้าใจโครงสร้างและการทางานของระบบต่าง ๆ ของสิง่ มีชวี ิต ความสัมพนั ธ์ของส่งิ มชี วี ิตในระบบ

นเิ วศ และความหลากหลายของทรพั ยากรธรรมชาติทพ่ี บในระดับประเทศ
เข้าใจสมบัติและการจาแนกกลุ่มของวัสดุ สถานะของสาร สมบัติของสารและการทาให้สารเกิด

การเปลย่ี นแปลง การเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมีของสาร การแยกสารอย่างง่าย และสารในชีวติ ประจาวัน
เข้าใจลักษณะของแรงประเภทต่าง ๆ ผลที่เกิดจากแรงกระทาต่อวัตถุ ความดัน หลักการเบ้ืองต้น

ของแรงพยุง ส่วนประกอบและหน้าท่ีของส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า การถ่ายโอนพลังงานกลที่ เกิดจาก
แรงเสยี ดทานไปเป็นพลงั งานอื่น สมบัตแิ ละปรากฏการณเ์ บอ้ื งต้นของเสียง และแสง

เข้าใจลักษณะของดาวในเอกภพ และจาแนกประเภทของกลุ่มดาว ความสัมพันธ์ของดวงอาทิตย์
โลก และดวงจนั ทร์ท่มี ผี ลต่อการเกิดปรากฏการณ์ธรรมชาติ ความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยีอวกาศ

เข้าใจองค์ประกอบและสมบัติของดิน น้า และบรรยากาศ และปัจจัยท่ีมีผลต่อการเปลี่ยนแปลง
ของผิวโลก การเกดิ ลมบก ลมทะเล ผลกระทบท่เี กิดจากธรณีพบิ ัตภิ ยั และปรากกฎการณเ์ รือนกระจก

ค้นหาข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพและประเมินความน่าเชื่อถือ ตัดสินใจเลือกข้อมูล ใช้เหตุผลเชิง
ตรรกะในการแกป้ ัญหา ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการทางานรว่ มกัน เข้าใจสิทธิและหน้าที่
ของตน เคารพสิทธขิ องผ้อู ่ืน

หลักสตู รสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ระดับประถมศึกษา

ต้งั คาถามหรือกาหนดปญั หาเก่ยี วกบั สิง่ ที่จะเรียนรู้ตามที่กาหนดให้หรือตามความสนใจ คาดคะเน
คาตอบหลายแนวทาง สรา้ งสมมตฐิ านท่สี อดคล้องกบั คาถามหรือปัญหาท่ีจะสารวจตรวจสอบ วางแผนและ
สารวจตรวจสอบโดยใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ทัง้ เชิงปรมิ าณและคณุ ภาพ

วิเคราะห์ข้อมูล ลงความเห็น และสรุปความสัมพันธ์ของข้อมูลท่ีมาจากการสารวจตรวจสอบใน
รูปแบบทเ่ี หมาะสม เพ่อื ส่ือสารความร้จู ากผลการสารวจตรวจสอบไดอ้ ย่างมเี หตผุ ลและหลกั ฐานอ้างอิง

แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น ในส่ิงท่ีจะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับเร่ืองท่ีจะศึกษาตาม
ความสนใจของตนเอง แสดงความคิดเห็นของตนเอง ยอมรับในข้อมูลท่ีมีหลักฐานอ้างอิง และรับฟัง ความ
คิดเหน็ ผอู้ น่ื

แสดงความรับผิดชอบด้วยการทางานที่ได้รับมอบหมายอย่างมุ่งม่ัน รอบคอบ ประหยัด ซื่อสัตย์
จนงานลลุ ว่ งเปน็ ผลสาเร็จ และทางานร่วมกบั ผอู้ ื่นอย่างอย่างสรา้ งสรรค์

ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใช้ในความรู้และกระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตร์ในการดารงชวี ิต แสดงความชน่ื ชม ยกย่องและเคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้น และศกึ ษาหา
ความรูเ้ พมิ่ เตมิ ทาโครงงานหรอื ชน้ิ งานตามทีก่ าหนดใหห้ รอื ตามความสนใจ

แสดงถึงความซาบซ้ึง ห่วงใย แสดงพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้ การดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดลอ้ มอย่างรคู้ ุณค่า

โครงสรำ้ งหลกั สตู รสถำนศึกษำ

ระดบั ประถมศกึ ษำ

หลกั สตู รสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ระดับประถมศึกษา

กลมุ่ สำระกำรเรียนรูว้ ทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี

ชั้นประถมศึกษำปีที่ 1 40 ช่ัวโมง/ปี
วชิ าวทิ ยาศาสตร์ 1 รหัสวชิ า ว11101 2 ชวั่ โมง/สัปดาห์

ชั้นประถมศึกษำปที ่ี 2 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ 40 ชว่ั โมง/ปี
วิชาวิทยาศาสตร์ 2 รหัสวิชา ว12101 2 ชัว่ โมง/สปั ดาห์ 40 ชวั่ โมง/ปี
2 ชั่วโมง/สปั ดาห์ 120 ชว่ั โมง/ปี
ชั้นประถมศึกษำปีที่ 3
วิชาวทิ ยาศาสตร์ 3 รหสั วิชา ว13101

ชั้นประถมศกึ ษำปีท่ี 4
วชิ าวิทยาศาสตร์ 4 รหัสวิชา ว14101

ชั้นประถมศกึ ษำปที ี่ 5 2 ชัว่ โมง/สัปดาห์ 120 ชวั่ โมง/ปี
วิชาวทิ ยาศาสตร์ 5 รหสั วิชา ว15101 2 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ 120 ชวั่ โมง/ปี

ช้นั ประถมศึกษำปีท่ี 6
วชิ าวิทยาศาสตร์ 6 รหสั วิชา ว16101

มำตรฐำนกำรเรียนรู้

กลมุ่ สำระกำรเรียนร้วู ทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี

สำระท่ี 1 วิทยำศำสตรช์ ีวภำพ

หลักสตู รสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ระดบั ประถมศกึ ษา

มาตรฐาน ว 1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสัมพนั ธ์ระหว่างสงิ่ ไมม่ ีชวี ิตกับสงิ่ มชี ีวติ และ
ความสัมพันธ์ระหว่างสง่ิ มชี ีวติ กบั ส่งิ มชี วี ติ ตา่ ง ๆ ในระบบนเิ วศ การถ่ายทอดพลงั งานการเปลี่ยนแปลงแทนที่
ในระบบนเิ วศ ความหมายของประชากร ปญั หาและผลกระทบทม่ี ตี ่อทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม
แนวทางในการอนรุ กั ษธ์ รรมชาตแิ ละการแก้ไขปญั หาสง่ิ แวดล้อมทง้ั นาความรู้ไปใช้ประโยชน์

มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบตั ิของสง่ิ มีชวี ิต หนว่ ยพน้ื ฐานของสง่ิ มีชวี ิต การลาเลยี งสารเข้าและ
ออกจากเซลล์ความสัมพนั ธข์ องโครงสรา้ ง และหน้าทีข่ องระบบต่าง ๆ ของสตั วแ์ ละมนุษยท์ ่ที างานสัมพนั ธก์ นั
ความสมั พนั ธข์ องโครงสร้าง และหนา้ ทขี่ องอวัยวะต่าง ๆ ของพชื ที่ทางานสมั พันธ์กนั รวมทั้งนาความรูไ้ ปใช้
ประโยชน์
มาตรฐาน ว 1.3 เขา้ ใจกระบวนการและความสาคัญของการถา่ ยทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพนั ธกุ รรม
การเปลี่ยนแปลงทางพนั ธุกรรมทมี่ ีผลตอ่ สิ่งมชี วี ิต ความหลากหลายทางชวี ภาพและวิวัฒนาการของสิ่งมชี ีวติ
รวมท้ังนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
หมายเหตุ: มาตรฐาน ว 1.1 – ว .3 สาหรับผเู้ รียนในระดับชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 ถงึ ระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปี
ท่ี 6
สำระท่ี 2 วิทยำศำสตรก์ ำยภำพ
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัตขิ องสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพนั ธร์ ะหว่างสมบัตขิ องสสารกบั
โครงสรา้ งและแรงยึดเหน่ียวระหวา่ งอนุภาค หลกั และธรรมชาตขิ องการเปลย่ี นแปลงสถานะของสสาร การเกิด
สารละลาย และการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี
มาตรฐาน ว 2.2 เขา้ ใจธรรมชาติของแรงในชวี ติ ประจาวนั ผลของแรงทก่ี ระทาต่อวัตถุ ลักษณะการเคล่อื นท่ี
แบบต่าง ๆ ของวัตถุ รวมท้งั นาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลงั งาน การเปล่ยี นแปลงและการถา่ ยโอนพลงั งาน ปฏิสมั พันธ์
ระหวา่ งสสารและพลังงาน พลงั งานในชีวิตประจาวนั ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกบั เสยี ง แสง
และคลนื่ แม่เหล็กไฟฟ้า รวมท้ังนาความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์
หมายเหต:ุ มาตรฐาน ว 2.1 – ว 2.3 สาหรับผเู้ รยี นในระดับชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับชนั้ ประถมศึกษา
ปีที่ 6

สำระท่ี 3 วิทยำศำสตร์โลกและอวกำศ
มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองคป์ ระกอบ ลักษณะ กระบวนการเกดิ และววิ ัฒนาการของเอกภพ
กาแลก็ ซี ดาวฤกษ์และระบบสุริยะ รวมท้งั ปฏิสมั พันธภ์ ายในระบบสรุ ยิ ะท่สี ง่ ผลต่อส่งิ มชี ีวิตและการประยุกต์ใช้
เทคโนโลยอี วกาศ
มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองคป์ ระกอบและความสัมพนั ธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลย่ี นแปลงภายในโลก
และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภยั กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก รวมทงั้ ผลต่อส่งิ มชี ีวิต
และส่ิงแวดลอ้ ม
หมายเหตุ: มาตรฐาน ว 3.1 – ว 3.2 สาหรับผเู้ รยี นในระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1 ถึงระดบั ชั้นประถมศึกษา
ปที ี่ 6
สำระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจแนวคดิ หลกั ของเทคโนโลยีเพื่อการดารงชีวติ ในสังคมท่ีมกี ารเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเรว็
ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตรอ์ ่นื ๆ เพื่อแกป้ ญั หา หรือ พฒั นางานอย่าง

หลกั สตู รสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ระดับประถมศึกษา

มคี วามคิดสรา้ งสรรค์ดว้ ยกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม เลือกใช้เทคโนโลยอี ย่างเหมาะสมโดยคานึงถึง
ผลกระทบต่อชีวติ สงั คม และส่งิ แวดลอ้ ม
มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใช้แนวคดิ เชงิ คานวณในการแก้ปัญหาทพ่ี บในชวี ติ จรงิ อยา่ งเป็นขน้ั ตอนและเปน็
ระบบใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารในการเรียนรู้ การทางาน และการแก้ปญั หาได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ ร้เู ทา่ ทนั และมีจริยธรรม

สำระที่ 1 วิทยำศำสตรช์ วี ภำพ ตวั ช้วี ัดชน้ั ปี

หลักสตู รสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ ระดบั ประถมศกึ ษา

มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่าง
ส่ิงไม่มีชีวิตกับส่ิงมีชีวิต และ ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การ
ถ่ายทอดพลังงาน การ เปล่ียนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและ
ผลกระทบที่มีต่อ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
และการแก้ไข ปัญหาสง่ิ แวดล้อมรวมท้ังนาความรู้ไปใช้ประโยชน์

ป. 1 ตัวชีว้ ัดชั้นปี ป. 3
ป. 2 -
1. ระบชุ ือ่ พชื และสัตว์ท่อี าศัย
อยบู่ ริเวณตา่ ง ๆ จากข้อมลู ท่ี
รวบรวมได้
2. บอกสภาพแวดลอ้ ม ที่
เหมาะสมกบั การดารงชวี ติ ของ
สตั วใ์ นบรเิ วณท่อี าศยั อยู่

ป. 4 ป. 5 ป. 6

1. บรรยายโครงสรา้ ง และ
ลกั ษณะของส่งิ มีชีวติ ทเ่ี หมาะสม
กบั การดารงชีวิตซึ่ง เป็นผลมา
จากการปรบั ตวั ของส่ิงมชี ีวติ ใน
แตล่ ะแหล่งท่ีอยู่
2. อธบิ าย ความสมั พนั ธ์
ระหว่างสิ่งมชี วี ิตกับสง่ิ มีชีวิต
และ ความสัมพนั ธ์ ระหว่าง
ส่ิงมีชีวิตกบั สิ่งไม่มชี วี ติ เพ่อื
ประโยชนต์ ่อการดารงชวี ติ
3. เขียนโซ่อาหารและระบุ
บทบาทหน้าที่ของสิง่ มีชวี ิตทเ่ี ปน็
ผู้ผลิตและผู้บรโิ ภคในโซ่อาหาร
4. ตระหนกั ในคุณคา่ ของ
สง่ิ แวดล้อมทมี่ ี ต่อการดารงชีวติ
ของสงิ่ มชี ีวติ โดยมีสว่ นร่วมใน
การดูแลรักษาสง่ิ แวดล้อม

สำระที่ 1 วิทยำศำสตรช์ ีวภำพ

มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของส่ิงมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของส่ิงมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและออก
จากเซลล์ ความสัมพันธ์ของ โครงสร้าง และหน้าท่ีของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ท่ีทางานสัมพันธ์กัน

หลกั สตู รสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ระดบั ประถมศึกษา

ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าท่ีของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชท่ีทางานสัมพันธ์กัน รวมท้ังนาความรู้ไปใช้
ประโยชน์

ตวั ชวี้ ัดช้ันปี

ป. 1 ป. 2 ป. 3

1. ระบชุ ื่อ บรรยาย ลักษณะ 1. ระบวุ ่าพชื ต้องการแสงและ 1. บรรยายสงิ่ ที่ จาเป็นต่อการ

และบอก หน้าทข่ี องสว่ นต่าง ๆ น้าเพ่อื การเจรญิ เตบิ โต โดยใช้ ดารงชวี ิตและการเจริญเติบโตของ

ของร่างกายมนุษย์ สตั ว์ และพชื ข้อมูลจาก หลกั ฐานเชิง มนุษย์และสตั ว์ โดยใชข้ ้อมูลท่ี

รวมทง้ั บรรยายการทาหน้าท่ี ประจักษ์ รวบรวมได้

ร่วมกันของ สว่ นต่าง ๆ ของ 2. ตระหนักถงึ ความจาเป็นที่ 2. ตระหนกั ถึง ประโยชนข์ อง

ร่างกายมนุษยใ์ น การทา พืชตอ้ งได้รับน้าและแสงเพอ่ื การ อาหาร นา้ และ อากาศ โดยการ

กจิ กรรม ตา่ ง ๆ จากข้อมลู ท่ี เจรญิ เติบโต โดยดแู ลพชื ให้ได้รับ ดูแลตนเองและ สตั วใ์ หไ้ ดร้ บั สง่ิ

รวบรวมได้ ส่ิงดังกลา่ วอย่างเหมาะสม เหล่านอี้ ย่าง เหมาะสม

3. ตระหนกั ถงึ ความสาคัญของ 3. สร้างแบบจาลองทบ่ี รรยาย 3. สรา้ งแบบจาลองทบี่ รรยายวัฏ

สว่ นตา่ ง ๆ ของร่างกายตนเอง วัฎจกั รชวี ติ ของพชื ดอก จกั ร ชวี ิตของสตั ว์และ เปรยี บเทียบ

โดยการดูแล ส่วนตา่ ง ๆ อยา่ ง วัฏจักรชีวิตของ สัตวบ์ างชนดิ

ถูกต้อง ให้ปลอดภยั และรักษา 4. ตระหนกั ถงึ คุณคา่ ของชวี ิตสตั ว์

ความ สะอาดอยเู่ สมอ โดยไม่ทาให้วฏั จกั รชีวิตของสตั ว์

เปลย่ี นแปลง

ป. 4 ป. 5 ป. 6

1. บรรยายหน้าที่ ของราก ลา 1. ระบสุ ารอาหารและบอก
ตน้ ใบและดอกของพืชดอกโดย ประโยชนข์ อง สารอาหารแต่ละ
ใช้ขอ้ มูลท่ีรวบรวมได้ ประเภทจากอาหารที่ตนเอง
รับประทาน
2. บอกแนวทางในการเลอื ก
รับประทาน อาหารใหไ้ ดส้ ารอาหาร
ครบถว้ นในสดั สว่ นท่ี เหมาะสมกับ
เพศและวยั รวมท้งั ความปลอดภยั
ตอ่ สขุ ภาพ
3. ตระหนกั ถงึ ความสาคัญของ
สารอาหาร โดยการเลือก
รับประทาน อาหารทม่ี ีสารอาหาร
ครบถว้ นในสัดส่วนท่ีเหมาะสมกบั
เพศ และวยั รวมทง้ั ปลอดภัยตอ่
สุขภาพ
4. สรา้ งแบบจาลอง ระบบย่อย
อาหาร และบรรยายหน้าทขี่ อง

หลักสตู รสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ระดับประถมศึกษา

ตัวชี้วดั ชนั้ ปี

อวยั วะในระบบย่อยอาหาร รวมทงั้
อธบิ ายการย่อย อาหารและการ ดูด
ซึมสารอาหาร
5. ตระหนกั ถึงความสาคญั ของ
ระบบยอ่ ยอาหาร โดยการบอก
แนวทางในการดแู ลรักษาอวัยวะใน
ระบบย่อยอาหารให้ทางานเป็นปกติ

สำระที่ 1 วทิ ยำศำสตรช์ ีวภำพ

มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สาร
พันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมท่ีมีผลต่อส่ิงมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการ
ของสง่ิ มีชวี ติ รวมทงั้ นาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

ตัวชี้วดั ชั้นปี

ป. 1 ป. 2 ป. 3

- 1. เปรียบเทยี บ ลกั ษณะของสง่ิ มชี ีวิต ป. 6
-
และสง่ิ ไม่มชี ีวติ จากข้อมลู ทร่ี วบรวมได้

ป. 4 ป. 5

1. จาแนกสิ่งมชี วี ติ โดยใชค้ วามเหมอื น 1. อธิบายลกั ษณะทางพันธุกรรมทมี่ กี าร

และความแตกต่างของลกั ษณะของ ถ่ายทอดจากพ่อแม่ส่ลู ูกของพืช สตั ว์

สิง่ มชี วี ติ ออกเป็น กลุ่มพชื กลุ่มสัตว์ และ และมนษุ ย์

กลุ่มท่ไี ม่ใชพ่ ืชและสัตว์ 2. แสดงความอยากรู้อยากเห็นโดยการ

2. จาแนกพชื ออกเปน็ พืชดอกและพชื ไม่มี ถามคาถามเกี่ยวกบั ลักษณะที่คลา้ ยคลงึ

ดอก โดยใช้การมีดอกเปน็ เกณฑ์ โดยใช้ กันของตนเองกบั พอ่ แม่

ขอ้ มูลทีร่ วบรวมได้
3. จาแนกสัตวอ์ อกเปน็ สตั ว์มกี ระดูกสัน
หลงั และสัตวไ์ ม่มีกระดกู สันหลงั โดยใช้

การมีกระดกู สนั หลงั เป็นเกณฑ์ โดยใช้
ข้อมูลท่รี วบรวมได้
4. บรรยายลักษณะ เฉพาะท่ีสงั เกตได้

ของสัตวม์ ีกระดูกสันหลังในกลุม่ ปลา กลุ่ม
สตั ว์สะเทนิ น้าสะเทินบก กลมุ่
สัตว์เลอ้ื ยคลาน กลมุ่ นก และกลุ่มสัตว์

เลีย้ งลูกด้วยน้านม และยกตัวอยา่ ง
ส่ิงมชี วี ติ ในแตล่ ะกลุ่ม

สำระที่ 2 วิทยำศำสตรก์ ำยภำพ

หลกั สตู รสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ระดบั ประถมศึกษา

มาตรฐาน ว 2.1 เขา้ ใจสมบัติของสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสัมพันธร์ ะหว่างสมบตั ิของสสาร
กับโครงสรา้ งและแรงยดึ เหนี่ยวระหว่างอนภุ าค หลักและธรรมชาติของการเปล่ียนแปลงสถานะของสสาร การ
เกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี

ตัวช้วี ดั ชัน้ ปี

ป. 1 ป. 2 ป. 3
1. อธิบายวา่ วัตถุประกอบข้ึนจาก
1. อธบิ ายสมบัติท่ีสงั เกตไดข้ อง 1. เปรียบเทยี บสมบัตกิ ารดดู ซับนา้ ช้ินสว่ น ยอ่ ย ๆ ซงึ่ สามารถแยก
ออกจากกันได้และประกอบกัน
วัสดทุ ่ใี ชท้ าวัตถุซ่ึงทาจากวัสดุ ของวัสดโุ ดยใชห้ ลักฐานเชิงประจักษ์ เปน็ วัตถชุ ้ินใหม่ได้ โดยใช้หลักฐาน
เชิงประจกั ษ์
ชนิดเดียวหรือหลายชนิด และระบุการนาสมบตั ิการดูดซับนา้ 2. อธบิ ายการเปลยี่ นแปลงของ
วัสดเุ ม่ือทาให้ร้อนข้ึนหรือทาให้
ประกอบกนั โดยใชห้ ลกั ฐานเชิง ของวสั ดุไปประยุกตใ์ ชใ้ นการทาวัตถุ เยน็ ลง โดยใช้หลกั ฐานเชงิ
ประจักษ์
ประจกั ษ์ ในชวี ติ ประจาวัน
ป. 6
2. ระบชุ นดิ ของวัสดแุ ละจดั กลมุ่ 2. อธิบายสมบัตทิ สี่ ังเกตได้ของวัสดุ 1. อธิบายและเปรยี บเทียบการ
แยกสารผสมโดยการหยิบออก
วสั ดุตามสมบัตทิ ี่สงั เกตได้ ทเี่ กดิ จากการนาวัสดุมาผสมกัน โดย การร่อน การใชแ้ ม่เหลก็ ดึงดูด
การรินออก การกรอง และการ
ใช้หลักฐานเชิงประจกั ษ์ ตกตะกอน โดยใชห้ ลกั ฐานเชิง
ประจกั ษ์ รวมทั้งระบุวธิ แี ก้ปัญหา
3. เปรียบเทยี บสมบตั ิที่สังเกตได้ ในชีวติ ประจาวนั เกยี่ วกับการแยก
สาร
ของวัสดเุ พ่ือนามาทาเป็นวัตถุในการ

ใชง้ านตามวตั ถปุ ระสงค์ และอธบิ าย

การนาวสั ดุที่ใชแ้ ลว้ กลบั มาใช้ใหม่

โดยใช้หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์

4. ตระหนักถึงประโยชน์ของการนา

วัสดทุ ี่ใช้แล้วกลบั มาใชใ้ หม่ โดยการ

นาวสั ดุที่ใช้แลว้ กลบั มาใช้ใหม่

ป. 4 ป. 5

1. เปรียบเทียบสมบัติทาง 1. อธิบายการเปลีย่ นสถานะ ของ

กายภาพ ดา้ นความแข็ง สภาพ สสารเมอื่ ทาใหส้ สารร้อนขน้ึ หรอื เย็น

ยดื หยุ่น การนาความร้อน และ ลง โดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจักษ์

การนาไฟฟ้าของวสั ดโุ ดยใช้ 2. อธบิ ายการละลายของสารในนา้

หลกั ฐานเชิงประจักษจ์ ากการ โดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจักษ์

ทดลองและระบุการนาสมบัติ 3. วเิ คราะหก์ ารเปลย่ี นแปลงของ

เร่ืองความแขง็ สภาพยดื หยนุ่ สารเมื่อเกิดการเปลีย่ นแปลงทางเคมี

การนาความร้อน และการนา โดยใชห้ ลักฐานเชิงประจกั ษ์

ไฟฟา้ ของวัสดุไปใชใ้ น 4. วิเคราะห์และระบุการ

ชีวติ ประจาวนั ผ่านกระบวนการ เปล่ียนแปลงที่ผนั กลับได้และการ

ออกแบบช้นิ งาน 2. แลกเปลี่ยน เปล่ยี นแปลงที่ผันกลบั ไม่ได้

ความคดิ กบั ผอู้ ื่นโดยการอภิปราย

เกีย่ วกบั สมบตั ิทางกายภาพของ

วัสดอุ ย่างมีเหตผุ ลจากการ

ทดลอง

หลกั สตู รสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ระดับประถมศึกษา

ตัวช้ีวดั ชน้ั ปี

3. เปรียบเทยี บสมบัติของสสาร
ทั้ง 3 สถานะ จากขอ้ มูลที่ได้จาก
การสงั เกตมวล การต้องการท่ีอยู่
รปู รา่ งและปรมิ าตรของสสาร
4. ใชเ้ คร่ืองมอื เพื่อวัดมวล และ
ปรมิ าตรของสสารท้งั 3 สถานะ

สำระที่ 2 วิทยำศำสตร์กำยภำพ
มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจาวัน ผลของแรงท่ีกระทาต่อวัตถุ

ลกั ษณะการเคลอื่ นทีแ่ บบ ตา่ ง ๆ ของวัตถุ รวมทัง้ นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ตัวชวี้ ดั ช้ันปี

ป. 1 ป. 2 ป. 3

- - 1. ระบผุ ลของแรงที่มตี ่อการเปล่ียนแปลง

การเคลอ่ื นท่ีของวตั ถจุ ากหลักฐานเชงิ

ประจักษ์

2. เปรยี บเทียบและยกตัวอย่างแรงสัมผสั

และแรงไม่สมั ผัสท่ีมผี ลต่อการเคลอ่ื นที่

ของวตั ถโุ ดยใชห้ ลักฐานเชงิ ประจกั ษ์

3. จาแนกวัตถโุ ดยใช้การดงึ ดูดกับ

แมเ่ หลก็ เปน็ เกณฑ์จากหลกั ฐานเชิง

ประจกั ษ์

4. ระบุขว้ั แมเ่ หลก็ และพยากรณ์ผลท่ี

เกิดข้นึ ระหว่างข้วั แม่เหล็กเมื่อนามาเข้า

ใกลก้ นั จากหลักฐานเชงิ ประจักษ์

ป. 4 ป. 5 ป. 6

1. ระบุผลของแรงโน้มถว่ งที่มีตอ่ 1. อธิบายวธิ กี ารหาแรงลพั ธ์ 1. อธิบายการเกิดและผลของแรงไฟฟ้า
วัตถจุ ากหลักฐานเชิงประจักษ์ ของแรงหลายแรงในแนว ซง่ึ เกิดจากวตั ถทุ ผ่ี า่ นการ ขดั ถโู ดยใช้
2. ใชเ้ คร่ืองชั่งสปริงในการวดั เดยี วกนั ท่กี ระทาต่อวตั ถุใน หลักฐานเชงิ ประจักษ์
น้าหนกั ของวัตถุ กรณที ี่วัตถุอยนู่ งิ่ จากหลักฐาน
3. บรรยายมวลของวัตถทุ ่มี ีผล เชิงประจักษ์
ต่อการเปลี่ยนแปลงการเคล่ือนที่ 2. เขียนแผนภาพแสดงแรงที่
ของวัตถุจากหลกั ฐานเชิง กระทาต่อวตั ถุทอ่ี ยู่ในแนว
ประจกั ษ์ เดียวกันและแรงลัพธท์ ี่กระทา
ต่อวัตถุ

หลักสตู รสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ระดับประถมศกึ ษา

ตัวชีว้ ดั ชั้นปี

3. ใชเ้ ครอ่ื งช่งั สปริงในการวดั
แรงทีก่ ระทาต่อวัตถุ
4. ระบุผลของแรงเสียดทานท่ี
มตี ่อการเปลี่ยนแปลงการ
เคลื่อนที่ของวัตถจุ ากหลักฐาน
เชงิ ประจักษ์
5. เขยี นแผนภาพแสดงแรง
เสียดทานและแรงท่ีอยู่ในแนว
เดียวกันทก่ี ระทาต่อวตั ถุ

สำระที่ 2 วทิ ยำศำสตรก์ ำยภำพ
มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปล่ียนแปลงและการถ่ายโอน

พลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสาร และพลังงาน พลังงานในชีวิตประจาวัน ธรรมชาติของคลื่น
ปรากฏการณ์ที่เกีย่ วข้องกับเสยี ง แสง และคล่นื แม่เหล็กไฟฟ้า รวมทง้ั นาความรไู้ ปใช้ประโยชน์

ตวั ชี้วดั ชน้ั ปี

ป. 1 ป. 2 ป. 3
1. ยกตัวอย่างการเปลีย่ นพลังงานหน่งึ ไป
1. บรรยายการเกดิ เสยี งและทิศ 1. บรรยายแนวการเคลือ่ นที่ เปน็ อกี พลงั งานหนงึ่ จากหลักฐานเชงิ
ประจักษ์
ทางการเคลอ่ื นที่ของเสยี งจาก ของแสงจากแหล่งกาเนดิ แสง 2. บรรยายการทางานของเครอ่ื งกาเนิด
ไฟฟา้ และระบแุ หล่งพลังงานในการผลิต
หลกั ฐานเชิงประจักษ์ และอธิบายการมองเหน็ วตั ถุ ไฟฟ้าจากขอ้ มูลท่รี วบรวมได้ ๓. ตระหนกั
ในประโยชน์และโทษของไฟฟ้าโดย
จากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ นาเสนอวธิ ีการใชไ้ ฟฟ้าอย่างประหยดั และ
ปลอดภยั
2. ตระหนักในคุณค่าของ
ป. 6
ความรูข้ องการมองเหน็ โดย 1. ระบสุ ่วนประกอบและบรรยายหนา้ ท่ี
ของแตล่ ะสว่ นประกอบของวงจรไฟฟ้า
เสนอแนะแนวทางการปอ้ งกัน อยา่ งงา่ ยจากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์
2. เขยี นแผนภาพและต่อวงจรไฟฟา้ อย่าง
อันตรายจากการมองวัตถุทีอ่ ยู่ งา่ ย
3. ออกแบบการทดลองและทดลองด้วย
ในบรเิ วณที่มแี สงสวา่ งไม่ วธิ ที ีเ่ หมาะสมในการอธบิ ายวิธีการและผล
ของการต่อเซลลไ์ ฟฟา้ แบบอนกุ รม 4.
เหมาะสม ตระหนักถึงประโยชนข์ องความรขู้ องการ

ป. 4 ป. 5

1. จาแนกวัตถุเป็นตัวกลาง 1. อธบิ ายการไดย้ ินเสียงผ่าน

โปร่งใส ตวั กลางโปรง่ แสง และ ตวั กลางจากหลกั ฐานเชิง

วัตถทุ บึ แสง จากลักษณะการ ประจกั ษ์

มองเห็นสิ่งต่าง ๆ ผ่านวตั ถุน้ัน 2. ระบตุ ัวแปร ทดลองและ

เป็นเกณฑโ์ ดยใชห้ ลกั ฐานเชิง อธบิ ายลักษณะและการเกิด

ประจักษ์ เสียงสงู เสียงต่า

3. ออกแบบการทดลองและ

อธิบายลกั ษณะและการเกดิ

เสียงดงั เสียงคอ่ ย

หลกั สตู รสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ระดบั ประถมศกึ ษา

ตัวชว้ี ัดช้นั ปี ต่อเซลลไ์ ฟฟา้ แบบอนกุ รมโดยบอก
ประโยชน์และการประยกุ ต์ใช้ใน
4. วดั ระดบั เสยี งโดยใช้ ชวี ิตประจาวัน
เครอื่ งมอื วัดระดบั เสียง 5. ออกแบบการทดลองและทดลองดว้ ย
5. ตระหนกั ในคณุ ค่าของ วิธที ี่เหมาะสมในการอธิบายการตอ่ หลอด
ความรเู้ รือ่ งระดบั เสียงโดย ไฟฟา้ แบบอนุกรมและแบบขนาน
เสนอแนะแนวทางในการ 6. ตระหนกั ถึงประโยชนข์ องความร้ขู อง
หลกี เล่ียงและลดมลพิษทาง การตอ่ หลอดไฟฟ้า
เสยี ง แบบอนกุ รมและแบบขนาน โดยบอก
ประโยชน์ ข้อจากัด และการประยกุ ต์ใช้
ในชวี ิตประจาวนั
7. อธิบายการเกดิ เงามืดเงามัวจาก
หลักฐานเชิงประจักษ์
8. เขยี นแผนภาพรังสีของแสงแสดงการ
เกดิ เงามดื เงามัว

สำระที่ 3 วิทยำศำสตรโ์ ลก และอวกำศ

มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกดิ และววิ ัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี
ดาวฤกษ์ และ ระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อส่ิงมีชีวิตและการประยุกต์ใช้
เทคโนโลยี อวกาศ

ป. 1 ตัวช้วี ดั ชั้นปี ป. 3
1.ระบุดาวท่ีปรากฏบนท้องฟ้า ป. 2
ในเวลากลางวนั และกลางคนื 1. อธิบายแบบรปู เส้นทางการ
จากข้อมูลทร่ี วบรวมได้ ป. 5 ข้ึน และตกของ ดวงอาทติ ยโ์ ดย
2. อธิบายสาเหตุท่ีมองไม่เหน็ ใช้หลักฐานเชงิ ประจักษ์
ดาวสว่ นใหญ่ในเวลากลางวัน 2. อธิบายสาเหตกุ ารเกิด
จากหลักฐานเชิงประจักษ์ ปรากฏการณ์ การขึน้ และตก
ของดวงอาทติ ย์ การเกดิ
ป. 4 กลางวัน กลางคนื และการ
กาหนดทิศ โดยใช้ แบบจาลอง
3. ตระหนกั ถึง ความสาคญั ของ
ดวงอาทติ ย์ โดย บรรยาย
ประโยชนข์ องดวงอาทิตย์ต่อ
สิ่งมีชวี ิต

ป. 6

หลักสตู รสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ระดับประถมศกึ ษา

ตวั ชีว้ ัดชัน้ ปี

1. อธบิ ายแบบรูป เส้นทางการ 1. เปรียบเทียบความแตกต่าง 1. สรา้ งแบบจาลองท่อี ธบิ าย

ข้ึน และตกของ ดวงจนั ทร์ โดย ของดาวเคราะหแ์ ละดาวฤกษ์ การเกดิ และเปรียบเทยี บ

ใช้ หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ จากแบบจาลอง ปรากฏการณ์ สรุ ยิ ปุ ราคาและ

2. สร้างแบบจาลองท่ี อธิบาย 2. ใชแ้ ผนทีด่ าวระบตุ าแหนง่ จันทรปุ ราคา

แบบรูป การเปลย่ี นแปลง และเสน้ ทาง การขึน้ และตกของ 2. อธิบาย พฒั นาการ ของ

รูปรา่ งปรากฏของดวงจนั ทร์ กลุม่ ดาวฤกษ์บนท้องฟ้า และ เทคโนโลยี อวกาศ และ

และพยากรณร์ ปู รา่ งปรากฏของ อธิบาย แบบรปู เสน้ ทางการข้ึน ยกตวั อยา่ งการนาเทคโนโลยี

ดวงจนั ทร์ และตกของกลมุ่ ดาวฤกษ์บน อวกาศมาใช้ประโยชน์ใน

3. สร้างแบบจาลอง แสดง ทอ้ งฟ้าในรอบปี ชีวิตประจาวัน จากข้อมูลท่ี

องค์ประกอบ ของระบบสรุ ยิ ะ รวบรวมได้

และอธบิ าย เปรียบเทียบคาบ

การโคจรของ ดาวเคราะห์

ตา่ ง ๆ จากแบบจาลอง

สำระที่ 3 วทิ ยำศำสตร์โลกและอวกำศ

มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบ และความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปล่ียนแปลงภายใน
โลก และบนผิวโลก ธรณพี ิบัติภยั กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก รวมทง้ั ผลต่อส่งิ มีชีวติ
และส่ิงแวดลอ้ ม

ตวั ช้ีวดั ชั้นปี

ป. 1 ป. 2 ป. 3

1. อธบิ ายลกั ษณะภายนอกของ 1. ระบสุ ่วนประกอบของดิน 1. ระบสุ ่วนประกอบของ

หนิ จากลักษณะเฉพาะตวั ท่ี และจาแนกชนิดของดนิ โดยใช้ อากาศ บรรยายความสาคญั

สังเกตได้ ลกั ษณะเน้ือดนิ และการจบั ตัว ของอากาศ และผลกระทบของ

เปน็ เกณฑ์ มลพิษทางอากาศ ตอ่ สงิ่ มชี ีวิต

2. อธบิ ายการใช้ประโยชนจ์ าก จากข้อมูลทรี่ วบรวมได้

ดิน จากข้อมลู ท่ีรวบรวมได้ 2. ตระหนักถงึ ความสาคญั ของ

อากาศ โดยนาเสนอแนว

ทางการปฏิบัตติ นในการลดการ

เกดิ มลพิษทางอากาศ

3. อธิบายการเกดิ ลมจาก

หลักฐานเชิงประจกั ษ์

4. บรรยายประโยชนแ์ ละโทษ

ของลมจากข้อมลู ท่รี วบรวมได้

ป. 4 ป. 5 ป. 6

- 1. เปรยี บเทียบปรมิ าณน้าใน 1. เปรยี บเทยี บกระบวนการ

แต่ละแหล่งและระบปุ ริมาณน้า เกิดหนิ อัคนี หนิ ตะกอน และ

หลักสตู รสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ ระดบั ประถมศกึ ษา

ตวั ช้ีวัดช้ันปี หนิ แปร และอธิบาย วฏั จักรหิน
ท่มี นุษยส์ ามารถนามาใช้ จากแบบจาลอง
ประโยชนไ์ ด้ จากข้อมลู ท่ี 2. บรรยายและยก ตัวอยา่ งการ
รวบรวมได้ ใชป้ ระโยชน์ของหินและแร่ใน
ชีวติ ประจาวนั จากขอ้ มูลท่ี
2. ตระหนกั ถงึ คุณค่าของนา้ รวบรวมได้
โดยนาเสนอแนวทาง การใชน้ ้า 3. สร้างแบบจาลองที่อธิบาย
อย่างประหยดั และการอนุรักษ์ การเกิดซากดึกดาบรรพ์และ
นา้ คาดคะเนสภาพแวดลอ้ มในอดตี
3. สรา้ งแบบจาลองที่อธิบาย ของซากดึกดาบรรพ์
การหมุนเวียนของน้าในวัฏจักร 4. เปรยี บเทยี บการเกิดลมบก
นา้ ลมทะเล และมรสมุ รวมท้ัง
4. เปรยี บเทยี บกระบวนการ อธบิ ายผลทมี่ ตี ่อสิง่ มีชีวิตและ
เกิดเมฆ หมอก นา้ คา้ ง และ สงิ่ แวดลอ้ มจากแบบจาลอง
นา้ คา้ งแข็ง จากแบบจาลอง 5. อธิบายผลของมรสุมต่อการ
5. เปรียบเทยี บกระบวนการ เกดิ ฤดูของประเทศไทย จาก
เกดิ ฝน หมิ ะ และลกู เห็บ จาก ขอ้ มูลท่รี วบรวมได้
ข้อมูลทรี่ วบรวมได้ 6. บรรยายลักษณะและ
ผลกระทบของน้าทว่ ม การกัด
เซาะชายฝ่ังดินถล่ม แผน่ ดนิ ไหว
สึนามิ
7. ตระหนกั ถงึ ผลกระทบของ
ภัยธรรมชาตแิ ละธรณพี บิ ัตภิ ยั
โดยนาเสนอแนวทางในการเฝ้า
ระวงั และปฏบิ ัตติ นใหป้ ลอดภัย
จากภยั ธรรมชาตแิ ละธรณพี บิ ัติ
ภยั ทีอ่ าจเกิดในท้องถ่นิ
8. สรา้ งแบบจาลองที่อธบิ าย
การเกดิ ปรากฏการณ์เรือน
กระจกและผลของปรากฏการณ์
เรือนกระจกต่อสงิ่ มีชีวติ
9. ตระหนักถึงผลกระทบของ
ปรากฏการณเ์ รือนกระจกโดย
นาเสนอแนวทาง การปฏิบัตติ น
เพื่อลดกจิ กรรมทก่ี ่อใหเ้ กิดแก๊ส
เรอื นกระจก

หลกั สตู รสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ระดบั ประถมศึกษา

สำระท่ี 4 เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดารงชีวิตในสังคมท่ีมีการเปล่ียนแปลง
อย่างรวดเร็ว ใช้ ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อ่ืน ๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือ
พัฒนางาน อย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่าง
เหมาะสมโดยคานงึ ถงึ ผลกระทบตอ่ ชวี ติ สังคม และส่งิ แวดลอ้ ม

ตวั ชี้วดั ช้ันปี
ป. 1 ป. 2 ป. 3

---
ป. 4 ป. 5 ป. 6

---

สำระที่ 4 เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน
และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทางาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพ ร้เู ท่าทนั และมีจริยธรรม

ตัวชวี้ ัดช้นั ปี

ป. 1 ป. 2 ป. 3
1. แก้ปัญหาอยา่ งงา่ ย โดยใช้
การลองผดิ ลองถูก การ 1. แสดงลาดับขัน้ ตอนการ 1. แสดงอลั กอริทึมในการทา
เปรียบเทียบ
2. แสดงลาดบั ขั้นตอนการ ทางานหรอื การแกป้ ญั หาอย่าง งานหรอื การแกป้ ญั หาอยา่ งงา่ ย
ทางานหรือการแก้ปญั หาอยา่ ง
ง่าย โดยใช้ภาพ สญั ลักษณ์ ง่ายโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรือ โดยใช้ภาพ สัญลกั ษณ์ หรอื
หรอื ขอ้ ความ
3. เขียนโปรแกรมอย่างงา่ ย ข้อความ ขอ้ ความ
โดยใช้ซอฟตแ์ วร์ หรอื ส่ือ
4. ใช้เทคโนโลยใี นการสร้าง 2. เขียนโปรแกรมอย่างง่าย 2. เขียนโปรแกรมอย่างงา่ ย
จัดเก็บ เรยี กใชข้ ้อมูลตาม
วัตถปุ ระสงค์ โดยใชซ้ อฟต์แวร์หรือสือ่ และ โดยใชซ้ อฟต์แวรห์ รือส่ือ และ

5. ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ ตรวจหาข้อผดิ พลาดของ ตรวจหาขอ้ ผิดพลาดของ
อย่าง ปลอดภัย ปฏบิ ัติตาม
ข้อตกลงในการใช้คอมพิวเตอร์ โปรแกรม โปรแกรม
ร่วมกันดูแลรักษาอปุ กรณ์
เบ้ืองตน้ ใชง้ านอยา่ งเหมาะสม 3. ใชเ้ ทคโนโลยีในการสรา้ ง จัด 3. ใช้อินเทอรเ์ น็ตค้นหาความรู้

ป. 4 หมวดหมู่ ค้นหา จัดเกบ็ 4. รวบรวม ประมวลผล และ

เรยี กใช้ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ นาเสนอข้อมลู โดยใช้ซอฟต์แวร์

4. ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ ตามวัตถุประสงค์

อยา่ ง ปลอดภัย ปฏบิ ัติ ตาม

ขอ้ ตกลงใน การใช้คอมพิวเตอร์ 5. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

ร่วมกัน ดูแลรักษา อปุ กรณ์ อยา่ งปลอดภยั ปฏบิ ัติตาม

เบ้อื งตน้ ใชง้ านอย่าง เหมาะสม ข้อตกลงในการใชอ้ นิ เทอรเ์ น็ต

ป. 5 ป. 6

หลกั สตู รสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ระดบั ประถมศกึ ษา

ตวั ชีว้ ัดช้นั ปี

1. ใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะในการ 1. ใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะในการ 1. ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการ

แก้ปญั หา การอธิบายการ แกป้ ัญหา การอธบิ าย การงาน อธิบายและ ออกแบบวธิ ีการ

ทางาน การคาดการณผ์ ลลพั ธ์ การคาดการณผ์ ลลพั ธ์จาก แก้ปญั หาที่พบใน

จากปญั หาอย่างงา่ ย ปญั หาอย่างง่าย ชวี ิตประจาวนั

2. ออกแบบ และเขยี น 2. ออกแบบและเขยี น 2. ออกแบบและเขยี นโปรแกรม

โปรแกรมอยา่ งง่าย โดยใช้ โปรแกรมท่ีมีการใชเ้ หตผุ ลเชงิ อยา่ งงา่ ยเพื่อแก้ปัญหาในชวี ติ

ซอฟตแ์ วรห์ รือสือ่ และตรวจหา ตรรกะอย่างง่าย ตรวจหา ประจาวัน ตรวจหาข้อผดิ พลาด

ข้อผิดพลาดและแก้ไข 3. ใช้ ขอ้ ผดิ พลาดและแก้ไข ของ โปรแกรมและแก้ไข

อนิ เทอรเ์ น็ตคน้ หาความรู้ และ 3. ใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ คน้ หาข้อมูล 3. ใชอ้ ินเทอรเ์ นต็ ในการค้นหา

ประเมนิ ความน่าเชอ่ื ถือของ ตดิ ตอ่ สอื่ สาร และทางาน ขอ้ มลู อยา่ งมีประสิทธภิ าพ

ข้อมลู ร่วมกนั ประเมินความน่าเช่ือถือ 4. ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ

4. รวบรวม ประเมิน นาเสนอ ของข้อมลู ทางานรว่ มกนั อยา่ งปลอดภัย

ขอ้ มูลและสารสนเทศ โดยใช้ 4. รวบรวม ประเมิน นาเสนอ เขา้ ใจสิทธแิ ละหน้าทีข่ องตน

ซอฟต์แวร์ทหี่ ลากหลาย เพื่อ ข้อมูลและสารสนเทศ ตาม เคารพในสิทธิของผู้อืน่ แจง้

แก้ปัญหาในชีวิตประจาวนั วตั ถปุ ระสงค์โดยใชซ้ อฟต์แวร์ ผูเ้ กี่ยวข้องเมอ่ื พบข้อมูลหรือ

5. ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ หรอื บรกิ ารบนอนิ เทอรเ์ นต็ ที่ บคุ คลที่ไมเ่ หมาะสม

อยา่ ง ปลอดภยั เขา้ ใจ สทิ ธแิ ละ หลากหลาย เพื่อ แกป้ ญั หาใน

หน้าที่ ของตน เคารพใน สทิ ธิ ชีวติ ประจาวนั

ของผู้อ่ืน แจ้งผ้เู ก่ยี วข้องเม่ือพบ 5. ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ

ข้อมูลหรือบคุ คลที่ ไม่เหมาะสม อย่าง ปลอดภยั มีมารยาท

เขา้ ใจสทิ ธแิ ละหน้าท่ีของตน

เคารพในสิทธิ ของผู้อื่น แจง้

ผเู้ กีย่ วข้อง เมื่อพบข้อมลู หรือ

บคุ คล ท่ีไม่เหมาะสม

หลักสตู รสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ระดบั ประถมศกึ ษา

ตัวชี้วัด สำระกำรเรียนร้แู กนกลำง

ชนั้ ประถมศึกษ

สำระที่ 1 วิทยำศำสตร์ชวี ภำพ

มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสมั พันธร์ ะหว
ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน การเปลี่ยนแปลงแทนท่ีในระบบนิเวศ ความ
ส่ิงแวดลอ้ ม แนวทางในการอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละการแก้ไขปัญหาสิง่ แวดลอ้ ม

รหัส ตวั ชี้วดั สำระกำรเรียนร้แู กนกลำง

ตัวช้ีวดั

ว 1.1 1. ระบชุ ื่อพืช -บริเวณต่าง ๆ ในท้องถ่ิน เช่น สนามหญา้ ใตต้ ้นไม้ สวน

ป 1/1 และสัตว์ที่ อาจพบพืชและสตั ว์หลายชนดิ อาศัยอยู่

อาศัยอยู่ -บริเวณทแ่ี ตกต่างกันอาจพบพชื และสตั วแ์ ตกตา่ งกนั เพร

บรเิ วณตา่ ง ๆ สภาพแวดล้อมของแต่ละบริเวณจะมี ความเหมาะสมตอ่ ก

จากข้อมลู ท่ี ของพชื และสัตว์ ท่ีอาศัยอยูใ่ นแตล่ ะบรเิ วณ เช่น สระน้า

รวบรวมได้ อาศัยของหอย ปลา สาหร่าย เปน็ ทหี่ ลบภัยและมี แหลง่

และปลา บรเิ วณตน้ มะมว่ งมี ตน้ มะม่วงเปน็ แหลง่ ที่อยู่ แ

ว 1.1 2. บอก สาหรับกระรอกและมด

ป 1/2 สภาพแวดล้อม - ถา้ สภาพแวดล้อมในบริเวณที่พืชและสตั วอ์ าศยั อยูม่ ีการ
ทเี่ หมาะสมกับ จะมีผลตอ่ การดารงชวี ิตของพืชและสัตว์

การดารงชีวิต

ของสตั วใ์ น

บรเิ วณที่อาศัย

อยู่

งและสำระกำรเรียนรทู้ ้องถิ่น

ษำปีท่ี 1

ว่างสง่ิ ไม่มีชีวิตกบั สิง่ มชี ีวิตและความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชวี ิตกับสิ่งมีชวี ิตต่าง
มหมายของประชากรปัญหาและผลกระทบท่ีมีต่อทรัพยากรธรรมชาติและ
มรวมท้ังนาความรู้ไปใช้ประโยชน์

สำระกำรเรยี นรู้ทอ้ งถ่นิ

นหย่อม แหล่งน้า -สารวจ สงั เกต และรวบรวมพืช และสตั ว์ท่ีพบบรเิ วณชายหาด
ทะเลหน้าโรงเรียนฯ ปากนา้ ชุมพร
ราะ
การดารงชีวติ -ตรวจสอบ และระบสุ ่ิงมีชวี ิตทพ่ี บบรเิ วณชายหาดหนา้ โรงเรยี นฯ
มีน้าเปน็ ท่ีอยู่ ปากนา้ ชมุ พร
งอาหารของหอย -ระบปุ ัญหา เสนอแนวทางในการแก้ไข และอนรุ ักษ์ทรัพยากร
และมอี าหาร ชายฝงั่ ทะเล

รเปลย่ี นแปลง

สำระท่ี 1 วิทยำศำสตร์ชวี ภำพ

ถีมาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบัติของส่งิ มีชวี ติ หนว่ ยพ้นื ฐานของสง่ิ มีชีวติ การล
ของสตั ว์และมนุษยท์ ่ีทางานสมั พนั ธก์ ัน ความสัมพนั ธ์ของโครงสร้าง และหนา้ ท่ขี องอว

รหสั ตวั ชี้วัด ตัวช้วี ัด สำระกำร
ว 1.2 ป 1/1
1. ระบุชือ่ บรรยายลักษณะและบอกหน้าที่ - มนษุ ยม์ สี ว่ นตา่ ง
ของส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกายมนุษย์ สัตว์ แตกต่างกนั เพื่อให
และพชื รวมทัง้ บรรยายการทาหน้าท่ี เชน่ ตามีหน้าท่ี ไวม้
รว่ มกนั ของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ ตาเพื่อปอ้ งกนั อันต
ในการทากจิ กรรมตา่ ง ๆ จากขอ้ มลู ท่ี ฟังเสยี ง โดยมีใบหแู
รวบรวมได้ ของเสียง ปากมีหน
และมรี ิมฝปี ากบนล
หยบิ จบั มที ่อนแข
สมอง มีหน้าที่ควบ
ๆ ของร่างกาย เป็น
โดยสว่ นตา่ ง ๆ ของ
รว่ มกันในการทากจิ
- สัตวม์ หี ลายชนดิ
มลี กั ษณะและหนา้ ท
เหมาะสม ในการดา
เป็นแผ่น ส่วนกบ เ
เท้า สาหรับใชใ้ นกา
- พชื มีสว่ นต่าง ๆ ท
แตกต่างกนั เพื่อให

ลาเลียงสารผ่านเซลล์ความสมั พนั ธ์ของโครงสรา้ ง และหน้าท่ีของระบบต่าง ๆ
วัยวะต่าง ๆ ของพชื ทท่ี างานสมั พนั ธก์ ันรวมทั้งนาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์

รเรยี นรูแ้ กนกลำง สำระกำรเรยี นรทู้ อ้ งถิ่น

ๆ ทมี่ ลี กั ษณะและหน้าท่ี -ระบสุ ่วนประกอบ และบอกหนา้ ทข่ี อง

ห้เหมาะสมในการดารงชวี ติ อวัยวะภายนอกของสตั ว์ทะเลทพ่ี บบรเิ วณ

มองดู โดยมหี นังตาและขน ชายหาด

ตรายใหก้ ับตา หมู หี น้าทีร่ บั

และรหู ู เพ่ือเป็นทางผา่ น

น้าที่พดู กินอาหาร มชี อ่ งปา

ล่าง แขนและมือมีหนา้ ท่ยี ก

ขนและนิ้วมือทีข่ ยบั ได้

บคมุ การทางานของสว่ นต่าง

นกอ้ นอยู่ในกะโหลกศรี ษะ

งร่างกายจะทาหนา้ ท่ี

จกรรม ในชีวติ ประจาวนั

แตล่ ะชนดิ มีสว่ นตา่ ง ๆ ที่

ทีแ่ ตกต่างกัน เพ่ือให้

ารงชีวติ เช่น ปลามคี รีบ

เต่า แมว มขี า 4 ขาและมี

ารเคล่ือนที่

ท่ีมีลักษณะและหนา้ ที่

หเ้ หมาะสมในการดารงชวี ติ

หลักสตู รสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ ระดับประถมศกึ ษา

รหสั ตวั ช้ีวัด ตัวชว้ี ดั สำระกำร

โดยทว่ั ไป รากมีลกั
แขนงเปน็ รากเลก็ ๆ
ลกั ษณะเปน็ ทรงกร
ทาหนา้ ท่ีชูกิง่ ก้าน ใ
เป็นแผน่ แบน ทาห
นอกจากนพ้ี ืชหลาย
รูปรา่ งตา่ ง ๆ ทาหน
มเี ปลือก มีเนอื้ ห่อห
สามารถงอกเป็นตน้

ว 1.2 ป1/2 2. ตระหนกั ถึงความสาคัญของสว่ นตา่ ง ๆ - มนุษย์ใชส้ ่วนตา่ ง
ของรา่ งกายตนเอง โดยการดูแลสว่ นตา่ ง ๆ กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อ
อยา่ งถูกต้อง ให้ปลอดภยั และรักษา ความ ควรใช้ส่วนตา่ ง ๆขอ
สะอาดอยู่เสมอ ปลอดภัย และรักษ
เชน่ ใช้ตามองตัวหน
เพียงพอ ดูแลตาให
และรกั ษาความสะอ

รเรยี นร้แู กนกลำง สำระกำรเรยี นรู้ท้องถ่นิ
กษณะเรียวยาว และแตก -
ๆ ทาหน้าท่ีดดู น้า ลาตน้ มี
ระบอกตงั้ ตรงและมีกง่ิ กา้ น
ใบ และดอก ใบมลี กั ษณะ
หน้าทสี่ ร้างอาหาร
ยชนิดอาจมีดอกท่มี ีสี
นา้ ท่ีสบื พนั ธุ์ รวมทัง้ มีผลที่
หุ้มเมลด็ และมีเมล็ดซง่ึ
นใหม่ได้

ง ๆ ของร่างกายในการทา
อการดารงชวี ติ มนษุ ยจ์ ึง
องร่างกายอยา่ งถูกต้อง
ษา ความสะอาดอยู่เสมอ
นังสอื ในที่ ๆ มีแสงสวา่ ง
หป้ ลอดภยั จากอนั ตราย
อาดตาอย่เู สมอ

หลกั สตู รสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ระดับประถมศกึ ษา

สำระท่ี 1 วทิ ยำศำสตรช์ ีวภำพ

มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณ
ส่ิงมีชวี ติ ความหลากหลายทางชวี ภาพและววิ ฒั นาการของสิ่งมีชวี ติ รวมท้ังนาความรู้ไ

รหสั ตัวชี้วัด ตวั ชีว้ ดั สำระกำร
- -

สำระท่ี 2 วิทยำศำสตรก์ ำยภำพ

มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพ
หลกั และธรรมชาตขิ องการเปล่ยี นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการ

รหัสตวั ช้ีวดั ตวั ชี้วัด สำระกำร
ว 2.1 ป 1/1 1. อธบิ ายสมบัตทิ สี่ ังเกตไดข้ องวัสดทุ ีใ่ ช้ทา
วตั ถซุ ง่ึ ทาจากวัสดุชนิดเดียว หรือหลาย -วัสดทุ ่ีใช้ทาวตั ถุทเ่ี
ว 2.1 ป 1/2 ชนิดประกอบกันโดยใชห้ ลักฐานเชงิ หลายชนดิ เชน่ ผ้า
ประจักษ์ หิน กระดาษ โลหะ
สังเกตได้ต่าง ๆ เช่น
2. ระบุชนดิ ของวัสดแุ ละจัดกล่มุ วัสดุตาม ใส ขนุ่ ยดื หดได้ บดิ
สมบตั ทิ ่ีสังเกตได้ - สมบัติทีส่ ังเกตไดข้
เหมอื นกนั ซึ่งสามา
การจัดกลุ่มวัสดุได้
วัสดุบางอยา่ งสามา
ทาเปน็ วัตถตุ า่ ง ๆ เ
เสื้อ ไม้และโลหะ ใช

ณะทางพันธุกรรม สารพันธุกรรม การเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรมท่ีมีผลต่อ
ไปใช้ประโยชน์

รเรยี นรแู้ กนกลำง สำระกำรเรยี นรทู้ อ้ งถิ่น
- -

พันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค
รเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมี

รเรียนรแู้ กนกลำง สำระกำรเรยี นร้ทู อ้ งถิ่น

เปน็ ของเล่น ของใช้ มี -อธบิ ายสมบตั ิของวสั ดุท่ีใช้ทาอุปกรณ์และ

า แกว้ พลาสตกิ ยาง ไม้ อฐิ เคร่ืองมอื ในการประมง

ะ วัสดแุ ต่ละชนิดมสี มบตั ทิ ่ี

น สี นมุ่ แขง็ ขรขุ ระ เรยี บ

ดงอได้

ของวสั ดุแตช่ นิดอาจ

ารถนามาใชเ้ ปน็ เกณฑใ์ น

ารถนามาประกอบกนั เพอื่
เช่น ผา้ และกระดุม ใช้ทา
ช้ทากระทะ

หลกั สตู รสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ระดับประถมศกึ ษา

สำระท่ี 2 วทิ ยำศำสตร์กำยภำพ
มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวติ ประจาวัน ผลของแร

นาความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์

รหัสตัวชี้วัด ตวั ช้ีวัด สำระกำร
- -

สำระท่ี 2 วทิ ยำศำสตร์กำยภำพ
มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลง

พลงั งานในชวี ิตประจาวัน ธรรมชาติของคลืน่ ปรากฏการณ์ทีเ่ กีย่ วขอ้ งกับเสีย

รหสั ตัวชี้วัด ตวั ชีว้ ดั สำระกำร
ว 2.3 ป 1/1
1. บรรยายการเกดิ เสียงและทศิ ทาง การ -เสยี งเกิดจากการส
เคลื่อนที่ของเสยี งจากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ เสยี งเป็นแหล่งกาเน

แหล่งกาเนดิ เสียงต
แหลง่ กาเนิดเสยี งท
เคล่อื นท่ีออกจากแ

รงที่กระทาต่อวัตถุ ลักษณะการเคลอ่ื นท่แี บบตา่ ง ๆ ของวตั ถุ รวมท้งั

รเรียนรู้แกนกลำง สำระกำรเรียนรู้ทอ้ งถิ่น
- -

งและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน
ยง แสง และคลื่นแมเ่ หล็กไฟฟ้า รวมท้งั นาความรไู้ ปใช้ประโยชน์

รเรยี นรแู้ กนกลำง สำระกำรเรียนรู้ท้องถิ่น

สั่นของวัตถุ วัตถุท่ที าให้เกิด -จาแนกแหลง่ ที่มาของเสียงรอบ ๆ โรงเรียน

นิดเสยี งซงึ่ มที ั้ง เช่น กิจกรรมฟังเสียงคลื่น รืน่ รมย์

ตามธรรมชาติและ

ที่มนษุ ย์สร้างขน้ึ เสยี ง

แหลง่ กาเนิดเสยี งทกุ ทิศทาง

หลกั สตู รสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ระดบั ประถมศึกษา

สำระที่ 3 วทิ ยำศำสตรโ์ ลก และอวกำศ

มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒน
ภายในระบบสุริยะท่ีสง่ ผลตอ่ ส่ิงมีชีวติ และการประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยีอวกาศ

รหัสตวั ชี้วัด ตวั ชวี้ ัด สำระกำร
ว 3.1 ป 1/1
1. ระบดุ าวทปี่ รากฏบนทอ้ งฟ้าในเวลา - บนท้องฟ้ามดี วงอ
ว 3.1 ป 1/2 กลางวนั และกลางคนื จากข้อมลู ทรี่ วบรวม ซ่ึงในเวลากลางวนั จ
ได้ อาจมองเหน็ ดวงจนั
ไมส่ ามารถมองเหน็
2. อธิบายสาเหตุท่มี องไมเ่ ห็นดาวส่วนใหญ่ -ในเวลากลางวันม
ในเวลากลางวนั จากหลักฐานเชิงประจกั ษ์ เนือ่ งจากแสงอาทติ
ดาว สว่ นในเวลากล
มองเหน็ ดวงจันทร์

สำระท่ี 3 วิทยำศำสตร์โลก และอวกำศ

มาตรฐาน ว 3.2 เขา้ ใจองคป์ ระกอบ และความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเป
ลมฟา้ อากาศและภูมอิ ากาศโลกรวมท้ังผลต่อส่ิงมชี ีวติ และสิ่งแวดล้อม

รหัสตวั ช้ีวัด ตวั ช้ีวัด สำระกำร

ว 3.2 ป 1/1 1. อธบิ ายลักษณะภายนอกของหิน จาก -หินทีอ่ ยู่ในธรรมชา
ตวั ที่สังเกตได้ เชน่
ลกั ษณะเฉพาะตวั ทสี่ งั เกตได้ ความแขง็ และเนื้อ

นาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมท้ังปฏิสัมพันธ์

รเรียนรแู้ กนกลำง สำระกำรเรียนรู้ทอ้ งถิ่น
-
อาทติ ย์ ดวงจนั ทร์ และดาว
จะมองเหน็ ดวงอาทิตย์และ -
นทร์บางเวลาในบางวัน แต่
นดาว
มองไม่เหน็ ดาวส่วนใหญ่
ตยส์ ว่างกว่าจงึ กลบแสงของ
ลางคนื จะมองเห็นดาวและ
เกอื บทกุ คืน

ปลย่ี นแปลงภายในโลกและบนผวิ โลก ธรณพี ิบตั ิภัย กระบวนการเปล่ยี นแปลง

รเรียนร้แู กนกลำง สำระกำรเรยี นรู้ท้องถนิ่

าตมิ ีลักษณะภายนอกเฉพา -สงั เกตลักษณะของหนิ ที่พบบรเิ วณชายหาด

น สี ลวดลาย นา้ หนัก หน้าโรงเรยี น

อหิน

หลกั สตู รสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ ระดบั ประถมศึกษา

สำระท่ี 4 เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดารงชีวติ ในสังคม
คณิตศาสตร์ และศาสตร์อ่นื ๆ เพ่อื แกป้ ญั หา หรอื พฒั นางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค
เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคานึงถึงผลกระทบตอ่ ชีวติ สงั คม และส่ิงแวดลอ้ ม

รหสั ตัวช้ีวดั ตัวชี้วดั สำระกำร
- -

สำระที่ 4 เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว 4.2 ข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิต
ในการเรียนรู้ การทางาน และการแกป้ ัญหาได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ รเู้ ทา่ ทัน และมจี ริย

รหัสตัวช้ีวดั ตัวช้ีวัด สำระกำร

ว 4.2 ป 1/1 1. แก้ปญั หาอยา่ งง่ายโดยใช้การลองผดิ - การแกป้ ัญหาให้ป
โดยใชข้ ัน้ ตอนการแ
ลองถูก การเปรยี บเทยี บ - ปัญหาอย่างงา่ ย
จุดแตกต่างของภาพ
ว 4.2 ป 1/2 2. แสดงลาดบั ข้ันตอนการทางาน หรอื
การแกป้ ัญหาอยา่ งงา่ ยโดยใช้ภาพ - การแสดงขัน้ ตอน
สญั ลักษณ์ หรือข้อความ การเขยี น บอกเลา่
สญั ลักษณ์
ว 4.2 ป 1/3 3. เขยี นโปรแกรมอยา่ งง่าย โดยใช้ - ปัญหาอย่างง่าย เ
ซอฟตแ์ วรห์ รอื ส่ือ จดุ แตกตา่ งของภาพ
กระเปา๋

- การเขยี นโปรแกร
คาสง่ั ใหค้ อมพิวเต

มท่ีมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเรว็ ใชค้ วามรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์
ค์ดว้ ยกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม เลอื กใช้

รเรยี นรู้แกนกลำง สำระกำรเรยี นรู้ทอ้ งถน่ิ
- -

ตจริงอย่างเปน็ ขน้ั ตอนและเป็นระบบใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ยธรรม

รเรียนร้แู กนกลำง สำระกำรเรียนรู้ท้องถิ่น
-
ประสบความสาเรจ็ ทาได้
แก้ปัญหา -
เช่น เกมเขาวงกต เกมหา
พการจดั หนงั สอื ใสก่ ระเป๋า

นการแก้ปัญหาทาไดโ้ ดย
วาดภาพ หรอื ใช้

เช่น เกมเขาวงกต เกมหา
พ การจัดหนังสอื ใส่

รมเป็นการสร้างลาดับของ -
ตอรท์ างาน

หลกั สตู รสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ระดับประถมศึกษา

รหสั ตัวช้ีวัด ตัวชวี้ ดั สำระกำร
ว 4.2 ป 1/4
ว 4.2 ป 1/5 - ตัวอยา่ งโปรแกร

ให้ ตวั ละครย้ายตา

เปล่ยี นรปู ร่าง

- ซอฟตแ์ วร์ หรือส่ื

โปรแกรม เช่น ใชบ้

โปรแกรม, Code.o

4.ใชเ้ ทคโนโลยใี นการสรา้ ง จัดเก็บ เรียกใช้ - การใช้งานอุปกรณ

ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ การใช้เมาส์ คยี ์บอร

อปุ กรณ์เทคโนโลยี

-การใชง้ านซอฟตแ์

และออกจากโปรแก

จดั เกบ็ การเรียกใช

เชน่ โปรแกรมประม

โปรแกรมนาเสนอ

-การสร้างและจัดเก

ทาให้เรยี กใช้ คน้ หา

5. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภยั - การใช้เทคโนโลยสี

ปฏบิ ตั ิตามข้อตกลงในการใช้คอมพิวเตอร์ เช่น รูจ้ ักขอ้ มลู ส่วน

ร่วมกนั ดแู ลรกั ษาอปุ กรณ์เบื้องตน้ ใชง้ าน เผยแพร่ข้อมลู ส่วนต

อย่างเหมาะสม ส่วนตัวกบั บุคคลอื่น

แจง้ ผเู้ กย่ี วข้องเม่ือต

เกี่ยวกับการใช้งาน

รเรียนรแู้ กนกลำง สำระกำรเรียนร้ทู ้องถิน่
รม เช่น เขียนโปรแกรมสง่ั -
าแหน่ง ย่อขยายขนาด -

อทีใ่ ช้ในการเขียน
บัตรคาสั่งแสดงการเขยี น
org
ณเ์ ทคโนโลยเี บอ้ื งตน้ เช่น
ร์ด จอสมั ผัส การเปดิ -ปิด

แวรเ์ บื้องต้น เช่น การเข้า
กรม การสร้างไฟล์ การ
ช้ไฟล์ ทาได้ในโปรแกรม
มวลคา โปรแกรมกราฟิก

กบ็ ไฟล์อยา่ งเปน็ ระบบจะ
าข้อมลู ได้ง่ายและรวดเรว็
สารสนเทศอยา่ งปลอดภัย
นตัว อนั ตรายจากการ
ตัว และไม่บอกข้อมูล
นยกเว้นผูป้ กครอง หรือครู
ต้องการ ความช่วยเหลอื

หลกั สตู รสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ ระดบั ประถมศึกษา


Click to View FlipBook Version