The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย์ พ.ศ.2565 ม.ต้น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tanawich.s, 2022-07-07 02:53:01

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย์ พ.ศ.2565 ม.ต้น

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย์ พ.ศ.2565 ม.ต้น

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธิ์พฒั นวทิ ย พทุ ธศกั ราช 2565
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานพทุ ธศักราช 2551
(ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560)

สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษาสุรินทร
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน

กระทรวงศกึ ษาธิการ



คำนำ

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย พุทธศักราช 2565 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) เปนหลกั สตู รท่ีไดพัฒนาใหสอดคลอง
พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 รวมทั้งใหสอดคลองกับสภาพความเปลี่ยนแปลงทาง
เศรษฐกิจ สังคม และความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยี ตลอดจนสอดคลองกับแนวนโยบายและความ
ตอ งการการจดั การศกึ ษาของชาติ

โรงเรยี นทับโพธิ์พัฒนวิทย ไดดำเนินการเพื่อใหเปนไปตามตามคำสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ.
1239/2560 ลงวันที่ 7 สิงหาคม 2560 เร่ือง ใหใชมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู
คณิตศาสตร วิทยาศาสตร และสาระภูมิศาสตร ในกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จึงไดจัดทำ
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย พุทธศักราช 2565 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕60) และมีการปรับปรุงสาระการเรียนรู
มาตรฐานตวั ชวี้ ดั ใหสอดคลอ งกับนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการ โดยปรับโครงสรางเวลาเรยี นหลกั สตู รตาม
ความพรอ มและจุดเนนของสถานศึกษาและจัดกิจกรรมเพิ่มเวลารู บรู ณาการในระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 –
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 6

ในการดำเนินการจดั ทำหลักสูตร คณะกรรมการบริหารหลักสูตร ไดศึกษาเอกสาร ตำราท่ีเก่ียวของ
กับการจดั ทำหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และไดสำรวจความตองการของ
นักเรียน ผูปกครอง ชุมชน และสอดคลองกับนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการ มาเปนแนวทางในการจดั ทำ
ดังนั้นคณะผูจดั ทำหวังเปนอยางยิ่งวา หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย พุทธศักราช 2565
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕60) นี้จะ
เกิดประโยชนตอบุคคลที่ตองการนำหลักสูตรไปสูการปฏิบัติการสอนไดอยางมีประสิทธิภาพและเกิด
ประสทิ ธิผล

โรงเรียนทบั โพธพิ์ ฒั นวิทย



ประกาศโรงเรยี นทบั โพธ์พิ ฒั นวิทย
เรอ่ื ง ใหใชหลกั สตู รโรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย พุทธศกั ราช 2565
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

(ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

เพ่อื ใหก ารจดั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน สอดคลอ งกบั ความเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจสังคม ความ
เจริญกา วหนาทางวทิ ยาการ เปนการสรางกลยุทธใ หม ในการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาใหส ามารถ
ตอบสนองความตองการของบคุ คล สังคมไทย ผเู รยี นมศี ักยภาพในการแขงขนั ละความรวมมืออยา ง
สรา งสรรคในสงั คมโลก ปลกู ฝง ใหผูเรียนมีจิตสำนกึ ในความเปน ไทย มีระเบียบวินยั คำนงึ ถึงผลประโยชน
สว นรวม และยึดม่ันในการปกคครองระบอบประชาธปิ ไตย อนั มีพระมหากษัตรยิ ท รงเปนประมุข เปน ไป
ตามเจตนารมณม าตรา 20 ของรัฐธรรมนูญแหง ราชอณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 และ
พระราชบญั ญัติการศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 และทีแ่ กไขเพิ่มเตมิ

ฉะนนั้ อาศยั อำนาจตามความในมาตรา 12 และมาตรา 15 แหงพระราชบัญญตั ริ ะเบียบบรหิ าร
ราชการกระทรวงศึกษาธิการ พทุ ธศักราช 2546 และคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานโรงเรยี นทบั
โพธ์พิ ัฒนวทิ ย ไดมมี ตเิ ห็นชอบใหใ ชหลกั สูตรโรงเรียนทบั โพธพ์ิ ฒั นวทิ ย พุทธศกั ราช 2565 ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พุทธศักราช 2560) เมอื่ วนั ที่ 9 เดอื น
พฤษภาคม พุทธศกั ราช 2565 จงึ ประกาศใหใชหลักสตู รโรงเรียนทับโพธิพ์ ัฒนวทิ ยต ง้ั แตบ ดั นีเ้ ปน ตนไป

ประกาศ ณ วันที่ 9 เดอื น พฤษภาคม พุทธศักราช 2565

(ลงชอ่ื ) (ลงชื่อ)
(นางจนั ทรดี จอ ยสระค)ู ( นางจฬุ าภรณ บุญศรี )

ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน ผอู ำนวยการโรงเรียนทบั โพธ์พิ ฒั นวิทย



ประกาศโรงเรียนทบั โพธพ์ิ ฒั นวทิ ย

เร่อื ง อนุมตั ิใหใชห ลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นทับโพธพ์ิ ฒั นวิทย พุทธศักราช 2565
ตัวชว้ี ัดและสาระการเรยี นรูแ กนกลางกลุมสาระการเรียนรู(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2560)

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551
------------------------------------------

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นทบั โพธพ์ิ ัฒนวิทย พุทธศักราช 2565 ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรียนรู
แกนกลาง
กลมุ สาระการเรียนร(ู ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช
2551
ระดับช้นั มัธยมศึกษาปที่ 1– 6 สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามธั ยมศึกษาสุรนิ ทร ฉบับนี้ ไดรบั ความ
เห็นชอบจาก
คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน โรงเรยี นทบั โพธิ์พฒั นวทิ ย จงึ ประกาศใหใ ชห ลักสูตรสถานศึกษา
โรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวทิ ย พทุ ธศักราช 2565 ตัวชว้ี ดั และสาระการเรียนรแู กนกลางกลุมสาระการเรยี นรู
(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ตงั้ แตบ ดั น้ี
เปน ตนไป

ประกาศ ณ วนั ที่ 9 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ.2565

(ลงชื่อ)
( นางจุฬาภรณ บุญศรี )

ผูอำนวยการโรงเรยี นทับโพธพ์ิ ฒั นวิทย



ประกาศโรงเรียนทบั โพธ์พิ ัฒนวทิ ย
เร่อื ง ความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พื้นฐาน

------------------------------------------
ตามที่โรงเรยี นทับโพธิ์พฒั นวิทย ไดจ ัดทำหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นทบั โพธ์พิ ัฒนวทิ ย
พุทธศกั ราช 2565 ตัวชีว้ ดั และสาระการเรียนรู๎แกนกลางกลุมสาระการเรียนร๎ู (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2560)
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ระดบั ช้ัน มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 1 – 6
สำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษาสุรนิ ทร ฉบบั นี้ เพื่อกำหนดเปน วธิ ปี ฏบิ ตั ขิ องสถานศึกษา อันเปน
แนวทางใหเ กดิ ความสำเรจ็ แกผูเรียนสูงสดุ เพ่ือบรรลุจดุ มุงหมายของหลกั สตู รทุกประการ นอกจากน้ียังเปน
แนวทางปฏบิ ัตหิ นาทีร่ าชการของขา ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ในโรงเรยี นอีกดว ย
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนทับโพธิ์พฒั นวทิ ยแ ละผมู สี ว นเก่ยี วขอ งกบั การศกึ ษาโรงเรยี น
ทบั โพธพ์ิ ัฒนวทิ ยทุกคนเหน็ ชอบและจะทำทกุ วิถีทางเพื่อใหเ กดิ ศักยภาพตามที่กำหนดไว๎ในหลักสตู ร
สถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานฉบบั น้ที กุ ประการ

ประกาศ ณ วนั ท่ี 9 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ.2565

(นางจันทรด ี จอยสระคู)
ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานโรงเรียนทบั โพธ์พิ ัฒนวทิ ย

( นางจุฬาภรณ บุญศรี )
ผูอำนวยการโรงเรยี นทบั โพธพิ์ ฒั นวทิ ย
กรรมการและเลขานกุ ารคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐานโรงเรียนทับโพธ์พิ ัฒนวทิ ย



สารบัญ

หนา
คำนำ
ประกาศโรงเรียนทับโพธ์ิพฒั นวทิ ย
เรือ่ ง ใหใชหลกั สูตรโรงเรยี นทับโพธิ์พัฒนวทิ ย พุทธศกั ราช 2565
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551
(ฉบับปรับปรงุ พุทธศักราช 2560)
1.สว นนำ
ความนำ............................................................................................................................... 2
วิสยั ทศั นข องโรงเรยี น …….................................................................................................. 3
- หลักการ/จุดมุงหมาย....................................................................................................... 5
สมรรถนะสำคัญของผูเรียน …............................................................................................. 6
คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค. .................................................................................................. 6
2.โครงสรางหลกั สูตรโรงเรียนทับโพธิ์พฒั นวิทย
โครงสรา งหลักสตู รรายชั้นป................................................................................................ 17
3.คำอธิบายรายวชิ า.......................................................................................................... 26
โครงสรา งกลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย............................................................................ 28
คำอธบิ ายรายวชิ าภาษาไทย................................................................................................ 29
โครงสรางกลมุ สาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร......................................................................... 37
คำอธิบายรายวิชาคณติ ศาสตร............................................................................................. 38
โครงสรางกลมุ สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี................................................ 53
คำอธบิ ายรายวิชาวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี.................................................................... 55
โครงสรางกลุมสาระการเรยี นรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม..................................... 77
คำอธบิ ายรายวิชาสงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม........................................................ 78
โครงสรางกลุมสาระการเรยี นรสู ุขศกึ ษาและพลศึกษา........................................................ 112
คำอธบิ ายรายวชิ าสุขศกึ ษาและพลศึกษา............................................................................ 113
โครงสรางกลุมสาระการเรยี นรูศ ลิ ปะ.................................................................................. 122
คำอธบิ ายรายวิชาศลิ ปะ...................................................................................................... 123
โครงสรา งกลมุ สาระการเรยี นรูก ารงานอาชพี ...................................................................... 135
คำอธิบายรายวชิ าการงานอาชีพ.......................................................................................... 136
โครงสรา งกลมุ สาระการเรยี นรูภาษาตางประเทศ................................................................ 150
คำอธิบายรายวชิ าภาษาตา งประเทศ................................................................................... 151
การศกึ ษาคนควาและสรางองคความรู……………………………………………………………………… 164



สารบญั หนา
168
4.กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น.................................................................................................... 191
5.กระบวนการจดั การเรยี นรู............................................................................................. 207
ภาคผนวก........................................................................................................................... 208
บรรณานุกรม……………………………………………………………………………………………………….. 210
คณะผูจดั ทำ…………………………………………………………………………………………………………..

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธิ์พฒั นวทิ ย (ฉบับปรับปรงุ 2565)

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ 2560) ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 1

1.สวนนำ

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธิพ์ ฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2565)

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 2

ความนำ
การศึกษาขอมลู ทิศทางและกรอบยทุ ธศาสตรข องแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ ฉบบั ที่ 12
(พ.ศ. 2560 - 2564) ซง่ึ เกดิ ขึน้ ในชวงเวลาของการปฏริ ูปประเทศและสถานการณโ ลกทเ่ี ปล่ียนแปลงอยาง
รวดเรว็ และเชือ่ มโยงใกลชดิ กนั มากขนึ้ โดยจัดทำบนพ้นื ฐานของกรอบ ยุทธศาสตรช าติ 20 ป (พ.ศ. 2560 -
2579) ซึง่ เปน แผนหลักของการพัฒนาประเทศ และเปาหมายของการพฒั นาที่ยง่ั ยืน (Sustainable
Development Goals: SDGs) แผนการศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 รวมท้งั การปรบั โครงสรา ง
ประเทศไปสูประเทศไทย 4.0 ซึง่ ยทุ ธศาสตรช าติที่จะใชเปนกรอบแนวทางการพฒั นาในระยะ 20 ปตอ จากนี้
ประกอบดวย 6 ยทุ ธศาสตร ไดแก (1) ยุทธศาสตรดานความมนั่ คง (2) ยุทธศาสตรด านการสรา ง
ความสามารถในการแขงขนั (3) ยุทธศาสตรก ารพฒั นา และเสริมสรา งศักยภาพคน (4) ยุทธศาสตรด านการ
สรางโอกาสความเสมอภาคและเทาเทียมกันทางสังคม (5) ยทุ ธศาสตรด านการสรา งการเตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ติ
ท่ีเปนมติ รกับส่ิงแวดลอมและ (6) ยุทธศาสตรด านการปรับ สมดุลและพฒั นาระบบการบริหารจัดการภาครฐั
เพ่อื มุงสวู สิ ัยทศั น และทศิ ทางการพฒั นาประเทศ “ความมั่นคง มง่ั คั่ง ยง่ั ยนื ” เปนประเทศพัฒนาแลวดวยการ
พัฒนาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประเดน็ ท่สี ำคญั เพื่อแปลงแผนไปสูการปฏบิ ตั ใิ หเกิดผลสมั ฤทธิ์
ไดอ ยางแทจริงตามยทุ ธศาสตรก าร พัฒนาและเสรมิ สรา งศกั ยภาพคน คือ การเตรยี มพรอมดา นกำลังคนและ
การเสรมิ สรางศักยภาพของประชากรใน ทุกชวงวยั มุงเนน การยกระดับคุณภาพทุนมนษุ ยข องประเทศ โดย
พัฒนาคนใหเหมาะสมตามชวงวัย เพ่อื ใหเติบโตอยางมีคุณภาพ การพัฒนาทักษะทีส่ อดคลอ งกับความตอ งการ
ในตลาดแรงงานและทักษะทจี่ ำเปน ตอการดำรงชีวิต ในศตวรรษที่ 21 ของคนในแตละชวงวัยตามความ
เหมาะสม การเตรียมความพรอ มของกำลังคนดานวทิ ยาศาสตร และเทคโนโลยที จ่ี ะเปลี่ยนแปลงในอนาคต
ตลอดจนการยกระดับคุณภาพการศกึ ษาสูค วามเปนเลิศ
เพื่อใหก ารขบั เคลอื่ นยุทธศาสตรช าติ เพ่ือเตรยี มความพรอ มคนใหสามารถปรับตวั รองรับผลกระทบ
จากการเปล่ียนแปลงไดอ ยางเหมาะสม กระทรวงศึกษาธิการจึงกำหนดเปน นโยบายสำคัญและเรง ดว นใหม ีการ
ปรับปรุงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ในกลมุ สาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร
วทิ ยาศาสตร และสาระภูมิศาสตร ในกลมุ สาระการเรยี นรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมรวมทั้งเทคโนโลยี
ในกลุม สาระการเรยี นรกู ารงานอาชพี และเทคโนโลยี โดยมอบหมายใหส ถาบนั สง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยี (สสวท.) ดำเนินการปรับปรุง กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร กลมุ สาระการเรียนรู
วิทยาศาสตร และสาระเกีย่ วกับเทคโนโลยใี นกลุมสาระการเรยี นรูการงานอาชพี และเทคโนโลยี และมอบหมาย
ใหสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานดำเนนิ การปรับปรงุ สาระภมู ศิ าสตร ในกลมุ สาระการเรยี นรู
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ท้ังน้ี การดำเนนิ งานประกาศใชห ลกั สตู รยงั คงอยูใ นความรบั ผดิ ชอบของ
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน

หลักสูตรโรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย พุทธศักราช 2560 (ปรับปรุง พุทธศักราช 2565) ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พุทธศักราช 2560) ไดจ ัดทำขึน้
ตามแนวทางที่กำหนดไวในตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลางกลุมสาระการเรียนรู (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2560) และตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 และเปนไปตามมาตรา 27
วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติการศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธพิ์ ัฒนวทิ ย (ฉบบั ปรับปรงุ 2565)

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ 2560) ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 3

ซึ่งกำหนดใหสถานศึกษามีหนาที่จัดทำสาระของหลักสูตรสถานศึกษาตามหลักการ จุดหมายของหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐานกำหนด เพอ่ื ตอบสนองตอความตองการในสวนท่เี กยี่ วกบั สภาพปญหาในชุมชน
และสงั คม ภูมิปญ ญาทองถิ่น คุณลกั ษณะที่พึงประสงค เพื่อใหเยาวชนเปนสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน
สังคมแลประเทศชาติ

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่กำหนดไวในเอกสารนีช้ ว ยทำใหหนวยงานที่เกี่ยวของในทุกระดับ
เหน็ ผลคาดหวังที่ตอ งการในการพฒั นาการเรียนรูของผเู รยี นทชี่ ัดเจนตลอดแนวซงึ่ จะสามารถชวยใหหนว ยงาน
ท่ีเกี่ยวของในระดับทองถิ่นและสถานศึกษารวมกันพัฒนาหลักสูตรไดอ ยางมั่นใจ ทำใหการจัดทำหลกั สูตรใน
ระดับสถานศึกษามีคณุ ภาพและมีความเปนเอกภาพยิ่งขึ้น อีกทั้งยังชวยใหเกิดความชัดเจนเรื่องการวัดและ
ประเมนิ ผลการเรียนรูและชวยแกป ญหาการเทยี บโอนระหวางสถานศึกษา ดังน้ัน ในการพฒั นาหลกั สูตรในทุก
ระดับตัง้ แตระดบั ชาติจนกระทัง่ ถึงสถานศึกษา จะตอ งสะทอนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรูและตวั ชี้วัดท่ี
กำหนดไวในหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน รวมทั้งเปนกรอบทิศทางในการจัดการศกึ ษาทุกรูปแบบ
และครอบคลุมผูเรยี นทุกกลุมเปาหมายในระดบั การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน การจดั หลักสูตรการศึกษาขั้นพน้ื ฐานจะ
ประสบความสำเรจ็ ตามเปาหมายที่คาดหวังได ทุกฝายที่เกีย่ วของทั้งระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคล
ตองรวมรับผิดชอบ โดยรวมกันทำงานอยางเปนระบบ และตอเนื่อง ในการวางแผน ดำเนินการ สงเสริม
สนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรบั ปรุงแก๎ไข เพอื่ พัฒนาเยาวชนของชาตไิ ปสูคณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนรู
ทก่ี ำหนดไว

วสิ ัยทัศนข องหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน
หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน มงุ พฒั นาผูเ รียนทุกคน ซงึ่ เปน กำลังของชาตใิ หเ ปนมนุษย ที่

มีความสมดุลท้งั ดานราํ งกาย ความรู คณุ ธรรม มจี ิตสำนึกในความเปนพลเมืองไทยและเปนพลโลก ยดึ มนั่ ใน
การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ท รงเปน ประมขุ มีความรูและทักษะพืน้ ฐาน รวมทั้ง
เจตคติ ทจี่ ำเปน ตอการศึกษาตอ การประกอบอาชพี และการศกึ ษาตลอดชวี ิต โดย มงุ เนนผูเรยี นเปน สำคญั บน
พื้นฐานความเชอ่ื วาทกุ คนสามารถเรยี นรูและพัฒนาตนเองไดเ ตม็ ตามศักยภาพ โรงเรยี นทับโพธ์พิ ัฒนวทิ ย มี
วสิ ัยทัศน ดังนี้

วิสยั ทัศนโ รงเรยี นทับโพธิ์พัฒนวิทย (Vision)
“โรงเรยี นทับโพธิ์พฒั นวิทย มุงพัฒนาการเรยี นรู สูคณุ ภาพวถิ ีใหม วิถีพอเพยี ง”

พันธกิจ(MISSION)
1. จัดกระบวนการเรียนรยู ดึ ผูเรียนเปน สำคญั พัฒนาเต็มตามศกั ยภาพของแตละบุคคล ดวยการจดั

กจิ กรรมอยา งหลายหลาย ผานกระบวนการคดิ และปฏิบตั จิ รงิ สามารถนำไปประยุกตใ ชในชีวิตไดแ ละบูรณการ
สหู ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

2. จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนับสนนุ การบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู
3. สงเสรมิ และสนับสนุนใหส ถานศกึ ษาบรหิ ารจดั การโดยใชโ รงเรียนเปนฐาน
อัตลกั ษณ (Identity)
“ทกั ษะอาชีพดี มีวิถพี อเพียง” (Good vocational skills, sufficient methods)

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธ์ิพฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรับปรงุ 2565)

ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 4

เอกลักษณ (Unique)
“ศลิ ปะดนตรีพ้ืนเมือง” ( Indigenous music art )

ปรชั ญา (Philosophy)
“คณุ ธรรมนำความรู สวู ิถีพอเพยี ง”

คตพิ จนของโรงเรยี น
วริ ิเยน ทุกขฺ มจเฺ จต.ิ

บคุ คลจะลวงทุกขได เพราะความเพยี ร

เปาประสงค (OBJECTIVE)
1. นกั เรียนมคี ณุ ภาพชีวิต ทดี่ ี ใชเทคโนโลยเี ปน สอ่ื ในการเรียนรพู ัฒนาตนเองใหมีคณุ ภาพตาม

มาตรฐาน และเปนผูท ี่มีคณุ ธรรมจริยธรรมอนั พึงประสงค มีวัฒนธรรมในการดำเนนิ ชวี ติ ตามหลกั ปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง

2. ครูเปน ผมู ีความรคู วามสามารถในการจดั การเรียนการสอน และ การทำงานท่ีมีประสิทธิ ภาพ
โดยใชเ ทคโนโลยี เปน เครื่องมือในการขับเคล่อื น พรอมทั้งนำ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงบูรณาการสู
การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนทุกกลมุ สาระการเรยี นรู

3. ผบู รหิ ารมีความคดิ ริเรมิ่ และเปนผูนำทางวิชาการ มกี ารบรหิ ารทมี่ ีประสทิ ธิผล และผเู ก่ยี วขอ งพงึ
พอใจ โดยเนน การบริหารจัดการโดยใชโรงเรยี นเปนฐาน นำเทคโนโลยีมาใชป ฏบิ ัตงิ านใหเปนระบบ ลดข้นั ตอน
และมคี วามโปรง ใสตรวจสอบได

4. ชุมชนมคี วามพงึ พอใจในการใชบ ริการจากโรงเรยี น และมสี ว นรวมในการจัดการศกึ ษา
ผลผลติ ของสถานศึกษา

ผลผลติ ที่ 1. นักเรียนจบการศกึ ษาภาคบงั คบั หลักสูตรการศึกษา ตามเกณฑท่ีสถานศึกษากำหนด
ผลผลติ ท่ี 2. นกั เรียนจบการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐานหลักสูตรการศกึ ษา ตามเกณฑท่ีสถานศึกษากำหนด
ตัวชวี้ ัดความสำเร็จ
1. รอยละของนักเรยี นที่จบการศึกษาภาคบงั คบั ตามเกณฑท่ีสถานศึกษากำหนด
2. รอยละของนักเรียนที่จบการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐานตามเกณฑท ี่สถานศึกษากำหนด
3. รอ ยละของนักเรียนที่เขา รวมการแขงขันทักษะความรู ความสามารถทางวิชาการ นวัตกรรมและ
เทคโนโลยี
4. ระดับคะแนนเฉลยี่ (GPA) ของสถานศึกษาและคาํ เฉลี่ยของคะแนนการทดสอบระดบั ชาติ (O-net)
5. ระดับความพงึ พอใจของนักเรยี น ผูป กครองและชุมชนตอการใหบรกิ ารทางการการศึกษาของ
สถานศกึ ษา
7. รอยละของครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาทีม่ สี มรรถนะเหมาะสมกับการจดั การศึกษา

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธพิ์ ัฒนวทิ ย (ฉบบั ปรับปรุง 2565)

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ 2560) ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 5

เปาหมายความสำเรจ็
1. นักเรียนจบการศึกษาภาคบงั คบั ไมนอ ยกวารอ ยละ 98
2. นกั เรียนจบการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ไมนอยกวา รอยละ 98
3. นกั เรยี นทเ่ี ขารวมแขงขนั ความรู ความสามารถทางวชิ าการ นวตั กรรมและเทคโนโลยี ไมน อยกวา
รอยละ 70
4. ระดบั คะแนนเฉลยี่ (GPA) ของนักเรยี นทกุ ระดบั ช้ันไมนอยกวา 80 และคาํ เฉลี่ยของคะแนนการ
ทดสอบระดับชาติ ไมนอยกวาคาเฉลยี่ ระดับเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา
5. ระดับความพงึ พอใจของนักเรยี น ผูปกครองและชมุ ชนตอผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นและคณุ ลักษณะ
อันพงึ ประสงคใ นระดบั ดีมาก ไมน อยกวารอยละ 80
7. ครแู ละบุคลากรทางการศึกษามีสมรรถนะเหมาะสมกับการจัดการเรียนการสอนหลักสตู ร
สถานศึกษาไมนอ ยกวารอยละ 80
8. รอยละของงาน/โครงการตามแผนปฏิบตั กิ ารประจำปทีม่ ีผลการประเมินตัวชี้วัดความสำเร็จใน
ระดับดีมาก

หลกั การ
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนทับโพธิ์พฒั นวิทย พทุ ธศักราช 2565 หลักการท่ีสำคญั ดงั นี้
1. เปนหลักสูตร ทีม่ ีจุดหมายและมาตรฐานการเรยี นรู เพื่อพัฒนาผเู รียนใหมคี วามรู ทักษะ เจตคติ

และ คณุ ธรรมบนพ้ืนฐานของความเปน ไทยควบคูกับความเปนสากล มีศักยภาพเปนพลโลก
2. เปนหลักสตู รเพือ่ ปวงชน ทปี่ ระชาชนทุกคนมีโอกาสไดรบั การศกึ ษาอยา งเสมอภาคและมีคุณภาพ
3. เปนหลักสูตรทส่ี นองการกระจายอำนาจ ใหชุมชนมสี ว นรว มในการจดั การศกึ ษา ใหส อดคลอ งกับ

สภาพความตองการของทองถิ่นและมีความเปน สากล
4. เปน หลักสูตรทมี่ โี ครงสรางยดื หยุนท้ังดานสาระการเรยี นรู เวลาและการจัดการเรยี นรู
5. เปนหลักสูตรท่ีเนน ผูเรียนสำคัญทีส่ ุด

จุดมุงหมาย
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธิ์พัฒนวิทย พุทธศกั ราช 2565 มงุ พัฒนาผูเรยี นใหเ ปนคนดี มี

ความรู มีปญญามีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาตอ และประกอบอาชพี จงึ กำหนดเปนจดุ หมาย ดงั นี้
1. นกั เรยี นเปน เด็กดี มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และคาํ นยิ มทพ่ี ึงประสงค เห็นคุณคาของตนเอง มวี นิ ัย

และปฏิบัตติ นตามหลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาทตี่ นนับถือ ยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
2. นักเรียนมคี วามรู ความสามารถ และทกั ษะ ในการคดิ วิเคราะห สังเคราะห การแกปญ หา การใช

เทคโนโลยี มีทกั ษะชีวิต และสื่อสาร ภาษาตางประเทศพน้ื ฐานอยางถูกตอ งและเหมาะสม
3. มีความเปนเลศิ ทางวชิ าการ และเช่ียวชาญวิชาชีพ ทำงานรว มกบั ผูอ่ืนได
4. มที กั ษะในการแสวงหาความรูด วยตนเอง และเปนบคุ คลแหงการเรยี นรู
5. สามารถคน ควา ขาวสาร ขอมูลจากแหลง เรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการสอื่ สารและ

คอมพวิ เตอร
6. มสี ุขภาพกายและสขุ ภาพจิตที่ดี มสี ขุ นิสยั และรักการออกกำลังกาย
7. มคี วามรักชาติ มจี ติ สำนึกในความเปน พลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวถิ ชี วี ิตและการปกครอง

ตามระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ทรงเปน ประมุข

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธิ์พฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรุง 2565)

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ 2560) ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 6

8. มจี ติ สำนึกในการอนุรกั ษวัฒนธรรมและภูมปิ ญญาไทย การอนรุ ักษและพฒั นาสิ่งแวดลอ ม มีจติ
สาธารณะทม่ี ุงทำประโยชน สรางสรรคส ิ่งที่ดีงามเพ่ือสังคม และอยรู วมกันในสงั คมอยางมีความสุข

สมรรถนะสำคญั ของผเู รยี น
หลักสูตรโรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย มุงพัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู ซึ่งการ

พฒั นาผเู รยี นใหบ รรลุมาตรฐานการเรยี นรทู ี่กำหนดนั้น จะชวยใหผูเรยี นเกดิ สมรรถนะสำคัญ
5 ประการ ดังนี้

1. ความสามารถในการสื่อสาร เปนความสามารถในการรับและสงสาร มีวัฒนธรรมในการใช
ภาษาถายทอดความคิด ความรู ความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร
และประสบการณอนั จะเปน ประโยชนต อ การพฒั นาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาตอ รอง เพือ่ ขจดั และลด
ปญหาความขัดแยงตา ง ๆ การเลอื กรับหรือไมร ับขอมลู ขาวสารดว ยหลักเหตผุ ลและความถูกตอง ตลอดจนการ
เลือกใชว ิธีการส่อื สารท่ีมีประสิทธิภาพ โดยคำนึงถงึ ผลกระทบทม่ี ตี อ ตนเองและสังคม

2. ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการวเิ คราะห การคิดสังเคราะห การคดิ
อยางสรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพื่อนำไปสูการสรางองคความรูหรือ
สารสนเทศเพือ่ การตัดสินใจเก่ียวกับตนเองและสงั คมไดอยา งเหมาะสม

3. ความสามารถในการแกปญ หาเปน ความสามารถในการแกปญหา และอปุ สรรคตา งๆ
ที่เผชิญไดอยางถูกตองเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจ
ความสัมพันธและการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณตางๆในสังคม แสวงหาความรู ประยกุ ตความรูมาใชในการ
ปอ งกันและแกไขปญ หาและมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นตอตนเอง สังคม
และสิง่ แวดลอม

4. ความสามารถในการใชทกั ษะชีวิต เปนความสามารถในการนำกระบวนการตางๆ ไปใช
ในการดำเนนิ ชวี ติ ประจำวัน การเรียนรูด ว ยตนเองการเรียนรูอ ยา งตอ เนอ่ื ง การทำงาน และการอยรู ว มกนั ใน
สังคมดวยการสรา งเสรมิ ความสัมพันธอ ันดรี ะหวางบุคคล การจัดการปญ หาและความขัดแยง ตา งๆ อยาง
เหมาะสม การปรับตัวใหทันตอการเปล่ยี นแปลงของสงั คมและสภาพแวดลอ มและการรูจักหลกี เล่ียง
พฤติกรรมไมพึงประสงคท ส่ี ง ผลกระทบตอตนเองและผูอ่นื

๕. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลอื กและใชเทคโนโลยตี างๆ และมี
ทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพอื่ การพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการเรยี นรู การสอื่ สาร การ
ทำงาน การแกปญหาอยา งสรา งสรรค ถูกตอง เหมาะสมและมคี ุณธรรม
คุณลักษณะอันพงึ ประสงค

หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน มุงพฒั นาผูเ รยี นใหมีคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค เพื่อให
สามารถอยูรวมกับบคุ คลอืน่ ในสงั คมไดอยางมคี วามสขุ ในฐานะเปนพลเมืองไทยและพลโลก ดังน้ี

1. รักชาติ ศาสน กษัตริย หมายถึง คณุ ลกั ษณะท่ีแสดงออกถงึ การเปน พลเมืองดีของชาตธิ ำรงไวซ่งึ
ความเปนชาตไิ ทย ศรัทธา ยดึ มัน่ ในศาสนา และเคารพเทดิ ทนู สถาบนั พระมหากษตั ริย

2. ซ่อื สัตยสุจริต หมายถงึ คุณลกั ษณะทแี่ สดงออกถึงการยึดม่ันในความถกู ตอง ประพฤติ ตรงตาม
ความเปนจรงิ ตอ ตนเองและผูอืน่ ทงั้ ทางกาย วาจา ใจ

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธิ์พัฒนวทิ ย (ฉบับปรับปรุง 2565)

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ 2560) ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 7

3. มวี ินยั หมายถึง คณุ ลักษณะทแ่ี สดงออกถึงการยดึ มน่ั ในขอตกลง กฎเกณฑ และระเบียบ
ขอ บงั คับของครอบครัว โรงเรียน และสงั คม

4. ใฝเรยี นรู หมายถงึ คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความต้ังใจ เพยี รพยายาม ในการเรียน แสวงหา
ความรจู ากแหลง เรยี นรูท้ังภายในและภายนอกโรงเรยี น

5. อยูอยา งพอเพยี ง หมายถงึ คณุ ลักษณะท่ีแสดงออกถึงการดำเนินชีวิต อยา งพอประมาณ มี
เหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม มีภูมิคมุ กนั ในตัวทด่ี ี และปรบั ตวั เพ่ืออยใู นสังคมไดอยา งมคี วามสขุ

6. มงุ มั่นในการทำงาน หมายถึง คุณลกั ษณะที่แสดงออกถึงความต้ังใจ และรับผิดชอบในการทำ
หนา ท่ีการงาน ดว ยความเพียรพยายาม อดทน เพื่อใหงานสำเรจ็ ตามเปาหมาย

7. รกั ความเปน ไทย หมายถึง คณุ ลกั ษณะทแี่ สดงออกถึงความภาคภูมใิ จ เห็นคุณคา รว มอนรุ กั ษ
สืบทอดภูมิปญ ญาไทย ขนบธรรมเนยี มประเพณี ศลิ ปะและวฒั นธรรม ใชภาษาไทยในการส่อื สาร
ไดอ ยา งถกู ตอ งและเหมาะสม

8. มีจติ สาธารณะ หมายถงึ คุณลักษณะที่แสดงออกถงึ การมีสว นรว มในกจิ กรรมหรือสถานการณที่
กอใหเ กดิ ประโยชนแ กผ ูอ ืน่ ชมุ ชน และสงั คม ดว ยความเต็มใจ กระตือรือรน โดยไมหวงั
ผลตอบแทน

คณุ ลักษณะผเู รยี นในศตวรรษ 21
หลกั สูตรโรงเรียนมุงพฒั นาผูเรยี นในฐานะพลเมอื งไทยและพลโลก โดยมุงหวังใหคณุ ภาพผเู รยี นมี

ความสมั พนั ธส อดคลอ งและสงเสรมิ ตอ ยอดผเู รยี นใหมีศกั ยภาพเปนพลโลก ดังน้ี
1. ใฝร ูใฝเรยี น
2. มภี ูมิรู
3. รจู ักใชว ิจารณญาณ
4. เปน นักคดิ
5. สามารถสือ่ สารได
6. มรี ะเบียบวินยั
7. ใจกวา ง
8. รอบคอบ
9. กลา ตดั สินใจ
10. ยตุ ิธรรม

คานยิ มหลักของคนไทย 12 ประการ ตามนโยบายของ คสช.
1. มคี วามรักชาตศิ าสนา พระมหากษตั ริย
2. ซอ่ื สัตยเสยี สละ อดทน มีอุดมการณใ นสง่ิ ที่ดีงามเพือ่ สว นรวม
3. กตญั ตู อ พอแมผูปกครอง ครบู าอาจารย
4. ใฝห าความรูหมั่นศกึ ษาเลาเรียน ท้ังทางตรงและทางออม
5. รกั ษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม
6. มีศลี ธรรม รกั ษาความสตั ยหวังดีตอผูอ ืน่ เผอื่ แผแ ละแบงปน
7. เขาใจเรียนรูก ารเปนประชาธปิ ไตย อนั มีพระมหากษตั ริยทรงเปน ประมขุ ที่ถูกตอง

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธิ์พัฒนวทิ ย (ฉบับปรับปรงุ 2565)

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรับปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 8

8. มีระเบยี บวนิ ยั เคารพกฎหมาย ผูน อ ยรจู ักการเคารพผูใหญ
9. มีสติรูตัว รคู ิด รทู ำรูปฏิบัตติ ามพระราชดำรสั ของพระบาทสมเด็จพระเจา อยหู ัว
10. รูจักดำรงตนอยูโดยใชหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเดจ็ พระ
เจาอยหู ัว รูจ ักอดออมไวใชเมื่อยามจำเปน ใหพอกินพอใช ถา เหลอื ก็แจกจา ยจำหนา ยและพรอมท่ีจะ ขยาย
กจิ การเม่ือมีความพรอม เมื่อมีภูมิคุมกันทีด่ ี
11. มคี วามเขม แข็งทัง้ รา งกาย และจติ ใจ ไมยอมแพตออำนาจฝายต่ำ หรือกเิ ลส มีความละอาย
ตอ บาปตามหลักของศาสนา
12. คำนงึ ถงึ ผลประโยชนของสวนรวมและของชาตมิ ากกวาผลประโยชนข องตนเอง

หลักสูตรตา นทจุ รติ ศกึ ษา
สำนักงานคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตแหงชาติ (ป.ป.ช.) รว มกบั สำนักงาน

คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ไดจ ัดทำหลักสูตรตานทุจรติ ศึกษาสำหรับใชในทกุ ระดบั การศึกษา
ในสว นของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานไดจดั ทำหลักสูตรตานทุจรติ ศึกษา รายวิชาเพ่มิ เติม
“การปองกนั การทจุ รติ ” ขึ้น และคณะรัฐมนตรีมีมติเหน็ ชอบหลักสูตรตา นทุจริตศึกษา เมอ่ื วันท่ี 22
พฤษภาคม 2561 และใหห นวยงานที่เก่ยี วของนำหลกั สตู รตานทจุ ริตศึกษาไปปรบั ใชในการจัดการเรยี นการ
สอนในสถานศึกษาโดยมงุ เนน การสรางความรูค วามเขา ใจทถี่ กู ตองเกีย่ วกับความหมายและขอบเขตของการ
กระทำทุจริตในลกั ษณะตา ง ๆ ทั้งทางตรงและทางออม ความเสยี หายทเ่ี กดิ จากการทุจริต ความสำคญั ของการ
ตอ ตานการทจุ ริต รวมทง้ั จดั ใหมีการประเมนิ ผลสัมฤทธข์ิ องการจดั หลกั สูตรในแตล ะชว งวัยของผูเรยี นดว ย
หลักสตู รตานทุจริตศกึ ษา (Anti – Corruption Education) รายวิชาเพิม่ เตมิ “การปองกันการทจุ ริต”
ประกอบดว ย 4 หนว ยการเรียนรู ไดแ ก

1. การคดิ แยกแยะระหวางผลประโยชนส ว นตนและผลประโยชนส วนรวม
2. ความละอายและความไมท นตอการทจุ รติ
3. STRONG : จิตพอเพยี งตานทจุ รติ
4. พลเมอื งกบั ความรับผดิ ชอบตอสังคม ทีส่ ถานศึกษาจัดใหกบั ผูเรียนเพ่ือปลกู ฝงและปองกันการ
ทุจริตไมใหเ กดิ ขึน้ โดยเรม่ิ ปลูกฝง ผูเรียนต้งั แตชน้ั ปฐมวยั จนถึงชนั้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 6 ใหมคี วามรูความเขา ใจ มี
ทกั ษะกระบวนการ มีสมรรถนะทส่ี ำคัญ และมีคณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค

มาตรฐานการเรียนรู
การพฒั นาผเู รยี นใหเกิดความสมดลุ ตองคำนงึ ถงึ หลักพัฒนาการทางสมองและพหปุ ญ ญา หลกั สูตร

แกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน จึงกำหนดใหผูเรียนเรียนรู 8 กลมุ สาระการเรียนรู ดังน้ี
1. ภาษาไทย
2. คณิตศาสตร
3. วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
4. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
5. สุขศกึ ษาและพลศึกษา
6. ศลิ ปะ

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธ์พิ ฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรุง 2565)

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 9

7. การงานอาชพี
8. ภาษาตา งประเทศ

ในแตล ะกลุมสาระการเรยี นรไู ดก ำหนดมาตรฐานการเรยี นรเู ปนเปา หมายสำคญั ของการพฒั นา
คณุ ภาพผเู รียน มาตรฐานการเรียนรรู ะบุส่ิงทผ่ี เู รยี นพึงรู ปฏิบัตไิ ด มคี ณุ ธรรมจริยธรรม และคํานยิ มที่พึง
ประสงคเ ม่อื จบการศึกษาขน้ั พื้นฐาน นอกจากนั้นมาตรฐานการเรียนรูยังเปน กลไกสำคัญ ในการขบั เคลอื่ น
พฒั นาการศกึ ษาท้ังระบบ เพราะมาตรฐานการเรยี นรูจ ะสะทอ นใหทราบวาตองการอะไร จะสอนอยา งไร และ
ประเมนิ อยา งไร รวมทงั้ เปน เครื่องมือในการตรวจสอบเพื่อการประกนั คุณภาพการศึกษาโดยใชระบบการ
ประเมนิ คุณภาพภายในและการประเมนิ คุณภาพภายนอก ซ่ึงรวมถึงการทดสอบระดบั เขตพื้นที่การศกึ ษา และ
การทดสอบระดับชาติ ระบบการตรวจสอบเพื่อประกันคุณภาพดังกลา วเปนส่งิ สำคญั ทชี่ วยสะทอนภาพการจดั
การศึกษาวาสามารถพัฒนาผูเ รียนใหมคี ณุ ภาพตามทีม่ าตรฐานการเรยี นรกู ำหนดเพยี งใด

ตวั ชีว้ ดั

ตัวชีว้ ัดระบุสิ่งทนี่ กั เรยี นพึงรูและปฏิบตั ไิ ด รวมท้ังคุณลักษณะของผเู รียนในแตล ะระดบั ช้นั ซ่ึงสะทอ น
ถงึ มาตรฐานการเรียนรู มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเปนรูปธรรม นำไปใช ในการกำหนดเน้อื หา จดั ทำ
หนวยการเรยี นรู จัดการเรียนการสอน และเปนเกณฑส ำคญั สำหรบั การวัดประเมนิ ผลเพอ่ื ตรวจสอบคณุ ภาพ
ผเู รยี น

1 . ตวั ชีว้ ดั ชัน้ ป เปน เปา หมายในการพัฒนาผเู รียนแตละชน้ั ปในระดบั การศกึ ษาภาคบังคับ
(ประถมศึกษาปท ี่ 1 - มัธยมศึกษาปท ่ี 3)

2 . ตวั ชวี้ ัดชว งชั้น เปน เปาู หมายในการพฒั นาผเู รียนในระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย
(มัธยมศกึ ษาปท ี่ 4-6)

หลักสตู รไดม กี ารกำหนดรหัสกำกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวดั เพือ่ ความเขาใจและใหสือ่ สาร
ตรงกัน ดังน้ี

ว 1.1 ป.1/2 ป.1/2

ตัวช้ีวัดชนั้ ประถมศึกษาปท่ี 1 ขอที่ 2
1.1 สาระที่ 1 มาตรฐานขอที่ 1
ว กลมุ สาระการเรยี นรู๎วทิ ยาศาสตร

ต 2.2 ม.4-6/ 3

ม.4-6/3 ตัวชวี้ ดั ช้ันมธั ยมศึกษาตอนปลาย ขอที่ 3
2.2 สาระที่ 2 มาตรฐานขอ ที่ 2
ต กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธิพ์ ฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรุง 2565)

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ 2560) ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 10

ความสัมพันธข องการพฒั นาคณุ ภาพผเู รียนตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน

วสิ ัยทัศน
หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน มุง พัฒนาผูเรียนทกุ คน ซ่งึ เปนกำลังของชาตใิ หเปน มนษุ ย ท่ีมี
ความสมดุลท้งั ดานรางกาย ความรู คุณธรรม มจี ติ สำนึกในความเปน พลเมอื งไทยและเปนพลโลก ยึดม่นั ในการ
ปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ทรงเปนประมุข มคี วามรแู ละทกั ษะพ้นื ฐาน รวมทัง้ เจตคติ ท่ี
จำเปนตอ การศกึ ษาตอ การประกอบอาชพี และการศกึ ษาตลอดชวี ิต โดยมุง เนน ผูเ รยี นเปน สำคัญบนพนื้ ฐาน ความ
เชือ่ วา ทกุ คนสามารถเรียนรแู ละพฒั นาตนเองไดเต็มตามศักยภาพ

จุดหมาย
1. มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และคาํ นยิ มทีพ่ ึงประสงค เห็นคณุ คาํ ของตนเอง มีวนิ ัยและปฏิบตั ติ นตามหลกั ธรรมของ
พระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาท่ีตนนับถอื ยดึ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
2. มีความรอู ันเปนสากลและมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแกปญหา การใชเทคโนโลยีและมีทกั ษะ
ชวี ิต
3. มีสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ ท่ีดี มสี ุขนสิ ัย และรักการออกกำลังกาย
4. มีความรกั ชาติ มีจติ สำนกึ ในความเปนพลเมืองไทยและพลโลก ยดึ มน่ั ในวิถีชวี ิตและการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ทรงเปนประมุข
5. มีจติ สำนกึ ในการอนรุ กั ษวัฒนธรรมและภมู ปิ ญ ญาไทย การอนรุ กั ษแ ละพัฒนาสงิ่ แวดลอม
จิตสาธารณะท่ีมุงทำประโยชนแ ละสรางสิ่งท่ีดีงามในสงั คม และอยูรว มกันในสังคมอยางมคี วามสขุ

สมรรถนะสำคญั ของผูเรยี น คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค
1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 1. รักชาตศิ าสน กษัตริย 2. ซอื่ สตั ยส จุ รติ
2. ความสามารถในการคิด 3. มีวนิ ัย 4. ใฝเรียนร๎ู
3. ความสามารถในการแกปญหา 5. อยูอยางพอเพียง 6. มุงมน่ั ในการทำงาน
4. ความสามารถในการใชท กั ษะชวี ติ 7. รักความเปนไทย 8 . มีจติ สาธารณะ
5. ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี

มาตรฐานการเรยี นรูและตัวชี้วดั 8 กลุมสาระการเรยี นรู กจิ กรรมพฒั นาผูเ รยี น
1. ภาษาไทย 2 . คณิตศาสตร 3. วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 1. กิจกรรมแนะแนว
4. สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 5. สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 2. กจิ กรรมนกั เรยี น
6. ศิลปะ 7. การงานอาชีพ 8 . ภาษาตางประเทศ 3. กิจกรรมเพือ่ สังคม
และ

คุณภาพของผเู รียน
ระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธพ์ิ ฒั นวทิ ย (ฉบับปรับปรงุ 2565)

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 11

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู

หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานกำหนดมาตรฐานการเรียนรูใน 8 กลมุ สาระการเรียนรู
จำนวน 57 มาตรฐาน ดงั น้ี
กลมุ สาระการเรียนรูภาษาไทย
สาระท่ี 1 การอา น

มาตรฐาน ท 1.1 ใชกระบวนการอานสรา งความรแู ละความคดิ เพื่อนนำไปใชตัดสนิ ใจ แกปญหาใน
การดำเนินชีวติ และมีนสิ ยั รกั การอาน
สาระที่ 2 การเขียน

มาตรฐาน ท 2.1 ใชกระบวนการเขียน เขยี นสื่อสาร เขยี นเรยี งความ ยอความ และเขยี นเรอื่ งราวใน
รูปแบบ ตางๆ เขยี นรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธภิ าพ
สาระที่ 3 การฟง การดู และการพูด

มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟงและดูอยํางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคดิ
ความรูสึกในโอกาส ตางๆ อยางมีวิจารณญาณ และสรางสรรค
สาระที่ 4 หลักการใชภ าษาไทย

มาตรฐาน ท 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลง ของภาษาและพลัง
ของภาษา ภมู ิปญญาทางภาษา และรักษา ภาษาไทยไวเปนสมบตั ขิ องชาติ
สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม

มาตรฐาน ท 5.1 เขาใจและแสดงความคิดเหน็ วจิ ารณว รรณคดี และวรรณกรรมไทยอยางเห็นคณุ คา
และนำมาประยุกตใ ชในชวี ติ จริง

กลุมสาระการเรยี นรคู ณิตศาสตร
สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณติ
มาตรฐาน ค 1.1 เขาใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของ

จำนวน ผลทีเ่ กิดขนึ้ จากากรดำเนนิ การ สมบตั ิของการดำเนินการและการนำไปใช
มาตรฐาน ค 1.2 เขาใจและวิเคราะหแบบรูป ความสมั พนั ธ ฟงกช นั ลำดับและอนกุ รม และนำไปใช
มาตรฐาน ค 1.3 ใชนิพจน สมการ และอสมการ อธบิ ายความสัมพันธ หรือชวยแกปญ หาท่กี ำหนดให
สาระท่ี 2 การวัดและเรขาคณติ
มาตรฐาน ค 2.1 เขาใจพนื้ ฐานเกยี่ วกบั การวัด วดั และคาดคะเนขนาดของสงิ่ ท่ตี อ งการวัดและ

นำไปใช
มาตรฐาน ค 2.2 เขาใจและวิเคราะหร ปู เรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธระหวางรปู

เรขาคณิตและทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำไปใช

สาระท่ี 3 สถติ แิ ละความนา จะเปน
มาตรฐาน ค 3.1 เขาใจกระบวนการทางสถิติ และใชความรูทางสถิติในการแกปญหา
มาตรฐาน ค 3.2 เขาใจหลักการนับเบอ้ื งตน ความนาํ จะเปน และนำไปใช

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธพ์ิ ฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2565)

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 12

กลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
สาระที่ 1 วิทยาศาสตรช วี ภาพ

มาตรฐาน ว 1.1 เขาใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพนั ธระหวางสิง่ ไมมชี ีวิตกับ
สง่ิ มชี วี ิต และความสัมพนั ธระหวางสง่ิ มีชวี ติ กับสิ่งมีชีวิตตาง ๆ ในระบบนเิ วศ การถายทอดพลังงาน การ
เปล่ียนแปลงแทนท่ใี นระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปญ หาและผลกระทบทม่ี ตี อทรพั ยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอม แนวทางในการอนุรกั ษทรพั ยากรธรรมชาติและการแกไขปญหาส่งิ แวดลอม รวมทัง้ นำ
ความสำเรจ็ ไปใชประโยชน

มาตรฐาน ว 1.2 เขาใจสมบัติของสิง่ มีชวี ติ หนวยพื้นฐานของส่งิ มชี ีวติ การลำเลียงสารเขาและออก
จากเซลลค วามสมั พันธข องโครงสราง และหนาท่ขี องระบบตาง ๆ ของสตั วและมนุษยที่ทำงานสัมพันธกนั
รวมท้งั นำความรูไปใชประโยชน

มาตรฐาน ว 1.3 เขาใจกระบวนการและความสำคัญของการถายทอดลักษณะทางพนั ธุกรรม สาร
พันธุกรรม การเปล่ียนแปลงทางพนั ธุกรรมท่มี ผี ลตอส่งิ มชี ีวิต ความหลากหลายทางชวี ภาพและวิวฒั นาการของ
ส่งิ มชี วี ิต รวมท้ังนำความรูไปใชประโยชน
สาระที่ 2 วิทยาศาสตรก ายภาพ

มาตรฐาน ว 2.1 เขาใจสมบัติของสสาร องคประกอบของสสาร ความสัมพันธร ะหวางสมบตั ขิ อง
สสารกับโครงสรา งและแรงยดึ เหนย่ี วระหวางอนภุ าค หลักและธรรมชาติของการเปล่ียนแปลงสถานะของสสาร
การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี

มาตรฐาน ว 2.2 เขาใจธรรมชาตขิ องแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงท่กี ระทำตอวตั ถุ ลักษณะการ
เคล่อื นที่แบบตาง ๆ ของวัตถุ รวมทง้ั นำความรูไปใชประโยชน

มาตรฐาน ว 2.3 เขาใจความหมายของพลังงาน การเปล่ียนแปลงและการถายโอนพลงั งาน
ปฏสิ มั พนั ธระหวางสสารและพลงั งาน พลงั งานในชีวติ ประจำวัน ธรรมชาตขิ องคล่นื ปรากฏการณท ่ีเกี่ยวของ
กับเสยี ง แสง และแมเหลก็ ไฟฟา รวมทงั้ นำประโยชนไปใชประโยชน
สาระที่ 3 วิทยาศาสตรโลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว 3.1 เขาใจองคประกอบ ลกั ษณะ กระบวนการคดิ และวิวฒั นาการของเอกภพ กาแล็กซี
ดาวฤกษและระบบสุริยะ รวมทงั้ ปฏสิ มั พนั ธภายในระบบสรุ ิยะท่สี งผลตอ สิ่งมชี วี ติ และการประยุกตใช
เทคโนโลยีอวกาศ

มาตรฐาน ว 3.2 เขาใจองคประกอบและความสัมพันธข องระบบโลก กระบวนการเปล่ียนแปลง
ภายในโลก และบนผวิ โลก ธรณพี บิ ตั ิภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟา อากาศและภมู ิโลก รวมทงั้ ผลตอชีวิต
และสง่ิ แวดลอม
สาระที่ 4 เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว 4.1 เขาใจแนวคดิ หลักของเทคโนโลยีเพ่ือการดำรงชวี ติ ในสงั คมท่ีมีการเปล่ยี นแปลง
อยางรวดเร็ว ใชความรูและทักษะทางดานวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตรและศาสตรอืน่ ๆ เพอ่ื แกปญ หาหรอื พฒั นา
งานอยางมคี วามคดิ สรางสรรคด วยกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม เลือกใชเทคโนโลยอี ยางเหมาะสมโดย
คำนึงถึงผลกระทบตอชวี ิต สังคม และสงิ่ แวดลอ ม

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธพ์ิ ัฒนวทิ ย (ฉบบั ปรับปรุง 2565)

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 13

มาตรฐาน ว 4.2 เขาใจและใชแ นวคิดเชงิ คำนวณในการแกปญ หาทพ่ี บในชีวติ จรงิ อยาํ งเปนข้นั ตอน
และเปนระบบ ใชเทคโนโลยีสารสรเทศและการสอ่ื สารในการเรยี นรูการทำงาน และการแกปญ หาไดอยางมี
ประสทิ ธภิ าพ รูเทาทนั และมีจริยธรรม

กลุม สาระการเรียนรสู ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม

มาตรฐาน ส 1.1 รู และเขาใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาหรือ
ศาสนาท่ตี นนับถือและศาสนาอน่ื มีศรทั ธาท่ถี กู ตอง ยึดม่นั และปฏิบัตติ ามหลกั ธรรม เพื่ออยูรว มกันอยางสันติ
สขุ

มาตรฐาน ส 1.2 เขาใจ ตระหนักและปฏิบตั ิตนเปนศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษาพระพุทธศาสนา
หรือศาสนาทีต่ นนับถือ
สาระที่ 2 หนาที่พลเมอื ง วัฒนธรรม และการด าเนินชวี ิตในสงั คม

มาตรฐาน ส 2.1 เขาใจและปฏิบตั ติ นตามหนาที่ของการเปนพลเมอื งดี มคี ํานยิ มทดี่ ีงาม และธำรง
รกั ษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวติ อยูรว มกนั ในสงั คมไทย และ สังคมโลกอยางสนั ติสขุ

มาตรฐาน ส 2.2 เขาใจระบบการเมืองการปกครองในสงั คมปจจุบัน ยดึ มนั่ ศรทั ธา และธำรงรกั ษาไว
ซ่ึงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ท รงเปนประมุข
สาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร

มาตรฐาน ส 3.1 เขาใจและสามารถบรหิ ารจดั การทรพั ยากรในการผลิตและการบรโิ ภค การใช
ทรัพยากรทม่ี ีอยูจำกัดไดอยางมปี ระสิทธภิ าพและคมุ คา รวมทั้งเขาใจหลกั การของเศรษฐกิจพอเพยี ง เพ่ือการ
ดำรงชีวิตอยางมดี ุลยภาพ

มาตรฐาน ส 3.2 เขาใจระบบ และสถาบนั ทางเศรษฐกิจตาง ๆ ความสมั พนั ธทางเศรษฐกิจ และ
ความจำเปนของการรวมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
สาระที่ 4 ประวัติศาสตร

มาตรฐาน ส 4.1 เขาใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยุคสมยั ทางประวตั ศิ าสตร สามารถใช
วิธีการทางประวัติศาสตรมาวิเคราะหเ หตุการณตางๆ อยางเปนระบบ

มาตรฐาน ส 4.2 เขาใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปจจบุ ัน ในดานความสมั พนั ธแ ละ
การเปล่ียนแปลงของเหตุการณอ ยางตอเนือ่ ง ตระหนกั ถึงความสำคญั และสามารถวเิ คราะหผลกระทบที่เกิดขึ้น

มาตรฐาน ส 4.3 เขา ใจความเปน มาของชาติไทย วฒั นธรรม ภมู ิปญญาไทย มีความรักความภูมิใจ
และธำรงความเปน ไทย
สาระที่ 5 ภูมศิ าสตร

มาตรฐาน ส 5.1 เขาใจลกั ษณะของโลกทางกายภาพ และความสมั พนั ธข องสรรพสงิ่ ซึง่ มีผล ตอกัน
ใชแผนที่และเคร่อื งมือทางภูมิศาสตร ในการคนหา วิเคราะห สรปุ และใชขอ มูล ตามกระบวนการทาง
ภูมศิ าสตร ตลอดจนใชภูมิสารสนเทศอยาํ งมีประสิทธภิ าพ

มาตรฐาน ส 5.2 เขาใจปฏสิ ัมพันธร ะหวางมนษุ ยก บั สิ่งแวดลอมทางกายภาพที่กอใหเกิดการ
สรางสรรคว ิถีการดำเนินชีวติ มีจติ สำนกึ ในการจัดการทรพั ยากรทางธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เพื่อการพฒั นา
ท่ยี ่งั ยืน

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธ์พิ ัฒนวทิ ย (ฉบบั ปรับปรงุ 2565)

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 14

กลุม สาระการเรยี นรสู ขุ ศึกษาและพลศึกษา
สาระที่ 1 การเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของมนษุ ย

มาตรฐาน พ 1.1 เขาใจธรรมชาตขิ องการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย
สาระที่ 2 ชีวติ และครอบครัว

มาตรฐาน พ 2.1 เขาใจและเหน็ คุณคาตนเอง ครอบครวั เพศศึกษา และมีทกั ษะในการดำเนินชวี ิต
สาระท่ี 3 การเคลื่อนไหว การออกกำลังกาย การเลนเกม กฬี าไทย และกีฬาสากล

มาตรฐาน พ 3.1 เขา ใจ มีทักษะในการเคลอื่ นไหว กจิ กรรมทางกาย การเลนเกม และกีฬา
มาตรฐาน พ 3.2 รกั การออกกำลงั กาย การเลนเกม และการเลนกีฬา ปฏิบตั ิเปนประจำอยาง
สม่ำเสมอ มวี ินยั เคารพสทิ ธิ กฎ กตกิ า มีน้ำใจนักกีฬา มจี ิตวญิ ญาณในการ แขงขัน และชื่นชมในสนุ ทรยี ภาพ
ของการกีฬา
สาระที่ 4 การสรางเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการปองกนั โรค
มาตรฐาน พ 4.1 เหน็ คณุ คําและมที กั ษะในการสรางเสรมิ สขุ ภาพ การดำรงสุขภาพ การปองกันโรค
และการสรางเสริมสมรรถภาพเพ่ือสุขภาพ
สาระที่ 5 ความปลอดภัยในชีวติ
มาตรฐาน พ 5.1 ปองกันและหลีกเล่ียงปจจยั เสย่ี งพฤติกรรมเสย่ี งตอสขุ ภาพอบุ ัติเหตุ การใชยาสาร
เสพตดิ และความรนุ แรง
กลมุ สาระการเรียนรศู ิลปะ

สาระที่ 1 ทศั นศลิ ป
มาตรฐาน ศ 1.1 สรางสรรคงานทศั นศิลปตามจนิ ตนาการ และความคิดสรางสรรค วเิ คราะห
วพิ ากษ วิจารณคณุ คํางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองานศลิ ปะอยํางอิสระ ชืน่ ชม และ
ประยุกตใ ชในชวี ิตประจำวัน
มาตรฐาน ศ 1.2 เขาใจความสมั พันธร ะหวางทศั นศลิ ป ประวัตศิ าสตร และวฒั นธรรม เหน็ คณุ คา
งานทศั นศิลปทเ่ี ปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถนิ่ ภมู ิปญญาไทยและสากล
สาระที่ 2 ดนตรี
มาตรฐาน ศ 2.1 เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวจิ ารณคณุ ค่ำ
ดนตรี ถา ยทอดความรูสกึ ความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ชน่ื ชม และประยุกตใ ชในชีวิตประจำวัน
มาตรฐาน ศ 2.2 เขา ใจความสมั พนั ธระหวางดนตรี ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคณุ คาของ
ดนตรีทเี่ ปนมรดกทางวฒั นธรรม ภูมปิ ญญาทองถิ่น ภูมปิ ญญาไทยและสากล
สาระที่ 3 นาฏศิลป
มาตรฐาน ศ 3.1 เขาใจ และแสดงออกทางนาฏศิลปอ ยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ วิจารณ
คณุ คานาฏศลิ ปถ ายทอดความรสู กึ ความคดิ อยํางอสิ ระ ชื่นชม และประยุกตใ ชในชวี ติ ประจำวัน
มาตรฐาน ศ 3.2 เขา ใจความสมั พันธร ะหวางนาฏศลิ ป ประวัตศิ าสตรแ ละวฒั นธรรม เหน็ คุณคา ของ
นาฏศิลปท เี่ ปนมรดกทางวฒั นธรรม ภมู ปิ ญ ญาทองถ่ิน ภมู ิปญญาไทยและสากล

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธ์ิพัฒนวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรุง 2565)

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ 2560) ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 15

กลุม สาระการเรยี นรกู ารงานอาชีพ
สาระที่ 1 การดำรงชีวิตและครอบครวั

มาตรฐาน ง 1.1 เขา ใจการทำงาน มีความคดิ สรางสรรค มีทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะ การ
จดั การ ทกั ษะกระบวนการแกปญหา ทกั ษะการทำงานรวมกัน และทักษะ การแสวงหาความรู มคี ุณธรรม และ
ลกั ษณะนสิ ยั ในการทำงาน มีจิตสำนกึ ในการใชพลงั งาน ทรพั ยากร และสิ่งแวดลอม เพื่อการดำรงชวี ิตและ
ครอบครวั
สาระที่ 2 การออกแบบและเทคโนโลยี

มาตรฐาน ง 2.1 เขาใจเทคโนโลยแี ละกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสรางส่ิงของเคร่อื งใช
หรอื วธิ ีการตามกระบวนการเทคโนโลยอี ยางมคี วามคดิ สรางสรรค เลือกใชเทคโนโลยีในทางสรางสรรคต อ ชีวติ
สงั คม สงิ่ แวดลอ ม และมี สวนรวมในการจัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยนื
สาระท่ี 3 เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร

มาตรฐาน ง 3.1 เขา ใจ เห็นคณุ คา และใชกระบวนการเทคโนโลยสี ารสนเทศในการสืบคนขอมลู การ
เรียนรู การส่อื สาร การแกปญ หา การทำงาน และอาชีพอยางมีประสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธผิ ล และมคี ณุ ธรรม
สาระที่ 4 การอาชีพ

มาตรฐาน ง 4.1 เขา ใจ มีทกั ษะที่จำเปน มีประสบการณ เหน็ แนวทางในงานอาชีพ ใชเทคโนโลยเี พือ่
พฒั นาอาชีพ มีคุณธรรม และมีเจตคติท่ดี ีตออาชพี

กลมุ สาระการเรียนรภู าษาตางประเทศ
สาระท่ี 1 ภาษาเพ่อื การสื่อสาร
มาตรฐาน ต 1.1 เขาใจและตีความเร่อื งท่ีฟง และอานจากสื่อประเภทตางๆ และแสดงความคดิ เห็น

อยางมีเหตผุ ล
มาตรฐาน ต 1.2 มที ักษะการส่อื สารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร แสดงความรูสึกและ

ความคดิ เหน็ อยํางมปี ระสิทธิภาพ
มาตรฐาน ต 1.3 นำเสนอขอมูลขาวสาร ความคดิ รวบยอด และความคิดเห็นในเร่อื งตางๆ โดยการ

พดู และการเขียน
สาระท่ี 2 ภาษาและวฒั นธรรม
มาตรฐาน ต 2.1 เขาใจความสมั พันธร ะหวางภาษากบั วัฒนธรรมของเจาของภาษา และน าไปใชได

อยางเหมาะสมกับกาลเทศะ
มาตรฐาน ต 2.2 เขา ใจความเหมอื นและความแตกตางระหวา งภาษาและวัฒนธรรมของเจาของ

ภาษากับภาษาและวฒั นธรรมไทย และนำมาใชอยางถูกตองและเหมาะสม
สาระท่ี 3 ภาษากบั ความสมั พนั ธกับกลุมสาระการเรียนรอู น่ื
มาตรฐาน ต 3.1 ใชภาษาตางประเทศในการเช่ือมโยงความรูกบั กลุมสาระการเรยี นรูอนื่ และเปน

พนื้ ฐานในการพฒั นาแสวงหาความรู และเปดโลกทัศนข องตน
สาระท่ี 4 ภาษากบั ความสัมพนั ธกบั ชมุ ชนและโลก
มาตรฐาน ต 4.1 ใชภาษาตางประเทศในสถานการณต างๆ ทั้งในสถานศกึ ษา ชุมชน และสังคม

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธ์พิ ฒั นวทิ ย (ฉบับปรับปรุง 2565)

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ 2560) ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 16

มาตรฐาน ต 4.2 ใชภาษาตางประเทศเปน เคร่ืองมือพ้นื ฐานในการศึกษาตอ การประกอบอาชพี และ
การแลกเปลีย่ นเรยี นรูกับสงั คมโลก

กิจกรรมพัฒนาผเู รยี น
กจิ กรรมพฒั นาผูเรียน มุงใหผูเรยี นไดพ ัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอยางรอบดานเพอื่ ความเปน

มนษุ ยท ี่สมบูรณ ทง้ั รางกาย สตปิ ญญา อารมณ และสงั คม เสรมิ สรางใหเปนผูมีศลี ธรรม จรยิ ธรรม มีระเบยี บ
วนิ ัยปลกู ฝงและสรางจติ สำนึกของการทำประโยชนเพ่ือสังคม สามารถจดั การตนเองได และอยูรว มกบั ผูอ่ืน
อยางมีความสขุ
กิจกรรมพฒั นาผูเรยี น แบงเปน 3 ลักษณะ ดังนี้
1. กิจกรรมแนะแนว

เปนกิจกรรมท่ีสงเสริมและพัฒนาผูเรียนใหรจู กั ตนเอง รูรักษส ิ่งแวดลอ ม สามารถคิดตดั สนิ ใจ คิด
แกปญหา กำหนดเปาหมาย วางแผนชีวติ ทง้ั ดานการเรยี น และอาชีพ สามารถปรับตนไดอยางเหมาะสม
นอกจากนยี้ ังชวยใหค รูรจู กั และเขาใจผูเรยี น ท้ังยังเปน กิจกรรมท่ีชวยเหลอื และใหคำปรกึ ษาแกผูปกครองใน
การมีสวนรว มพฒั นาผูเรียน
2. กิจกรรมนกั เรียน

เปน กิจกรรมทีม่ ุงพัฒนาความมรี ะเบยี บวนิ ัย ความเปนผูนำผูตามทดี่ ี ความรับผิดชอบ การทำงาน
รว มกัน การรูจักแกปญ หา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมีเหตผุ ล การชวยเหลอื แบงปนกัน เอื้ออาทร และ
สมานฉันท โดยจดั ใหสอดคลอ งกับความสามารถ ความถนดั และความสนใจของผูเรียน ใหไดป ฏบิ ัตดิ ว ยตนเอง
ในทกุ ข้ันตอน ไดแก การศึกษาวเิ คราะหวางแผน ปฏิบตั ติ ามแผน ประเมินและปรับปรุงการทำงาน เนนการ
ทำงานรว มกันเปนกลุม ตามความเหมาะสมและสอดคลองกับวุฒภิ าวะของผูเรยี น บรบิ ทของสถานศึกษาและ
ทองถน่ิ กิจกรรมนักเรียนประกอบดวย

2.1 กิจกรรมลูกเสอื เนตรนารี ยวุ กาชาด ผูบำเพ็ญประโยชน และนกั ศกึ ษาวิชาทหาร
2.2 กิจกรรมชมุ นุม ชมรม
3. กิจกรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน
เปน กจิ กรรมทส่ี งเสรมิ ใหผูเรยี นบำเพ็ญตนใหเปน ประโยชนต อสงั คม ชมุ ชน และทองถ่นิ ตามความ
สนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพอ่ื แสดงถงึ ความรบั ผิดชอบ ความดงี าม ความเสียสละตอสังคม มจี ิตสาธารณะ
เชน กจิ กรรมอาสาพัฒนาตาง ๆ กิจกรรมสรางสรรคส ังคม

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธิ์พัฒนวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรุง 2565)

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ 2560) ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 17

2.โครงสรางหลักสูตรสถานศกึ ษา
(2565-2567)

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธิพ์ ฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2565)

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ 2560) ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 18

6.โครงสรา งหลกั สูตรโรงเรยี นทับโพธ์พิ ฒั นวิทย

หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน กำหนดกรอบโครงสรางเวลาเรยี น ดังนี้

กลมุ สาระการเรียนรู ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน ระดบั มธั ยมศกึ ษา
ตอนปลาย
ภาษาไทย ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔-๖
๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๒๔๐
คณิตศาสตร (๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) (๖ นก.)
๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๒๔๐
วิทยาศาสตร (๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) (๖ นก.)
๑6๐ ๑6๐ ๑6๐ 32๐
สังคมศึกษา ศาสนา (4 นก.) (4 นก.) (4 นก.) (8 นก.)
และวัฒนธรรม ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๓๒๐
สุขศกึ ษาและพลศึกษา (๔ นก.) (๔ นก.) (๔ นก.) (๘ นก.)
๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐
ศิลปะ (๒นก.) (๒ นก.) (๒ นก.) (๓นก.)
๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐
การงานอาชพี และ (๒นก.) (๒ นก.) (๒ นก.) (๓ นก.)
เทคโนโลยี 4๐ 4๐ 4๐ 4๐
ภาษาตางประเทศ (1นก.) (1 นก.) (1 นก.) (1 นก.)
๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๒๔๐
รวมเวลาเรียน (พ้นื ฐาน) (๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) (๖ นก.)
๘๘๐ ๘๘๐ ๘๘๐ ๑,๖๔๐
*กิจกรรมพฒั นาผูเรยี น (๒๒ นก.) (๒๒ นก.) (๒๒ นก.) (๔๑ นก.)
* รายวิชา / กจิ กรรมที่ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๓๖๐
สถานศกึ ษาจดั เพ่ิมเตมิ ตาม
ความพรอ มและจุดเนน ปละ 20๐ชัว่ โมง จำนวน 1600 ชวั่ โมง
รวมเวลาเรยี นท้ังหมด
ไมน อ ยกวา ๑,๒๐๐ ชวั่ โมง/ป รวม ๓ ป ไมน อยกวา ๓,6๐๐ ชั่วโมง/ป

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธิพ์ ัฒนวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2565)

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 19

โครงสรางหลกั สูตรระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน

กลมุ สาระการเรียนร/ู กจิ กรรม เวลาเรียน

รายวิชา ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน
กลุมสาระการเรยี นรู
ภาษาไทย ม.1 ม.2 ม.3
คณิตศาสตร
วิทยาศาสตร พน้ื ฐาน เพม่ิ เตมิ พนื้ ฐาน เพิม่ เติม พนื้ ฐาน เพิ่มเตมิ
สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม
-สงั คมศกึ ษา ศาสนา ฯและ 120(3.0 นก.) 80(2.0 นก.) 120(3.0 นก.) 120(3.0 นก.) 80(2.0 นก.)
เศรษฐศาสตร ภมู ศิ าสตร 120(3.0 นก.) 120(3.0 นก.) 80(1.0นก.) 120(3.0 นก.)
-ประวัติศาสตร 160(4.0 นก.) 160(4.0 นก.)
- อาเซยี น 160(4.0 นก.)
- หนา ทพ่ี ลเมือง วัฒนธรรมและการ
ดำเนนิ ชวี ิตในสังคม 120(3.0 นก.) 120(3.0 นก.) 120(3.0 นก.)
-การปองกันการทจุ รติ 40(1.0 นก.) 40(1.0 นก.) 40(1.0นก)

40(1.0 นก.)

40(1.0นก.) 40(1.0นก.) 40(1.0นก.)

สุขศึกษาและพลศกึ ษา 80( 2.0 นก.) 40(1.0นก.) 80( 2.0 นก.) 40(1.0นก.) 80( 2.0 นก.) 40(1.0นก.)
ศิลปะ 80( 2.0 นก.) 40(1.0นก.) 80( 2.0 นก.) 80( 2.0 นก.)
การงานอาชพี 40 (1.0 นก.) 40 (1.0 นก.) 40(1.0นก.) 40 (1.0 นก.) 40(1.0นก.)
ภาษาตา งประเทศ 40(1.0นก.) 40(1.0 นก.)
O ภาษาองั กฤษ
120(3.0 นก. 120(3.0 นก.) 280 120(3.0 นก.)
วิชา IS1,IS2 880(22.0นก) (7.0นก.)
รวมเวลาเรียน 80(2.0นก) 880 280
280 880(22.oนก.) (22.0นก.) (7.0นก.)
กจิ กรรมพัฒนาผเู รยี น
O กิจกรรมแนะแนว (7.0นก.)
O กจิ กรรมนกั เรียน
40 40 40
- ลกู เสอื -เนตรนารี
- ชมุ นุม 40 40 40
O กจิ กรรมเพอ่ื สังคม และ 20 20 20
สาธารณประโยชน,IS3 20 20 20
กจิ กรรมพฒั นาผูเรยี น
รวมเวลาเรียน 120 120 120
1,280 ชั่วโมง/ป 1,280 ช่วั โมง/ป 1,280 ชว่ั โมง/ป

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธพ์ิ ฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรับปรงุ 2565)

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 20

โครงสรางเวลาเรยี นระดบั มัธยมศึกษาปท ี่ 1

เวลาเรียน (ชั่วโมง )

กลุม สาระการเรียนรู ม.1 ภาคเรียนท่ี 1 ม.1 ภาคเรยี นที่ 2

ภาษาไทย พน้ื ฐาน เพิ่มเติม พ้ืนฐาน เพ่มิ เตมิ
คณิตศาสตร
วิทยาศาสตร 60 60
สงั คมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม
O ศาสนา ฯ, หนาท่ีพลเมืองฯ 60 40 60 40

และเศรษฐศาสตร 80 80
O ประวตั ศิ าสตร
60 60
 หนาที่พลเมือง
20 20
 การปอ งกันการทจุ ริต 20 20
20 20
สุขศกึ ษาและพลศึกษา
พลศึกษา 20 20
ศิลปะ 20 20
การงานอาชพี 40 40 20
ภาษาตางประเทศ 20 20 20
O ภาษาองั กฤษ
60 60

วิชา IS1,Is2 40 40
รวม 440 120 440 120
รวมทงั้ หมด
580 580
กิจกรรมแนะแนว กจิ กรรมพัฒนาผูเ รยี น
กิจกรรมนักเรียน 20
O ลูกเสือ-เนตรนารี 20
O ชมุ นมุ 20
กิจกรรมเพ่อื สงั คมและ 20 10
สาธารณประโยชน 10 10
-IS3 10
รวม
รวมทัง้ หมด 60 60
รวมตลอดป 640 640

1,280

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธพ์ิ ัฒนวทิ ย (ฉบับปรับปรุง 2565)

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 21

โครงสรางเวลาเรียนระดบั มัธยมศึกษาปท ี่ 2

เวลาเรยี น (ช่ัวโมง )

กลุมสาระการเรยี นรู ม.2 ภาคเรียนที่ 1 ม.2 ภาคเรยี นที่ 2

ภาษาไทย พ้ืนฐาน เพ่ิมเตมิ 1 พน้ื ฐาน เพม่ิ เตมิ 1
คณติ ศาสตร
วิทยาศาสตร 60 60
สงั คมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
O ศาสนา ฯ, หนา ทพี่ ลเมอื งฯ 60 40 60 40

และเศรษฐศาสตร 80 80
O ประวตั ิศาสตร
60 60
 อาเซยี น 2
20 20
 หนา ที่พลเมือง 20 20
20 20
 การปองกันการทุจริต 20 20
สุขศกึ ษาและพลศึกษา
พลศกึ ษา 20 20
ศิลปะ 20 20
การงานอาชีพ 40 20 40 20
ภาษาตางประเทศ 20 20 20 20
O ภาษาองั กฤษ
60 20 60 20
รวม
รวมทั้งหมด 440 140 440 140
580 580
กิจกรรมแนะแนว
กจิ กรรมนกั เรยี น กิจกรรมพฒั นาผเู รยี น 20
O ลกู เสอื -เนตรนารี 20
O ชุมนุม
กิจกรรมเพื่อสังคมและ 20 20
สาธารณประโยชน 10 10
รวม 10 10
รวมท้ังหมด
รวมตลอดป 60 60
640 640

1,280

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธ์พิ ัฒนวทิ ย (ฉบับปรับปรงุ 2565)

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ 2560) ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 22

โครงสรางเวลาเรยี นระดับมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 3

เวลาเรียน (ช่ัวโมง )

กลุมสาระการเรียนรู ม.3 ภาคเรยี นที่ 1 ม.3 ภาคเรยี นที่ 2

ภาษาไทย พื้นฐาน เพ่มิ เติม พน้ื ฐาน เพมิ่ เติม
คณิตศาสตร
วิทยาศาสตร 60 60
สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
O ศาสนา ฯ, หนา ท่ีพลเมืองฯ 60 40 60 40

และเศรษฐศาสตร 80 80 20
O ประวัตศิ าสตร
60 60
 หนา ท่ีพลเมือง
20 20
 การปอ งกันการทจุ ริต 20 20
20 20
สุขศกึ ษาและพลศึกษา
พลศกึ ษา 20 20
ศิลปะ 20 20
การงานอาชีพ 40 20 40 20
20 20 20 20

ภาษาตา งประเทศ 60 60
O ภาษาที่สาม
รวม 440 140 440 140
รวมทั้งหมด 580 580

กิจกรรมแนะแนว กจิ กรรมพฒั นาผเู รียน 20
กจิ กรรมนกั เรยี น 20
O ลกู เสอื -เนตรนารี
O ชมุ นมุ 20 20
กิจกรรมเพ่ือสงั คมและ 10 10
สาธารณประโยชน 10 10
รวม
รวมท้ังหมด 60 60
รวมตลอดป 640 640

1,280

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธิ์พฒั นวทิ ย (ฉบับปรับปรุง 2565)

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 23

โครงสรางหลักสูตรชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ี่ 1 แผนการเรยี นทั่วไป

ภาคเรียนท่ี 1 หนวยกิต/ ภาคเรยี นที่ 2 หนว ยกิต/ชม.
ชม.
รายวิชาพืน้ ฐาน รายวชิ าพนื้ ฐาน 11(440)
ท21101 ภาษาไทย1 11(440) ท21102 ภาษาไทย2 1.5(60)
ค21101 คณติ ศาสตร1 1.5(60) ค21102 คณิตศาสตร2 1.5(60)
ว21101 วทิ ยาศาสตร1 1.5(60) ว21102 วิทยาศาสตร2 1.5(60)
ว21103 การออกแบบเทคโนโลยี 1 1.5(60) ว21104 วิทยาการคำนวณ 1 0.5(20)
ส21101 สงั คมศกึ ษาศาสนาและวัฒนธรรม 0.5(20) ส21102 สังคมศึกษาศาสนาและ 1.5(60)
1 1.5(60) วัฒนธรรม2
ส21161 ประวตั ิศาสตร1 ส21162 ประวัติศาสตร2 0.5(20)
พ21101 สุขศึกษา1 0.5(20) พ21103 สุขศึกษา2 0.5(20)
พ21102 พลศึกษา1 0.5(20) พ21104 พลศกึ ษา2 0.5(20)
ศ21101 ศลิ ปะ1 0.5(20) ศ21102 ศลิ ปะ2 1.0(40)
ง21101 การงานอาชพี 1 1.0(40) ง21102 การงานอาชีพ2 0.5(50)
อ21101 ภาษาอังกฤษ1 0.5(20) อ21102 ภาษาองั กฤษ2 1.5(60)
1.5(60)
รายวชิ าเพม่ิ เติม รายวิชาเพิ่มเติม 3.0(12๐)
3.0(12๐)
ค21201 คณติ ศาสตรเพม่ิ เติม1 ค21202 คณิตศาสตรเพิ่มเติม2 0.5(20)
I21201การศึกษาคน ควาและสรา งองคค วามรู 0.5(20) I21202 การส่ือสารและการนำเสนอ(IS2) 1.0(40)
(IS1) 1.0.(40)
ง20204 งานใบตอง 0.5(20)
ว 20201 คอมพิวเตอรป ระยุกต 0.5(20) ศ21201 ศลิ ปะเพมิ่ เตมิ 1 1.0(40)
1.0(40) ว 20202การเขียนโปรแกรมภาษาโลโก
กิจกรรมพัฒนาผเู รียน 60
• กิจกรรมแนะแนว 60 กิจกรรมพฒั นาผูเ รยี น 20
• กิจกรรมนกั เรยี น 20 • กิจกรรมแนะแนว
• กจิ กรรมนกั เรยี น 20
- ลกู เสอื -เนตรนารี 20 10
10 - ลูกเสอื -เนตรนารี
- ชมุ นมุ
- ชุมนมุ

• กจิ กรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน 10 • กจิ กรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน 10

รวมเวลาเรียน 620 รวมเวลาเรียน 620

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธิ์พัฒนวทิ ย (ฉบบั ปรับปรงุ 2565)

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ 2560) ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 24

โครงสรางหลักสตู รชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 2 แผนการเรียนทั่วไป

ภาคเรยี นที่ 1 หนวยกิต/ ภาคเรยี นที่ 2 หนวยกติ /ชม.
ชม.
รายวิชาพนื้ ฐาน 11(440)
ท22101 ภาษาไทย3 11(440) รายวชิ าพน้ื ฐาน 1.5(60)
ค22101 คณติ ศาสตร3 1.5(60)
ว22101 วิทยาศาสตร3 1.5(60) ท22102 ภาษาไทย4 1.5(60)
0.5(20)
ว22103 การออกแบบเทคโนโลยี 2 1.5(60) ค22102 คณติ ศาสตร4 1.5(60)

ส22101 สงั คมศกึ ษาศาสนาและ 1.5(60) ว22102 วิทยาศาสตร4 0.5(20)
วัฒนธรรม3 0.5(20)
ส22163 ประวัตศิ าสตร3 0.5(20) ว22104 วทิ ยาการคำนวณ 2 0.5(20)
พ22101 สุขศกึ ษา3 1.0(40)
พ22102 พลศึกษา3 1.5(60) ส22103 สังคมศึกษาศาสนาและ
ศ22101 ศลิ ปะ3 0.5(50)
วัฒนธรรม4
ง22101 การงานอาชพี 3 1.5(60)
0.5(20) ส22164 ประวตั ศิ าสตร4 3.5(14๐)
อ22101 ภาษาอังกฤษ3 1.0(40)
รายวชิ าเพิม่ เติม 0.5(20) พ22103 สขุ ศึกษา4 0.5(20)
0.5(20)
ค22201 คณติ ศาสตรเ พิ่มเติม3 0.5(20) พ22104 พลศกึ ษา4 0.5(20)
ส22223 หนาที่พลเมอื ง3 0.5(20)
ส22201 การปอ งกนั การทจุ ริต3 1.0(40) ศ22102 ศิลปะ4 0.5(20)
ศ22202 ดนตร1ี
ง20202 การแปรรูปอาหาร 0.5(20) ง22102 การงานอาชพี 4 60
ว 20203 การสรา งภาพเคล่ือนไหว 2 มติ ิ 20
1.5(60) อ22102 ภาษาอังกฤษ4
กิจกรรมพัฒนาผูเรียน 20
• กจิ กรรมแนะแนว 3.5(14๐) รายวิชาเพม่ิ เติม 10
• กิจกรรมนกั เรียน
1.0(40) ค22202 คณติ ศาสตรเ พ่ิมเตมิ 4 10
- ลกู เสือ-เนตรนารี
0.5(20) ส22224 หนา ท่พี ลเมอื ง4 640
- ชุมนมุ
0.5(20) ส22202 การปองกันการทุจรติ 4

0.5(20) ศ22204 นาฏศิลป1

0.5(20) ง20203 อาหารพนื้ เมือง

0.5(20) ว20204 การเขยี นโปรแกรมโดย

Scratch

60 กิจกรรมพัฒนาผเู รยี น

20 • กจิ กรรมแนะแนว

• กิจกรรมนกั เรียน

20 - ลกู เสอื -เนตรนารี
10

- ชมุ นมุ

• กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและ 10 • กจิ กรรมเพ่ือสังคมและ
สาธารณประโยชน สาธารณประโยชน

รวมเวลาเรียน 640 รวมเวลาเรียน

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธ์พิ ฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรับปรงุ 2565)

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 25

โครงสรา งหลกั สูตรชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 3 แผนการเรียนทั่วไป

ภาคเรยี นที่ 1 หนว ยกิต/ ภาคเรียนท่ี 2 หนวยกิต/ชม.
ชม.
รายวชิ าพน้ื ฐาน รายวชิ าพืน้ ฐาน 11(440)
ท23101 ภาษาไทย5 11(440) ท23102 ภาษาไทย6 1.5(60)
ค23101 คณติ ศาสตร5 1.5(60) ค23102 คณิตศาสตร6 1.5(60)
ว23101 วิทยาศาสตร5 1.5(60) ว23102 วทิ ยาศาสตร6 1.5(60)
1.5(60)
ว23103 การออกแบบเทคโนโลยี 3 ว23104 วิทยาการคำนวณ 3 0.5(20)
0.5(20)
ส23101 สังคมศกึ ษาศาสนาและ ส23103 สงั คมศกึ ษาศาสนาและ 1.5(60)
วัฒนธรรม5 1.5(60) วัฒนธรรม6
ส23165 ประวัตศิ าสตร5 ส23166 ประวัติศาสตร6 0.5(20)
พ23101 สุขศึกษา5 0.5(20) พ23103 สขุ ศกึ ษา6 0.5(20)
พ23102 พลศกึ ษา5 0.5(20) พ23104 พลศกึ ษา6 0.5(20)
ศ23101 ศิลปะ5 0.5(20) ศ23102 ศิลปะ6 1.0(40)
ง23101 การงานอาชีพ5 1.0(40) ง23102 การงานอาชีพ6 0.5(50)
อ23101 ภาษาองั กฤษ5 0.5(20) อ23102 ภาษาองั กฤษ6 1.5(60)
1.5(60) ๔.๐(1๖๐)
รายวชิ าเพ่มิ เติม ๔.๐(1๖๐) รายวชิ าเพ่มิ เติม 1.0(40)
ค23201 คณิตศาสตรเ พม่ิ เติม5 1.0(40) ค23202 คณติ ศาสตรเพิ่มเติม 6 0.5(20)
ส23225 หนาท่พี ลเมือง 5 0.5(20) ส23226 หนาทพี่ ลเมอื ง6 0.5(20)
ส23201 การปองกันการทุจรติ 5 0.5(20) ส23202 การปอ งกนั การทุจรติ 6 1.0(40)
ศ23201 นาฏศิลปพ ้ืนเมอื ง1 1.0(40) ศ23204 รอ งเพลงไทยสากล-ไทย
ลกู ทุง1 0.5(20)
ง23201 เกษตรทฤษฎใี หม 0.5(20) ว23201 วิทยาศาสตรเ พม่ิ เตมิ 1 0.5(20)
ว 20205 โครงงานคอมพิวเตอร 0.5(20) ว 20206 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
60
กจิ กรรมพัฒนาผเู รียน 60 กจิ กรรมพัฒนาผูเ รยี น 20
• กิจกรรมแนะแนว 20 • กิจกรรมแนะแนว
• กจิ กรรมนักเรียน • กิจกรรมนักเรยี น 20
20 10
- ลกู เสอื -เนตรนารี 10 - ลูกเสือ-เนตรนารี

- ชมุ นุม - ชุมนมุ

• กจิ กรรมเพ่ือสังคมและ 10 • กิจกรรมเพอื่ สังคมและ 10
สาธารณประโยชน สาธารณประโยชน 6๖0

รวมเวลาเรยี น 6๖0 รวมเวลาเรยี น

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธ์ิพัฒนวทิ ย (ฉบบั ปรับปรุง 2565)

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรับปรุง พ.ศ 2560) ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 26

คำอธบิ ายรายวิชา

๑. กลมุ สาระการเรียนรภู าษาไทย
๒. กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
๓. กลมุ สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี
๔. กลมุ สาระการเรยี นรสู งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๕. กลุมสาระการเรียนรูสขุ ศึกษา พลศกึ ษา
๖. กลุมสาระการเรียนรูศลิ ปะ
๗. กลุมสาระการเรยี นรกู ารงานอาชพี
๘. กลมุ สาระการเรียนรภู าษาตางประเทศ
๙. กิจกรรมพัฒนาผเู รยี น

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธิพ์ ฒั นวทิ ย (ฉบับปรับปรุง 2565)

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบับปรับปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 27

กลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธ์ิพฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรับปรงุ 2565)

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบับปรับปรุง พ.ศ 2560) ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 28

โครงสรา งรายวชิ าพื้นฐานและเพ่ิมเติม กลุมสาระการเรียนรูภ าษาไทย
ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน

รายวิชาพน้ื ฐาน จำนวน ๖๐ ช่วั โมง ๑.๕ หนวยกติ
ท๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ จำนวน ๖๐ ช่วั โมง ๑.๕ หนวยกติ
ท๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หนวยกติ
ท๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ๓ จำนวน ๖๐ ชวั่ โมง ๑.๕ หนว ยกติ
ท๒๒๑๐๒ ภาษาไทย ๔ จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หนว ยกิต
ท๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ๕ จำนวน ๖๐ ชว่ั โมง ๑.๕ หนวยกติ
ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธิพ์ ัฒนวทิ ย (ฉบับปรับปรุง 2565)

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ 2560) ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 29

คำอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน
กลุม สาระการเรียนรูภ าษาไทย

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธิพ์ ฒั นวทิ ย (ฉบับปรับปรงุ 2565)

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ 2560) ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 30

คำอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน

ท๒๑๑๐๑ ภาษาไทย กลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๕ หนวยกติ

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

อานออกเสยี งบทรอ ยแกว และบทรอ ยกรองไดถกู ตองเหมาะสมกบั เร่ืองทอ่ี าน จับใจความสำคัญจาก

เรื่องท่อี า น ระบุเหตุและผลและขอเท็จจริงกบั ขอคดิ เห็นจากเรื่องทีอ่ า น ระบุและอธิบายคำเปรียบเทียบ และ

คำที่มีหลายความหมายในบริบทตางๆ จากการอาน วิเคราะหคุณคาที่ไดรับจากการอานงานเขียนอยาง

หลากหลายเพื่อนำไปใชแกปญหาในชีวิต มีมารยาทในการอาน คดั ลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด เขียน

สือ่ สารโดยใชถอ ยคำถูกตอ งชัดเจน เหมาะสมและสละสลวย เขยี นบรรยายประสบการณโ ดยระบุสาระสำคญั

และรายละเอียดสนับสนุน เขียนยอความจากเรื่องทีอ่ าน เขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสาระจากสือ่ ท่ี

ไดรับ เขียนจดหมายสวนตวั และจดหมายกิจธุระ เขยี นรายงานการศึกษาคนควา มมี ารยาทในการเขียน

พูดสรุปใจความสำคัญของเรื่องที่ฟงและดู พูดแสดงความคิดเห็นอยางสรางสรรคเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและดู

ประเมินความนาเชือ่ ถือของสื่อท่ีมีเน้ือหาโนมนาวใจ พูดรายงานเรือ่ งหรือประเดน็ ที่ศกึ ษาคนควาจากการฟง

การดแู ละการสนทนา มมี ารยาทในการฟง การ ดู และการพดู อธบิ ายลักษณะของเสียงในภาษาไทย สรา งคำ

ในภาษาไทย วิเคราะหชนิดและหนาที่ของคำในประโยค วิเคราะหความแตกตางของภาษาพูดและภาษา

เขยี น แตง บทรอ ยกรองประเภทกลอนสุภาพ จำแนกและใชสำนวนท่เี ปนคำพังเพยและสภุ าษิต สรปุ เนอ้ื หา

วรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน วิเคราะหวรรณคดีและวรรณกรรมที่อานพรอมยกเหตุผลประกอบ อธิบาย

คุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน สรุปความรูและขอคิดจากการอานเพื่อประยุกตใชในชีวิตจริง

ทองจำบทอาขยานตามทก่ี ำหนดและบทรอ ยกรองทมี่ คี ุณคาตามความสนใจ

โดยใชก ระบวนการการเรียนรูแ บบรายบุคคล แบบกลมุ และการระดมความคิดเหน็ เชอื่ มโยงความรู

ความคดิ ท่ีหลากหลาย มีการฝก ฝนอยเู สมอ เพอื่ ใหเกิดความรูพื้นฐานอนั จะเปน ประโยชนในการศึกษาคน ควา

หาความรอู ืน่ ตอไป

ตระหนักในคณุ คา วรรณคดแี ละวรรณกรรมทีอ่ า น มมี ารยาทในการใชภาษา การอาน การเขยี น การดู

การฟง การพูด รกั ความเปน ไทย นำขอคดิ เหน็ จากเร่อื งทอี่ า น ไปประยุกตใชในชีวติ จรงิ

รหัสตวั ชวี้ ัด

ท ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๘, ม.๑/๙

ท ๒.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ม.๑/๗, ม.๑/๘, ม.๑/๙

ท ๓.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖

ท ๔.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖

ท ๕.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕

รวมทั้งหมด ๓๐ ตัวช้ีวัด

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธพ์ิ ฒั นวทิ ย (ฉบับปรับปรุง 2565)

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ 2560) ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 31

คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน

ท๒๑๑๐๒ ภาษาไทย กลุมสาระการเรียนรภู าษาไทย

ช้นั มัธยมศกึ ษาปท ี่ ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลา ๖๐ ชวั่ โมง จำนวน ๑.๕ หนวยกิต

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

อานออกเสียงบทรอยแกว และบทรอยกรองไดถูกตอ งเหมาะสมกบั เรื่องทีอ่ าน จับใจความสำคัญ

จากเรือ่ งท่ีอาน ระบเุ หตแุ ละผลและขอเทจ็ จรงิ กบั ขอคดิ เหน็ จากเร่ืองท่ีอา น ระบแุ ละอธบิ าย คำเปรียบเทียบ

และคำที่มหี ลายความหมายในบริบทตางๆ จากการอาน วเิ คราะหค ณุ คาที่ไดรบั จากการอานงานเขียนอยาง

หลากหลายเพือ่ นำไปใชแกป ญหาในชวี ิต เขียนแสดงความคิดเหน็ เกีย่ วกับสาระจากสอ่ื ทไ่ี ดร บั เขียนรายงาน

การศกึ ษาคนควา พูดสรุปใจความสำคัญของเร่ืองที่อาน เลาเรื่องยอจากเร่ืองที่อาน พูดแสดงความคิดเห็น

อยางสรางสรรคเกี่ยวกับเรื่องที่อาน แตงบทรอยกรองประเภทกาพยยาน๑ี ๑ จำแนกและใชส ำนวนทีเ่ ปนคำ

พังเพยและสุภาษิต สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน วิเคราะหวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน

พรอม ยกเหตุผลประกอบ อธบิ ายคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน สรุปความรูและขอคดิ จาก

การอา นเพอ่ื ประยุกตใ ชในชีวติ จรงิ

โดยใชก ระบวนการการเรยี นรแู บบรายบคุ คล แบบกลุม และการระดมความคิดเห็น เช่อื มโยงความรู

ความคดิ ท่ีหลากหลาย มกี ารฝก ฝนอยเู สมอ เพื่อใหเกิดความรูพื้นฐานอนั จะเปนประโยชนในการศกึ ษาคนควา

หาความรอู นื่ ตอไป

ตระหนักในคณุ คาวรรณคดแี ละวรรณกรรมที่อา น มีมารยาทในการใชภ าษา การอาน การเขยี น การดู

การฟง การพดู ใฝเ รยี นรู อยูอ ยา งพอเพยี ง มงุ มนั่ ในการทำงานรักความเปนไทย และนำขอคดิ เห็นจาก

เรื่องทอี่ า น ไปประยุกตใชในชวี ิตจริง

รหสั ตวั ชี้วดั

ท ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ม๑/๗, ม๑/๘

ท ๒.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ม.๑/๘

ท ๓.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๕, ม.๑/๖

ท ๔.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖

ท ๕.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒ , ม.๑/๓, ม.๑/๔ ม.๑/๕

รวมท้ังหมด ๓๐ ตัวชวี้ ัด

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธ์ิพัฒนวทิ ย (ฉบับปรับปรงุ 2565)

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 32

คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน

ท ๒๒๑๐๑ ภาษาไทย กลุมสาระการเรียนรูภ าษาไทย

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๖๐ ชวั่ โมง จำนวน ๑.๕ หนวยกติ

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรอง จับใจความสำคัญ สรุปความ และอธิบายรายละเอียด
จากเรื่องท่อี า น เขียนผังความคิดเพือ่ แสดงความเขาใจในบทเรยี นตา งๆ ท่อี าน อภิปรายแสดงความคิดเห็นและ
ขอโตแยงเกี่ยวกับเรื่องที่อาน มารยาทในการอาน คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัว
อกั ษรไทย การเขียนบรรยายและพรรณนาการเขียนเรียงความเกยี่ วกบั ประสบการณ เขียนรายงานการศึกษา
คนควา มารยาทในการเขียน พูดสรุปความจากเร่ืองที่ฟงและ ดูพดู วิเคราะหและวิจารณจากเรื่องท่ีฟง
และดู พดู รายงานการศึกษาคนควา จากแหลง เรยี นรตู าง ๆ มารยาทในการฟง การดู และการพูด การสราง
คำสมาสลักษณะของประโยคในภาษาไทย ประโยคสามัญ ประโยครวม ประโยคซอ นสรปุ เน้ือหาวรรณคดีและ
วรรณกรรมเกี่ยวกับศาสนา ประเพณี พิธีกรรม สุภาษิต คำสอน เหตุการณประวัติศาสตร บันเทิงคดี
บันทึกการเดินทางวิเคราะหและวิจารณวรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมทอ งถิ่นที่อาน พรอมยกเหตุผล
ประกอบ อธบิ ายคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน

โดยใชก ระบวนการการเรียนรูแ บบรายบุคคล แบบกลุม และการระดมความคิดเห็น เช่อื มโยงความรู
ความคดิ ทีห่ ลากหลาย มีการฝกฝนอยเู สมอ เพื่อใหเกดิ ความรพู ื้นฐานอันจะเปน ประโยชนในการศกึ ษาคน ควา
หาความรอู นื่ ตอไป

ตระหนักในคณุ คาวรรณคดีและวรรณกรรมทอ่ี าน มีมารยาทในการใชภาษา การอา น การเขียน การดู
การฟง การพดู รักความเปนไทย ใฝเรียนรู มงุ มัน่ ในการทำงาน และนำขอคิดเห็นจากเรอื่ งท่ีอา น ไป
ประยุกตใชใ นชีวติ จริง

รหัสตวั ชี้วัด
ท ๑.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๘
ท ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๕, ม.๒/๘
ท ๓.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๕, ม.๒/๖
ท ๔.๑ม.๒/๑, ม.๒/๒
ท ๕.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓

รวมทั้งหมด ๑๙ ตัวชว้ี ัด

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธิ์พฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2565)

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ 2560) ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 33

คำอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน

ท๒๒๑๐๒ ภาษาไทย กลุมสาระการเรยี นรูภ าษาไทย

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที่ ๒ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๖๐ ชวั่ โมง จำนวน ๑.๕ หนว ยกิต

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรอง วิเคราะหและจำแนกขอเท็จจริง ขอสนับสนุน และ

ขอคิดเห็นจากบทความที่อาน ระบุขอสังเกตการชวนเชื่อ การโนมนาว หรือความสมเหตุสมผลของงานเขยี น

อานหนังสือ บทความ หรือคำประพันธอยางหลากหลาย และประเมินคุณคา หรือแนวคิดที่ไดจากการอา น

เพื่อนำไปใชแกปญหาในชีวิต มารยาทในการอาน เขียนวิเคราะหวิจารณ และแสดงความรูความคิดเห็น

หรือโตแยงในเรื่องที่อานอยางมีเหตุผล มารยาทในการเขยี น วิเคราะหวิจารณเ รื่องที่ฟงและดูอยางมีเหตุผล

เพื่อนำขอคิดมาประยุกตใชในการดำเนนิ ชีวิต มารยาทในการฟง การดู และการพูด แตงกลอน

สุภาพ การใชค ำราชาศพั ท ภาษาตางประเทศในภาษาไทย สรปุ ความรูแ ละขอ คดิ จากการอา นไปประยุกตใ ช

ในชีวิตจริง ทองบทอาขยานและบทรอ ยกรองท่ีมีคุณคา บทอาขยานตามที่กำหนด และบทรอยกรองตาม

ความสนใจ

โดยใชกระบวนการการเรียนรูแ บบรายบุคคล แบบกลุม และการระดมความคิดเห็น เช่ือมโยงความรู

ความคิดที่หลากหลาย มีการฝกฝนอยูเสมอ เพื่อใหเกิดความรูพื้นฐานอันจะเปนประโยชนในการศกึ ษาคนควา

หาความรอู ืน่ ตอ ไป

ตระหนกั ในคุณคาวรรณคดแี ละวรรณกรรมท่อี าน มีมารยาทในการใชภาษา การอา น การเขยี น

การดู การฟง การพูด รักชาติ ศาสน กษัตริย ซือ่ สตั ยส ุจริต รกั ความเปน ไทย และนำขอคดิ เห็นจากเร่ืองที่

อาน ไปประยกุ ตใชในชวี ติ จริง

รหสั ตวั ช้ีวดั
ท ๑.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๘
ท ๒.๑ ม.๒/๔, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๘
ท ๓.๑ ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๖
ท ๔.๑ ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕
ท ๕.๑ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓ ม.๒/๔, ม.๒/๕

รวมท้ังหมด ๒๐ ตัวชี้วดั

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธ์พิ ัฒนวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรุง 2565)

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรับปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 34

คำอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน

ท๒๓๑๐๑ ภาษาไทย กลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย

ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที่ ๓ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๕ หนวยกติ

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

อานออกเสยี งบทรอยแกว และบทรอ ยกรองไดถูกตองและเหมาะสมกับเร่ืองท่ีอาน ระบุใจความสำคัญ

และรายละเอียดของขอมูลที่สนับสนุนจากเรื่องที่อาน อานเรื่องตางๆ แลวเขียนกรอบแนวคิด ผัง

ความคดิ บนั ทึก ยอ ความและรายงาน วเิ คราะห วิจารณ และประเมนิ เร่ือง ทอ่ี านโดยใชก ลวิธกี าร เปรียบเทียบ

เพื่อใหผูอานเขาใจไดดีขึ้น ประเมินความถกู ตองของขอมลู ท่ีใชสนบั สนุนในเร่อื งท่ีอาน มารยาทในการอาน

คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด เขียนขอความโดยใชถอยคำไดถูกตองตาม ระดับภาษา เขียน

ชีวประวัติ หรืออัตชีวประวัติ โดยเลาเหตุการณ ขอคิดเห็น และทัศนคติในเรื่องตางๆ เขียนยอความเขียน

จดหมายกิจธุระ เขียนกรอกแบบสมัครงาน พรอมบรรยายเกี่ยวกับความรูและทักษะของตนเองท่ีเหมาะสมกับงาน

เขียนรายงานการศึกษาคนควาและโครงงาน มารยาทในการเขียน แสดงความคิดเห็นและประเมินเรื่องจาก

การฟงและการดู วิเคราะหและวิจารณเรื่องที่ฟงและดู เพื่อนำขอคิดมาประยุกตใชในการดำเนินชีวิต พูด

รายงานการศึกษาคนควา พูดโนมนาวโดยนำเสนอหลกั ฐานตาม ลำดับเนื้อหาอยางมีเหตุผล และนาเชื่อถือ

วิเคราะหระดับภาษา อธบิ ายความหมายคำศัพททางวิชาการและ วิชาชีพ สรุปเนื้อหาวรรณคดี วรรณกรรม

และวรรณกรรมทองถิน่ ในระดับทยี่ ากย่ิงขน้ึ วิเคราะห วถิ ไี ทย และคุณคา จากวรรณคดี และวรรณกรรมทอี่ าน

โดยใชกระบวนการการเรียนรูแบบรายบุคคล แบบกลมุ และการระดมความคิดเห็น เชอื่ มโยงความรู

ความคดิ ทหี่ ลากหลาย มีการฝกฝนอยูเสมอ เพื่อใหเกดิ ความรูพ้ืนฐานอันจะเปนประโยชนใ นการศกึ ษาคนควา

หาความรอู ่ืนตอไป

ตระหนกั ในคุณคาวรรณคดแี ละวรรณกรรมท่อี าน มีมารยาทในการใชภ าษา การอาน การเขยี น

การดู การฟง การพดู รักความเปน ไทย รักชาติ ศาสน กษตั ริย มวี นิ ยั รกั ความเปนไทย และนำ

ขอ คิดเห็นจากเร่อื งที่อา น ไปประยุกตใชใ นชีวิตจริง

รหัสตวั ชี้วัด
ท ๑.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๑๐
ท ๒.๑ม.๓/๑ , ม.๓/๒ , ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๘ , ม.๓/๙
ท ๓.๑ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕
ท ๔.๑ม.๓/๓, ม.๓/๕
ท ๕.๑ม.๓/๑, ม.๓/๒

รวมทั้งหมด ๒๒ ตัวชี้วัด

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธพิ์ ัฒนวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรุง 2565)

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ 2560) ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 35

คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน

ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย กลุมสาระการเรียนรภู าษาไทย

ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๕ หนวยกิต

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอ ยกรองไดถูกตอ งและเหมาะสมกับเรื่องทีอ่ าน ระบุความแตกตาง

ของคำที่มคี วามหมาย โดยตรง และความหมาย วจิ ารณความสมเหตุสมผล การลำดับความและความเปนไปไดของ

เรื่อง วิเคราะหเพือ่ แสดงความคิดเห็นโตแยงเก่ียวกับเรื่องที่อาน ตคี วามและประเมินคณุ คาและแนวคดิ ที่ได

จากงานเขียนอยางหลากหลาย เพื่อนำไปใชแกปญหาในชีวิต มารยาทในการอาน เขียนอธิบาย ชี้แจง แสดง

ความคดิ เห็นและโตแ ยง อยา งมีเหตผุ ล เขียนวิเคราะห วิจารณ และแสดงความรู ความคดิ เหน็ หรอื โตแ ยงในเร่ือง

มารยาทในการเขียน พูดรายงานการศึกษาคนควา มารยาทในการอาน จำแนกและใชภาษาตางประเทศท่ใี ช

ในภาษาไทย วิเคราะห โครงสรางประโยคซับซอน คำทับศัพทและศัพทบัญญัติ แตงบทรอยกรองประเภท

โคลงสี่สุภาพ สรปุ ความรแู ละขอคิดจากการอาน เพื่อนำไปประยุกตใชในชวี ิตจริง ทองจำและบอกคุณคาบท

อาขยานตามที่กำหนดและบทรอยกรอง ท่มี คี ณุ คา ตามความสนใจและนำไปใชอ างอิง

โดยใชก ระบวนการการเรียนรแู บบรายบคุ คล แบบกลุม และการระดมความคดิ เหน็ เชือ่ มโยงความรู

ความคดิ ทีห่ ลากหลาย มกี ารฝกฝนอยเู สมอ เพื่อใหเกดิ ความรพู นื้ ฐานอันจะเปนประโยชนในการศกึ ษาคน ควา

หาความรอู นื่ ตอไป

ตระหนักในคุณคา วรรณคดีและวรรณกรรมทีอ่ า น มีมารยาทในการใชภาษา การอาน การเขียน

การดู การฟง การพดู รกั ความเปนไทย มีจติ สาธารณะ และนำขอคดิ เห็นจากเรอื่ งท่ีอาน ไปประยุกตใ ชในชีวิต

จริง

รหสั ตวั ช้ีวัด
ท ๑.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๗, ม.๓/๘, ม.๓/๙, ม.๓/๑๐
ท ๒.๑ ม.๓/๖, ม.๓/๗, ม.๓/๑๐
ท ๓.๑ ม.๓/๒, ม.๓/๔, ม.๓/๖
ท ๔.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๔, ม.๓/๖
ท ๕.๑ ม.๓/๓, ม.๓/๔

รวมทั้งหมด ๑๘ ตัวช้วี ัด

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธ์พิ ฒั นวทิ ย (ฉบับปรับปรงุ 2565)

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 36

กลุมสาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธ์ิพฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรับปรุง 2565)

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ 2560) ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 37

โครงสรา งรายวชิ าพืน้ ฐานและเพ่มิ เติม กลุมสาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร

ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนตน ( ม. 1 – 3 )

รายวิชาพ้นื ฐาน

ค21103 คณิตศาสตรพ ื้นฐาน 1 จำนวน 60 ชวั่ โมง 1.5 หนวยกติ
1.5 หนวยกติ
ค21104 คณิตศาสตรพน้ื ฐาน 2 จำนวน 60 ชั่วโมง 1.5 หนวยกติ
1.5 หนวยกติ
ค22103 คณติ ศาสตรพน้ื ฐาน 3 จำนวน 60 ชั่วโมง 1.5 หนว ยกติ
1.5 หนวยกติ
ค22104 คณติ ศาสตรพ ื้นฐาน 4 จำนวน 60 ชว่ั โมง
1.0 หนว ยกติ
ค23103 คณิตศาสตรพ ื้นฐาน 5 จำนวน 60 ชว่ั โมง 1.0 หนวยกิต
1.0 หนวยกติ
ค23104 คณติ ศาสตรพ ื้นฐาน 6 จำนวน 60 ชั่วโมง 1.0 หนว ยกิต
1.0 หนว ยกติ
รายวชิ าเพม่ิ เตมิ 1.0 หนว ยกติ

ค21201 คณติ ศาสตรเพิม่ เตมิ 1 จำนวน 40 ช่ัวโมง

ค21202 คณติ ศาสตรเ พม่ิ เติม 2 จำนวน 40 ชั่วโมง

ค22201 คณติ ศาสตรเ พ่ิมเตมิ 3 จำนวน 40 ชั่วโมง

ค22202 คณิตศาสตรเ พม่ิ เติม 4 จำนวน 40 ชว่ั โมง

ค23201 คณิตศาสตรเ พมิ่ เติม 5 จำนวน 40 ช่วั โมง

ค23202 คณติ ศาสตรเ พิ่มเตมิ 6 จำนวน 40 ชว่ั โมง

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธิ์พฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรับปรงุ 2565)

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรับปรุง พ.ศ 2560) ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 38

คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน
กลมุ สาระการเรยี นรูวิชาคณติ ศาสตร

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธพิ์ ฒั นวทิ ย (ฉบับปรับปรุง 2565)

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 39

คำอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน

รายวิชาคณิตศาสตรพ ืน้ ฐาน 1 รหัสวชิ า ค21101 กลุมสาระการเรียนรคู ณิตศาสตร

ช้ันมัธยมศกึ ษาปท ่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 จำนวน 1.5 หนว ยกติ เวลา 60 ชวั่ โมง

ศึกษา ฝก ทักษะ/กระบวนการในสาระตอไปน้ี
จำนวนเตม็ การบวกจำนวนเตม็ การลบจำนวนเต็ม การคณู จำนวนเตม็ การหารจำนวนเตม็
สมบตั ิของการบวกและการคูณจำนวนเตม็
การสรางทางเรขาคณิต รูปเรขาคณิตพืน้ ฐาน การสรางพ้ืนฐานทางเรขาคณิต การสรางรู
เรขาคณติ
เลขยกกำลัง ความหมายของเลขยกกำลงั การคณู และการหารเลขยกกำลัง สัญกรณวิทยาศาสตร
ทศนิยมและเศษสวน ทศนิยมและการเปรียบเทยี บทศนิยม การบวกและการลบทศนิยม การคูณ
และการหารทศนิยม เศษสวนและการเปรียบเทียบเศษสวน การบวกและการลบเศษสวน การคณู และการ
หารเศษสว น ความสมั พันธร ะหวา งทศนยิ มและเศษสว น
รปู เรขาคณิตสองมิติและสามมิติ หนา ตัดของรูปเรขาคณติ สามมติ ิ ภาพดา นหนา ภาพดานขา ง และ
ภาพดา นบนของรปู เรขาคณติ สามมติ ิ
โดยการจัดประสบการณ หรือสรางสถานการณในชีวติ ประจำวันท่ีใกลตัวใหผูเรียนไดศึกษาคนควา
โดยการปฏบิ ัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการในการคิดคำนวณ การแกปญหา
การใหเหตผุ ล การสื่อความหมายทางคณติ ศาสตรและนำประสบการณดานความรูความคดิ ทักษะกระบวนการ
ที่ได ไปใชใ นการเรยี นรสู ง่ิ ตาง ๆ และใชช วี ิตประจำวนั อยางสรา งสรรค รวมทัง้ เห็นคณุ คา และมีเจตคติท่ีดีตอ
คณติ ศาสตร สามารถทำงานอยางเปน ระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มคี วามรบั ผดิ ชอบมีวิจารณญาณ และ
มีความเชือ่ มน่ั ในตนเอง
การวัดและการประเมินผล ใชวิธีหลากหลายตามสภาพความเปนจริงใหสอดคลองกับเน้ือหาและ
ทักษะที่ตองการวัด

รหสั ตวั ชีว้ ดั
ค 1.1 ม.1/1 , ม.1/2
ค 2.2 ม.1/1 , ม.1/2

รวมทั้งหมด 4 ตัวช้วี ัด

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธพิ์ ฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2565)

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 40

คำอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน

รายวชิ าคณิตศาสตรพ ้นื ฐาน 2 รหสั วิชา ค21102 กลมุ สาระการเรยี นรูคณติ ศาสตร

ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 จำนวน 1.5 หนว ยกิต เวลา 60 ชัว่ โมง

ศกึ ษา ฝกทกั ษะ/กระบวนการในสาระตอไปนี้
สมการเชิงเสนตัวแปรเดียว การเตรียมความพรอ มกอนรูจกั สมการ สมการและคำตอบของสมการ
การแกส มการเชิงเสน ตัวแปรเดียว โจทยป ญหาเก่ียวกบั สมการเชงิ เสนตัวแปรเดยี ว
อัตราสวน สดั สวน และรอ ยละ
กราฟและความสัมพันธเชิงเสน คูอันดับและกราฟของคูอันดับ กราฟและการนำไปใช
ความสมั พนั ธเ ชงิ เสน
สถิติ(1) คำถามทางสถติ ิ การเก็บรวบรวมขอมลู การนำเสนอขอมลู และการแปรความหมายขอมูล
โดยการจัดประสบการณ หรือสรางสถานการณในชีวติ ประจำวันที่ใกลตัวใหผูเรียนไดศึกษาคนควา
โดยการปฏบิ ตั ิจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการในการคดิ คำนวณ การแกปญหา
การใหเหตุผล การส่อื ความหมายทางคณิตศาสตรและนำประสบการณดา นความรูค วามคดิ ทักษะกระบวนการ
ที่ได ไปใชใ นการเรียนรสู ง่ิ ตาง ๆ และใชชวี ติ ประจำวนั อยางสรางสรรค รวมท้งั เหน็ คณุ คา และมีเจตคติที่ดตี อ
คณิตศาสตร สามารถทำงานอยางเปนระบบระเบยี บ มีความรอบคอบ มีความรบั ผิดชอบมีวิจารณญาณ และ
มคี วามเช่ือมัน่ ในตนเอง
การวัดและการประเมินผล ใชวิธีหลากหลายตามสภาพความเปนจริงใหสอดคลองกับเน้ือหาและ
ทักษะที่ตอ งการวดั

รหัสตวั ชวี้ ัด
ค 1.1 ม.1/3
ค 1.3 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3
ค 3.3 ม.1/1
ค 3.1 ม.1/1

รวมท้ังหมด 6 ตัวชี้วัด

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธ์พิ ัฒนวทิ ย (ฉบับปรับปรงุ 2565)

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ 2560) ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 41

คำอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน

รายวิชาคณิตศาสตรพน้ื ฐาน 3 รหัสวิชา ค22101 กลุมสาระการเรียนรูคณติ ศาสตร

ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ี่ 2 ภาคเรียนที่ 1 จำนวน 1.5 หนวยกติ เวลา 60 ชั่วโมง

ศึกษา ฝกทกั ษะ/กระบวนการในสาระตอ ไปน้ี
ทฤษฎีบทพที าโกรัส ทฤษฎีบทพที าโกรัส บทกลบั ของทฤษฎบี ทพีทาโกรสั
ความรูเบ้อื งตนเกยี่ วกบั จำนวนจริง จำนวนตรรกยะ จำนวนอตรรกยะ รากทส่ี อง รากทสี่ าม
ปรซิ ึมและทรงกระบอก พืน้ ทผ่ี ิวและปรมิ าตรของปริซมึ พน้ื ท่ผี ิวและปริมาตรของทรงกระบอก
การแปลงทางเรขาคณิต การเลอื่ นขนาน การสะทอ น การหมนุ
สมบัตขิ องเลขยกกำลงั การดำเนินการของเลขยกกำลัง สมบัตอิ นื่ ๆ ของเลขยกกำาลัง
พหุนาม การบวกและการลบเอกนาม การบวกและการลบพหนุ าม การคูณพหุนาม การหารพหุ
นามดวยเอกนาม
โดยการจัดประสบการณ หรือสรางสถานการณในชีวิตประจำวันที่ใกลตัวใหผูเรียนไดศึกษาคนควา
โดยการปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการในการคิดคำนวณ การแกปญหา
การใหเหตุผล การสือ่ ความหมายทางคณิตศาสตรแ ละนำประสบการณดา นความรูความคดิ ทักษะกระบวนการ
ทีไ่ ด ไปใชใ นการเรียนรูส่ิงตา ง ๆ และใชช ีวิตประจำวันอยางสรา งสรรค รวมทัง้ เหน็ คณุ คา และมีเจตคติที่ดีตอ
คณิตศาสตร สามารถทำงานอยางเปน ระบบระเบยี บ มคี วามรอบคอบ มคี วามรับผดิ ชอบมวี ิจารณญาณ และ
มีความเชื่อมั่นในตนเอง
การวัดและการประเมินผล ใชวิธีหลากหลายตามสภาพความเปนจริงใหสอดคลองกบั เนื้อหาและ
ทกั ษะทีต่ อ งการวดั

รหสั ตัวชีว้ ดั
ค 1.1 ม.2/1 , ม.2/2
ค 1.2 ม.2/1
ค 2.1 ม.2/1 , ม.2/2
ค 2.2 ม.2/3 , ม.2/5

รวมทั้งหมด 7 ตัวชวี้ ัด

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธพ์ิ ฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรับปรุง 2565)

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 42

คำอธิบายรายวชิ าพื้นฐาน

รายวชิ าคณติ ศาสตรพ ืน้ ฐาน 4 รหสั วชิ า ค22102 กลุม สาระการเรียนรคู ณิตศาสตร

ช้ันมัธยมศกึ ษาปท ่ี 2 ภาคเรียนที่ 2 จำนวน 1.5 หนว ยกิต เวลา 60 ช่ัวโมง

ศึกษา ฝก ทักษะ/กระบวนการในสาระตอไปนี้

สถิติ(2) แผนภาพจุด แผนภาพตน - ใบ ฮิสโทแกรม คากลางของขอมูล

ความเทา กนั ทุกประการ ความเทา กนั ทุกประการของรปู เรขาคณติ ความเทา กันทุกประการของรูป

สามเหลย่ี ม รูปสามเหล่ียมสองรูปทีส่ ัมพนั ธก ันแบบ ดาน – มมุ – ดาน รปู สามเหลีย่ มสองรปู ทสี่ มั พันธก ันแบบ

มุม – ดาน – มุม รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบ ดาน – ดาน – ดาน รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่

สัมพนั ธก นั แบบ มุม – มมุ – ดาน รูปสามเหลีย่ มสองรปู ท่ีสมั พนั ธกนั แบบ ฉาก – ดา น – ดาน การนำไปใช

เสนขนาน เสน ขนานและมุมภายใน เสนขนานและมุมแยง เสน ขนานและมมุ ภายนอกกับมุมภายใน

เสน ขนานและรปู สามเหล่ยี ม

การใหเหตุผลทางเรขาคณิต ความรพู นื้ ฐานเกี่ยวกับการใหเ หตผุ ลทางเรขาคณิต การสรางและการ

ใหเหตผุ ลเกย่ี วกบั การสรา ง การใหเ หตผุ ลเก่ียวกับรปู สามเหล่ียมและรูปสเ่ี หล่ียม

การแยกตัวประกอบของพหนุ ามดกี รีสอง การแยกตัวประกอบของพหุนามโดยใชส มบัตกิ ารแจกแจง

การแยกตวั ประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว การแยกตัวประกอบของพหุนามดกี รีสองท่ีเปนกำลัง

สองสมบูรณ การแยกตวั ประกอบของพหนุ ามดกี รีสองทเ่ี ปน ผลตา งกำลงั สอง

โดยการจัดประสบการณ หรือสรางสถานการณในชีวติ ประจำวันท่ีใกลตัวใหผูเรียนไดศึกษาคนควา

โดยการปฏิบตั ิจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพือ่ พัฒนาทักษะและกระบวนการในการคิดคำนวณ การแกปญหา

การใหเหตผุ ล การสอ่ื ความหมายทางคณติ ศาสตรแ ละนำประสบการณดานความรูความคดิ ทักษะกระบวนการ

ท่ไี ด ไปใชในการเรียนรสู ่งิ ตาง ๆ และใชช ีวติ ประจำวันอยางสรางสรรค รวมท้ังเห็นคุณคา และมีเจตคตทิ ่ีดตี อ

คณิตศาสตร สามารถทำงานอยางเปน ระบบระเบยี บ มีความรอบคอบ มีความรบั ผิดชอบมวี ิจารณญาณ และ

มีความเชอ่ื มัน่ ในตนเอง

การวัดและการประเมินผล ใชวิธีหลากหลายตามสภาพความเปนจริงใหสอดคลองกับเน้ือหาและ

ทักษะทีต่ องการวัด

รหัสตวั ช้วี ัด
ค 1.2 ม.2/2
ค 2.2 ม.2/1 , ม.2/2 , ม.2/4
ค 3.1 ม.2/1

รวมท้ังหมด 5 ตัวช้วี ดั


Click to View FlipBook Version