The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย์ พ.ศ.2565 ม.ต้น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tanawich.s, 2022-07-07 02:53:01

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย์ พ.ศ.2565 ม.ต้น

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย์ พ.ศ.2565 ม.ต้น

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธิพ์ ฒั นวทิ ย (ฉบับปรบั ปรุง 2565)

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ 2560) ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 193

การประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงคของผเู รยี น
คุณลักษณะอันพงึ ประสงค หมายถงึ ลกั ษณะท่ีสงั คมตองการใหเ กิดขนึ้ กับผูเรียนในดา น

คณุ ธรรม จริยธรรม คาํ นิยม จติ ส านกึ สามารถอยูรว มกบั ผอู ื่นในสังคมไดอยางมีความสุข ท้งั ในฐานะพลเมือง
ไทยและพลโลก ในการพฒั นาคณุ ลักษณะอันพึงประสงค สามารถกระทำไดโดยนำพฤติกรรมบงชี้ หรือ
พฤติกรรมทีแ่ สดงออกของคุณลักษณะแตละดา นท่วี ิเคราะหไว บูรณาการในการจัดกจิ กรรมการเรียนรูของกลุม
สาระการเรยี นร๎ตู างๆ ในกจิ กรรมพฒั นาผูเรยี น โครงการพเิ ศษตางๆ ที่สถานศึกษาจดั ทำข้ึน รวมท้งั
สอดแทรกในกิจวัตรประจำวันของสถานศกึ ษา เชน การเขาแถวซอ้ื อาหารกลางวนั เปน ตน ในการ
ประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค ใหมีการประเมนิ เปนระยะๆ เพ่ือใหมีการส่งั สม และการพฒั นาอยาง
ตอเน่ือง โดยเฉพาะการนำไปใชในชีวิตประจำวนั และสรุปประเมินผลเมื่อจบปส ุดทายของแตล ะระดับ
การศึกษา

๑. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคข องผเู รียนโรงเรียนทบั โพธ์พิ ัฒนวิทย ประกอบดว ย
๑) รกั ชาติ ศาสน กษัตรยิ 
๒) ซ่อื สตั ยส จุ รติ
๓) มีวินยั
๔) ใฝเ รยี นรู
๕) อยอู ยางพอเพยี ง
๖) มงุ มน่ั ในการทำงาน
๗) รักความเปนไทย
๘) มีจติ สาธารณะ

๒. โรงเรยี นแตงตัง้ คณะกรรมการประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงคข องผเู รียน
๓. โรงเรยี นมอบหมายใหค รปู ระจำชั้นหรือครผู ูสอนดำเนินการประเมนิ คุณลกั ษณะ
อนั พึงประสงคค วบคไู ปกับกระบวนการเรยี นการสอน เปนระยะอยา งตอเนอื่ ง โดยใชเ คร่ืองมือประเมนิ
ที่โรงเรียนกำหนด และนำผลการประเมินไปใชป รบั ปรงุ พัฒนาผเู รียนอยา งตอเน่ืองตลอดชัน้ ป
๔. คณะกรรมการประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคข องผูเรยี น นำผลการประเมนิ
ของครปู ระจำช้ันหรือครผู ูสอนทกุ คน มาสรุปผลการประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงคของผเู รียนในแตล ะชั้น
ป ตามเกณฑท ี่โรงเรยี นกำหนด และนำผลการประเมินไปใชปรบั ปรงุ พัฒนาคณุ ลักษณะผูเรียนอยา ง
ตอเนื่อง ตลอดจนจบหลักสตู ร
๕. คณะกรรมการประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียนดำเนินการประเมนิ
คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคของผเู รียน ในปสุดทายของการศึกษาภาคบังคบั และการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน
๖. ในการสรปุ ผลการประเมินคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงครวมทุกคุณลักษณะเพื่อการ
เล่ือนชั้นและจบการศึกษา กำหนดเกณฑก ารตดั สินเปน ๔ ระดับ ไดแก ๓ ๒ ๑ ๐
และความหมายของแตล ะระดบั ดงั น้ี

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธ์ิพัฒนวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2565)

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ 2560) ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 194

๓ หมายถึง ดเี ยีย่ ม ผูเ รยี นปฏบิ ตั ิตนตามคุณลักษณะจนเปน นสิ ยั และนำไปใชใน
ชีวติ ประจำวนั เพือ่ ประโยชนสุขของตนเองและสงั คม

๒ หมายถึง ดี ผเู รยี นมีคณุ ลกั ษณะในการปฏิบัติตามกฎเกณฑ เพื่อใหเปนการ
ยอมรบั ของสงั คม

๑ หมายถึง ผาน ผูเรยี นรบั รแู ละปฏบิ ตั ิตามกฎเกณฑแ ละเงื่อนไขทส่ี ถานศึกษา
กำหนด

0 หมายถงึ ไมผ า น ผเู รยี นรบั รแู ละปฏิบัตไิ ดไ มครบตามกฎเกณฑและเงอ่ื นไข
ที่สถานศึกษากำหนด

คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคข องโรงเรยี นทับโพธพ์ิ ัฒนวิทย

ขอ ท่ี ตวั ชว้ี ัด
1. รักชาติ ศาสน กษตั รยิ 
1. เปนพลเมอื งดีของชาติ
2. ซอ่ื สัตยส จุ ริต 2. ธำรงไวซ ง่ึ ความเปนชาติไทย
3. มวี ินยั 3. ศรทั ธา ยึดมั่น ปฏิบัติตนตามหลักศาสนา
4. ใฝเ รยี นร๎ู 4. เคารพเทิดทนู สถาบนั พระมหากษัตรยิ 
1. ประพฤตติ รงตามความเปน จรงิ ตอตนเอง ทง้ั ทางกาย วาจา ใจ
5. อยูอยางพอเพียง 2. ประพฤติตรงตามความเปน จริงตอผอู ื่น ทั้งทางกาย วาจา ใจ
6. มงุ มัน่ ในการทำงาน 1.ปฏิบัติตามขอตกลง กฎเกณฑ ระเบยี บขอบังคับของครอบครัว โรงเรยี น
7. รักความเปน ไทย และสังคม
1. ตง้ั ใจ เพยี รพยายามในการเรียน และเขารวมกิจกรรมการเรียนรู
8. มจี ิตสาธารณะ 2. แสวงหาความรูจากแหลงเรียนรตู างๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรยี น
ดวยการเลือกใชสื่ออยางเหมาะสม สรปุ เปน องคความรู และสามารถ
นำไปใชในชีวิตประจำวันได
1. ดำเนินชีวติ อยางพอประมาณ มีเหตผุ ล รอบคอบ มคี ุณธรรม
2. มภี ูมคิ ุมกนั ในตวั ท่ีดี ปรับตัวเพอื่ อยูในสงั คมไดอ ยางมคี วามสุข
1. ต้ังใจและรบั ผิดชอบในการปฏิบตั ิหนาที่การงาน
2. ท างานดว ยความเพียรพยาม อดทนเพื่อใหงานสำเร็จตาม เปาหมาย
1. ภาคภมู ิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศลิ ปะ วัฒนธรรมไทย และมี
ความกตัญูกตเวที
2. เหน็ คณุ คาํ และใชภาษาไทยในการสอ่ื สารไดอยางถูกตองเหมาะสม
3. อนรุ กั ษสบื ทอดภูมิปญญาไทย
1. ชวยเหลือผูอืน่ ดวยความเตม็ ใจโดยไมหวงั ผลตอบแทน
2. เขารวมกจิ กรรมท่เี ปน ประโยชนต อโรงเรียน ชมุ ชน สงั คม

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธิ์พัฒนวทิ ย (ฉบบั ปรับปรงุ 2565)

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 195

การประเมนิ ความสามารถในการอาน คดิ วิเคราะห และเขยี นส่ือความของผเู รียน
1. ขอบเขตและตัวชวี้ ดั ความสามารถในการอา น คิดวิเคราะหแ ละเขียน

ขอบเขตการประเมิน (ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท่ี ๑ – ๓)
การอานจากสอ่ื ส่งิ พิมพและส่ืออิเล็กทรอนิกสท่ใี หขอ มูลสารสนเทศ ขอ คิด ความรู

เกี่ยวกับสังคมและสง่ิ แวดลอมที่เอื้อใหผ ูอานนำไปคิด วเิ คราะห วิจารณ สรปุ แนวคดิ คุณคา ทีไ่ ด นำไป
ประยุกตใ ชดวยวจิ ารณญาณ และถา ยทอดเปน ขอ เขียนเชงิ สรา งสรรคห รือรายงานดวยภาษาท่ถี ูกตอง
เหมาะสม เชน อา นหนงั สือพิมพ วารสาร หนงั สือเรยี น บทความ สนุ ทรพจน คำแนะนำ คำเตือน
แผนภมู ิ ตาราง แผนท่ี

ขอบเขตการประเมิน (ชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี ๔ – ๖)
การอา นจากส่อื สิง่ พิมพและส่อื อเิ ล็กทรอนิกสท่ีใหขอมลู สารสนเทศ ความรู

ประสบการณ แนวคดิ ทฤษฎี รวมทงั้ ความงดงามทางภาษาที่เอื้อใหผ ูอาน วเิ คราะห วิพากษ วิจารณ แสดง
ความคดิ เห็นโตแ ยง หรือสนบั สนุน ทำนาย คาดการณ ตลอดจนประยุกตใ ชในการตัดสนิ ใจ แกปญ หา และ
ถายทอดเปนขอเขียนเชงิ สรางสรรค รายงาน บทความทางวชิ าการอยางถูกตองตามหลักวิชา เชน
อา นบทความวิชาการ วรรณกรรมประเภทตาง ๆ

๒. โรงเรยี นแตง ตงั้ คณะกรรมการประเมินความสามารถในการอา น คดิ วิเคราะห
และเขยี นของผูเรยี น

๓. คณะกรรมการประเมนิ ความสามารถในการอาน คิดวเิ คราะห และเขยี นของผูเรยี น
ในแตละช้ันป โดยใชเคร่อื งมอื ประเมนิ ทโ่ี รงเรียนกำหนด และนำผลการประเมนิ ไปใชปรบั ปรุงพฒั นา
ผเู รยี นอยา งตอเน่ือง

๔. คณะกรรมการประเมินความสามารถในการอา น คิดวิเคราะห และเขียนของผเู รียน
ดำเนินการประเมินความสามารถในการอาน คดิ วเิ คราะห และเขียนของผเู รยี นในปส ดุ ทา ยของการศกึ ษา
ภาคบังคบั และการศึกษาขนั้ พื้นฐาน

๕. การประเมินการอาน คดิ วิเคราะห และเขียนใหผลการประเมินเปนผานและไมผ าน กรณี
ท่ีผา นใหระดับผลการประเมนิ เปน ๓, ๒, ๑, ๐ และความหมายของแตละระดับดังน้ี

๓ หมายถึง ดีเย่ียม ผเู รียนมผี ลงานทแี่ สดงถึงความสามารถในการอาน คิด
วิเคราะหแ ละเขียนท่ีมีคณุ ภาพดเี ลศิ อยูเสมอ

๒ หมายถงึ ดี ผเู รยี นมีคณุ ลักษณะในการปฏิบตั ิตามกฎเกณฑ เพ่ือใหเ ปน
การยอมรบั ของสังคม

๑ หมายถงึ ผาน ผูเ รยี นมีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอาน คดิ
วิเคราะห และ เขียน ที่มคี ุณภาพเปนท่ียอมรบั แตยังมี
ขอบกพรองบางประการ

๐ หมายถงึ ไมผาน ผูเรยี นรบั รแู ละปฏิบตั ิไดไ มครบตามกฎเกณฑและเงอ่ื นไข
ทีโ่ รงเรียนกำหนด

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธิพ์ ฒั นวทิ ย (ฉบับปรับปรุง 2565)

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 196

การประเมนิ สมรรถนะสำคัญของผูเ รยี น

๑. การประเมินสมรรถนะสำคัญของผเู รยี นโรงเรยี นทบั โพธิพ์ ัฒนวิทย ประกอบดวย

๑) ความสามารถในการส่ือสาร
๒) ความสามารถในการคดิ
๓) ความสามารถในการแกป ญหา
๔) ความสามารถในการใชทักษะ
๕) ความสามารถในการใชเทคโนโลยี
๒. โรงเรียนแตง ต้ังคณะกรรมการประเมินสมรรถนะสำคัญของผูเรยี นมอบหมายใหค รู
ประจำชัน้ หรือครูผูสอนทำการประเมินสมรรถนะสำคญั ของผเู รยี น
๓. คณะกรรมการปะเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผูเรยี นในแตล ะชัน้ ป โดยใชเครอ่ื งมอื
ประเมนิ ทโ่ี รงเรยี นกำหนด และนำผลการประเมินไปใชปรับปรงุ และพฒั นาผเู รยี นอยางตอเนือ่ ง
๔. คณะกรรมการประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผเู รยี น ดำเนนิ การประเมนิ สมรรถนะสำคัญ
ของผูเรียนในปสุดทายของการศกึ ษาภาคบงั คับและการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน
๕. ในการสรปุ ผลการประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผเู รยี นรวมทุกสมรรถนะเพื่อการ
เลอ่ื นช้นั และจบการศกึ ษา กำหนดเกณฑก ารตดั สนิ เปน ๔ ระดบั ไดแก ๓ ๒ ๑ ๐
และความหมายของแตล ะระดบั ดงั น้ี
๓ หมายถงึ ดีเยีย่ ม ผูเ รียนปฏบิ ตั ิตนตามสมรรถนะจนเปน นสิ ยั และนำไปใชใ น

ชวี ิตประจำวันเพ่ือประโยชนสขุ ของตนเองและสังคม โดย
พิจารณาจากผลการประเมนิ ระดับดเี ย่ียม จำนวน ๓-๕
สมรรถนะ และไมม สี มรรถนะใดไดผ ลการประเมนิ ต่ำกวาระดับดี

๒ หมายถึง ดี ผูเ รยี นมสี มรรถนะในการตามกฎเกณฑ เพื่อใหเปน การ
๑ หมายถึง ยอมรบั ของสงั คม
0 หมายถึง
ผา น ผเู รยี นรบั รูและปฏบิ ัติตามกฎเกณฑแ ละเงื่อนไขท่สี ถานศกึ ษา
กำหนด

ไมผา น ผเู รยี นรบั รูแ ละปฏบิ ตั ิไดไมครบตามกฎเกณฑและเงอื่ นไข
ท่สี ถานศึกษากำหนด

การตดั สินผลการเรียนและการเปล่ียนผลการเรียน
การตดั สินผลการเรียน ปฏบิ ตั ดิ ังนี้
๑. พจิ ารณาตดั สินผลการเรยี นเปน รายวชิ า โดยประเมินผลเปน รายภาคเรียน
๒. พจิ ารณาตดั สนิ วา ผเู รยี นไดผ ลการเรยี น เฉพาะรายวิชาท่ผี ูเ รียนสอบไดร ะดบั
ผลการเรยี น ๑-๔ เทา นนั้
๓. ผูเรยี นทไ่ี ดร ะดับผลการเรียน “๐” โรงเรยี นจดั ใหม ีการสอนซอ มเสริมในตวั ชี้วดั และ
ผลการเรยี นรทู ่ีไมผา น แลวจึงใหสอบแกต ัว จนกวาจะไดระดับผลการเรียน “๑”

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธ์ิพฒั นวทิ ย (ฉบับปรบั ปรงุ 2565)

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551(ฉบับปรับปรุง พ.ศ 2560) ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 197

การเปลี่ยนผลการเรียน
๑. การเปลีย่ นผลการเรยี น “๐”
ผูส อนจะตอ งทำการสอนซอมเสรมิ ในมาตรฐานการเรียนรู/ตวั ชีว้ ดั ทผี่ ูเรยี นสอบไมผา นกอน แลว จึงให
ผเู รยี นสอบแกตัวไดไมเกนิ ๒ ครง้ั ถา ผูเ รียนไมดำเนนิ การสอบแกตวั ตามระยะเวลาที่สถานศกึ ษากำหนด ใหอยู
ในดลุ ยพินจิ ของสถานศึกษาท่ีจะพิจารณาขยายเวลาออกไปอกี ๑ ภาคเรยี น ทั้งน้ตี อ งดำเนินการใหเ สรจ็ ส้นิ
ภายในปการศึกษาน้นั ถาสอบแกต ัว ๒ คร้งั แลว ยงั ไดร ะดบั ผลการเรยี น “๐” อีก ใหส ถานศกึ ษาแตงตั้ง
คณะกรรมการดำเนินการเกย่ี วกับการเปลยี่ นผลการเรียนของผเู รยี น โดยปฏบิ ตั ิ ดังน้ี

๑) ถา เปนรายวชิ าพนื้ ฐาน ใหเรยี นซ้ำรายวิชานั้น
๒) ถา เปนรายวชิ าเพมิ่ เติม ใหเ รียนซ้ำหรือเปล่ยี นรายวิชาเรียนใหม ทง้ั น้ใี หอยใู น
ดลุ ยพนิ จิ ของสถานศึกษาในกรณีท่เี ปลี่ยนรายวชิ าเรียนใหม ใหหมายเหตุในระเบียนแสดงผล
การเรยี นวาเรียนแทนรายวิชาใด
๒. การเปล่ียนผลการเรยี น “ร”
การเปล่ียนผลการเรยี น “ร” ใหดำเนนิ การดังน้ี
ใหผูเรยี นดำเนนิ การแกไข “ร” ตามสาเหตุ เมื่อผูเรยี นแกไขปญหาเสรจ็ แลว ใหไ ดระดบั ผลการเรยี นตามปกติ
(ตง้ั แต ๐ - ๔)ถา ผเู รยี นไมดำเนนิ การแกไข “ร” ใหผสู อนนำขอ มูลท่ีมอี ยตู ัดสนิ ผลการเรียน
ยกเวน มีเหตุสุดวิสยั ใหอยูในดลุ ยพินจิ ของสถานศกึ ษาทจี่ ะขยายเวลาการแก “ร” ออกไปอกี ไมเกนิ ๑
ภาคเรียน ท้งั น้ีตอ งดำเนนิ การใหเ สร็จสนิ้ ภายในปการศกึ ษานั้น เมื่อพนกำหนดน้แี ลว หากผลการเรยี น
เปน “๐” ใหดำเนนิ แกไ ขตามหลักเกณฑ
๓. การเปลย่ี นผลการเรียน “มส”
การเปลยี่ นผลการเรียน “มส” มี ๒ กรณี ดงั นี้
๑) กรณีผูเรียนไดผลการเรยี น “มส” เพราะมเี วลาเรยี นไมถึงรอ ยละ ๘๐ แตไมนอยกวารอ ยละ ๖๐
ของเวลาเรียนทงั้ หมด ใหสถานศึกษาจดั ใหเรียนเพิ่มเตมิ โดยใชช่วั โมงสอนซอ มเสรมิ หรอื ใชเวลาวาง หรอื ใช
วันหยดุ หรอื มอบหมายงานใหท ำ จนมีเวลาเรียนครบตามท่กี ำหนดไวสำหรบั รายวิชาน้นั
แลว จงึ ใหวดั ผลปลายภาคเปนกรณพี เิ ศษผลการแก “มส ” ใหไ ดร ะดับผลการเรยี นไมเ กิน “๑” การแก “มส”
กรณนี ี้ใหก ระทำใหเสรจ็ สนิ้ ภายในปก ารศกึ ษานั้น ถาผูเรยี นไมม าดำเนนิ การแก “มส” ตามระยะเวลาทกี่ ำหนด
ไวน ใ้ี หเ รยี นซ้ำ ยกเวน มีเหตุสดุ วสิ ัย ใหอยูใ นดลุ ยพินจิ ของสถานศกึ ษาที่จะขยายเวลาการแก “มส” ออกไปอีก
ไมเกนิ ๑ ภาคเรียน แตเม่อื พนกำหนดน้ีแลว ใหป ฏิบตั ิดังนี้
(๑) ถาเปนรายวิชาพนื้ ฐาน ใหเรียนซ้ำรายวิชาน้นั
(๒) ถาเปน รายวิชาเพิ่มเตมิ ใหอยใู นดุลยพนิ จิ ของสถานศกึ ษา ใหเรียนซำ้
หรือเปลย่ี นรายวชิ าเรยี นใหม
๒) กรณผี ูเ รียนไดผลการเรยี น “มส” และมีเวลาเรียนนอยกวารอ ยละ ๖๐
ของเวลาเรยี นทง้ั หมด ใหสถานศึกษาดำเนนิ การดงั น้ี
(๑) ถา เปน รายวิชาพื้นฐานใหเ รยี นซำ้ รายวิชานัน้
(๒) ถา เปน รายวิชาเพิ่มเติมใหอยใู นดุลยพินจิ ของสถานศึกษา ใหเ รียนซ้ำ
หรอื เปล่ียนรายวิชาเรยี นใหม

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธ์ิพัฒนวทิ ย (ฉบับปรบั ปรงุ 2565)

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบับปรับปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 198

ในกรณที เ่ี ปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม ใหหมายเหตใุ นระเบยี นแสดงผลการเรยี นวาเรยี นแทน
รายวชิ าใด

การเรยี นซำ้ รายวิชา หากผเู รยี นไดร ับการสอนซอ มเสรมิ และสอบแกตวั ๒ ครง้ั แลว ไม
เกณฑการประเมนิ ใหเรียนซำ้ รายวชิ านั้น ทั้งนใ้ี หอ ยใู นดลุ ยพินจิ ของสถานศึกษาในการจัดใหเรยี นซ้ำในชว งใด
ชวงหน่ึงทส่ี ถานศกึ ษาเหน็ วา เหมาะสม เชน พักกลางวนั วันหยดุ ชัว่ โมงวา งหลงั เลิกเรยี นหรือภาคฤดรู อ น
ในกรณภี าคเรียนท่ี ๒ หากผูเรยี นยงั มผี ลการเรียน “๐” “ร” “มส” ใหดำเนนิ การใหเสรจ็ สิน้ กอ นเปดเรยี นป
การศึกษาถดั ไปใหสถานศึกษาเปด การเรยี นการสอนในภาคฤดรู อนเพ่ือแกไขผลการเรยี นของผูเรยี นได

๔. การเปลยี่ นผลการเรียน “มผ”
หลักสตู รโรงเรียนทบั โพธิพ์ ฒั นวิทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๓ ตามหลักสตู รแกนกลาง

การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ปรบั ปรงุ พุทธศักราช ๒๕๕๗) กำหนดใหผูเ รียนเขา รวมกจิ กรรม
พัฒนาผเู รียน ๓ กจิ กรรม คอื ๑) กิจกรรมแนะแนว ๒) กจิ กรรมลกู เสือ เนตรนารี โดยผูเ รยี นเลอื กเรียนอยา ง
ใดอยางหน่ึง ๑ กจิ กรรมและเลอื กเขา รวมกิจกรรมชุมนมุ หรือชมรมอีก ๑ กิจกรรม

๓. กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน
ในกรณที ่ีผูเรยี นไดผ ลการเรยี น “มผ” สถานศึกษาตองจัดซอมเสรมิ ใหผ เู รยี นทำ

กจิ กรรมในสวนทผี่ ูเรียนไมไดเขารวมหรือไมไดทำจนครบถวน แลว จึงเปลยี่ นผลการเรยี นจาก “มผ” เปน “ผ”
ได ทัง้ น้ดี ำเนินการใหเ สร็จส้ินภายในภาคเรยี นนน้ั ๆ ยกเวน มเี หตสุ ดุ วสิ ัยใหอยูในดุลยพินจิ ของสถานศกึ ษาทีจ่ ะ
พจิ ารณาขยายเวลาออกไปอีกไมเ กนิ ๑ ภาคเรยี น แตต องดำเนินการใหเ สรจ็ สนิ้ ภายในปการศกึ ษานัน้

การเลื่อนชน้ั และการอนุมัตกิ ารจบหลักสูตร

การเลอื่ นชนั้
การพิจารณาเล่ือนชนั้ ถาผูเรยี นมีขอ บกพรองเพียงเล็กนอยและสถานศกึ ษาพจิ ารณาเห็นวา

สามารถพฒั นาและสอนซอ มเสรมิ ไดใหอยใู นดลุ พินจิ ของสถานศึกษาทจี่ ะผอนผนั ใหเล่อื นชัน้ ไดเม่ือสน้ิ ป
การศึกษาผเู รียนจะไดร บั การเลือ่ นชัน้ เมือ่ มีคณุ สมบตั ติ ามเกณฑ ดงั ตอไปน้ี

๑. รายวชิ าพน้ื ฐานและรายวิชาเพิม่ เติม ไดร บั การตัดสินผลการเรยี น
ผา นตามเกณฑทสี่ ถานศึกษากำหนด

๒. ผูเรียนตองไดรบั การประเมินและมีผลการประเมินผา นตามเกณฑท ่ี
สถานศึกษากำหนด ในการอา น คดิ วิเคราะห และเขยี น คณุ ลักษณะ
อนั พึงประสงค สมรรถนะสำคัญของผเู รยี นและกิจกรรมพฒั นาผูเรยี น

๓. ระดบั ผลการเรียนเฉลีย่ ในปก ารศกึ ษานนั้ ควรไดไ มตำ่ กวา ๑.๐๐
ท้งั น้รี ายวชิ าใดทไี่ มผา นเกณฑการประเมนิ ผูส อนตองซอมเสรมิ ผเู รยี น
ใหไ ดร บั การแกไ ขในภาคเรียนถดั ไป

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธิ์พัฒนวทิ ย (ฉบับปรบั ปรงุ 2565)

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 199

การเรียนซำ้ ชนั้
ถา ผเู รยี นทีม่ ผี ลการประเมนิ รายวิชาอยใู นระดบั ไมผ านจำนวนมาก และมีแนวโนมวา

จะเปน ปญหาตอการเรยี นในระดับชั้นท่สี ูงขนึ้ สถานศึกษาตองแตง ตั้งคณะกรรมการพิจารณาใหเ รียนซ้ำชัน้ ได
ทงั้ นใี้ หคำนงึ ถงึ วุฒิภาวะและความรคู วามสามารถของผูเ รยี นเปนสำคัญ

การเรียนซ้ำช้นั มี ๒ ลักษณะ คือ
๑) ผเู รียนมีระดบั ผลการเรยี นเฉลี่ยในปก ารศึกษานั้นตำ่ กวา ๑.๐๐ และมีแนวโนม วา
จะเปน ปญหาตอการเรียนในระดับชัน้ ท่สี งู ขึน้
๒) ผเู รียนมผี ลการเรยี น ๐, ร, มส เกนิ คร่งึ หน่งึ ของรายวชิ าท่ีลงทะเบยี นเรียนใน
ปก ารศกึ ษาน้ัน
ท้ังน้ี หากเกิดลกั ษณะใดลักษณะหน่งึ หรอื ทง้ั ๒ ลกั ษณะ สถานศึกษาตอ งแตงต้ัง
คณะกรรมการพจิ ารณา หากเห็นวา ไมม เี หตผุ ลอันสมควรกใ็ หซ ้ำชน้ั โดยยกเลกิ ผลการเรียนเดมิ และ
ใหใชผ ลการเรยี นใหมแทน หากพจิ ารณาแลวไมต อ งเรยี นซ้ำชั้น ใหอ ยูในดลุ ยพนิ จิ ของสถานศกึ ษา
ในการแกไ ขผลการเรยี น
การอนุมัติการจบหลักสตู รการศกึ ษาภาคบงั คับ
๑) ผูเรียนเรียนรายวิชาพน้ื ฐานและเพ่ิมเตมิ ไมเ กิน ๘๑ หนวยกิต โดยเปน รายวิชาพ้ืนฐาน
๖๖ หนวยกิต และรายวชิ าเพ่ิมเติมตามทส่ี ถานศึกษากำหนด
๒) ผูเรียนตองไดห นวยกิตตลอดหลกั สูตรไมนอ ยกวา ๗๗ หนวยกิต โดยเปน รายวิชา
พื้นฐาน ๖๖ หนว ยกิต และรายวิชาเพม่ิ เติมไมน อยกวา ๑๑ หนวยกิต
๓) ผเู รียนมีผลการประเมินการอาน คดิ วิเคราะหและเขียน ในระดบั ผา นเกณฑการ
ประเมนิ ตามทีส่ ถานศึกษากำหนด
๔) ผูเ รียนมผี ลการประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผูเ รยี นในระดบั ผา นเกณฑก ารประเมิน
ตามท่ีสถานศกึ ษากำหนด
๕) ผเู รียนเขารวมกจิ กรรมพฒั นาผูเ รียนและมีผลการประเมนิ ผานเกณฑก ารประเมินตามท่ี
สถานศึกษากำหนด
การอนมุ ัติการจบหลักสูตรการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน

๑) ผเู รียนเรียนรายวิชาพนื้ ฐานและเพ่ิมเตมิ ไมนอยกวา ๘๑ หนว ยกิต โดยเปนรายวชิ า
พนื้ ฐาน ๔๑ หนวยกิต และรายวิชาเพ่ิมเตมิ ตามท่ีสถานศกึ ษากำหนด

๒) ผเู รียนตองไดห นว ยกิตตลอดหลกั สูตรไมนอยกวา ๗๗ หนวยกิต โดยเปนรายวชิ าพ้นื ฐาน
๔๑ หนวยกติ และรายวชิ าเพ่มิ เติมไมนอยกวา ๓๖ หนว ยกิต

๓) ผูเรียนมีผลการประเมนิ การอาน คดิ วิเคราะหและเขยี นในระดับผานเกณฑก ารประเมนิ
ตามท่สี ถานศึกษากำหนด

๔) ผูเ รียนมผี ลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคใ นระดบั ผานเกณฑก ารประเมนิ
ตามทสี่ ถานศึกษากำหนด

๕) ผเู รียนมีผลการประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผูเ รยี นในระดับผา นเกณฑการประเมิน
ตามทสี่ ถานศึกษากำหนด

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธ์พิ ฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรับปรุง 2565)

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ 2560) ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 200

๖) ผเู รยี นเขา รว มกิจกรรมพฒั นาผเู รียนและมผี ลการประเมนิ ผา นเกณฑก ารประเมนิ ตามท่ี
สถานศกึ ษากำหนด

ผอู ำนวยการโรงเรียนเปนผูอนุมตั ผิ ลการเรยี นและการจบหลักสูตรการศึกษา

เอกสารหลักฐานการศกึ ษา

เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษา เปนเอกสารสำคัญที่บันทึกผลการเรียน ขอมูลและสารสนเทศที่เกีย่ วขอ ง
กบั พฒั นาการของผเู รียนในดา นตา ง ๆ แบง ออกเปน ๒ ประเภท ดังนี้

๑. เอกสารหลักฐานการศึกษาทก่ี ระทรวงศึกษาธิการกำหนด
๑.๑ ระเบียนแสดงผลการเรียน (ปพ.๑) เปนเอกสารแสดงผลการเรียนและรบั รองผลการเรยี น

ของผูเรียนตามรายวิชา ผลการประเมินการอาน คิดวิเคราะหและเขียน ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึง
ประสงคของสถานศกึ ษา และผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเ รียน สถานศึกษาบันทึกขอ มูลและออกเอกสาร
นี้ใหผเู รียนเปน รายบุคคล เมือ่ ผเู รยี นจบการศึกษาภาคบังคับ (ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที่ ๓) และผูเรยี นจบการศึกษา
ขั้นพ้นื ฐาน หรอื เมอ่ื ลาออกจากสถานศกึ ษาในทกุ กรณี

๑.๒ ประกาศนียบัตร (ปพ.๒) เปนเอกสารแสดงวุฒิการศึกษาเพื่อรับรองศกั ดิแ์ ละสิทธ์ิของผู
จบการศึกษา ทีส่ ถานศึกษาใหไวแ กผ จู บการศกึ ษาภาคบงั คับ และผจู บการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน

๑.๓ แบบรายงานผูสำเร็จการศึกษา (ปพ.๓) เปนเอกสารอนุมตั ิการจบหลักสูตรโดยบันทึก
รายชอ่ื และขอมูลของผจู บการศกึ ษาภาคบังคับ (ช้นั มัธยมศกึ ษาปท ่ี ๓) และผเู รยี นจบการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน

๒. เอกสารหลักฐานการศกึ ษาท่สี ถานศึกษากำหนด
เปนเอกสารที่สถานศึกษาจัดทำขึ้นเพื่อบันทกึ พัฒนาการ ผลการเรยี นรู และขอ มูลสำคัญ เกี่ยวกับ

ผเู รยี น ดังนี้
๒.๑ แบบแสดงผลการพฒั นาคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค (ปพ.๔) เปนเอกสารรายงาน

พัฒนาการ ดานคณุ ลกั ษณะของผูเรียนทีเ่ กยี่ วกบั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คานยิ มและคณุ ลกั ษณะอนั ถึงประสงค
ท่สี ถานศกึ ษากำหนดขน้ึ เพอ่ื พัฒนาผูเรยี นเปน พเิ ศษ เพ่ือการแกปญหาหรือสรางเอกลักษณใหผเู รียนตาม
วิสยั ทัศนของสถานศกึ ษา เปนการรายงานผลการประเมนิ ทีแ่ สดงถึงสภาพ หรอื ระดบั คณุ ธรรม จริยธรรม
คา นิยมอนั พึงประสงค ของผูเรียนในแตล ะชว งชั้น สถานศึกษาตองจดั ทำเอกสารนใ้ี หผเู รยี นทุกคน ควบคกู บั
ระเบียนแสดงผลการเรียนของผูเรยี นเพ่อื นำไปใชเปน หลกั ฐานแสดงคณุ ลักษณะของผเู รียนเพื่อประกอบในการ
สมคั รศกึ ษาตอหรอื สมัครทำงาน

๒.๒ แบบบันทกึ ผลการเรียนประจำวิชา (ปพ.๕) เปนเอกสารสำหรบั ผูสอนใชบันทึกเวลา
เรยี นขอ มูลผลการวัดและประเมนิ ผลการเรียนและขอ มูลการพัฒนาคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคข องผเู รยี นแตละ
คนท่เี รยี นในหองหรือกลุมเดียวกัน เพ่อื ใชเ ปน ขอมลู ในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน ปรับปรุง แกไข
สง เสรมิ และตัดสนิ ผลการเรยี นของผเู รียน รวมทง้ั ใชเ ปนหลักฐานสำหรบั ตรวจสอบ ยนื ยนั สภาพการเรียน
การมีสว นรว มในกจิ กรรมตา งๆ และผลสัมฤทธขิ์ องผเู รยี นแตล ะคน

๒.๓ แบบรายงานประจำตัวนกั เรียน (ปพ.๖) เปนเอกสารสำหรับบนั ทกึ ขอ มลู เก่ยี วกับผล
การเรียน พฒั นาการในดานตา งๆ และขอมลู อ่ืนๆ ของผูเรยี น

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธพิ์ ัฒนวทิ ย (ฉบับปรบั ปรุง 2565)

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ 2560) ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 201

๒.๔ ใบรับรองผลการศึกษา (ปพ.๗) เปนเอกสารท่สี ถานศึกษาออกใหผเู รยี นเปน การเฉพาะกิจ
เพื่อรับรองสถานภาพทางการศึกษาของผูเรียน เปนการชั่วคราว ทั้งกรณีผูเรียนยังไมสำเร็จการศึกษาและ
สำเรจ็ การศกึ ษาแลว

๒.๕ ระเบียนสะสม (ปพ.๘) เปน เอกสารสำหรับบนั ทึกขอมูลเก่ียวกบั พฒั นาการและ
ผลงานดานตางๆ ของผูเรยี นทง้ั ทีส่ ถานศกึ ษาและที่บา น เพือ่ ประโยชนใ นการแนะแนวผเู รยี นในทุกดานๆ

การเทียบโอนผลการเรียน

สถานศึกษาสามารถเทียบโอนผลการเรียนของผูเรียนในกรณีตางๆไดแก การยายสถานศึกษา
การเปล่ียนรูปแบบการศึกษา การยายหลักสูตร การออกกลางคนั และขอกลับเขา รับการศึกษาตอ การศึกษา
จากตางประเทศและขอเขาศึกษาตอในประเทศ นอกจากนี้ ยังสามารถเทยี บโอนความรู ทกั ษะ ประสบการณ
จากแหลงการเรียนรูอน่ื ๆ เชน สถานประกอบการ สถาบนั ศาสนา สถาบันการฝก อบรมอาชพี การจดั การศกึ ษา
โดยครอบครวั

การเทยี บโอนผลการเรยี นควรดำเนินการในชวงกอนเปด ภาคเรยี นแรก หรอื ตนภาคเรยี นแรกท่ี
สถานศกึ ษารับผูขอเทียบโอนเปนผเู รยี น ทง้ั นี้ ผูเ รยี นที่ไดร ับการเทยี บโอนผลการเรยี นตองศกึ ษาตอเนื่องใน
สถานศกึ ษาทร่ี บั เทียบโอนอยางนอย ๑ ภาคเรียน โดยสถานศึกษาท่รี บั ผเู รยี นจากการเทียบโอนควรกำหนด
รายวชิ า/จำนวนหนว ยกิตทีจ่ ะรบั เทียบโอนตามความเหมาะสม

การพิจารณาการเทียบโอน สามารถดำเนินการได ดังน้ี
๑. พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา และเอกสารอื่น ๆ ที่ใหขอมูลแสดงความรู ความสามารถของ
ผูเรียน
๒. พิจารณาจากความรู ความสามารถของผูเรียนโดยการทดสอบดวยวิธีการตาง ๆ ทั้งภาคความรู
และภาคปฏบิ ัติ
๓. พิจารณาจากความสามารถและการปฏบิ ัติในสภาพจรงิ

11.การบรหิ ารจดั การหลกั สูตรสถานศกึ ษา
การบรหิ ารจดั การหลักสูตรสถานศกึ ษา บริหารโดยใหทุกฝา ยทเ่ี ก่ยี วของกับการจัดการศกึ ษามี

สวนรวมคิด รวมทำทุกขั้นตอน โดยไดด ำเนินการตามลำดับขัน้ ดังน้ี

การบรหิ ารจดั การหลักสตู รสถานศึกษา บรหิ ารโดยใหท ุกฝา ยทีเ่ กี่ยวของกับการจดั การศกึ ษามี
สวนรวมคิด รวมทำทกุ ขัน้ ตอน โดยไดดำเนินการตามลำดับขั้นดังนี้

1. การเตรียมความพรอ มในดานบคุ ลากร และขอมลู สารสนเทศ

1.1 สรางความตระหนักแกคณะครูในโรงเรยี นและผูเกย่ี วของดว ยวิธกี ารตา งๆ เชน การ
ประชุมสรา งความเขาใจการจัดทำหลักสตู รทั้งในโรงเรยี น รวมประชมุ ประจำเดอื นหมูบานในเขตบริการ การ
ประชาสมั พนั ธทางศนู ยกระจายขา วสาร จดั ทำเอกสารเผยแพร เปน ตน

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธ์ิพฒั นวทิ ย (ฉบับปรับปรงุ 2565)

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ 2560) ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 202

1.2 เสนอแตงต้ังคณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู รและงานวิชาการในโรงเรยี นตามระเบยี บ
กระทรวงศึกษาธกิ ารวาดวยคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู รและงานวชิ าการสถานศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ.2544

1.3 พิจารณาแตง ตัง้ คณะอนุกรรมการรบั ผิดชอบแตละกลุม สาระการเรียนรู เพอ่ื จดั ทำ
สาระการเรยี นรูท่ีไดร บั มอบหมาย

1.4 พัฒนาบคุ ลากรในโรงเรียนทุกคน โดยการศกึ ษาเอกสาร การสง เขา ประชุมอบรมการ
จดั ทำสาระหลกั สตู รการศึกษาข้ันพนื้ ฐานที่กรมวิชาการจดั ขน้ึ ตามกลุมสาระทมี่ ีความถนัด

1.5 ออกแบบสอบถามขอมลู ชาวบา นในเขตบริการของโรงเรยี นเพื่อทราบขอ มูลพื้นฐานที่
จำเปน และความตองการพฒั นาการศกึ ษา

2. การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา

2.1 จัดบคุ ลากรเขาประชุมอบรมการบริหารจัดการหลกั สตู ร การจัดทำสาระหลักสูตรตาม
ความถนัดของแตละบุคคล

2.2 ผทู ่ีเขาประชุมนำความรูทีไ่ ดรบั มาขยายผลใหบุคลากรในโรงเรยี นไดร บั ทราบ และ
สรา งความเขาใจทกุ คร้งั

2.3 ประชุมผทู เี่ กีย่ วของกบั การจดั การศึกษาของโรงเรยี น ไดแก คณะครู กรรมการ
สถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ตัวแทนผปู กครอง ตวั แทนองคก รปกครองทอ งถ่ิน ตัวแทนชุมชน เพอื่ วิเคราะห
จดุ เดน จดุ ดอยของโรงเรียน ระดมความคดิ ชวยกันจัดทำวิสัยทศั น ภารกจิ จดุ มุงหมาย คุณลักษณะที่พงึ
ประสงค โครงสรา งกจิ กรรมพัฒนาผูเรียน สดั สว นเวลาเรยี น

2.4 จัดทำหลกั สตู รสถานศึกษา ตามกรอบที่ไดชวยกันกำหนด ไดแก วิสัยทศั น จดุ หมาย
คุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค สมรรถนะของผูเรียน โครงสรางสดั สว นเวลาเรยี น กจิ กรรมพัฒนาผเู รยี น คำอธิบาย
รายวชิ า การจดั การเรยี นรู การวัดและประเมินผล

2.5 จดั ทำหนว ยการเรียนรู และแผนการจดั การเรียนรู ของแตล ะสาระการเรยี นรู

3. การนำหลกั สตู รไปใช

ทำความเขาใจกับคณะครใู นโรงเรยี นในเร่ืองการจัดกจิ กรรมท่เี นนผูเรยี นเปน สำคญั การใช
สอื่ การเรยี นรูท ่ีหลากหลาย การสรา งบรรยากาศในโรงเรียนใหรม ร่ืนสวยงาม เออ้ื ตอการเรยี นรู รวมวางแผน
การแนะแนวนักเรียนทงั้ ในดานการศกึ ษาตอ การประกอบอาชพี และปญหาดาน
อ่นื ๆ

4. การกำกับ ติดตาม และประเมนิ ผล

ไดว างแผนการนิเทศติดตามไวเปน ระยะเพอ่ื ใหก ารบริหารจัดการหลักสูตรสถานศกึ ษาเปน ไป
ตามทิศทางและเปา หมายทีว่ างไวอยางแทจ รงิ

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธ์ิพัฒนวทิ ย (ฉบบั ปรับปรงุ 2565)

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551(ฉบับปรับปรุง พ.ศ 2560) ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 203

ภาคผนวก

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธ์พิ ฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรับปรงุ 2565)

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ 2560) ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 204

บรรณานกุ รม
คณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน, สำนักงาน. ตัวชวี้ ัดกลุมสาระการเรียนรูคณติ ศาสตรตาม

หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551.
กรุงเทพฯ : โรงพมิ พชมุ นุมสหกรณการเกษตรแหง ประเทศไทย จำกัด, 2551.
. ตัวช้วี ัดกลุมสาระการเรียนรภู าษาไทยตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน
พทุ ธศักราช 2551.กรุงเทพฯ : โรงพิมพช ุมนุมสหกรณการเกษตรแหง ประเทศไทย
จำกดั , 2551.
.ตัวช้ีวัดกลุมสาระการเรียนรูภ าษาตางประเทศตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษา
ขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พชุมนุมสหกรณก ารเกษตรแหง
ประเทศไทย จำกัด, 2551.
. ตัวชี้วัดกลมุ สาระการเรยี นรูว ิทยาศาสตรต ามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพชมุ นุมสหกรณก ารเกษตร
แหงประเทศไทย จำกัด, 2551.
.ตวั ชีว้ ัดกลมุ สาระการเรียนรูศ ลิ ปะตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพช มุ นมุ สหกรณก ารเกษตร
แหง ประเทศไทย จำกัด, 2551.

. ตวั ช้วี ัดสาระการเรยี นรแู กนกลางกลมุ สาระการเรยี นรสู งั คมศึกษา
ศาสนาและวฒั นธรรม. กรงุ เทพ : โรงพิมพช ุมนุมสหกรณก ารเกษตรแหง ประเทศไทย
จำกัด, 2551.
.ตวั ชี้วดั กลุมสาระการเรยี นรูสขุ ศึกษาและพลศกึ ษาตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พชมุ นุมสหกรณก ารเกษตรแหง
ประเทศไทย จำกัด, 2551.
.(รา ง) เอกสารประกอบหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551
แนวทางการบริหารจัดการหลกั สตู ร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพชุมนมุ สหกรณก ารเกษตร
แหงประเทศไทย จำกัด, 2551.
.(ราง) เอกสารประกอบหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนร.ู กรุงเทพฯ : โรงพมิ พช มุ นมุ สหกรณ
การเกษตรแหงประเทศไทย จำกดั , 2551.
. หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรงุ เทพฯ :
โรงพิมพช มุ นุมสหกรณการเกษตรแหง ประเทศไทย จำกัด, 2551.
กรงุ เทพฯ : โรงพิมพช ุมนมุ สหกรณการเกษตรแหง ประเทศไทย จำกัด, 2551.
. หลักสตู รสถานศึกษา พุทธศักราช 2544. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพคุรสุ ภาลาดพราว,
2544.
. เอกสารประกอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551
แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรยี นร.ู กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พช มุ นุมสหกรณ
การเกษตรแหงประเทศไทย จำกดั , 2551.

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธพ์ิ ัฒนวทิ ย (ฉบับปรบั ปรงุ 2565)

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 205

บรรณานุกรม (ตอ)

ตวั ชี้วัดและสาระการเรียนรแ๎ู กนกลางกลมุ สาระคณิตศาสตร (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสตู ร
แกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ : โรงพิมพช มุ นุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จำกัด

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลางกลมุ สาระวทิ ยาศาสตร (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ : โรงพิมพช มุ นุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จำกัด

ตวั ชวี้ ัดและสาระการเรยี นรูแกนกลางสาระภมู ิศาสตร (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) กลุมสาระการเรยี นรู
สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ : โรงพมิ พชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย
จำกัด

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธิ์พฒั นวทิ ย (ฉบับปรับปรุง 2565)

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ 2560) ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 206

คำสง่ั โรงเรยี นทับโพธิ์พฒั นวิทย

ท่ี 21 /2565

เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการจัดทำหลกั สตู รโรงเรยี นทับโพธ์พิ ัฒนวิทย พทุ ธศกั ราช 2565

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั รุง พ.ศ.2560)

...................................................................

เพอ่ื ใหการดำเนนิ การจดั การศึกษาดำเนิน ใหสอดคลอ งกับหลักสตู รแกนกลางขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช

2551(ฉบับปรบั รุง พ.ศ.2560) และพระราชบัญญัติการศกึ ษา พุทธศักราช 2542 เปน ไปดวยความ

เรยี บรอยและมปี ระสิทธิภาพ โรงเรยี นทบั โพธิพ์ ฒั นวทิ ย จงึ แตง ตง้ั คณะกรรมการดำเนนิ งานดังตอ ไปน้ี

1. คณะกรรมการทปี่ รกึ ษา

1.1 นางจันทรดี จอยสระคู ประธานกรรมการสถานศึกษา ประธานกรรมการ

1.2 นายเดน วเิ ศษวงษา ผูทรงคณุ วุฒิ รองประธานกรรมการ

1.3 นางหนูพิชย พิหูสตู ร กรรมการสถานศกึ ษา กรรมการ

1.4 พระครพู ิศาลปญญารตั กรรมการสถานศกึ ษา กรรมการ

1.5 นายสาคร เพชรหงษ กรรมการสถานศกึ ษา กรรมการ

1.6 นายบุญสนิ ทีภูงา กรรมการสถานศึกษา กรรมการ

1.7 นางอภญิ ญา กองแกว กรรมการสถานศึกษา กรรมการ

1.8 นายสรุ ีย บญุ อินทร ผูแทนองคกรชมุ ชน กรรมการ

1.9 นางสุภาพร เกสรพุด ผูแทนผปู กครอง กรรมการ

1.10 นายชนะชยั ปราบหนองบวั ผูแ ทนคณะกรรมการนักเรียน กรรมการ

1.11 นางจุฬาภรณ บุญศรี ผอู ำนวยการโรงเรยี นทบั โพธิ์พัฒนวทิ ย กรรมการและเลขานกุ าร

1.12 นางโฉมยง พรมโส ครู กรรมการและผูช ว ยเลขานุการ

มีหนา ท่ี ใหค ำปรกึ ษา แนะนำและสง เสรมิ สนบั สนนุ อำนวยการดำเนนิ งานในการจดั ทำหลกั สตู รใหดำเนนิ ไป

ดว ยความเรียบรอย

2. คณะกรรมการบริหารหลักสตู รสถานศึกษา

1. นางจุฬาภรณ บญุ ศรี ผูอำนวยการโรงเรยี นทบั โพธิ์พัฒนวทิ ย ประธานกรรมการ

รอบรรจุ รองผูอำนวยการฝายวชิ าการ รองประธานกรรมการ

๒. นางสาวศศกิ านต ศรศรี หัวหนา กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย กรรมการ

๓. นางวภิ ารภณ วเิ ศษวงษา หวั หนา กลุม สาระการเรยี นรูคณิตศาสตร กรรมการ

๔. นางสาวลำจวน สีงาม หัวหนากลุม สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี กรรมการ

๕. นายวรี เดช มะแพทย หวั หนา กลมุ สาระการเรยี นรสู ังคมศึกษาฯ กรรมการ

๖. นางพัชรนนั ท แพงยา หัวหนา กลมุ สาระการเรยี นรูการงานอาชพี กรรมการ

๗. นางธัญนันท ละอองศรี หัวหนา กลมุ สาระการเรยี นรศู ิลปะ กรรมการ

๘. นายชัยณรงค แสงอทุ ัย หวั หนากลมุ สาระการเรียนรสู ุขศึกษาพลศึกษา กรรมการ

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธิพ์ ฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรุง 2565)

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ 2560) ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 207

๙. นางสาวอรวรรยา ศรวี งษา หวั หนากลมุ สาระการเรยี นรภู าษาตา งประเทศ กรรมการ

๑๐. นางวิภาภรณ วิเศษวงษา หัวหนางานแนะแนว กรรมการ

11. นายอนุชา ยอดงาม หัวหนางานวัดและประเมินผล กรรมการ

12. นายอนชุ า ยอดงาม หวั หนา กิจกรรมพฒั นาผเู รยี น กรรมการ

13. นายธนวชิ ญ แสงราม หัวหนาพฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษาฯ กรรมการ

๑4. นายธนวชิ ญ แสงราม หัวหนางานวชิ าการ กรรมการและเลขานุการ

มีหนาที่ ดำเนนิ การวางแผนในการจดั ทำหลกั สูตรสถานศึกษาใหด ำเนนิ ไปดว ยความเรยี บรอ ย

3. คณะกรรมการดำเนนิ งาน

3.1 กลุม สาระการเรียนรูภาษาไทย

3.1.1 นางสาวศศิกานต ศรศรี ครู หัวหนา

3.2. กลุมสาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร

3.2.1 นางวภิ าภรณ วเิ ศษวงษา ครู หัวหนา

3.2.2 นางโฉมยง คนงาม ครู ผชู ว ย

3.3 กลมุ สาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตร

3.3.1 นางสาวลำจวน สงี าม ครู หัวหนา

3.3.2 นายธนวิชญ แสงราม ครู ผชู ว ย

3.3.3 นายทรัพยทวี โพธพิ์ นั ธ ครู ผชู ว ย

3.3.4 นายอนชุ า ยอดงาม ครู ผชู วย

3.4 กลุมสาระการเรยี นรูสงั คม ศาสนาและวฒั นธรรม

3.4.1 นายวีรเดช มะแพทย ครู หัวหนา

3.4.2 นายสรุ วฒั ิ พันคลัง พเ่ี ล้ยี งฯ ผชู ว ย

3.5. กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชพี

3.5.1 นางพัชรนันท แพงยา ครู หัวหนา

3.6 กลมุ สาระการเรยี นรสู ขุ ศึกษาและพลศึกษา

3.6.1 นายชยั ณรงค แสงอุทัย ครู หัวหนา

3.7 กลมุ สารการเรยี นรศู ลิ ปะ ดนตรี นาฎศลิ ป

3.7.1 นางธญั นนั ท ละอองศรี ครู หัวหนา

3.8 กลุมสาระการเรยี นรภู าษาตา งประเทศ

3.8.1 นางสาวอรวรรยา ศรวี งษา ครู หัวหนา

หนา ท่ี จดั ทำหลกั สตู รแตละกลมุ สาระการเรยี นรูข องสถานศกึ ษาใหด ำเนินไปดวยความเรยี บรอ ย

ใหผ ทู ไ่ี ดรบั การแตง ตง้ั ปฏิบัตหิ นาทโ่ี ดยเตม็ ความสามารถ เพอื่ ใหเ กิดผลดีตอ ทางราชการ

ส่งั ณ วนั ท่ี 3 เดอื น มีนาคม พ.ศ. 2565

( นางจฬุ าภรณ บญุ ศรี)
ผอู ำนวยการโรงเรียนทบั โพธพ์ิ ัฒนวิทย


Click to View FlipBook Version