The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย์ พ.ศ.2565 ม.ต้น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tanawich.s, 2022-07-07 02:53:01

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย์ พ.ศ.2565 ม.ต้น

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย์ พ.ศ.2565 ม.ต้น

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธิพ์ ฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรุง 2565)

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรับปรุง พ.ศ 2560) ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 43

คำอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน

รายวชิ าคณิตศาสตรพ ื้นฐาน 5 รหัสวิชา ค23101 กลมุ สาระการเรยี นรคู ณิตศาสตร

ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ่ี 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60ชั่วโมง จำนวน 1.5 หนวยกติ

ศกึ ษา วิเคราะห อธิบาย ฝก ทักษะการแกปญหาในสาระตอ ไปนี้
อสมการเชิงเสนตวั แปรเดียวอสมการเชิงเสนตวั แปรเดยี วการแกอ สมการเชงิ เสนตัวแปรเดยี ว การนำ
ความรเู กีย่ วกบั การแกอสมการเชงิ เสนตัวแปรเดียวไปใชใ นการแกป ญหา
การแยกตวั ประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนามดกี รสี ูงกวาสอง
สมการกำลังสองตัวแปรเดียว สมการกำลังสองตวั แปรเดียว การแกสมการกำลงั สองตวั แปรเดยี ว
การนำความรเู กี่ยวกับการแกสมการกำลังสองตัวแปรเดยี วไปใชใ นการแกป ญ หา
ความคลายรปู สามเหล่ียมทีค่ ลายกัน การนำความรเู กย่ี วกับความคลายไปใชในการแกป ญหา
ฟงกชนั กำลังสองกราฟของฟงกช ันกำลงั สอง การนำความรเู กย่ี วกับฟงกชนั กำลังสองไปใชในการ
แกปญหา
สถิติ ขอมูลและการวิเคราะหขอมลู ไดแ ก แผนภาพกลอ ง
การแปลความหมายผลลพั ธ การนำสถติ ิไปใชในชีวติ จรงิ
โดยนำความรู ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรที่หลากหลายมาใชในการแกปญหาในสถานการณ
ตางๆไดอยางเหมาะสม มีเหตุผลประกอบในการตัดสินใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม ใชภาษาและ
สัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร สื่อความหมาย และนำเสนอไดอยางถูกตองชัดเจน เชือ่ มโยงความรู
ตางๆในคณิตศาสตรและนำความรูทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรไปเชื่อมโยงกับศาสตรอื่นๆ และมี
ความคดิ ริเริ่มสรางสรรค
เพื่อใหเกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค สามารถทำงานอยางมีระบบระเบียบ รอบคอบ รับผิดชอบมี
วิจารณญาณ มคี วามเชื่อม่ันในตนเอง มีความซื่อสตั ยสจุ ริตมวี ินัย ใฝเรียนรู มุงมั่นในการทำงาน รักความเปน
ไทย มจี ิตสาธารณะ พรอ มทง้ั ตระหนกั ในคุณคา และมเี จตคติท่ดี ีตอคณติ ศาสตร

รหัสและตวั ช้วี ดั
ค1.2 ม.3/1, ม.3/2
ค1.3 ม.3/1, ม.3/2
ค2.2 ม.3/1
ค3.1 ม.3/1

รวมท้งั หมด 6 ตวั ชว้ี ัด

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธพิ์ ฒั นวทิ ย (ฉบับปรบั ปรงุ 2565)

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ 2560) ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 44

คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน

รายวชิ าคณติ ศาสตรพ ้นื ฐาน 6 รหสั วิชา ค23102 กลุมสาระการเรียนรคู ณิตศาสตร

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที่ 3 ภาคเรยี นท่ี 2 จำนวน 1.5 หนว ยกติ เวลา 60 ชั่วโมง

ศกึ ษา วเิ คราะห อธิบาย ฝก ทักษะการแกป ญ หาในสาระตอ ไปนี้
ระบบสมการระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปร การแกระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปร การนำความรู
เก่ียวกับการแกระบบสมการเชิงเสน สองตวั แปรไปใชใ นการแกปญหา
วงกลมวงกลม คอรด และเสน สมั ผัส ทฤษฎบี ทเก่ียวกบั วงกลม
พื้นที่ผิวการหาพื้นที่ผิวของพีระมิด กรวย และทรงกลมการนำความรูเกี่ยวกับพื้นที่ผิวของพีระมดิ
กรวย และทรงกลมไปใชในการแกป ญหา
ปริมาตรการหาปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรงกลมการนำความรูเกี่ยวกับปริมาตรของพีระมิด
กรวย และทรงกลมไปใชในการแกป ญหา
ความนาจะเปนเหตุการณจากการทดลองสุม ความนาจะเปน การนำความรูเกี่ยวกับความนาจะ
เปนไปใชใ นชวี ิตจรงิ
อัตราสวนตรีโกณมิติอตั ราสว นตรีโกณมิตกิ ารนำคาอัตราสว นตรีโกณมิตขิ องมุม 30 องศา 45 องศา
และ 60 องศา ไปใชใ นการแกป ญหา
โดยนำความรู ทักษะกระบวนการทางคณติ ศาสตรทห่ี ลากหลายมาใชใ นการแกปญ หาในสถานการณ
ตางๆไดอยา งเหมาะสม มเี หตผุ ลประกอบในการตดั สินใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม ใชภาษาและ
สญั ลกั ษณทางคณติ ศาสตรในการสือ่ สาร สื่อความหมาย และนำเสนอไดอยา งถูกตอ งชดั เจน เชือ่ มโยงความรู
ตา งๆในคณติ ศาสตรและนำความรูท ักษะกระบวนการทางคณติ ศาสตร
ไปเช่ือมโยงกับศาสตรอ่ืนๆและมีความคิดริเริ่มสรา งสรรค
เพื่อใหเกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค สามารถทำงานอยางมีระบบระเบียบ รอบคอบ รับผิดชอบมี
วิจารณญาณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความซื่อสตั ยสุจริตมีวินัย ใฝเรียนรู มุงมั่นในการทำงาน รักความเปน
ไทย มีจติ สาธารณะ พรอ มทัง้ ตระหนกั ในคุณคา และมเี จตคติท่ดี ตี อคณติ ศาสตร

รหัสและตัวชี้วดั
ค1.3 ม.3/3
ค2.1 ม.3/1, ม.3/2
ค2.2 ม.3/2,ม.3/3
ค3.2 ม.3/1

รวมท้ังหมด 6 ตวั ชวี้ ดั

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธิ์พัฒนวทิ ย (ฉบับปรับปรงุ 2565)

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ 2560) ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 45

คำอธิบายรายวิชาเพ่ิมเติม
กลุม สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธิพ์ ฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรับปรุง 2565)

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ 2560) ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 46

คำอธิบายรายวิชาเพ่มิ เตมิ

รายวิชาคณิตศาสตรเพิ่มเติม 1 รหัสวชิ า ค21201 กลุมสาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร

ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ 1 ภาคเรียนที่ 1 จำนวน 1.0 หนว ยกติ เวลา 40 ชว่ั โมง

ศึกษา ฝกทักษะ/กระบวนการในสาระตอ ไปนี้
การประยุกต 1รูปเรขาคณิต จำนวนนับความยาวของดานของรูปสามเหลี่ยมจุดขางใน และจดุ ขาง
นอกประกอบภาพจากรูปเรขาคณิตท่กี ำหนดใหเปน รปู ตาง ๆ
จำนวนและตัวเลขระบบตัวเลขโรมัน การประยุกตเกี่ยวกับจำนวนเต็มและเลขยกกำลัง การคิด
คำนวณโจทยปญหา
การประยุกตเ กี่ยวกับจำนวนเต็มและเลขยกกำลัง การคิดคำนวณ โจทยปญหารสรา ง การแบงสวน
ของเสนตรง การสรางมุมขนาดตาง ๆ การสรา งรปู สามเหล่ียมและรปู ส่เี หล่ียมดา นขนาน
โดยการจัดประสบการณ หรือสรางสถานการณในชีวิตประจำวันที่ใกลตัวใหผูเรียนไดศึกษาคนควา
โดยการปฏิบตั ิจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพือ่ พัฒนาทักษะและกระบวนการในการคิดคำนวณ การแกปญหา
การใหเหตุผล การสือ่ ความหมายทางคณติ ศาสตรแ ละนำประสบการณดา นความรูความคดิ ทักษะกระบวนการ
ท่ไี ด ไปใชในการเรียนรูส ิง่ ตา ง ๆ และใชชวี ิตประจำวนั อยางสรางสรรค รวมทั้งเหน็ คณุ คา และมีเจตคติที่ดีตอ
คณติ ศาสตร สามารถทำงานอยางเปน ระบบระเบยี บ มีความรอบคอบ มีความรบั ผดิ ชอบมีวจิ ารณญาณ และ
มีความเช่ือมั่นในตนเอง
การวัดและการประเมินผล ใชวิธีหลากหลายตามสภาพความเปนจริงใหสอดคลองกับเน้ือหาและ
ทักษะท่ตี องการวัด

ผลการเรียนรู
1. ใชความรูเกี่ยวกับรูปเรขาคณิต จำนวนนับ รอยละในชีวิตประจำวัน ปญหาชวนคิดและ

ทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตรแ กป ญหาตาง ๆ ได
2. อา นและเขียนตัวเลขโรมันได
3. ใชค วามรูเก่ียวกบั จำนวนเตม็ และเลขยกกำลงั ในการแกปญ หาได
4. ใชก ารสรางพื้นฐานสรา งมุมขนาดตาง ๆ ได
5. สรางรปู สามเหลี่ยมและสเี่ หลยี่ มพรอ มท้ังใหเ หตุผลได

รวมท้ังหมด 5 ผลการเรียนรู

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธิพ์ ัฒนวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรุง 2565)

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ 2560) ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 47

คำอธบิ ายรายวชิ าเพ่ิมเติม

รายวชิ าคณติ ศาสตรเพมิ่ เติม 2 รหสั วิชา ค21202 กลุมสาระการเรียนรูคณติ ศาสตร

ช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี 1 ภาคเรียนที่ 2 จำนวน 1.0 หนว ยกิต เวลา 40 ชวั่ โมง

ศึกษา ฝกทกั ษะ/กระบวนการในสาระตอ ไปน้ี
การเตรยี มความพรอ มในการใหเ หตผุ ล ขอความคาดการณ ประโยคเงื่อนไข บทกลับของ
ประโยคเงอ่ื นไข การใหเ หตุผล
พหุนาม เอกนาม การบวกและการลบเอกนาม พหุนาม การบวกและการลบพหนุ าม การคูณพหุ
นาม การหารพหุนาม
การประยุกต 2 แบบรปู ของจำนวน ขา ยงาน การประยุกตของเศษสว นและทศนิยม
โดยการจัดประสบการณ หรือสรางสถานการณในชีวิตประจำวันที่ใกลตัวใหผูเรียนไดศึกษาคนควา
โดยการปฏิบตั ิจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพือ่ พัฒนาทักษะและกระบวนการในการคิดคำนวณ การแกปญหา
การใหเหตผุ ล การสื่อความหมายทางคณติ ศาสตรและนำประสบการณด า นความรูความคดิ ทักษะกระบวนการ
ที่ได ไปใชใ นการเรียนรสู งิ่ ตา ง ๆ และใชชวี ิตประจำวนั อยางสรางสรรค รวมท้งั เห็นคุณคา และมีเจตคตทิ ่ีดตี อ
คณติ ศาสตร สามารถทำงานอยางเปนระบบระเบยี บ มคี วามรอบคอบ มีความรบั ผดิ ชอบมวี ิจารณญาณ และ
มีความเช่ือม่ันในตนเอง
การวัดและการประเมินผล ใชวิธีหลากหลายตามสภาพความเปนจริงใหสอดคลองกับเนื้อหาและ
ทักษะที่ตองการวดั

ผลการเรยี นรู
1. สงั เกต ใหขอ ความคาดการณ และใหเ หตผุ ลทางคณติ ศาสตรอ ยางงายได
2. หาผลบวกและผลลบของเอกนามและพหนุ ามได
3. หาผลคูณและผลหารของพหนุ ามอยางงายได
4. ใชค วามรแู ละทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตรแกป ญหาตา ง ๆ ได
5. ตระหนกั ถงึ ความสมเหตสุ มผลของคำตอบทีไ่ ด

รวมท้ังหมด 5 ผลการเรยี นรู

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธิ์พัฒนวทิ ย (ฉบบั ปรับปรงุ 2565)

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 48

คำอธิบายรายวชิ าเพ่มิ เตมิ

รายวิชาคณิตศาสตรเ พิ่มเติม 3 รหัสวชิ า ค22203 กลุมสาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร

ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 จำนวน 1.0 หนวยกิต เวลา 40 ชั่วโมง

ศึกษา ฝก ทกั ษะ/กระบวนการในสาระตอไปนี้
สมบัติของเลขยกกำลัง การดำเนนิ การของเลขยกกำลงั สมบัติอนื่ ๆ ของเลขยกกำลัง
พหุนามและเศษสว นของพหุนาม ทบทวนพหนุ าม การคูณพหุนาม การหารพหนุ ามเศษสว นของพหุ
นาม การคณู และการหารเศษสว นของพหนุ าม การบวกและการลบเศษสว นของพหนุ าม
การประยุกตเกี่ยวกบั อัตราสวนและรอยละ การประยุกตเกี่ยวกับอตั ราสวน การประยกุ ตเกี่ยวกบั
รอยละ การประยุกตเ กยี่ วกบั อตั ราสว นและรอยละ
การประยุกตของการแปลงทางเรขาคณติ การประยุกตของการเลื่อนขนาน การประยุกตของการ
สะทอ น การประยุกตของการหมุน เทสเซลเลชนั
โดยการจัดประสบการณ หรือสรางสถานการณในชีวิตประจำวันที่ใกลตัวใหผูเรียนไดศึกษาคนควา
โดยการปฏบิ ตั ิจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการในการคิดคำนวณ การแกปญหา
การใหเหตุผล การส่อื ความหมายทางคณติ ศาสตรแ ละนำประสบการณดา นความรูความคดิ ทักษะกระบวนการ
ที่ได ไปใชในการเรียนรูสิง่ ตาง ๆ และใชชวี ิตประจำวันอยางสรา งสรรค รวมท้งั เห็นคณุ คา และมีเจตคตทิ ่ีดีตอ
คณิตศาสตร สามารถทำงานอยางเปนระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบมวี ิจารณญาณ และ
มีความเชอื่ มน่ั ในตนเอง
การวัดและการประเมินผล ใชวิธีหลากหลายตามสภาพความเปนจริงใหสอดคลองกับเน้ือหาและ
ทักษะที่ตองการวดั

ผลการเรยี นรู
1. คณู และหารจำนวนที่เขียนอยูในรปู เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลงั เปน จำนวนเตม็ โดยใชบ ทนยิ ามและ

สมบัตขิ องเลขยกกำลงั และนำไปใชใ นการแกป ญหาได
2. คำนวณและใชเลขยกกำลังในการเขยี นแสดงจำนวนทมี่ ีคานอ ยๆ หรอื มีคามากๆ ในรูปสญั กรณ-

วิทยาศาสตรได
3. ตระหนักถงึ ความสมเหตสุ มผลของคำตอบทไี่ ด
4. บวก ลบ คณู หาร พหนุ ามได
5. บวก ลบ คณู หาร เศษสวนของพหุนามที่พหนุ ามมีดีกรไี มเกนิ หนึง่ ได
6. ใชความรเู กีย่ วกบั อตั ราสว น สดั สว น และรอ ยละ แกปญหาหรือสถานการณตาง ๆได
7. ใชความรูเกีย่ วกับการเลื่อนขนาน การสะทอน และการหมนุ ในการสรางสรรคงานศลิ ปะหรือ

ออกแบบ
รวมทั้งหมด 7 ผลการเรียนรู

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธิ์พัฒนวทิ ย (ฉบับปรบั ปรุง 2565)

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรับปรุง พ.ศ 2560) ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 49

คำอธบิ ายรายวิชาเพ่มิ เติม

รายชิ าคณิตศาสตรเ พม่ิ เติม 4 รหัสวชิ า ค22204 กลุมสาระการเรียนรูคณติ ศาสตร

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที่ 2 ภาคเรียนท่ี 2 จำนวน 1.0 หนว ยกติ เวลา 40 ช่วั โมง

ศกึ ษา ฝกทักษะ/กระบวนการในสาระตอ ไปน้ี

การแยกตัวประกอบของพหุนามดกี รีสอง การแยกตวั ประกอบโดยใชสมบัตกิ ารแจกแจงการแยกตัว

ประกอบของพหุนามดกี รีสองตัวแปรเดียวการแยกตวั ประกอบของพหนุ ามดีกรีสองที่เปน กำลังสองสมบรู ณก าร

แยกตวั ประกอบของพหุนามดกี รสี องที่เปน ผลตา งของกำลังสอง

สมการกำลังสองตัวแปรเดียว การแกสมการกำลังสองตัวแปรเดียว โจทยปญหาเกี่ยวกับสมการ

กำลงั สองตวั แปรเดยี ว

การแปรผัน การแปรผันตรง การแปรผกผนั การแปรผันเก่ียวเน่ือง

โดยการจัดประสบการณ หรือสรางสถานการณในชีวติ ประจำวันท่ีใกลตัวใหผูเรียนไดศึกษาคนควา

โดยการปฏิบตั ิจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการในการคดิ คำนวณ การแกปญหา

การใหเหตุผล การสอ่ื ความหมายทางคณติ ศาสตรแ ละนำประสบการณด านความรูความคดิ ทักษะกระบวนการ

ท่ีได ไปใชในการเรียนรูส ิ่งตาง ๆ และใชช วี ิตประจำวันอยางสรางสรรค รวมทัง้ เหน็ คณุ คา และมีเจตคติท่ีดีตอ

คณิตศาสตร สามารถทำงานอยางเปน ระบบระเบยี บ มคี วามรอบคอบ มคี วามรบั ผิดชอบมีวิจารณญาณ และ

มีความเช่ือม่ันในตนเอง

การวัดและการประเมินผล ใชวิธีหลากหลายตามสภาพความเปนจริงใหสอดคลองกับเน้ือหาและ

ทกั ษะท่ีตองการวดั

ผลการเรียนรู

1. แยกตัวประกอบของพหุนามดกี รีสองโดยใชสมบัตกิ ารแจกแจงได
2. แยกตวั ประกอบของพหุนามดีกรีสองท่ีอยใู นรปู ax2 + bx + c เม่ือ a, b, c เปนคา คงตวั และ a ≠ 0 ได
3. แยกตวั ประกอบของพหนุ ามดีกรสี องท่ีอยใู นรูปกำลงั สองสมบูรณไ ด
4. แยกตัวประกอบของพหนุ ามดกี รีสองที่อยใู นรูปผลตา งของกำลังสองได
5. แกสมการกำลงั สองตัวแปรเดียวโดยใชก ารแยกตวั ประกอบได
6. แกโ จทยป ญ หาเกยี่ วกับสมการกำลังสองตวั แปรเดยี วโดยใชการแยกตัวประกอบได
7. เขียนสมการแสดงการแปรผนั ระหวางปริมาณตา ง ๆ ทแ่ี ปรผันตอ กนั ได
8. แกปญหาหรอื สถานการณทก่ี ำหนดโดยใชค วามรูเกีย่ วกับการแปรผนั ได
9. ตระหนกั ถงึ ความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได

รวมท้งั หมด 9 ผลการเรยี นรู

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธพ์ิ ัฒนวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2565)

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ 2560) ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 50

คำอธบิ ายรายวิชาเพ่มิ เติม

รายวิชาคณิตศาสตรเ พิ่มเติม 5 รหสั วชิ า ค23205 กลมุ สาระการเรยี นรูคณติ ศาสตร

ช้ันมัธยมศกึ ษาปที่ 3 ภาคเรยี นท่ี 1 จำนวน 1.0 หนว ยกิต เวลา 40 ชวั่ โมง

ศึกษา ฝกทักษะ/กระบวนการในสาระตอ ไปนี้

กรณฑทีส่ อง สมบัติของ เม่อื การดำเนนิ การของจำนวนจรงิ ซ่งึ เก่ยี วกับกรณฑท่ีสอง การนำไปใช

การแยกตัวประกอบของพหุนาม การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เปนผลตา งของกำลัง

สอง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง โดยวิธที ำเปนกำลังสองสมบูรณ การแยกตัวประกอบของพหุ

นามดีกรสี งู กวาสองท่มี สี ัมประสิทธ์ิเปนจำนวนเต็ม การแยกตวั ประกอบของพหุนามทีม่ สี ัมประสิทธ์ิเปนจำนวน

เตม็ โดยใชท ฤษฎเี ศษเหลือ

สมการกำลังสองการแกสมการกำลังสองตัวแปรเดียวโดยใชส ูตร การแกโจทยปญ หาเกี่ยวกับสมการ

กำลังสองตวั แปรเดยี ว

พาราโบลา สมการพาราโบลา กราฟของพาราโบลาทอี่ ยูในรปู y = ax2+bx +c เม่อื a  0

โดยการจัดประสบการณ หรือสรางสถานการณในชีวติ ประจำวันท่ีใกลตัวใหผูเรียนไดศึกษาคนควา

โดยการปฏิบตั จิ ริง ทดลอง สรุป รายงาน เพ่อื พัฒนาทักษะ/กระบวนการในการคดิ คำนวณ การแกป ญ หา การ

ใหเ หตุผล การสอื่ ความหมายทางคณิตศาสตรแ ละนำประสบการณดา นความรูความคดิ ทกั ษะกระบวนการท่ีได

ไปใชในการเรียนรูสิ่งตางๆ และใชชีวิตประจำวันอยางสรางสรรค รวมทั้งเห็นคุณคา และมีเจตคติที่ดีตอ

คณติ ศาสตร สามารถทำงานอยางเปน ระบบระเบียบ มคี วามรอบคอบ มีความรบั ผดิ ชอบมีวิจารณญาณ และมี

ความเช่ือมั่นในตนเอง

เพื่อใหม คี วามสามารถในการใชภ าษาและสัญลักษณทางคณติ ศาสตรในการสือ่ สาร การส่อื ความหมาย

การนำเสนอเชอ่ื มโยง ความรตู า งๆ ทางคณิตศาสตร กับศาสตรอ ื่นๆ นำความรูไ ปใชใ นชีวติ ประจำวันมีความคดิ

รเิ รม่ิ สรางสรรค เหน็ คณุ คาและเจตคตทิ ี่ดีตอคณติ ศาสตร ทำงานอยา งรอบคอบ มีความรับผดิ ชอบมีคณุ ธรรมที่

เหมาะสม

ผลการเรียนรู

1. บวก ลบ คณู และหารจำนวนจรงิ ซง่ึ เก่ียวกับกรณฑท่ีสองทก่ี ำหนดใหและนำไปใชแ กป ญหาได
2. แยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยวธิ ีทำเปนกำลังสองสมบูรณได
3. แยกตวั ประกอบของพหนุ ามดกี รีสองทมี่ สี ัมประสิทธ์ิเปนจำนวนเตม็ ได
4. แยกตัวประกอบของพหนุ ามดีกรีสูงทีม่ ีสมั ประสิทธิ์เปน จำนวนเต็มโดยใชทฤษฎีเศษเหลือได
5. แกส มการกำลังสองตัวแปรเดียวได
6. แกโจทยป ญหาเกย่ี วกบั สมการกำลังสองตวั แปรเดยี วได
7. เขยี นกราฟพาราโบลาท่ีกำหนดใหไ ด
8. บอกลกั ษณะของกราฟพาราโบลาท่ีกำหนดใหได
รวมทั้งหมด 8 ผลการเรียนรู

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธิพ์ ัฒนวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรุง 2565)

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ 2560) ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 51

คำอธิบายรายวิชาเพ่มิ เติม

รายวชิ าคณติ ศาสตรเ พิ่มเติม 6 รหสั วิชา ค23206 กลุมสาระการเรียนรคู ณิตศาสตร
ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 3 ภาคเรียนท่ี 2 จำนวน 1.0 หนว ยกติ เวลา 40 ชั่วโมง

ศึกษา ฝก ทักษะ/กระบวนการในสาระตอ ไปนี้
การใชเหตุผลเกี่ยวกับรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เหลี่ยม ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการใหเหตุผลทาง
เรขาคณติ ทฤษฎีบทเกี่ยวกบั รูปสามเหลี่ยมและรปู สามเหล่ียม การสราง
ระบบสมการ ระบบสมการที่ประกอบดวยสมการเชิงเสนและสมการดีกรีสอง ระบบสมการท่ี
ประกอบดว ยสมการดกี รีสองท้ังสองสมการ
เศษสวนของพหุนาม เศษสวนของพหุนาม การดำเนินการของเศษสวนของพหุนาม การแก
สมการเศษสวนของพหุนาม โจทยปญหาเก่ียวกบั เศษสวนของพหุนาม
โดยการจัดประสบการณ หรือสรางสถานการณในชีวิตประจำวันที่ใกลตัวใหผูเรียนไดศึกษาคนควา
โดยการปฏบิ ัติจรงิ ทดลอง สรุป รายงาน เพอ่ื พัฒนาทกั ษะ / กระบวนการในการคิดคำนวณ การแกปญ หา
การใหเหตุผล การส่ือความหมายทางคณิตศาสตรและนำประสบการณด า นความรูความคดิ ทักษะกระบวนการ
ทไี่ ด ไปใชใ นการเรียนรูส ิง่ ตา งๆ และใชชวี ติ ประจำวันอยางสรา งสรรค รวมท้ังเหน็ คณุ คา และมีเจตคตทิ ่ีดตี อ
คณติ ศาสตร สามารถทำงานอยางเปน ระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มคี วามรบั ผิดชอบมีวจิ ารณญาณ และ
มคี วามเช่ือมัน่ ในตนเอง
เพ่ือใหม คี วามสามารถในการใชภาษาและสัญลักษณทางคณติ ศาสตรในการสอ่ื สาร การสอ่ื ความหมาย
การนำเสนอเชือ่ มโยง ความรูตางๆ ทางคณติ ศาสตร กบั ศาสตรอ ่ืนๆ นำความรูไปใชในชวี ติ ประจำวันมีความคดิ
รเิ ร่มิ สรา งสรรค เหน็ คณุ คาและเจตคตทิ ีด่ ตี อคณติ ศาสตร ทำงานอยา งรอบคอบ มคี วามรับผิดชอบมีคณุ ธรรมท่ี
เหมาะสม

ผลการเรียนรู
1. ใชสมบตั ิเก่ยี วกับรปู สามเหลยี่ มและส่ีเหลย่ี มในการใหเหตผุ ลได
2. สรา งและใหเหตผุ ลเกีย่ วกับการสรางที่กำหนดใหได
3. แกร ะบบสมการสองตวั แปรท่สี มการมีดีกรไี มเกนิ สองท่ีกำหนดใหไ ด
4. แกโ จทยปญหาเกยี่ วกบั ระบบสมการสองตัวแปรทีม่ ีสมการมดี ีกรไี มเกนิ สองท่กี ำหนดใหได
5. ตระหนกั ถึงความสมเหตสุ มผลของคำตอบที่ได
6. บวก ลบ คณู และหารเศษสว นของพหนุ ามได
7. แกส มการเศษสว นของพหุนามได
8. แกป ญหาเกย่ี วกับเศษสว นของพหุนามได

รวมท้งั หมด 8 ผลการเรยี นรู

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธพ์ิ ัฒนวทิ ย (ฉบับปรับปรุง 2565)

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ 2560) ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 52

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธ์พิ ัฒนวทิ ย (ฉบับปรับปรงุ 2565)

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรับปรุง พ.ศ 2560) ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 53

โครงสรา งรายวิชาพ้นื ฐานและเพมิ่ เติม กลุมสาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร

ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน

รายวิชาพ้นื ฐาน

ว ๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร ๑ จำนวน ๓ ช่วั โมง/สปั ดาห (๑.๕ หนวยกติ )

ว 21103 การออกแบบเทคโนโลยี 1 จำนวน 1 ชั่วโมง/สปั ดาห (0.๕ หนว ยกิต)

ว ๒๑๑๐๒ วทิ ยาศาสตร ๒ จำนวน ๓ ช่ัวโมง/สัปดาห (๑.๕ หนว ยกติ )

ว 21104 วิทยาการคำนวณ 1 จำนวน 1 ชั่วโมง/สปั ดาห (0.๕ หนว ยกิต)

ว ๒๒๑๐๑ วิทยาศาสตร ๓ จำนวน ๓ ชัว่ โมง/สัปดาห (๑.๕ หนวยกิต)

ว 22103 การออกแบบเทคโนโลยี 2 จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห (0.๕ หนวยกติ )

ว ๒๒๑๐๒ วิทยาศาสตร ๔ จำนวน ๓ ชัว่ โมง/สัปดาห (๑.๕ หนวยกิต)

ว 22104 วิทยาการคำนวณ 2 จำนวน 1 ช่ัวโมง/สปั ดาห (0.๕ หนว ยกติ )

ว ๒๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร ๕ จำนวน ๓ ช่ัวโมง/สปั ดาห (๑.๕ หนวยกิต)

ว 23103 การออกแบบเทคโนโลยี 3 จำนวน 1 ชั่วโมง/สปั ดาห (0.๕ หนวยกติ )

ว ๒๓๑๐๒ วทิ ยาศาสตร ๖ จำนวน ๓ ชว่ั โมง/สัปดาห (๑.๕ หนว ยกิต)

ว 23103 วิทยาการคำนวณ 3 จำนวน 1 ช่วั โมง/สปั ดาห (0.๕ หนวยกิต)

รายวชิ าวิทยาศาสตรเพิม่ เติม

ว ๒0๒๐๑ โครงงานวิทยาศาสตร๑ จำนวน 1 ชวั่ โมง/สปั ดาห (0.5 หนว ยกิต)

ว ๒0๒๐๒ สนกุ กบั วิทยาศาสตร จำนวน 1 ชว่ั โมง/สัปดาห (0.5 หนว ยกติ )

ว ๒0๒๐3 สารเคมีกบั ชีวิต จำนวน 1 ชวั่ โมง/สัปดาห (0.5 หนวยกติ )

ว ๒0๒๐4 วทิ ยาศาสตรก ับพชื สมุนไพร จำนวน 1 ชว่ั โมง/สปั ดาห (0.5 หนวยกิต)

ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

รายวชิ าพน้ื ฐาน

ว ๓๑๑๐๑ ฟสิกสพน้ื ฐาน 1 จำนวน 2 ชัว่ โมง/สัปดาห (1.๐ หนวยกติ )

ว ๓๑๑๐2 ฟสิกสพ ื้นฐาน 2 จำนวน 2 ชัว่ โมง/สปั ดาห (1.๐ หนวยกติ )

ว ๓2๑๐1 เคมพี ื้นฐาน 1 จำนวน 2 ชัว่ โมง/สัปดาห (1.๐ หนวยกิต)

ว ๓2๑๐2 ชวี วิทยาพ้ืนฐาน 1 จำนวน 2 ชว่ั โมง/สัปดาห (1.๐ หนวยกิต)

ว ๓3๑๐1 ชวี วิทยาพ้ืนฐาน 1 จำนวน 2 ชัว่ โมง/สัปดาห (1.๐ หนว ยกิต)

ว ๓3161 โลก ดาราศาสตรและอวกาศ จำนวน ๒ ชั่วโมง/สปั ดาห (๑.๐ หนว ยกติ )

รายวชิ าวิทยาศาสตรเพม่ิ เติม จำนวน ๔ ชว่ั โมง/สัปดาห (๒.๐ หนว ยกิต)
ว ๓1๒๐๑ ฟสกิ สเ พ่มิ เติม ๑ จำนวน ๓ ช่ัวโมง/สปั ดาห (๑.๕ หนวยกิต)
ว ๓1๒๒๑ เคมีเพ่ิมเติม ๑ จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห (๑.๕ หนวยกติ )
ว ๓1๒๔๑ ชวี วิทยาเพิ่มเตมิ ๑ จำนวน 3 ช่วั โมง/สปั ดาห (1.5 หนว ยกติ )
ว ๓1๒๐๒ ฟสกิ สเพ่มิ เติม ๒ จำนวน ๓ ชว่ั โมง/สปั ดาห (๑.๕ หนว ยกติ )
ว ๓1๒๒๒ เคมีเพมิ่ เติม ๒

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธิ์พัฒนวทิ ย (ฉบับปรบั ปรงุ 2565)

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 54

ว ๓1๒๔๒ ชีววิทยาเพมิ่ เติม ๒ จำนวน ๓ ช่ัวโมง/สปั ดาห (๑.๕ หนวยกติ )
ว ๓2๒๐๓ ฟสกิ สเ พม่ิ เติม ๓ จำนวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห (1.5 หนวยกติ )
ว ๓2๒๒๓ เคมีเพิ่มเติม ๓ จำนวน ๓ ช่ัวโมง/สปั ดาห (๑.๕ หนวยกติ )
ว ๓2๒๔๓ ชวี วทิ ยาเพิ่มเติม ๓ จำนวน ๓ ช่วั โมง/สปั ดาห (๑.๕ หนว ยกิต)
ว ๓2๒๐๔ ฟสกิ สเพิ่มเติม ๔ จำนวน 3 ชวั่ โมง/สปั ดาห (1.5 หนวยกิต)
ว ๓2๒๒๔ เคมีเพิ่มเติม ๔ จำนวน ๓ ชว่ั โมง/สปั ดาห (๑.๕ หนวยกติ )
ว ๓2๒๔๔ ชวี วทิ ยาเพม่ิ เตมิ ๔ จำนวน ๓ ช่ัวโมง/สัปดาห (๑.๕ หนว ยกิต)
ว ๓3๒๐๕ ฟสิกสเพิ่มเติม ๕ จำนวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห (1.5 หนวยกิต)
ว ๓3๒๒๕ เคมีเพ่มิ เติม ๕ จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห (๑.๕ หนวยกิต)
ว ๓3๒๔๕ ชีววิทยาเพ่ิมเตมิ ๕ จำนวน ๓ ชัว่ โมง/สัปดาห (๑.๕ หนว ยกิต)
ว ๓3๒๐6 ฟสิกสเ พ่มิ เติม 6 จำนวน 3 ช่วั โมง/สปั ดาห (1.5 หนว ยกิต)
ว ๓3๒๒6 เคมีเพิ่มเติม6 จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห (๑.๕ หนว ยกิต)
ว ๓3๒๔6 ชวี วิทยาเพ่มิ เติม6 จำนวน ๓ ช่วั โมง/สัปดาห (๑.๕ หนวยกติ

หมายเหตุ
รายวิชาเพิม่ เตมิ สารมารถเลือกเรยี นไดท ุกภาคเรยี นทุกชัน้ เรียนขน้ึ อยกู ับความสนใจ ความตองการ

ของผูเรยี นและความพรอ มของสถานศึกษาและสามารถเปดเพม่ิ เติมจากทีร่ ะบุไวในโครงสรา งไดหากเปนความ
ตอ งการของผูเรยี นชุมชน หรอื ตามสภาพความจำเปน ของสถานศึกษาจำเปนของสถานศึกษา แตต อ งนำเสนอ
เพอ่ื ขออนมุ ัติใชก อ น

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธ์ิพฒั นวทิ ย (ฉบับปรับปรงุ 2565)

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ 2560) ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 55

คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน
กลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตร

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธพิ์ ฒั นวทิ ย (ฉบับปรับปรงุ 2565)

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 56

คําอธิบายรายวชิ า

รายวิชา วิทยาศาสตร1 รหสั วชิ า ว21101 กลมุ สาระการเรียนรูว ทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

ช้นั มัธยมศกึ ษาปท ี่ 1 ภาคเรยี นที่ 1 จำนวน 1.5 หนวยกติ เวลา 60 ช่ัวโมง/ภาคเรียน

ศึกษา วิเคราะหความหมายของวิทยาศาสตร กระบวนการทางวิทยาศาสตร ลักษณะสําคัญของ

นักวทิ ยาศาสตร เครอ่ื งมือและอุปกรณวิทยาศาสตร ผลของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การใชกลอ งจลุ ทรรศน

เซลลของสง่ิ มีชวี ิต การลาํ เลยี งสารเขาและออกจากเซลล การลาํ เลียงน้ำและธาตุอาหารของพชื การสงั เคราะห

ดวยแสง การสืบพันธุและการเจริญเติบโตของพืช การตอบสนองของพืช ความกา วหนาของเทคโนโลยีชีวภาพ

เกี่ยวกบั พืช ท้ังนี้โดยใชกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร การสืบเสาะหาความรูการสํารวจตรวจสอบ การสืบคน

ขอ มูลและการอภปิ รายเพ่ือใหเกิดความรูความคิดความเขาใจ สามารถส่ือสารส่งิ ท่เี รยี นรูมีความสามารถในการ

ตดั สนิ ใจ นําความรูไ ปใชใ นชวี ิตประจาํ วนั มจี ิตวทิ ยาศาสตรจริยธรรม คณุ ธรรม และคานิยมท่ีเหมาะสม

รหัสตัวช้ีวัด
ว 1.2 ม. 1/1,ม. 1/2,ม. 1/3,ม. 1/4,ม. 1/5,ม. 1/6,ม. 1/7,ม. 1/8,ม. 1/9,ม. 1/10,ม. 1/11,

ม. 1/12,ม. 1/13,ม. 1/14,ม. 1/15,ม. 1/16,ม. 1/17,ม. 1/18

รวมท้ังหมด 18 ตัวชวี้ ัด

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธิ์พฒั นวทิ ย (ฉบับปรับปรงุ 2565)

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 57

คาํ อธบิ ายรายวิชา

รายวชิ า วิทยาศาสตร2 รหัสวิชา ว21102 กลมุ สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

ช้นั มัธยมศกึ ษาปท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2 จำนวน 1.5 หนวยกติ เวลา 60 ช่วั โมง/ภาคเรยี น

ศกึ ษาสถานะของสาร ปจจัยทม่ี ีผลตอการเปลย่ี นสถานะ ผลของความรอนทม่ี ตี อ การเปลี่ยนแปลงของ
สาร การถายโอนพลงั งานความรอน การจดั กลุมสารตามลักษณะเน้ือสารและขนาดของอนภุ าคการละลายของ
สารในตัวทําละลาย ความเขมขนของสารละลาย พลงั งานกับการละลายของสาร ปจจัยที่มีผลตอการละลาย
สมบัติของสารละลายกรดและสารละลายเบส pH ของสารละลายกรดและเบส กรดและเบสในชีวิตประจําวัน
ศึกษา วิเคราะห ชั้นบรรยากาศ ผลของรังสีจากดวงอาทิตยตอบรรยากาศ อุณหภูมิอากาศ ความดันอากาศ
ความชื้นอากาศ ลม เมฆ ฝน พายฟุ าคะนอง พายุหมุนเขตรอ น มรสุม การพยากรณอากาศ เอลนีโญ ลานีญา
การเปลี่ยนแปลงอุณหภมู ิอากาศของโลก มลพิษทางอากาศ การบอกตาํ แหนงและการเปลี่ยนตําแหนงของวัตถุ
ปริมาณเวกเตอรและปริมาณสเกลาร อัตราเรว็ และความเรว็ ของวัตถุ ท้ังนโี้ ดยใชก ระบวนการทางวิทยาศาสตร
การสบื เสาะหาความรู การสํารวจตรวจสอบ การสืบคน ขอมูลและการอภิปราย เพื่อใหเกิดความรู ความคดิ
ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ นําความรูไปใชในชีวิตประจําวัน มี
จิตวทิ ยาศาสตร จริยธรรม คณุ ธรรม และคานยิ มท่เี หมาะสม

รหสั ตัวชี้วดั
ว 2.1 ม. 1/1,ม. 1/2,ม. 1/3,ม. 1/4,ม. 1/5,ม. 1/6,ม. 1/7,ม. 1/8,ม. 1/9,ม. 1/10
ว 2.2 ม. 1/1

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธ์ิพัฒนวทิ ย (ฉบบั ปรับปรงุ 2565)

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 58

คำอธิบายรายวชิ า

รายวิชา วทิ ยาศาสตร 3 รหสั วิชา ว 22101 กลุม สาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตรและ

เทคโนโลยี

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 1 จำนวน 1.5 หนวยกิต เวลา 60 ชัว่ โมง/ภาคเรียน

ศึกษา วิเคราะห อวัยวะและหนาทีข่ องอวยั วะท่ีเก่ียวของในระบบหายใจ กลไกการหายใจเขาและ

ออกโดยใชแบบจำลอง กระบวนการแลกเปลี่ยนแกส ความสำคัญของระบบหายใจ หนาที่ของอวัยวะใน

ระบบขับถายในการกำจัดของเสียทางไต ความสำคัญของระบบขับถายในการกำจดั ของเสียทางไต บรรยาย

โครงสรางและหนาทข่ี องหัวใจ หลอดเลือดและเลือด การทำงานของระบบหมุนเวียนเลือดโดยใชแบบจำลอง

ออกแบบการทดลองและทดลองในการเปรียบเทียบอัตราการเตนของหัวใจ ขณะปกติและหลังทำกิจกรรม

ความสำคัญของระบบหมุนเวยี นเลือด อวัยวะและหนา ท่ีของอวัยวะในระบบประสาทสวนกลางในการควบคุม

การทำงานตางๆ ของรา งกาย ความสำคัญของระบบประสาท หนาทีข่ องอวัยวะในระบบสบื พนั ธุของเพศชาย

และหญงิ ผลของฮอรโมนเพศชายและเพศหญิง การเปล่ยี นแปลงของรา งกายเม่ือเขาสวู ัยหนุม สาว การตกไข

การมีประจำเดอื นการปฏิสนธิ และการพฒั นาของไซโกต วธิ ีการคมุ กำเนิด

ออกแบบการทดลองและทดลองในการอธิบายผลของชนิดตัวละลาย ชนดิ ของตัวทำละลายอณุ หภูมิที่

มีตอสภาพละลายไดของสาร ผลของความดันที่มีตอสภาพละลายไดของสารระบุปริมาณตัวละลายใน

สารละลาย ในหนวยความเขมขน เปน รอยละ ปรมิ าตรตอ ปริมาตร มวลตอ มวลและมวลตอปรมิ าตร การนำ

ความรูเรื่องความเขมขนของสารไปใช อธิบายการแยกสารผสมโดยการระเหยแหง การตกผลึก การกล่ัน

อยางงาย โครมาโทกราฟแบบกระดาษ การสกัดดวยตัวทำละลาย แยกสารโดยการระเหยแหง การตกผลกึ

การกลั่นอยางงา ย โครมาโทกราฟแ บบกระดาษ การสกัดดว ยตัวทำละลาย นำวิธีการแยกสารไปใชแกปญหา

ในชีวิตประจำวันโดยบูรณาการวิทยาศาสตร คณิตศาสตร เทคโนโลยีและวิศวกรรมศาสตร แนวโนม

เทคโนโลยีทจ่ี ะเกิดขึ้น ออกแบบวิธีการแกปญหาภายใตทรัพยากรที่มีอยู ใชค วามรูและทักษะเกี่ยวกับวัสดุ

อุปกรณ เครือ่ งมือ กลไก ไฟฟา และอเิ ลก็ ทรอนิกสเ พ่ือแกปญ หาหรอื พัฒนางานไดอยางถูกตอง เหมาะสม

และปลอดภัย

โดยใชก ารสืบเสาะหาความรู การสำรวจตรวจสอบ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ ละทกั ษะการ

เรียนรูในศตวรรษที่ 21 การสืบคนขอมูลและการอภิปรายเพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถ

สื่อสารสิง่ ที่เรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ การแกปญหาการนำความรูไปใชในชีวิตประจำวัน มีจิต

วทิ ยาศาสตร จริยธรรม คณุ ธรรม และคานิยมท่ีเหมาะสม

รหัสตวั ช้ีวัด

ว 1.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6 ม.2/7 ม.2/8 ม.2/9 ม.2/10 ม.

2/11

ม.2/12 ม.2/13 ม.2/14 ม.2/15 ม.2/16 ม.2/17

ว 2.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6

รวมท้ังหมด 23 ตัวชี้วัด

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธพ์ิ ฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2565)

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 59

คำอธิบายรายวชิ า

รายวิชา วทิ ยาศาสตร 4 รหสั วิชา ว 22102 กลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 2 ภาคเรยี นที่ 2 จำนวน 1.5 หนวยกติ เวลา 60 ชว่ั โมง/ภาคเรยี น

พยากรณการเคลื่อนที่ของวัตถุที่เปนผลของแรงลัพธที่เกิดจากแรงหลายแรงท่ีกระทำตอวัตถุในแนว

เดียวกัน เขียนแผนภาพแสดงแรงและแรงลัพธท ีเ่ กิดจากแรงหลายแรงท่ีกระทำตอ วัตถุในแนวเดยี วกัน แรงที่

กระทำตอวัตถุในของเหลว แรงเสียดทานและแรงอื่น ๆ ที่กระทำตอวัตถุ แรงเสียดทานและแรงอื่น ๆ ท่ี

กระทำตอวัตถุ ออกแบบการทดลองและทดลองปจจัยทีม่ ผี ลตอความดันของของเหลว ปจจัยที่มีผลตอขนาด

ของแรงเสียดทาน โมเมนตของแรง เมื่อวัตถุอยูในสภาพสมดุลตอการหมุน และคำนวณโดยใชสมการ

วิเคราะหแรงพยุงและการจม การลอยของวัตถุในของเหลว อธิบายแรงเสียดทานสถิตและแรงเสียดทานจลน

ประโยชนของความรูเรื่องแรงเสียดทานโดยวิเคราะหสถานการณปญ หาและเสนอแนะวิธีการลดหรือเพิ่มแรง

เสียดทาน ที่เปนประโยชนตอการทำกิจกรรมในชีวิตประจำวัน เปรียบเทียบแหลงของสนามแมเหล็ก

สนามไฟฟา และสนามโนม ถวง และทิศทางของแรงทีก่ ระทำตอวตั ถุที่อยใู นแตล ะสนามจากขอมูลที่รวบรวมได

เขียนแผนภาพแสดงแรงแมเหล็ก แรงไฟฟา และแรงโนมถว งทีก่ ระทำตอวัตถุ วิเคราะหความสัมพันธระหวาง

ขนาดของแรงแมเ หล็ก แรงไฟฟา และแรงโนมถว งที่กระทำตอวัตถุที่อยูในสนามน้ัน ๆ กบั ระยะหางจากแหลง

ของสนามถึงวตั ถุจากขอมูลท่ีรวบรวมได

อธิบายและคำนวณอัตราเร็วและความเร็วของการเคลื่อนที่ของวัตถุ เขียนแผนภาพแสดงการกระจัด

และความเร็ว วิเคราะหสถานการณและคำนวณเกี่ยวกับงานและกำลังที่เกิดจากแรงที่กระทำตอวัตถุจาก

ขอมลู ทีร่ วบรวมได หลักการทำงานของเครื่องกลอยางงายจากขอมูลที่รวบรวมได ความรูของเคร่ืองกลอยาง

งาย ออกแบบและทดลองปจจัยท่ีมีผลตอพลังงานจลน และพลงั งานศักยโนมถวง แปลความหมายขอมลู และ

อธิบายการเปลีย่ นพลงั งานระหวา งพลังงานศกั ยโ นมถวงและพลังงานจลนของวตั ถุโดยพลังงานกลของวัตถุมีคา

คงตัว วิเคราะหสถานการณและอธิบายการเปลีย่ นและการถายโอนพลังงานโดยใชกฎการอนรุ ักษพลังงาน

เปรียบเทียบกระบวนการเกิด สมบตั ิ และการใชป ระโยชน

รวมทั้งอธบิ ายผลกระทบจากการใชเชื้อเพลิงซากดกึ ดำบรรพ ผลจากการใชเชื้อเพลิงซากดกึ ดำบรรพ

โดยนำเสนอแนวทางการใชเชื้อเพลงิ ซากดึกดำบรรพเปรียบเทียบขอ ดีและขอจำกดั ของพลงั งานทดแทนแตละ

ประเภทจากการรวบรวมขอมูลและนำเสนอแนวทางการใชพลงั งานทดแทนทเี่ หมาะสมในทอ งถิน่

สรางแบบจำลองท่ีอธิบายโครงสรางภายในโลกตามองคประกอบทางเคมีอธิบายกระบวนการผุพังอยู

กบั ที่ การกรอน และการสะสมตัวของตะกอนจากแบบจำลองรวมท้ังยกตัวอยา งผลของกระบวนการดังกลาวท่ี

ทำใหผ วิ โลกเกดิ การเปลี่ยนแปลง ลกั ษณะของชั้นหนาตดั ดนิ และกระบวนการเกดิ ดิน จากแบบจำลอง รวมทั้ง

ระบุปจจัยที่ทำใหดินมีลักษณะและสมบัติแตกตางกนั ตรวจวัดสมบัติบางประการของดิน โดยใชเครื่องมือท่ี

เหมาะสมและนำเสนอแนวทางการใชประโยชนดนิ จากขอมลู สมบัติของดิน อธิบายปจ จัยและกระบวนการเกิด

แหลงน้ำผิวดินและแหลงน้ำใตดิน จากแบบจำลอง สรางแบบจำลองที่อธิบายการใชน้ำ และนำเสนอแนว

ทางการใชอยางยั่งยืนในทองถิ่นของตนเอง สรางแบบจำลองที่อธิบายกระบวนการเกิดและผลกระทบของนำ้

ทว ม การกดั เซาะชายฝง ดนิ ถลม หลุมยบุ แผนดินทรดุ

โดยใชการสืบเสาะหาความรู การสำรวจตรวจสอบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและทกั ษะการเรยี นรูใน

ศตวรรษที่ 21 การสบื คนขอมลู และการอภปิ รายเพื่อใหเกิดความรู ความคดิ ความเขา ใจ สามารถสือ่ สารสิ่งท่ี

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธิพ์ ัฒนวทิ ย (ฉบับปรับปรงุ 2565)

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบับปรับปรุง พ.ศ 2560) ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 60

เรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ การแกปญ หาการนำความรูไปใชในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร
จริยธรรม คุณธรรม และคานยิ มทีเ่ หมาะสม

รหัสตัวชี้วดั
ว 2.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6 ม.2/7 ม.2/8 ม.2/9 ม.2/10 ม.

2/11
ม.2/12 ม.2/13 ม.2/14 ม.2/15

ว 2.3 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6
ว 3.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6 ม.2/7 ม.2/8 ม.2/9 ม.2/10
รวมทั้งหมด 31 ตัวชีว้ ัด

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธ์พิ ัฒนวทิ ย (ฉบับปรบั ปรงุ 2565)

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ 2560) ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 61

คำอธิบายรายวชิ า

รายวชิ า การออกแบบเทคโนโลยี 2 รหสั วชิ า ว22103 กลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 จำนวน 0.5 หนวยกิต เวลา 20 ชั่วโมง/ภาคเรยี น

ศึกษาสาเหตุหรือปจจัยที่ทำใหเกิดการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี ตลอดจนคาดการณแนวโนมเทคโนโลยีใน

อนาคต เลือกใชเทคโนโลยีโดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นตอชีวิต สังคม และสิ่งแวดลอม ประยุกตใชความรู

ทักษะ และทรัพยากร โดยวิเคราะห เปรียบเทียบและเลือกขอมูลที่จำเปนเพื่อออกแบบวิธีการแกปญหาในชุมชน

หรือทองถิ่นในดานพลังงาน สิ่งแวดลอม การเกษตรและอาหาร และสรางชิ้นงานหรือพัฒนาวิธีการโดยใช

กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมทั้งเลือกใชวัสดุ อุปกรณ เครื่องมือ ในการแกปญหาไดอยางถูกตอง

เหมาะสม และปลอดภัยโดยอาศัยกระบวนการเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน (Problem – based Learning)

กระบวนการเรยี นรูการสืบเสาะหาความรู (Inquiry) 5Es และการเรยี นรแู บบใชโ ครงงานเปนฐาน (Project-based

Learning) เพือ่ เนนใหผูเรียนไดล งมือปฏิบัติ ฝก ทกั ษะการคิดเผชิญสถานการณการแกปญหาวางแผนการเรียนรู

ตรวจสอบการเรียนรู และนำเสนอผา นการทำกิจกรรมโครงงาน เพื่อใหเกิดทักษะ ความรู ความเขาใจ และทักษะ

ในการวเิ คราะหโจทยปญหา

เพอื่ ใหผูเรยี นมคี วามรูความเขาใจปจ จัยท่ีทำใหเกิดการเปล่ยี นแปลงเทคโนโลยี สามารถแกปญหาในชุมชนหรือ

ทองถิ่น สรางชิ้นงานหรือพัฒนาวิธีการ รวมทั้งเลือกใชวัสดุ อุปกรณ เครื่องมือในการแกปญหาไดอยางถกู ตอง

เหมาะสม และปลอดภัย มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และคา นยิ มในการใชว ิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยอี ยางสรางสรรค

รหัสตัวช้วี ดั

ว. 4.1 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี

ม.2/1 คาดการณแ นวโนมเทคโนโลยที ี่จะเกิดข้นึ โดยพิจารณาจากสาเหตุหรือปจ จยั ท่สี ง ผลตอการเปล่ียนแปลง

ของเทคโนโลยี และวิเคราะหเปรยี บเทยี บ ตัดสนิ ใจเลือกใชเ ทคโนโลยโี ดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบท่เี กดิ ข้ึนตอชีวติ สังคม

และสิ่งแวดลอ ม

ม.2/2 ระบุปญหาหรือความตองการในชุมชนหรือทอ งถิ่น สรุปกรอบของปญหา รวบรวม วิเคราะหขอมูลและ

แนวคดิ ที่เกี่ยวของกับปญ หา

ม.2/3 ออกแบบวิธีการแกป ญ หา โดยวิเคราะห เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกขอมูลทีจ่ ำเปน ภายใตเง่ือนไข

และทรัพยากรที่มีอยู นำเสนอแนวทางการแกปญหาใหผูอื่นเขาใจ วางแผนขั้นตอนการทำงานและดำเนินการ

แกป ญ หาอยางเปนขั้นตอน

ม.2/4 ทดสอบ ประเมินผล และอธิบายปญหาหรือขอบกพรองทเี่ กดิ ข้ึน ภายใตกรอบเง่อื นไขพรอมทั้งหาแนว

ทางการปรับปรงุ แกไ ข และนำเสนอผลการแกป ญ หา

ม.2/5 ใชค วามรู และทกั ษะเก่ียวกับวัสดุ อปุ กรณเ คร่ืองมือ กลไก ไฟฟา และอิเลก็ ทรอนิกสเพื่อแกปญหาหรือ

พัฒนางานไดอ ยางถูกตอ งเหมาะสม และปลอดภัย

รวมท้งั หมด 5 ตวั ชีว้ ดั

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธิพ์ ฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2565)

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ 2560) ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 62

คำอธบิ ายรายวิชา

รายวชิ า วทิ ยาการคำนวณ 2 รหัสวชิ า ว22104 กลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 2 ภาคเรียนที่ 2 จำนวน 0.5 หนวยกิต เวลา 20 ชว่ั โมง/ภาคเรียน

ศกึ ษาแนวคดิ เชิงคำนวณ การแกปญหาโดยใชแ นวคดิ เชิงคำนวณ การเขียนโปรแกรมท่ีมกี ารใชตรรกะและ

ฟงกชัน องคประกอบและหลักการทางานของระบบคอมพิวเตอร เทคโนโลยีสื่อสาร แนวทางการปฏิบัติเมื่อพบ

เนื้อหาทีไ่ มเหมาะสม การใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางมีความรับผิดชอบ วิธีการสรางและกำหนดสิทธิความเปน

เจาของผลงาน

โดยอาศยั กระบวนการเรียนรโู ดยใชปญหาเปนฐาน (Problem – based Learning) กระบวนการเรียนรู

การสืบเสาะหาความรู (Inquiry) 5Es และการเรียนรูแบบใชโครงงานเปนฐาน (Project-based Learning) เพื่อ

เนนใหผูเรยี นไดล งมือปฏิบัติ ฝก ทกั ษะการคิดเผชิญสถานการณการแกปญหาวางแผนการเรียนรู ตรวจสอบการ

เรียนรู และนำเสนอผานการทำกิจกรรมโครงงาน เพ่อื ใหเ กดิ ทกั ษะ ความรู ความเขาใจ และทกั ษะในการวิเคราะห

โจทยปญ หา

เพื่อใหผูเ รียนไดลงมอื ปฏิบัติ ฝกทักษะการคิด เผชิญสถานการณก ารแกปญหา นำแนวคิดเชิงคำนวณไป

ประยุกตใชในการเขียนโปรแกรมหรือการแกปญหาในชีวิตจริง สรางและกำหนดสิทธิ์การใชขอมูล ตระหนักถึง

ผลกระทบในการเผยแพรขอมลู

รหสั ตัวชี้วัด
ว. 4.2 เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ)

1. ออกแบบอลั กอริทึมทีใ่ ชแนวคดิ เชิงคำนวณในการแกปญ หา หรอื การทางานทพี่ บในชวี ิตจริง
2. ออกแบบและเขียนโปรแกรมท่ใี ชต รรกะและฟง กช ันในการ แกป ญหา
3. อภิปรายองคประกอบและหลักการทางานของระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีการสื่อสาร เพื่อ
ประยุกตใ ชงานหรอื แกป ญ หาเบ้อื งตน
4. ใชเทคโนโลยสี ารสนเทศอยางปลอดภยั มีความรับผิดชอบ สรา งและแสดงสิทธใ์ิ นการเผยแพรผลงาน
รวมทั้งหมด 4 ตัวช้ีวดั

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธพ์ิ ัฒนวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรุง 2565)

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 63

คำอธบิ ายรายวิชา
รายวชิ า วิทยาศาสตร 5 รหสั วชิ า ว 23105 ลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศกึ ษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 จำนวน 1.5 หนว ยกิต เวลา 60 ชว่ั โมง / ภาคเรียน

ศกึ ษา คน ควา วิเคราะห ความสัมพนั ธใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรกระบวนการสบื เสาะหาความรู
การสำรวจตรวจสอบการสังเกตการสืบคนขอมูล การทดลอง การอภิปรายสรุป เพื่อใหเกิดความรูความคิด
ความเขาใจสื่อสารสิ่งทีเ่ รียนรูมีความสามารถในการตัดสินใจ นำความรูไปใชในชีวิตประจำวันความสัมพันธ
ระหวาง ยีน ดีเอ็นเอ และโครโมโซม โดยใชแบบจำลอง การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากการผสมโดย
พิจารณาลักษณะเดียวที่แอลลีลเดนขมแอลลีลดอยอยางสมบูรณ การเกิดจีโนไทปและฟโนไทปของลูกและ
คำนวณอัตราสว นจากจีโนไทปและฟโนไทปของรุนลูก ความแตกตางของการแบงเซลลแบบไมโทซิสและไมโอ
ซิส การเปลี่ยนแปลงของยีนหรือโครโมโซมอาจทำใหเกิดโรคทางพันธุกรรม พรอมทั้งยกตัวอยางโรคทาง
พันธกุ รรม ประโยชนของความรูเร่ืองโรคทางพันธุกรรม โดยรูวากอนแตงงานควรปรกึ ษาแพทยเพื่อตรวจและ
วินิจฉัยภาวะเสี่ยงของลูกที่อาจเกิดโรคทางพันธุกรรม การใชประโยชนจากส่ิงมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม และ
ผลกระทบทอ่ี าจมีตอมนุษยและส่ิงแวดลอมโดยใชขอมูลที่รวบรวมได ประโยชนและผลกระทบของสิ่งมีชีวิตดัด
แปรพนั ธุกรรมทอ่ี าจมตี อมนษุ ยแ ละสงิ่ แวดลอ มโดยการเผยแพรค วามรูท่ไี ดจากการโตแ ยงทางวทิ ยาศาสตรก าร
เกิดคลื่นและสวนประกอบของคลื่น คลื่นแมเหล็กไฟฟาและสเปกตรัมคลื่นแมเหล็กไฟฟา ประโยชนและ
อันตรายจากคลื่นแมเ หล็กไฟฟา อันตรายจากคลน่ื แมเ หลก็ ไฟฟาในชีวิตประจำวัน กฎการสะทอนของแสง การ
เคลื่อนที่ของแสง การเกิดภาพจากกระจกเงา การหักเหของแสงเมื่อผานตัวกลางโปรงใสที่แตกตางกัน การ
กระจายแสงของแสงขาวเมื่อผานปริซมึ การเคลื่อนที่ของแสงแสดงการเกิดภาพจากเลนสบ าง ปรากฏการณที่
เกยี่ วกับแสงและการทำงานของทัศนอุปกรณ การเคลอ่ื นทขี่ องแสง การเกดิ ภาพของทัศนอุปกรณและเลนสตา
ความสวางที่มีตอดวงตา การวดั ความสวางของแสง คุณคาของความรูเ รื่อง ความสวางของแสงที่มตี อดวงตา
โดยวิเคราะหส ถานการณปญ หาและเสนอแนะการจัดความสวางใหเหมาะสมในการทำกิจกรรมตางๆการโคจร
ของดาวเคราะหรอบดวงอาทิตยดวยแรงโนมถวง การเกิดฤดู และการเคลื่อนที่ปรากฏของดวงอาทิตย การ
เกิดขางขึ้น ขางแรม การเปลี่ยนแปลงเวลาการขึ้นและตกของดวงจันทร และการเกิดน้ำขึ้นน้ำลง การใช
ประโยชนข องเทคโนโลยอี วกาศ ความกาวหนาของโครงการสำรวจอวกาศ

โดยใชการสบื เสาะหาความรู การสำรวจตรวจสอบ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ ละทักษะการ
เรียนรูในศตวรรษที่ 21 การสืบคนขอมูลและการอภิปราย เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถ
สื่อสารสิ่งที่เรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ การแกปญหา การนำความรูไปใชในชีวิตประจำวัน มีจิต
วิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคา นิยมที่เหมาะสม
รหัสตัวชี้วดั

มาตรฐาน ว 1.3 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7 ม.3/8 ม.3/9 ม.3/10
ม.3/11

มาตรฐาน ว 2.3 ม.3/11 ม.3/13 ม.3/14 ม.3/15 ม.3/16 ม.3/17 ม.3/18 ม.3/19
ม.3/20 ม.3/21

มาตรฐาน ว 3.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4

รวมท้ังหมด 25 ตัวช้วี ดั

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธิพ์ ฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2565)

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ 2560) ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 64

คำอธิบายรายวิชา
รายวชิ า วทิ ยาศาสตร 6 รหสั วชิ า ว 23106 กลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ 3 ภาคเรียนที่ 2 จำนวน 1.5 หนวยกิต เวลา 60 ชั่วโมง / ภาคเรยี น

ศึกษา คน ควา วิเคราะห ความสัมพนั ธใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรกระบวนการสืบเสาะหาความรู
การสำรวจตรวจสอบการสังเกตการสืบคนขอมูล การทดลอง การอภิปรายสรุป เพื่อใหเกิดความรูความคิด
ความเขาใจสื่อสารสงิ่ ทเ่ี รียนรูมีความสามารถในการตดั สินใจ นำความรูไ ปใชในชีวิตประจำวัน

ปฏิกิริยาเคมีและวัสดุในชีวิตประจำวัน ไฟฟา และ ระบบนิเวศตางๆ ในทองถิ่น ความสัมพันธของ
องคประกอบภายในระบบนิเวศ การถา ยทอดพลังงานของงมชี วี ติ ในรปู ของโซอาหารและสายใยอาหาร วัฎจักร
น้ำ วัฎจักรคารบอน ความสำคัญที่มีตอ ระบบนิเวศปจจัยที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากรใน
ระบบนิเวศปญ หาสิง่ แวดลอม ทรพั ยากรธรรมชาติในทองถนิ่ และเสนอแนวทางในการแกไ ขปญ หาแนวทางการ
รักษาสมดุลของระบบนิเวศ การใชทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ปญหา
ส่ิงแวดลอ มและเสนอแนวทางการแกปญหา มสี ว นรว มในการดูแลและอนรุ กั ษส งิ่ แวดลอ มในทองถิน่ อยา งย่ังยืน

โดยใชก ารสืบเสาะหาความรู การสำรวจตรวจสอบ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ ละทกั ษะการ
เรียนรูในศตวรรษที่ 21 การสืบคนขอ มูลและการอภิปราย เพือ่ ใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถ
สื่อสารสิง่ ที่เรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ การแกปญหา การนำความรูไปใชในชีวิตประจำวัน มีจิต
วทิ ยาศาสตร จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และคานิยมทเ่ี หมาะสม
รหัสตัวช้ีวดั

มาตรฐาน ว 1.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6
มาตรฐาน ว 2.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7 ม.3/8
มาตรฐาน ว 2.3 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7 ม.3/8 ม.3/9
รวมท้ังหมด 23 ตัวช้ีวัด

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธิพ์ ัฒนวทิ ย (ฉบับปรบั ปรุง 2565)

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ 2560) ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 65

คำอธบิ ายรายวชิ า

รายวิชา การออกแบบเทคโนโลยี 3 รหสั วิชา ว23103 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ่ี 3 ภาคเรียนที่ 1 จำนวน 0.5 หนว ยกติ เวลา 20 ชั่วโมง/ภาคเรียน

ศึกษาและวิเคราะหสาเหตุหรือปจจัยที่ทำใหเกิดการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี และความสัมพันธข องเทคโนโลยี

กับศาสตรอื่น ประยุกตใชความรู ทักษะ และทรัพยากร โดยวิเคราะหสถานการณเพื่อสรุปกรอบของปญหา

เปรียบเทียบและเลือกขอมูลที่จำเปนโดยคำนึงถงึ ทรัพยสินทางปญญา เพื่อออกแบบวิธีการแกปญหาในงานอาชีพ

ดานการเกษตร อาหาร พลังงานและขนสง โดยใชกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม รวมทั้งเลอื กใชวัสดุ อุปกรณ

เครอ่ื งมอื ในการแกป ญ หาไดอยางถกู ตอ ง เหมาะสม และปลอดภัย โดยอาศัยกระบวนการเรียนรูโดยใชปญหา

เปนฐาน (Problem – based Learning) กระบวนการเรียนรกู ารสืบเสาะหาความรู (Inquiry) 5Es และการเรยี นรู

แบบใชโครงงานเปนฐาน (Project-based Learning) เพื่อเนนใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติ ฝกทักษะการคิดเผชิญ

สถานการณการแกปญหาวางแผนการเรียนรู ตรวจสอบการเรียนรู และนำเสนอผานการทำกิจกรรมโครงงาน

เพอ่ื ใหเ กิดทักษะ ความรู ความเขาใจ และทกั ษะในการวเิ คราะหโ จทยป ญหา

เพ่อื ใหผูเรยี นมคี วามรูความเขาใจวเิ คราะหสาเหตหุ รอื ปจจยั ที่ทำใหเกิดการเปล่ียนแปลงเทคโนโลยี ประยุกตใช

ความรู ทักษะ และทรัพยากร โดยวิเคราะหสถานการณเพื่อสรุปกรอบของปญหา เปรียบเทียบและเลือกขอมูลท่ี

จำเปนโดยคำนึงถึงทรัพยสินทางปญญา ออกแบบวิธีการแกปญหาในงานอาชีพดานการเกษตร อาหาร พลังงาน

และขนสง มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และคานิยมในการใชว ิทยาศาสตรและเทคโนโลยอี ยา งสรา งสรรค

รหัสตวั ช้ีวัด
ว. 4.1 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี

ม.3/1 วิเคราะหสาเหตุ หรือปจจัยท่ีสง ผลตอ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความสัมพันธของเทคโนโลยี
กบั ศาสตรอ ื่นโดยเฉพาะวทิ ยาศาสตรหรอื คณติ ศาสตรเ พอื่ เปนแนวทางการแกปญหาหรอื พัฒนางาน

ม.3/2 ระบุปญหาหรือความตองการของชุมชนหรือทองถิ่น เพื่อพัฒนางานอาชีพ สรุปกรอบของปญหา
รวบรวม วิเคราะหข อ มูลและแนวคดิ ทเี่ ก่ยี วของกับปญหา โดยคำนึงถึงความถกู ตองดา นทรัพยสินทางปญญา

ม.3/3 ออกแบบวิธีการแกป ญหา โดยวเิ คราะหเปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกขอมูลที่จำเปนภายใตเงื่อนไข
และทรัพยากรที่มีอยู นำเสนอแนวทางการแกปญหาใหผูอื่นเขาใจดวยเทคนิคหรือวิธีการที่หลากหลาย วางแผน
ขน้ั ตอนการทำงานและดำเนินการแกปญหาอยา งเปน ขัน้ ตอน

ม.3/4 ทดสอบ ประเมินผล วิเคราะหและใหเ หตผุ ลของปญหาหรือขอบกพรอ งที่เกิดขึ้นภายใตกรอบเงื่อนไข
พรอ มทัง้ หาแนวทางการปรับปรุงแกไข และนำเสนอผลการแกป ญ หา

ม.3/5 ใชค วามรูแ ละทกั ษะเกี่ยวกับวสั ดุอุปกรณเ คร่อื งมือ กลไก ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสใ หถูกตอ งกับลักษณะ
ของงาน และปลอดภัยเพ่อื แกปญหาหรอื พฒั นางาน

รวมท้ังหมด 5 ตัวช้วี ัด

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธพ์ิ ัฒนวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรุง 2565)

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 66

คำอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน

รายวชิ า วทิ ยาการคำนวณ 3 รหสั วิชา ว23104 กลมุ สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

ช้ันมัธยมศกึ ษาปท ี่ 3 ภาคเรียนที่ 2 จำนวน 0.5 หนว ยกิต เวลา 20 ช่ัวโมง/ภาคเรียน

ศึกษาขั้นตอนการพัฒนาแอปพลิเคชัน Internet of Things (IoT) การเขียนโปรแกรมเพื่อพัฒนาแอป

พลิเคชัน ขอมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ การประมวลผลขอมูล การสรางทางเลือกและประเมินผล ซอฟตแวรหรือ

บริการบนอินเทอรเ น็ตท่ีใชในการจัดการขอมูล การประเมินการความนาเชื่อถือของขอมูล การสืบคน หาแหลงตน

ตอของขอมูล เหตผุ ลววิ ตั ิ ผลกระทบจากขาวสารทีผ่ ดิ พลาด การรเู ทา ทันสื่อ กฎหมายท่เี กี่ยวกบั คอมพวิ เตอร การ

ใชล ขิ สิทธิ์ของผูอื่นโดยชอบธรรม

โดยอาศัยกระบวนการเรียนรโู ดยใชปญ หาเปนฐาน (Problem – based Learning) กระบวนการเรยี นรู

การสืบเสาะหาความรู (Inquiry) 5Es และการเรียนรูแบบใชโครงงานเปนฐาน (Project-based Learning) เพ่ือ

เนนใหผูเรยี นไดลงมือปฏิบัติ ฝก ทกั ษะการคิดเผชญิ สถานการณการแกปญหาวางแผนการเรียนรู ตรวจสอบการ

เรยี นรู และนำเสนอผา นการทำกจิ กรรมโครงงาน เพอื่ ใหเ กดิ ทกั ษะ ความรู ความเขาใจ และทกั ษะในการวิเคราะห

โจทยปญ หา

เพ่อื ใหผ ูเรยี นไดล งมือปฏบิ ัติ ฝก ทกั ษะการคดิ เผชิญสถานการณก ารแกปญ หา รวบรวมขอ มลู ปฐมภูมิหรอื

ทุตยิ ภูมิ ประมวลผล สรางทางเลือก และนำเสนอการตัดสนิ ใจไดอ ยางมปี ระสทิ ธภิ าพ ออกแบบและเขียนโปรแกรม

เพ่ือพัฒนาแอปพลิเคชันที่มีการบูรณาการกับวิชาอนื่ อยา งสรางสรรค ใชงานเทคโนโลยสี ารสนเทศ อยางรูเทาทัน

และมคี วามรับผดิ ชอบตอ สงั คม

รหสั ตวั ชวี้ ัด
ว. 4.2 เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ)

1. พฒั นาแอปพลเิ คชนั ท่มี กี ารบรู ณาการกบั วิชาอนื่ อยางสรา งสรรค
2. รวบรวมขอมูล ประมวลผล ประเมินผล นาเสนอขอมูลและสารสนเทศ ตามวัตถุประสงคโดยใช
ซอฟตแ วรห รือบริการบนอินเทอรเนต็ ที่หลากหลาย
3. ประเมินความนาเช่ือถอื ของขอมูล วิเคราะหส ื่อและผลกระทบจากการใหขาวสารท่ีผดิ เพื่อการใชงาน
อยางรเู ทา ทนั
4. ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัยและมีความรบั ผดิ ชอบตอ สังคม ปฏบิ ัตติ ามกฎหมายเก่ยี วกับ
คอมพวิ เตอร ใชลขิ สทิ ธขิ์ องผูอนื่ โดยชอบธรรม
รวมทั้งหมด 4 ตวั ช้ีวดั

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธิ์พฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรุง 2565)

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ 2560) ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 67

คำอธบิ ายรายวิชาเพ่มิ เติม
กลุม สาระการเรียนรูว ิทยาศาสตร

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธพิ์ ัฒนวทิ ย (ฉบับปรบั ปรุง 2565)

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรับปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 68

คำอธิบายรายวิชา
รายวชิ า คอมพิวเตอรป ระยกุ ต รหัสวชิ า ว 20201 กลมุ สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
ช้ันมัธยมศกึ ษาปที่ 1 ภาคเรยี นที่ 1 จำนวน 0.5 หนวยกิต เวลา 20 ชั่วโมง / ภาคเรียน

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกบั พื้นฐาน การใชงานโปรแกรม Microsoft Word , Microsoft PowerPoint,
Microsoft Excel การเร่มิ ตน ใชงานโปรแกรมสำเร็จรูป การเรียกใชงานโปรแกรม สวนประกอบของหนาจอใน
โปรแกรม การใชเมนูและแถบเครื่องมือ การเปลี่ยนรูปแบบตัวอักษรและปรับขนาด การใชเครื่องมือวาดภาพ
ตกแตงเอกสาร การกำหนดลักษณะการเปลี่ยนภาพ การกำหนดลักษณะการแสดงของวัตถุ การจัดการแถว
คอลมั น และเซลล การใชสูตรคำนวณเบือ้ งตน และการประยุกตเพ่อื ใชงาน

โดยใชกระบวนการเรียนรู ศึกษาคน ควา กระบวนการคดิ วิเคราะห กระบวนการกลุม ฝกปฏิบัติสราง
งานตามรูปแบบที่กำหนด มีทักษะดานการอาน ทักษะดานการเขียน ทักษะดานการคดิ คำนวณ ทักษะการคดิ
อยางมีวิจารญาณและทกั ษะในการแกป ญหา เพอื่ ใหไดรปู แบบตามทต่ี อ งการ

เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจในการสรางสรรคผลงานทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมทั้งทักษะ
แหง ศตวรรษที่ 21 ในดา นการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ดานการคดิ และการแกปญหา และเกดิ เจตคตทิ ่ีดที ำให
สามารถใชค อมพิวเตอรใ นทางสรา งสรรคไ ด

ผลการเรียนรู
1. บอกช่อื และหนาทข่ี องเคร่ืองมือ และคำสง่ั ตา งๆ ในโปรแกรมประมวลคำ (Word)
2. สามารถใชโปรแกรมประมวลคำได (Word)สามารถสรา งชิน้ งานจากโปรแกรมประมวลคำ (Word)

ไดอยา งสรา งสรรค
3. บอกชื่อและหนาที่ของเครื่องมอื และคำส่ังตาง ๆ ในโปรแกรมนำเสนองาน (PowerPoint)
4. สามารถใชโ ปรแกรมนำเสนองาน (PowerPoint) ไดสามารถสรางช้ินงานจากโปรแกรมนำเสนองาน

(PowerPoint) ไดอ ยางสรางสรรค
5. สามารถใชโปรแกรมตารางงานได (Excel)สามารถสรา งช้ินงานดว ยโปรแกรมตารางงาน (Excel)

ไดอยา งมีความคดิ สรางสรรคไ ด

รวมทั้งหมด 5 ผลการเรียนรู

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธิพ์ ฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรุง 2565)

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ 2560) ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 69

คำอธิบายรายวิชา
รายวชิ า การเขียนโปรแกรมภาษาโลโก รหสั วิชา ว 20201 กลมุ สาระการเรียนรูว ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 1 ภาคเรียนท่ี 2 จำนวน 0.5 หนวยกติ เวลา 20 ชั่วโมง / ภาคเรียน

ศึกษาหลักการและวิธีแกปญหา กระบวนการแกปญหา การจำลองความคิดเปนขอความ และการ
จำลองความคิดเปนผังงาน การคิด วเิ คราะห และวางแผนการทำงาน การติดตัง้ โปรแกรม MSWLogo ประวัติ
ความเปน มา การเขา สโู ปรแกรมโลโก และการเลิกใชง าน สว นประกอบ หนา ตางโปรแกรมโลโก คำสง่ั พื้นฐานใน
การประมวลผล เชน คำส่ังเตา พิมพข อความ คำสงั่ เตา วาดรปู คำสง่ั เตากำหนดสี คำส่งั เตาสุม คำสงั่ เตาทำซ้ำ
หรือเรียกซ้ำ การบันทึกภาพ คำสั่งสราง และแกไขกระบวนความ รวมไปถึงการบันทึก มีทักษะในการเขียน
โปรแกรมเบ้ืองตน และสามารถนำไปประยุกตสรา งงานใหมไ ด

โดยใชกระบวนการเรียนรู ศึกษาคนควา กระบวนการคิด วิเคราะห กระบวนการกลุม ฝกปฏิบัตสิ ราง
งานตามรูปแบบที่กำหนด มีทักษะดานการอาน ทักษะดานการเขียน ทักษะดานการคิดคำนวณ ทักษะการคิด
อยางมีวิจารญาณและทักษะในการแกป ญหา เพือ่ ใหไ ดรูปแบบตามที่ตอ งการ

เพื่อใหมีความรู ความเขาใจ ความสำคัญของหลักการโปรแกรมเบ้ืองตนได เขียนลำดับ การทำงานโดย
ใชภ าษาคอมพวิ เตอรพ ื้นฐานได นกั เรียนมีเจตคตทิ ด่ี ีในการเรยี นเขยี นโปรแกรม อยางสรา งสรรค

ผลการเรยี นรู
1. บอกความสำคัญของหลักการโปรแกรมเบื้องตน ออกแบบอัลกอริทึมทีเ่ พื่อแกปญ หาตามเงอ่ื นไขท่ี
กำหนดได
2. อธิบายวธิ กี ารเรียกใชงานโปรแกรม MSW Logo
3. เขยี นโปรแกรมโดยใชค ำส่ังพื้นฐานเพ่ือสรา งงานได
4. ประยุกตใชคำส่งั พ้นื ฐานการเขยี นโปรแกรม เพื่อสรา งสรรคงานได

รวมทั้งหมด 4 ผลการเรยี นรู

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธ์ิพฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรับปรงุ 2565)

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ 2560) ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 70

คำอธิบายรายวชิ า

รายวิชา การสรางภาพเคล่อื นไหว 2 มติ ิ รหสั วิชา ว 20203 กลุม สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

ช้ันมัธยมศกึ ษาปที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 จำนวน 0.5 หนว ยกติ เวลา 20 ชั่วโมง / ภาคเรียน

ศึกษาการสรา งงานแอนเิ มชัน่ ดว ยโปรแกรม Adobe Animate CC การวาดรปู และการลงสี การจดั การ

ออบเจ็กต การใชส ี การสรา งขอความ ซมิ บอลและอนิ สแตนซ การนำเขาภาพกราฟกจากภายนอก เขา ใจพ้ืนฐาน

การสรา งงานแอนิเมช่ัน การสรางงานแอนิเมช่ัน มูฟวีค่ ลปิ และปุมกด การทำงานกับไฟลเ สยี ง เทคนิคการตกแตง

ออบเจ็กต กำหนดใหช ิ้นงานโตต อบกับผใู ชได การเผยแพรช น้ิ งานท่ีสรางสรรค

โดยใหผูเ รียนฝกปฏิบัติการใชเครือ่ งมือดวยโปรแกรม Adobe Animate CC การวาดรปู และการลงสี

การจัดการ ออบเจ็กต การใชสี การสรางขอความ ซิมบอลและอินสแตนซ การนำเขาภาพกราฟกจากภายนอก

การสรางงานแอนิเมชั่น มูฟวี่คลิปและปุมกด การทำงานกับไฟลเสียง เทคนิคการตกแตงออบเจ็กต กำหนดให

ชิน้ งานโตตอบกบั ผูใชไ ด การเผยแพรชิน้ งานท่ีสรางสรรค

เพื่อใหผูเรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู มีความคิดริเริ่มสรางสรรค และประสบการณในการนำ

เทคโนโลยีมาประยุกตใช มีทักษะในการทำงานรวมกับผูอื่น สามารถตัดสินใจและแกป ญหาในการทำงาน มี

คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา นยิ มท่ดี ีตองาน และเหน็ แนวทางในการประกอบอาชพี สุจริต

ผลการเรยี นรู
1. อธิบายความหมายของแอนิเมช่นั และโปรแกรมสรา งภาพเคลอื่ นไหว 2 มิติ และบอกประโยชนของ
โปรแกรม Adobe Animate CC ได
2. สามารถสรางภาพเคลื่อนไหว 2 มติ ิ แบบ Frame by Frame และแบบ Tween ได
3. สามารถใชงาน time line และ layer รวมท้งั สรา ง Symbol และ instance ได
4. สรางชิ้นงานโดยใช Bone Tool และ Mask Layer ได
5. สามารถใชงาน สามารถเขียน action script ของโปรแกรมสรางภาพเคลอื่ นไหว 2 มติ ิได
6. สามารถสรางช้นิ งานโดยใชโ ปรแกรมสรา งภาพเคล่ือนไหว 2 มติ ไิ ด

รวมท้ังหมด 6 ผลการเรียนรู

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธพ์ิ ัฒนวทิ ย (ฉบับปรบั ปรุง 2565)

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ 2560) ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 71

คำอธบิ ายรายวิชา
รายวชิ าการเขยี นโปรแกรมโดย Scratchรหสั วิชา ว 20204 กลุมสาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศกึ ษาปที่ 2 ภาคเรยี นท่ี 2 จำนวน 0.5 หนว ยกติ เวลา 20 ชัว่ โมง / ภาคเรียน

ศกึ ษาความหมาย แนวคดิ และสว นประกอบของโปรแกรม Scratch การสรา งพื้นหลังและตวั ละคร การใส
เสยี ง การเขยี นผังความคิด การเขียนสตอร่ีบอรด การสรา งนทิ าน อธิบายการกระจายสารและรับสาร รวมทัง้ ศกึ ษา
บทบาทจากสครปิ ต สรา งเสน ตรง มุม และทศิ ทาง ทำงานแบบวนซ้ำ สรางเกมแบบสรางสรรคและสามารถโตตอบ
ได

โดยใชกระบวนการทางเทคโนโลยีเพื่อสรรคสรางผลงาน กระบวนการคิดวิเคราะห คิดสรางสรรค เพ่ือ
ออกแบบโครงงาน กระบวนการกลุมเพือ่ ใหเกิดองคความรู ความเขาใจ กระบวนการปฏิบัตเิ พื่อเสริมสรางความคิด
กระบวนการสอนแบบบูรณาการเพ่อื นำความรูทางวชิ าการดานตาง ๆ กระบวนการสอนแบบโครงงานเพื่อใหสรา ง
โครงงานตามหลักการสรา งโครงงาน

เพ่ือมุงเนนใหเกิดสมรรถนะหลกั คือมคี วามสามารถในสอื่ สาร ความสามารถในการ คิด ความสามารถใน
การแกป ญ หา มีความสามารถในการใชเทคโนโลยี มีทกั ษะในการทำงาน เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพและ
การศกึ ษาตอ ไดอยางมีประสิทธิภาพ มีคุณธรรม ซื่อสัตย สุจริต มีวินัย ใฝเรียนรู อยูอ ยางพอเพียง มุงมั่นใน
การทำงานที่ไดรับมอบหมาย รักความเปนไทย สบื ทอดวฒั นธรรมอันดีงาม มีจิตสาธารณะ มีน้ำใจ เสยี สละ
ชวยเหลอื ผอู ่นื สังคม และประเทศชาติ

ผลการเรียนรู
1. ออกแบบอลั กอริทมึ ที่ใชแ นวคิดเชิงนามธรรมเพื่อแกปญหาหรืออธบิ ายการทำงานท่ีพบในชีวิตจริง
2. เขียนโปรแกรมผานกระบวนการบล็อคโปรแกรม (Code Blocks)ที่ใชตรรกะและฟงกชันในการ

แกป ญ หา
3. เขียนโปรแกรมผานกระบวนการบลอ็ คโปรแกรม (Code Blocks)เพ่อื แสดงผลในรปู แบบตาง ๆได
4. ใชเทคโนโลยสี ารสนเทศอยางปลอดภยั มคี วามรบั ผดิ ชอบสรางและแสดงสิทธิใ์ นการเผยแพรผลงาน

รวมทั้งหมด 4 ผลการเรยี นรู

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธิพ์ ัฒนวทิ ย (ฉบับปรบั ปรงุ 2565)

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 72

คำอธบิ ายรายวชิ า

รายวชิ า โครงงานคอมพิวเตอร รหสั วิชา ว 20205 กลุมสาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

ช้ันมัธยมศกึ ษาปท ี่ 3 ภาคเรยี นท่ี 1 จำนวน 0.5 หนวยกิต เวลา 20 ชว่ั โมง / ภาคเรียน

ศึกษา หลักการทำโครงงานเบื้องตนที่มีการใชเทคโนโลยี วางแผนการดำเนินการเขียนเปนเคาโครง

ของโครงงาน เพือ่ เปน แนวทางในการออกแบบโครงงานและทำโครงงานคอมพวิ เตอรที่มีการใชเ ทคโนโลยีตาม

หลักการทำโครงงานและวิธีการตามกระบวนการเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงทางดานเศรษฐกิจ สังคม

วัฒนธรรม สิง่ แวดลอ มเทคโนโลยี การวิเคราะหสถานการณปญหา เงื่อนไขและกรอบของปญ หา ดำเนินการ

สืบคน รวบรวมขอ มูล ความรูจากศาสตรตาง ๆ ที่เกี่ยวของ วิเคราะห เปรียบเทียบ และตัดสินใจใหไดแนว

ทางการแกปญหาที่เหมาะสมเพ่ือนำไปสูการออกแบบแนวทางการแกปญหา การทดสอบและประเมินผล การ

ตรวจสอบ แกปญหา ขอบกพรอง และดำเนินการปรับปรุง การนำเสนอผลงานเปนการถายทอดแนวคิด

กระบวนการทำงานและชิ้นงานหรือวิธีการที่ได ซึ่งสามารถทำไดหลายวิธี การเขียนรายงาน การทำแผน

นำเสนอผลงาน การจดั นิทรรศการ การนำเสนอผา นสือ่ ออนไลนโ ดยอาศยั กระบวนการเรียนรูโดยใชปญหาเปน

ฐาน (Problem–based Learning) และการเรียนรูแ บบใชโครงงานเปนฐาน(Project-based Learning) เพ่ือ

เนนใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติ ฝกทกั ษะการคิด เผชิญสถานการณการแกปญหาวางแผนการเรียนรูตรวจสอบ

การเรียนรู และนำเสนอผานการทำกิจกรรมโครงงาน เพื่อใหเกิดทกั ษะ ความรู ความเขาใจ และทักษะในการ

วเิ คราะหโ จทยป ญหา จนสามารถนำเอาแนวคิดเชิงคำนวณมาประยุกตใชใ นการสรางโครงงานไดเพื่อใหผูเรียน

สามารถใชค วามรทู างดานวิทยาการคอมพวิ เตอร สอื่ ดิจทิ ัล เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร

เพื่อรวบรวมขอมลู ในชีวิตจริงจากแหลงตาง ๆ และความรูจากศาสตรอืน่ มาประยกุ ตใช สรางความรู

ใหม เขาใจการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีที่มีผลตอการดำเนินชีวิต อาชีพ สังคม วัฒนธรรม และใชอยาง

ปลอดภัย มีจริยธรรม ตลอดจนนำความรคู วามเขาใจในวชิ าวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีไปใชใหเกิดประโยชน

ตอสังคมและการดำรงชีวิต จนสามารถพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแกปญหา

และการจัดการทักษะในการสื่อสาร และความสามารถในการตัดสินใจ และเปนผูที่มีจิตวิทยาศาสตร มี

คุณธรรม จรยิ ธรรม และคานิยมในการใชวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีอยางสรางสรรค

ผลการเรยี นรู

1. อธบิ ายหลกั การทำโครงงานเบอ้ื งตนที่มกี ารใชเ ทคโนโลยีได

2. สามารถคิดหัวขอ โครงงาน โดยการศกึ ษาจากตวั อยางโครงงานคอมพวิ เตอร

3. สามารถเขยี นเคา โครงของโครงงานไดอ ยางถูกตอ ง

4. สามารถทำโครงงานไดสมบูรณตามที่ออกแบบไว และมีการรายงานความคืบหนาของงานอยา ง

ตอ เนือ่ ง

5. สามารถนำเสนอโครงงานไดอยางสรา งสรรค

รวมท้ังหมด 5 ผลการเรยี นรู

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธ์ิพัฒนวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2565)

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบับปรับปรุง พ.ศ 2560) ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 73

คำอธิบายรายวชิ า

รายวชิ า การเขยี นโปรแกรมภาษาซี รหัสวชิ า ว 20206 กลุมสาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 2 จำนวน 0.5 หนวยกติ เวลา 20 ชั่วโมง / ภาคเรยี น

ศกึ ษาหลักการเขียนโปรแกรมเบ้ืองตน พนื้ ฐานในการเขยี นโปรแกรมโดยเลือกภาษาใดภาษาหนึ่งในการ

เขยี น การเขียนผังลำดบั งาน (Flowchart) แนวคดิ และหลักการโปรแกรมโครงสรางโปรแกรม ตัวแปร การลำดับ

คำสั่ง การตรวจสอบเงื่อนไข การควบคุมโปรแกรม คำสั่งแสดงผล รับขอมูล วิธีการสรางชิ้นงานดวย

คอมพิวเตอร การใชงานการโปรแกรมขนั้ สงู ในฟง กชั่นตางๆ เชอ่ื มโยงประยุกตเ ขา กบั การเขยี นโปรแกรมอื่นๆ

โดยอาศัยกระบวนการเรยี นรูโ ดยใชป ญ หาเปนฐาน (Problem–based Learning) เพื่อเนนใหผูเรียนได

ลงมือปฏิบัติ ฝกทักษะการคิด เผชิญสถานการณการแกปญหาวางแผนการเรียนรูตรวจสอบการเรียนรู และ

นำเสนอผานการทำกิจกรรมหนาช้นั เรยี น เพอ่ื ใหเกิดทักษะ ความรู ความเขา ใจ และทกั ษะในการวิเคราะหโจทย

ปญหา จนสามารถนำเอาแนวคิดเชิงคำนวณมาประยุกตใชในชีวิตประจำวันไดเ พื่อใหผูเรียนสามารถใชความรู

ทางดา นวิทยาการคอมพวิ เตอร ส่ือดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร

เพอื่ รวบรวมขอมูลในชวี ติ จรงิ จากแหลง ตาง ๆ และความรจู ากศาสตรอ่นื มาประยุกตใช สรา งความรูใหม

เขา ใจการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยีท่ีมีผลตอการดำเนินชวี ิต อาชีพ สังคม วัฒนธรรม และใชอยา งปลอดภัย มี

จรยิ ธรรม ตลอดจนนำความรูความเขาใจในวิชาวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีไปใชใหเ กิดประโยชนตอสังคมและ

การดำรงชีวิต จนสามารถพัฒนากระบวนการคดิ และจินตนาการ ความสามารถในการแกป ญหาและการจัดการ

ทักษะในการสื่อสาร และความสามารถในการตัดสินใจ และเปนผทู ่มี จี ิตวิทยาศาสตร มีคณุ ธรรม จริยธรรม และ

คานิยมในการใชวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยอี ยา งสรางสรรค

ผลการเรยี นรู
1. สามารถคิดแกปญหาและลำดับขั้นตอนในการแกปญ หาจากโจทยท ่ีกำหนดได
2. สามารถใชซอฟตแวรใ นการเขยี นโปรแกรมไดอยา งถูกตอง
3. รแู ละเขาใจคำสัง่ ตางๆท่ีใชใ นการเขยี นโปรแกรม
4. สามารถนำคำสั่งไปใชใ นการเขยี นโปรแกรม เพ่อื สัง่ ใหค อมพิวเตอรท ำงานตามท่กี ำหนดได
5. สามารถสรา งชน้ิ งานจากการประยกุ ตใชคำสัง่ ตางๆ ในการเขยี นโปรแกรมไดอยางสรางสรรค

รวมทั้งหมด 5 ผลการเรยี นรู

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธ์พิ ฒั นวทิ ย (ฉบับปรบั ปรงุ 2565)

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ 2560) ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 74

คำอธบิ ายรายวชิ า
รายวิชา วทิ ยาศาสตรเ พิม่ เติม 1 รหสั วิชา ว 23201 กลมุ สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที่ 3 ภาคเรียนท่ี 2 จำนวน 0.5 หนว ยกติ เวลา 20 ช่วั โมง / ภาคเรียน

ศกึ ษา คน ควา วเิ คราะห ความสัมพนั ธใ ชกระบวนการทางวิทยาศาสตรกระบวนการสืบเสาะหาความรู
การสำรวจตรวจสอบการสังเกตการสืบคนขอมูล การทดลอง การอภิปรายสรุป เพื่อใหเกิดความรูความคิด
ความเขา ใจสือ่ สารส่ิงที่เรียนรมู คี วามสามารถในการตัดสนิ ใจ นำความรไู ปใชในชีวิตประจำวัน

ลักษณะและองคป ระกอบท่ีสำคัญของเซลลสง่ิ มชี ีวิต ความสัมพันธของการทำงานของระบบตาง ๆ ใน
รา งกายมนุษย การดำรงชีวิตของพืช การตอบสนองตอสิง่ เราของสง่ิ มีชีวิต การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การเปล่ียนแปลงของยีนหรือโครโมโซมและตัวอยางโรคที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม ประโยชน
และผลกระทบของสิง่ มีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ ปฏิสัมพันธขององคป ระกอบของ
ระบบนิเวศ และการถายทอดพลังงาน แรงลัพธและผลของแรงลัพธที่กระทำตอวัตถุ โมเมนตของแรง แรงท่ี
ปรากฏ ในชวี ิตประจำวันสนามของแรง ความสัมพันธระหวางงาน พลังงานจลน พลังงานศักย กฎการอนุรักษ
พลังงาน การถายโอนพลังงานสมดุลความรอน ความสมั พันธระหวางปรมิ าณทางไฟฟา หลกั การตอวงจรไฟฟา
ในบาน พลังงานไฟฟา และหลักการเบื้องตนของวงจรอิเล็กทรอนิกส สมบัติของธาตุ สารละลาย สารบริสุทธ์ิ
สารผสม หลักการแยก สาร การเปลี่ยนแปลงของสารในรูปแบบของการเปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลาย
และการเกิดปฏกิ ิริยาเคมีการโคจรของดาวเคราะหรอบดวงอาทิตย การเกิดฤดู การเคล่ือนทีป่ รากฏของดวง
อาทิตย การเกิดขางขึ้นขางแรม การขึ้นและตกของดวงจันทร การเกิดน้ำขึ้นน้ำลง ประโยชนของเทคโนโลยี
อวกาศ

โดยใชการสบื เสาะหาความรู การสำรวจตรวจสอบ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ ละทกั ษะการ
เรียนรูในศตวรรษที่ 21 การสืบคนขอมูลและการอภิปราย เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถ
สื่อสารสิง่ ที่เรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ การแกปญหา การนำความรูไปใชในชีวิตประจำวัน มีจิต
วทิ ยาศาสตร จรยิ ธรรม คุณธรรม และคานิยมท่ีเหมาะสม
ผลการเรยี นรู

1. เปรยี บเทยี บรปู รา งลกั ษณะและโครงสรางของเซลลพ ชื และเซลลส ัตว รวมทัง้ บรรยายหนา ที่ของผนัง
เซลลเ ย่อื หุมเซลลไซโทพลาซึม นิวเคลยี ส แวควิ โอลไมโทคอนเดรยี และคลอโรพลาสต

2. อธิบายความสัมพันธร ะหวา งรปู รา งกับการทำหนาท่ีของเซลล
3. สบื คน อธิบายเขาใจกระบวนการและความสำคัญของการถายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรมสาร

พันธกุ รรม การเปลีย่ นแปลงทางพนั ธกุ รรมทีม่ ผี ลตอสิง่ มีชวี ิต ความหลากหลายทางชวี ภาพและ
วิวัฒนาการของส่ิงมชี วี ิต รวมทัง้ นำความรูไปใชประโยชน
4. อธิบายสมบตั ิของสสาร องคป ระกอบของสสาร ความสมั พันธร ะหวางสมบัตขิ องสสารกับโครงสรา ง

และแรงยึดเหนย่ี วระหวางอนุภาค หลักและธรรมชาตขิ องการเปล่ียนแปลงสถานะของสสาร การเกิด

สารละลาย และการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี

5. อธิบาย นำเสนอ ธรรมชาตขิ องแรงในชวี ิตประจำวัน ผลของแรงทก่ี ระทำตอวัตถุ ลักษณะการเคลอื่ นท่ี
แบบตาง ๆ ของวัตถุ รวมทัง้ นำความรไู ปใชป ระโยชน

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธ์พิ ัฒนวทิ ย (ฉบับปรบั ปรุง 2565)

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ 2560) ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 75

6. อธิบายองคป ระกอบและความสัมพนั ธข องระบบโลก กระบวนการเปลีย่ นแปลงภายในโลกและบนผวิ
โลก ธรณีพิบตั ภิ ัย กระบวนการเปล่ยี นแปลงลมฟา อากาศและภูมอิ ากาศโลก รวมทงั้ ผลตอส่ิงมีชวี ติ
และสง่ิ แวดลอม

รวมทั้งหมด 6 ผลการเรียนรู

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธิ์พฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรุง 2565)

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ 2560) ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 76

กลมุ สาระการเรียนรสู ังคมศกึ ษาและวฒั นธรรม

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธพ์ิ ัฒนวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2565)

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 77

โครงสรางรายวชิ าพื้นฐานและเพ่ิมเติม กลุมสาระการเรยี นรูส ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน

รายวิชาพน้ื ฐาน ชอ่ื รายวิชา จำนวนช่วั โมง ช่วั โมง/สัปดาห หนวยกิต
รหัสวิชา สังคมศึกษา ๑ ๖๐ ๓ ๑.๕
ส ๒๑๑๐๑ ประวัตศิ าสตร ๑ ๒๐ ๑ ๐.๕
ส ๒๑๑๖๑ สังคมศกึ ษา ๒ ๖๐ ๓ ๑.๕
ส ๒๑๑๐๓ ประวัติศาสตร ๒ ๒๐ ๑ ๐.๕
ส ๒๑๑๖๒ สังคมศึกษา ๓ ๖๐ ๓ ๑.๕
ส ๒๒๑๐๑ ประวตั ิศาสตร ๓ ๒๐ ๑ ๐.๕
ส ๒๒๑๖๓ สงั คมศึกษา ๔ ๖๐ ๓ ๑.๕
ส ๒๒๑๐๓ ประวัติศาสตร ๔ ๒๐ ๑ ๐.๕
ส ๒๒๑๖๔ สงั คมศกึ ษา ๕ ๖๐ ๓ ๑.๕
ส ๒๓๑๐๑ ประวัติศาสตร ๕ ๒๐ ๑ ๐.๕
ส ๒๓๑๖๕ สังคมศึกษา ๖ ๖๐ ๓ ๑.๕
ส ๒๓๑๐๓ ประวตั ศิ าสตร ๖ ๒๐ ๑ ๐.๕
ส ๒๓๑๖๖

รายวชิ าเพิ่มเติม อาเซียน ๑ ๒๐ ๑ ๐.๕
ส๒๒๒๘๑ อาเซยี น ๒ ๒๐ ๑ ๐.๕
ส๒๒๒๘๒ หนาท่พี ลเมอื ง1 20 1 0.5
ส20241 หนาท่พี ลเมอื ง2 20 1 0.5
ส20242

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธิ์พฒั นวทิ ย (ฉบับปรับปรงุ 2565)

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรับปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 78

คำอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน
กลมุ สาระการเรยี นรูสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธพ์ิ ฒั นวทิ ย (ฉบับปรบั ปรงุ 2565)

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ 2560) ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 79

คำอธิบายรายวิชา

รายวชิ าสังคมศกึ ษา 1 รหัสวิชา ส 21101 กลุมสาระการเรยี นรสู งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 60 ช่ัวโมง/ภาคเรยี น จำนวน 1.5 หนวยกิต

ศกึ ษาคน ความลู เหตุการเกิดศาสนาและประวตั คิ วามเปนมาเกย่ี วกับพุทธประวตั ิหลกั ธรรมของ
พระพุทธศาสนาหรือศาสนาทต่ี นนบั ถอื การนำหลักธรรมคำสอนไปปฏบิ ัติในการพัฒนาตนเองและการอยู
รวมกันอยา งสันติสุข เปนผกู ระทำความดี มคี านยิ มท่ีดีงาม พัฒนาตนเองอยูเ สมอ รวมทงั้ บำเพญ็ ประโยชนตอ
สงั คมและสว นรวมการดำเนินชีวติ ระบบการเมืองการปกครองในสงั คมปจจบุ นั การปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริยท รงเปนประมุข ลักษณะและความสำคญั การเปนพลเมอื งดี ความแตกตาง
และความหลากหลายทางวัฒนธรรม คานิยม ความเช่ือ ปลกู ฝงคา นยิ มดา นประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ 
ทรงเปนประมขุ สิทธิ หนาที่ เสรภี าพการดำเนินชีวิตอยางสนั ตสิ ุขในสงั คมไทยและสงั คมโลก

โดยกระบวนการสืบคน กระบวนการกลมุ กระบวนการคิดวิเคราะห กระบวนการสรา งความคดิ รวม
ยอด กระบวนการฝกปฏบิ ตั ิ กระบวนการแกป ญ หากระบวนการเชงิ เหตุผลกระบวนการทางจริยธรรม
กระบวนการขัดเกลาทางสงั คม

เพ่อื เหน็ คณุ คาและความสำคัญของศาสนาเกิดความศรัทธาและสำนึกในความสำคญั ของ
พระพุทธศาสนาในฐานะศาสนาประจำชาตติ ระหนักถึงความสำคญั ของวันสำคัญทางศาสนามสี ำนึกในความ
เปนไทย เปน ศาสนิกชนที่ดี รูจ ักตนเอง เขาใจชวี ติ ปรบั ปรุงตนเองอยูเสมอ เห็นคุณคา ของการบรหิ ารจติ มี
ความคดิ รวบยอดเก่ยี วกบั การทำความดี มสี ำนกึ วาตนเปน สว นหน่งึ ของสงั คม มีความรับผิดชอบตลอดจนเห็น
คุณคาของภาษาในคัมภีรท ี่ใชในศาสนาท่ตี นนบั ถอื รว มอนรุ ักษวัฒนธรรมไทยคานยิ ม ความเช่อื ปลูกฝง คานยิ ม
ดานประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริยทรงเปน ประมุข สทิ ธิ หนา ท่ี เสรีภาพการดำเนินชวี ิตอยา งสันตสิ ุขใน
สังคมไทยและสงั คมโลก และเพ่อื การอยรู ว มกบั ไดอ ยา งมสี ันตสิ ุข

รหัสตัวชี้วัด ส 1.1 ม.1/2 ส 1.1 ม.1/3 ส 1.1 ม.1/4 ส 1.2 ม.1/5
ส 1.1 ม.1/1 ส 1.1 ม.1/6 ส 1.1 ม.1/7 ส 1.1 ม.1/8
ส 1.1 ม.1/5 ส 1.1 ม.1/10 ส 1.1 ม.1/11
ส 1.1 ม.1/9 ส 1.2 ม.1/2 ส 1.2 ม.1/3 ส 1.2 ม.1/4
ส 1.2 ม.1/1 ส 2.1 ม.1/2 ส 2.1 ม.1/3 ส 2.1 ม.1/4
ส 2.1 ม.1/1 ส 2.2 ม.1/2 ส 2.2 ม.1/3
ส 2.2 ม.1/1

รวม 23 รหสั ตัวชี้วดั

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธิพ์ ัฒนวทิ ย (ฉบับปรับปรงุ 2565)

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรับปรุง พ.ศ 2560) ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 80

คำอธบิ ายรายวิชา

รายวชิ าประวตั ิศาสตร 1รหสั วชิ า ส 21161 กลุมสาระการเรียนรูสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ชั้นมัธยมศกึ ษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 20 ช่วั โมง/ภาคเรียน จำนวน 0.5 หนว ยกติ

ศึกษาความหมาย และความสำคัญของการนบั เวลา และการนบั ชว งเวลาทางประวัตศิ าสตร ศึกษา
การเทียบศักราชในระบบตางๆ ศกึ ษาขนั้ ตอนวิธีทางประวัตศิ าสตรอยางงา ย ลกั ษณะ ประเภท และ
แหลงทม่ี าของหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตรไทย ศกึ ษาคนควาประวัตศิ าสตร
ศกึ ษาเหตกุ ารณทางประวัติศาสตรเร่ืองราวของประวตั ศิ าสตรไทยที่มอี ยูในทอ งถ่นิ ตนเองในสมยั ใดก็ได
(สมัยกอนประวัติศาสตรส มยั กอนสุโขทัย สมัยสโุ ขทยั สมยั อยุธยาสมยั ธนบุรี สมัยรัตนโกสินทร ) และ
เหตุการณส ำคัญในสมยั สโุ ขทัย พฒั นาการทางสงั คม เศรษฐกจิ และการเมอื งของประเทศตางๆในภูมภิ าคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต

โดยกระบวนการสรางความคิดรวบยอด กระบวนการแกปญหา กระบวนการกลุม กระบวนการ
ทำงาน กระบวนการสบื คน กระบวนการคดิ วิเคราะห รวบรวมขอ มลู และจัดระบบขอมูลอยา งเปน ระบบดว ย
วิธกี ารทางประวัติศาสตร กระบวนการสบื คน หาเทคโนโลยสี มยั ใหม

เพ่อื ใหม คี วามคดิ ริเริ่มสรา งสรรค มเี หตผุ ล รกั ประเทศชาติ รกั ทอ งถ่นิ ตระหนักถึง
ความสำคัญของเหตุการณทางประวัตศิ าสตร รูเ ทาทันสถานการณ ภูมิใจในความเปนไทย ตระหนกั ถึง
ความสำคัญของวัฒนธรรม อนุรกั ษวัฒนธรรมไทย สำนกึ วาตนเปนสว นหนึง่ ของธรรมชาติ รูจักตัวเอง
เขา ใจชีวติ ปรบั ปรุงตนเองอยเู สมอง มคี วามคิดรวบยอดเกีย่ วกบั พฒั นาการของเศรษฐกจิ การเมอื งการ
ปกครอง สงั คม ศลิ ปวัฒนธรรมของไทย ศรทั ธาและเทดิ ทนู ในบุคคลสำคญั ของไทยและตางประเทศ

รหสั ตวั ชี้วดั
ส 4.1 ม.1/1 ส 4.1 ม.1/2 ส 4.1 ม.1/3 ส 4.2 ม.1/1

รวม 4 รหัสตวั ชี้วัด

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธ์พิ ัฒนวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรุง 2565)

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ 2560) ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 81

คำอธบิ ายรายวชิ า

รายวิชาสังคมศึกษา 2 รหัสวชิ า ส 21102 กลุมสาระการเรียนรูส ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี 1 ภาคเรยี นที่ 2 จำนวน 1.5 หนวยกติ เวลา 60 ชวั่ โมง/ภาคเรียน

ศึกษาความหมาย ความสำคัญของเศรษฐศาสตรเกย่ี วกบั การผลิต การแจกจาย และการบรโิ ภคสินคา
และบริการ การบรหิ ารจัดการทรพั ยากรทม่ี ีอยูอยางจำกดั อยา งมปี ระสทิ ธิภาพ การดำรงชีวิตอยา งมีดุลยภาพ
และการนำหลักเศรษฐกจิ พอเพียงไปใชในชีวิตประจำวัน และลักษณะของโลกทางกายภาพ ลกั ษณะทาง
กายภาพ แหลงทรพั ยากร และภูมอิ ากาศของประเทศไทย และภูมิภาคตาง ๆ ของโลก การใชแผนที่และ
เคร่ืองมือทางภมู ิศาสตร ความสมั พันธกนั ของสิ่งตา ง ๆ ในระบบธรรมชาติ ความสัมพันธของมนษุ ยกับ
สภาพแวดลอ มทางธรรมชาติ และส่งิ ที่มนุษยสรางขน้ึ การนำเสนอขอมลู ภมู ิสารสนเทศ การอนุรกั ษ
สิ่งแวดลอมเพ่อื การพฒั นาท่ยี ่ังยนื

โดยกระบวนการกลุม กระบวนการทำงาน กระบวนการแกปญ หา กระบวนการจัดการ กระบวนการ
สืบคน กระบวนการพัฒนาคานยิ ม กระบวนการคดิ วเิ คราะห กระบวนการทางจรยิ ธรรม กระบวนการสราง
ความคดิ รวบยอด กระบวนการคดิ อยางมวี จิ ารณญาณ

เพ่อื มวี ิจารณญาณเกีย่ วกับการตดั สินใจเลอื กใชทรพั ยากรเพ่ือการผลติ คำนึงถึงตนทุน และ
ผลประโยชนท ี่จะไดรบั อยางคมุ คา และมีคณุ ธรรม มเี หตุผล รเู ทาทันสถานการณ ตระหนักและเห็นคณุ คา
ของการนำทรัพยากรทางเศรษฐศาสตรม าใชในการผลติ สนิ คา และบริการอยางมปี ระสิทธิภาพการบรโิ ภคดว ย
ปญ ญาตามวถิ ีชวี ิตไทยและตระหนกั ถึงความสำคญั ของลักษณะกายภาพที่มตี อระบบการดำเนินชีวติ ของมนุษย
มีสำนึกวา ตนเปน สว นหน่ึงของธรรมชาติ มเี หตุผล มีนิสยั รกั การอาน รักการคน ควา เหน็ คณุ คา ของแผนที่
ชนดิ ตา งๆ เคร่อื งมอื ทางภูมิศาสตรแ ละเทคโนโลยสี มยั ใหมและเชือ่ มโยงไปสูชวี ติ ประจำวัน

รหสั ตวั ช้ีวัด ส3.1ม.1/2 ส3.1ม.1/3 ส3.2ม.1/4
ส3.1ม.1/1 ส3.2ม.1/2 ส3.2ม.1/3 ส5.2ม.1/4
ส3.2ม.1/1 ส5.1ม.1/2 ส5.1ม.1/3
ส5.1ม.1/1 ส5.2ม.1/2 ส5.2ม.1/3
ส5.2ม.1/1

รวม 14 รหสั ตัวช้ีวัด

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธพิ์ ัฒนวทิ ย (ฉบบั ปรับปรงุ 2565)

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 82

คำอธบิ ายรายวิชา

รายวิชาประวตั ิศาสตร 2 รหัสวิชา ส 21162 กลุมสาระการเรยี นรูส งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 จำนวน 0.5 หนวยกิต เวลา 20 ชัว่ โมง/ภาคเรียน

ศึกษาคนควา เรื่องราวทางประวัตศิ าสตรสมัยกอนสุโขทยั ในดนิ แดนไทย รัฐโบราณในดินแดนไทย เชน
ศรวี ิชัยตามพรลิงค ทวารวดี ลา นนา นครศรีธรรมราช สพุ รรณภูมิ เปนตน ความสำคญั ของแหลง อารยธรรมใน
ภูมภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต แหลง มรดกโลกในประเทศตา ง ๆของเอเชียตะวันออกเฉยี งใต อทิ ธพิ ลของ
อารยธรรมโบราณในดนิ แดนไทยท่ีมีตอพฒั นาการของสงั คมไทยในปจจุบนั การสถาปนาอาณาจกั รสุโขทยั
พฒั นาการของอาณาจกั รสโุ ขทยั ดานการเมืองการปกครอง เศรษฐกจิ สังคม และความสัมพันธร ะหวางประเทศ
วฒั นธรรมสมัยสุโขทยั เชน ภาษาไทย วรรณกรรม ประเพณีสำคัญ ศลิ ปกรรมไทยภูมิปญญาไทยในสมยั สุโขทยั
เชน การชลประทานเครื่องสังคมโลกและความเสอ่ื มของอาณาจักรสโุ ขทัย

โดยกระบวนการสรางความคิดรวบยอด กระบวนการแกป ญหา กระบวนการกลุม กระบวนการ
ทำงาน กระบวนการสบื คน กระบวนการคดิ วเิ คราะห รวบรวมขอ มูลและจัดระบบขอมูลอยา งเปน ระบบดวย
วิธีการทางประวัติศาสตร กระบวนการสืบคน หาเทคโนโลยีสมัยใหม

เพื่อใหม คี วามคดิ รเิ รม่ิ สรางสรรค มเี หตผุ ล รกั ประเทศชาติ รกั ทอ งถนิ่ ตระหนักถงึ
ความสำคัญของเหตุการณทางประวัติศาสตร รูเ ทา ทนั สถานการณ ภมู ใิ จในความเปนไทย ตระหนักถึง
ความสำคัญของวฒั นธรรม อนรุ กั ษว ัฒนธรรมไทย สำนึกวาตนเปน สว นหนึ่งของธรรมชาติ รจู ักตัวเอง
เขาใจชีวติ ปรบั ปรงุ ตนเองอยเู สมอง มคี วามคดิ รวบยอดเก่ียวกบั พฒั นาการของเศรษฐกิจ การเมอื งการ
ปกครอง สงั คม ศลิ ปวัฒนธรรมของไทย ศรทั ธาและเทิดทูนในบุคคลสำคัญของไทยและตา งประเทศ

รหสั ตัวช้ีวัด
ส 4.2 ม.1/2 ส 4.3 ม.1/1 ส 4.3 ม.1/2 ส 4.3 ม.1/3

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธ์ิพฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรุง 2565)

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบับปรับปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 83

คำอธบิ ายรายวิชา

รายวชิ าสังคมศึกษา 3 รหัสวชิ า ส22101 กลมุ สาระการเรียนรูสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 2 ภาคเรยี นที่ 1 จำนวน 1.5 หนว ยกติ เวลา 60 ชั่วโมง/ภาคเรียน

ศึกษาการเผยแผพระพทุ ธศาสนาหรอื ศาสนาท่ีตนนับถือสปู ระเทศเพอื่ นบานท่ีชวยเสริมสรา งความ

เขา ใจอันดรี ะหวางกนั เห็นความสำคัญของพระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาที่ตนนับถือ กับการพัฒนาชุมชนและ

การจดั ระเบียบสังคม ในฐานะท่เี ปนรากฐานของวัฒนธรรม เอกลักษณแ ละมรดกของชาติ นำขอคิดทไี่ ดจาก

พทุ ธประวัตหิ รือประวัตศิ าสดาของศาสนาทีต่ นนับถอื ประวัตสิ าวก ชาดก เรอ่ื งเลา และศาสนกิ ชนตวั อยา ง

ตามที่กำหนดมาเปน แบบอยา ง การปฏิบตั ติ นในการดำเนนิ ชวี ิต ศกึ ษาโครงสรางของพระไตรปฎ ก หรือ

คมั ภีร ธรรมคณุ และขอ ธรรมสำคัญในกรอบอริยสัจ 4 หรือหลักธรรมของศาสนาทีต่ นนับถือ ตามที่กำหนด

นำไปพฒั นา แกปญหาของชุมชนและสังคม พัฒนาจิตเพ่ือการเรียนรูแ ละดำเนนิ ชวี ิต ดว ยวิธคี ดิ แบบโยนิโส

มนสกิ ารคือ วธิ คี ดิ แบบอบุ ายปลุกเรา คณุ ธรรม และวิธีคดิ แบบอรรถธรรมสัมพันธ หรือการพัฒนาจิต สวดมนต

แผเมตตา บรหิ ารจิตและเจริญปญ ญาดว ยอานาปานสติ ปฏิบัตติ นตามหลกั ธรรมทางศาสนาทต่ี นนับถือ เพื่อ

การดำรงตนอยา งเหมาะสมในกระแสความเปลยี่ นแปลงของโลก และการอยรู ว มกันอยางสนั ตสิ ขุ นำคำสอนท่ี

เกีย่ วเนือ่ งกับวันสำคัญทางศาสนา ปฏบิ ัตติ นอยา งเหมาะสมตอบคุ คลตาง ๆ มีมรรยาทของความเปนศาสนกิ

ชนทีด่ ี อธิบายความแตกตางของศาสนพิธี พิธีกรรมตามแนวปฏิบตั ขิ องศาสนาอื่นๆ เพ่ือนำไปสูการยอมรับ

และความเขาใจซึ่งกนั และกนั ปฏิบตั ิตนตามกฎหมายที่เกี่ยวขอ งกับตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน และ

ประเทศชาติ เหน็ คณุ คา ในการปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรภี าพ หนาที่ในฐานะพลเมืองดี

ตามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย วิเคราะหบทบาท ความสำคัญ และความสัมพันธข องสถาบันทางสังคม บอกความ

คลา ยคลงึ และความแตกตางของวัฒนธรรมไทย และวัฒนธรรมของประเทศในภูมภิ าคเอเชีย เพื่อนำไปสคู วาม

เขาใจอันดีระหวางกัน ศึกษากระบวนการในการตรากฎหมาย วิเคราะหข อมูล ขา วสารทางการเมืองการ

ปกครองทีม่ ีผลกระทบตอสงั คมไทย สมัยปจจุบนั

โดยใชก ระบวนการสืบเสาะหาความรู สืบคนขอมลู ปฏิบตั จิ รงิ สรุป รายงาน เพอื่ พัฒนา

ทกั ษะกระบวนการคดิ วเิ คราะห การแกปญหา การใหเหตผุ ล การส่อื ความหมายทางสังคม และนำ

ประสบการณด า นความรู ความคดิ ทกั ษะ กระบวนการทไ่ี ดไปใชใ นการเรยี นรสู ่งิ ตาง ๆ และนำไปใชใ น

ชีวิตประจำวันอยา งสรางสรรค

เพอื่ ตระหนกั ถึงความสำคัญ เหน็ คณุ คา และมีเจตคติท่ดี ตี อ วิชาสงั คมศกึ ษา ศาสนา และ

วฒั นธรรม เปนพลเมืองดี มีความรับผดิ ชอบ มีความรู ทักษะ คุณธรรม คานยิ มทเี่ หมาะสม พฒั นาตนเองอยู

เสมอรวมทง้ั บำเพ็ญประโยชนตอสังคมและสวนรวม ดำรงชวี ิตอยใู นสงั คมอยา งมคี วามสุข

รหัสตวั ช้ีวัด

ส 1.1 ม.2/1 ส 1.1 ม.2/2 ส 1.1 ม.2/3 ส 1.1 ม.2/4 ส 1.1 ม.2/5 ส 1.1 ม.2/6 ส 1.1 ม.2/7

ส 1.1 ม.2/8 ส 1.1 ม.2/9 ส 1.1 ม.2/10 ส 1.1 ม.2/11

ส 1.2 ม.2/1 ส 1.2 ม.2/2 ส 1.2 ม.2/3 ส 1.2 ม.2/4 ส 1.2 ม.2/5

ส 2.1 ม.2/1 ส 2.1 ม.2/2 ส 2.1 ม.2/3 ส 2.1 ม.2/4

ส 2.2 ม.2/1 ส 2.2 ม.2/2

รวม 22 รหสั ตัวช้ีวัด

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธพ์ิ ฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2565)

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ 2560) ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 84

คำอธิบายรายวิชา

รายวชิ าประวัติศาสตร 3 รหัสวิชา ส22163 กลุม สาระการเรียนรูส ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 2 ภาคเรียนท่ี 1 จำนวน 0.5 หนว ยกิต เวลา 20 ช่ัวโมง/ภาคเรยี น

ประเมนิ ความนาเชอื่ ถือของหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรใ นลักษณะตาง ๆ วิเคราะหความแตกตาง
ระหวางความจริงกบั ขอเท็จจรงิ ของเหตุการณทางประวัติศาสตร เห็นความสำคัญของการตีความหลักฐานทาง
ประวัตศิ าสตรท นี่ า เช่ือถือ อธบิ ายพัฒนาการทางสงั คม เศรษฐกิจและการเมืองของภูมภิ าคเอเชยี และระบุ
ความสำคญั ของแหลง อารยธรรมโบราณในภูมิภาคเอเชยี

โดยใชก ระบวนการสืบเสาะหาความรู สืบคนขอมูล ปฏบิ ัติจรงิ สรปุ รายงาน เพ่อื พัฒนาทักษะ
กระบวนการคดิ วิเคราะห การแกป ญหา การใหเหตุผล การสือ่ ความหมายทางสงั คม และนำประสบการณ
ดา นความรู ความคดิ ทักษะ กระบวนการที่ไดไ ปใชในการเรยี นรูสง่ิ ตาง ๆ และนำไปใชใ นชวี ติ ประจำวนั
อยางสรางสรรค

เพื่อตระหนักถึงความสำคญั เห็นคณุ คา และมเี จตคติทีด่ ตี อวชิ าประวัตศิ าสตร มีจิตสำนึกในความ
รกั ชาติ เหน็ คุณคา ของความเสยี สละ และความสมคั สมานสามัคคขี องบรรพบรุ ุษไทย ในการสรางชาติ นำ
คุณธรรมจริยธรรมเปนหลกั ในการดำเนนิ ชวี ติ เปนพลเมืองดี มคี วามรับผดิ ชอบ มคี วามรู มคี ณุ ธรรม
จริยธรรม คา นิยมทเ่ี หมาะสม พัฒนาตนเองอยูเสมอ รวมทั้งบำเพ็ญประโยชนตอสงั คมและสว นรวม
ดำรงชวี ิตอยูในสงั คมอยา งมคี วามสขุ

รหัสตวั ช้ีวัด ส 4.1 ม.2/2 ส 4.1 ม.2/3
ส 4.2 ม.2/2
ส 4.1 ม.2/1

ส 4.2 ม.2/1
รวม 5 รหัสตัวชีว้ ัด

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธ์พิ ฒั นวทิ ย (ฉบับปรับปรุง 2565)

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบับปรับปรุง พ.ศ 2560) ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 85

คำอธบิ ายรายวิชา

รายวิชาสังคมศกึ ษา 4 รหัสวชิ า ส22102 กลุมสาระการเรียนรูส ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที่ 2 ภาคเรียนท่ี 2 จำนวน 1.5 หนวยกติ เวลา 60 ชั่วโมง/ภาคเรยี น

วิเคราะหการใชเ ครือ่ งมอื ทางภูมิศาสตรใ นการรวบรวม การนำเสนอขอมูลเกี่ยวกบั ลักษณะทาง
กายภาพและสังคมของทวปี ยุโรปและแอฟริกา และความสัมพนั ธระหวา งลกั ษณะทางกายภาพและสังคม
วเิ คราะหการกอเกดิ สิง่ แวดลอมใหมทางสังคม อนั เปนผลจากการเปลยี่ นแปลงทางธรรมชาตแิ ละทางสังคม
ระบแุ นวทางการอนุรักษทรพั ยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอม ในทวีปยุโรปและแอฟรกิ า สำรวจ อภิปราย
ประเด็นปญ หาเก่ียวกับสง่ิ แวดลอมที่เกดิ ขน้ึ เหตุและผลกระทบทปี่ ระเทศไทยไดรบั จากการเปล่ยี นแปลงของ
สิง่ แวดลอมในทวีปยุโรป และแอฟรกิ า ศกึ ษาปจ จัยท่ีมีผลตอ การลงทุน การออม การผลติ สนิ คา และ
บรกิ าร และปจจัย ท่มี ีอทิ ธิพลตอการผลติ สนิ คา และบริการ เสนอแนวทางการพัฒนาการผลิตในทองถิ่น
ตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และแนวทางการคมุ ครองสิทธขิ องตนเองในฐานะผูบ รโิ ภค อภิปรายระบบ
เศรษฐกิจแบบตา งๆยกตวั อยา งที่สะทอนใหเ ห็นการพึง่ พาอาศยั กัน และการแขงขันกันทางเศรษฐกิจใน
ภูมภิ าคเอเชยี วิเคราะหก ารกระจายของทรพั ยากรในโลก ที่สง ผลตอ ความสมั พนั ธ ทางเศรษฐกจิ ระหวาง
ประเทศ การแขง ขันทางการคา ในประเทศ และตางประเทศ สง ผลตอ คุณภาพสนิ คา ปริมาณการผลิต และ
ราคาสนิ คา

โดยใชกระบวนการสืบเสาะหาความรู สบื คนขอมูล ปฏิบัตจิ ริง สรปุ รายงาน เพอื่ พัฒนาทักษะ
กระบวนการคดิ วเิ คราะห การแกป ญหา การใหเ หตุผล การส่อื ความหมายทางสงั คม และนำประสบการณ
ดานความรู ความคดิ ทักษะ กระบวนการท่ีไดไ ปใชในการเรยี นรูสง่ิ ตาง ๆ และนำไปใชใ นชวี ิตประจำวัน
อยางสรา งสรรค

เพื่อตระหนักถงึ ความสำคญั เหน็ คณุ คา และมีเจตคตทิ ีด่ ตี อวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
เปนพลเมอื งดี มคี วามรับผดิ ชอบ มีความรู ทกั ษะ คณุ ธรรม คานิยมท่ีเหมาะสม พัฒนาตนเองอยเู สมอ รวมทง้ั
บำเพ็ญประโยชนตอสังคมและสว นรวม ดำรงชวี ิตอยูในสงั คมอยา งมคี วามสุข
รหัสตัวช้ีวัด

ส 3.1 ม.2/1 ส 3.1 ม.2/2 ส 3.1 ม.2/3 ส 3.1 ม.2/4

ส 3.2 ม.2/1 ส 3.2 ม.2/2 ส 3.2 ม.2/3 ส 3.2 ม.2/4

ส 5.1 ม.2/1 ส 5.1 ม.2/2 ส 5.2 ม.2/1 ส 5.2 ม.2/2

ส 5.2 ม.2/3 ส 5.2 ม.2/4

รวม 14 รหัสตัวชี้วัด

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธ์พิ ฒั นวทิ ย (ฉบับปรบั ปรงุ 2565)

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ 2560) ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 86

คำอธบิ ายรายวชิ า

รายวชิ าประวัติศาสตร 4 รหัสวิชา ส22164 กลุมสาระการเรียนรูสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 2 ภาคเรยี นท่ี 2 จำนวน 0.5 หนว ยกติ เวลา 20 ชั่วโมง/ภาคเรียน

วเิ คราะหพ ฒั นาการของอาณาจักรอยุธยา ธนบรุ ใี นดา นตา งๆ ปจ จยั ท่สี ง ผลตอความม่ันคงและความ
เจริญรุงเรืองของอาณาจกั รอยธุ ยา ระบภุ ูมปิ ญ ญาและวัฒนธรรมไทยสมยั อยุธยาและธนบุรี และอิทธิพลของ
ภูมิปญ ญาดังกลาว ตอ การพัฒนาชาตไิ ทยในยุคตอ มา

โดยใชกระบวนการสืบเสาะหาความรู สบื คนขอมลู ปฏิบตั จิ ริง สรุป รายงาน เพอ่ื พัฒนาทักษะ
กระบวนการคดิ วิเคราะห การแกป ญหา การใหเหตผุ ล การส่อื ความหมายทางสงั คม และนำประสบการณ
ดา นความรู ความคิด ทักษะ กระบวนการที่ไดไ ปใชในการเรยี นรสู ิ่งตา ง ๆ และนำไปใชในชวี ติ ประจำวัน
อยางสรา งสรรค

เพื่อตระหนักถึงความสำคัญ เห็นคุณคา และมีเจตคติทีด่ ีตอวิชาประวัติศาสตร มีจิตสำนึกในความ
รักชาติ เห็นคุณคาของความเสียสละ และความสมัครสมานสามัคคีของบรรพบุรุษไทย ในการสรางชาติ นำ
คุณธรรมจริยธรรมเปนหลักในการดำเนินชีวิต เปนพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู มีคุณธรรม
จริยธรรม คานิยมที่เหมาะสม พัฒนาตนเองอยูเสมอ รวมทั้งบำเพ็ญประโยชนตอสังคมและสวนรวม
ดำรงชวี ิตอยูในสังคมอยา งมีความสขุ

รหสั ตัวช้ีวดั
ส 4.3 ม.2/1 ส 4.3 ม.2/2 ส 4.4 ม.2/3

รวม 3 รหสั ตวั ชวี้ ัด

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธพ์ิ ัฒนวทิ ย (ฉบับปรับปรงุ 2565)

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ 2560) ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 87

คำอธิบายรายวชิ า

รายวชิ าสงั คมศกึ ษา 5 รหัสวิชา ส23101 กลมุ สาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที่ 3 ภาคเรยี นท่ี 1 จำนวน 1.5 หนวยกิต เวลา 60 ชั่วโมง/ภาคเรียน

ศึกษา วิเคราะห สาระสำคัญรูและเขาใจความหมายความสำคัญ สรางความคิดรวบยอดนำภูมิ
ปญญาทองถิ่นสภาพปญหาชีวิต สภาพแวดลอมในชุมชนและสังคมเขามาเปนสวนหนึ่งของ การเรียนรู
เพือ่ ใหม ีความรูความเขาใจตระหนักและเหน็ คณุ คา เก่ยี วกับประวัติและความสำคญั ของพระพุทธศาสนา เรื่อง
ประชาธิปไตย ในพระพุทธศาสนากบั หลักวิทยาศาสตร การคิดตามนัยแหง พระพุทธศาสนาและการคิดแบบ
วทิ ยาศาสตร พระพุทธศาสนาเนนการฝกหัดอบรมตน การพึง่ ตนเองและการมุงอสิ รภาพ พทุ ธประวัติ พุทธ
สาวก พทุ ธสาวกิ า ชาดกและศาสนิกชนตัวอยาง หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนาในกรอบอริยสัจ 4 หรอื หลัก
คำสอนของศาสนาที่ตนนบั ถือ เห็นคุณคาและความสำคัญของการสังคายนาพระไตรปฏก เชื่อมั่นตอผลของ
การทำความดีความชั่ว สามารถวิเคราะหสถานการณทต่ี อ งเผชิญและตดั สินใจเลือกดำเนินการหรือปฏิบัติตน
ไดอยางมีเหตุผลถูกตองตามหลักธรรมจริยธรรม เกี่ยวขอคดิ และแบบอยางการดำเนนิ ชีวิต จากประวัติสาวก
เรื่องเลา และศาสนิกชนตัวอยางตามที่กำหนด อธบิ ายหนาที่และบาบาทของสาวก และปฏิบัติตนตอบุคคล
ตางๆ ตามหลักศาสนาตามท่ีกำหนด ปฏิบัติหนาที่ของศาสนิกชนที่ดี ในศาสนพิธี พิธีกรรม อธิบายประวตั ิ
วันสำคญั ทางศาสนา การแสดงตนเปน พุทธมามกะหรอื แสดงตนเปนศาสนิกชน การศึกษาแนวทาง การธำรง
รกั ษาศาสนาตามศาสนาทตี่ นนบั ถอื

ศกึ ษาลักษณะการกระทำความผิดทางอาญาและโทษ ลักษณะการกระทำความผิดทางแพงและความ
รับผิดทางแพง ตัวอยางการกระทำความผิดทางอาญา เชน ความผดิ เกี่ยวกับทรัพย ตัวอยางการกระทำ
ความผิดทางแพง เชน การทำผิดสัญญา การทำละเมดิ ความหมายและความสำคญั ของสิทธิมนุษยชน การ
มีสวนรวมคุมครองสิทธิมนุษยชนตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยตามวาระและโอกาสที่เหมาะสม
ความสำคัญของวฒั นธรรมไทย ภมู ิปญญาไทยและวัฒนธรรมสากล การอนรุ ักษวัฒนธรรมไทยและภูมิปญญา
ไทยท่ีเหมาะสม การเลือกรับวัฒนธรรมสากลที่เหมาะสม ปจ จัยทีก่ อ ใหเ กดิ ความขัดแยง เชน การเมืองการ
ปกครอง เศรษฐกิจ สงั คม ความเชื่อ สาเหตุปญ หาทางสังคม เชน ปญ หาสิ่งแวดลอม ปญหายาเสพติด
ปญหาการทุจริต ปญหาอาชญากรรม แนวทางความรวมมือในการลดความขัดแยงและการสรางความ
สมานฉันท ปจจัยที่สง เสริมการดำรงชวี ิตใหมีความสุข เชน การอยูร วมกันอยางมีขันติธรรม หลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง เห็นคุณคาในตนเอง รูจักมองโลกในแงดี สรางทกั ษะทางอารมณ รูจักบริโภคดวย
ปญ ญา เลือก รับ – ปฏิเสธขาว ปรับปรงุ ตนเองและ สิง่ ตาง ๆ ใหดีขึ้นอยูเสมอ อธิบายระบอบการปกครอง
แบบตางๆ เชน การปกครองระบอบเผด็จการ การปกครองระบอบประชาธิปไตย วิเคราะหค วามแตกตาง
ความคลายคลึง การปกครองของไทยกับประเทศเพื่อนบานอื่นๆ บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญในมาตราตางๆ
ที่เกี่ยวของกับการเลือกตั้งการมีสวนรวม และการตรวจสอบการใชอำนาจรัฐ บทบาทของรัฐบาลในการ
บริหารราชการแผน ดินความจำเปนในการมีรฐั บาลตามระบอบประชาธิปไตย ปญหา และผลกระทบท่ีเปน
อปุ สรรคตอ การพัฒนาประชาธิปไตยของประเทศไทย และแนวทางแกไ ข

โดยใชกระบวนการศึกษาคนควา การสืบเสาะหาความรู การสืบคนขอมูล ปฏิบัติจริง สรุป
รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการในการคิดวิเคราะห การแกปญหา การใชเหตุผล
การสื่อความหมายทางสงั คม และนำประสบการณดานความรู ความคดิ ทกั ษะ กระบวนการทไี่ ดไปใชในการ

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธิพ์ ฒั นวทิ ย (ฉบับปรบั ปรุง 2565)

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ 2560) ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 88

เรียนรูสิ่งตางๆ และใชในชีวิตประจำวันอยางสรางสรรค รวมทั้งเห็นคุณคาและ มีเจตคติที่ดีตอ

พระพุทธศาสนา และหนาที่พลเมือง สามารถทำงานอยางมีระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มีความ

รบั ผดิ ชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชอ่ื มั่นในตนเอง

เพ่ือใหรูจักคิดอยางมเี หตุผล ยึดมั่นในหลกั การพึ่งตนเอง ตระหนกั ถึงความสำคัญเห็นคุณคาและมี

เจตคติท่ีดตี อ พระพทุ ธศาสนา และหนา ที่พลเมือง มีคณุ ธรรมจริยธรรมเปนหลักใน การ

ดำเนินชีวิต สามารถทำงานอยางเปนระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มี

วิจารณญาณและมคี วามเชื่อมัน่ ในตนเอง

รหสั ตวั ชีว้ ดั
ส 1.1 ม.3/1 ส 1.1 ม.3/2 ส 1.1 ม.3/3 ส 1.1 ม.3/4
ส 1.1 ม.3/5 ส 1.1 ม.3/6 ส 1.1 ม.3/7 ส 1.1 ม.3/8
ส 1.1 ม.3/9 ส 1.1 ม.3/10
ส 1.2 ม.3/1 ส 1.2 ม.3/2 ส 1.2 ม.3/3 ส 1.2 ม.3/4
ส 1.2 ม. 3/5 ส 1.2 ม.3/6 ส 1.2 ม. 3/7
ส 2.1 ม.3/1 ส 2.1 ม. 3/2 ส 2.1 ม.3/3 ส 2.1 ม.3/4 ส 2.1 ม. 3/5
ส 2.2 ม.3/1 ส 2.2 ม.3/2 ส 2.2 ม.3/3 ส 2.2 ม.3/4

รวม 26 รหสั ตัวชี้วัด

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธพิ์ ัฒนวทิ ย (ฉบับปรบั ปรุง 2565)

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 89

คำอธบิ ายรายวิชา

รายวิชาประวัติศาสตร 5 รหัสวชิ า ส23165 กลุมสาระการเรียนรูสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ช้นั มัธยมศกึ ษาปท ี่ 3 ภาคเรียนท่ี 1 จำนวน 0.5 หนวยกิต เวลา 20 ช่ัวโมง/ภาคเรยี น

ศกึ ษาวเิ คราะหข้นั ตอนวธิ ีการทางประวัตศิ าสตร ศึกษาเหตุการณสำคญั ทางประวตั ศิ าสตรท ่เี กิดขึ้นใน
ทองถิ่นตนเอง นำวิธีการทางประวตั ิศาสตรมาใชในการศกึ ษาเรื่องราวที่เกี่ยวของกับตนเอง ครอบครวั และ
ทอ งถนิ่ ของตน วิเคราะหเ หตุการณสำคญั สมัยรัตนโกสินทร โดยใชว ิธกี ารทางประวัติศาสตร ศึกษาที่ตั้งและ
สภาพภมู ิศาสตร ภูมิภาคตา ง ๆ ของโลก ที่มีผลตอพัฒนาการของ อารยธรรมตะวันตกที่มีผลตอพัฒนาการ
เปล่ยี นแปลงของสงั คมโลก ความรว มมือและความขดั แยง ในครสิ ตศ ตวรรษท่ี 20 เชน สงครามโลกครั้งท่ี 1
ครง้ั ท่ี 2 สงครามเย็น องคการความรว มมอื ระหวางประเทศ อธิบายวเิ คราะหการสถาปนากรุงเทพมหานคร
เปน ราชธานี ปจจัยที่สง ผลตอความมนั่ คงและความเจรญิ รงุ เรืองของไทย บทบาทของพระมหากษัตริยไทยใน
ราชวงศจกั รี และสรา งสรรคความเจรญิ และความมั่นคงของชาติ

โดยใชกระบวนการศึกษาคนควา การสืบเสาะหาความรู การสืบคนขอมูล ปฏิบัติจริง สรุป
รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการในการคิดวิเคราะห การแกปญหา การใชเหตุผล
การส่ือความหมายทางสังคม และนำประสบการณดานความรู ความคดิ ทักษะ กระบวนการท่ไี ดไปใชในการ
เรียนรูสิ่งตางๆ และใชในชีวติ ประจำวันอยางสรางสรรค รวมทั้งเห็นคุณคาและมีเจตคตทิ ่ีดีตอประวัติศาสตร
สามารถทำงานอยางมีระบบระเบยี บ มีความรอบคอบ มีความรับผดิ ชอบ มีวิจารณญาณและมคี วามเชื่อม่นั
ในตนเอง

เพ่ือใหรูจักคิดอยางมเี หตุผล ยึดม่ันในหลกั การพึ่งตนเอง ตระหนักถึงความสำคัญเห็นคุณคาและมี
เจตคติที่ดีตอประวัตศิ าสตร มีคุณธรรมจริยธรรมเปน หลกั ในการดำเนินชวี ิต สามารถทำงานอยางเปนระบบ
ระเบยี บ มคี วามรอบคอบ มีความรบั ผิดชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชือ่ มนั่ ในตนเอง

รหสั ตัวชี้วัด
ส 4.1 ม. 3/1 ส 4.1 ม. 3/2 ส 4.2 ม. 3/1 ส 4.2 ม. 3/2

รวม 4 รหัสตัวชี้วดั

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธิ์พฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรุง 2565)

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนตน หนา 90

คำอธบิ ายรายวชิ า

รายวชิ าสังคมศกึ ษา 6 รหัสวิชา ส23103 กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 2 จำนวน 1.5 หนวยกิต เวลา 60 ชั่วโมง/ภาคเรียน

ศึกษาอธิบาย และวิเคราะหกลไกราคาในระบบเศรษฐกิจ การมีสวนรวมในการแกไขปญหาและ
พัฒนาทองถิ่นตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับระบบสหกรณ อธิบายบทบาทหนาที่ของรัฐบาลในระบบ
เศรษฐกิจแสดงความเห็นตอนโยบายและกิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐทีม่ ตี อ บุคคล กลุมคนและประเทศชาติ
อภิปรายบทบาทความสำคัญของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ ผลกระทบที่เกิดจากภาวะเงิน
เฟอ เงินฝด ผลเสียจากการวางงานและแนวทางแกปญหา สาเหตุ และวิธีการกีดกันทางการคาในการคา
ระหวางประเทศ

ศึกษาอธิบายการใชเครื่องมือทางภูมิศาสตร ในการรวบรวมวิเคราะห และนำเสนอขอมูลเกี่ยวกับ
ลักษณะและความสัมพันธทางกายภาพสังคม ของทวปี อเมริกาเหนือและอเมริกาใต วิเคราะหการกอเกิด
สิ่งแวดลอมใหมทางสังคม อันเปนผลจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติและทางสังคม ระบุแนวทางการ
อนุรกั ษท รพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ ม สำรวจอภิปรายประเดน็ ปญ หาเกี่ยวกับส่ิงแวดลอ ม วิเคราะหเหตุ
และผลกระทบ ตอ เนอื่ งจากการเปลีย่ นแปลงของสิ่งแวดลอ มในทวปี อเมรกิ าเหนือและอเมริกาใต

โดยใชกระบวนการศึกษาคนควา การสืบเสาะหาความรู การสืบคนขอมูล ปฏิบัติจริง สรุป
รายงาน เพอ่ื พฒั นาทักษะกระบวนการในการคดิ วิเคราะห การแกปญหา การใชเ หตผุ ล การสอื่ ความหมาย
ทางสังคม และนำประสบการณดานความรู ความคิดทักษะ กระบวนการที่ไดไปใชในการเรียนรูสิง่ ตางๆ
และใชในชีวิตประจำวันอยา งสรางสรรค รวมทั้งเห็นคุณคาและมีเจตคติที่ดีตอ เศรษฐศาสตร และภูมิศาสตร
สามารถทำงานอยางมีระบบระเบยี บ มีความรอบคอบ มีความรับผดิ ชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชื่อมน่ั
ในตนเอง

เพื่อใหรูจักคิดอยางมีเหตุผล ยึดม่ันในหลกั การพึ่งตนเอง ตระหนกั ถึงความสำคัญเห็นคุณคาและมี
เจตคตทิ ดี่ ตี อ เศรษฐศาสตร และภูมิศาสตร มีคุณธรรมจริยธรรมเปน หลกั ในการดำเนนิ ชีวิต สามารถทำงาน
อยางเปน ระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มคี วามรบั ผดิ ชอบ มวี ิจารณญาณและมคี วามเชือ่ มั่นในตนเอง

รหสั ตัวชวี้ ัด ส 3.1 ม.3/2 ส 3.1 ม.3/3 ส 3.2 ม.3/1
ส 3.1 ม.3/1 ส 3.2 ม.3/3 ส 3.2 ม.3/4 ส 3.2 ม.3/5
ส 3.2 ม.3/2 ส 5.1 ม.3/1 ส 5.1 ม.3/2 ส 5.2 ม.3/1
ส 3.2 ม.3/6 ส 5.2 ม.3/3 ส 5.2 ม.3/4
ส 5.2 ม.3/2

รวม 15 รหสั ตัวช้วี ัด

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธ์พิ ัฒนวทิ ย (ฉบับปรบั ปรุง 2565)

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 91

คำอธิบายรายวิชา

รายวชิ าประวตั ศิ าสตร 6 รหสั วชิ า ส23166 กลุม สาระการเรียนรูส ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 2 จำนวน 0.5 หนว ยกติ เวลา 20 ชั่วโมง/ภาคเรยี น

การพัฒนาการของไทยสมัยรัตนโกสินทรดานการเมืองการปกครอง สังคม เศรษฐกิจและ
ความสัมพันธระหวางประเทศตามชวงสมันตาง ๆ เหตุการณสำคัญตอการพัฒนาชาติไทย เชน การทำ
สนธิสญั ญาเบาวร ิ่งในสมัยรัชกาลท่ี 4 การปฏริ ูปประเทศในสมัยรัชการที่ 5 การเขารวมสงครามโลกคร้ังที่ 1
และครั้งที่ 2 โดยวิเคราะหสาเหตปุ จจยั และผลของเหตุการณต าง ๆ วิเคราะหภ ูมิปญญาและวัฒนธรรมไทย
สมันรตั นโกสินทรที่มีอทิ ธิพลตอการพฒั นาชาติไทย โดยเฉพาะสมเด็จพระเจา อยูหัวและสมเด็จพระราชินนี าถ
วิเคราะหบทบาทของไทยตัง้ แตเ ปล่ยี นแปลงการปกครองจนถงึ ปจจบุ ันในสงั คมโลก

โดยใชกระบวนการศึกษาคนควา การสืบเสาะหาความรู การสืบคนขอมูล ปฏิบัติจริง สรุป
รายงาน เพอ่ื พัฒนาทกั ษะกระบวนการในการคิดวิเคราะห การแกปญ หา การใชเ หตผุ ล การสื่อความหมาย
ทางสังคม และนำประสบการณดานความรู ความคิดทักษะ กระบวนการที่ไดไปใชในการเรียนรูสิง่ ตางๆ
และใชในชีวิตประจำวันอยางสรางสรรค รวมท้ังเห็นคุณคาและมีเจตคติที่ดตี อประวัตศิ าสตร สามารถทำงาน
อยางมีระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มคี วามรบั ผดิ ชอบ มีวจิ ารณญาณและมีความเชอ่ื มน่ั ในตนเอง

เพ่ือใหรูจักคิดอยางมีเหตุผล ยึดม่ันในหลักการพึ่งตนเอง ตระหนกั ถึงความสำคัญเห็นคุณคาและมี
เจตคติทีด่ ีตอประวัติศาสตร มีคุณธรรมจริยธรรมเปน หลกั ในการดำเนนิ ชีวิต สามารถทำงานอยางเปนระบบ
ระเบยี บ มีความรอบคอบ มีความรับผดิ ชอบ มีวจิ ารณญาณและมีความเชอื่ มนั่ ในตนเอง

รหสั ตวั ช้ีวดั ส 4.3 ม. 3/3 ส 4.3 ม. 3/4
ส 4.3 ม. 3/1 ส 4.3 ม. 3/2

รวม 4 รหัสตวั ช้วี ัด

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธิพ์ ฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรับปรุง 2565)

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ 2560) ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน หนา 92

คำอธิบายรายวิชาเพ่ิมเตมิ
กลุมสาระการเรียนรูสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม


Click to View FlipBook Version