The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนนิเทศบูรณาการปี64-กจ.4

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สัทธา สืบดา, 2021-06-06 09:10:37

แผนนิเทศบูรณาการปี64-กจ.4

แผนนิเทศบูรณาการปี64-กจ.4

เพ่อื พัฒนาคุณภาพการศึกษา

ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

เอกสารลำดับที่ 1/2564

กลมุ่ นเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษา

สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษากาญจนบรุ ี เขต 4
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน

เพ่อื พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา

ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

บูรณาการโดยใชพ้ ้นื ที่เป็นฐาน เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ของโรงเรียนในสังกดั สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 4 ฉบับน้ี จดั ทำขึ้นเพ่ือให้
คณะผนู้ ิเทศและบุคลากรทางการศึกษาใชเ้ ป็นแนวทางในการปฏิบัติงานนิเทศในโรงเรียนท่รี ับผดิ ชอบหรอื
ได้รับมอบหมาย ซ่ึงจดั การศึกษาในระดับการศึกษาปฐมวัย ระดบั ประถมศึกษา และระดับมธั ยมศกึ ษา โดย
นเิ ทศอย่างนอ้ ยภาคเรยี นละ 2 ครัง้ ตอ่ 1 โรงเรียน ตามนโยบายพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

แนวคิดสำคัญของการจัดการเรยี นรูใ้ หม้ คี ุณภาพ ได้แก่ การจดั การเรยี นรู้ที่เน้นผูเ้ รียน
เปน็ สำคญั การเรียนรู้ทเี่ กดิ จากการสมั ผสั ประสบการณจ์ ริง ได้กระทำกจิ กรรมต่างๆ และได้ปฏบิ ตั จิ ริง
(Active Learning) จากสภาพแวดล้อมทีอ่ ยูร่ อบตัว รวมไปถึงประสบการณ์ และธรรมชาติในระบบ
นเิ วศวทิ ยา หรือความเป็นอยู่ภายในบ้าน ครอบครัว ชมุ ชน สังคมชาติ และสังคมโลก เป็นการเรียนรทู้ ักษะ
ชีวติ ซง่ึ เปน็ ความเช่ือวา่ ผู้เรยี นสามารถสร้างองคค์ วามรูไ้ ด้ และเปน็ ความรู้ทยี่ ่ังยืนถาวร ซ่งึ สอดคล้องกบั
การจดั การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 เพ่ือให้การนเิ ทศ กำกับ ตดิ ตามการดำเนนิ งานของโรงเรียนในสงั กดั ให้
เป็นไปอยา่ งประสทิ ธภิ าพ สง่ ผลต่อการพัฒนาศักยภาพการเรยี นร้ขู องผูเ้ รียน และพฒั นาคุณภาพการจัด
การศึกษาทย่ี ง่ั ยืน จงึ ไดจ้ ัดทำแผนนเิ ทศบรู ณาการโดยใชพ้ ้ืนท่เี ปน็ ฐาน เพือ่ พฒั นาคณุ ภาพการศึกษาขนึ้

สำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 4 หวังเป็นอยา่ งยิง่ วา่ เอกสาร
ฉบับน้ี จะเป็นเครือ่ งมือสำหรับใหผ้ ู้นิเทศ และผู้เก่ียวข้องกับการศกึ ษา นำไปใช้และปฏบิ ัติ ซ่งึ จะทำให้การ
พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาอย่างต่อเนื่องเปน็ ระบบ ขอขอบคุณผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา
ประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต 4 รองผู้อำนวยการศึกษาประถมศกึ ษากาญจนบรุ ี เขต 4 คณะศกึ ษานเิ ทศก์
และคณะทำงาน ท่ีใหค้ วามร่วมมอื ในการจัดทำแผนนเิ ทศฉบับบน้ี สำเร็จสมบรู ณ์เพอื่ ขบั เคล่ือนพัฒนา
คุณภาพการศึกษา ต่อไป

กลมุ่ นิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจดั การศึกษา
สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษากาญจนบุรี เขต 4

แผนนเิ ทศบรู ณาการโดยใช้พ้ืนทเี่ ป็นฐาน เพ่ือพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ก
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบรุ ี เขต 4

หนา้
คำนำ ..................................................................................................................................................... ก
สารบัญ ................................................................................................................................................. ข
ส่วนท่ี 1 สภาพการจดั การศึกษา ......................................................................................................... 1
ส่วนท่ี 2 ทศิ ทางการพฒั นาการศกึ ษา ................................................................................................. 14
สว่ นท่ี 3 นโยบายและแนวทางการขบั เคลื่อนการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ......................................... 24
ส่วนที่ 4 บทบาทหนา้ ทีข่ องกลุ่มนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษา ................................ 58
ส่วนท่ี 5 แผนการนิเทศ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ............................................................................. 65
สว่ นที่ 6 ปฏิทินการดำเนินงานตามแผนปฏิบตั ิการ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ................................... 119
คณะผจู้ ัดทำ ................................................................................................................................................................. 125
ภาคผนวก ................................................................................................................................................................. 127

ประมวลภาพกิจกรรมการประชุม ........................................................................................ 128
การมอบหมายงานรบั ผดิ ชอบกลุ่มงานและกลุ่มสาระการเรยี นรู้
การมอบหมายงานดแู ลโรงเรียนในกลมุ่ เครือขา่ ย ........................................................................ 131

คำสงั่ ...................................................................................................................... .............. 133
ตวั อยา่ งเครอ่ื งมอื นิเทศ ....................................................................................................... 136

แผนนเิ ทศบูรณาการโดยใชพ้ ้ืนทีเ่ ป็นฐาน เพื่อพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ข
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบรุ ี เขต 4

สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 4 เป็นหน่วยงานทอ่ี ยูภ่ ายใต้
การกำกับดแู ลของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน มหี น้าทีด่ ำเนินการใหเ้ ป็นไปตามอำนาจ
หนา้ ท่ขี องคณะกรรมการเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา มาตรา 18 แหง่ พระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
(ฉบับปรบุ ปรุง พ.ศ. 2545) และพระราชบญั ญัตริ ะเบียบบริหารราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2546
มาตรา 37 โดยดำเนนิ การจดั การศึกษาในระดับปฐมวัย ระดบั การศึกษาภาคบังคับ และการศกึ ษาขั้น
พ้ืนฐาน ตลอดจนสนับสนนุ การจดั การศึกษาตามอธั ยาศัย การจัดการศึกษาของสถานศึกษาเอกชน โดยมี
หนา้ ท่ี ดงั น้ี

1. จดั ทำนโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการศึกษาของเขตพ้นื ท่ีการศึกษา
ใหส้ อดคล้องกับนโยบาย มาตรฐานการศึกษา แผนการศึกษา แผนพฒั นาการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
และความต้องการของท้องถ่นิ

2. วเิ คราะหก์ ารจดั ตัง้ งบประมาณเงินอดุ หนุนทัว่ ไปของสถานศกึ ษา และหนว่ ยงาน
ในเขตพนื้ ที่การศึกษา และแจ้งการจัดสรรงบประมาณท่ีไดร้ ับใหห้ น่วยงานขา้ งตน้ รับทราบ รวมทัง้ กำกับ
ตรวจสอบ ตดิ ตามการใชจ้ ่ายงบประมาณของหน่วยงานดังกลา่ ว

3. ประสาน สง่ เสรมิ สนบั สนนุ และพฒั นาหลกั สูตรร่วมกบั สถานศึกษาในเขตพ้ืนที่
การศกึ ษา

4. กำกับ ดูแล ติดตาม และประเมนิ ผลสถานศึกษาข้นั พื้นฐาน ในเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา
5. ศกึ ษา วิเคราะห์ วิจยั และรวบรวมขอ้ มลู สารสนเทศด้านการศกึ ษาในเขตพน้ื ท่ี
การศึกษา
6. ประสานการระดมทรัพยากรดา้ นตา่ ง ๆ รวมทง้ั ทรัพยากรบคุ คล เพ่ือส่งเสริม
สนบั สนนุ การจดั และพฒั นาการศึกษาในเขตพน้ื ที่การศึกษา
7. จัดระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษา และประเมนิ ผลสถานศกึ ษาในเขตพน้ื ที่
การศึกษา
8. ประสาน ส่งเสริม สนบั สนนุ การจัดการศึกษาของสถานศึกษาเอกชน องค์กรปกครอง
สว่ นท้องถ่นิ รวมท้ังบุคคล องคก์ รชุมชน องค์กรวิชาชพี สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบนั อืน่
ทจี่ ัดรูปแบบที่หลากหลายในเขตพน้ื ท่ีการศึกษา

แผนนิเทศบูรณาการโดยใช้พื้นท่ีเป็นฐาน เพอ่ื พัฒนาคุณภาพการศกึ ษา 1
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบรุ ี เขต 4

9. ดำเนินการและประสาน สง่ เสรมิ สนบั สนุนการวจิ ัยและพัฒนาการศึกษาในเขตพนื้ ที่

การศกึ ษา

10. ประสาน สง่ เสรมิ การดำเนนิ งานของคณะอนุกรรมการ และคณะทำงานด้าน
การศกึ ษา

11. ประสานการปฏบิ ัติราชการทัว่ ไปกบั องค์กรหรอื หน่วยงานตา่ งๆ ทัง้ ภาครฐั
ภาคเอกชน และองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ในฐานะสำนักงานผ้แู ทนกระทรวงศึกษาธิการในเขตพ้ืนที่
การศกึ ษา

12. ปฏบิ ตั หิ น้าท่อี นื่ เก่ียวกับกิจการภายในเขตพ้นื ที่การศึกษาที่มิได้ระบุให้เปน็ หนา้ ท่ี
ของหนว่ ยงานใดโดยเฉพาะ หรือปฏิบัติงานอน่ื ตามท่ีไดร้ ับมอบหมายสำนกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาอาจมี
อำนาจหนา้ ทน่ี อกเหนือไปจากที่กำหนดไว้ในวรรคหนึง่ ก็ได้ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการศกึ ษา
ข้ันพนื้ ฐาน

แผนนเิ ทศบรู ณาการโดยใช้พื้นทีเ่ ป็นฐาน เพอ่ื พัฒนาคุณภาพการศกึ ษา 2
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบรุ ี เขต 4

โครงสรา้

แผนภมู ทิ ี่ 1 โครงสรา้ งการบริหารงานของสำนักงา
แผนนิเทศบรู ณาการโดยใช้พ้ืนทีเ่ ป็นฐาน เพ่ือพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบรุ ี เขต 4

างการบริหารงาน

เขต 4

านเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 4
3

แผนภูมิที่ 2 จำนวนสถานศึกษาในสังกัดสำนักงา
ท่มี า : ข้อมูลสารสนเทศ ปีการศึกษา

แผนนเิ ทศบูรณาการโดยใช้พ้ืนที่เปน็ ฐาน เพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบุรี เขต 4

านเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต 4
า 2562-2563 กลุ่มนโยบายและแผน

4

โรงเรียนในสังกัด จำนวน 92 โรง

ท่ี โรงเรียน อำเภอ
กลมุ่ เครอื ขา่ ยชอ่ งด่าน
บ่อพลอย
1 บ้านหนองหว้า บ่อพลอย
2 บา้ นชอ่ งดา่ น บ่อพลอย
3 บ้านวังใหญ่ บอ่ พลอย
4 บ้านหนองเข้ บอ่ พลอย
5 บา้ นเขาแดง บอ่ พลอย
6 บา้ นสามยอด
กลุ่มเครือขา่ ยหนองกมุ่ บอ่ พลอย
7 บา้ นเสาหงส์ บอ่ พลอย
8 บ้านวังด้ง บ่อพลอย
9 บ้านพุพรหม บ่อพลอย
10 วังเขาแกว้ (หงำอุปถัมภ์) บอ่ พลอย
11 บา้ นหนองกระทุ่ม บอ่ พลอย
12 บ้านหนองกุ่ม บอ่ พลอย
13 วัดทงุ่ มะสงั (มติ รภาพที่ 9) บ่อพลอย
14 บา้ นรางขาม
กลุ่มเครอื ขา่ ยบอ่ พลอย บ่อพลอย
15 บา้ นหนองเตยี น บอ่ พลอย
16 บ้านหนองโพธิ์ บ่อพลอย
17 บา้ นบงึ หวั แหวน บ่อพลอย
18 อนบุ าลบอ่ พลอย บอ่ พลอย
19 บา้ นหนองย่างช้าง บอ่ พลอย
20 บา้ นท่าว้า
กลมุ่ เครอื ขา่ ยหนองรี-หนองกรา่ ง บอ่ พลอย
21 บา้ นหนองกรา่ ง บ่อพลอย
22 บา้ นหลงั เขา บอ่ พลอย
23 บา้ นหนองรี บอ่ พลอย
24 บ้านหนองหวาย

แผนนิเทศบูรณาการโดยใช้พ้ืนท่เี ป็นฐาน เพื่อพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา 5
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบรุ ี เขต 4

ท่ี โรงเรยี น อำเภอ
25 บา้ นหนองแกใน บ่อพลอย
26 บ้านลาํ อซี ู บอ่ พลอย
27 บ้านหนองสาํ โรง บ่อพลอย
กลุ่มเครือข่ายหลุมรงั
28 ชุมชนบา้ นหลมุ รงั บอ่ พลอย
29 บา้ นหนองหมู บอ่ พลอย
30 ไทยรฐั วทิ ยา 21 (บ้านลาํ เหย) บอ่ พลอย
31 บ้านยางสูง บอ่ พลอย
32 บา้ นไร่เจรญิ บอ่ พลอย
กลมุ่ เครอื ข่ายหนองปลาไหล
33 บ้านหนองปลาไหล หนองปรือ
34 บ้านพยอมงาม หนองปรอื
35 บ้านหนองขอนเทพพนม หนองปรอื
36 บา้ นห้วยหวาย หนองปรอื
37 บา้ นหนองแกประชาสรรค์ หนองปรอื
กลมุ่ เครอื ขา่ ยสมเดจ็ เจรญิ
38 ป่าไม้อทุ ิศ 15 (บา้ นมว่ งเฒา่ ) หนองปรือ
39 บ้านหนองผกั แวน่ หนองปรอื
40 บา้ นเขาหนิ ต้งั หนองปรอื
41 บา้ นเขาแหลม หนองปรือ
กลุ่มเครือขา่ ยหนองปรอื
42 อนุบาลหนองปรือ หนองปรือ
43 บ้านหนองขอน หนองปรือ
44 บ้านทงุ่ โปง่ หนองปรือ
45 เสรี-สมใจ หนองปรือ
46 บา้ นหนองใหญ่ หนองปรอื
47 วดั หนองไมเ้ อื้อย หนองปรอื
48 บา้ นเขามุสิ หนองปรอื
49 บา้ นหนองสาหรา่ ย หนองปรือ
50 บ้านหนองตาเดช หนองปรือ

แผนนิเทศบรู ณาการโดยใช้พื้นท่ีเป็นฐาน เพือ่ พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา 6
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบุรี เขต 4

ท่ี โรงเรยี น อำเภอ
กลุ่มเครอื ขา่ ยท่งุ กระบำ่
เลาขวญั
51 ราษฎรบ์ ํารุงธรรม เลาขวญั
52 บ้านน้ำลาด เลาขวญั
53 บ้านทุ่งกระบำ่ เลาขวญั
54 หม่บู ้านป่าไม้ เลาขวญั
55 บา้ นหนองหวาย
กลุม่ เครือข่ายเลาขวัญ เลาขวญั
56 อนบุ าลวัดเลาขวญั เลาขวญั
57 บา้ นหนองแสลบ เลาขวัญ
58 บา้ นพบุ อน เลาขวัญ
59 บา้ นเขานางสางหัว เลาขวัญ
60 บ้านหนองผือ เลาขวัญ
61 บ้านรางพยอม
กลุ่มเครอื ขา่ ยหนองปลงิ เลาขวัญ
62 บา้ นตรอกสะเดา เลาขวัญ
63 บ้านหนองปลิง เลาขวัญ
64 บ้านพรหมณี เลาขวัญ
65 ประชาพัฒนา เลาขวัญ
66 บ้านหนองใหญ่ เลาขวัญ
67 บา้ นบะลังกา เลาขวัญ
68 บา้ นหนองกะหนาก เลาขวัญ
69 บ้านหนองมะสัง
กลุ่มเครอื ขา่ ยหนองฝ้าย เลาขวญั
70 ชุมชนบา้ นหนองฝา้ ย เลาขวญั
71 บ้านกรบั ใหญ่ เลาขวญั
72 บ้านชมุ นุมพระ เลาขวัญ
73 เขาวงพระจนั ทร์ เลาขวัญ
74 บา้ นหนองงูเห่า เลาขวัญ
75 บ้านหนองไผล่ ้อม

แผนนิเทศบรู ณาการโดยใช้พื้นทีเ่ ปน็ ฐาน เพ่ือพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา 7
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบุรี เขต 4

ที่ โรงเรยี น อำเภอ
กล่มุ เครอื ขา่ ยหนองโสน
เลาขวญั
76 บ้านหนองโสน เลาขวญั
77 วัดใหม่ภูมเิ จรญิ เลาขวัญ
78 บา้ นสระเตยพฒั นา เลาขวัญ
79 บ้านหนองไกต่ ่อ เลาขวญั
80 บ้านหนองม่วง เลาขวญั
81 บ้านนำ้ คลุ้ง
กลุม่ เครือขา่ ยประดแู่ กว้ เลาขวญั
82 บา้ นหนองนกแก้ว เลาขวญั
83 บ้านช่องกลง้ิ ชอ่ งกรด เลาขวญั
84 บ้านหนองเค็ด เลาขวัญ
85 บ้านหนองจ่ัน เลาขวัญ
86 บ้านหนองไกเ่ หลือง เลาขวัญ
87 บา้ นหนองประดู่ เลาขวญั
88 บา้ นน้ำโจน เลาขวัญ
89 บา้ นตลุงเหนอื เลาขวัญ
90 บา้ นโป่งไหม เลาขวญั
91 บ้านหนองปรือ เลาขวัญ
92 บา้ นหนองตากา้ ย

ขอบเขตความรับผิดชอบ

สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 4 มพี น้ื ทร่ี บั ผิดชอบ
ในการบริหารการศกึ ษาครอบคลมุ 3 อำเภอ ไดแ้ ก่ อำเภอบ่อพลอย อำเภอหนองปรือและอำเภอเลาขวญั
โดยแบง่ กลุ่มโรงเรียนเปน็ 14 กลมุ่ เครือขา่ ยพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา มโี รงเรียนในสงั กัด
จำนวน 92 โรงเรียน

อำเภอบ่อพลอย มีจำนวนโรงเรยี น 32 โรงเรยี น
อำเภอหนองปรอื มจี ำนวนโรงเรยี น 18 โรงเรยี น
อำเภอเลาขวญั มีจำนวนโรงเรียน 42 โรงเรยี น

แผนนเิ ทศบรู ณาการโดยใช้พื้นที่เปน็ ฐาน เพอ่ื พฒั นาคุณภาพการศึกษา 8
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบุรี เขต 4

สรุปจำนวนนกั เรียน

ทมี่ า : ข้อมูลสารสนเทศ ปีการศึกษา 2562-2563
กลุ่มนโยบายและแผน
(ข้อมูลตาราง ณ 20 กรกฎาคม 2563)

แผนนเิ ทศบูรณาการโดยใช้พื้นที่เปน็ ฐาน เพือ่ พฒั นาคุณภาพการศึกษา 9
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบรุ ี เขต 4

ผลการดำเนินงาน

สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต 4 มผี ลการดำเนนิ งาน
ในรอบปี 2563 พอสรุปได้ดังนี้

จากการดำเนนิ งานท่ผี า่ นมา ในภาพรวมผลการทดสอบระดับชาติขนั้ พื้นฐาน (O-NET)
ระดบั เขตพน้ื ที่การศึกษา ใน 4 กลุม่ สาระหลัก ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
และภาษาอังกฤษ ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 และชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 ปีการศกึ ษา 2562– 2563
มผี ลคะแนนเฉลีย่ ดังต่อไปน้ี

ผลการทดสอบระดับชาตขิ ั้นพืน้ ฐาน (O-NET)

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขัน้ พ้นื ฐาน (O-NET) ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 ปกี ารศกึ ษา 2563

คะแนน

สาระการเรียนรู้ ผลการทดสอบเฉล่ีย การพฒั นา
(+/-)
ภาษาไทย ปี 2562 ปี 2563
ภาษาองั กฤษ 6.07
คณติ ศาสตร์ 47.77 53.84 7.21
วทิ ยาศาสตร์ -3.72
31.06 38.27 2.04
รวมเฉลยี่ 2.90
32.90 29.18

34.79 36.83

36.63 39.53

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ัน้ พื้นฐาน (O-NET) ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา
2563 มีค่าเฉลย่ี รวมสงู กว่าปีการศึกษา 2562 คดิ เปน็ ร้อยละ 2.90

แผนนิเทศบูรณาการโดยใช้พื้นท่เี ป็นฐาน เพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา 10
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบรุ ี เขต 4

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพนื้ ฐาน (O-NET) ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 2563

คะแนน

สาระการเรยี นรู้ ผลการทดสอบเฉลี่ย การพัฒนา
(+/-)
ภาษาไทย ปี 2562 ปี 2563
ภาษาอังกฤษ -1.01
คณิตศาสตร์ 51.78 50.77 0.94
วิทยาศาสตร์ -5.65
29.99 30.93 -0.18
รวมเฉลี่ย -1.48
27.71 22.06

29.35 29.17

34.71 33.23

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขนั้ พืน้ ฐาน (O-NET) ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ปกี ารศึกษา
2563 มีค่าเฉลยี่ รวมตำ่ กว่าปีปกี ารศกึ ษา 2562 คิดเป็นร้อยละ 1.48

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขน้ั พ้ืนฐาน (O-NET) ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563

คะแนน

สาระการเรยี นรู้ ผลการทดสอบเฉลีย่ การพฒั นา
(+/-)
ภาษาไทย ปี 2562 ปี 2563
สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม -8.13
ภาษาอังกฤษ 33.88 25.75 1.62
คณิตศาสตร์ -5.00
วิทยาศาสตร์ 27.88 29.50 14.22
-1.85
รวมเฉลย่ี 21.88 16.88 0.18

12.34 26.56

24.50 22.65

24.09 24.27

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขน้ั พ้ืนฐาน (O-NET) ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 ปกี ารศึกษา
2563 มคี ่าเฉลีย่ รวมสงู กวา่ ปีการศกึ ษา 2562 คดิ เปน็ ร้อยละ 0.18

แผนนิเทศบูรณาการโดยใช้พื้นทเี่ ปน็ ฐาน เพื่อพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา 11
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบรุ ี เขต 4

ผลการประเมินคณุ ภาพผู้เรยี นระดบั ชาติ (NT)
ผลการประเมินความสามารถด้านการอา่ นของผู้เรียน (RT)

ผลการประเมนิ คณุ ภาพผเู้ รยี นระดับชาติ (NT) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3

คะแนน

สาระการเรยี นรู้ ผลการทดสอบเฉลย่ี การพัฒนา
(+/-)
ด้านคณิตศาสตร์ ปี 2562 ปี 2563
ด้านภาษาไทย -5.00
รวม 2 ด้าน 50.85 45.85 1.01
-2.00
50.49 51.50

50.67 48.67

ผลการประเมนิ คณุ ภาพผู้เรียนระดับชาติ (NT) ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 2563
มีคา่ เฉล่ียรวมตำ่ กว่าปกี ารศกึ ษา 2562 คิดเปน็ ร้อยละ 2.00

ผลการประเมินความสามารถด้านการอา่ นของผูเ้ รียน (RT) ปกี ารศึกษา 2563

แผนนิเทศบรู ณาการโดยใช้พ้ืนทีเ่ ปน็ ฐาน เพอ่ื พฒั นาคุณภาพการศึกษา 12
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบรุ ี เขต 4

ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศกึ ษา
2563 พบว่า นักเรยี นมคี ะแนนเฉลีย่ รวมดา้ นการอ่านรู้เร่ือง (73.91) สงู กวา่ คะแนนเฉลี่ยระดบั ประเทศ
(71.86) คดิ เปน็ รอ้ ยละ 2.08 และมีค่าเฉล่ยี การอา่ นรู่เรื่องสูงกวา่ ระดบั ประเทศ

บทสรุปผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้นั พืน้ ฐาน (O-NET) ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ปกี ารศกึ ษา
2563 มีค่าเฉล่ียรวมสูงกวา่ ปีการศกึ ษา 2562 คิดเปน็ ร้อยละ 2.90 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ที่มคี ่าเฉลีย่ สงู กว่า
ปที ผ่ี า่ นมา จำนวน 3 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ได้แก่ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และวิทยาศาสตร์

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ั้นพืน้ ฐาน (O-NET) ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ปกี ารศึกษา
2563 มีค่าเฉลี่ยรวมตำ่ กว่าปีปกี ารศกึ ษา 2562 คดิ เปน็ ร้อยละ 1.48 กลมุ่ สาระการเรยี นรทู้ มี่ คี ่าเฉล่ยี สงู
กวา่ ปที ่ีผา่ นมา จำนวน 1 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ไดแ้ ก่ ภาษาอังกฤษ

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขน้ั พ้ืนฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 ปีการศกึ ษา
2563 มคี ่าเฉลยี่ รวมสงู กวา่ ปีการศึกษา 2562 คิดเปน็ ร้อยละ 0.18 กล่มุ สาระการเรียนรู้ทีม่ คี า่ เฉลี่ยสงู กวา่
ปีที่ผ่านมา จำนวน 2 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ได้แก่ สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และคณิตศาสตร์

ผลการประเมินคุณภาพผ้เู รยี นระดบั ชาติ (NT) ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2563
มคี ่าเฉล่ยี รวมตำ่ กวา่ ปกี ารศึกษา 2562 คิดเป็นรอ้ ยละ 2.00

ผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอ่านของผู้เรยี น (RT) ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 1 ปกี ารศกึ ษา
2563 พบว่า นกั เรียนมีคะแนนเฉลยี่ รวมด้านการอา่ นร้เู รือ่ ง (73.91) สงู กว่าคะแนนเฉล่ียระดบั ประเทศ
(71.86) คิดเปน็ ร้อยละ 2.08 และมคี ่าเฉลย่ี การอา่ นรู่เร่ืองสูงกวา่ ระดบั ประเทศ

แผนนิเทศบูรณาการโดยใช้พ้ืนท่ีเปน็ ฐาน เพือ่ พัฒนาคุณภาพการศึกษา 13
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบุรี เขต 4

กระทรวงศกึ ษาธิการ

นโยบายและจดุ เน้นของกระทรวงศกึ ษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

นโยบายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

1. ปรบั รื้อและเปลี่ยนแปลงระบบการบริหารจัดการ โดยมุ่งปฏริ ูปองค์การเพ่ือหลอม
รวมภารกจิ และบคุ ลากร เช่น ดา้ นการประชาสัมพันธ์ ด้านการต่างประเทศ ดา้ นเทคโนโลยี ดา้ นกฎหมาย
และดา้ นอนื่ ๆ ท่สี ามารถลดการใช้ทรัพยากรทบั ซ้อน เพิม่ ประสิทธิภาพและความเปน็ เอกภาพ รวมทงั้
การนำเทคโนโลยดี ิจิทัลเขา้ มาชว่ ยท้ังการบริหารงานและการจัดการศกึ ษารองรับความเป็นรัฐบาลดจิ ทิ ัล

2. ปรับรอ้ื และเปลย่ี นแปลงระบบการบรหิ ารทรัพยากร โดยมุ่งปฏริ ูปกระบวนการ
วางแผนงาน/โครงการแบบร่วมมอื และบูรณาการ ท่ีสามารถตอบโจทยข์ องสังคมและเป็นการพัฒนาท่ยี งั่ ยืน
รวมทงั้ กระบวนการจดั ทำงบประมาณท่มี ปี ระสิทธิภาพและใช้จา่ ยอยา่ งคุม้ คา่ ส่งผลใหภ้ าคสว่ นต่างๆ
ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และนานาชาติ เชอื่ ม่นั และร่วมสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษามากยิ่งข้ึน

3. ปรบั รอื้ และเปลี่ยนแปลงระบบการบรหิ ารจัดการและพัฒนากำลงั คนของ
กระทรวงศึกษาธิการ โดยมุง่ บรหิ ารจดั การอัตรากำลังให้สอดคล้องกบั การปฏริ ปู องค์การ รวมท้งั พฒั นา
สมรรถนะและความรู้ความสามารถของบุคลากรภาครฐั ให้มีความพร้อมในการปฏิบัตงิ านรองรบั ความเปน็
รฐั บาลดจิ ิทลั

4. ปรับรื้อและเปลยี่ นแปลงระบบการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู้ โดยมุ่งใหค้ รอบคลมุ
ถงึ การจัดการศึกษาเพือ่ คณุ วุฒิ และการเรียนรู้ตลอดชวี ิตทสี่ ามารถตอบสนองการเปลย่ี นแปลงในศตวรรษ
ท่ี 21

แผนนิเทศบูรณาการโดยใช้พื้นทเ่ี ป็นฐาน เพือ่ พฒั นาคุณภาพการศกึ ษา 14
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบรุ ี เขต 4

หลักการตามนโยบาย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (เพิม่ เติม)
5. ดำเนินการปลดลอ็ ก ปรับเปลยี่ น เปดิ กว้าง ที่เป็นเง่ือนไขต่าง ๆ เพื่อให้บรรลผุ ลตาม
นโยบาย “การศึกษายกกำลงั สอง (Thailand Education Eco – System : TE2S) การศึกษาที่เขา้ ใจ
Supply และตอบโจทย์ Demand” โดย
- ปลดล็อก กฎหมาย ระเบยี บ ขอ้ บังคับ ประกาศต่าง ๆ เพ่ือให้เกิดความร่วมมือกนั
ระหวา่ งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสงั คมให้สามารถดำเนนิ การทีเ่ กยี่ วข้องกบั การศึกษาได้อย่าง
รวดเรว็ รวมถงึ การบริหารการศกึ ษาของประเทศให้ครอบคลมุ ทุกพื้นที่
- ปรับเปลย่ี น หลกั สตู รการเรียนการสอนท่ีมงุ่ เนน้ การพฒั นาขดี ความสามารถและ
ศกั ยภาพใหท้ นั ต่อการเปลยี่ นแปลงของโลก ปรับเปล่ยี นการพัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาผ่านศนู ย์
พฒั นาศักยภาพบคุ คลเพ่ือความเป็นเลิศ (Human Capital Excellence Center : HCEC) เพื่อใหค้ รู Up
Skill และ Re-Skill ของตนเองไดต้ ลอดเวลา ทงั้ น้ี เพื่อสง่ ต่อความรู้ไปยงั ผ้เู รียนให้เป็นคนดี คนเกง่ และคน
ทีม่ คี ุณภาพ
- เปดิ กวา้ ง เสรีทางการศึกษาให้ภาคเอกชนที่มคี ุณภาพเขา้ มามีส่วนรว่ มในการพัฒนา
การศึกษาร่วมประเมนิ ผลการเรียนรู้ของผเู้ รยี นผา่ นศนู ย์พัฒนาศกั ยภาพบุคคลเพือ่ ความเปน็ เลิศ (Human
Capital Excellence Center : HCEC) จากแพลตฟอร์มดิจทิ ัล (Digital Education Excellence
Platform : DEEP) ให้ครอบคลุมผ้เู รียนทั่วประเทศ
ทงั้ นี้ เพื่อนำไปสู่นักเรยี นยกกำลงั สอง ทเ่ี น้นเรียนเพ่อื รู้ พฒั นาทักษะเพอื่ ทำ ครูยกกำลัง
สองทเ่ี นน้ เพ่ิมคนเก่งมาเปน็ ครู พฒั นาครูในระบบ หอ้ งเรียนยกกำลังสองทีเ่ นน้ เรยี นที่บ้าน ถามทโ่ี รงเรียน
หลกั สตู รยกกำลังสองที่เน้นลดเวลาเรยี น เพมิ่ เวลารู้ สอ่ื การเรยี นร้ยู กกำลังสองท่เี นน้ เรียนผา่ นสอ่ื ผสมผสาน
ผ่านชอ่ งทางทหี่ ลากหลาย ได้แก่ On-Site เรียนทโ่ี รงเรยี น Online เรยี นออนไลน์ผ่านแพลตฟอรม์ ด้าน
การศึกษาเพอ่ื ความเปน็ เลิศ (Digital Education Excellence Platform : DEEP) ท่มี เี น้อื หามาตรฐาน
จากผผู้ ลติ ที่เป็นภาคเอกชน On-Air เรียนผา่ นโทรทัศน์ DLTV มูลนธิ กิ ารศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม
โดยเน้ือหามาตรฐานจากผผู้ ลิตที่เป็นภาคเอกชน และ On-Demand ซึง่ สามารถเรยี นได้ทุกท่ี ทุกเวลา
ทีม่ อี ินเทอรเ์ นต็ และอุปกรณเ์ ชอื่ มต่อ โรงเรียนยกกำลังสองทีม่ งุ่ เน้นคุณภาพในโรงเรยี นระดับการศกึ ษา
ขน้ั พืน้ ฐาน เพ่ือความเปน็ เลศิ ทางวิชาการ เพ่ือความเป็นเลศิ ทางภูมิปัญญาท้องถน่ิ และวิสาหกจิ ชุมชนทีเ่ น้น
คุณภาพของวทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาเพื่อความเปน็ เลิศและความเช่ยี วชาญท่สี ามารถตอบโจทยท์ ักษะและ
ความรทู้ ่เี พิ่มความเช่ยี วชาญในการปฏิบตั งิ าน

จดุ เน้นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
1. การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์
1.1 การจดั การศกึ ษาเพอ่ื คุณวฒุ ิ
- จดั การศึกษาทุกระดบั ทุกประเภท โดยใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะ รวมทง้ั แนวทาง

การจัดการเรียนรเู้ ชิงรกุ และการวัดประเมินผลเพื่อพฒั นาผูเ้ รยี น ท่สี อดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศกึ ษา
แห่งชาติ

- สง่ เสริมการพัฒนากรอบหลักสูตรระดบั ท้องถิ่นและหลักสตู รสถานศึกษา ตามความ
ต้องการจำเป็นของกลุ่มเป้าหมายและแตกต่างหลากหลายตามบรบิ ทของพ้ืนท่ี

แผนนเิ ทศบรู ณาการโดยใช้พื้นทเี่ ป็นฐาน เพอ่ื พัฒนาคุณภาพการศกึ ษา 15
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบรุ ี เขต 4

- พฒั นาผเู้ รยี นให้มีทกั ษะการคิดวิเคราะห์ สามารถแกไ้ ขสถานการณ์เฉพาะหน้าไดอ้ ย่างมี
ประสิทธิภาพ โดยจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รุก (Active Learning) จากประสบการณ์จริงหรือจากสถานการณ์
จำลองผ่านการลงมือปฏิบัตติ ลอดจนจดั การเรยี นการสอนในเชงิ แสดงความคดิ เหน็ เพ่ือเปิดโลกทัศนม์ ุมมอง
รว่ มกนั ของผ้เู รียนและครใู หม้ ากขนึ้

- พฒั นาผู้เรียนให้มคี วามรอบรูแ้ ละทักษะชวี ิต เพ่ือเป็นเคร่ืองมือในการดำรงชวี ิตและสร้าง
อาชีพ อาทิ การใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ทิ ลั สขุ ภาวะและทัศนคติท่ีดีตอ่ การดูแลสขุ ภาพ

1.2 การเรียนรูต้ ลอดชวี ิต
- จดั การเรยี นรู้ตลอดชีวิตสำหรบั ประชาชนทุกชว่ งวัย เน้นส่งเสริมและยกระดบั ทักษะ
ภาษาอังกฤษ (English for All)
- ส่งเสริมการเรยี นการสอนทเ่ี หมาะสมสำหรบั ผทู้ ีเ่ ข้าสสู่ ังคมสูงวยั อาทิ อาชีพทเ่ี หมาะสม
รองรบั สังคมสงู วัย หลักสูตรการพฒั นาคุณภาพชวี ิต และหลักสูตรการดแู ลผู้สูงวัย หลกั สตู ร BUDDY
โดยเน้นการมสี ว่ นรว่ มในการพัฒนาชมุ ชน โรงเรียน และผเู้ รียน หลกั สตู รการเรียนร้อู อนไลน์ เพือ่ ส่งเสริม
ประชาสัมพันธ์สนิ ค้าออนไลน์ระดับตำบล
- สง่ เสรมิ โอกาสการเข้าถงึ การศกึ ษาเพ่ือทกั ษะอาชพี และการมงี านทำ ในเขตพฒั นาพิเศษ
เฉพาะกิจจงั หวัดชายแดนภาคใต้ และเขตพืน้ ท่ีพเิ ศษ (พน้ื ที่สูง พน้ื ท่ตี ามแนวตะเขบ็ ชายแดน และพนื้ ที่
เกาะแกง่ ชายฝั่งทะเล ท้ังกลุ่มชนต่างเช้อื ชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม กลมุ่ ชนชายขอบ และแรงงาน
ตา่ งด้าว)
- พฒั นาครูใหม้ ที ักษะ ความรู้ และความชำนาญในการใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ทิ ลั
ปัญญาประดิษฐ์ และภาษาองั กฤษ รวมท้ังการจัดการเรยี นการสอนเพอื่ ฝกึ ทกั ษะการคดิ วเิ คราะหอ์ ยา่ งเปน็
ระบบและมเี หตผุ ลเป็นขนั้ ตอน
- พัฒนาครอู าชีวศึกษาท่ีมีความรู้และความสามารถในทางปฏบิ ัติ
(Hands – on Experience)
- เพือ่ ใหม้ ที ักษะและความเช่ียวชาญทางวชิ าการ โดยร่วมมอื กบั สถาบันอุดมศึกษาชัน้ นำ
ของประเทศจัดหลกั สตู รการพฒั นาแบบเข้มขน้ ระยะเวลาอยา่ งน้อย 1 ปี
- พฒั นาสมรรถนะและความรคู้ วามสามารถของบุคลากรกระทรวงศึกษาธิการ ให้มีความ
พรอ้ มในการปฏบิ ัตงิ านรองรับความเปน็ รฐั บาลดิจิทลั อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ โดยจัดให้มีศูนยพ์ ัฒนาสมรรถนะ
บุคลากรระดับจังหวัดทั่วประเทศ
2. การพัฒนาการศกึ ษาเพ่อื ความมน่ั คง
- พฒั นาคณุ ภาพการศึกษาในพืน้ ท่จี ังหวดั ชายแดนภาคใต้ โดยนอ้ มนำยุทธศาสตร์
พระราชทาน “เข้าใจ เขา้ ถึง พฒั นา” เป็นหลกั ในการดำเนินการ
- เฝา้ ระวงั ภัยทุกรูปแบบท่ีเกิดขน้ึ กับผู้เรียน ครู และสถานศึกษา โดยเฉพาะภัยจาก
ยาเสพตดิ อาชญากรรมทางไซเบอร์ การค้ามนุษย์
- สง่ เสรมิ ให้ใช้ภาษาท้องถนิ่ ร่วมกับภาษาไทย เป็นส่อื จดั การเรยี นการสอนในพ้ืนทีท่ ี่ใช้
ภาษาอย่างหลากหลาย เพ่ือวางรากฐานใหผ้ เู้ รียนมีพัฒนาการดา้ นการคิดวเิ คราะห์ รวมทั้งมีทักษะ
การส่อื สารและใชภ้ าษาทสี่ ามในการต่อยอดการเรยี นรไู้ ด้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ

แผนนิเทศบรู ณาการโดยใช้พื้นท่ีเปน็ ฐาน เพอื่ พัฒนาคุณภาพการศกึ ษา 16
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบุรี เขต 4

- ปลูกฝังผูเ้ รียนใหม้ ีหลกั คิดท่ีถกู ต้องดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และเป็นผมู้ คี วามพอเพียง
วนิ ัย สจุ ริต จิตอาสา โดยใชก้ ระบวนการลูกเสือ และยวุ กาชาด

3. การสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน
- สนับสนุนให้สถานศกึ ษาอาชีวศึกษาผลิตกำลังแรงงานทม่ี คี ุณภาพ ตามความเปน็ เลศิ ของ
แต่ละสถานศึกษาและตามบริบทของพืน้ ที่ รวมทง้ั สอดคลอ้ งกบั ความต้องการของประเทศท้ังในปจั จบุ นั และ
อนาคต
- สนับสนุนใหส้ ถานศึกษาอาชีวศึกษาบรหิ ารจัดการอย่างมีคุณภาพ และจดั การเรียน
การสอนด้วยเครื่องมือปฏบิ ตั ิทท่ี ันสมัยและสอดคล้องกับเทคโนโลยี โดยเนน้ ใหผ้ ู้เรยี นมที ักษะการวิเคราะห์
ขอ้ มูล (Data Analysis) และทักษะการสื่อสารภาษาตา่ งประเทศ
4. การสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา
- พฒั นาแพลตฟอร์มดจิ ิทัลเพื่อการเรยี นรู้ และใชด้ ิจิทลั เป็นเคร่ืองมือการเรยี นรู้
- ศึกษาและปรับปรุงอัตราเงินอุดหนุนคา่ ใช้จ่ายต่อหวั ในการจดั การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน
ใหส้ อดคล้องกับสภาพเศรษฐกจิ และบทบญั ญัติของรฐั ธรรมนญู
- ระดมสรรพกำลังเพื่อส่งเสริมสนับสนนุ โรงเรียนนำรอ่ งพ้ืนทน่ี วัตกรรมการศึกษา
เพือ่ ลดความเหลอ่ื มลำ้ ทางการศกึ ษาให้สอดคล้องพระราชบัญญัตพิ ื้นทนี่ วัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562
5. การจดั การศกึ ษาเพอ่ื สร้างเสริมคณุ ภาพชีวติ ท่เี ปน็ มิตรกบั สิ่งแวดล้อม
- เสรมิ สรา้ งการรบั รู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก และส่งเสริมคณุ ลกั ษณะและพฤติกรรม
ที่พงึ ประสงคด์ า้ นสงิ่ แวดลอ้ ม
- สง่ เสริมการพัฒนาสิง่ ประดิษฐแ์ ละนวัตกรรมทีเ่ ปน็ มติ รกับสิง่ แวดล้อม ให้สามารถ
เป็นอาชีพ และสรา้ งรายได้
6. การปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การ
- ปฏริ ปู องคก์ ารเพอื่ ลดความทบั ซ้อน เพ่มิ ประสทิ ธิภาพและความเป็นเอกภาพของ
หนว่ ยงานท่มี ภี ารกจิ ใกลเ้ คียงกนั เช่น ดา้ นประชาสัมพนั ธ์ ด้านตา่ งประเทศ ดา้ นเทคโนโลยี ดา้ นกฎหมาย
เป็นตน้
- ปรับปรงุ กฎหมายและระเบียบที่เปน็ อปุ สรรคและข้อจำกัดในการดำเนินงาน โดย
คำนงึ ถงึ ประโยชน์ของผู้เรียนและประชาชน ตลอดจนกระทรวงศึกษาธิการโดยรวม
- สนับสนุนกิจกรรมการป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ และประพฤติมิชอบ
- พัฒนาระบบฐานข้อมลู ดา้ นการศกึ ษา (Big Data)
- พัฒนาระบบการบริหารจัดการและพัฒนากำลงั คนของกระทรวงศึกษาธกิ าร
ใหส้ อดคล้องกบั การปฏริ ูปองคก์ าร
- สนับสนุนให้สถานศกึ ษาเปน็ นติ บิ คุ คล เพื่อให้สามารถบรหิ ารจดั การศึกษาที่มคี ุณภาพ
ไดอ้ ย่างอสิ ระและมปี ระสทิ ธิภาพ ภายใต้กรอบแนวทางของกระทรวงศึกษาธิการ
- จดั ต้งั หน่วยงานวางแผนทางการเงิน (Financial Plan) ระดบั จังหวดั เพื่อพัฒนาคุณภาพ
ชวี ิตบุคลากรของกระทรวงศึกษาธิการ

แผนนิเทศบูรณาการโดยใช้พื้นทเี่ ป็นฐาน เพ่ือพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา 17
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบุรี เขต 4

- ส่งเสรมิ โครงการ 1 ตำบล 1 โรงเรียนคณุ ภาพ โดยเน้นปรับสภาพแวดลอ้ มทั้งภายใน
และภายนอกบริเวณโรงเรียนให้เอ้ือต่อการเสรมิ สรา้ งคุณธรรม จรยิ ธรรม และจิตสาธารณะ

จดุ เน้นประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (เพ่ิมเติม)
- พฒั นาครทู กุ ระดบั ให้มที ักษะ ความรูท้ ่จี ำเปน็ เพ่ือทำหนา้ ทีว่ ิทยากรมืออาชพี (Train
The Trainer) และขยายผลการพัฒนาผา่ นศนู ย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพ่อื ความเป็นเลิศ (Human Capital
Excellence Center : HCEC)
- จัดการเรียนรู้ตลอดชวี ิตผา่ นเวบ็ ไซต์ http://www.deep.go.th โดยปลดล็อกและเปิด
กว้างให้ภาคเอกชนสามารถเข้ามาพัฒนาเนื้อหา เพื่อให้ผูเ้ รียน ครู และผ้บู ริหารทางการศกึ ษามีทางเลือก
ในการเรียนรทู้ ่ีหลากหลาย และตลอดเวลาผ่านแพลตฟอร์มดา้ นการศึกษาเพ่ือความเป็นเลิศ (Digital
Education Excellence Platform : DEEP)
- ให้ผเู้ รียน ครู ผบู้ ริหารทางการศกึ ษามีแผนพัฒนารายบุคคลผ่านแผนพฒั นารายบุคคล
สูค่ วามเปน็ เลิศ (Excellence Individual Development Plan : EIDP)
- จัดทำ “ค่มู ือมาตรฐานโรงเรียน” เพอ่ื กำหนดให้ทกุ โรงเรียนตอ้ งมีพน้ื ฐานท่ีจำเปน็ ”

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน มีภารกจิ หลกั ในการจดั และสง่ เสรมิ การศึกษา
ขน้ั พนื้ ฐาน ได้กำหนดนโยบายเพอ่ื พฒั นาการจัดการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ไปในทศิ ทางทสี่ อดคลอ้ ง
กบั ยทุ ธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12
(พ.ศ. 2560 – 2579) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 และยุทธศาสตรก์ ระทรวงศกึ ษาธกิ าร

นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน มุ่งมัน่ ในการพฒั นาการศกึ ษาขัน้ พื้นฐานให้เป็น
“การศึกษาขนั้ พื้นฐานวถิ ีใหม่ วถิ คี ณุ ภาพ” มุ่งเนน้ ความปลอดภัยในสถานศึกษา สง่ เสรมิ โอกาสทาง
การศึกษาที่มคี ุณภาพอย่างเท่าเทียม และบรหิ ารจัดการศึกษาอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ จงึ กำหนดนโยบาย
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565 ดงั นี้

1. ด้านความปลอดภัย
1.1 พัฒนาระบบและกลไกในการดูแลความปลอดภัยให้กับผเู้ รยี น ครู และบคุ ลากรทางการ

ศกึ ษาและสถานศกึ ษา จากภัยพบิ ตั แิ ละภัยคกุ คามทุกรปู แบบ รวมถงึ การจัดสภาพแวดล้อมทเี่ อ้ือต่อการ
มสี ุขภาวะทดี่ ี สามารถปรับตวั ตอ่ โรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำ

2. ด้านโอกาส
2.1 สนบั สนุน ให้เดก็ ปฐมวยั ได้เข้าเรยี นทุกคน มีพัฒนาการท่ดี ี ท้งั ทางร่างกาย จติ ใจ วินัย

อารมณ์ สงั คม และสตปิ ัญญา ให้สมกับวัย

แผนนิเทศบรู ณาการโดยใช้พ้ืนทเ่ี ป็นฐาน เพ่ือพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา 18
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบุรี เขต 4

2.2 ดำเนินการให้เด็กและเยาวชนไดร้ บั การศึกษาจนจบการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน อยา่ งมีคุณภาพ
ตามมาตรฐาน วางรากฐานการศึกษาเพื่ออาชีพ สามารถวเิ คราะห์ตนเองเพ่อื การศึกษาต่อ และประกอบ
อาชพี ตรงตามศักยภาพและความถนดั ของตนเอง รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนาผ้เู รยี นทีม่ คี วามสามารถพิเศษ
สคู่ วามเปน็ เลิศเพื่อเพ่ิมขีดความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ

2.3 พฒั นาระบบดูแลช่วยเหลอื เด็กและเยาวชนทีอ่ ยู่ในการศึกษาข้ันพืน้ ฐานเพื่อปอ้ งกนั ไมใ่ ห้
ออกจากระบบการศกึ ษารวมทัง้ ช่วยเหลอื เด็กตกหลน่ และเดก็ ออกกลางคันใหไ้ ดร้ ับการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน
อย่างเท่าเทยี มกนั

2.4 สง่ เสรมิ ใหเ้ ด็กพกิ ารและผดู้ ้อยโอกาส ให้ไดร้ ับโอกาสทางการศึกษาที่มคี ุณภาพมที กั ษะ
ในการดำเนินชีวิต มีพ้นื ฐานในการประกอบอาชีพพึง่ ตนเองได้อย่างมีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ตามหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

3. ดา้ นคณุ ภาพ
3.1 สง่ เสริมการจัดการศกึ ษาให้ผูเ้ รยี นมีความรู้ มที ักษะการเรยี นรแู้ ละทักษะท่จี ำเปน็ ของโลก

ในศตวรรษที่ 21 อยา่ งครบถ้วน เปน็ คนดี มวี นิ ยั มคี วามรักในสถาบนั หลักของชาติ ยึดมนั่ การปกครอง
ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข มที ัศนคติท่ีถกู ตอ้ งต่อบ้านเมือง

3.2 พฒั นาผเู้ รียนใหม้ สี มรรถนะและทกั ษะดา้ นการอ่าน คณติ ศาสตร์ การคิดขัน้ สงู นวัตกรรม
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีดิจทิ ลั และภาษาตา่ งประเทศ เพ่อื เพิ่มขีดความสามารถในการแขง่ ขนั
และการเลือกศึกษาต่อเพ่ือการมงี านทำ

3.3 ปรบั หลักสตู รเป็นหลกั สูตรฐานสมรรถนะ (Competency-based Curriculum)
ท่เี นน้ การพัฒนาสมรรถนะหลกั ทจี่ ำเป็นในแต่ละระดับ จดั กระบวนการเรียนรู้แบบลงมือปฏบิ ตั ิจริง (Active
Learning) รวมท้งั ส่งเสริมการจัดการเรียนรูท้ ส่ี รา้ งสมดลุ ทุกดา้ น สง่ เสริมการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนา
พหุปัญญา พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลผเู้ รียนทกุ ระดับ

3.4 พัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ใหเ้ ป็นครูยุคใหม่ มศี กั ยภาพในการจัดการเรยี น
การสอนตามหลกั สตู รฐานสมรรถนะ มีทักษะในการปฏิบตั ิหน้าทไ่ี ดด้ ี มีความรคู้ วามสามารถในการใช้
เทคโนโลยีดจิ ิทัลมกี ารพัฒนาตนเองทางวิชาชีพอยา่ งต่อเนื่อง รวมทัง้ มจี ิตวญิ ญาณความเปน็ ครู

4. ด้านประสิทธภิ าพ
4.1 พัฒนาระบบบริหารจัดการโดยใช้พื้นทีเ่ ป็นฐาน มนี วตั กรรมเปน็ กลไกหลักในการ

ขบั เคลอื่ นบนฐานข้อมูลสารสนเทศที่ถูกต้อง ทนั สมัย และการมสี ว่ นรว่ มของทุกภาคสว่ น
4.2 พฒั นาโรงเรยี นมัธยมดสี ม่ี ุมเมือง โรงเรียนคณุ ภาพของชุมชน โรงเรยี นขนาดเล็กและ

โรงเรียนทสี่ ามารถดำรงอย่ไู ด้อย่างมีคณุ ภาพ (Stand Alone) ให้มคี ณุ ภาพอย่างยัง่ ยืนและสอดคล้องกับ
บริบทของพื้นที่

4.3 บริหารจัดการโรงเรยี นขยายโอกาสทางการศึกษา ทีม่ ีจำนวนนกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษา
ปที ี่ 1-3 น้อยกวา่ 20 คน ให้ได้รับการศึกษาอย่างมีคณุ ภาพ สอดคลอ้ งกับนโยบายโรงเรียนคุณภาพ
ของชุมชน

4.4 สง่ เสรมิ การจดั การศกึ ษาในสถานศึกษาท่มี ีวัตถปุ ระสงค์เฉพาะ และสถานศึกษาทตี่ ั้ง
ในพื้นทีล่ ักษณะพเิ ศษ

แผนนิเทศบรู ณาการโดยใช้พื้นทเี่ ปน็ ฐาน เพือ่ พฒั นาคุณภาพการศกึ ษา 19
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบุรี เขต 4

4.5 สนับสนนุ พ้ืนที่นวตั กรรมการศึกษาใหเ้ ปน็ ต้นแบบการพัฒนานวตั กรรมการศึกษา
และการเพิม่ ความคล่องตัวในการบริหารและการจัดการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน

4.5 พัฒนาระบบการนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน

แผนปฏบิ ัติราชการระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 - 2565) ของกระทรวงศกึ ษาธิการ

กระทรวงศึกษาธิการ ไดจ้ ัดทำแผนปฏบิ ตั ิราชการระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 - 2565)
ทสี่ อดคล้องเช่ือมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ แผนการ
ปฏิรปู ประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) นโยบายและแผน
ระดบั ชาตวิ ่าดว้ ยความม่นั คง เพือ่ ให้ทุกสว่ นราชการในสังกัดกระทรวงศึกษาธกิ าร ใช้เป็นกรอบแนวทางในการ
จดั ทำแผนปฏบิ ัตริ าชการ ซึ่งมีสาระสำคัญ 5 เรื่อง ได้แก่

1) การจดั การศึกษาเพื่อความมัน่ คงของสงั คมและประเทศชาติ
2) การผลิตและพฒั นากำลงั คน การวิจยั และนวัตกรรมเพื่อสร้างขดี ความสามารถ
ในการแขง่ ขนั ของประเทศ
3) การพฒั นาศกั ยภาพคน ทกุ ช่วงวัยและการสร้างสงั คมแห่งการเรยี นรู้
4) การสรา้ งโอกาสความเสมอภาคและความเทา่ เทียมทางการศึกษา
5) การพฒั นาประสิทธิภาพของระบบบรหิ ารจัดการศึกษา

แผนปฏบิ ัตริ าชการระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 - 2565) ของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน

สาระสำคญั ของแผนปฏบิ ัตริ าชการระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 - 2565) ของสำนกั งาน
คณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน ประกอบดว้ ย

วสิ ัยทัศน์ (Vision)

“สรา้ งคณุ ภาพทนุ มนุษย์ สู่สงั คมอนาคตทย่ี ่ังยนื ”

พนั ธกจิ (Mission)

1. จดั การศึกษาเพ่ือเสริมสรา้ งความม่นั คงของสถาบนั หลักของชาติและการปกครอง
ในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

2. พัฒนาผู้เรยี นให้มีความสามารถความเป็นเลศิ ทางวชิ าการเพ่ือสรา้ งขดี ความสามารถ
ในการแข่งขนั

3. พัฒนาศักยภาพและคณุ ภาพผเู้ รยี นใหม้ สี มรรถนะตามหลกั สูตรและคุณลักษณะ
ในศตวรรษที่ 21

4. สร้างโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหลื่อมล้ำ ใหผ้ เู้ รียนทุกคนไดร้ บั บริการทางการศึกษา
อย่างท่ัวถึงและเทา่ เทียม

5. พัฒนาผูบ้ ริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาให้เปน็ มืออาชีพ

แผนนิเทศบูรณาการโดยใช้พื้นทีเ่ ปน็ ฐาน เพอื่ พัฒนาคุณภาพการศึกษา 20
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบุรี เขต 4

6. จดั การศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชวี ิตท่เี ปน็ มติ รกบั ส่ิงแวดลอ้ ม ยดึ หลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง และเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน (Sustainable Development Goals : SDGs)

7. ปรบั สมดลุ และพฒั นาระบบการบริหารจดั การศกึ ษาทกุ ระดบั และจดั การศึกษา โดยใช้
เทคโนโลยดี ิจิทลั (Digital Technology) เพ่ือพฒั นามงุ่ สู่ Thailand 4.0

แผนปฏิบตั ิราชการ ทั้งหมด 6 เรอ่ื ง ได้แก่
1. การจัดการศึกษาเพื่อความมนั่ คงของสงั คมและประเทศชาติ
2. การจดั การศึกษาเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
3. การพฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์
4. การสรา้ งโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาที่มีคุณภาพ มมี าตรฐานและลดความ
เหล่ือมล้ำทางการศึกษา
5. การจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชวี ติ ทเ่ี ปน็ มติ รกบั ส่งิ แวดลอ้ ม
6. การปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการศึกษา

ทศิ ทางการพฒั นาการศึกษาของสำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษา

ทิศทางการพัฒนาการศึกษาของสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต 4
สบื เน่ืองจากนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร นโยบายของสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษา

ข้ันพื้นฐาน และการศึกษาวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มท้งั ภายในและภายนอกของสำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา
ประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต 4 ดงั กล่าวข้างต้น สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี
เขต 4 ได้กำหนดแนวทางนโยบายในการดำเนนิ งานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ไว้ดังนี้

วิสัยทัศน์ (Vision)

ภายในปี 2564 – 2565 สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต 4 เปน็
องค์กรขบั เคล่อื นคุณภาพดว้ ยนวัตกรรมสูค่ วามเปน็ เลศิ เพื่อพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียนใหม้ ที ักษะชีวิตใน
ศตวรรษที่ 21 ด้วยมาตรฐานการศกึ ษาสรู่ ะดับสากล ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

พนั ธกจิ (Mission)
1. จดั การศกึ ษาเพ่ือเสริมสรา้ งความมัน่ คงของสถาบนั หลักของชาติและการปกครองใน

ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ
2. พฒั นาคณุ ภาพผ้เู รยี นดว้ ยนวัตกรรมสู่ความเป็นเลศิ เพ่ือสร้างขดี ความสามารถในการ

แขง่ ขัน
3. พฒั นาศกั ยภาพและคุณภาพผู้เรียนให้มีมาตรฐานการศกึ ษาตามหลักสูตรและมีทักษะชีวิต

ในศตวรรษท่ี 21

แผนนิเทศบูรณาการโดยใช้พื้นที่เปน็ ฐาน เพอื่ พฒั นาคุณภาพการศึกษา 21
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบุรี เขต 4

4. สร้างโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหล่อื มลำ้ ให้ผู้เรยี นทุกคนได้รับบรกิ ารทางการศึกษา
อย่างทวั่ ถงึ เท่าเทยี ม และมคี ุณภาพ

5. พัฒนาผบู้ รหิ าร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษาใหเ้ ป็นมืออาชพี
6. จัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาคุณภาพชีวิตทเี่ ป็นมติ รกับสง่ิ แวดลอ้ ม ยึดหลักปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงและเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยนื (Sustainable Development Goals:SDGs)

ค่านิยมองค์กร (Organization Values)

บริการดี มีนำ้ ใจ ใฝป่ ระสาน งานพัฒนา

รูปแบบการบรหิ ารและพัฒนาสำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษากาญจนบุรี เขต 4
(Kan4 Excellence)

จดุ เน้นสำนักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษากาญจนบรุ ี เขต 4 มดี งั น้ี
1. ยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ผลการเรยี นสูงกว่าระดบั ประเทศ อยา่ งน้อยร้อยละ 3
2. พัฒนานกั เรียนให้อา่ นออก เขียนได้ คิดเลขเป็น 100%
3. สง่ เสริมผูเ้ รยี นใหม้ คี วามใฝร่ ู้ คิดวเิ คราะห์ คิดสงั เคราะห์ และมที ักษะชวี ติ ในศตวรรษที่ 21
4. ผเู้ รียนมีคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 8 ประการ
5. มรี ะบบดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียน
6. สง่ เสริมทกั ษะวิชาชีพ
7. ส่งเสริมงานแนะแนว

แผนนเิ ทศบูรณาการโดยใช้พื้นทเ่ี ป็นฐาน เพือ่ พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา 22
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบุรี เขต 4

เปา้ ประสงค์ (Goals)

1. ผู้เรียนมีความรักในสถาบนั หลักของชาติ และยึดมัน่ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย

อันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข มีทศั นคตทิ ี่ถูกต้องต่อบ้านเมือง มหี ลกั คดิ ท่ถี ูกต้อง และเป็นพลเมืองดี
ของชาติ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม มคี ่านยิ มที่พงึ ประสงค์ มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผ้อู นื่ ซ่ือสัตย์
สุจริต มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย รักษาศลี ธรรม

2. ผู้เรยี นทม่ี คี วามสามารถพเิ ศษดา้ นวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ศิลปะ ดนตรี กฬี า ภาษา
และอน่ื ๆ ไดร้ ับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพสสู่ ากล

3. ผู้เรยี น เป็นบคุ คลแห่งการเรียนรู้ คดิ รเิ รม่ิ และสร้างสรรค์นวตั กรรม มคี วามรู้ มีทักษะ
มีมาตรฐานการศกึ ษาตามหลักสตู ร และมที ักษะชวี ติ ในศตวรรษท่ี 21

4. ผู้เรียนท่ีมีความตอ้ งการจำเปน็ พิเศษ กลุ่มชาติพนั ธุ์ กลุ่มผ้ดู อ้ ยโอกาส ไดร้ ับการศกึ ษา
อย่างทัว่ ถึง เท่าเทียม และมีคุณภาพ

5. ผ้บู รหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ คิด รเิ รม่ิ และ
สร้างสรรคน์ วตั กรรมได้รับการพัฒนาศกั ยภาพตามสมรรถนะวชิ าชพี และสมรรถนะในศตวรรษท่ี 21
รวมทง้ั มีจรรยาบรรณตามมาตรฐานวชิ าชพี

6. สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาและสถานศึกษา จัดการศกึ ษาด้วยนวัตกรรม เพ่ือการพัฒนา
อย่างย่งั ยนื (Sustainable Development Goals : SDGs) และสร้างเสรมิ คุณภาพชวี ิตท่เี ปน็ มติ ร
กับสิ่งแวดลอ้ ม ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

แผนนเิ ทศบรู ณาการโดยใช้พื้นท่ีเป็นฐาน เพ่อื พัฒนาคุณภาพการศึกษา 23
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบรุ ี เขต 4

การศกึ ษาแนวทางและกระบวนทัศน์การพัฒนาประเทศไทยไปสู่อนาคตท่ีพึงประสงค์
ตามแผนยทุ ธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) รัฐบาล ไดม้ ีการกำหนดยุทธศาสตรก์ ารพัฒนา
ของประเทศใหเ้ ปน็ ไปในทิศทางเดียวกนั ภายใตว้ ิสยั ทศั น์ “ประเทศไทยมคี วามมัน่ คง มงั่ คัง่ ยั่งยืน
เปน็ ประเทศท่ีพัฒนาแล้ว ด้วยการพฒั นาตามหลกั ของปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง” โดยการกำหนดกรอบ
ทศิ ทางการพัฒนาประเทศ 6 ยุทธศาสตรส์ ำคญั คือ การสร้างความมั่นคงให้กับประเทศ การสร้างความสามารถ
ในการแข่งขนั การพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพคนการสร้างโอกาสบนความเสมอภาค และเทา่ เทยี มกัน
ทางสังคม การเตบิ โตบนคุณภาพชีวติ ท่เี ปน็ มติ รกบั สิง่ แวดล้อม และการปรับสมดลุ การพัฒนาระบบบรหิ าร
จัดการภาครัฐ นอกจากน้ียังมีการกำหนดแนวทางในการพัฒนาประเทศภายใต้แนวคิด “Thailand 4.0” ซง่ึ
เป็นอีกหน่งึ ในนโยบาย ของการวางรากฐานการพฒั นาประเทศในระยะยาว ตามวสิ ยั ทศั น์ การพัฒนา
ประเทศทจี่ ะผลักดนั การปฏิรูปโครงสร้างทางเศรษฐกจิ การวจิ ัยและพฒั นา และการปฏิรปู การศกึ ษา
ไปพร้อมๆ กนั โดยเฉพาะนโยบายดา้ นการศึกษาของรฐั บาล นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรวี า่ การ
กระทรวงศกึ ษาธิการ และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ทม่ี งุ่ ให้มกี ารดำเนนิ งานภายใต้
กรอบยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี และเพื่อใหเ้ ป็นรูปธรรมในระยะเวลาทกี่ ำหนด เชน่ ดา้ นความมั่นคง สง่ เสริม
ใหม้ ีการพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน โดยใช้รูปแบบ Active Learning ด้านการผลิต พฒั นา
กำลังคน และสร้างความสามารถในการแข่งขนั ท่มี ่งุ ผลิต พัฒนากำลังคน และงานวจิ ัยท่สี อดคล้องกับ
การพฒั นาประเทศ โดยการยกระดบั มาตรฐาน การพฒั นาหลกั สูตร สือ่ และครูด้านภาษา พฒั นากลุ่มสาระ
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ ในสถานศึกษา สังกดั สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานอย่างต่อเนื่อง
ดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพคน ส่งเสรมิ ให้มีการพัฒนาหลกั สตู ร การเรยี นการสอน การวดั ผล
ประเมนิ ผล การผลิต พัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและการลด
ความเหลื่อมลำ้ ทางการศกึ ษา สง่ เสริมโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา และขยายโอกาสการเขา้ ถึง
บรกิ ารทางการศึกษา อย่างทั่วถึง ดา้ นการเสริมสรา้ งคณุ ภาพชวี ิตประชาชนทเี่ ปน็ มติ รกับส่ิงแวดล้อม
ที่สง่ เสรมิ การพัฒนาหลกั สูตร การเรยี นการสอน การสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ ตระหนกั ในการเปล่ียนแปลง
ของสภาพภูมิอากาศ และส่ิงแวดล้อม รวมถึงด้านการพัฒนาระบบ และการบริหารจัดการ
เช่น การประสานงาน การขบั เคล่ือนนโยบาย ระดบั เขตพื้นท่ี กับหน่วยงานท่เี ก่ียวข้อง การกำกับ ตดิ ตาม
การนำจุดเน้นของกระทรวงศกึ ษาธิการไปสกู่ ารปฏบิ ัติ

แผนนิเทศบรู ณาการโดยใช้พื้นทเ่ี ป็นฐาน เพ่ือพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา 24
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบรุ ี เขต 4

การพฒั นาสำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 4 ไปสู่เป้าหมาย
การบรหิ ารจัดการศกึ ษาต้องยึดหลักธรรมาภิบาล เช่อื มโยงการนำนโยบายสู่การปฏิบัติให้เกิดการประสาน
สอดคลอ้ งเปน็ มีแนวคิดในการพัฒนาเขตพน้ื ท่ีการศึกษา โดยการเช่อื มโยงกรอบแนวคิด ทฤษฎี หลักการ
บรหิ ารจดั การ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการและแนวนโยบายจงั หวดั
สู่การปฏบิ ตั ิท่ีเป็นรูปธรรม ดังนี้

1. การบริหารจดั การสำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา ต้องยึดหลักการมสี ่วนร่วมในการบริหาร

จัดการ และยดึ หลักธรรมมาภิบาล (Good Governance) ท้ังด้านนิตธิ รรม คุณธรรม ความโปรง่ ใส การมี

สว่ นร่วม ความรับผดิ ชอบ และความคุม้ คา่ โดยมผี ู้อำนวยการสำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา เป็นกลไกสำคญั

ในการเชือ่ มประสานนโยบาย สกู่ ารปฏิบัติทเี่ ป็นรปู ธรรม

2. การพฒั นาองค์กร ใหเ้ ปน็ องค์กรแห่งการเรยี นรู้ (Learning Organization) ดว้ ย
กระบวนการเรียนรู้ของคนในองค์กร (Personal Mastery) ในการเรียนรู้ ส่งิ ใหม่ ๆ เพื่อเพิม่ ศักยภาพ
ของตนเอง การมวี สิ ยั ทัศน์ร่วมกนั (Shared Vision) รวมพลังเพื่อใหเ้ กิดการพัฒนาไปสู่จุดหมายเดยี วกัน
และการพัฒนาระบบการคิดของคนในองค์กร (Systems Thinking) ด้วยกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ
เหน็ ขน้ั ตอน แนวทางการพฒั นางานและการใชก้ ระบวนการสร้างระบบพ่เี ลี้ยง (Coaching and Mentoring)
ในการทำงานเป็นต้น

3. การบรู ณาการการมสี ่วนรว่ มในการจัดการศึกษาของเครือข่ายทุกภาคส่วน ไดแ้ ก่
3.1 เชอื่ มโยงยทุ ธศาสตร์การศกึ ษาให้เช่ือมโยงกับยทุ ธศาสตร์ชาติแผนการศึกษาแหง่ ชาติ

นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน ยุทธศาสตร์ของจังหวดั
และกล่มุ จงั หวัด

3.2 สนบั สนุนหน่วยงานภาครัฐ รัฐวสิ าหกจิ ทอ้ งถิน่ เอกชน องค์กรชุมชน มสี ว่ นร่วม
ในการจดั การศกึ ษา เช่น โรงเรียนประชารัฐ สนับสนุนใหภ้ าคเอกชน มีสว่ นร่วมในการจัดการศึกษา เปน็ ตน้

4. สง่ เสริมและพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการของเขตพืน้ ที่การศกึ ษา สู่ความเป็นเลิศ
4.1 สรา้ งระบบการวางแผนและพฒั นาเขตพนื้ ท่ีการศึกษา และสถานศกึ ษาในสังกัด ใหม้ ีความ

เข้มแข็ง
4.2 พัฒนาระบบการสนบั สนุน ช่วยเหลือโรงเรยี น ครู และนักเรียน
4.3 พฒั นาระบบการนิเทศ ติดตาม และตรวจสอบ ให้เชื่อมโยงกับการพฒั นาคุณภาพ

การศกึ ษาอย่างแท้จริง
5. โรงเรยี นเครือขา่ ยคุณภาพ เข้ามามีสว่ นรว่ มในการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา

เช่น โรงเรยี นขนาดเลก็ โรงเรยี นมาตรฐานสากล โรงเรยี นเครือข่ายปฐมวยั โรงเรียนดปี ระจำตำบล โรงเรียนขยาย
โอกาสทางการศึกษา โรงเรียนประชารัฐ ฯ โดยใชร้ ูปแบบพี่ช่วยน้อง โรงเรยี นใกลเ้ คียง เพื่อนชว่ ยเพอื่ น
เป็นตน้

6. สรา้ งและพัฒนาระบบการประเมนิ การประกันคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษาใหม้ ีความ

เข้มแขง็

6.1 การประกันคุณภาพภายใน โดยใช้กระบวนการนเิ ทศเชงิ พ้ืนที่ และกระบวนการนเิ ทศ
แบบพาคิดพาทำ การมสี ว่ นร่วม

แผนนิเทศบูรณาการโดยใช้พ้ืนทเ่ี ปน็ ฐาน เพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา 25
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบุรี เขต 4

6.2 การประเมินคุณภาพภายนอก โดยใช้กระบวนการบรู ณาการความรว่ มมือช่วยเหลือบริหาร
จดั การคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา การลดความเหล่อื มล้ำดา้ นคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษา

6.3 การทดสอบ การประเมินคุณภาพนักเรยี น เปน็ ระยะและต่อเนื่อง เชอ่ื มโยงกับการทดสอบ
ระดับชาติ เชน่ National Test : NT, Ordinary National Educational Test : O-net และ
Programme for International Student Assessment : PISA เป็นตน้

7. พฒั นาโรงเรยี นสู่ “โรงเรียนมาตรฐานสงู ”
7.1 การบรหิ ารจดั การคุณภาพ ดว้ ยกระบวนการบริหาร เชน่ แบบมุ่งสคู่ วามเปน็ เลศิ (Public

Sector Management Quality Award : PMQA) แบบมงุ่ ผลสมั ฤทธ์ิ (Results Based Management : RBM)

แบบใชโ้ รงเรยี นเปน็ ฐาน (School Based Management : SBM) ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี

(Professional Learning Community : PLC) โรงเรยี นเป็นฐานแหง่ การเรยี นรู้ (School Learning

Community : SLC) เปน็ ตน้

7.2 การจดั การเรยี นการสอนคณุ ภาพ โดยครูมีการปรบั เปลี่ยนวิธสี อน เน้นผู้เรียนเป็นสำคญั
ภายใต้ห้องเรยี นคุณภาพ (Star Classroom) หอ้ งเรียนไรพ้ รมแดน (Smart Classroom)

7.3 นักเรียนมีคุณภาพ รายละเอียดดังนี้
7.3.1 มีสมรรถนะสำคัญตามหลักสตู รกำหนด ทง้ั ดา้ นทกั ษะ การส่ือสาร (Communication

skill) การคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ (Critical thinking skill) การแก้ปัญหาอย่างสรา้ งสรรค์ (Creative
problem solving skill) ทกั ษะการใชช้ วี ติ (Life skills) และทักษะการใชเ้ ทคโนโลยี (Computing skill)

7.3.2 มที ักษะการเรียนร้ใู นศตวรรษที่ 21 (21 Century skills) เชน่ ทักษะการเรียนรู้
และนวัตกรรม (Learning and innovation Skills) ทักษะด้านสารสนเทศ สอื่ และเทคโนโลยี
(Information Media and Technology Skills) ทักษะชีวติ และทักษะอาชีพ (Life and Career Skills)
เป็นต้น

7.3.3 นักเรียนมที ักษะตามโครงการประเมนิ ผลนักเรียนนานาชาติ ไดแ้ ก่ PISA (Programme
for International Student Assessment) จากการประเมนิ สมรรถนะทีเ่ รียกว่า Literacy ใน 3 ด้าน คือ
การอ่าน (Reading Literacy) คณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy) และวิทยาศาสตร์ (Scientific
Literacy)

7.3.4 นักเรียนมีความพร้อมสู่อาเซยี น โดยการยกระดบั คณุ ภาพภาษาอังกฤษ เน้นทักษะ
การสอ่ื สาร (Communication Language Approach) การสง่ เสริมพฒั นาครู (Teaching Training)
ขยายหลักสตู รการเรียนการสอน MEP : Mini English Program/ EP : English Program / EBE :
English Bilingual Education จัดการเรยี นการสอนแบบ Phonics เปน็ ตน้

แผนนเิ ทศบรู ณาการโดยใช้พื้นทเี่ ป็นฐาน เพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา 26
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบรุ ี เขต 4

รูปแบบการบรหิ ารและพัฒนาสำนักงานเขตพ
(Kan4 Ex

แผนนเิ ทศบรู ณาการโดยใช้พ้ืนทเ่ี ปน็ ฐาน เพือ่ พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบุรี เขต 4

พ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต 4
xcellence)

27

แผนนิเทศบูรณาการโดยใช้พื้นทเ่ี ป็นฐาน เพอื่ พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบรุ ี เขต 4

28

แผนนิเทศบูรณาการโดยใช้พื้นทเ่ี ป็นฐาน เพอื่ พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบรุ ี เขต 4

29

แผนนิเทศบูรณาการโดยใช้พื้นทเ่ี ป็นฐาน เพอื่ พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบรุ ี เขต 4

30

จดุ เน้น

จดุ เน้นสำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 4 มีดังน้ี
1. ยกระดับผลสัมฤทธิท์ างการเรียน ผลการเรียนสงู กว่าระดบั ประเทศ อย่างน้อยรอ้ ยละ 3
2. พัฒนานกั เรยี นให้อ่านออก เขียนได้ คดิ เลขเป็น 100%
3. ส่งเสรมิ ผเู้ รียนใหม้ คี วามใฝ่รู้ คิดวเิ คราะห์ คิดสงั เคราะห์ และมีทักษะชวี ิตในศตวรรษที่ 21
4. ผู้เรยี นมีคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 8 ประการ
5. มรี ะบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรียน
6. ส่งเสริมทักษะวิชาชีพ
7. ส่งเสริมงานแนะแนว

เปา้ ประสงค์ (Goals)

1. ผ้เู รยี นมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยดึ มั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข มีทัศนคติที่ถกู ต้องต่อบา้ นเมือง มีหลักคิดท่ถี ูกตอ้ ง และเป็นพลเมืองดี
ของชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม มคี ่านิยมที่พึงประสงค์ มีจติ สาธารณะ รับผิดชอบต่อสงั คมและผ้อู น่ื ซื่อสตั ย์
สจุ ริต มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวนิ ัย รักษาศลี ธรรม

2. ผเู้ รยี นทีม่ ีความสามารถพิเศษดา้ นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ศลิ ปะ ดนตรี กฬี า ภาษา
และอนื่ ๆ ได้รบั การพฒั นาอย่างเตม็ ศักยภาพสสู่ ากล

3. ผเู้ รียน เปน็ บคุ คลแหง่ การเรียนรู้ คิดริเริ่มและสร้างสรรค์นวตั กรรม มคี วามรู้ มีทักษะ
มีมาตรฐานการศึกษาตามหลักสูตร และมีทักษะชวี ติ ในศตวรรษที่ 21

4. ผเู้ รยี นที่มคี วามตอ้ งการจำเป็นพเิ ศษ กลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส ไดร้ ับการศกึ ษา
อยา่ งทั่วถึง เท่าเทียม และมีคุณภาพ

5. ผู้บรหิ าร ครู และบุคลากรทางการศึกษาเปน็ บคุ คลแห่งการเรียนรู้ คิด ริเร่ิม และ
สร้างสรรค์นวัตกรรมได้รับการพัฒนาศกั ยภาพตามสมรรถนะวิชาชีพ และสมรรถนะในศตวรรษที่ 21
รวมท้ังมจี รรยาบรรณตามมาตรฐานวชิ าชีพ

6. สำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาและสถานศกึ ษา จดั การศกึ ษาดว้ ยนวัตกรรม เพ่ือการพัฒนา
อยา่ งย่ังยนื (Sustainable Development Goals : SDGs) และสร้างเสรมิ คุณภาพชวี ติ ท่เี ปน็ มิตร
กบั สิง่ แวดล้อมตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

แผนนิเทศบูรณาการโดยใช้พ้ืนทเ่ี ปน็ ฐาน เพอื่ พัฒนาคณุ ภาพการศึกษา 31
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบรุ ี เขต 4

แนวทางการจดั การศกึ ษา

แนวทางการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษาในสงั กดั มีมาตรการและแนวทางในการสง่ เสริม ดงั น้ี
มาตรการที่ 1 หลกั สูตรและกระบวนการเรียนรู้
แนวทางการดำเนินงาน

1. มีการปรับปรงุ พฒั นาหลักสูตร โครงสรา้ งอตั ราเวลาเรยี น ทเี่ หมาะสมสอดคล้อง
กับหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 และการนำมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชี้วดั
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) และจัดทำกรอบหลกั สูตรท้องถิ่น ลงสูก่ ารปฏิบตั ิอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

2. จัดกระบวนการเรียนรู้ ที่เน้นทักษะให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติ ลงมือทำ (Active Learning)
และฝกึ ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ คดิ สร้างสรรค์ อยา่ งหลากหลาย

3. มกี ารวดั และประเมนิ ผลนกั เรยี นอยา่ งรอบด้าน และนำผลมาปรบั ปรงุ พฒั นาอย่างต่อเน่อื ง
4. พัฒนาสาระการเรียนรู้ หลักสูตรท้องถิ่น แหล่งเรียนรู้ และการนำภูมิปัญญาท้องถ่ิน
มาใชใ้ นการจัดการศึกษา
5. ยึดมาตรฐาน ตัวชวี้ ดั ตามหลักสตู ร เป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
6. ยกระดบั คุณภาพมาตรฐานด้านภาษาอังกฤษ ทุกระดบั ชั้น
7. เร่งรดั การอา่ นการเขียน และการสอ่ื สารภาษาไทย เพื่อใช้เปน็ พ้นื ฐานการเรยี นรู้ในวชิ าอื่นๆ
มาตรการท่ี 2 การปรับปรุงพัฒนาวธิ ีการประเมนิ การทดสอบและการวัดผล
แนวทางการดำเนนิ งาน
1. ปรบั ปรงุ พฒั นาวิธีการทดสอบ การประเมนิ และการวดั ผลใหไ้ ด้มาตรฐาน สอดคล้องกับ

มาตรฐาน ตวั ชว้ี ดั ตามหลกั สตู ร

2. มกี ารวดั และประเมินผลนักเรียน ด้วยวิธีการทห่ี ลากหลายตรงตามสภาพจรงิ

(Assessment)

3. ส่งเสรมิ การจดั ทำข้อสอบ ทม่ี ีลกั ษณะการเขียน (อตั นัย) เพื่อฝกึ ทกั ษะการเขยี น การคิด
วิเคราะห์ให้เพมิ่ มากขน้ึ

4. ฝกึ ทกั ษะการทำข้อสอบ เชิงคิดวิเคราะห์ เช่น PISA (Progamme for International
Student Assessment) ข้อสอบ NT (National Test) O-Net (Ordinary National Educational Test)
เป็นตน้

5. จดั ทำคลังข้อสอบ คลังสื่อ และเคร่ืองมือวดั ผลประเมนิ ผลสำหรับครูนำไปใชใ้ นการวัด

และประเมินผลนักเรยี น

แผนนเิ ทศบูรณาการโดยใช้พ้ืนทเ่ี ป็นฐาน เพอื่ พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา 32
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบรุ ี เขต 4

มาตรการที่ 3 การแก้ปญั หา พัฒนาการเรยี นรูข้ องนักเรียน
แนวทางการดำเนนิ งาน

1. ใชก้ ระบวนการ PLC : (Professional Learning Community) เพื่อแก้ปัญหาการเรียน
การสอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้

2. มกี ารซ่อมเสรมิ การเรียนรู้ ให้แกผ่ ูเ้ รียนอย่างเหมาะสม ทุกกลมุ่ เปา้ หมาย ทงั้ กลมุ่ เก่ง
ปานกลาง อ่อน นักเรยี นที่มีความต้องการจำเปน็ พิเศษและนักเรยี นที่บกพร่องทางการเรียนรู้ (LD) เป็นต้น

3. ใชว้ ธิ กี ารซ่อมเสริม แก้ปัญหา พฒั นานกั เรยี น ด้วยวิธีการทห่ี ลากหลาย เชน่ พสี่ อนน้อง
เพ่ือนชว่ ยเพ่ือน คูห่ ูคู่ติว ศษิ ย์เก่าชว่ ย ผปู้ กครองชว่ ย เป็นต้น

4. มีการสรา้ งสอื่ นวตั กรรม จัดทำวิจัยชัน้ เรยี น เพ่ือแกป้ ญั หาพัฒนานกั เรียน และนำมาใช้
อย่างเหมาะสม

5. มกี ารนิเทศ ติดตาม สนบั สนนุ ใหข้ วญั และกำลังใจ
6. สนบั สนนุ ระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียน เพื่อแกป้ ัญหา พัฒนานกั เรียนรายบุคคล

มาตรการท่ี 4 การประสานความร่วมมอื ผูเ้ ก่ียวข้อง สนบั สนนุ การเรยี นของนักเรียน
แนวทางการดำเนนิ งาน

1. สนับสนนุ ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียน ทงั้ ด้านทักษะวิชาการ ทักษะวชิ าชีพ และทกั ษะชวี ิต
2. ประสานผู้ปกครอง ในการกวดขันด้านการอา่ น การเขยี น การเรยี นของนกั เรียนโดยเฉพาะ
นักเรยี นทีม่ ปี ญั หาด้านการอา่ นการเขยี นและนักเรียนที่มผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนตำ่
3. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างครูในโรงเรียนและต่างโรงเรียนเพื่อแลกเปลี่ยน
แนวคิด เทคนคิ วิธีการจดั การเรยี นการสอนระหวา่ งกัน

นโยบายและมาตรการ การศึกษาปฐมวัย

1. ส่งเสริมพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษาและการจัดประสบการณ์ เพ่ือพฒั นาเด็กปฐมวยั
ให้เต็มตามศักยภาพทกุ ด้าน และเด็กมีพฒั นาการตามเป้าหมายของหลกั สูตร

2. จัดกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาครูให้จดั ประสบการณ์การเรยี นร้โู ดยเนน้ รูปแบบพัฒนา
ทักษะสมอง EF-Executive Functions เพ่ือชวี ติ ท่ีสำเรจ็ อยา่ งเหมาะสมของเด็กปฐมวัยและนำแนวคิด
ในการจัดการศึกษาปฐมวัยอื่นๆ มาใช้ให้เหมาะสมกบั บริบทของโรงเรยี น

3. ส่งเสริมการจดั สภาพแวดล้อมท้ังภายในและภายนอกห้องเรียนท่เี อื้อต่อการเรยี นรู้ตาม
มาตรฐานห้องเรยี นคณุ ภาพระดบั ปฐมวัย ของสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 4
รวมท้ังจดั ทำสอื่ การสอนท่ีหลากหลาย นำมาใช้ในการส่งเสรมิ การเรยี นรู้สำหรบั เดก็ ปฐมวัย

4. ส่งเสรมิ การรบั รู้ด้วยระบบออนไลน์ความร่วมมือกับพ่อแม่ ผปู้ กครอง ครอบครัว ชมุ ชน
ในการพฒั นาเด็กปฐมวยั

แผนนเิ ทศบูรณาการโดยใช้พ้ืนทเี่ ปน็ ฐาน เพือ่ พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา 33
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบรุ ี เขต 4

5. สง่ เสริมพฒั นาระบบประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษาปฐมวยั ใหส้ อดคล้องกบั

ระบบวธิ กี ารของการประกนั คุณภาพภายใน และพร้อมรับสำหรับการประเมินภายนอก

6. ครูใชก้ ระบวนการ PLC (Professional Learning Community) ในการแก้ปัญหา
การจดั ประสบการณส์ ำหรบั เดก็ ปฐมวยั

7. การคดั เลือกสรรหารูปแบบ/วิธปี ฏบิ ตั ทิ ีเ่ ปน็ เลิศ (Best Practice) ระดบั ปฐมวัย

แนวทางการดำเนนิ งาน

1. ส่งเสริมพฒั นาหลักสูตรสถานศกึ ษาและการจัดประสบการณ์ เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย
ให้เต็มตามศกั ยภาพทกุ ดา้ น และเดก็ มีพฒั นาการตามเป้าหมายของหลักสูตร

1.1 จดั ทำหลักสตู รสถานศึกษาปฐมวยั ท่ีสอดคลอ้ งกับหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย
พทุ ธศกั ราช 2560

1.2 ครจู ัดประสบการณ์ตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั โดยมงุ่ สง่ เสริมใหเ้ ด็กมีพัฒนาการ
ตามวัย เต็มตามศกั ยภาพและมคี วามพร้อมในการเรยี นรใู้ นระดบั ชั้นตอ่ ไป โดยมจี ดุ มุ่งหมายเพ่อื ให้เกดิ
กบั เด็ก เมื่อจบการศกึ ษาระดับปฐมวัย ดงั นี้

1) รา่ งกายเจรญิ เติบโตตามวยั แขง็ แรงและมีสุขนสิ ัยที่ดี
2) สขุ ภาพจิตดี มสี ุนทรยี ภาพ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม จิตใจที่ดีงาม
3) มที ักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง มวี นิ ัย
และอยรู่ ว่ มกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุข
4) มีทักษะการคดิ การใช้ภาษาส่ือสาร และการแสวงหาความรไู้ ด้เหมาะสมกบั วัย
2. ส่งเสริมและพัฒนาครใู ห้จัดประสบการณก์ ารเรยี นรโู้ ดยเน้นรูปแบบพฒั นาทักษะสมอง
EF-Executive Functions เพอ่ื ชวี ิตทีส่ ำเร็จอยา่ งเหมาะสมของเดก็ ปฐมวัยและนำแนวคดิ ในการจัด
การศึกษาปฐมวยั อืน่ ๆ มาใช้ใหเ้ หมาะสมกบั บริบทของโรงเรยี น
2.1 จดั ประสบการณ์สำหรบั เดก็ ปฐมวัยโดยใช้หลกั สูตร “Co-Learner”: ปฐมวัยกาญจน์ส่ี
หัวใจ EF (Executive Functions) เพอ่ื พัฒนาครปู ฐมวัยให้มีเจตคติ ความรู้ความเขา้ ใจ และทักษะ
เกี่ยวกับการพฒั นาทักษะสมอง EF-Executive Functions เพ่ือให้ครปู ฐมวยั สามารถบูรณาการความรู้
ทักษะสมอง EF-Executive Functions เขา้ ไปในการจดั ประสบการณ์การเรียนร้ขู องเด็กปฐมวัย เข้ากบั
หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560 ซ่ึงเป็นรปู แบบทีส่ ง่ เสริมใหเ้ ด็กเกดิ การเรียนรู้ ด้วยวิธกี าร
ตา่ งๆ โดยการรวบรวมแนวคิดในการจัดการเรยี นร้ขู องเดก็ ปฐมวยั มาพัฒนาเด็กโดยองค์รวม ซึ่งเหมาะกบั
ครูปฐมวัยทจี่ ะนำไปใช้เปน็ แนวทางในการจดั ประสบการณ์ใหเ้ ด็กปฐมวยั มคี วามพรอ้ มทุกด้าน และเปน็
พ้นื ฐานการเรยี นต่อในระดับชน้ั ประถมศกึ ษาต่อไป การสอนแบบ EF (Executive Functions) เป็น
กระบวนการทางความคิด (Mental process) ในสมองสว่ นหน้าทเ่ี กย่ี วข้องกบั การคิด ความรู้สึก

แผนนิเทศบูรณาการโดยใช้พ้ืนทเี่ ปน็ ฐาน เพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา 34
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบรุ ี เขต 4

และการกระทำ เชน่ การยง้ั ใจคิดไตรต่ รอง การควบคมุ อารมณ์ การยดื หยนุ่ ทางความคิด การตัง้ เปา้ หมาย
วางแผน ความม่งุ ม่นั การจดจำและเรยี กใช้ข้อมูลอย่างมปี ระสิทธิภาพ การจัดลำดบั ความสำคัญของเรอ่ื ง
ต่าง ๆ และการทำสิ่งตา่ ง ๆ อยา่ งเป็นขัน้ เป็นตอนจนบรรลุความสำเรจ็ ซึ่งเป็นทักษะที่มนุษยเ์ ราทกุ คนต้อง
ใช้ เพ่อื ใหเ้ กดิ ความสำเร็จในการเรยี น การทำงาน รวมทง้ั การมีชีวิต ครอบครวั ทักษะ EF นนี้ ักวชิ าการ
ระดบั โลกยืนยนั แลว้ ว่า สำคัญกวา่ IQ

2.2 จดั ประสบการณ์ โดยใช้แนวคิดการจัดการศึกษาปฐมวัย ทส่ี อดคล้องเหมาะสมกบั
บริบทและศักยภาพของแต่ละโรงเรยี น โดยยึดพัฒนาการ และการพฒั นาเด็กโดยองค์รวม การมีทักษะ
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ด้วยการจัดประสบการณท์ ใ่ี ห้เด็กไดเ้ รยี นร้จู ากการปฏบิ ัติจริงแบบลงมอื ทำ
(Active learning)

การจัดประสบการณแ์ บบลงมือทำ (Active learning) สามารถจดั กจิ กรรมตามรปู แบบ
แนวคิดและแนวการจัดการเรียนรขู้ องเด็กปฐมวยั ตามนโยบายการจัดการศึกษาปฐมวัย ของสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เช่น

1) โครงการบ้านนกั วิทยาศาสตร์นอ้ ย ประเทศไทย
เป็นแนวทางในการพัฒนาการจัดประสบการณว์ ิทยาศาสตร์สำหรบั เด็กปฐมวยั มีเปา้ หมาย
ในการปลกู ฝงั ให้เด็ก มีเจตคติทดี่ ีตอ่ วทิ ยาศาสตร์ ธรรมชาติ และเทคโนโลยี ด้วยกจิ กรรมท่สี ร้างความสนกุ
ความเพลิดเพลินความสนใจใคร่รแู้ ละความกระตอื รือรน้ ฝึกทกั ษะการสังเกต รูจ้ ักตง้ั คำถามและหาคำตอบ
ด้วยตนเอง เพื่อเตรียมความพร้อมให้เด็กปฐมวัยเหล่าน้ี เตบิ โตข้นึ เปน็ นักวิทยาศาสตร์และวศิ วกร หรอื เป็น
ทรัพยากรบุคคลที่มจี ิตวทิ ยาศาสตร์ และมีความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ โดยครูปฐมวัยจัดกิจกรรม
ตามกระบวนการทางวิทยาศาสตรใ์ ห้กับเด็กปฐมวยั ครอบคลมุ ทุกกจิ กรรมอย่างมีคณุ ภาพ อย่างย่ังยนื
ตามแนวดำเนนิ การโครงการบา้ นนกั วิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย
2) การจดั กิจกรรมบูรณาการตามแนวทางสะเต็มศึกษา (STEM)
การจัดกิจกรรมบรู ณาการตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา เป็นแนวทางการจดั การศกึ ษาท่ี
บูรณาการความร้แู ละทกั ษะกระบวนการใน 4 สหวทิ ยาการ ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วศิ วกรรมฯ เทคโนโลยี
และคณิตศาสตร์ โดยเน้นการนำความรไู้ ปใช้แก้ปัญหาในชีวิตจรงิ รวมทงั้ การพัฒนากระบวนการ
หรือผลผลิตใหม่ที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนนิ ชีวิต และการทำงาน ในขณะท่ที ำกจิ กรรม เพือ่ พัฒนาความรู้
ความเข้าใจและฝึกทักษะดา้ นวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี เดก็ ต้องมโี อกาสนำความรู้
มาออกแบบวธิ ีการหรือกระบวนการ เพอ่ื ตอบสนองความต้องการหรือแกป้ ญั หาที่เกีย่ วขอ้ ง
กับชีวิตประจำวัน ด้วยการจัดการเรียนรผู้ า่ นกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม 6 ขัน้ ตอน ดังน้ี
(1) ระบุปัญหา
(2) รวบรวมขอ้ มลู และแนวคิดท่เี กย่ี วข้องกับปัญหา
(3) ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา
(4) วางแผนและดำเนินการแกป้ ญั หา
(5) ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรงุ แก้ไขวิธีการแก้ปญั หาหรือชนิ้ งาน
(6) นำเสนอวธิ ีการแกป้ ัญหา ผลการแกป้ ัญหาหรือชนิ้ งาน

แผนนิเทศบูรณาการโดยใช้พ้ืนทเ่ี ป็นฐาน เพือ่ พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา 35
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบรุ ี เขต 4

3) โครงการ “ปฐมวัยกาญจน์ส่ี หวั ใจ EF (Executive Functions)”
เปน็ รูปแบบการอบรมหลกั สตู ร “Co-Learnner” : “ครูปฐมวัยกาญจนส์ ี่ หวั ใจใหม่เข้าใจ

EF” ให้กบั ครผู ู้สอนปฐมวัย สังกดั สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต 4 รปู แบบสอื่
ออนไลน์ ผา่ นระบบ (ZOOM)

นโยบายและมาตรการ กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย

1. ส่งเสริมการจัดการเรยี นรภู้ าษาไทยดว้ ยกจิ กรรมการสอนทักษะท่สี ัมพันธก์ ันทั้งดา้ นการฟัง
ดู พดู อา่ น และเขยี น โดยเน้นทกั ษะการเรียนรู้แบบ Active Learning (ผูเ้ รียนได้ลงมือทำหรอื ปฏิบตั )ิ
ทุกระดับช้นั

2. ส่งเสริมการเรยี นร้ใู ห้นกั เรียนอา่ นออกเขียนได้ อา่ นคล่อง เขยี นคล่อง อา่ นรู้เร่ือง
(อ่านเข้าใจ) สามารถสื่อสาร และแสดงทรรศนะ (ความเห็น) ได้

3. สง่ เสริมนักเรยี นให้ท่องจำกฎเกณฑท์ างภาษาทีต่ ้องรู้ เช่น เสียงและอักษรไทย
(สระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์) การผนั วรรณยุกต์ ไตรยางศ์ (อักษรสามหม)ู่ รวมถึงกฎเกณฑ์ทางภาษา
อื่นๆ ที่จำเป็น

4. ส่งเสรมิ การอ่าน การเขียน เรียนรู้คำ และความหมาย จากคำพ้ืนฐาน คำในบทเรยี น
คำที่นกั เรยี นควรรู้ คำในชวี ิตประจำวัน เชน่ ฝกึ เขยี นตามคำบอก ฝึกเขียนคำยาก คำที่มักเขียนผดิ
คำศัพทบ์ ัญญตั ิต่างๆ เป็นตน้

5. ส่งเสรมิ ใหน้ ักเรยี นทอ่ งอาขยานภาษาไทยทงั้ บทหลัก บทเลอื ก หรือบทเพม่ิ เติม
ทกุ ระดับชั้น

6. สง่ เสริมพัฒนาทกั ษะการเขียนลายมือ การเขยี นเลขไทย และแก้ไขปัญหาลายมือนักเรียน
ทกุ ระดับชน้ั

7. สง่ เสริมการฝกึ ทกั ษะการเขียนและเขยี นเชงิ สรา้ งสรรค์ ในรปู แบบตา่ งๆ เชน่
เขียนจดบนั ทกึ เขยี นเรื่องจากภาพ เขียนเรยี งความ ย่อความ เขยี นแสดงความคดิ เห็น เขียนคำคลอ้ งจอง
คำประพนั ธ์ ทุกระดับช้นั

8. ส่งเสริมการจดั กิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน การศึกษาคน้ ควา้ ทุกระดบั ช้ัน
9. สง่ เสริม สนับสนุนนกั เรียนให้เข้ารว่ มประกวด แขง่ ขันทักษะทางวิชาการดา้ นภาษาไทย
ในระดบั ตา่ งๆ อยา่ งหลากหลาย
10. ครูใช้กระบวนการ PLC (Professional Learning Community) ในการแกป้ ัญหาพฒั นา
การเรียนการสอนภาษาไทย

แผนนเิ ทศบูรณาการโดยใช้พ้ืนทเ่ี ป็นฐาน เพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพการศึกษา 36
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบรุ ี เขต 4

แนวทางการดำเนนิ งาน

1. จดั การเรียนรภู้ าษาไทยดว้ ยกิจกรรมการสอนทักษะที่สัมพันธก์ ันท้ังด้านการฟัง ดู พดู อา่ น
และเขียน โดยเนน้ ทักษะการเรียนร้แู บบ Active Learning ท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เรยี นไดเ้ รียนรู้โดยการลงมอื ทำ
ลงมือปฏิบัตจิ ริง ทงั้ ด้านการอ่าน การเขียน การโต้ตอบ การวิเคราะห์ปัญหา ใช้ทักษะกระบวนการคิด
วเิ คราะห์ สังเคราะห์ ประเมนิ คา่ โดยใช้เทคนคิ วธิ ีการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย เช่น การศกึ ษาค้นควา้
จากสื่อ Internet การอภิปรายกลมุ่ การแสดงบทบาทสมมติ การใชป้ รศิ นาคำทาย การจดั ทำผงั ความคิด
การสาธติ กจิ กรรม การนำเสนองาน การใช้เพลง เกม เปน็ ต้น

2. จัดการเรียนรู้ให้นักเรยี นอา่ นออก เขียนได้ อา่ นคลอ่ ง เขียนคล่อง อ่านรเู้ รอ่ื ง (อา่ นเข้าใจ)
สามารถส่อื สารและแสดงทรรศนะ (ความเห็น) ได้

2.1 จัดการเรยี นการสอนให้อ่านออกเขียนได้ในระดับชั้น ป.1 - ชั้น ป .3 โดยสอนแบบ
แจกลูกสะกดคำ หรือใชเ้ ทคนิค วิธกี ารอืน่ ๆ หรือผสมผสานหลาย ๆ วิธี ทเ่ี หมาะสมกับความสามารถ
ความแตกตา่ งของผู้เรยี น จนสามารถทำใหน้ ักเรยี นอา่ นออกเป็นคำ และรคู้ วามหมายของคำ
เช่น การสอนใหอ้ ่านออก

สอนโดยวธิ ปี ระสมอกั ษร โดยนำพยญั ชนะ สระ วรรณยุกต์ มาประสมกนั แลว้ ฝึก
การอา่ นแบบแจกลกู

การแจกลูก หมายถงึ การเทียบเสยี ง เรม่ิ ตน้ จากการสอนให้จำและออกเสียงคำ แล้วนำ
รปู คำซง่ึ เปรียบเสมือนแม่มากระจายหรือแจกลกู โดยการเปลีย่ นสระ หรอื เปลย่ี นพยัญชนะต้น หรอื เปลี่ยน
พยญั ชนะท้าย(ตวั สะกด) มีวธิ ีการดังน้ี

1. ยดึ พยัญชนะต้นเปน็ หลกั แจกลูกโดยเปล่ยี นรูปสระ เช่น
กะ กา กิ กี กึ กื กุ กู

2. ยดึ สระเป็นหลัก แจกลกู โดยเปล่ียนพยัญชนะตน้ เช่น
กา ขา คา งา ตา นา ทา วา

3. ยึดสระและตวั สะกดเป็นหลัก แจกลูกโดยเปลีย่ นพยัญชนะต้น เชน่
กาง ขาง คาง งาง ตาง นาง ทาง วาง

4. ยึดพยัญชนะต้นและสระเป็นหลัก แจกลกู โดยเปลี่ยนตัวสะกด เชน่
คาง คาน คาย คาว คาก คาด คาบ

การอา่ นแบบแจกลูก เป็นการเทียบเสียง สอนให้จำและออกเสียงคำ แลว้ นำรปู คำท่ี
เปรยี บเสมอื นแมม่ ากระจายหรอื แจกลูก อาจยดึ พยญั ชนะต้นเปน็ หลัก ยึดสระเป็นหลัก หรือยดึ สระ
และตวั สะกดเปน็ หลกั เชน่

แผนนเิ ทศบรู ณาการโดยใช้พื้นทเี่ ปน็ ฐาน เพือ่ พัฒนาคุณภาพการศึกษา 37
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบุรี เขต 4

1) ยึดพยัญชนะตน้ เป็นหลกั (พยญั ชนะตน้ เป็นแม่ แจกลูกทีเ่ ป็นสระ)
กะ กา กิ กี กึ กื กุ กู

2) ยึดสระเปน็ หลกั (สระเป็นแม่ แจกลูกท่เี ป็นพยัญชนะต้น)
กา ขา คา งา ตา นา ทา วา

การอ่านแบบสะกดคำ โดยการนำพยัญชนะตน้ สระ วรรณยกุ ต์ และตัวสะกด มาประสม
เปน็ คำอา่ น เพอื่ เปน็ เครื่องมือในการอ่านคำใหม่ ซงึ่ ต้องใหน้ ักเรียนสงั เกตรปู คำ พร้อมกับการอา่ น
เม่อื สะกดคำจนจำคำอ่านได้แล้ว ก็สามารถอ่านเปน็ คำได้ เช่น

คำ อา่ นสะกดคำ คำ อ่านสะกดคำ

ดู ดอ-อ-ู ดู แบ บอ-แอ-แบ

จำ จอ-อำ-จำ ใส สอ-ไอ-ใส

เก กอ-เอ-เก บัว บอ-อวั -บัว

โต๊ะ ตอ-โอะ-โตะ-โตะ- เสก สอ-เอ-เส-เส-กอ-เสก
ไมต้ รี-โต๊ะ

หมายเหตุ การอ่านสะกดคำ สามารถอ่านได้หลายแบบ
ครูสามารถเลือกใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของคำ
และความแตกต่างของนักเรียน

2.1.2 สอนใหเ้ ดาคำจากภาพหรือการสอนอ่านจากภาพ โดยเริม่ หดั อ่านจากรปู ภาพ

กอ่ นแล้วจึงนำไปสกู่ ารอ่านจากตวั อกั ษร

2.1.3 สอนอ่านจากรปู ร่างของคำ เมื่อเดก็ เหน็ รูปรา่ งของคำโดยรวมก็จะจำได้

และจะนำไปเปรยี บเทยี บกบั คำทีเ่ คยอ่านออกแล้ว คำใดที่มีรูปรา่ งคลา้ ยคลงึ กัน กส็ ามารถเดา

และเทยี บเสยี งได้วา่ อา่ นอยา่ งไร

2.1.4 สอนโดยการเดาคำจากบรบิ ท หรอื คำที่อยแู่ วดล้อม สำหรับเด็กมักใช้บรบิ ท
ท่เี ป็นปริศนาคำทาย เม่ือเด็กทายถกู กส็ ามารถอ่านคำน้นั ออก เช่น

 ฉนั เปน็ ของใช้ มีไวใ้ นครัว เอาไวผ้ ัดคั่ว ทวั่ ทกุ บา้ นต้องมี (กระทะ)
2.1.5 สอนอ่านโดยให้รู้หลักภาษา เชน่ อักษรสามหมู่ สระเสยี งเดย่ี ว สระเสยี งประสม

มาตราตัวสะกด การผันวรรณยกุ ต์ การอ่านคำควบกลำ้ การอ่านอักษรนำ เป็นตน้ ซึ่งครูตอ้ งหาวธิ สี อน
ท่ีหลากหลาย เริม่ จากเด็กเรียนร้หู ลกั ภาษาทงี่ า่ ย ๆ ใหเ้ ด็กสนกุ สนาน ดว้ ยกจิ กรรมทีเ่ ด็กชอบ
เช่น เลา่ นทิ าน รอ้ งเพลง เลน่ เกม เปน็ ต้น

2.1.6 สอนอา่ นตามครู โดยครอู ่านนำแลว้ ใหน้ ักเรยี นอา่ นตาม โดยเฉพาะคำยาก
คำทมี่ ตี วั สะกดไม่ตรงตามมาตรา เป็นตน้

ที่มา : คมู่ อื การสอนอา่ นเขยี นโดยการแจกลกู สะกดคำ. สถาบันภาษาไทย สำนกั วชิ าการและมาตรฐาน
การศกึ ษา สพฐ. กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. 2559.

แผนนิเทศบรู ณาการโดยใช้พื้นทเ่ี ปน็ ฐาน เพอื่ พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา 38
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบรุ ี เขต 4

2.2 จัดการเรยี นการสอนให้นักเรยี น ชั้น ป.2-6 อ่านคลอ่ ง เขียนคล่อง โดยเพิ่มระดบั
ความสามารถในการอ่าน การเขยี นของนักเรียนให้ถกู ต้อง แมน่ ยำ รวดเร็ว และมคี วามเข้าใจในเร่อื งทอี่ ่าน
สามารถอธิบาย ถ่ายทอดเรอ่ื งราว ให้ผ้อู ื่นเข้าใจได้ (ผ่านตามเกณฑท์ ่ีกำหนด ในแตล่ ะระดับชน้ั )

2.3 จัดกจิ กรรมเสริมหลักสูตรเพอื่ ฝึกทกั ษะด้านการอา่ นคล่อง เขยี นคล่อง อ่านรู้เรอ่ื ง
และการสื่อสาร เชน่ ชมุ นมุ กล่มุ สนใจ และกลุ่มรักการอ่าน เปน็ ตน้

2.4 ผลติ จัดหา พัฒนาสอื่ และนวัตกรรม เพื่อส่งเสริมการอ่านคล่อง เขยี นคลอ่ ง อา่ นรู้เร่ือง
(อ่านเข้าใจ) และสือ่ สารได้อย่างหลากหลาย เชน่ สื่อ เอกสาร แบบฝึก ส่อื มัลตมิ เี ดยี ส่ือเทคโนโลยี
ทางการศึกษา สอื่ อิเลก็ ทรอนิกส์ (เชน่ E-Book) เปน็ ต้น

2.5 เพ่มิ ช่องทางการแก้ปัญหา พฒั นานักเรียนท่ีอา่ นไม่ออก เขยี นไม่ได้ อ่านไม่คล่อง
เขียนไม่คลอ่ ง เชน่ สอนซ่อมเสริม ฝึกบอ่ ยๆ (สอนเนน้ ย้ำซ้ำทวน) ให้การบา้ น ใหผ้ ู้ปกครองช่วย
จัดทำคลินิกภาษา พีช่ ่วยนอ้ ง วิจยั ในชั้นเรียน จับค่เู พอื่ น คลนิ กิ ภาษา ฯลฯ

2.6 จดั หาหนงั สอื ประกอบหลักสูตร เชน่ หนงั สืออา่ นเพิม่ เติม หนงั สือสง่ เสริมการอ่าน
หนังสืออ่านนอกเวลา หรือหนังสือเสริมการเรียนรู้ของเด็ก เชน่ แบบเรยี นเรว็ ใหม่ จินดามณี
(พระโหราธิบด)ี ประถม ก กา นิทานรอ้ ยบรรทัด แบบเรยี นภาษาไทยชัน้ ประถมศกึ ษาชดุ มานะ มานี
หนงั สือแบบเรียนเรว็ ใหม่ เปน็ ต้น

3. ฝึกนักเรียนท่องจำกฎเกณฑท์ างภาษาที่ต้องรู้ เชน่ เสยี ง และอักษรไทย (สระ พยญั ชนะ
และวรรณยุกต์) การผันวรรณยกุ ต์ ไตรยางศ์ (อักษรสามหมู่) รวมถงึ กฎเกณฑ์ทางภาษาอ่ืนๆ ทจ่ี ำเป็น

4. ฝึกทักษะการฟงั พดู อ่านและเขียน เรยี นรคู้ ำ ความหมาย จากคำพื้นฐาน คำในบทเรยี น
และคำทน่ี กั เรียนควรร้ใู นชวี ิตประจำวัน ในแต่ละระดบั ช้ัน ทุกวัน เชน่ ฝกึ เขียนตามคำบอก คำยาก คำท่มี ัก
เขยี นผดิ ฝึกอา่ นเขยี นคำ พยางค์ กลุ่มคำ วลี ประโยค ข้อความ เร่อื งราว นทิ าน เรื่องเล่า บทความ เปน็ ต้น

5. ฝึกใหน้ กั เรยี นท่องอาขยานภาษาไทยท้งั บทหลัก บทเลือก และบทเพม่ิ เตมิ ทุกระดบั ช้ัน
5.1 ให้นักเรยี นฝกึ ท่องอาขยานภาษาไทยตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน

พ.ศ. 2551 โดยพิจารณาจากบทหลัก บทเลอื กท่ีกำหนดให้ตามความเหมาะสมกบั ระดบั ชัน้ ของนกั เรียน
5.2 ให้นักเรยี นท่องบทอาขยานเพิ่มเติม โดยคดั เลือกวรรณกรรม บทกวี คำประพันธ์

ทม่ี ีผู้แต่งไวใ้ หน้ ักเรยี นท่องเพิ่มเติมได้
5.3 ให้นักเรียนอธิบายคุณคา่ สงิ่ ท่ไี ดร้ บั จากการท่องบทอาขยานสารประโยชน์

และการนำไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตประจำวนั
6. ฝกึ ทกั ษะการเขียนลายมือ การเขยี นเลขไทย และแก้ไขปัญหาลายมอื นักเรียนทุกระดับช้นั

โดยฝึกเขยี นตวั อกั ษรไทยให้ถูกต้องตามหลักเกณฑก์ ารเขียนอยา่ งประณีต สวยงาม สะอาด เป็นระเบียบ
และอา่ นเข้าใจง่าย ดงั น้ี

6.1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 ฝึกเขียนลายมือ และเลขไทยด้วยตวั บรรจงเต็มบรรทดั
ตามรปู แบบของกระทรวงศกึ ษาธิการ

แผนนิเทศบรู ณาการโดยใช้พ้ืนทเ่ี ปน็ ฐาน เพ่อื พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา 39
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบุรี เขต 4

6.2 ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4-6 ฝกึ เขยี นลายมือ และเลขไทยดว้ ยตัวบรรจงเตม็ บรรทัด
และคร่ึงบรรทัด ตามรูปแบบของกระทรวงศึกษาธิการและรปู แบบอนื่ ๆ ตามความเหมาะสม

6.3 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1-3 เนน้ ยำ้ เรื่องการเขยี นลายมือที่สวยงาม ถูกต้องตามหลัก
การเขียนท้ังตัวเต็มบรรทดั ตัวครง่ึ บรรทัด และตัวหวดั แกมบรรจง

6.4 เน้นย้ำเรื่องการแก้ปัญหาการเขยี นลายมือ ใหถ้ ูกต้องตามอักขรวธิ ี หลกั เกณฑ์
การเขยี น เชน่ ตัวอักษรไม่มีหัว ตวั อกั ษรแบบการต์ นู การสะกดผิดวธิ ี

7. ฝึกทักษะการเขียนและการเขยี นเชงิ สร้างสรรคใ์ นรูปแบบต่างๆ เช่น เขยี นจดบันทกึ
เขียนเร่อื งจากภาพ เขยี นเรยี งความ เขียนยอ่ ความ คำคลอ้ งจอง เขยี นแสดงความคิดเหน็
เขยี นคำคล้องจอง คำประพันธ์ เป็นต้น ทกุ ระดับชั้น โดยสอดแทรกทักษะการคิดวเิ คราะห์ คิดสร้างสรรค์
ในงานเขียนทุกชนิด

8. จัดกิจกรรมสง่ เสรมิ นิสัยรกั การอ่าน โดยบูรณาการจัดกิจกรรมตา่ ง ๆ ทุกกลุม่ สาระ
การเรียนรู้ ที่สง่ เสรมิ ใหน้ กั เรียนมีนสิ ยั รกั การอา่ น การศกึ ษาค้นควา้ ท่หี ลากหลาย ทั้งกจิ กรรมตามหลกั สูตร
และกิจกรรมเสรมิ หลกั สูตร เช่น ยอดนกั อา่ น กจิ กรรมวางทุกงานอา่ นทุกคน ห้องสมดุ เคล่อื นท่ี หนนู ้อย
นกั อา่ น Read Thailand (อา่ นเถดิ เด็กไทย อา่ นถวายเจา้ ฟ้านกั อ่าน) กิจกรรมส่งเสริมการอา่ นจากสื่อ
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ จัดหาส่อื เพื่อศึกษาคน้ คว้าตามความสนใจของนักเรียน เชน่ นิทาน นยิ าย ส่ือมลั ติมเี ดยี
สอื่ อิเล็กทรอนกิ ส์

9. จัดกิจกรรมส่งเสริมความสามารถนักเรยี นด้านการประกวด แข่งขัน ทกั ษะวชิ าการ
ท้งั ในระดับโรงเรยี น ระดับสหวทิ ยาเขต ระดับเขตพน้ื ท่ีการศึกษา ระดับภูมิภาค และระดับชาติ
อย่างหลากหลาย ในทุกระดับชั้น

10. ครใู ชก้ ระบวนการ PLC (Professional Learning Community) ในการแก้ปญั หา
การเรยี นการสอนภาษาไทย โดยมกี ารวิเคราะห์ปัญหา คน้ หาสาเหตุ แนวทางการแก้ไขปัญหา
และการพัฒนานวัตกรรม เพ่ือนำไปใชใ้ นการแกป้ ญั หาอยา่ งเปน็ ระบบ

นโยบายและมาตรการ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์

1. สง่ เสรมิ ให้นกั เรยี นทกุ คนท่องสตู รคณู มาตราชงั่ ตวง วดั สตู รเรขาคณติ ตามความ
เหมาะสมของนักเรยี นแตล่ ะระดบั ช้ัน

2. สง่ เสรมิ การฝกึ ทกั ษะการคิดเลขเรว็ และการคดิ เลขในใจ ทกุ ระดบั ช้นั
3. ส่งเสรมิ ใหน้ ักเรยี นฝึกทักษะด้านการคิดวเิ คราะห์โจทยป์ ัญหาโดยใชก้ ระบวนการ
Active learning เป็นหลักในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน

แผนนเิ ทศบรู ณาการโดยใช้พื้นทเี่ ป็นฐาน เพ่ือพฒั นาคุณภาพการศึกษา 40
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สพป.กาญจนบรุ ี เขต 4


Click to View FlipBook Version