The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกห้วยขาแข้ง ฉบับปรุงปรุงใหม่ (2nd Edition) เป็นฉบับแก้ไขเนื้อหาจากการพิมพ์ครั้งที่ 1 ให้มีเนื้อที่ถูกต้องตามการแก้ไขในปัจจุบันตามหลักวิชาการ โดยจำนวนชนิดที่ปรากฎในเล่ม จากการอ้างอิงถึงจำนวนสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกประเทศไทย 170 กว่าชนิด และโดยการสำรวจและการตรวจเอกสารของทีมผู้จัดทำ พบจำนวน 48 ชนิดในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by rabbitinthemoon399, 2022-10-17 11:58:28

Amphibians Of Huai Kha Khaeng 2nd Edition

หนังสือสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกห้วยขาแข้ง ฉบับปรุงปรุงใหม่ (2nd Edition) เป็นฉบับแก้ไขเนื้อหาจากการพิมพ์ครั้งที่ 1 ให้มีเนื้อที่ถูกต้องตามการแก้ไขในปัจจุบันตามหลักวิชาการ โดยจำนวนชนิดที่ปรากฎในเล่ม จากการอ้างอิงถึงจำนวนสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกประเทศไทย 170 กว่าชนิด และโดยการสำรวจและการตรวจเอกสารของทีมผู้จัดทำ พบจำนวน 48 ชนิดในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง

Keywords: amphibians,HuaiKhaKhaeng,Thailand

158 228 261 144
114 249 196 236

232 125 71
192 211

75 163
107

181 93 137 111

204 170 65
185
2 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

257 221 166
200 174 150

141 245

216 155
252 241

133 224
121
97

128
208 83

118
79

5 188
88 100

ÊѵÇʏ Ðà·Ô¹¹ํ้ÒÊÐà·¹Ô º¡ ˌǢÒᢧŒ 3

4 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

ÊѵÇʏ Ðà·¹Ô ¹ํ้ÒÊÐà·Ô¹º¡

Amphibians Ëof ÇŒHuÂai K¢haÒKáh¢aen§Œ g
Second Edition
ÊµÑ ÇÊÐà·¹Ô ¹ํ้ÒÊÐà·¹Ô º¡ ËÇŒ ¢Òᢌ§ 5

โครงการวจิ ัยนิเวศวทิ ยาป่าไมร้ ะยะยาว
มลู นธิ กิ ระต่ายในดวงจันทร์

6 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

ÊѵǏÊÐà·Ô¹¹ํÒ้ ÊÐà·Ô¹º¡ ËÇŒ ¢ÒᢧŒ
Amphibians of Huai Kha Khaeng

ÊµÑ ÇÊÐà·Ô¹¹Òํ้ ÊÐà·¹Ô º¡ ËÇŒ ¢Òᢌ§ 7

สัตวส์ ะเทินนา�้ สะเทนิ บก หว้ ยขาแขง้
สงวนลขิ สทิ ธิโ์ ดย

โครงการวจิ ยั นเิ วศวทิ ยาปา่ ไม้ระยะยาว
ปิยวรรณ นิยมวัน, ไพรวลั ย์ ศรีสม
และสรายุทธ บญุ ยะเวชชีวนิ
ISBN 978-616-92161-3-1

พมิ พ์ครัง้ ท่ี 1 กันยายน 2559 1,000 เลม่
พิมพ์ครั้งที่ 2 ตลุ าคม 2565 (eBook)
ผแู้ ต่ง: ปยิ วรรณ นิยมวัน ไพรวัลย์ ศรสี ม

ปริญญา ภวังคะนนั ทน์
ภาพถ่าย: ไพรวัลย์ ศรสี ม ปริญญา ภวงั คะนันทน์

ภาพวาด: ปิยวรรณ นิยมวัน
คอมพิวเตอรก์ ราฟฟิก: ไพรวลั ย์ ศรีสม
ปกหน้าพมิ พ์ครงั้ ท่ี 2 คางคกหวั ราบ
ภาพปกโดย: วชิ ญนันท์ ลิมปรงุ่ พฒั นกิจ

จัดท�าโดย

มูลนธิ ิกระต่ายในดวงจันทร์
399 หมู่ 3 ตา� บลสวนผ้งึ อ�าเภอสวนผึ้ง จังหวดั ราชบุรี

e-mail: [email protected]
facebook: มูลนธิ ิกระต่ายในดวงจนั ทร์
www.rabbitinthemoon.org
อ้างอิง
ปิยวรรณ นยิ มวนั , ไพรวลั ย์ ศรสี ม
และปรญิ ญา ภวงั คะนันทน.์ 2559.

หนงั สือคู่มอื ภาคสนาม โครงการวจิ ัยนเิ วศวทิ ยา
ปา่ ไมร้ ะยะยาว : สตั ว์สะเทินน�้าสะเทนิ บก หว้ ยขาแข้ง.

ภาพพิมพ์, กรงุ เทพฯ. 272 หน้า.
8 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

010 บทนา�
012 ชวี วทิ ยา
020 วงจรชีวิต
022 คร่งึ ชีวิตในนา�้
024 การสบื พนั ธ์ุ
027 การร้อง
028 การปอ้ งกนั ตวั
030 ถ่นิ อาศยั
034 ปจั จยั คกุ คาม
036 พืน้ ทศ่ี ึกษา
039 สถานทต่ี ัง้ และอาณาเขต
039 สภาพภมู ปิ ระเทศ
040 สภาพภมู อิ ากาศ
042 สภาพทางธรณวี ทิ ยาและปฐพีวทิ ยา
044 ลักษณะท่สี �าคัญของแตล่ ะสังคมพืช
061 ชนดิ สตั วส์ ะเทินน�า้ สะเทินบกในห้วยขาแข้ง
063 วงศ์เขยี ดงู (IC T Y P IDA )
069 วงศอ์ ง่ึ กราย (M P RYIDA )
087 วงศ์คางคก (B F IDA )
105 วงศ์อง่ึ (MICR YLIDA )
149 วงศ์กบแท้ (RA IDA )
179 วงศก์ บ เขยี ด (DICR L SSIDA )
215 วงศป์ าด (R AC P RIDA )
264 เอกสารอ้างอิง
266 ดชั นชี ่อื วทิ ยาศาสตร์
267 ดัชนีช่ือสามัญ
268 ดชั นีชื่อไทย

สารบัญ
ÊѵǏÊÐà·Ô¹¹้ํÒÊÐà·Ô¹º¡ ˌǢÒᢌ§ 9

จากผ้เู ขยี น

พน้ื ท่ีปา่ ในเขตรกั ษาพนั ธส์ุ ตั ว์ป่าห้วยขาแขง้ น้ันเปน็ ทีย่ อมรบั ต่อชาวโลกวา่ เป็น
มรดกโลกทางธรรมชาติทคี่ วรรกั ษาไวใ้ ห้ลูกหลาน ดว้ ยความอุดมสมบรู ณ์ของพ้นื ที่ มรี ะบบ
นเิ วศทส่ี มดลุ เพียบพรอ้ มทงั้ ดิน น�า้ ป่าไม้ และสตั ว์ป่า สตั วส์ ะเทนิ น้า� สะเทินบกเปน็ สตั ว์
กลุ่มหนึง่ ท่สี ามารถใช้เป็นตัวชีว้ ัดได้ หากสตั ว์กลมุ่ นยี้ ังคงใชช้ ีวิตอยูอ่ ย่างปกติสุข มีความ
หลากหลาย กแ็ สดงใหเ้ หน็ วา่ ปา่ น้นั ยงั คงมสี ายน้�าที่บรสิ ทุ ธิ

แม้ว่าสัตวก์ ลุ่มน้จี ะไม่น่าพสิ มัยส�าหรับคนบางกล่มุ ทอี่ าจจะห่างไกลธรรมชาติ
แต่หากพิจารณาใกล้ ๆ ผา่ นสายตาช่างภาพผู้หลงใหลในธรรมชาติ กจ็ ะเหน็ ความจริงของ
ธรรมชาติ ทีแ่ ทจ้ ริงแลว้ ไม่มสี ว่ นใดน่ากลวั แต่กลบั เปน็ ชีวิตทนี่ า่ คน้ หา และควรถนอมไว้
ใหค้ งความสมดลุ โดยท�าหน้าท่ีเปน็ ทง้ั เหย่ือให้สงิ่ มีชวี ติ อื่น ๆ และผ้ลู า่ สงิ่ มชี ีวติ อยา่ งแมลง
ทหี่ ากมีมากเกนิ ไปก็จะเป็นภัยตอ่ พชื และสัตวห์ ลายชนดิ

จากประสบการณข์ องผู้เขยี นท่ีมโี อกาสได้พบปะผ้คู นหลากหลายในพืน้ ท่ีและ
ในเมือง ที่มีความสนใจตอ่ สัตวก์ ลมุ่ นี้ พบวา่ คนไทยสว่ นใหญไ่ ม่มีโอกาสได้รู้จักพบเจอสตั ว์
กลุ่มนท้ี ีด่ �ารงชวี ิตอย่ใู นพืน้ ท่ีอนรุ ักษ์ลกึ เขา้ ไปในป่าทีย่ ากแก่การเขา้ ถึง ไมค่ อ่ ยมภี าพของ
สตั วเ์ หล่านเี้ ผยแพรม่ ากนกั เพราะเป็นเพียงกลุ่มคนจา� นวนน้อย ไมม่ ากพอต่อความต้องการ
ทางการตลาด แต่สิ่งทคี่ นต้องการมากท่สี ดุ คอื หนังสือทีม่ ีภาพทส่ี อื่ ถงึ ธรรมชาติอยา่ งชดั เจน
และท่สี า� คัญคอื เปน็ ภาษาไทย ใหค้ นไทยสว่ นใหญ่ทไี่ ม่สันทัดด้านภาษาต่างประเทศ และมี
ก�าลงั ซอื้ น้อย ได้มีโอกาสเขา้ ถงึ ธรรมชาติอยา่ งแทจ้ รงิ

หนงั สอื เลม่ นส้ี �าเรจ็ สมบูรณ์ได้ด้วยความเอ้อื เฟอ้ จากบคุ คลท่อี นุญาตใหใ้ ช้ภาพถ่าย
ประกอบหนงั สือ ผเู้ ขียนขอขอบคุณ คุณพษิ ณุ รวดเรว็ คณุ วชิ ญนนั ท์ ลิมปรงุ่ พัฒนกิจ และ
คุณศิลาวุธ ดา� รงศิริ

ขอบคุณ ดร.สรายุทธ บุณยะเวชชวี ิน หวั หน้าโครงการวจิ ยั นิเวศวทิ ยา
ปา่ ไมร้ ะยะยาว ท่สี นับสนุน ผลกั ดัน ใหเ้ กิดกา้ วแรกทส่ี า� คญั ย่ิง

ขอบคุณ ทมี งานโครงการวจิ ยั นิเวศวทิ ยาป่าไมร้ ะยะยาว ในการร่วมส�ารวจ
เกบ็ ข้อมูล

10 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

ขอบคณุ หัวหน้า สมโภชน์ มณีรตั น์ และเจา้ หน้าทีเ่ ขตรกั ษาพนั ธ์ุสัตวป์ ่า
หว้ ยขาแข้ง ท่เี ปดิ โอกาสใหค้ ณะผเู้ ขียนไดเ้ ข้าไปส�ารวจเก็บขอ้ มูล

ขอบคุณ กลุม่ งานวจิ ัยสตั วป์ ่า ส�านกั อนุรักษ์สตั ว์ป่า กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สตั วป์ ่า และ
พันธุ์พชื ทีม่ อบโอกาสให้ผู้เขยี นได้สงั่ สมประสบการณ์ดา้ นสตั วป์ า่ และเห็นมุมมองของธรรมชาติ

ขอบคุณ ด.ญ.ศศิ ริ า ศรสี ม ที่เปน็ แรงผลักดันอนั ย่ิงใหญ่ใหห้ นงั สือเล่มน้ีสา� เรจ็ ลลุ ว่ ง
ทา้ ยนข้ี อขอบคณุ คุณชาญชัย พนิ ทเุ สน และคุณจฑุ ามาศ หวังอายัตวณชิ ย์ แห่งมลู นธิ ิ
กระต่ายในดวงจนั ทร์ และท่ีขาดไม่ได้คือ คณุ อรนชุ เตชะมหพนั ธ์ บรษิ ทั มหพันธ์ไฟเบอร์ซเี มนต์
จ�ากัด (มหาชน) ผสู้ นบั สนนุ ทนุ ในการส�ารวจ เกบ็ ข้อมลู และจัดพมิ พ์หนงั สือ เพือ่ แจกจา่ ยให้
เจ้าหน้าท่ีเขตรกั ษาพนั ธุ์สัตว์ปา่ ห้วยขาแขง้ นักเรยี น นกั ศึกษา และผ้สู นใจ ได้เข้าถงึ และเข้าใจ
ธรรมชาติมากย่ิงขึ้น

ปยิ วรรณ นิยมวนั

浄 Çʏ Ðà·Ô¹¹ํÒ้ ÊÐà·Ô¹º¡ ˌǢÒᢧŒ 11

จากโครงการวจิ ัยนเิ วศวิทยาปา่ ไมร้ ะยะยาว

สัตว์สะเทินน�า้ สะเทินบกเปน็ สตั ว์ทมี่ คี วามไวต่อสงิ่ กระตนุ้ เปน็ สัตวท์ ีก่ �าลงั
ถูกคุกคามจากสภาวะอากาศทผ่ี นั ผวน มลภาวะทางสิง่ แวดล้อม แหล่งที่อยอู่ าศยั ทาง
ธรรมชาตลิ ดลง และโรคตดิ ตอ่ จากเช้ือราไคทริด (Chytrid) ซึง่ อาศัยในแหลง่ น�้า ประชากร
ของสัตว์สะเทินน้า� สะเทินบกทวั่ โลก ลดลงอยา่ งรวดเร็ว และสายพันธ์จุ �านวนมากได้
สูญพันธ์ุไปแล้ว หนงั สือสัตว์สะเทนิ นา�้ สะเทนิ บกหว้ ยขาแข้ง เป็นหนึง่ ในหนงั สือทีโ่ ครงการ
วิจยั นิเวศวิทยาปา่ ไม้ระยะยาวจดั ทา� ข้ึนเนื่องในวาราะครบรอบ 25 ปีของโครงการ
เพื่อมอบใหเ้ จ้าหน้าทร่ี ะดับปฏบิ ตั ิงานในเขตรกั ษาพันธุส์ ตั ว์ปา่ ห้วยขาแขง้ ส่วนหนึง่ มอบ
ใหพ้ ้นื ทีอ่ นรุ ักษ์อน่ื ของผืนปา่ ตะวันตก โรงเรยี นรอบผนื ป่า และสถาบนั การศกึ ษาอนื่ ๆ
โครงการ หวังว่าจะมกี ารใชป้ ระโยชนห์ นังสอื เล่มนใี้ หเ้ กิดประโยชน์สูงสดุ

สรายทุ ธ บณุ ยะเวชชวี นิ
หัวหนา้ โครงการวิจยั นเิ วศวทิ ยาปา่ ไม้ระยะยาว

12 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

จากมูลนธิ กิ ระตา่ ยในดวงจันทร์

การศกึ ษาระบบของธรรมชาติในชัน้ ต้น ๆ เราต้องอาศัยตวั กลาง เพือ่ การเขา้ ถึงระบบอนั
ประณตี และละเอียดอ่อนของธรรมชาติ

ในหนงั สอื เลม่ นไ้ี ด้อาศยั ตวั กลางเพ่อื การศกึ ษา คอื “สตั วส์ ะเทนิ น�้าสะเทนิ บก” ทห่ี ลาก
หลาย เปน็ การศึกษาดา้ นกายภาพ ศกึ ษาความสมั พนั ธก์ ับสภาพแวดลอ้ มท่อี ยู่ในพืน้ ที่เฉพาะ
เราจะเหน็ ได้วา่ สัตวป์ ระเภทนี้ มีการปรบั ตัว พรางตวั ใหอ้ ย่รู อดได้ในสภาพของเวลากลางวนั
กลางคนื ในสภาพของพน้ื ที่นา�้ และพื้นทบ่ี ก เป็นต้น ซ่งึ ยังคงมสี ิ่งทแ่ี ฝงเรน้ รอการค้นคว้าให้
ลกึ ซึ้งมากขน้ึ อีกในอนาคต

หนงั สอื เล่มน้ีเป็นอกี หน่ึงเลม่ ที่มูลนิธกิ ระต่ายในดวงจันทร์ ขอแนะนา� ใหผ้ ู้ท่ีสนใจในการ
ศึกษาระบบธรรมชาติ ใช้เปน็ เครอ่ื งมือและอ้างอิงในกระบวนการศกึ ษา อกี ทั้งเป็นการสร้างแรง
บันดาลใจในการเข้าถึงระบบทม่ี ีความประณีตละเอยี ดออ่ นทสี่ ดุ

ชาญชัย พนิ ทุเสน
ประธานกรรมการมลู นธิ กิ ระตา่ ยในดวงจนั ทร์

浄 Çʏ Ðà·¹Ô ¹ํ้ÒÊÐà·Ô¹º¡ ˌǢÒᢧŒ 13

บทนา�

สตั ว์สะเทินน้�าสะเทินบกคอื อะไร?

เม่ือได้ยนิ ค�าว่าสตั วส์ ะเทินนา�้ สะเทินบก คนท่วั ไปมักนกึ ถึงสัตว์ทล่ี �าตัวมเี มอื กลืน่ อาศยั ได้
ทง้ั ในน�้าและบนบก บางคนเรยี กสตั วค์ รึง่ บกครง่ึ นา้� แต่โดยความหมายทแ่ี ท้จรงิ มที ม่ี าจากวงจรชวี ิต
คือ สัตวท์ ม่ี ชี วี ิตชว่ งแรกอยใู่ นนา้� และเมือ่ เจรญิ ขึ้นกข็ นึ้ มาอาศยั อยูบ่ นบก ทง้ั ท่ีความจริงแล้วบางชนิด
ไมไ่ ดว้ างไข่ในน�า้ และไม่มรี ะยะตวั อ่อนทเ่ี รียกว่าลูกอ๊อดอาศยั อยใู่ นนา�้ แต่กระนัน้ กย็ งั ต้องอาศัย
ความชนื้ จากหมอกและน�า้ ฝน

ลักษณะเฉพาะของสตั วส์ ะเทินน้�าสะเทินบกคือ ผวิ หนงั มตี อ่ มเมอื กเพือ่ ใหค้ วามช่มุ ชน้ื ไมม่ ี
เกล็ดหรอื ขนปกคลมุ ร่างกาย หายใจโดยใช้เหงอื ก ปอด และผวิ หนัง หรอื ผวิ ในปากและคอ โดยมี
เส้นเลือดฝอยบริเวณผิวหนงั จา� นวนมากเพ่อื แลกเปลีย่ นกา๊ ซ รา่ งกายปรับอณุ หภูมติ ามสภาพแวดลอ้ ม
หรือทเี่ รยี กวา่ สัตว์เลอื ดเยน็ ส่วนใหญ่ออกลูกเปน็ ไข่ทไ่ี มม่ ีเปลือกมแี ต่สารวุน้ ห่อห้มุ

สัตวส์ ะเทินนา�้ สะเทนิ บกเป็นสตั ว์มกี ระดูกสันหลงั ( ertebrate) จ�าแนกออกเป็นกล่มุ
ใหญ่ ๆ 3 กลมุ่ ตามรูปรา่ งที่แตกต่างกนั อย่างชดั เจน กลมุ่ แรกเป็นกลมุ่ ทค่ี ุ้นเคยกนั ดี คอื กลุม่ ของกบ
เขยี ด คางคก และอง่ึ อ่าง (Anurans) มสี ่ีขา โดยขาหน้าสน้ั กว่าขาหลัง หวั ส้นั ทู่ ไม่มีคอ ไม่มีหาง
ตาโปน มีทงั้ ผวิ เรยี บและผวิ ขรขุ ระ ผวิ ลน่ื และผิวแห้ง มีและไม่มีพังผืดระหว่างนิ้ว กลุ่มทส่ี องเปน็ กลุ่ม
ของเขยี ดงู (Ceacilians) รปู ร่างคลา้ ยงู ลา� ตวั ยาว ไม่มรี ยางค์ หางส้ันมาก หัวและหางทู่ ผิวเป็นเมอื ก
ลื่น พบเหน็ ค่อนขา้ งยาก เนอื่ งจากสว่ นใหญ่ใชช้ ีวติ อยใู่ ต้ดนิ และกลมุ่ สุดท้ายเปน็ กลมุ่ ซาลาแมนเดอร์
(Salamanders) รปู รา่ งคล้ายจงิ้ จก มขี าสน้ั สขี่ า ล�าตัวแบน และมีหางยาว พบอยูต่ ามยอดเขาทมี่ ี
อากาศหนาวเย็น

ในประเทศไทยพบสัตวส์ ะเทนิ น�้าสะเทนิ บกแลว้ ประมาณ 170 ชนิด สว่ นในป่าห้วยขาแขง้
จากการส�ารวจและการตรวจเอกสารพบ 48 ชนิด

1010 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

Anurans กลุ่มของกบ เขียด คางคก

และอ่งึ อา่ ง ทว่ั โลกพบแลว้ ประมาณ
6,601 ชนดิ ประเทศไทย 151 ชนดิ ห้วย
ขาแขง้ 47 ชนิด

Ceacilians กล่มุ ของเขยี ดงู ทว่ั โลก

พบแลว้ ประมาณ 205 ชนดิ ประเทศไทย
7 ชนดิ ห้วยขาแขง้ 1 ชนิด

Salamanders กลมุ่ ซาลาแมนเดอร์

ท่ัวโลกพบแล้วประมาณ 698 ชนิด
ประเทศไทย 5 ชนิด หว้ ยขาแข้งยังไมม่ ี
รายงาน แต่คาดวา่ ถา้ สา� รวจอย่างจรงิ จัง
นา่ จะมโี อกาสพบ

浄 Çʏ Ðà·Ô¹¹้ํÒÊÐà·¹Ô º¡ ˌǢÒᢧŒ 1111

ชีววิทยา อึ่งกรายลายเลอะ
ปาดเขียวตีนลาย
ตา - ทา� ไมสัตวส์ ะเทินนา้� สะเทนิ บกมักมตี า เขยี ดงูเกาะเต่า

ขนาดใหญ?่

ตาของสตั ว์สะเทนิ น�า้ สะเทินบกเกอื บท้ังหมด
มขี นาดใหญ่เม่อื เทียบกับขนาดของหวั เนอ่ื งจากพวก
มนั เป็นสตั ว์กินเน้อื ทใี่ ช้ตาในการหาเหยือ่ รูปร่างท่ีไม่มี
คอไม่สามารถหันหวั ได้ ตาจึงตอ้ งมีมมุ มองทก่ี ว้าง และ
สว่ นใหญ่ออกหากินเวลากลางคืน ดวงตาต้องใหญ่และ
เปิดได้กว้างเพ่อื รับแสงใหไ้ ดม้ ากทีส่ ดุ ตา� แหน่งของตา
มกั จะอยู่ด้านบนของหวั เพ่ือใหม้ องเหน็ ไดข้ ณะหมอบ
ซ่อนตวั อยใู่ ตว้ สั ดุต่าง ๆ หรอื ใตผ้ วิ น้า� ตาของพวกกบ
จะมีแผ่นเยื่อบางใสขยับได้จากด้านลา่ งขน้ึ บน ส�าหรับ
ปกปอ้ งดวงตาขณะวา่ ยน�้า ขณะท่ีตาเร่มิ แหง้ หรอื เพือ่
ทา� ความสะอาด
รมู า่ นตามีหลายรปู แบบ ไดแ้ ก่
1. รมู า่ นตากลม มกั เป็นตาของพวกท่ีสามารถหากิน
เวลากลางวนั ได้ เพราะรูมา่ นตาแบบนี้จะสามารถปดิ
ไดแ้ คบและรวดเรว็
2. รูม่านตาแนวตงั้ รมู ่านตาแบบนี้จะสามารถขยายได้
กวา้ งกว่าแบบกลม มองเห็นในทม่ี ดื ไดด้ ี และมองเห็น
การเคล่ือนไหวในแนวนอนได้ดี เชน่ แมลงทีเ่ ดนิ ตาม
กิ่งไม้
3. รมู ่านตาแนวนอน ท�าให้สามารถมองเห็นการ
เคล่ือนไหวแนวต้งั ไดด้ ี เช่น แมลงที่ไต่ตามลา� ตน้
4. รมู ่านตารปู รูกญุ แจ เป็นตาที่เหมาะส�าหรับมอง
เหย่อื ท่มี ีขนาดเล็กและเคล่ือนท่ีเรว็
สว่ นพวกทอ่ี าศยั อยู่ใต้ดินอยา่ งกลมุ่ เขยี ดงู มีดวงตาท่ี
เลก็ มาก อยู่ใตผ้ วิ หนงั และรบั รู้ได้เพยี งความมืดความ
สวา่ งเท่านั้น

1212 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

ปาดตีนเหลอื ง หู - สัตว์สะเทนิ น้�าสะเทนิ บกไดย้ ินเสียงหรือไม?่
กบนา หูเปน็ ส่วนทส่ี า� คญั ในการฟังเสยี งทสี่ ่ือสารกัน พบ
ไดช้ ดั ในกล่มุ กบ หูของกบไมม่ ีใบหู รปู ร่างเปน็ แผน่ กลมแบน
ราบไปกบั ด้านขา้ งของหัวในตา� แหนง่ หลงั ตา เรยี กวา่ แผ่นหู
บางชนิดมหี นงั หมุ้ ทบั บางชนดิ มสี นั นูนอยเู่ หนอื แผ่นหู ใต้
แผน่ หเู ปน็ ช่องหูชนั้ กลางทีม่ กี ระดกู เล็ก ๆ 2 ชน้ิ คอื กระดูก
คอลิวเมลลาใชร้ บั ฟังคล่นื เสยี งในอากาศ และกระดกู โอ
เพอควิ ลมั ท่ีเชือ่ มต่อกับกระดกู หวั ไหลแ่ ละกล้ามเน้ือใช้รับ
ฟงั คล่นื เสียงคล่นื ความถ่ตี ่�าในอากาศและแรงสั่นสะเทือน
บนพ้ืนดนิ สง่ ต่อไปยังหูชน้ั ใน ซึง่ เปน็ กระดกู ทม่ี ีของเหลว
ภายในรับแรงส่ันสะเทอื นแปลงเป็นสัญญาณไฟฟ้าสง่ สู่สมอง

ซาลาแมนเดอร์และเขียดงไู ม่มแี ผน่ หูและไมม่ ี
ชอ่ งหูชน้ั กลาง แตห่ ูชั้นกลางของซาลาแมนเดอรส์ ่วนใหญ่
มกี ระดูก 2 ชิน้ ส่วนเขยี ดงแู ละซาลาแมนเดอรบ์ างชนิดมี
เพยี งกระดกู คอลวิ เมลลาชิน้ เดียว

ดงั นน้ั สัตวส์ ะเทินน�้าสะเทินบกจงึ สามารถไดย้ นิ
เสียงทผ่ี า่ นอากาศและแรงส่นั สะเทือนในพื้นดนิ ได้

กะทา่ งเหนือ

ÊµÑ ÇÊÐà·Ô¹¹้ํÒÊÐà·Ô¹º¡ ËÇŒ ¢ÒᢧŒ 1313

ปาดลายเลอะภเู ขา จมูก - สัตวส์ ะเทนิ น�า้ สะเทนิ บกมีจมกู หรอื ไม?่
จมกู ของสัตวก์ ลมุ่ นี้มี 2 รู อยู่ด้านหน้าสดุ ของ
หัว มแี ผ่นหนังเล็ก ๆ สา� หรบั ปิดเปดิ ได้ จมกู มคี วาม
สา� คัญส�าหรับการหายใจและการดมกลนิ่ โดยเฉพาะยาม
หาคู่ ซ่งึ สามารถสอ่ื สารด้วยกลิ่นไดไ้ กลกวา่ การใชเ้ สยี ง
และการมองด้วยตา ส่วนใหญ่อวัยวะรบั กล่นิ จะอยู่ใน
ชอ่ งเพดานปาก ทเี่ รยี กว่า “ acobson s organ” เมื่อ
มนั ตอ้ งการดมกลิน่ จึงมกั ยืน่ จมูกและอ้าปาก ส่วนกลมุ่
เขยี ดงนู อกจากใช้จมูกรับกล่นิ แล้วยงั มีหนวด ทีเ่ รียก
“tentacle” ทีอ่ ยู่ระหว่างตากบั จมกู ช่วยในการรับ
กลน่ิ ดว้ ย

ปาดเหนือ

1414 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

ปาก - สตั วส์ ะเทนิ น�้าสะเทนิ บกกินอาหารอยา่ งไร?
ลกู ออ๊ ดส่วนใหญ่กินแพลงค์ตอนพชื และสตั วท์ ่ีแขวนลอยในน�า้ เป็นอาหาร ใชก้ ารอา้ ปากให้
น�า้ ถูกดดู เขา้ ปาก และมตี ่มุ แข็งเรียงเปน็ แถวในปากเพื่อกรองชิ้นสว่ นขนาดใหญ่เข้าหลอดอาหาร และ
ชิ้นส่วนขนาดเลก็ จะถกู กรองอกี ครง้ั ทีเ่ หงอื กโดยมเี มอื กดกั จบั และไหลเขา้ หลอดอาหาร แต่บางชนิด
กก็ นิ สตั ว์อนื่ รวมท้งั พวกเดียวกนั เองด้วย ลูกอ๊อดพวกน้ีมักมจี ะงอยปากเป็นแผน่ ขนาดใหญ่ท่ีมีความ
คม ส่วนตวั เตม็ วยั เป็นพวกกินเนือ้ อาหารหลกั ไดแ้ ก่ สัตวไ์ ม่มีกระดกู สนั หลัง โดยเฉพาะแมลง สตั วข์ อ้
ปล้อง ไส้เดือน หอย บางตวั กินสตั ว์ขนาดใหญ่ เช่น หนู ลูกนก ปลา กบ และงู เปน็ ตน้ ปากของกบ
มขี นาดกว้าง มฟี ันซีเ่ ล็ก ๆ ขนาดเทา่ ๆ กัน เรยี งบนขากรรไกรบน และเพดานปาก เพื่อใช้จับเหยอื่
โคนลิ้นตดิ อยดู่ ้านหนา้ ของปาก บนขากรรไกรลา่ ง สว่ นปลายลน้ิ มี 2 แฉก อยดู่ ้านในของปาก มีเมอื ก
เหนยี วไวต้ ดิ เหยอ่ื ขนาดของเหยอ่ื จะขึ้นอยกู่ ับขนาดความกว้างปาก ถา้ กบตัวโต ปากกว้าง กจ็ ะ
สามารถกินอาหารได้หลากหลายกว่ากบตัวเล็กหรือพวกกบที่มีปากแคบ เช่นกล่มุ อ่ึง ซงึ่ มกั จะกนิ แต่
แมลงขนาดเลก็ ในโพรงบนเพดานปากยงั มอี วยั วะรับกลิน่ ที่ช่ือ acobson s organ มสี ว่ นชว่ ยในการ
เลือกชนิดอาหารที่กินด้วย ซาลาแมนเดอรใ์ ช้การอา้ ปากเพื่อดูดอาหารเขา้ ปากอย่างรวดเร็วในเวลา
เพียงเสย้ี ววนิ าที ส่วนเขยี ดงตู วั เตม็ วัยมฟี ันยาวโคง้ ทขี่ ากรรไกรบนมฟี ันทง้ั บนขากรรไกรและเพดาน
ปาก ใช้จับและงบั เหย่อื ด้วยความแรงและรวดเรว็

เขียดงูเกาะเตา่

ÊµÑ ÇÊÐà·¹Ô ¹้Òํ ÊÐà·¹Ô º¡ ˌǢÒᢧŒ 1515

เท้าและขา - ทา� ไมสัตวส์ ะเทนิ นา้� สะเทนิ บกมเี ทา้ และ

ขาท่ีหลากหลายแตกต่างกัน?

เทา้ และขาของสตั ว์กลุม่ น้วี ิวฒั นาการมาเพ่อื การกระโดด
และวา่ ยน้�าเปน็ หลัก พวกกบทห่ี ากนิ ตามพน้ื มกั กระโดดไม่ไกล มีขา
หลังสน้ั ใกล้เคียงกบั ขาหนา้ และปลายน้ิวทูเ่ หมาะสา� หรบั การคลาน
ตามพ้ืน พวกหากินตามต้นไมม้ กั มขี าหลังยาวและปลายนิว้ แผเ่ ป็น
แผ่น สา� หรับการกระโดดไกล เท้าหนา้ มีพังผดื เพ่ือเพิม่ พื้นท่ีในการยึด
เกาะและจับยดึ กง่ิ ไมใ้ บหญ้า พวกทข่ี ุดดนิ มกั มขี อบเท้าหลังหนาเป็น
สันคมเหมอื นจอบ

ปาดตีีนเหลือื งใช้้วิิธีีปีน
ปา่ ยขึ้้�นไปยังตี้นไม้้ที่อ�ี ย่�
สูง่ จากพื้น�ื
อ้�งแม้ห� นาวิม้ีขึ้าหลืังยาวิกวิ�าขึ้าหน้าม้าก
กระโดดได้ไกลืเพื้�อื หลืบหลืีกศัตั ีร่

เท้าหลังกบทูด เทา้ หลงั อง่ึ กรายหนงั ปมุ่ เท้าหลงั องึ่ ปากขวด เท้าหนา้ อ่งึ กรายลายเลอะ เทา้ หนา้ ปาดจวิ หลงั ขีด

1616 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

พื้งั ผืืดบรเิ วิณเที่า้ ขึ้องปาดเขึ้ียวิตีีนลืาย เพื้อ�ื ใช้ใ้ นการร�อนจากตี้นไม้ล้ ืงม้ายงั เที่า้ หลืงั ขึ้องปาดลืายเลือะเหนอื ม้พี ื้งั ผืดื ที่ี�น้อยกวิ�าปาดเขึ้ียวิตีนี ลื
พื้ื�น หรอื ลืงม้าเกาะบนไม้ท้ ี่ีอ� ย�ต่ ีา�ำ ลืงม้า อาศััยอย่�ตีาม้เรือนยอด าย อาศัยั อย�ต่ ีาม้พื้ืช้ช้ัน� ลืา� งไม้�สู่งจากพื้�ืนม้ากนกั

ระหว่างนวิ้ ของสตั ว์สะเทินนา�้ สะเทินบกบางชนิดมแี ผน่ หนงั ยดึ ติดกนั เรียกว่า “พังผดื ” มกั พบ
มากท่เี ทา้ หลัง เพอื่ ใช้ในการวา่ ยน�า้ และการรอ่ น สว่ นน้ิวเท้าโดยทว่ั ไปแลว้ เทา้ หน้ามี 4 น้วิ เทา้ หลงั มี 5 นวิ้
และไมม่ ีเล็บ

ซาลาแมนเดอรม์ ีขาหน้าและขาหลงั ยาวเทา่ กนั เพ่ือการคลาน สว่ นเขียดงูไม่มีขา เคล่อื นที่โดยการ
ใชก้ ล้ามเนอื้ หดคลายเปน็ รูปแบบคล่ืน แตถ่ ้าอยใู่ นนา�้ หรอื ท่ชี น้ื แฉะมาก ๆ จะเคลือ่ นไหวคล้ายปลาไหล
ตวั ไม่เต็มวยั มปี ลายหางแบนต้งั แบบหางปลาไหลเพอื่ การอาศยั อยู่ในน้�า

ปลืายนว�ิ ิขึ้องกบลืายหินเหนอื ม้ีลืกั ษณะกลืม้ แบน เพื้ื�อใช้ย้ ด้ เ อ�ง้ ลืายม้ขี ึ้อบเที่้าหลืังหนาเหม้ือนจอบ
กาะก้อนหนิ ตีาม้ลืาำ ธีารที่�มี ้นี ำา� ไหลืแรง เพื้อื� ไวิข้ ึุ้ดดินหลืบซ่อ� น หรอื หม้กตีัวิในช้ว� ิงฤดแ่ ลื้ง

ÊµÑ ÇÊÐà·Ô¹¹้Òํ ÊÐà·Ô¹º¡ ËÇŒ ¢Òᢌ§1717

ผิวหนงั - สัตวส์ ะเทนิ น้�าสะเทนิ บกท�าไมมกั ตวั ล่นื ?
ส�าหรบั มนุษยผ์ วิ หนงั เปน็ ตวั ป้องกนั ระหว่างอวยั วะภายในกบั ส่ิงแวดลอ้ ม แตส่ า� หรับสตั ว์
ในกลุ่มน้ผี วิ หนังเปน็ ตวั กลางระหว่างอวัยวะภายในกบั ส่ิงแวดล้อม น�า้ และอากาศสามารถผ่านเขา้ ออก
ผวิ หนงั ไดต้ ลอดเวลาเพ่อื การหายใจ ส่วนใหญส่ ัตวพ์ วกนีม้ ปี อดขนาดเลก็ จงึ หายใจผ่านผวิ หนงั เป็นหลกั
พวกมนั ไมต่ ้องดืม่ น้�า แตใ่ ชก้ ารดดู ซมึ ผา่ นผวิ บริเวณท้องซง่ึ เป็นส่วนท่บี างท่ีสุดได้ แตข่ ณะเดียวกนั
กส็ ูญเสยี น�้าออกจากร่างกายไดเ้ ชน่ กัน ดังนั้นจึงจา� เปน็ ตอ้ งอาศยั อยใู่ นพื้นท่ีทีม่ ีความชน้ื สงู และมีตอ่ ม
ผลิตเมือกเพ่อื ลดการสูญเสียน�า้ ในอากาศทีแ่ หง้ นั่นจึงเป็นสาเหตุหลกั ทที่ า� ไมสว่ นใหญพ่ วกมันต้องหา
กนิ เวลากลางคนื ในเวลาทไ่ี ม่มีแสงแดด

ผิวหนังมีตอ่ มผลติ เมอื กที่นอกจากใช้ประโยชนเ์ พื่อใหผ้ ิวช่มุ ชน้ื เสมอสา� หรับการหายใจและ
ทา� ใหต้ วั ลื่นส�าหรบั การหลบหนีศตั รูแลว้ บางชนิดยังมีต่อมผลติ น้�าพิษท่ีใชใ้ นการปอ้ งกันตวั จากศัตรู
ด้วย ต่อมเหลา่ นจ้ี ะอยทู่ ่ัวไปตามหวั ตวั และขา ของตวั เต็มวัย ท�าให้ดลู า� ตวั เปน็ ปุ่มปม

ผวิ หนงั ของสตั วส์ ะเทินนา้� สะเทินบกมี 2 ชั้น โดยชนั้ นอกเปน็ ช้ันของกล่มุ เซลลท์ ตี่ ายท�า
หน้าทปี่ กปอ้ งเซลลผ์ ิวหนังช้ันใน และปอ้ งกนั รกั ษาความช้นื ผวิ หนงั ชั้นนอกจะลอกหลดุ เกดิ การลอก
คราบเปน็ คร้งั คราวแตเ่ รามักไม่เหน็ คราบของมันทงิ้ ไวเ้ หมือนกับคราบงหู รอื กิง้ ก่า เนือ่ งจากสัตว์กลมุ่ น้ี
จะกนิ คราบของตวั เอง

องึ่ ป่มุ หลงั ลาย องึ่ กรายลายเลอะ จงโครง่ คางคกบ้าน

กบหนอง กบชะง่อนผาเหนอื อึง่ อา่ งบ้าน อึง่ ขาค�า

1818 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

สขี องสัตว์สะเทินน้�าสะเทนิ บกทีเ่ รามองเหน็ เกิดจากการเรยี งตวั ของเซลลร์ งควัตถุ 3
ชนิด ในชั้นหนงั ใต้ผิว ได้แก่ แซนโทฟอร์ (xanthophore) เปน็ เซลลท์ ีท่ า� ใหเ้ กดิ สีเหลอื ง สสี ้ม หรอื
สีแดง อริ ิโดฟอร์ (iridophore) เปน็ เซลล์ทท่ี า� ใหเ้ กิดการสะทอ้ นแสง หากแซนโทฟอรส์ ีเหลอื งเรยี ง
ซ้อนกบั อริ โิ ดฟอร์ที่สะทอ้ นแสงสนี �า้ เงนิ เราจะเห็นตัวเป็นสีเขยี ว นอกจากนี้สตั ว์สะเทินนา้� สะเทนิ
บกสามารถเปลี่ยนสผี ิวไดด้ ว้ ยรงควตั ถอุ ีกชนิดคือ เมลาโนฟอร์ (melanophore) เปน็ เซลล์ที่
ทา� ใหเ้ กดิ สดี า� สีน�้าตาล หรือสีแดง เมอื่ เมลานินในเมลาโนฟอรร์ วมตัวกันจะทา� ให้เราจะเหน็ สตี วั
จาง แตเ่ ม่อื เมลานินกระจายตัวเราจะเหน็ สีตัวเข้ม สจี างจะช่วยกระจายแสงและความรอ้ นในเวลา
กลางวนั ไมใ่ ห้อณุ หภมู ิรา่ งกายสงู เกินไป สแี ละลวดลายมปี ระโยชน์ในการใช้พรางตวั ให้เข้ากับสิ่ง
แวดล้อม เชน่ บางตวั อาจมีลายเส้นกลางหลังให้เหมือนกับเสน้ ใบของใบไม้ทร่ี ว่ งหล่นตามพืน้ หรอื
ใช้เตอื นภัย เช่นสีสดของซาลาแมนเดอร์ใช้เตอื นศตั รวู า่ มันมีพิษเพอ่ื ลดโอกาสทีจ่ ะถูกกนิ

ผิวสีน้�าตาล และเหลืองสดของปาดตีนเหลอื งและรูมา่ นตาเบิกกวา้ ง ผิวสขี าวซดี ของปาดตีนเหลอื ง และรมู ่านตาหรีแ่ คบ
ยามกลางคืน ยามกลางวนั

สว่ นเขียดงกู ม็ ลี า� ตัวเรยี บลน่ื เชน่ เดียวกบั สตั วส์ ะเทินน้า� สะเทินบกกลุ่มอืน่ ที่ใช้ผวิ หนงั ใน
การหายใจ หลบภยั และมเี มอื กเป็นสารเคมีปอ้ งกันตวั แตผ่ ิวหนังของเขยี ดงมู ีรอยพบั เป็นปลอ้ ง ๆ
ตลอดตวั และใตผ้ วิ หนังของเขยี ดงหู ลายชนดิ มีเกลด็ ขนาดเล็กที่มีลักษณะเดียวกบั เกลด็ ปลา ซงึ่
แสดงถงึ ววิ ัฒนาการท่ใี กลเ้ คยี งกัน

ÊѵÇʏ Ðà·¹Ô ¹ํ้ÒÊÐà·¹Ô º¡ ˌǢÒᢧŒ 1919

วงจรชวี ติ
วงจรชีวติ ของสัตวส์ ะเทนิ นา้� สะเทนิ
บกมีการเปลย่ี นแปลงตง้ั แตแ่ รกเกดิ จนเปน็
ตวั เต็มวยั ทีแ่ ตกตา่ งกนั อยา่ งสนิ้ เชงิ ท้ังรูปร่าง
ระบบการท�างานของร่างกาย และพฤติกรรม
ทเ่ี รียกวา่ “metamorphosis” โดยทว่ั ไป
เมื่อไขไ่ ดร้ บั การผสมจากอสจุ ิ ตวั อ่อนจะเจริญ
ในไข่ระยะหน่ึง ภายใน 2-3 สปั ดาหจ์ ะมกี าร
เจรญิ พฒั นาอยา่ งรวดเรว็ จนกลายร่างเปน็
ลูกอ๊อด ซงึ่ มรี ูปร่างคล้ายปลา เนอื่ งจากตอ้ ง
อาศัยอยใู่ นน้�า หวั มขี นาดใหญ่ มหี างส�าหรบั
การวา่ ยนา้� และมีเหงอื กส�าหรับการหายใจ
มนั ใชเ้ วลาท้งั หมดเพือ่ การกนิ และการเจรญิ
เติบโต จากน้ันจึงมกี ารเจรญิ ของขาหลงั ตาม
ดว้ ยขาหนา้ ตอ่ มาปอดเจริญข้นึ พร้อมกับหาง
ทหี่ ดส้ันลง จนกระทัง่ มรี ูปร่างคล้ายตัวเต็มวัย
ยกเวน้ ซาลาแมนเดอร์ทย่ี งั คงมีหาง และเริม่
ขนึ้ จากน้�ามาอย่บู นบก โดยใช้เวลา 1-2 เดอื น
ในการพัฒนาจากลกู ออ๊ ดจนเป็นตวั เตม็ วัย
ท้งั นร้ี ะยะเวลาขน้ึ อยู่กบั อุณหภมู ขิ องน�้าและ
อาหาร เม่อื โตเตม็ ที่แลว้ จะจบั คตู่ ามแหล่งน้า�
เพ่ือผสมพันธุ์วางไขต่ ่อไป
2020 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

ÊµÑ ÇÊÐà·¹Ô ¹Ò้ํ ÊÐà·¹Ô º¡ ËÇŒ ¢Òᢌ§2121

ครึ่งชีวติ ในน�า้

ก่อนทจ่ี ะโตไปเปน็ กบตวั เตม็ วยั กบส่วนมากมักผา่ นวัยออ่ นทีอ่ าศยั อยู่ในน�้า หรอื ที่เราเรยี กว่า
“ลกู อ๊อด” หรือ “ฮวก” ในภาษาอีสาน ส่วนเขยี ดงูตอนเปน็ ตวั ออ่ นมีลกั ษณะคลา้ ยตวั เตม็ วัย เพยี ง
แต่มีหางแบนคล้ายปลาไหลขนาดเล็ก
ลกู อ๊อดของแตล่ ะกลุ่ม มรี ปู ร่างแตกตา่ งกัน
ออกไป เพ่ือปรับตัวใหเ้ ข้ากบั สภาพแวดล้อมทีอ่ าศยั
อยู่ บางชนดิ อยู่รวมกนั เป็นฝงู กว่าหลายรอ้ ยตัว เพ่อื
เลียนแบบฝูงปลา ส�าหรบั พรางสัตวผ์ ลู้ า่ ให้เขา้ ใจว่า
เป็นฝงู ปลา หรือ สตั ว์ขนาดใหญ่ บางชนดิ มจี ดุ แตม้
เปน็ วงสีสดท่บี รเิ วณหาง เพื่อลวงผู้ลา่ ให้เข้าใจผิด
คล้ายกบั ปลาปกั เป้า ซง่ึ เปน็ ปลาท่ีมีพษิ รุนแรง ส่วน
ลกู อ๊อดปาดเขยี วตีนลาย มาก ลกู ออ๊ ดของกบมกั มีสคี ่อนข้างตุน่ เปน็ สีน้�าตาล

หรอื สีน้�าตาลอมเหลือง เพื่อพรางตัวกบั สภาพนิเวศ
ใต้น้า� ทอ่ี าศยั อยู่ ไมว่ า่ จะเป็นรากไม้ เศษใบไมเ้ นา่
เปอ่ ย หรือแมก้ ระท่ังตะไคร่น้า� ท่เี กาะตามหิน แถบ
ฟันของลูกอ๊อดแต่ละชนดิ มีลักษณะแตกตา่ งกันไป
ตามลกั ษณะนิสัยของแตล่ ะชนิด

ลกู อ๊อดอง่ึ ขา้ งดา� และอง่ึ ลายเลอะ อาศัยในพ้นื ทเ่ี ดียวกัน กลุ่มลูกออ๊ ดท่ีกนิ สัตว์ หรือ ล่าสัตว์ขนาด
เลก็ มกั มีแถบฟันคมและแข็งแรงส�าหรบั กดั พวกนี้
ได้แก่ กบนา กบบัว และกลุม่ ปาดร่อนชนดิ ต่าง ๆ
รวมทัง้ ปาดตะปุ่ม

ลูกอ๊อดคางคกบา้ น ลูกอ๊อดปาดแคระขาเรยี ว บนใบไมเ้ หนือล�าธารน้า� ไหล

2222 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

กลมุ่ ลูกอ๊อดทม่ี เี พดานปากย่ืนออกมาคลา้ ย ลูกอ๊อดอง่ึ กรายหว้ ยใหญ่
ถุง กลุ่มนีไ้ ดแ้ ก่ องึ่ กรายห้วยชนดิ ตา่ ง ๆ องึ่ กราย
ข้างแถบ และพวกอ่งึ พวกน้ีมีฟนั ขนาดเลก็ เรียงเป็น ลูกอ๊อดบางชนิดล่าลูกอ๊อดด้วยกันเป็นอาหาร
แถวบนเพดานปาก และสามารถพบั เก็บได้หากไม่ โดยการจ้วงกินเฉพาะบางสว่ น เช่น เขียดทราย ปาดบ้าน
ใชง้ าน อาหารไดแ้ ก่ แพลงคต์ อนพชื และสตั ว์ชนดิ ทง้ั นกี้ บบางชนดิ เจรญิ เตบิ โตภายในถงุ ไขแ่ ละออกมากลาย
ตา่ ง ๆ ทลี่ อยมาตามนา้� บางชนดิ เชน่ อง่ึ แม่หนาว เปน็ กบเล็ก ซึง่ เราเรยี กลักษณะนว้ี า่ “direct develop-
และอึ่งปากขวด มกั ใช้การวา่ ยรวมฝงู แบบปลา เพอ่ื ment” กบกลุ่มนี้มักเลือกท�าเลในการวางไข่ ใต้ร่มไม้ท่ี
ดนั ตะกอนใหล้ อยตัวในนา�้ แลว้ กรองกิน ร่มคร้ึมและมีลักษณะเป็นแอ่งโคลนท่ีชื้นแฉะตลอดเวลา
เพอื่ รักษาความชุ่มช้ืนของไขเ่ สมอ ในช่วงที่ลกู อ๊อดยงั ด้นิ
กลุ่มลูกออ๊ ดท่มี แี ว่นดูดบริเวณอกและปาก อยู่ภายในวุ้นไข่ พ่อกบมกั คอยเฝ้าอยใู่ กล้ ๆ รงั โดยมาก
เป็นกลุ่ม กบลายหิน และ กบชะงอ่ นผาในสกุล รงั มกั เปน็ โพรงเล็ก ๆ กบกลุม่ น้ไี ดแ้ ก่ กบกา และกบใน
Huia ลูกออ๊ ดกลุ่มนี้ มีฟนั ขนาดใหญเ่ ป็นแผงแขง็ ไว้ วงศ์ Ceratobratachidae
ส�าหรับขูดกนิ ตะไครข่ นาดเล็ก บรเิ วณกอ้ นหินที่มนี า้�
ไหลเชี่ยว บางครงั้ อาจพบเกาะกบั วสั ดอุ นื่ ๆ ไดเ้ ชน่
กัน เช่น ใบไม้ หรือ ขอนไมร้ ิมล�าหว้ ย

ลกู ออ๊ ดกบชะง่อนผาธารลอด

ลกู อ๊อดกบหนอง ลกู อ๊อดอ่งึ แม่หนาว อยูร่ วมกันเป็นฝงู คลา้ ยปลา

ÊѵǏÊÐà·Ô¹¹Òํ้ ÊÐà·Ô¹º¡ ˌǢÒᢌ§2323

การสืบพันธุ์
ขณะผสมพนั ธ์ุตัวผจู้ ะขนึ้ คร่อมตวั เมียในตา� แหนง่ ทก่ี น้ อยู่ใกลก้ ันมากที่สุด ส่วนใหญ่ตัวผู้ขนาด
ใหญม่ ักจะเกาะตรงอกเอามือสอดใตร้ ักแรต้ วั เมยี และตัวผู้ขนาดเล็กมักจะเกาะเอว ในช่วงฤดูผสมพนั ธ์ุ
กบบางชนดิ มีความแตกต่างกนั ระหว่างเพศผู้กบั เพศเมีย (dimorphism) อาจมีสี ขนาด หรอื ลักษณะบาง
อยา่ งแตกต่างกนั เชน่ ปมุ่ บริเวณหนา้ อกของกบอกหนาม

การปฏสิ นธิของสัตวส์ ะเทนิ นา�้ สะเทนิ บกสว่ นใหญ่ ออกลูกเป็นไข่ทม่ี ีสารวนุ้ หอ่ หุ้ม โดยไข่และ
น้า� เช้อื ผสมกนั ภายนอกรา่ งกาย โดยทั่วไปไข่ของสตั วส์ ะเทนิ นา�้ สะเทนิ บกมกั มีจา� นวนมากเพื่อให้มีโอกาส
รอดจากการถกู กนิ โดยผ้ลู ่า แต่ก็มีบางพวกท่มี ไี ข่จา� นวนนอ้ ยซึ่งพวกนี้มักมพี ฤตกิ รรมการเฝา้ ดูแลไข่ด้วย

ปาดจวิ หลงั ขดี (Chirixalus doriae) จับคูแ่ ละสรา้ ง ปาดจิวพมา่ (Rohanixalus vittatus) จบั คู่และไขบ่ นใบไม้
ฟองไขบ่ นพชื เหนือเแอ่งน้�าชว่ั คราว ใบหญ้าเหนือแอง่ น�้าชวั่ คราว อยู่ไม่สูงจากพืน้ มากนัก

2424 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

คางคกหวั ราบ (Ingerophrynus macrotis) ผสมพันธุ์ในแอ่งน�า้ หลงั ฝนตก ตวั ผ้ซู ง่ึ ช่วงนจ้ี ะมีสเี หลอื งสด กา� ลงั แย่งกันผสมพันธุ์กับตัว
เมีย บางคร้งั อาจท�าให้ตวั เมยี ขาดอากาศหายใจ และตายได้

ซาลาแมนเดอรใ์ ชฟ้ โี รโมนซึง่ เป็นสารเคมีทผี่ ลิตจากตอ่ มผลิตเมือกตามตัวเพื่อเรียกตวั เมีย
สว่ นใหญม่ กี ารผสมพนั ธ์ภุ ายในตวั โดยตัวผูจ้ ะถ่ายถงุ น�้าเชอื้ ทเี่ รียกวา่ “spermatophore” ออกมา
ตดิ วัสดใุ นนา้� จากนน้ั ตัวเมยี จะใชท้ วารรว่ ม (cloaca) หนบี เขา้ ไป เมอ่ื ไข่ถูกผสมแล้วจงึ ขับออกมา
ทางทวารร่วม วงจรชีวติ แทบไมต่ ่างจากพวกกบ เพียงแตส่ ว่ นหางเจริญดีจนถึงระยะตัวเต็มวัย

เขยี ดงูมกี ารผสมพนั ธุ์ภายใน โดยตวั ผู้มหี ลอดยาวทเี่ รียก “phallodeum” ส�าหรับสอด
เข้าไปในชอ่ งทวารร่วมของตวั เมีย เขยี ดงจู ะผสมพนั ธุ์กันครั้งละ 2-3 ชว่ั โมง มเี ขยี ดงู 25 เปอร์เซ็นต์
ที่ออกลกู เปน็ ไข่ ไขข่ องเขียดงูมีลักษณะกลม สีขาวออกเหลืองขุ่น มสี ่วนท่ยี ืน่ ออกมาพนั กนั จน
เปน็ กลุม่ ไข่ เขียดงูกลมุ่ นตี้ ัวเมียจะเฝา้ ดูแลไข่โดยการใชต้ ัวพันรอบกล่มุ ไข่อยู่ใต้ดนิ และมีเขยี ดงู 75
เปอรเ์ ซน็ ต์ ที่ออกลกู เป็นตัว ในประเทศไทยพบแต่ชนดิ ท่ีออกลกู เปน็ ไข่เท่านัน้

ÊѵÇʏ Ðà·Ô¹¹้Òํ ÊÐà·Ô¹º¡ ˌǢÒᢧŒ 2525

ปาดแคระขาเรยี ว (Gracixalus seesom) กา� ลงั ส่งเสยี งร้องที่คลา้ ยเสียงแมลง อยบู่ นใบไม้เหนือล�าธารในปา่ ดิบเขาที่
หนาวเยน็

2626 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

การรอ้ ง ปาดแคระป่า (Raorchestes parvulus) ตวั เลก็ แต่
การรอ้ งเปน็ การสอ่ื สารหลกั ทางหนง่ึ ทพี่ วกกบใช้ สามารถสง่ เสยี งร้องท่ีดงั กงั วานไปได้ท่ัวทั้งปา่
เรียกตัวเมยี ในชว่ งผสมพันธ์ุ สว่ นใหญ่กบทั้งตัวผูแ้ ละตวั เมยี
มกี ลอ่ งเสยี งอยู่ในลา� คอ แต่เฉพาะตวั ผู้ท่มี ีกลา้ มเนอื้ ท่ีทา� ให้
อากาศส่นั สะเทือนจนเกดิ เสียงดังได้ ตวั ผู้มหี นังท่โี ปง่ ได้อยู่
บรเิ วณล�าคอ เรยี ก “vocal sac” เพอื่ แปลงเสียงจากกลอ่ ง
เสยี งให้ดังออกมาในอากาศ พวกทอี่ าศยั อยู่ในนา�้ มกั จะมี
vocal sac สองข้างใชร้ อ้ งขณะลอยคอในน้�า สว่ นพวกทีอ่ ยู่
บนบกมกั จะมี vocal sac ใต้คางอันเดียว สว่ นซาลาแมน
เดอรแ์ ละเขียดงสู ่งเสียงรอ้ งไมไ่ ด้เพราะไม่มกี ล่องเสยี ง

องึ่ น�้าเต้า (Microhyla mukhlesuri) รอ้ งระงมหลงั จากฝนตกหนัก กบรอ้ งโดยการหายใจเอาลมเขา้ ไป
เป็นอง่ึ ทพ่ี บได้ท่ัวไป และมปี ระชากรค่อนข้างมาก ตัวเลก็ มักร้อง ในปอด จากน้ันจงึ ปิดปากและรจู มกู ใหล้ มผา่ น
หลบอย่ใู ต้ใบไมห้ รอื กอหญ้าตามพ้ืน กลอ่ งเสยี ง ท�าใหเ้ ส้นเสยี งท่อี ยูภ่ ายในกล่องเสยี ง
สั่นเกิดเป็นคลนื่ เสยี งผา่ นเข้าไปในถุง vocal sac
ทโี่ ป่งออกเพอ่ื ขยายเสยี งให้ดงั กบแตล่ ะชนดิ จะมี
เสยี งร้องเฉพาะตวั โดยมจี งั หวะและความถ่เี สยี ง
แตกต่างกัน เพอื่ ป้องกันการผสมขา้ มพันธุ์ กบ
ตวั ผ้จู ะส่งเสียงดงั และถีเ่ พื่อใหต้ วั เมียจับทิศทาง
ของเสยี งไดใ้ นความมดื และกระโดดมาหา แต่ก็
มีตัวผูท้ มี่ ีขนาดเล็กบางตัวท่ีเลอื กอย่เู งยี บ ๆ ใกล้
กับตัวผทู้ ีส่ ง่ เสียงดัง เมื่อตัวเมียเขา้ มาใกลก้ จ็ ะมี
โอกาสผสมพนั ธ์ุไดเ้ ช่นกนั

ÊѵǏÊÐà·¹Ô ¹้ํÒÊÐà·¹Ô º¡ ˌǢÒᢧŒ 2727

การป้องกนั ตัว ลายบนตัวของปาดลายเลอะเหนือ คล้ายกับไลเคน เพือ่
สตั ว์สะเทนิ นา�้ สะเทนิ บกนัน้ เปน็ อาหารของ พรางตัวใหเ้ ข้ากบั กง่ิ ไม้
สตั ว์อืน่ แม้แต่พวกเดยี วกันเองในทุกชว่ งของชวี ิต ทง้ั
ระยะไข่ ลูกอ๊อด และตวั เตม็ วยั พวกมนั ไม่มีกรงเลบ็
ไวป้ อ้ งกนั ตัวอยา่ งสัตว์อ่ืน มีแต่การกดั ซ่งึ ไม่ค่อยมีผล
ตอ่ ผ้ลู ่า ทที่ า� ได้คือการกระโดดหนโี ดยอาศัยปัสสาวะ
รดตวั ที่มีเมือกให้เกดิ ความลน่ื และทใี่ ช้บอ่ ยที่สดุ คง
เปน็ การหลบซอ่ นตัว หรอื การพรางตวั ตามทต่ี า่ ง ๆ
สว่ นใหญ่มักจะมสี แี ละลวดลายกลมกลืนกบั พ้นื ผิวที่
พวกมนั อาศัยอยู่ เช่น เส้นกลางหลังทีด่ ูเหมือนเส้น
กลางใบของใบไม้ ลวดลายเลอะทท่ี �าใหด้ สู บั สน บาง
ชนิดมสี เี ตือนภยั อย่างซาลาแมนเดอร์ท่มี ีหางสสี ม้ สด
ไว้ชูขึน้ เพอ่ื บอกวา่ มันมพี ิษ ขณะที่บางตวั มกี ารเลียน

อ่งึ ปมุ่ หลงั ลาย มีวงสดี า� สองวงคล้ายดวงตา เพอ่ื หลอกใหศ้ ัตรกู ลวั แบบสีของสัตว์ท่ีมพี ิษ ทั้ง ๆ ทต่ี วั เองไม่มพี ษิ
แถมอึ่งชนดิ น้ยี งั มีเมือกเหนยี วเอาไว้ป้องกันตวั อกี ด้วย หรอื บางชนิดตัวเองกม็ ีพษิ ดว้ ยเช่นกัน หลาย
ชนิดมีการปอ้ งกนั ตวั ในรปู แบบพฤตกิ รรมที่
ทา� ใหศ้ ตั รูสบั สน เชน่ การพองตวั ให้ดใู หญ่
การมลี ายจดุ คล้ายตาของสัตว์ใหญ่ท่ดี า้ นทา้ ย
ตวั และการทา� ตัวแข็งเพอ่ื แกล้งตาย สิง่ ท่ใี ช้
ป้องกนั ตัวไดด้ ีและมปี ระสทิ ธภิ าพอีกอยา่ ง
คอื พษิ ทีอ่ ยู่ในตอ่ มตามผิวหนังนั่นเอง ซ่งึ บาง
ชนิดมีพษิ ร้ายแรงท่ที �าให้คนตายได้ แต่มนษุ ย์
สามารถจับได้หากจบั อยา่ งเบามือเพื่อไม่ให้
มันตกใจ

2828 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

นอกจากนีย้ งั มีพฤตกิ รรมการป้องกันตัวจาก คางคกบา้ น มีตอ่ มพษิ ทีร่ ้ายแรง ไว้ป้องกันตัวเองจากศตั รู
สภาพอากาศในธรรมชาติ อย่างในช่วงฤดแู ล้งส่วนใหญ่
พวกมันจะหมกตวั อย่ใู ตด้ นิ เพื่อหนคี วามแห้งแลง้ โดย
กอ่ นจะเข้าสูฤ่ ดแู ล้งมนั จะกนิ อาหารและสร้างไขมันใน
ร่างกายให้มากท่ีสดุ เพ่อื ใช้ระหวา่ งการหมกตัวในฤดู
แล้ง ถงึ แมส้ ัตว์สะเทินน้�าสะเทนิ บกจะมีต่อมผลติ เมอื กท่ี
ป้องกนั เชือ้ โรคได้ แตก่ ระนั้นสตั วก์ ลมุ่ น้กี ็ยังมีโอกาสเจบ็
ปว่ ยจากการตดิ เชื้อไวรสั แบคทีเรยี เช้ือรา และพยาธิ
ตา่ ง ๆ จากนา�้ เสียและอาหารติดเช้อื

ปาดตะป่มุ เลก็ หงายทอ้ งงอเทา้ ทา� ตัวเกร็งแกล้งตาย หรืออาจทา� ให้ ปาดเขยี วตนี ลาย ทา� ตัวแนบไปกับใบไมเ้ พ่ือพรางตวั เอง
เหมอื นมลู ของนก

อง่ึ อ่างบ้าน ท�าตวั พองใหใ้ หญข่ ึน้ เพือ่ ขู่ศัตรู อึ่งปากขวด ขุดดินหมกตวั อยูใ่ นดิน เพอื่ ความอยรู่ อด
ช่วงฤดูแลง้ และหลบศัตรู

ÊµÑ ÇÊÐà·¹Ô ¹้Òํ ÊÐà·Ô¹º¡ ˌǢÒᢌ§2929

ถน่ิ อาศยั
สถานทที่ ีเ่ ราสามารถหาสตั ว์สะเทนิ น้า�
สะเทินบกพบมตี ั้งแต่ใตด้ นิ จนถึงยอดไม้ แตท่ ี่ส�าคญั
ตอ้ งมคี วามชุ่มชนื้ อยพู่ อสมควรแก่การอย่รู อดของ
พวกมัน แบ่งเปน็ ถนิ่ อาศยั ในน้า� และถ่นิ อาศยั บน
บก บางชนดิ อาจพบเฉพาะแหลง่ อาศัยแบบเดียว
แตก่ ็มหี ลายชนดิ ทีป่ รบั ตวั อาศัยอย่ไู ด้หลากหลาย
พ้นื ท่ี

ถ้าเราตอ้ งการหาสตั ว์กลุม่ นี้ในน้�า เราจะ
พบพวกกบไดท้ งั้ ในน�า้ น่ิง เช่น หนอง บึง บ่อ นาข้าว
แอง่ น้า� ขงั และในน้า� ไหล เชน่ ห้วย ล�าธาร น้�าตก
แกง่ หิน และหาดทราย ท้ังนมี้ ักพบในนา้� จดื ส่วน
ในนา�้ เคม็ หรือน�้ากรอ่ ยของประเทศไทยจะพบเพียง
ชนิดเดยี วคือ กบน�้ากรอ่ ย เทา่ นั้น

บนบกเราจะพบพวกเขียดงู อึง่ และกบ
หลายชนดิ ได้บรเิ วณใต้ดนิ ทีร่ ว่ นซยุ และมคี วามชื้น
สูง ตามพ้นื ท่ีปกคลุมดว้ ยตน้ หญ้า ใบไม้ ท่อนไม้
หรือก้อนหิน แม้แตต่ ามถนนท่ีมันมักขน้ึ มาหลังฝน
ตกหนกั กลุ่มปาดพบได้ตามต้นหญ้า ในพ่มุ ไม้ โพรง
ไม้บนตน้ ไม้ และตามก่งิ ไม้ ใบไมท้ อ่ี ยู่บนเรือนยอด
สงู ๆ ส่วนกะทา่ งสามารถพบได้ตามแอ่งน�้า ลา� ธาร
บนเขา และตามพ้นื ขณะที่มีความชืน้ สงู มาก ๆ
3030 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

ÊµÑ ÇÊÐà·¹Ô ¹Ò้ํ ÊÐà·¹Ô º¡ ËÇŒ ¢Òᢌ§3131

โปง่ ดนิ ทีม่ ีน�้าขงั แหล่งผสมพันธวุ์ างไข่

น�้าตก เปน็ แหลง่ ท่ีมักพบกบชะงอ่ นผา กบลายหิน บริเวณใกล้เคียง
อาจพบจงโคร่ง และกบทดู

ลา� ธาร เป็นที่ทพ่ี บกบไดห้ ลากหลายท้ังในนา�้ และตามตล่ิง ต้นไมใ้ นปา่ ดบิ ทีอ่ ากาศหนาวเยน็ ความช้ืนสูง เปน็ ที่อยู่ของกลมุ่
ปาด อาทเิ ชน่ ปาดแคระปา่ ปาดตีนเหลือง ปาดลายเลอะภเู ขา
3232 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

บน ป่าดบิ แล้ง เป็นแหลง่ ทอี่ ยสู่ �าคัญของปาดเขียวตีนลาย ปาดตนี เหลอื ง ในโพรงไม้ทม่ี นี ้�าขงั ยงั เปน็ ทว่ี างไช่ของ ปาดตะป่มุ จนั ทบรุ ี
ลา่ งซ้าย ขวา แอ่งน�า้ ขงั ชว่ั คราวในชว่ งฤดฝู น เป็นแหล่งรวมของสตั ว์กลุ่มนี้ เพื่อจบั คู่ ผสมพันธ์ุ วางไข่ อาทิเช่น ปาดเขียวตีนลาย
ปาดตนี เหลอื ง ปาดลายเลอะเหนอื ปาดจวิ หลังขีด กบหนอง อ่ึงน้�าเต้า อึ้งขา้ งด�า ซงึ่ ถอื เปน็ ระบบนิเวศที่นา่ สนใจ นา่ ศึกษาอย่างยิ่ง

浄 Çʏ Ðà·Ô¹¹ํ้ÒÊÐà·Ô¹º¡ ËÇŒ ¢Òᢌ§3333

ปัจจัยคกุ คาม (ภาพโดย เขตรักษาพนั ธุ์สตั ว์ปา่ หว้ ยขาแขง้ )
กบถือเป็นอาหารโปรตีนอย่างหนงึ่ ของมนุษย์
ที่ผูกพันธ์อยใู่ นวฒั นธรรมการกนิ ของท้องถ่นิ บางแหง่ ไป
แล้ว ส่วนใหญ่เป็นชนิดท่ีมกี ารปรับตวั ให้เข้ากบั แหล่ง
ชุมชนได้ดี มกี ารสืบทอดรุน่ ตอ่ ไปคร้งั ละมากๆ ซง่ึ ไมน่ ่า
จะมีปัญหาดา้ นการลดลงของประชากรมากนกั ยกเวน้
การลา่ มากเกินขนาด แตป่ ัจจยั การคุกคามต่อสตั ว์สะเทนิ
น้�าสะเทินบกหลกั ๆ น่าจะมาจากการเปลย่ี นแปลงการ
ใชป้ ระโยชนท์ ่ีดนิ เปลย่ี นสภาพพนื้ ท่ปี ่าไปเปน็ พ้ืนท่ี
เกษตรกรรมหรือสง่ิ ปลูกสรา้ ง ซง่ึ มีผลตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มที่
จา� เปน็ ตอ่ การด�ารงชีวิตของพวกมัน ทั้งท่ีอยู่ อาหาร
ที่หลบภัย ศตั รู และพน้ื ทผ่ี สมพนั ธ์ุ หายไปอย่าง
กะทนั หันท�าใหช้ นดิ พันธุเ์ ดมิ ในพน้ื ทีล่ ดน้อยสูญหายไป

ปัจจุบันมกี หมายคมุ้ ครองสตั วป์ ่าตามพระ
ราชบัญญตั ิสงวนและคุ้มครองสตั ว์ปา่ พ.ศ. 2535 ซงึ่
คุ้มครองสตั ว์สะเทนิ นา้� สะเทินบกเพยี ง 12 ชนิด ไดแ้ ก่
กบเกาะช้าง กบดอยช้าง กบทา่ สาร กบทูด กบอกหนาม
กะท่าง คางคกขายาว คางคกต้นไม้ คางคกแคระ คางคก
หว้ ยมลายู คางคกหัวเรยี บ และจงโครง่ แตใ่ นความเปน็
จริงการตดิ ตามตรวจจบั ยากต่อการเขา้ ถงึ อยา่ งทนั ท่วงที
และบทลงโทษถอื ได้ว่าไม่รนุ แรง คา่ ปรับนบั วา่ ถกู เมอ่ื
เทียบกบั คา่ เงนิ ในยคุ นี้

นอกจากนย้ี งั มกี ารเปลี่ยนแปลงสภาวะ
แวดลอ้ มของโลก การรกุ รานจากชนดิ พันธุต์ ่างถ่ิน การ
เพิ่มปริมาณการใชย้ า า่ แมลงและสารเคมีท่ีเปน็ พษิ และ
โรคติดเชอื้ อบุ ัติใหม่ ทมี่ ผี ลตอ่ การลดลงของจ�านวนชนิด
และประชากรสัตวส์ ะเทินน�า้ สะเทนิ บก

3434 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

สภาพปา่ ที่ถูกแผว้ ถางเพื่อปลกู พชื เชิงเด่ยี ว เป็นการท�าลายแหลง่ ที่อยอู่ ยา่ งฉับพลัน สง่ ผลตอ่ การลดลงของประชากรสตั ว์สะเทนิ น�า้ สะเทนิ บก

ÊµÑ ÇÊÐà·Ô¹¹้Òํ ÊÐà·¹Ô º¡ ˌǢÒᢌ§3535

พืน้ ที่ศึกษา เขตรักษาพันธสุ์ ัตว์ปา่ หว้ ยขาแขง้

ประวัติความเป็นมา

ปา่ บริเวณลุ่มห้วยขาแขง้ เร่มิ แรกได้เปิดใหบ้ รษิ ทั ไมอ้ ดั ไทยจ�ำกดั เขา้ รบั ท�ำสมั ปทานทำ� ไมต้ าม
สัญญาสัมปทานที่ 84 ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2507 แตพ่ น้ื ทดี่ งั กล่าวเป็นปา่ ปิดด้วยเหตผุ ลทางการเมือง จึงมใิ ห้มี
การอนุญาตใหท้ ำ� ไม้ออก ต่อมาทางราชการไดย้ กเลิกการทำ� ไม้แบบเก่าและได้ปรบั ปรุงจัดทำ� โครงการท�ำ
ไมใ้ หม่ ซงึ่ เปน็ การใหส้ ัมปทานระยะยาวแก่บริษทั ไมอ้ ดั ไทยจ�ำกัดอกี ครง้ั หนึง่ โดยครอบคลุมปา่ โครงการ
หว้ ยทบั เสลา-หว้ ยขาแข้ง มกี ารก�ำหนดระยะเวลา 30 ปี นับตัง้ แตว่ นั ที่ 3 กรกฏาคม พ.ศ. 2513 โดย
แบ่งป่าโครงการดังกล่าวออกเปน็ 10 ตอน แต่ละตอนมี 3 แปลงตดั ฟนั และให้ตดั ฟนั ไม้แปลงละ 1 ปี
ยกเวน้ บรเิ วณทเ่ี ปน็ ล่มุ หว้ ยขาแข้ง โดยได้ถกู กนั พืน้ ทเ่ี ป็นเขตรกั ษาพนั ธส์ุ ตั ว์ปา่
ต่อมาปี พ.ศ. 2528 เรมิ่ มกี ารอนุญาตให้มีการทำ� ไมต้ ามเงื่อนไขสัมปทาน โดยก�ำหนดใหท้ �ำ
เพียง 5 ตอนกอ่ น คือ ตอนท่ี 1, 2, 3, 9 และ 10 โดยไดร้ ะบุใหท้ ำ� ตอนที่ 10 เสร็จภายในในปี พ.ศ.
2530 สว่ นอกี 5 ตอนทีเ่ หลือยงั มไิ ดอ้ นุญาตใหท้ ำ� ไม้ คือตอนที่ 4, 5, 6, 7 และ 8 ซึ่งปา่ ทง้ั 5 ตอนนเ้ี ป็น
พ้ืนทอี่ ยทู่ างใตข้ องล่มุ หว้ ยขาแข้ง
สำ� หรบั พนื้ ท่ที ่ีกันไว้เพ่อื จดั ตั้งเปน็ เขตรกั ษาพนั ธุส์ ตั วป์ า่ นนั้ ปี พ.ศ. 2513 จงึ ไดด้ �ำเนนิ การ
ก�ำหนดแนวเขตและจัดท�ำแผนท่ีสำ� หรับประกาศอาณาเขตเป็นเขตรกั ษาพันธุ์สัตวป์ ่า ซ่งึ พืน้ ท่ีประกาศ
คร้งั แรก ปี พ.ศ. 2515 อย่ใู นท้องท่ีตำ� บลลานสัก อ�ำเภอลานสัก ต�ำบลคอกควาย ตำ� บลแก่นมะกรูด
อ�ำเภอบา้ นไร่ จังหวัดอทุ ยั ธานี และบางส่วนของต�ำบลแม่ละมงุ้ อ�ำเภออมุ้ ผาง จังหวัดตาก รวมเนือ้ ท่ี
ครัง้ แรกประมาณ 1,631 ตารางกโิ ลเมตร
ตอ่ มากรมป่าไมเ้ ห็นว่าพ้ืนที่ท่ีต่อเน่อื งบางส่วนเปน็ ปา่ ทส่ี มบูรณ์อยู่ อกี ทง้ั มสี ตั ว์ป่าเป็นจ�ำนวน
มาก และสภาพพื้นท่สี ว่ นใหญเ่ ป็นภเู ขาสูงชนั ยากต่อการท�ำไม้ โดยเฉพาะพ้ืนท่สี ัมปทานตอนที่ 2
บริเวณลุม่ หว้ ยทับเสลา รวมไปถงึ ทางตอนใตข้ องลุม่ หว้ ยขาแข้งซง่ึ เปน็ พื้นทที่ ีม่ ีสตั วป์ า่ ชกุ ชุม อีกทั้ง
พนื้ ทสี่ ัมปทานทำ� ไมต้ อนที่ 4, 5, 6, 7 และ 8 ยังเป็นพ้นื ทท่ี ีไ่ ม่มีการทำ� ไม้ จงึ มกี ารผนวกเพมิ่ เข้ากบั เขต
รักษาพนั ธส์ุ ัตวป์ า่ ในปี 2529 ซ่ึงมีเนือ้ ท่ีเพิ่มอีกประมาณ 943.64 ตารางกโิ ลเมตร ตอ่ มาได้ผนวกพ้นื ที่
รอบนอกเพิม่ อีก 205.50 ตารางกิโลเมตร รวมพื้นทีเ่ ขตรกั ษาพนั ธส์ุ ตั ว์ปา่ ห้วยขาแข้งทง้ั หมด 2,780.14
ตารางกโิ ลเมตร ซ่ึงนับวา่ เปน็ พ้นื ทอ่ี นุรกั ษท์ ี่มขี นาดใหญ่ อีกทงั้ เป็นพ้นื ทีป่ ่าทม่ี ีอาณาเขตตดิ กบั ปา่
อนรุ ักษอ์ ่นื ๆ ในบริเวณใกล้เคยี ง จนท�ำใหเ้ ขตรักษาพันธ์ุสัตว์ปา่ ห้วยขาแข้ง มคี วามหลากหลายท้งั พันธุ์
พืชและสัตวป์ ่าสูง ซึ่งทางยูเนสโกไดใ้ หค้ วามสำ� คญั ต่อผนื ป่าแห่งน้มี ากจนไดต้ ั้งเป็นมรดกทางธรรมชาติ
ของโลกขน้ึ เป็นครั้งแรกของภูมภิ าคเอเชียอาคเนยเ์ มอื่ เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2532 ในนามของเขตรักษา
พันธุ์สตั วป์ า่ ท่งุ ใหญ่นเรศวร-หว้ ยขาแขง้ ใหเ้ ปน็ ปา่ อนุรักษท์ ่ีสมบูรณส์ ืบต่อไป

36 3A6MPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

ท่ตี ั้งอาณาเขตพืน้ ท่สี �ารวจ เขตรกั ษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแขง้

ÊµÑ ÇÊÐà·Ô¹¹้Òํ ÊÐà·¹Ô º¡ ËÇŒ ¢Ò3á¢7Œ§ 37

38 3A8MPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

สถานท่ตี ัง้ และอาณาเขต 39

เขตรักษาพนั ธุ์สตั วป์ า่ หว้ ยขาแขง้ มีพนื้ ทคี่ รอบคลมุ อยทู่ างตะวนั ตกของ
จงั หวดั อุทัยธานใี นทอ้ งท่ีตำ� บลคอกควาย ตำ� บลแกน่ มะกรูด อำ� เภอบา้ นไร่ ต�ำบล
ทองหลางของกิง่ อำ� เภอห้วยคต ต�ำบลหว้ ยระบำ� ต�ำบลปา่ ออ้ อำ� เภอลานสกั และ
บางส่วนของจังหวดั ตาก ในเขตต�ำบลแม่ละมุ้ง อำ� เภออุ้มผาง ซึ่งตงั้ อยรู่ ะหว่างเส้น
รงุ้ ท่ี 15 องศา 50 ลปิ ดา เหนือ และเสน้ แวงที่ 99 องศา ถึง 99 องศา 20 ลปิ ดา
ตะวนั ออก รวมเนอื้ ทีท่ ้งั หมด ประมาณ 2,780.14 ตารางกโิ ลเมตร หรอื ประมาณ
1,737,587 ไร่ มอี าณาเขตตดิ ต่อ
ทิศเหนือ ตดิ แนวเขตจงั หวดั นครสวรรค์ และห้วยแมล่ ะมงุ้ ใต้ อำ� เภออมุ้ ผาง
จงั หวัดตาก
ทศิ ใต้ ห้วยหนิ ตั้งและหว้ ยโปง่ อำ� เภอบ้านไร่ จงั หวดั อทุ ยั ธานี
ทิศตะวนั ออก หว้ ยทบั เสลา ห้วยสองทาง อำ� เภอลานสกั และสนั เขาใหญ่
เขาน�้ำเย็น จงั หวดั อทุ ยั ธานี
ทศิ ตะวนั ตก ห้วยแมล่ ะมงุ้ ใต้ อ�ำเภออุ้มผาง จงั หวัดตาก และเขตรกั ษาพนั ธุ์
สตั วป์ า่ ทุง่ ใหญ่นเรศวร

สภาพภูมิประเทศ

เปน็ เทือกเขาท่ีสลบั ซบั ซอ้ น ยอดเขาทส่ี งู ทส่ี ดุ คอื “ยอดเขาปลายหว้ ยขา
แข้ง” เขตรกั ษาพนั ธ์ุสัตวป์ ่าห้วยขาแข้งครอบคลุมพื้นท่สี ่วนหนึ่งของเทอื กเขาถนน
ธงชยั ประกอบด้วยสนั เขาน้อยใหญ่หลายสันเขาดว้ ยกนั โดยเฉพาะทางตอนเหนือของ
พ้นื ทจี่ งั หวดั ตาก สภาพภูมิประเทศลาดเทไปทางตอนใต้ และมที ีร่ าบไม่กวา้ งขวาง
มากนกั ริมสองฝงั่ ลำ� หว้ ยขาแขง้ มียอดเขาทส่ี �ำคัญ ได้แก่ ยอดเขาปลายหว้ ยขาแข้ง
(สูง 1,678 เมตร) อยูต่ อนบนสดุ ของพ้ืนที่ ยอดเขาใหญ่ (สูง 1,554 เมตร) อยดู่ า้ น
ตะวันออกของพ้นื ที่ ยอดเขาน้�ำเย็น (สูง 1,530 เมตร) อย่ทู างใตข้ องยอดเขาใหญ่
ยอดเขาเขียว (สงู 1,347 เมตร) อย่ทู างตอนเหนอื ของยอดเขาใหญ่ ยอดเขาปลาย
ห้วยนำ้� เยน็ (สูง 1,224 เมตร) อย่ตู อนบนฝง่ั ขวาของพน้ื ที่ ยอดเขาปลายห้วยไทรใหญ่
(สงู 1,253 เมตร) อยู่ตอนกลางชิดเขตรกั ษาพนั ธุส์ ตั วป์ ่าท่งุ ใหญ่นเรศวร ทางตอนใต้
ของพืน้ ท่มี ยี อดเขาส�ำคญั ได้แก่ เขาองเอย้ี ง (ความสงู 1,105 เมตร) เขากะเรีย (ความ
สูง 867 เมตร) เขาองคท์ งั่ (ความสูง 898 เมตร) เขากรงึ ไกร (ความสูง 882 เมตร)
และเขาบันได (ความสูง 729 เมตร) ยอดเขาเหลา่ น้อี ยู่บนทวิ เขาสองเทือกเขาท่ีขนาน
กันไปจากเหนอื ลงใต้ โดยมลี ำ� ห้วยขาแขง้ เปน็ แนวแบ่งตรงกลางพน้ื ที่ มีล�ำหว้ ยท่ี
ส�ำคญั ได้แก่ หว้ ยขาแขง้ มีความยาวประมาณ 100 กโิ ลเมตร ไหลลงสแู่ ม่น้�ำแม่กลอง

สัตวส์ ะเทินน�ำ้ สะเทินบก ห้วยขา3แข9ง้

นอกจากลำ� หว้ ยหลกั ดังกลา่ วแล้วยังมหี ว้ ยแยกขนาดเลก็ ๆ อีกมากมาย แยกขึ้นรบั น�้ำจาก
ทกุ ส่วนของพื้นทหี่ ลายสายท�ำให้ลำ� หว้ ยขาแข้งมีน้�ำไหลตลอดปี
ลกั ษณะล่มุ นำ�้ แบง่ ออกเปน็ 6 สว่ นด้วยกัน คอื ลุม่ นำ�้ ห้วยขาแข้ง ลุ่มน�้ำห้วยทบั
เสลา ลมุ่ น้ำ� หว้ ยระบ�ำ ลมุ่ น้�ำห้วยสองทาง ลมุ่ นำ�้ หว้ ยองค์ท่งั และล่มุ นำ�้ หว้ ยวงิ เนอ่ื งจากมี
พ้นื ท่ีครอบคลุมพ้นื ทล่ี ่มุ นำ�้ ห้วยขาแขง้ ตั้งแตเ่ หนือสดุ ทางฝั่งตะวันตกเป็นสันปันน�้ำของลุม่ น้ำ�
ห้วยขาแข้ง เป็นสาขาหน่ึงทีไ่ หลลงส่เู ขอ่ื นศรีนครินทร์ จงึ มลี ักษณะเหมือนก�ำแพงภูเขาที่
สูงชัน ทงั้ ฝ่ังตะวนั ออกและฝ่งั ตะวนั ตก ทอดยาวจากเหนอื จรดใต้ ยาวประมาณ 100
กิโลเมตร นอกจากน้ียงั มีเขาสูงอกี หลายเทือกทางฝัง่ ตะวันออกของพ้นื ท่ี อนั เป็นแหลง่ ตน้ น�้ำ
ของล�ำห้วยหลายสาย ทีไ่ หลหล่อเลย้ี งพน้ื ท่เี กษตรกรรมในทอ้ งที่ อำ� เภอลานสัก อ�ำเภอ
หนองฉาง อ�ำเภอหนองขาหย่าง และอ�ำเภอห้วยคต จงั หวัดอุทยั ธานี ไหลรวมลงแม่น้ำ� สะแก
กรังลงสูแ่ ม่น�้ำเจ้าพระยา เช่น หว้ ยทับเสลา หว้ ยคอกควาย หว้ ยน้�ำวิง จุดทีส่ งู สุดของพ้นื ที่ คือ
ยอดเขาปลายหว้ ยขาแขง้ อยูใ่ นจังหวดั ตากทอ่ี ย่ทู างตอนเหนอื มรี ะดบั ความสงู จากระดับน้�ำ
ทะเล 1,678 เมตร สว่ นใหญเ่ ป็นภเู ขาบางสว่ นเปน็ ที่ราบเชงิ เขา ไมม่ ที ุ่งหญา้ ขนาดใหญ่

สภาพภมู ิอากาศ

สภาพโดยรวมของพนื้ ทเี่ ขตรักษาพันธส์ุ ตั ว์ปา่ ห้วยขาแข้ง อย่ใู นแนวเชอ่ื มตอ่ ระหวา่ ง
ภมู อิ ากาศในแถบร้อน (Tropical climate) กบั ภมู อิ ากาศในแถบก่งึ รอ้ น (Subtropical
climate) จงึ แบ่งช่วงฤดูกาลเปน็ ชว่ งใหญ่ ๆ 2 ชว่ งคือ ฤดแู ล้ง ระหว่างเดอื นพฤศจิกายนถึง
เมษายน รวม 6 เดอื น โดยเดือนเมษายนเปน็ เดอื นท่ีมอี ากาศรอ้ นมากท่สี ุด และฤดูฝนตงั้ แต่
เดอื นพฤษภาคมถึงตุลาคม รวม 6 เดอื น ชว่ งฤดทู ่ีมีอากาศหนาวจะมีระยะเวลาท่สี ้ันมาก
ไม่เกินเดอื นครงึ่ อยู่ระหว่างเดือนพฤศจกิ ายน ถึงเดือนมกราคมเท่าน้นั โดยในเดือนมกราคม
เปน็ เดอื นทมี่ อี ากาศหนาวเยน็ ท่สี ดุ ซ่งึ ในบางปีมักจะเปน็ ชว่ งเร่มิ ตน้ ของการเกิดไฟปา่ ท�ำให้
มีหมอกควนั ไฟอยทู่ ั่วบริเวณท่เี กดิ ไฟไหม้ ความแปรผนั ของอณุ หภูมิอยู่ในช่วง 6-38 องศา
เซลเซียส มีอณุ หภมู ิสูงสุด 39 องศาเซลเซยี ส ในทร่ี าบ และต่�ำสุด 0 องศาเซลเซียส บริเวณ
ยอดเขา อณุ หภมู เิ ฉลยี่ ทงั้ ปีประมาณ 24.4 องศาเซลเซยี ส ความชน้ื สัมพัทธ์โดยเฉลย่ี ประมาณ
รอ้ ยละ 65-70 ในฤดหู นาว ส่วนใหญ่ในฤดูฝนจะมคี วามชน้ื สัมพัทธส์ งู มาก เนอ่ื งจากการคาย
น้�ำของใบพืชและดินท่ชี ื้นจัด ปริมาณน้�ำฝนมีคา่ เฉลี่ยประมาณ 1,552 มิลลเิ มตรตอ่ ปี โดย
เฉพาะในชว่ งเดือนตลุ าคมมปี รมิ าณฝนมากท่สี ดุ เฉลีย่ สงู ถงึ 370.33 มิลลเิ มตร และปริมาณ
นำ้� ฝนนอ้ ยทีส่ ุดในเดอื นมกราคม แหล่งท่ีมาของฝนสู่พนื้ ที่มาจาก 3 แหลง่ คอื ฝนจากลม
มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ฝนจากอิทธพิ ลของพายุโซนร้อน (Typhoon) และฝนจากรอ่ งความกด
อากาศ (Depression)

40 4A0MPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

สตั ว์สะเทนิ นำ�้ สะเทนิ บก หว้ ยขา4แข1ง้ 41

สภาพทางธรณวี ิทยาและ
ปฐพวี ทิ ยา

หินอนั เป็นตน้ ก�ำเนิดของดนิ ในเขตรกั ษาพนั ธ์ุ
สัตว์ปา่ ห้วยขาแขง้ สว่ นใหญ่เปน็ หินอัคนี (lgneou Rocks)
เกิดในยุคคารโ์ บนเิ ฟอรัส (Carboniferous) หินอนั เปน็ ต้น
กำ� เนดิ ดงั กล่าวพบเหน็ ไดท้ ่ัวไป ในพนื้ ท่ขี องลำ� หว้ ย ยอดเขา
และพน้ื ท่ที ี่ถกู กดั เซาะทกุ แหง่ ส�ำหรับดนิ ในเขตรกั ษาพันธ์ุ
สัตว์ปา่ ห้วยขาแขง้ ค่อนข้างมีความผันแปรมาก ส่วนใหญ่
เปน็ ดนิ ที่เกดิ ในที่สงู ชนั อันเปน็ ผลมาจากการสลายตัวของ
หินในกลุม่ หินอนิ เทอมิเดยี ท หรือหนิ กรด (Intermidiate or
Acid Rocks) ดินที่พบสว่ นใหญ่ ได้แก่ ดินเรด-เยลโล โพด
โซลิก (Red-Yellow Podzolic Soils) เปน็ ดินท่ีคอ่ นขา้ งช้นื
การก่อชัน้ ของดินไมค่ อ่ ยสมบูรณ์ ในบางตอนมีหนิ ท่ีเปน็ ตน้
กำ� เนิดของดนิ โผลห่ รอื ผสมอย่คู อ่ นข้างมาก จึงกล่าวโดย
สรปุ ได้ว่า ดินในเขตรกั ษาพนั ธ์สุ ัตวป์ ่าห้วยขาแขง้ ไม่เหมาะ
สมแกก่ ารทำ� เกษตรกรรม ทั้งนี้ เพราะดินโดยทวั่ ไปมีพืช
อาหารนอ้ ย เก็บความช้นื ได้ไม่ดี เมอ่ื มีการท�ำลายป่าลงผิว
ดินจะถูกกัดเซาะอยา่ งรวดเรว็ และเกดิ แผน่ ดนิ เคล่อื นได้งา่ ย
จึงควรเกบ็ ไวเ้ ปน็ ปา่ ไม้และแหลง่ อนรุ ักษ์สตั ว์ปา่
พื้นท่เี ขตรกั ษาพันธ์สุ ตั ว์ป่าห้วยขาแข้ง เป็นแหลง่
ของพรรณไมถ้ ึง 3 ภมู พิ ฤกษ์ คือ ภูมิพฤกษ์ Indo-China
ภูมิพฤกษ์ Indo-Malayan และภูมิพฤกษ์ Indo-Burma
สังคมพชื เด่นของพ้นื ที่ ไดแ้ ก่ สงั คมป่าดิบ
เขาระดับตำ่� สงั คมปา่ ดิบแล้ง สงั คมป่าเต็งรงั สงั คมป่า
เบญจพรรณแล้ง และสังคมปา่ เบญจพรรณช้ืน นอกจาก
สงั คมหลักดงั กล่าวแลว้ ยงั มีสังคมพืชย่อยที่นา่ สนใจอกี หลาย
สงั คม เชน่ สงั คมผาหนิ กล่มุ ไมส้ นเขา สังคมดอนทรายรมิ
ล�ำนำ�้ และสงั คมปา่ แคระท่ผี ่านการทำ� ลายมาก่อน
42 4A2MPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

สตั ว์สะเทนิ นำ�้ สะเทนิ บก หว้ ยขา4แข3ง้ 43

ลกั ษณะทสี่ ำ� คัญของแต่ละสังคมพชื (สรายทุ ธ, 2559)

ปา่ ดิบเขาต�่ำ (lower montane rain forest)

เปน็ สงั คมพืชทีก่ ระจายในระดับสูง พบในพนื้ ทท่ี ม่ี ีความสงู ตง้ั แต่ 1,000-1,678 เมตร

จากระดับน้�ำทะเล เชน่ บริเวณยอดเขาปลายห้วยขาแขง้ บรเิ วณเทือกเขาเขยี ว เทอื กเขาใหญ่
และเทอื กเขาน้�ำเยน็ ปจั จัยอันเป็นตวั ก�ำหนดสังคม (Limiting Factors) ได้แก่ ความหนาวเยน็
และความชื้น อนั เนื่องมาจากความสงู อุณหภมู ิจึงคอ่ นขา้ งตำ�่ ตลอดปี โดยปกติอุณหภมู จิ ะไมเ่ กิน
20 องศาเซลเซยี ส พันธ์ุไม้ส่วนใหญ่เป็นพันธ์ุไมไ้ ม่ผลัดใบ
ปา่ ดิบเขาต�ำ่ มีเรือนยอดแบ่งออกเปน็ 2 ชนั้
เรอื นยอดชั้นบน เป็นเรือนยอดหลกั เรือนยอดต่อเน่ืองหนาแนน่ มกั สูงไมเ่ กิน 25 เมตร

44 4A4MPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

ความสงู ของเรือนยอดชัน้ บนขึ้นอย่กู ับสภาพ
พน้ื ท่ี โดยทั่วไปมคี วามสงู (12)16-23(25) เมตร
ปา่ ดบิ เขาที่มีพืน้ ทตี่ อ่ เนอ่ื งกบั ป่าดิบแล้งและ
อยู่ในหุบ เรือนยอดชัน้ บนอาจสูง 25-30 เมตร
พนั ธ์ุไม้เรอื นยอดช้ันบนมหี ลากหลายชนิด โดย
ปกตไิ ม่มีพนั ธุไ์ มช้ นดิ ใดเด่นมากเปน็ พเิ ศษ
ยกเวน้ พน้ื ทข่ี นาดเลก็ บางแหง่ อาจพบไมก้ อ่ ขึน้
เป็นกลมุ่ ใหญ่ พันธุไ์ ม้ป่าดิบเขาตอนเหนือของ
พนื้ ทีค่ ่อนข้างแตกตา่ งกับป่าดบิ เขาทางด้านทิศ
ตะวนั ออกค่อนทางใต้ของพ้ืนที่ พนั ธ์ไุ มเ้ รือน
ยอดชน้ั บนของป่าดบิ เขาทางตอนเหนอื ทพี่ บ
ทว่ั ไปประกอบดว้ ย พะอง ทงั เปร้ยี ว หว้ากิ่งคม
หวา้ อา่ งกา ม่นุ จิก เขอื ขืน่ ก่อใบสกลุ Quercus
เชน่ ก่อกระดุม กอ่ ใบรี กอ่ ในสกลุ Lithocar-
pus เชน่ กอ่ หัวหมู ก่อกะโปก ก่อเมน่ กอ่ สกุล
Castanopsis พบน้อยมเี ฉพาะบางพ้ืนที่ ได้แก่
กอ่ เดือย กอ่ ใบเล่อื ม พันธ์ไุ ม้อืน่ เชน่ จ�ำปีป่า
มณฑาแดง มะพลับเขา กัดลิ้นเขา สมุลแว้ง
แหลช่อ แหลตน้ ขาว พนั ธไ์ุ ม้ปา่ ดบิ แลง้ ทพ่ี บใน
ปา่ ดบิ เขา เช่น คอแลน มะค�ำดคี วาย เฉียงพรา้
นางแอ กระทอ้ น กระหนานปงิ พนั ธ์ุไมเ้ บกิ
น�ำทห่ี ลงเหลอื ในเรอื นยอดชนั้ บน เช่น โพบาย
และตนี เปด็ เขา ตามสนั เขาและลาดเขาตอนบน
บางแหง่ พบตน้ ชบิ ะโด่ สันเขาหนิ บางแห่งพบ
กอ่ ใบเลอ่ื มข้ึนเป็นกลมุ่ ใหญ่ ตามรอ่ งหว้ ยระดบั
ต�่ำมีพญามะขามปอ้ มกระจาย ส่วนพนั ธ์ุไม้เรือน
ยอดชั้นบนของป่าดบิ เขาด้านทิศตะวนั ออกของ
พน้ื ท่ี ประกอบด้วย พะอง ทังขมิน้ หม่อนหลวง
หวา้ ชา หวา้ อา่ งกา กดั ลนิ้ ดอย ขนาน จวงหอม

สตั ว์สะเทนิ น�้ำสะเทนิ บก หว้ ยขา4แข5้ง 45

ปอแตบ มณฑาดอย คางคาก เขือขื่นใบคลน่ื อกปลา
ชอ่ น จำ� ปเี ปลอื กร่อน เกด็ แส้น คา้ งคาวอหี ลดิ สะบันงา
พันธุ์ไมว้ งศ์กอ่ มีค่อนข้างน้อย เชน่ ก่อหัวหมู กอ่ ตลบั
เรือนยอดชนั้ รอง ขึ้นกระจายห่าง ๆ สงู (3)5-
8(10) เมตร บริเวณหบุ ร่องน้�ำเรือนยอดชัน้ รองจะสงู ถงึ
15 เมตร พันธไุ์ มเ้ รือนยอดชั้นรองของป่าดิบเขาตอนบน
ประกอบด้วย มะกบี เขา ทังกา้ นด�ำ หนอนข้คี วาย เค็ด
ทอง เค็ดลกู ใหญ่ นีเลง (กัดลนิ้ เขา) ล�ำไย ตาเสือใหญ่
พญาไมใ้ บแถบ กระจบั นก หมากข้ีอา้ ย มะคังดง ไม้
นกค่อ แก้งขี้พระร่วง มหากาหนัง ผกั หวานดง เม่ยี งใบ
ยน่ และไม้ขนาดเล็กของไมช้ ัน้ บน เช่น หวา้ อา่ งกา กดั
ลิน้ เขา พันธุไ์ ม้ชนั้ รองของปา่ ดิบเขาดา้ นทศิ ตะวันออก
ประกอบดว้ ย ข้าวหลามดอย สวิ าระที เคด็ ทอง ปาย
สาน ตะขบควาย เอยี น โลดทะนงเหลอื ง ตะพรนุ เฒา่
เหมอื ดคนดำ� เมียดต้น และตน้ ไม้ขนาดเล็กของเรือน
ยอดชั้นบน เช่น แกง หมอ่ นหลวง ทังขม้ิน เกด็ แสน้
และอกปลาช่อน เปน็ ต้น
พืชคลุมดินไมแ่ น่นทึบ ส่วนใหญเ่ ปน็ ไมล้ ม้ ลกุ
ในวงศ์ Acanthaceae เฟริ น์ ขงิ ขา่ บอน และกลว้ ยไม้
ดนิ มีบางจุดโดยเฉพาะที่เป็นช่องว่าง (gap) จะมีกลา้ ไม้
ของพนั ธ์ุไม้เรือนยอดช้นั บนหนาแน่น เช่น พะอง หวา้
และพนั ธไุ์ มว้ งศ์ Lauraceae
46 4A6MPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG


Click to View FlipBook Version