The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกห้วยขาแข้ง ฉบับปรุงปรุงใหม่ (2nd Edition) เป็นฉบับแก้ไขเนื้อหาจากการพิมพ์ครั้งที่ 1 ให้มีเนื้อที่ถูกต้องตามการแก้ไขในปัจจุบันตามหลักวิชาการ โดยจำนวนชนิดที่ปรากฎในเล่ม จากการอ้างอิงถึงจำนวนสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกประเทศไทย 170 กว่าชนิด และโดยการสำรวจและการตรวจเอกสารของทีมผู้จัดทำ พบจำนวน 48 ชนิดในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by rabbitinthemoon399, 2022-10-17 11:58:28

Amphibians Of Huai Kha Khaeng 2nd Edition

หนังสือสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกห้วยขาแข้ง ฉบับปรุงปรุงใหม่ (2nd Edition) เป็นฉบับแก้ไขเนื้อหาจากการพิมพ์ครั้งที่ 1 ให้มีเนื้อที่ถูกต้องตามการแก้ไขในปัจจุบันตามหลักวิชาการ โดยจำนวนชนิดที่ปรากฎในเล่ม จากการอ้างอิงถึงจำนวนสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกประเทศไทย 170 กว่าชนิด และโดยการสำรวจและการตรวจเอกสารของทีมผู้จัดทำ พบจำนวน 48 ชนิดในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง

Keywords: amphibians,HuaiKhaKhaeng,Thailand

อาศยั อยู่ตามกองใบไม้ หรือ พบตัวบน
พชื คลุมดนิ หลงั ฝนตกหนัก ในป่าดบิ ช้ืน ปา่ ดบิ เขา
ป่าดิบแลง้ ป่าเต็งรงั ป่าเบญจพรรณ รวมทัง้ พ้ืนที่
ท่ถี ูกเปล่ียนสภาพ เช่น สวน พนื้ ทีเ่ พาะปลูก และ
ปา่ ทดแทน ลกู อ๊อดพบตัวตามแอง่ น�้าฝนขัง ร่อง
ไม้ไผ่ หรอื ในภาชนะทถ่ี ูกทง้ิ ไวใ้ นป่า

กระจายพันธใ์ุ นประเทศพม่า จนี ตอนใต้
ไทย และหมู่เกาะในอินเดีย

ในไทยพบกระจายเหนือคอคอดกระ
浄 Çʏ Ðà·¹Ô ¹ํ้ÒÊÐà·Ô¹º¡ ˌǢÒá¢1Œ§47147

กบหูดา� (Sylvirana cubitalis) กบอ่องเลก็ (Sylvirana nigrovittata)

กบหลังไพล (Hylarana lateralis)

กบลายหินเหนอื (Amolops marmoratus)

กบชะง่อนผาตะวนั ตก (Odorrana livida)

กบบวั (Hylarana erythraea) กบชะงอ่ นผาธารลอด (Huia melasma)

141488 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

วงศก์ บแท้ RA IDA
“กบ” ไมป่ รากฏท่มีื าของชอ่ื แต่สันนิษฐานว่ามาจากเสยี งรอ้ ง ภาษาองั กฤษใชค้ า�
วา่ “true frog” มาจากคา� ว่า “frogge” ในภาษาอังกฤษยคุ กลาง และ ค�าว่า “frogga”
ในภาษาองั กฤษโบราณ สว่ นภาษาละตินใชค้ �าว่า “rana” น่าจะมที ่ีมาจากเสยี งร้องของกบ

รปู รา่ งค่อนขา้ งเพรียว ชว่ งหน้ายาวเรียว ผวิ เรียบ ขอบหลังมกั เป็นสนั สว่ นใหญ่
มลี ายขีดตามขอบหลัง ปลายนิว้ มีทั้งท่ีแหลม ทู่ หรอื เป็นแผ่นกลม นว้ิ ตนี หลังมกั มีพงั ผืด
อาศยั อยตู่ ามแหล่งน�า้

กระจายพนั ธ์เุ กอื บท่ัวโลก ยกเวน้ อเมริกาใต้ แอฟรกิ าใต้ มาดากัสการ์ และส่วน
ใหญข่ องออสเตรเลยี พบแลว้ 24 สกลุ ในประเทศไทยพบ 9 สกลุ 30 ชนดิ ห้วยขาแข้งพบ
5 สกลุ 7 ชนดิ ไดแ้ ก่ กบลายหินเหนอื (Amolops marmoratus) กบชะง่อนผาธารลอด
(Huia melasma) กบบวั (Hylarana erythraea) กบหลงั ไพล (Hylarana lateralis)
กบชะง่อนผาตะวนั ตก (Odorrana livida) กบหดู า� (Sylvirana cubitalis) และกบอ่อง
เล็ก (Sylvirana nigrovittata)

浄 Çʏ Ðà·Ô¹¹้ํÒÊÐà·Ô¹º¡ ˌǢÒá¢1§Œ 49149

กบลายหินเหนือ

กบนว้ิ ปาดอา่ งกา
orthern Cascade Frog
Amolops marmoratus (Blyth, 1855)

151500 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

ÊѵǏÊÐà·Ô¹¹ํÒ้ ÊÐà·¹Ô º¡ ˌǢÒá¢1Œ§51151

กบลายหนิ เหนือ เป็นกบขนาดกลางถึงขนาด

ใหญ่ ความยาวจากหัวถงึ ก้น 42-77 มลิ ลิเมตร
หวั สน้ั มน ระยะห่างระหวา่ งตาแคบกวา่ ความ
กวา้ งเปลอื กตาเลก็ น้อย ตาโต แผ่นหูขนาดเล็ก
สีเดยี วกบั ล�าตัว มีถุงขยายเสียงขนาดเลก็ ใต้มมุ
ปาก ปลายนิ้วแผอ่ อกเป็นแผน่ แบนใหญ่ มือ
ไม่มีพงั ผดื เท้ามพี งั ผดื สดี า� เต็มความยาวนิ้ว
หลงั เปน็ ลายแต้มสีน้�าตาลอมม่วงบนพืน้ ตวั สี
เขียวอมเทาหรอื สเี ขียวสด เหน็ เปน็ ลายเส้นคด
เคย้ี วสเี ขยี วอมเทา สขี ้างสีเขยี วสดหรือสเี ขยี ว
เรื่อ ๆ ขาสีน้�าตาลเทามลี ายจดุ สีนา้� ตาลมว่ ง
และมลี ายพาดสีน�า้ ตาลอมม่วงขอบสีเข้ม สลับ
แถบจดุ สนี ้า� ตาลเข้ม ทอ้ งสขี าว ลูกออ๊ ดมีแวน่
ดูดขนาดใหญ่บรเิ วณหน้าอก ใชส้ �าหรับยดึ เกาะ
ไปตามก้อนหินในบรเิ วณทกี่ ระแสน�้าไหลแรง
ล�าตัวสีเหลือบเขียวออ่ น ๆ ตามด้วยลายประ
151522 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

เมือ่ ถูกรบกวนมกั กระโดดหนลี งไปซอ่ น
ตัวตามหนิ กรวดใต้น้า� ถ้าเปน็ กบขนาดเล็กจะใช้
วธิ กี ระโดดบนผิวน�า้ หนขี ้ามไปอกี ฝ่ังอย่างรวดเร็ว

พบอาศัยในป่าดบิ เขา กบเต็มวยั มกั พบ
บรเิ วณหน้าผานา้� ตกทม่ี คี วามลาดชนั หรือหนิ
กอ้ นใหญ่ ในบริเวณแกง่ นา้� ตกท่ไี หลแรง กบวยั
ออ่ นพบเกาะตามรากไม้ กง่ิ ไม้ หรือกอ้ นหนิ ใน
บริเวณท่ีเปน็ แกง่ ลกู อ๊อดมักพบตามก้อนหนิ หรือ
ผานา�้ ตก

กระจายพนั ธ์ใุ นประเทศบงั คลาเทศ
อนิ เดยี จีน พม่า และไทย

ในไทยกระจายทางภาคเหนือไล่ลง
มาทางภาคตะวนั ตก และลงไปสุดที่จงั หวัด
ประจวบครี ขี นั ธ์

ÊµÑ ÇÊÐà·Ô¹¹Ò้ํ ÊÐà·¹Ô º¡ ËÇŒ ¢Òá¢1§Œ 53153

151544 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

กบชะง่อนผาธารลอด

กบชะงอ่ นผาไทย, กบชะงอ่ นผาปากด�า,
กบเวยี ดนาม
Siamese Cascade Frog
Wijayarana melasma Stuart and
Chan-ard, 2005

ÊѵǏÊÐà·Ô¹¹ํ้ÒÊÐà·¹Ô º¡ ˌǢÒá¢1Œ§55155

กบชะงอ่ นผาธารลอด เปน็ กบขนาดกลาง

ความยาวจากหัวถึงก้น 47-67 มิลลเิ มตร หน้า
ยาวแหลม แผน่ หสู ีน้�าตาลเข้มปรากฏชัดเจน
ขายาวมาก ปลายนิว้ แผอ่ อกเป็นแผ่นขนาดเล็ก
หลังสีนา�้ ตาล สนี า้� ตาลเหลือง หรือสีน้�าตาลเทา
มีลายจุดประสนี �้าตาลเข้ม มสี นั จากสองขา้ งจมูก
ผา่ นเหนือตาไปตามขอบบนหลังสองขา้ ง ใตส้ นั
เป็นลายเส้นสีด�า สีขา้ งสอี ่อนกวา่ บนหลัง มลี าย
จุดสีด�าบริเวณแผ่นหแู ละตามสขี า้ ง ท้องสีขาว
ออกเหลอื งออ่ น ตัวผู้คางมีสีดา� ขามลี ายพาดสี
น�้าตาลเข้ม ลกู อ๊อดมีแว่นดูดขนาดใหญบ่ รเิ วณ
ใต้คาง ตัวสนี า�้ ตาลอ่อน มีจดุ ประสีเข้มกระจาย
ทวั่ ตัว
151566 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

อาศยั อยูต่ ามตน้ ไม้ ก่ิงไม้ ใบไม้ กอง
ใบไมร้ ว่ งทท่ี บั ถมในร่องหนิ หรือ ก้อนหนิ
ใกล้กับลา� ธารรมิ ล�าธารขนาดใหญ่ หรือนา้� ตก
เสียงรอ้ งคล้ายเสยี งผวิ ปากดงั “วว้ิ ” พบได้ใน
ป่าดบิ แลง้ ป่าดิบชืน้ บนภเู ขา ไปจนถงึ ป่าดบิ
เขาระดับกลาง

ลกู ออ๊ ดเกาะอาศัยตามก้อนหนิ
ขนาดใหญ่ หรอื ซ่อนตวั ตามก้อนกรวดทอ้ ง
น้า� ในลา� ธารทนี่ �า้ ใส ไหลเชย่ี ว และน�า้ ค่อนข้าง
เย็น อาหารหลกั ของลูกออ๊ ดคือตะไคร่ทีเ่ กาะ
ตามก้อนหิน

พบเฉพาะในประเทศไทย ต้ังแตภ่ าค
เหนือ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ลงไปตาม
แนวป่าตะวันตก จนถงึ จังหวัดประจวบครี ีขันธ์

ÊѵÇʏ Ðà·¹Ô ¹ํ้ÒÊÐà·¹Ô º¡ ˌǢÒá¢1§Œ 57157

กบบัว

เขยี ดบัว, เขยี ดจิก, เขียดเขียว
Red-eared Frog
Hylarana erythraea (Schlegel, 1837)

151588 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

ÊѵǏÊÐà·Ô¹¹ํÒ้ ÊÐà·¹Ô º¡ ˌǢÒá¢1Œ§59159

กบบัว เป็นกบขนาดกลาง ความยาวจากหวั ถงึ กน้

ประมาณ 78 มลิ ลเิ มตร บนหวั และหลงั เปน็ แถบ
กวา้ งสีเขียว ขนาบดว้ ยแถบท่ียกตวั เปน็ สนั สคี รมี
ขอบสีด�า ถัดลงไปทางดา้ นข้างลา� ตัวเปน็ แถบสี
เขียวเข้ม ปลายหัวแหลมยืน่ ปลายนิว้ แผแ่ บนเล็ก
น้อย ขาสเี ทาไม่มีลายแถบตามขวาง แต่มลี ายจุด
สีดา� กระจายทว่ั ไป ระหวา่ งนิ้วเทา้ มพี งั ผดื 4 ใน 5
สว่ นของนวิ้ แผน่ หูสนี �า้ ตาล

กลางคนื ช่วงฤดูฝน จะออกมาน่งั ตามพ้ืน
บนใบพืชริมน�า้ บนใบบัว หรือลอยคอในน�้า ส่ง
เสียงรอ้ ง “จกิ๊ ” เป็นทีม่ าของชอื่ “เขียดจกิ ”
161600 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

อาศัยอย่ตู ามพน้ื เกาะใบบัว และใบพชื ริมนา้� ในแหล่งน�้าที่ราบลมุ่ ทง้ั ในป่าและ
ชมุ ชน

กระจายพันธุใ์ นประเทศไทย ลาว กัมพชู า เวยี ดนาม มาเลเซยี สงิ คโปร์
อนิ โดนเี ซีย บรูไน อาจพบในอินเดีย และบงั คลาเทศ มกี ารน�าเข้าในประเทศฟลิ ิปปนิ ส์

ในไทยพบกระจายท่ัวประเทศ
浄 Çʏ Ðà·Ô¹¹ํÒ้ ÊÐà·¹Ô º¡ ˌǢÒá¢1Œ§61161

161622 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

กบหลังไพล

กบเหลือง
Yellow Frog
Humerana lateralis (Boulenger, 1887)

ÊѵǏÊÐà·Ô¹¹้ํÒÊÐà·¹Ô º¡ ËÇŒ ¢Òá¢1§Œ 63163

กบหลังไพล เป็นกบขนาดกลาง ความยาวจากหวั ถึงกน้

55-60 มิลลเิ มตร หน้ายาว แผน่ หสู ีนา�้ ตาลเขม้ ปรากฏ
ชดั เจน ปลายนวิ้ เรียว มอื ไม่มพี งั ผดื สว่ นเทา้ มพี ังผืดสี
ด�า 2 ใน 3 สว่ นของความยาวน้ิว ฝ่าเทา้ มปี มุ่ ด้านในรูป
ร่างคล้ายพล่ัว หลงั สนี า้� ตาลเหลอื ง สีนา�้ ตาลเทา หรือสี
น�า้ ตาลแดง บางตัวมลี ายเสน้ เฉียง ๆ หลายเส้น มีสัน
จากปลายจมกู ผ่านเหนอื ตาไปถึงเหนอื ก้นดา้ นข้าง ท�าให้
ดเู หมอื นหลังแบน มแี ถบสดี �าจากจมกู พาดตาและแผ่นหู
ยาวไปตามใตแ้ นวสนั ล�าตวั สขี า้ ง สีน้�าตาลเร่ือ ๆ มีลาย
แตม้ สีนา้� ตาลขอบดา� ขาหลังมลี ายพาดสีน้�าตาลเขม้ รมิ
ฝปี ากสคี รมี ทอ้ งสีเหลือง คางและอกสขี าวมีลายสีเทา

ลกู ออ๊ ดขนาดเลก็ ล�าตัวสคี ล้า� มีลวดลายสเี ขม้
หางยาว แผ่นครบี หางเล็กสขี าวโปร่งแสง มีจุดประสีดา�
กระจาย ปากอย่ดู ้านลา่ งค่อนไปทางดา้ นหน้า ลักษณะ
คล้ายกบั ลูกอ๊อดของกบออ่ งเลก็ แต่ลกู อ๊อดกบหลงั ไพล
ขนาดตวั ใหญ่กว่า

161644 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

ชว่ งฤดูผสมพันธ์ุจะสง่ เสียงรอ้ งทงั้ กลางวนั และ
กลางคนื ผสมพนั ธ์แุ ละวางไข่ในแอ่งน้�าขังขา้ งล�าหว้ ยท่ี
ค่อนข้างรก ลูกออ๊ ดมกั หลบอยู่ใต้กองใบไม้ และหากนิ
ตามพน้ื ทอ้ งน้า�

เวลากลางวันมักหลบซอ่ นตวั อยูใ่ นพ่มุ ไม้ ตามซอก
หินหรอื ขอนไม้ ทีอ่ ย่บู ริเวณชายฝง่ั ล�าห้วย ออกหากนิ
เวลากลางคืนตามแนวรมิ ตลงิ่ และตามลานหิน แตใ่ นฤดู
ฝนจะพบไดต้ ามพื้นปา่ ที่ห่างไกลจากล�าหว้ ย ในปา่ เต็งรงั

กระจายพันธ์ุในประเทศจีนตอนใต้ พม่า ไทย ลาว
กัมพชู า และเวยี ดนาม

ในไทยพบกระจายทวั่ ยกเวน้ ภาคใตต้ ้งั แตจ่ ังหวดั
ชมุ พรลงไป

ÊµÑ ÇÊÐà·¹Ô ¹ํÒ้ ÊÐà·Ô¹º¡ ËÇŒ ¢Òá¢1Œ§65165

กบชะงอ่ นผาตะวนั ตก

กบชะง่อนผาตะนาวศรี
Burmese Rock Frog

Odorrana livida (Blyth, 1856)

161666 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

ÊѵǏÊÐà·Ô¹¹ํÒ้ ÊÐà·¹Ô º¡ ˌǢÒá¢1Œ§67167

กบชะงอ่ นผาตะวันตก เปน็ กบขนาดใหญ่ ความ

ยาวจากหวั ถงึ ก้น 45-100 มลิ ลิเมตร รูปรา่ งเรยี ว
หนา้ ยาว ระยะหา่ งระหว่างตาใกล้เคียงกบั ความ
กว้างเปลอื กตา แผน่ หูสีนา้� ตาลขนาดพอ ๆ กับตา
มถี ุงขยายเสียงใต้มมุ ปาก ขายาวมาก ปลายน้ิวแผ่
ออกเปน็ แผน่ กลมขนาดใหญ่ มอื ไม่มีพงั ผืด ฝ่ามือมี
ปมุ่ ด้านนอก 2 ปุ่ม ส่วนเท้ามีพงั ผดื สเี ทาอมมว่ ง สี
น้�าตาลเข้ม หรอื สดี �าเต็มความยาวนว้ิ ฝ่าเทา้ มีป่มุ
ดา้ นในรปู รา่ งยาว ไมม่ ีปมุ่ ดา้ นนอก หลังสเี ขยี วหรือ
สนี ้�าตาล สขี ้างสีด�าหรือสีน้�าตาลเข้ม บางตวั มีจดุ สี
น้�าตาลขอบสคี รมี ตามแนวกลางหลัง ขาสนี า้� ตาล
มีลายพาดสีน้า� ตาลเข้ม ท้องสีครีม หรอื สขี าวออก
เหลอื ง
161688 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

กลางวนั หลบซ่อนตัวตามหลืบหนิ บริเวณนา�้ ตก
หรอื พชื รมิ นา้� กลางคนื ออกหากนิ ตามน�้าตก ส่งเสียงร้อง
“วิว้ ” คลา้ ยเสียงผิวปาก

อาศัยอยูบ่ รเิ วณหนิ ก้อนใหญห่ รือ บนต้นไม้
ริมน้�า ในลา� ธารทมี่ ีลกั ษณะเปน็ แกง่ หิน นา้� ไหลแรง ลกู
อ๊อดมกั พบตามแอง่ รบั น�้าใต้น�า้ ตก ในปา่ เบญจพรรณทีม่ ี
ความชืน้ สงู และป่าดิบแลง้

กระจายพนั ธุ์ในประเทศ พมา่ ไทย ลาว กัมพชู า
เวียดนาม และทางตะวนั ออกเฉียงเหนือของอินเดยี

ในไทยพบกระจายต้งั แต่ภาคเหนือ ภาคตะวัน
ตก ลงไปถงึ ภาคใต้ตอนกลาง

ÊµÑ ÇÊÐà·¹Ô ¹Ò้ํ ÊÐà·Ô¹º¡ ËÇŒ ¢Òá¢1Œ§69169

กบหดู �า

Dark-eared Frog
Sylvirana cubitalis (Smith, 1917)

171700 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

ÊѵǏÊÐà·Ô¹¹ํÒ้ ÊÐà·¹Ô º¡ ˌǢÒá¢1Œ§71171

กบหูดา� เปน็ กบขนาดกลาง ความยาวจากหัว

ถงึ ก้น 60-75 มิลลิเมตร รูปรา่ งเรยี ว หน้ายาว
แหลม ระยะหา่ งระหวา่ งตาใกล้เคียงกบั ความ
กว้างเปลอื กตา แผ่นหสู ีน้�าตาลปรากฏชดั เจน
ขายาวเรยี ว ปลายนว้ิ เรียว มือไมม่ ีพังผดื สว่ น
เทา้ มีพังผืดเกอื บเตม็ ความยาวน้ิว ฝา่ มือมีปุ่ม
3 ปุม่ โดยปุม่ ดา้ นในมีขนาดใหญ่ท่สี ดุ หลังสี
น�้าตาล หรือสนี า�้ ตาลแดง มีสันจากปลายจมกู
ผ่านเหนือตาไปถึงเหนอื ก้นด้านข้าง ท�าให้ดู
เหมอื นหลังแบน มแี ถบสดี า� ไมต่ อ่ เน่ืองใต้แนว
สนั สขี า้ งมจี ดุ สีด�า มีแถบสีดา� รปู ขนมเปยี กปนู
บรเิ วณหลังตาพาดทับแผ่นหู จึงเรียกว่ากบหดู า�
ขาหลังมลี ายพาดสีเทาเขม้ ฝา่ เทา้ สีด�าอมมว่ ง
ทอ้ งสีขาว
171722 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

กบตวั ผู้มกั สง่ เสยี งรอ้ ง
ประกาศอาณาเขตตามแอ่งนา�้ น่ิง เสยี ง
ร้องดงั “วี๊บ”

อาศยั อย่ตู ามลา� ธารขนาด
กลางถงึ ขนาดใหญ่ ที่มีนา�้ ไหลเออื่ ย มีร่ม
ไมป้ กคลุม ในปา่ เบญจพรรณ ป่าดิบแลง้
ป่าดิบชนื้ และป่าดบิ เขา

กระจายพนั ธ์ใุ นประเทศพมา่
จีนตอนใต้ ไทย กมั พูชา และอาจพบใน
เวียดนาม

ในไทยพบกระจายทั่ว ยกเวน้
ทางภาคใต้ตอนล่าง

浄 Çʏ Ðà·¹Ô ¹ํ้ÒÊÐà·¹Ô º¡ ˌǢÒá¢1Œ§73173

กบออ่ งเลก็

กบออ่ ง, กบบอง, เขียดออง
Dark-sided Frog
Sylvirana nigrovittata (Blyth, 1856)

171744 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

ÊѵǏÊÐà·Ô¹¹ํÒ้ ÊÐà·¹Ô º¡ ˌǢÒá¢1Œ§75175

กบอ่องเลก็ เป็นกบขนาดกลาง ความยาวจากหัวถงึ

ก้น 60-75 มลิ ลิเมตร รปู รา่ งเรียว หน้ายาว ระยะห่าง
ระหวา่ งตาใกล้เคียงกบั ความกว้างเปลอื กตา ตัวผู้มีถุง
ขยายเสยี งใต้มุมปาก แผ่นหสู ีด�าชัดเจนขนาดพอ ๆ
กบั ตา ปลายนวิ้ เรียว มือไมม่ ีพงั ผืด สว่ นเท้ามีพงั ผดื
เกอื บเตม็ ความยาวนว้ิ หลงั สนี า�้ ตาลแดง หรอื สีนา้� ตาล
ออกเทา มีสันจากปลายจมกู ผา่ นเหนอื ตาไปถึงเหนอื
กน้ ด้านขา้ ง ท�าให้ดูเหมือนหลงั แบน มแี ถบสีด�าจาก
จมูกพาดตาและแผน่ หู ยาวไปตามใตแ้ นวสนั สขี า้ งสี
ขาวออกเขยี วมลี ายจดุ สดี า� ขาหลังมลี ายพาดสีเทาเข้ม
ท้องสขี าว คางและอกสขี าวออกเทา ลกู ออ๊ ดมีขนาด
ตัวเลก็ สีน�า้ ตาลเขม้ ท้ังตัว แผน่ ครีบหางเลก็ ปากอยู่
ด้านลา่ งคอ่ นไปทางด้านหน้าของหัว
171766 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

มกั พบเกาะตามพุม่ ไม้ กิ่งไม้ บนตน้ ไม้
ไมส่ งู จากพ้นื มากนัก ลอยคอในน้า� ใกล้กอง
ใบไม้ หรือรากไมท้ ่อี ยใู่ นน�า้ ส่งเสยี งรอ้ งประกาศ
อาณาเขตทั้งกลางวนั และกลางคนื เสยี งดงั “แอบ๊ ”
วางไขเ่ ปน็ กลุ่มเลก็ ๆ พันกับกิ่งไม้หรือรากไม้ใต้น้า�
ลกู อ๊อดจะฟกั เป็นตัวภายในเวลา 1-2 วนั

อาศยั อยตู่ ามลา� ธารในปา่ เตง็ รงั ปา่ ไผ่
ปา่ เบญจพรรณ ป่าดบิ แล้ง และปา่ ดบิ ช้นื ลกู อ๊อด
พบได้ตลอดปี ตามแอ่งนา้� ขา้ งล�าธาร หรอื แอง่ หิน
รมิ น�้าตก

กระจายพันธ์ุ แถบแนวเทอื กเขาตะนาว
ศรี ในพม่า ไทย ถึงมาเลเซยี ตอนเหนือ และ
เวียดนาม

ในไทยพบกระจายทัว่ ยกเวน้ ท่ีราบลุม่
ภาคกลาง

ÊѵÇʏ Ðà·Ô¹¹้ํÒÊÐà·Ô¹º¡ ËÇŒ ¢Òá¢1§Œ 77177

กบกา (Limnonectes limborgi) กบหนอง (Fejervarya limnocharis)
กบหว้ ยขาปุ่มเหนอื (Limnonectes taylori)

กบตามธารแดง
(Limnonectes doriae)

กบหงอน (Limnonectes gyldenstolpei) เขียดจะนา (Occidozyga lima)

เขยี ดทราย (Occidozyga martensii)

กบนา (Hoplobatrachus rugulosus) กบทดู (Limnonectes blythii)

171788 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

วงศก์ บเขียด DICR L SSIDA

คนไทยบ้างก็เรียกสตั ว์กล่มุ น้วี า่ “กบ” บา้ งก็เรยี กวา่ “เขียด” คา� วา่ “กบ” มัก
ใช้เรียกกบขนาดใหญ่ ส่วน “เขียด” ใชเ้ รยี กกบขนาดเลก็ ภาษาอังกฤษใชค้ �าว่า “fork-
tongued frog” แปลวา่ กบลนิ้ ส้อม เนือ่ งจากกบในวงศ์น้ีมีปลายล้ินเป็นสองแฉก ส่วนชอ่ื
วงศ์น่าจะมาจากภาษากรีกค�าว่า “di” แปลวา่ สอง “mikro” แปลวา่ เล็ก และ “glossa”
แปลวา่ ลน้ิ รวมหมายถงึ ลิ้นเล็ก ๆ ที่มสี องแฉก

สว่ นใหญร่ ูปรา่ งลา� ตัวค่อนข้างหนา ปลายน้วิ เรียว มีพังผดื ระหว่างนิว้ ตีนหลังเตม็ หรือ
เกือบเตม็ ความยาวน้วิ มีตุม่ นนู รปู ร่างกลมหรือเป็นขีดตามล�าตัวและแขนขา บางชนิดมีเข้ียว
เทยี ม ซ่ึงตัวผู้มักมขี นาดตัวและสว่ นหวั ใหญ่กว่าตัวเมีย แบง่ เปน็ กลุ่มกบมขี นาดปานกลาง
ถึงขนาดใหญ่ และกลุม่ เขยี ดมีขนาดเลก็ แตกตา่ งกันอยา่ งชดั เจน ท้งั สองกลุม่ อาศยั อยตู่ าม
แหล่งนา�้

กระจายพนั ธุ์กวา้ งไกล ตงั้ แต่ตะวันตกเฉยี งเหนอื ของแอฟริกา มาทางตอนใตข้ อง
คาบสมทุ รอาหรับ ปากสี ถาน เนปาล ศรีลังกา จนี ตอนใต้ พม่า คาบสมทุ รอินโดจีน รวมทง้ั
หมู่เกาะซนุ ดา ฟลิ ปิ ปินส์ ญ่ปี ่นุ และปาปัวนวิ กินี จ�าแนกเปน็ 2 วงศ์ย่อย ในประเทศไทยพบ
ท้ัง 2 วงศย์ อ่ ย คือ DICR L SSI A (กลุ่มกบ) 6 สกุล 29 ชนดิ และ CCID Y I A
(กลุม่ เขยี ด) 1 สกลุ 4 ชนดิ หว้ ยขาแขง้ พบ DICR L SSI A 3 สกลุ 7 ชนิด ได้แก่ กบ
หนอง (Fejervarya limnocharis) กบนา (Hoplobatrachus rugulosus) กบทูด (Lim-
nonectes blythii) กบตามธารแดง (Limnonectes doriae) กบหงอน (Limnonectes
gyldenstolpei) กบกา (Limnonectes limborgi) กบห้วยขาปมุ่ เหนอื (Limnonectes
taylori) CCID Y I A 1 สกุล 2 ชนิด ไดแ้ ก่ เขียดจะนา (Occidozyga lima) และ
เขยี ดทราย (Occidozyga martensii)

ÊѵÇʏ Ðà·Ô¹¹ํÒ้ ÊÐà·¹Ô º¡ ËÇŒ ¢Òá¢1Œ§79179

181800 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

กบหนอง

เขยี ดหนอง, เขยี ดอีโม่
rass Frog
Fejervarya limnocharis ( raven-
horst, 1829)

ÊѵÇʏ Ðà·Ô¹¹ํ้ÒÊÐà·¹Ô º¡ ËÇŒ ¢Òá¢1§Œ 81181

กบหนอง เปน็ กบขนาดกลาง ความยาวจากหัว

ถงึ กน้ 42-62 มิลลิเมตร หน้ายาวเรยี ว ระยะห่าง
ระหวา่ งตาแคบกวา่ ความกวา้ งเปลือกตา แผน่ หู
สีเดยี วกบั ผวิ ปรากฏชดั เจน มหี นงั นูนเปน็ สันจาก
หางตาถงึ ไหล่ มอื ไม่มีพังผืด ส่วนเท้ามพี งั ผืดเกือบ
เตม็ ความยาวนวิ้ ปลายน้วิ เรยี ว ลา� ตัวมีหนังนูนเป็น
สนั สั้น ๆ และเป็นต่มุ ขาหลังมีตุ่มขนาดเลก็ สแี ละ
ลวดลายมีความหลากหลาย หลังสนี �้าตาลอ่อน
สีน้า� ตาลเข้ม สีน้า� ตาลเทา หรอื สเี ทา อาจมลี ายจดุ
สีด�าจาง ๆ บางตวั มเี สน้ หรือแถบสคี รมี สเี หลอื ง
หรือสีเขยี ว จากปลายปากถงึ กน้ ขามีลายพาดสีดา�
จาง ๆ ปากสีครีมสลบั ดา� ทอ้ งสขี าวครมี มีเสน้ สีด�า
พาดจากซอกขาหนา้ ผา่ นหนา้ ทอ้ งลงไปยังโคนขา
หลงั ตวั ผู้มถี ุงขยายเสยี งตรงคางสีดา� ลูกอ๊อดล�าตวั
สนี ้�าตาลและมีลวดลายสีเข้ม มีแถบสดี า� รูปตวั วี ( )
พาดขวางระหวา่ งตาทั้งสองข้างและบนหลังเปน็
ระยะจนถงึ โคนหาง มีวงสขี าวรอบตา และมแี ถบสี
ขาวพาดขวางส่วนท้ายของลา� ตัว หางมกี ลา้ มเนอื้
แข็งแรง แผน่ ครีบหางค่อนขา้ งเล็ก ปากอยู่ทางด้าน
หน้าของหวั คอ่ นมาทางด้านลา่ ง
181822 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

ออกหากินเวลากลางคนื กนิ แมลงเปน็ อาหารหลัก ผสมพันธ์ุและวางไข่ได้ตลอดทั้งปี โดยเฉพาะ
ช่วงทีม่ ฝี นตกหนัก เสียงรอ้ งดงั เม่อื ถกู รบกวนสามารถดนิ้ กระโดดไดไ้ กล และหลบซอ่ นตวั ตามพงหญา้
หรอื มดุ โคลนไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ วอ่ งไว บางครงั้ จะปลอ่ ยฉี่พรอ้ มกับการกระโดดหนี

อาศยั อยูต่ ามใต้ขอนไม้ ในโพรงไม้ ใต้กอ้ นหนิ ในซอกหนิ ใต้กองใบไม้ท่ีกองทับถมอยู่บนพื้น
ล่างของปา่ ทัง้ ใกล้และไกลจากแหลง่ น�้า พบในป่าทุกประเภท พนื้ ทีก่ ารเกษตร และชุมชน

กระจายพันธุใ์ นอนิ เดีย ศรีลงั กา จนี ญ่ีป่นุ ไทย มาเลเซีย ลงไปถงึ หมู่เกาะอนิ โด-ออสเตรเลียน
ในไทยพบกระจายทั่วประเทศไทย

ÊµÑ ÇÊÐà·Ô¹¹ํ้ÒÊÐà·Ô¹º¡ ËÇŒ ¢Òá¢1§Œ 83183

181844 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

กบนา

กบเนอื้
Rugosed Frog
Hoplobatrachus rugulosus ( ieg-
man, 1834)

ÊµÑ ÇÊÐà·Ô¹¹Òํ้ ÊÐà·¹Ô º¡ ËÇŒ ¢Òá¢1§Œ 85185

กบนา เปน็ กบขนาดใหญ่ ความยาวจากหวั ถึงก้น

85 มลิ ลิเมตร แผน่ หปู รากฏแต่ไม่ชัดเจน เน่ืองจาก
มีหนงั ปกคลุม มีหนังนูนเป็นสนั จากหางตาถงึ ไหล่
มอื ไม่มพี งั ผดื ส่วนเทา้ มพี งั ผืดเต็มความยาวนว้ิ
ปลายน้ิวเรียว ลา� ตัวมหี นงั นูนเปน็ สันสนั้ ๆ เรียงเป็น
แนวคลา้ ยเสน้ ประ 9-10 แถว ขาหลงั มตี ุ่มขนาดเล็ก
หลงั สนี ้า� ตาลเทา มลี ายจุดสีด�าจาง ๆ บางตวั มแี ตม้
สีเขยี วกระจายท่ัวหลัง ขามลี ายพาดสีดา� และน้า� ตาล
ทอ้ งสเี ทา คางมลี ายขีดสดี า� ตัวผู้ชว่ งฤดูผสมพนั ธ์ุ
ล�าตัวจะออกสีเหลอื ง และนิว้ เท้าหนา้ มีตุ่มขยาย
ใหญ่ขน้ึ เพื่อใช้ในการเกาะตวั เมีย
181866 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

ออกหากนิ เวลากลางคนื อาหาร
ได้แก่ ปลวก ไสเ้ ดอื น และแมลง

จับคู่ผสมพนั ธตุ์ ัง้ แต่ปลายเดือน
มนี าคมไปจนถงึ เดือนกันยายน วางไข่ครง้ั ละ
1,500-3,000 ฟอง ไขเ่ ป็นแพบนผวิ น�้า ระยะ
การฟักไข่กลายเปน็ ลูกออ๊ ดใชเ้ วลา 24-36
ชวั่ โมง ลกู ออ๊ ดพฒั นาไปเปน็ ลูกกบใชเ้ วลา
28-45 วัน

อาศัยอย่ตู ามกอพืชทขี่ ้ึนริมน้�า และ
พืน้ ทเ่ี ปิดโล่ง บริเวณท่รี าบในพ้นื ทช่ี ่มุ น้า�

กระจายพันธ์ุต้ังแตป่ ระเทศฮ่องกง
ไต้หวนั จีน พม่า ลาว เวียดนาม กมั พูชา ไทย
ไปจนถงึ มาเลเซยี

ในไทยพบกระจายท่วั ประเทศ
ÊµÑ ÇÊÐà·¹Ô ¹Ò้ํ ÊÐà·¹Ô º¡ ËÇŒ ¢Òá¢1§Œ 87187

กบทูด

เขียดแลว, กบภูเขา, กบเบตง
Malayan iant Frog
Limnonectes blythii (Boulenger, 1920)

181888 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

ÊѵǏÊÐà·Ô¹¹ํÒ้ ÊÐà·¹Ô º¡ ˌǢÒá¢1Œ§89189

กบทูด เปน็ กบขนาดใหญม่ าก ความยาวจาก

หวั ถงึ ก้น 260 มลิ ลเิ มตร หนา้ ยาวเรยี ว ระยะ
หา่ งระหวา่ งตาแคบกว่าความกวา้ งเปลอื กตา
แผน่ หสู เี ดยี วกบั ผิวปรากฏชัดเจน มหี นงั นูน
เปน็ สันจากหางตาถงึ ไหล่ มือไมม่ พี งั ผดื ส่วน
เทา้ มีพงั ผดื เตม็ ความยาวนิ้ว ปลายนว้ิ เรยี ว
ล�าตัวผิวเรียบ ขาหลงั มตี ุม่ ขนาดเล็กสีครมี
กระจายห่าง ๆ หลังสนี ้�าตาลออ่ น สนี า�้ ตาลเข้ม
สีน้�าตาลแดง สนี า�้ ตาลเทา หรือสีเทา อาจมี
ลายจดุ สีดา� จาง ๆ บางตวั มีแถบหรือเส้นสีครีม
จากปลายจมูกถึงก้น ขามลี ายพาดสีน้�าตาล
ปากสคี รมี สลับด�า ทอ้ งสีขาวครีม ฝ่าเทา้ สี
น้�าตาลอมมว่ ง มเี ขีย้ วเทยี มดา้ นหนา้ ของ
ขากรรไกรลา่ ง
191900 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

ออกหากนิ เวลากลางคนื อาหารหลกั คือสัตวไ์ มม่ ีกระดกู สันหลงั เชน่ แมลง
หนอนปล้อง ปู และตะขาบ เป็นต้น นอกจากน้ียังกนิ กบชนิดอน่ื ด้วย

การผสมพันธแ์ุ ละวางไขเ่ กดิ ขน้ึ ระหวา่ งเดอื นธนั วาคมถงึ เดือนมีนาคม ช่วงเวลา
กลางคนื ถงึ เช้า โดยตัวผูข้ ุดหลุมขนาดเสน้ ผ่าศนู ย์กลาง 30-50 เซนตเิ มตร บริเวณทมี่ รี ะดบั
นา�้ ราว 2-5 เซนตเิ มตร เมือ่ ตัวผขู้ ดุ หลุมเสร็จแล้วจะสง่ เสียงร้องและคอยอยูท่ หี่ ลมุ ตวั เมีย
ทีพ่ รอ้ มผสมพันธุจ์ ะลงไปในหลุมเพือ่ วางไข่ครั้งละ 1,500-3,200 ฟอง หลังจากมกี ารผสม
พันธุ์กนั แลว้ ตัวผูแ้ ละตัวเมยี จะชว่ ยกนั กลบหลุมไข่ ซึ่งมลี ักษณะเป็นกองหนิ นนู ขึน้ มา และ
ทง้ั คู่จะผลดั เปลยี่ นกันมาเฝา้

อาศยั อยตู่ ามลา� ธารขนาดกลางจนถึงขนาดใหญ่ และนา้� ตก ในปา่ เบญจพรรณ
ปา่ ดบิ แลง้ จนถงึ ปา่ ดบิ เขา กลางวนั มกั พบตวั ตามกองใบไม้ เศษไม้ รมิ ล�าธาร ในเวลากลาง
คืน มกั พบออกหากินบริเวณเวง้ิ ตลิ่ง หรอื ก้อนหินริมล�าธาร กบทูดขนาดเล็กอาจพบตัว
ตามแนวสนั ทราย ตามตลิง่ หรือบนพืชคลุมดิน รมิ ล�าธาร

กระจายพนั ธ์ุในประเทศไทย พมา่ และมาเลเซีย
ในไทยพบทางภาคเหนอื ลงมาทางตะวนั ตก ถงึ ภาคใต้ตอนลา่ งสดุ

浄 Çʏ Ðà·¹Ô ¹ํÒ้ ÊÐà·Ô¹º¡ ˌǢÒá¢1Œ§91191

กบตามธารแดง

กบดอเรยี
Doria s Frog
Limnonectes doriae (Boulenger,
1887)

191922 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

ÊѵǏÊÐà·Ô¹¹ํÒ้ ÊÐà·¹Ô º¡ ˌǢÒá¢1Œ§93193

กบตามธารแดง เป็นกบขนาดกลาง ความยาว

จากหวั ถึงกน้ 50 มิลลเิ มตร ระยะหา่ งระหวา่ ง
ตาพอ ๆ กบั ความกวา้ งเปลือกตา แผ่นหูสเี ดียว
กบั ผิวปรากฏชัดเจน มีหนังนูนเป็นสนั จากหาง
ตาถึงไหล่ มอื ไมม่ ีพงั ผืด ส่วนเทา้ มีพงั ผืดเกือบ
เต็มความยาวนว้ิ ปลายนว้ิ เรยี ว ผิวล�าตัวมีตุม่
และสนั นูน ขาหลงั มีตุ่มขนาดเลก็ สีครีมกระจาย
ห่าง ๆ หลังสีน�้าตาลออ่ น สนี �้าตาลเข้ม หรอื สี
น�า้ ตาลเทา บรเิ วณไหล่มลี ายสีดา� รปู คล้ายอักษร
ดับเบล้ิ ยู ( ) ระหวา่ งตามแี ถบสดี า� ขายาวมี
ลายพาดสีนา้� ตาล ทอ้ งสขี าวออกเหลอื ง ฝ่าเทา้
สสี ้ม ไม่มเี ขีย้ วเทยี มดา้ นหน้าของขากรรไกรล่าง
ตวั ผ้คู างสีน้�าตาลดา�
191944 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

อาศยั ในปา่ ดบิ แลง้ ไปจนถงึ ป่าดบิ เขา
ระดับต�า่ พบอาศัยหากินใกลก้ บั ลา� ธารขนาดเลก็
จนถงึ ขนาดกลางท่มี ีก้อนหินระเกะระกะ และมี
ใบไม้ทบั ถมหนาแนน่

กระจายพันธ์ุในประเทศพม่า เกาะ
นิโคบาร์ อนิ เดีย และตอนเหนอื ของมาเลเซีย

ในไทยพบตั้งแตภ่ าคเหนือทจี่ ังหวดั
แม่ฮ่องสอน ลงไปตามแนวตะวันตก สุดท่ี
จงั หวัดพังงา

ÊµÑ ÇÊÐà·Ô¹¹Òํ้ ÊÐà·¹Ô º¡ ËÇŒ ¢Òá¢1§Œ 95195

กบหงอน

กบตามธาร, กบเปอะ
Capped Frog
Limnonectes gyldenstolpei (Andersson,
1916)

191966 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG


Click to View FlipBook Version