The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกห้วยขาแข้ง ฉบับปรุงปรุงใหม่ (2nd Edition) เป็นฉบับแก้ไขเนื้อหาจากการพิมพ์ครั้งที่ 1 ให้มีเนื้อที่ถูกต้องตามการแก้ไขในปัจจุบันตามหลักวิชาการ โดยจำนวนชนิดที่ปรากฎในเล่ม จากการอ้างอิงถึงจำนวนสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกประเทศไทย 170 กว่าชนิด และโดยการสำรวจและการตรวจเอกสารของทีมผู้จัดทำ พบจำนวน 48 ชนิดในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by rabbitinthemoon399, 2022-10-17 11:58:28

Amphibians Of Huai Kha Khaeng 2nd Edition

หนังสือสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกห้วยขาแข้ง ฉบับปรุงปรุงใหม่ (2nd Edition) เป็นฉบับแก้ไขเนื้อหาจากการพิมพ์ครั้งที่ 1 ให้มีเนื้อที่ถูกต้องตามการแก้ไขในปัจจุบันตามหลักวิชาการ โดยจำนวนชนิดที่ปรากฎในเล่ม จากการอ้างอิงถึงจำนวนสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกประเทศไทย 170 กว่าชนิด และโดยการสำรวจและการตรวจเอกสารของทีมผู้จัดทำ พบจำนวน 48 ชนิดในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง

Keywords: amphibians,HuaiKhaKhaeng,Thailand

สตั ว์สะเทนิ นำ�้ สะเทนิ บก หว้ ยขา4แข7ง้ 47

ป่าดิบแลง้ (seasonal rain forest, dry ever-
green forest หรือ semi evergreen Forest)

ป่าดบิ แลง้ เปน็ ปา่ ไมผ่ ลดั ใบ เรอื นยอดช้ันบน
ประมาณ 70 เปอรเ์ ซ็นต์ ประกอบดว้ ยพันธุ์ไม้ไมผ่ ลดั ใบเปน็
สว่ นใหญ่ สว่ นเรือนยอดชน้ั รองและช้ันล่างสว่ นใหญเ่ ปน็ พันธุ์
ไม้ผลัดใบ
ป่าดบิ แลง้ มีโครงสร้างด้านตงั้ แบง่ เป็น 4 ชัน้ เรอื น
ยอด คือ
เรอื นยอดชัน้ เหนอื เรอื นยอดชั้นบน (emergent)
เกือบทั้งหมดเป็นตน้ ตะเคยี นทอง มีความสงู 50-55 เมตร ข้ึน
กระจายประปราย
เรือนยอดชั้นบน สูง 30-40 (45) เมตร เปน็ ชน้ั
เรือนยอดหลกั ชัน้ เรือนยอดนค้ี ่อนขา้ งตอ่ เนื่อง ไม้เดน่ ได้แก่
ตะเคียนทอง ยางนา กระบาก แหน อีแรด สมพง ไทร เสลา
ไมเ้ ดน่ รอง (co-dominant) เชน่ สะเดาปกั กลว้ ยไม้ลูกใหญ่
พะวา มะฝ่อ เชยี ดใบใหญ่ เป็นตน้
เรือนยอดชน้ั กลาง สงู (10) 15-25 เมตร เปน็ ช้นั
เรอื นยอดที่ประกอบดว้ ยพนั ธ์ุไมจ้ ำ� นวนมาก พันธุไ์ มเ้ ด่น
ไดแ้ ก่ ยางโอน หงอนไก่ดง หงอนไก่แดง หมามยุ้ ช้าง กล้วยไม้
ลูกเล็ก สะบนั งา พญารากดำ� มะพลับเจา้ คณุ ล�ำไยปา่ มะไฟ
ป่า รกั นอ้ ย รักขาว ก่วมขาว หอมไกล ลำ� ปา้ ง สะทิบ เปลา้
หลวง เป็นตน้ และต้นไม้ขนาดเล็กและขนาดกลางของพันธุ์
ไมเ้ รอื นยอดชัน้ บน โดยเฉพาะอยา่ งยิ่ง อีแรด สะเดาปัก
พะวา เชียดใบใหญ่ เสลา เป็นตน้
เรือนยอดชัน้ ล่าง สูงต�ำ่ กว่า 10 เมตร ปกติสูงไม่
ถงึ 8 เมตร ประกอบด้วยพันธุไ์ ม้ขนาดเล็ก เช่น จันเหลือง
กลงึ กล่อม ขเ้ี หลก็ เลือด ตาเป็ดตาไก่ สนกระ แกว้ ปอข้ีอน้
ประยงค์ ใบบางดอกกลม และลูกไม้ของพันธไ์ุ มเ้ รอื นยอด
ชัน้ กลาง เช่น เปล้าหลวง สะทิบ มะกายคดั ล�ำป้าง ล�ำไยปา่
เสลา พญารากดำ� สะเดาปัก กลว้ ยไม้ลกู เล็ก เป็นต้น

48 4A8MPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

สตั ว์สะเทนิ นำ�้ สะเทนิ บก หว้ ยขา4แข9ง้ 49

50 5A0MPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

ลกั ษณะโครงสร้างของสงั คมประกอบดว้ ยช้นั เรือน
ยอด สงู ประมาณ 40 เมตร เรือนยอดช้ันรองแบ่งแยกไดไ้ ม่
เดน่ ชัดนัก มไี มใ้ นปา่ พลดั ใบข้ึนผสมอยคู่ อ่ นขา้ งมาก เช่น
ตะแบก เหยี ง ไม้หลกั ทีใ่ ชแ้ ยกสังคมน้ไี ดแ้ ก่ ยางแดง สะเดา
ปัก ยางโอน ยางนา ตะเคียนทอง ไม้ช้นั รองท่ีใชจ้ �ำแนก
ได้แก่ คา้ งคาว กัดล้ิน ลำ� ไยปา่ กระเบากลัก มะไฟป่า สะทิบ
คอแลน ไมพ้ ลดั ใบที่เข้ามาผสม มะค่าโมง ทองหลางปา่
ประดู่ ตะแบกใหญ่ ตะครอ้ ชงิ ชัน เสลา กระพจ้ี ัน่ กระบก
ปออีเกง้ ไม้ช้นั รองไม้พุ่ม เช่น พลับพลา กระหนาปลิง แค
ทราย หมเี หมน็ โมกหลวง มะเมา่ ชา้ ง มะหวด ข้นึ ริมห้วย
ชมพู่ปา่ มะตาด มะเด่ือปลอ้ ง

สตั ว์สะเทนิ น�้ำสะเทนิ บก หว้ ยขา5แข1ง้ 51

ป่าเบญจพรรณแลง้ , ป่าผสมผลัดใบ
(mixed deciduous forest)

ป่าเบญจพรรณแล้งเป็นหนงึ่ ในสองของปา่ ผลดั ใบชนิดหลกั ของ
ประเทศไทย เรอื นยอดทกุ ชน้ั ทง้ั ชนั้ บน ช้ันกลาง และชนั้ ลา่ ง ประกอบ
ด้วยพันธุ์ไมผ้ ลดั ใบเกือบทง้ั หมด โดยท่วั ไปจะมไี ผ่เปน็ องคป์ ระกอบหลกั
ของเรอื นยอดช้นั ลา่ ง
ป่าเบญจพรรณแล้งมโี ครงสรา้ งดา้ นตัง้ แบง่ เปน็ 3 ชนั้ เรอื นยอด
เรอื นยอดชัน้ บน มคี วามสงู (25) 30-35 เมตร เรอื นยอดไม่ตอ่
เน่อื ง ประกอบด้วยพนั ธ์ไุ ม้หลากหลายชนิด จากหลายสกุลและหลาย
วงศ์ ไมม่ พี นั ธไ์ุ ม้ชนดิ ใดชนดิ หน่ึงท่มี ีความเด่นมาก ๆ พนั ธ์ไุ ม้เดน่ ประกอบ
ดว้ ย กะบก ประด่ปู า่ ตะแบกเปลอื กบาง แดง ตะแบกเลอื ด พนั ธไุ์ มท้ ี่พบ
ประปราย ไดแ้ ก่ พนั ธ์ไุ ม้สกลุ ตะแบก เช่น เสลาขาว เสลาด�ำ ตะแบกแดง
และอินทนิลบก พนั ธ์ไุ มส้ กลุ กาสามปีก เช่น กาสามปีก ไข่เน่า สวอง และ
ผา่ เสยี้ น พันธไุ์ ม้อ่ืน ๆ เช่น มะกอก ปอตูบฝ้าย ตะครอ้ ตะคร�้ำ มะแฟน
พะยอม ขอี้ ้าย งิว้ มะค่าโมง สะแกแสง และอโุ ลก เป็นตน้ เตง็ และรงั
พบตามสนั เขา พนั ธุไ์ มเ้ รือนยอดชนั้ บนดังกลา่ วท้ังหมดเปน็ พันธุไ์ มผ้ ลัด
ใบ พันธุ์ไม้ไม่ผลัดใบทพ่ี บในเรอื นยอดช้ันบน ไดแ้ ก่ ตะเคียนทอง และ
มะมว่ งปา่
เรือนยอดช้นั กลาง สงู 8-25 เมตร พนั ธุ์ไม้เรือนยอดชัน้ นค้ี อ่ น
ขา้ งหลากหลาย ที่เดน่ ได้แก่ สะทิบ และตน้ ไม้ขนาดกลางและขนาดเลก็
ของพนั ธ์ไุ มเ้ รอื นยอดชนั้ บน เชน่ แดง เสลาด�ำ อนิ ทนลิ บก กาสามปีก
ขอี้ ้าย พันธ์ุไม้อื่นท่พี บ ไดแ้ ก่ ขะเจา๊ ะ แคหวั หมู เหมอื ดออคแทนดรา คูน
มะก่อ กำ� ยาน หมูหมนั มะเขอื ขนื่ เปลือกรอ่ น ป้ี แสมสาร ล�ำบิด ปอแก่น
เทา ปอมนื่ แคหางค่าง เปน็ ต้น
เรือนยอดชัน้ ลา่ ง สูงต่ำ� กวา่ 8 เมตร ได้แก่ เปลา้ แพะ ปออี
บิด มะกบี ปอขี้อน้ มะเมา่ ควาย มะเมา่ สาย และสนกระ เปน็ ตน้ รวมถงึ
ลูกไม้และต้นขนาดเลก็ ของพันธุ์ไมเ้ รือนยอดชน้ั บนและช้ันกลาง ไผจ่ ะ
เป็นองคป์ ระกอบหลกั ของเรอื นยอดช้ันล่าง ในแปลง 16 เฮกตาร์ พบไผ่
4 ชนิด กระจายท่ัวไป ไดแ้ ก่ ไผซ่ างนวล ไผห่ นาม ไผ่รวก และไผบ่ งด�ำ
52 5A2MPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

สตั ว์สะเทนิ นำ�้ สะเทนิ บก หว้ ยขา5แข3ง้ 53

ป่าเบญจพรรณชื้น (tropical moist decidu-
ous forest)

ปา่ เบญจพรรณช้นื เปน็ ปา่ ชนิดใหมข่ องประเทศไทย
ทีไ่ ม่เคยกล่าวถงึ ในการจำ� แนกชนิดป่าของประเทศไทย เป็นปา่
ท่มี ีลักษณะโครงสร้างอยู่ระหว่างป่าผลัดใบและปา่ ไม่ผลดั ใบ
โดยเรือนยอดชั้นบนจะเป็นพนั ธุ์ไม้ผลดั ใบเปน็ สว่ นใหญ่ ส่วน
เรือนยอดชัน้ กลางและช้นั ลา่ ง ประกอบด้วยพนั ธุ์ไมไ้ ม่ผลดั ใบ
เป็นส่วนใหญ่
ปา่ เบญจพรรณช้นื มเี รือนยอดแบ่งออกเปน็ 3 ชั้น
เรอื นยอดชนั้ บน เปน็ ชัน้ เรือนยอดหลกั มีความสงู
ประมาณ 30-35 เมตร เรือนยอดไมต่ ่อเนอ่ื ง ประกอบด้วยพันธ์ุ
ไม้เด่นเพยี ง 4 ชนิด ไดแ้ ก่ เสลา ตะแบกแดง ตะแบกเปลอื ก
บาง และ อีแรด พันธไุ์ ม้อ่นื ท่ขี ึน้ ปะปนมจี �ำนวนต้นน้อย เช่น
ตะเคียนทอง ประดูป่ า่ สมพง ไทร ตะครำ้� มะแฟน จะเหน็ ว่า
พนั ธุ์ไม้เรือนยอดชั้นบนเกือบทกุ ชนดิ เป็นพันธไุ์ ม้ผลัดใบ ยกเวน้
ตะเคียนทอง ท่เี ป็นพันธุไ์ ม้ไม่ผลัดใบ ส่วนอีแรดเปน็ พันธุไ์ ม้ที่
ผลดั ใบแลว้ ผลิใบออ่ นทันที
เรอื นยอดช้นั กลาง สงู (8)10-25 เมตร พันธ์ไุ มใ้ น
เรอื นยอดชัน้ นส้ี ว่ นใหญ่เปน็ พันธไุ์ มไ้ ม่ผลดั ใบ สว่ นใหญ่เป็น
พันธ์ไุ ม้ท่ีพบในป่าดิบแลง้ ในเขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ป่าห้วยขาแข้ง
พนั ธ์ุไม้เดน่ ในเรอื นยอดชัน้ นี้ ได้แก่ ล�ำไยป่า ยางโอน หอม
ไกลดง สะทบิ เปล้าหลวง กลว้ ยไม้ลกู ใหญ่ แคฝอย ตาตุ่มบก
มะไฟ กรอดคะเมา ตาเสอื เชยี ดใบใหญ่ ล�ำบิด กาสามปกี และ
ตน้ ไม้ขนาดกลางและขนาดเลก็ ของพันธ์ุไม้ช้นั บน เช่น อีแรด
เรอื นยอดชั้นล่าง สูงต่�ำกว่า 8 เมตร ส่วนใหญ่สูงไม่
ถงึ 6 เมตร ประกอบดว้ ยตน้ ไมข้ นาดเลก็ เชน่ จนั เหลอื ง กลงึ
กลอ่ ม ขเี้ หลก็ เลือด มะกายคัด ลามเขา (รามใหญ)่ สนกระ
และลกู ไมข้ องพนั ธ์ไุ ม้ในเรือนยอดชั้นกลางท่มี จี �ำนวนมาก
ไดแ้ ก่ เปล้าหลวง ล�ำไยปา่ ยางโอน สะทิบ มีหวายจำ� นวนมาก
ตามพ้ืนปา่ และตอ่ มาเจรญิ เติบโตเกย่ี วพนั ต้นไมพ้ บทั่วไปทง้ั
แปลง 16 เฮกตาร์ แตม่ ีไผน่ ้อยมาก
54 5A4MPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

สตั ว์สะเทนิ นำ�้ สะเทนิ บก หว้ ยขา5แข5ง้ 55

ปา่ เตง็ รงั (deciduous dipterocarp forest)

ป่าเตง็ รังเป็นหนึ่งในสองของปา่ ผลดั ใบชนิดหลกั ของประเทศไทย เป็นสังคมพชื ทเ่ี รือนยอดทกุ
ช้นั ประกอบด้วยพนั ธ์ุไมผ้ ลดั ใบเกอื บทงั้ หมด เป็นปา่ ที่เดน่ โดยพนั ธุไ์ มว้ งศ์ยางผลัดใบ 5 ชนดิ คอื เต็ง รงั
ยางเหียง ยางพลวง และยางกราด ในแตล่ ะหมไู่ มม้ ักพบพนั ธไ์ุ มด้ ังกลา่ วอยา่ งน้อย 2 ชนิด ข้ึนร่วมกนั
แตจ่ ะมีพนั ธ์ไุ มเ้ พยี งชนิดที่มคี วามเดน่ มาก อย่างไรก็ตามมบี างหมไู่ ม้ท่ีมีความเดน่ ใกลเ้ คียงกัน ป่าเต็งรัง
ในเขตรกั ษาพนั ธสุ์ ตั ว์ปา่ ห้วยขาแข้ง ส่วนใหญม่ ีต้นรงั เปน็ พันธุ์ไม้เด่น (สังคมรงั ) มีบางพนื้ ท่ที เ่ี ด่นโดยยาง
พลวง (สังคมพลวง) หรอื เดน่ โดยเตง็ (สงั คมเตง็ )
ลกั ษณะโครงสร้างดา้ นตัง้ ของป่าเต็งรังไม่ผา่ นการท�ำไม้ แบ่งเปน็ 3 ชน้ั เรอื นยอด
เรือนยอดชนั้ บน ความสูงของเรอื นยอดชนั้ บนผนั แปรตามชนิดพนั ธุไ์ ม้เด่น สงั คมรงั มคี วามสูง
(23)25-28(32) เมตร สงั คมพลวงสงู (27)30-33 เมตร และ สงั คมเตง็ สูง (20)22-24(26) เมตร เรือนยอด
ชัน้ บนของสงั คมรงั คอ่ นข้างตอ่ เนือ่ ง ไมค่ อ่ ยต่อเนอื่ งในสังคมพลวง และไม่ต่อเน่ืองในสังคมเตง็ พันธุ์ไม้วงศ์
ยางผลัดใบมคี วามเด่นเกินร้อยละ 80 สงั คมรงั จะเดน่ โดยไม้รงั โดยมไี มเ้ ตง็ เด่นรองลงไป สงั คมพลวงจะ
เดน่ โดยพลวง และเตง็ จะเดน่ เปน็ อนั ดับ 2 อาจมไี มร้ งั บ้างแตม่ ีจ�ำนวนนอ้ ย พันธุไ์ ม้อืน่ ๆ ท่ีพบมเี ลก็ นอ้ ย
เช่น ตะแบกเลอื ด พะยอม
56 5A6MPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

เรอื นยอดชน้ั กลาง มีความสงู (13)14-20 เมตร อาจสงู ถึง 23 เมตร ในสงั คมพลวง พันธไ์ุ ม้ชัน้ นี้
ค่อนข้างหลากหลาย แตก่ ็ยังเดน่ โดยพนั ธไุ์ มว้ งศย์ างผลดั ใบทีเ่ ปน็ ไม้เด่นของเรือนยอดชัน้ บน พันธุ์ไม้ชนดิ
อน่ื ๆ ที่พบทว่ั ไป เชน่ รกฟา้ กาสามปีก กอ่ แพะ ก่อผว๊ั ะ ก่อนก ประดู่ป่า สา้ นใหญ่ ตะแบกเลือด มะมว่ ง
ปา่ กระโดน ตว้ิ ค�ำมอกหลวง เป็นต้น
เรือนยอดชั้นลา่ ง สงู ตำ�่ กวา่ 8(10) เมตร ส่วนใหญ่เปน็ ต้นไมข้ นาดเล็กของพันธ์ไุ ม้เรอื นยอดชัน้
กลาง พันธุ์ไม้เรอื นยอดชนั้ ล่าง เช่น ช้างนา้ ว มะต่ิง มะควดั กระท่อมหมู ขา้ วสารปา่ มะขามป้อม เหมอื ด
หอม เปน็ ต้น ต้นไมค้ วามสูงต่ำ� กว่า 3 เมตร จะมคี อ่ นขา้ งนอ้ ย
ป่าเต็งรงั ท่ผี ่านการทำ� ไม้ ต้นไมเ้ รือนยอดชน้ั บนเดิมกอ่ นการท�ำไมจ้ ะเหลอื อยู่น้อยมาก เรือน
ยอดชั้นกลางของป่ากอ่ นการทำ� ไม้ จะกลายเป็นเรือนยอดหลกั ของโครงสรา้ งป่าในปัจจบุ นั เหมือนเรอื น
ยอดชั้นบนของป่า สว่ นพันธไุ์ มไ้ ม่แตกตา่ งจากป่ากอ่ นการทำ� ไม้ อาจมีจ�ำนวนชนดิ ลดลง

สัตว์สะเทินนำ�้ สะเทนิ บก ห้วยขา5แข7ง้ 57

เรือนยอดชัน้ บน สูง (14)18-20 เมตร อาจมี
ตน้ ไม้สงู ถึง 23 เมตร ขึ้นกระจายหา่ ง ๆ สว่ นในพื้นที่
ทเ่ี ป็นลานหิน หรอื หินโผล่ เรอื นยอดชัน้ บนจะสงู เพียง
13-18 เมตร พนั ธไ์ุ มเ้ ด่นยังคงเปน็ พันธ์ไุ มว้ งศ์ยางผลัด
โดยจะเดน่ ประมาณรอ้ ยละ 50 นอกนนั้ เปน็ พันธุไ์ ม้ชนิด
อนื่ ๆ เรอื นยอดช้นั กลาง จะเป็นเรอื นยอดของตน้ ไมส้ ่วน
ใหญข่ องหมูไ่ มม้ ีความสูง 11-15 เมตร ในพนื้ ทีเ่ ป็นหิน
จะสงู 8-12 เมตร สว่ นเรอื นยอดชนั้ ล่างสูงต�่ำกวา่ 8 เมตร
ปกตติ ้นไมส้ ูงตำ่� กวา่ 3 เมตร มีนอ้ ย
โครงสรา้ งของปา่ เต็งรงั เดิมเปน็ ป่าโปรง่ พน้ื ล่าง
ค่อนข้างโล่ง เกิดไฟป่าทุกปีหรอื เกอื บทุกปี แตภ่ ายหลงั
การป้องกันไฟตง้ั แต่ พ.ศ. 2536 โครงสร้างป่าได้เปลี่ยน
ไปโดยเฉพาะในพนื้ ท่ที ี่มีการกนั ไฟอย่างตอ่ เน่อื ง เรือน
ยอดช้นั ลา่ งรวมถึงพ้ืนปา่ รกมาก พนั ธไุ์ ม้บางชนดิ มกี ารสบื
ตอ่ พนั ธุ์ดีเกินไป เชน่ ตว้ิ และกอ่ บางชนดิ เป็นตน้ หญา้
และพืชลม้ ลุกอายหุ ลายปี ขน้ึ สงู และหนาแน่น ในบาง
พื้นที่เดนิ ผ่านได้ยากลำ� บากมาก แปลงตัวอย่างถาวร DD5
DD6 และ DD7 ซึง่ อย่ใู นพน้ื ที่ที่มีการป้องกนั ไฟอย่างเข้ม
ขน้ พบว่าพนั ธุไ์ ม้วงศย์ างผลดั ใบไมม่ กี ารสืบต่อพันธุ์ ไม่
พบกล้าไม้วงศ์ยางผลัดใบเกิดใหม่ นอกจากน้ียงั พบว่ากล้า
ไม้วงศ์ยางผลัดใบทมี่ ีอยูเ่ ดิมกอ่ นการกนั ไฟไดห้ ายไปจาก
พน้ื ที่ บางแปลงพบกลา้ ไม้เดิมเลก็ นอ้ ยในสภาพที่อ่อนแอ
มาก ป่าเตง็ รังตอ้ งการไฟป่าในการคงสภาพโครงสรา้ ง
และการสบื ตอ่ พนั ธข์ุ องพันธ์ุไมห้ ลัก โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ
พันธไ์ุ ม้วงศ์ยางผลัดใบ การป้องกนั ไฟอย่างต่อเนอ่ื งจะนำ�
ไปสูก่ ารล่มสลายของป่าเต็งรงั ในอนาคต
58 5A8MPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

สตั ว์สะเทนิ นำ�้ สะเทนิ บก หว้ ยขา5แข9ง้ 59

6600 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

ชนดิ สัตว์สะเทินน้�าสะเทนิ บกในห้วยขาแขง้

ÊѵǏÊÐà·¹Ô ¹Òํ้ ÊÐà·Ô¹º¡ ËÇŒ ¢Òá¢6Œ§1 61

อนั ดับเขยี ดงู YM P I A

“gymnophiona” มีรากศัพท์มาจากค�าในภาษากรกี วา่ “gymno” แปลวา่ เปลอื ย กบั ค�าวา่
“ophis” แปลวา่ งู หมายถึงกลุ่มที่มีรูปร่างเรยี วยาวคลา้ ยงู
6622 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

วงศเ์ ขยี ดงู IC T Y P IDA

“เขียดงู” เป็นสัตว์พวกเดยี วกับกบเขยี ด เนอ่ื งจากมีช่วงชวี ิตวัยอ่อนอาศัยในน�า้
และเมือ่ โตเต็มวยั อาศยั บนบกเหมือนกับพวกกบเขียด แตม่ ีรปู รา่ งคลา้ ยงู
ภาษาอังกฤษใช้ค�าว่า “caecilian” มาจากค�าว่า “caecus” ในภาษานวิ ละตนิ แปลว่า
ตาบอด ไม่สามารถมองเหน็ มืดมน ซ่งึ คาดวา่ มาจากการใชช้ วี ติ ส่วนใหญ่อยู่ใต้ดินทีไ่ มม่ แี สง
ไม่ตอ้ งใชส้ ายตา การเคล่ือนไหวมักใชป้ ระสาทสมั ผัสอย่างสัตว์ตาบอด สว่ นช่อื วงศม์ าจาก
ค�าว่า “ichthyo” ในภาษากรีกวา่ “ikhthys” ทแี่ ปลวา่ ปลา กับคา� ว่า “ophio” แปลวา่ งู
จงึ นา่ จะหมายถงึ สัตวท์ ม่ี ีรูปร่างเหมือนงูและวยั ออ่ นอยู่ในน้า� อยา่ งปลา

ลา� ตวั ยาวเรยี ว หางสน้ั ไม่มีขา รูปรา่ งคลา้ ยงแู ตไ่ มม่ ีเกล็ดปกคลมุ อย่างงู ผิวหนัง
ลา� ตัวพับเหน็ เป็นปลอ้ ง ๆ และมีเกล็ดเลก็ ๆ อยูใ่ นร่อง มหี นวดเลก็ ๆ ระหว่างตากับจมูก
เปน็ อวัยวะรับความร้สู กึ ซึง่ แต่ละชนิดจะมีต�าแหน่งของหนวดแตกต่างกนั ไป อาศยั อยใู่ น
โพรงดนิ ส่วนใหญ่ออกลกู เป็นตัว แตช่ นดิ ท่พี บในประเทศไทยออกลูกเปน็ ไข่ ตัวเมียวางไข่
ตดิ กันเหมอื นพวงองุ่นในโพรงดินใกลแ้ หล่งน้�า และมพี ฤตกิ รรมการเฝา้ ไข่ จนกระท่ังตัว
อ่อนออกจากไขไ่ ปอาศัยอยูใ่ นนา้� ตัวออ่ นมลี ักษณะเหมอื นตัวเต็มวัย แตต่ า่ งกนั ตรงหางท่ี
แบนตง้ั เหมือนหางปลาไหล

กระจายพนั ธอ์ุ ยใู่ นทวีปเอเชีย ตั้งแต่อินเดยี ศรีลังกา จีนตอนใต้ พม่า ไทย
กมั พชู า ลาว เวียดนาม มาเลเซยี และฟลิ ปิ ปินส์ พบแล้ว 2 สกุล ในประเทศไทยพบ 1 สกลุ
7 ชนิด หว้ ยขาแขง้ พบ 1 สกุล 1 ชนิด คือ เขึ้ยี ดง่เกาะเตีา� (Ichthyophis kohtaoensis)

ÊѵǏÊÐà·Ô¹¹Òํ้ ÊÐà·¹Ô º¡ ˌǢÒá¢6§Œ 3 63

6644 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

เขยี ดงเู กาะเตา่

งูดนิ
oh Tao Caecilian
Ichthyophis kohtaoensis Taylor, 1960

浄 Çʏ Ðà·¹Ô ¹ํ้ÒÊÐà·Ô¹º¡ ËÇŒ ¢Òá¢6§Œ 5 65

เขยี ดงูเกาะเต่า ลา� ตัวยาวคล้ายงู ไม่มขี า ความ

ยาวจากหวั ถงึ ก้น 280 มิลลเิ มตร ความยาวหาง 4.2
มิลลิเมตร ผิวหนังบริเวณลา� ตวั เป็นปลอ้ งถร่ี อบลา� ตัว
หางสน้ั มาก ปลายแหลม หวั มนแบน ตาขนาดเลก็
อยู่ใต้ผิวหนัง ลา� ตัวสีน้า� ตาลเทาอมม่วง มีลายแถบ
กวา้ งสีเหลืองตัง้ แต่บรเิ วณดา้ นทา้ ยของรมิ ฝปี ากบน
และลา่ ง ใตต้ า ยาวตลอดขา้ งล�าตวั จนถงึ ระดบั ช่อง
เปดิ ทวาร ระหว่างตากับจมกู มหี นวดสีขาวเล็ก ๆ 1 คู่
ตัวไม่เต็มวยั สว่ นหางจะแบนในแนวตั้งคลา้ ยหางปลา
ไหล

สว่ นใหญ่ใช้ชีวิตอย่ใู ตด้ นิ อาศัยกินไส้เดือน
ตวั อ่อนแมลง และสตั ว์ไม่มกี ระดกู สันหลังอ่ืน ๆ ที่
อย่ใู นดนิ ผสมพนั ธุ์โดยการปฏิสนธิภายใน วางไข่เปน็
6666 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

เมด็ กลมสคี รมี มีหวั จุก โดยวางรวมกันเป็นกระจกุ อยู่ใตด้ ินที่คอ่ นขา้ งรว่ นซุย วางไขค่ รง้ั ละ
32-58 ฟอง โดยตัวแม่จะขดรอบกองไข่ ช่วงท่ีฝนตกหนกั มักจะขนึ้ มาบนผิวดิน หรือพบได้
บ่อยตามถนน เม่อื อยู่บนดนิ จะเคลอื่ นไหวชา้ แต่ถา้ อยใู่ นนา�้ จะเคลือ่ นไหวได้เรว็ มาก

อาศัยอยใู่ ต้ดิน หรือขอนไม้ กองใบไม้ท่ีมีความชืน้ แฉะ ในปา่ ดิบแล้ง
ปา่ เบญจพรรณ และป่าเต็งรงั

ห้วยขาแข้งพบบริเวณป่าเบญจพรรณ ใกลก้ ับสถานีวจิ ยั สัตว์ป่าเขานางรา�
มีการแพรก่ ระจายในประเทศไทย พมา่ ลาว เวยี ดนาม และกัมพชู า
ส�าหรบั ประเทศไทยพบกระจายทัว่ ประเทศ ตัง้ แต่ทร่ี าบจนถึงป่าดิบเขาระดบั สงู
หากมกี ารศึกษาเพมิ่ เติมอาจมีแนวโน้ม แยกชนิดออกไปไดห้ ลายชนดิ

ÊѵǏÊÐà·¹Ô ¹้ํÒÊÐà·Ô¹º¡ ËÇŒ ¢Òá¢6Œ§7 67

อ่ึงกรายลายเลอะ (Leptobrachium smithi) อง่ึ กรายหว้ ยใหญ่ (Megophrys major)

อ่ึงกรายข้างแถบ (Brachytarsophrys carinense) อง่ึ กรายหนังปุ่ม (Leptolalax pelodytoides)

6688 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

อนั ดบั กบ A RA

“anura” มรี ากศพั ทม์ าจากค�าว่า “an” ในภาษาละติน แปลว่า ไม่ และ “oura” ในภาษา
กรกี แปลวา่ หาง หมายถึงกลุม่ ทไี่ ม่มีหาง

วงศ์อ่ึงกราย M P RYIDA
“อง่ึ กราย” เป็นสัตวส์ ะเทินน�้าสะเทินบกทอ่ี าศัยตามพื้นปา่ เปน็ หลกั มักอาศยั การ
เดินกรีดกราย โหยง่ ตัว อยา่ งชา้ ๆ บางท้องท่เี รียก “อึ่งผี” เน่ืองจากมกั สง่ เสียงรอ้ ง โดย
หลบซอ่ นตวั อยู่ใตเ้ ศษใบไม้ ซอกหนิ ไม่ใครใ่ ห้เห็นตวั เสยี งดังกงั วานนา่ กลวั เมือ่ พบตวั ก็จะ
เผยดวงตาโปนโตสีสดอย่างสีเหลอื ง สีสม้ สแี ดง ดนู า่ กลวั

ภาษาอังกฤษใชค้ า� ว่า “litter frogs” หมายถึงพวกกบท่ีอาศยั อยู่ตามพืน้ ป่าทีม่ ี
ใบไม้ทับถม บา้ งกใ็ ช้ค�าวา่ “asian toads” หมายถงึ พวกกบทมี่ รี ูปรา่ ง ปุม่ ปมตามตวั และ
ลกั ษณะการเคลือ่ นไหวคล้ายกลุ่มคางคก ท่พี บอาศัยอยเู่ ฉพาะในภูมิภาคเอเชีย สว่ นช่อื
วงศม์ าจากภาษากรีกว่า “megas” แปลว่าใหญ่ และ “ophrus” แปลวา่ ค้ิวหรือหน้าผาก
หมายถงึ สิง่ ท่ีมสี ่วนเหนือตาใหญ่ ซ่ึงอึง่ กรายบางชนิดมีลักษณะเดน่ คอื สว่ นเหนอื ตาเปน็
แผน่ หนงั ย่ืนออกมาชัดเจนสะดดุ ตา

มตี ่อมเลก็ ๆ ทห่ี นา้ อก 1 คู่ ดคู ล้ายหัวนม สกี ลนื ไปกบั ด้านทอ้ ง ปลายนิ้วเรยี ว
ไมม่ ีพงั ผืดระหวา่ งนิ้ว บางชนดิ มผี วิ หนังยนื่ ออกมาจากขอบหนังตาบนหรือปลายปาก
ดวงตาสีสดใส มีหลากสี ขนาดตัวมที ั้งตัวเลก็ จนถึงใหญ่ ตั้งแต่ 2-12 เซนตเิ มตร อาศัยอยู่
ตามพื้นลา่ งของป่า โดยเฉพาะแนวลา� ห้วย

กระจายพันธ์ุอย่ใู นทวปี เอเชยี ต้ังแต่อนิ เดีย ปากีสถาน จนี พม่า ไทย กัมพูชา ลาว
เวยี ดนาม มาเลเซยี หมเู่ กาะซนุ ดา และฟิลิปปินส์ พบแลว้ 10 สกุล ในประเทศไทยพบ 6
สกลุ 21 ชนดิ หว้ ยขาแขง้ พบ 4 สกุล 4 ชนดิ ไดแ้ ก่ อง่ึ กรายข้างแถบ (Brachytarsophrys
carinense) อง่ึ กรายลายเลอะ (Leptobrachium smithi) อึ่งกรายหนงั ปุ่ม (Leptolalax
pelodytoides) และอ่ึงกรายหว้ ยใหญ่ (Megophrys major)

浄 Çʏ Ðà·¹Ô ¹ํ้ÒÊÐà·Ô¹º¡ ˌǢÒá¢6§Œ 9 69

7700 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

อ่ึงกรายข้างแถบ

อึ่งกรายตาหนาม, กบตาหนาม, กบอ้าก,
เดะ๊ กั่ว (ก�าแพงเพชร ปกากญอ)
Burmese orned Frog
Brachytarsophrys carinense
(Boulenger, 1889)

ÊµÑ ÇÊÐà·¹Ô ¹ํÒ้ ÊÐà·¹Ô º¡ ËÇŒ ¢Òá¢7§Œ 1 71

อึ่งกรายข้างแถบ เปน็ อ่ึงกรายขนาดใหญ่ ความ

ยาวจากหัวถึงกน้ 112-150 มลิ ลิเมตร รูปรา่ งอว้ น
ใหญ่และคอ่ นขา้ งแบน หนา้ อกมีต่อมเปน็ ตมุ่ นูน
สีขาวบริเวณโคนขาหนา้ ขา้ งละ 1 ตอ่ ม ดคู ลา้ ย
หวั นม ดวงตาสีน้า� ตาลแดง หนังตามลี กั ษณะยืน่
คลา้ ยหนามแบน ๆ ขา้ งละ 2 อนั หัวและขอบหลัง
สีเหลอื ง กลางหลงั สนี า้� ตาล ผิวหนงั นนู เปน็ ตุ่มและ
มกั ต่อเนอื่ งกนั เป็นสนั ยาวสดี า� หรือน�้าตาลเข้ม สขี ้าง
มตี ุม่ นูนสดี �า ขาสีน้�าตาลเทาเข้ม มีลายพาดสีเทา
เขม้ ทอ้ ง ใตค้ าง และฝา่ ตีนสนี า้� ตาลเทาเขม้ ตัวไม่
เต็มวยั สว่ นหลงั สนี �้าตาลแดง มตี ุ่มนูนและตมุ่ ยาว
สขี าวขอบด�า ใบหนา้ ตั้งแต่ขา้ งจมูกถงึ มมุ ปากเป็น
แถบสีเทาเข้ม ขาด้านบนสีเทาเขม้ มีจดุ สีขาว
7722 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

มกั ซ่อนตัวใต้ก้อนหนิ ใหญ่ ในล�าธารทน่ี �า้ ไหล
แรงปานกลาง ท้องนา�้ เป็นกรวดหินปนทราย ผสมพันธุ์
วางไข่ชว่ งฤดูฝน ตวั ผู้จะสง่ เสยี งร้องออกมาจากโพรง
หนิ ดงั “แอ๊ก” เสียงดังก้องกงั วาน หากถกู รบกวนจะ
ทา� ท่าพองตวั ยืดแขนขาโหยง่ ตัวให้สูงข้ึน อา้ ปากรอ้ งขู่
เสยี งคลา้ ยลมยางรั่ว และกระโดดกดั วางไขต่ ิดหลบื หนิ
ในล�าธาร อาหารหลักไดแ้ ก่ แมลง และสัตว์ขอ้ ปล้อง
นอกจากนย้ี งั สามารถกนิ จงิ้ เหลน กบ และสตั วฟ์ นั แทะ
ขนาดเลก็ ได้

อาศัยอย่ตู ามล�าธารขนาดเลก็ และใต้กอง
ใบไมท้ ท่ี ับถมใกล้ลา� ธาร ในปา่ ดบิ แลง้ ป่าดิบเขา และปา่
เบญจพรรณทชี่ ุ่มชน้ื ตัง้ แตท่ ี่ราบจนถึงท่คี วามสูงมากกว่า
1,000 เมตร จากระดบั น�้าทะเล

พบในประเทศจีนตอนใต้ พม่า และไทย
พบต้ังแต่ภาคเหนือไลล่ งมาตามแนวตะวนั ตก
ลงไปสุดที่ จงั หวดั กระบ่ี

ÊµÑ ÇÊÐà·¹Ô ¹้ํÒÊÐà·Ô¹º¡ ËÇŒ ¢Òá¢7§Œ 3 73

7744 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

อ่ึงกรายลายเลอะ

องึ่ ผี

Smith s Litter Frog
Leptobrachium smithi Matsui,
abhitabhata and Panha, 1999

ÊѵÇʏ Ðà·Ô¹¹ํ้ÒÊÐà·Ô¹º¡ ˌǢÒá¢7§Œ 5 75

อง่ึ กรายลายเลอะ เป็นอ่ึงกรายขนาดกลาง

ความยาวจากหวั ถึงก้น 36-78 มลิ ลิเมตร
หวั กว้าง สนั จมกู ชัด รูปร่างหนา แขนขาเรียว
หนา้ อกมีตอ่ มเป็นตมุ่ นูนเล็ก ๆ สีขาวบริเวณโคน
ขาหนา้ ข้างละ 1 ต่อม ดูคลา้ ยหัวนม ดวงตาสี
ด�าครง่ึ ตาบนสีแดง สีสม้ หรอื สเี หลือง ลา� ตวั สี
น�้าตาล หรือสีเทา มลี วดลายเลอะ ๆ สีเข้ม คาง
และท้องสคี รีมมลี ายแตม้ สดี า� ขาด้านบนมีลาย
แถบขวางสีน้�าตาลเข้ม ลูกออ๊ ดมขี นาดใหญ่
รูปไข่ หางยาว ตวั สีน�า้ ตาลเทา หรอื น�า้ ตาล
อมส้ม มีลายประทัว่ ตวั ท้องใส
7766 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

มกั ซ่อนตัวตามใตก้ ้อนหินหรือเศษใบไม้
ร่วงใกล้กบั ลา� ธาร เคล่ือนท่โี ดยการเดินสขี่ า หรอื
กระโดดส้ัน ๆ เหมือนคางคก เมื่อถูกรบกวนจะ
ทา� ตวั แขง็ แกลง้ ตาย แลว้ คอ่ ย ๆ ลมื ตาให้เหน็
ตาสสี ้มดนู า่ กลวั มักไดย้ ินเสยี งรอ้ งในชว่ งตน้ ฤดู
หนาว ร้องเสียงดงั คลา้ ยเสยี งเปด็ ดัง “กวา๊ ก กวา๊ ก
กวา๊ ก” เป็นจงั หวะ ตัวเมียวางไข่ตดิ กับวัสดุ ลกู
อ๊อดกนิ ซากพชื ซากสัตว์เปน็ อาหาร สว่ นตัวเต็มวัย
กนิ แมลงขนาดเลก็ แมงมุม และปูขนาดเลก็

อาศยั ตามพ้ืนในป่าดิบเขา ปา่ ดิบแล้ง
และป่าเบญจพรรณทชี่ ุ่มช้ืน มักพบลูกออ๊ ดบริเวณ
แอง่ นา�้ นิ่งข้างลา� ธาร พบท้งั ในล�าธารขนาดใหญ่
และขนาดกลาง ซ่งึ พบไดต้ ลอดปี

พบในประเทศอินเดีย บงั คลาเทศ พมา่
ไทย ลาว และมาเลเซยี

พบกระจายทางภาคตะวันออกเฉียง
เหนือตอนบน และภาคเหนอื ไลล่ งมาถงึ ภาคใต้
ตอนลา่ ง ที่จังหวดั สตลู

ÊѵǏÊÐà·¹Ô ¹้ํÒÊÐà·Ô¹º¡ ËÇŒ ¢Òá¢7§Œ 7 77

7788 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

อ่ึงกรายหนงั ป่มุ

Mud Litter Frog
Leptolalax pelodytoides
(Boulenger, 1893)

ÊµÑ ÇÊÐà·¹Ô ¹ํ้ÒÊÐà·Ô¹º¡ ËÇŒ ¢Òá¢7Œ§9 79

องึ่ กรายหนังปุม่ เปน็ องึ่ กรายขนาดเล็ก ความยาวจาก

หัวถงึ กน้ 20-28 มิลลิเมตร รูปรา่ งเพรยี ว หน้าอกมตี ่อม
เป็นตุม่ นูนสีขาวบริเวณโคนขาหน้าขา้ งละ 1 ต่อม ดูคลา้ ย
หวั นม ดวงตาเป็นลายรัศมี ตาสเี หลอื งอา� พนั
ขอบตาดา้ นบนสีส้มซีด ๆ ลา� ตัวสนี �้าตาล มลี ายเลอะสเี ข้ม
บนหลงั ขา้ งลา� ตวั มีลายจุดสีดา� แผน่ หขู นาดเลก็ กวา่ ตา
มองเห็นไดช้ ดั เจน เหนือแผน่ หูมีหนังพบั เปน็ สนั จากหาง
ตาถึงมมุ ปาก บนขามลี ายพาดสเี ขม้ ท้องสีขาว
ตีนไมม่ ีพงั ผดื ปลายนวิ้ เรียว ลูกออ๊ ดลา� ตวั เรียวยาวมาก
สีน�้าตาลคลา�้ เกอื บดา� หางยาว ปากยดื หดได้

มกั หมกตัวตามใตก้ องใบไมท้ ีร่ ่วงหลน่ ตามพื้น
เกาะบนก้อนหิน หรือตามพืชคลมุ ดินเต้ยี ๆ และสง่ เสยี ง
ร้องคลา้ ยแมลง
8800 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

อาศยั ตามล�าธารขนาดเลก็ ที่มีนา้� ไหลเกอื บ
ตลอดปี ในปา่ ดิบแลง้ ระดับสูงไปจนถงึ ปา่ ดิบเขา มักพบ
ลูกอ๊อดใตก้ อ้ นหินหรอื เศษใบไม้ ในช่วงหนา้ แลง้ ตาม
แอง่ น้�าในล�าธารขนาดเล็กทน่ี �้าขงั เปน็ ชว่ ง ๆ

พบในประเทศพม่า และไทย
พบกระจายเป็นหยอ่ มตง้ั แต่ภาคเหนอื ลงไป
ตามแนวตะวนั ตก สุดทีจ่ งั หวัดกาญจนบรุ ี

ÊµÑ ÇÊÐà·¹Ô ¹ํ้ÒÊÐà·¹Ô º¡ ËÇŒ ¢Òá¢8§Œ 1 81

8822 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

องึ่ กรายห้วยใหญ่

reater Stream orned Frog

Megophrys major Boulenger, 1908

ÊµÑ ÇÊÐà·¹Ô ¹ํÒ้ ÊÐà·¹Ô º¡ ˌǢÒá¢8§Œ 3 83

อง่ึ กรายห้วยใหญ่ เป็นอึง่ กรายขนาดกลาง

ถึงขนาดใหญ่ ความยาวจากหวั ถึงกน้ 68-94
มลิ ลิเมตร รปู รา่ งคล้ายคางคก แตไ่ มเ่ ปน็ ปุม่ ปม
หวั กวา้ งพอ ๆ กับลา� ตัว จมูกเปน็ สนั ตาสีแดง
คลา้� รูมา่ นตาหดตวั ในแนวตงั้ แบบตาแมว ลา�
ตวั สีน้า� ตาลออกเหลือง หรอื ออกเทา บนหวั และ
หลังมลี ายสามเหลี่ยมสนี �้าตาลเข้ม มีแถบสดี า� จาก
ปลายจมกู ผ่านตา แผ่นหู ถงึ โคนขา ริมฝีปากบนสี
ครมี ขา้ งลา� ตัวอาจมีปุ่มเลก็ นอ้ ย ซอกขาและทอ้ ง
สีเหลือง อกชว่ งโคนขามตี อ่ มสขี าว 1 คู่ ดคู ลา้ ย
หวั นม ขามลี ายพาดขวางสีเข้ม ตนี หน้าไม่มีพงั ผืด
ตีนหลงั มีพังผดื เลก็ นอ้ ย ปลายนิ้วเรียว ลูกอ๊อดอึง่
กรายสกลุ น้ี ปากบานออกเป็นแพขนาดใหญ่เพือ่
กรองเศษอาหารบนผวิ นา�้
8844 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

ผสมพันธ์รุ ะหว่างเดอื นพฤศจกิ ายนถึง
ธนั วาคม ตวั ผจู้ ะออกมาร้องเรยี กตัวเมียทัง้ เวลา
กลางวนั และกลางคืน ตามต้นไม้ กง่ิ ไม้ หรือกอ้ นหิน
บรเิ วณริมลา� ธารที่มีแก่งหิน เสยี งร้องดงั “แว๊ก ๆ”
ดงั กงั วาน ตวั เมยี วางไข่บริเวณแอ่งนา�้ ไหลเออ่ื ย ใน
ซอกหิน หรอื ตล่ิงบรเิ วณท่มี รี ากไม้ ลกู อ๊อดพบตวั
ในหนา้ หนาว โดยจะโผล่แตส่ ว่ นหัวและปากออก
มาเพ่ือหาอาหาร ตวั เต็มวัยกนิ แมลงและสตั วเ์ ลก็ ๆ
เปน็ อาหาร

อาศัยอยตู่ ามพนื้ ในป่าดิบแลง้ ระดับสงู
จนถงึ ป่าดบิ เขาระดบั ต่า� ลูกออ๊ ดอาศยั บริเวณตลง่ิ
ของล�าธารหรือแอ่งข้างล�าธารทมี่ ีกองหินระเกะ
ระกะ

พบในประเทศไทย พม่า ลาว เวยี ดนาม
พบกระจายตง้ั แต่ภาคเหนือตอนบน ภาค
ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ภาคตะวนั ตก ลงไปถงึ ภาคใต้
ตอนบน แถบจงั หวดั ระนอง

ÊµÑ ÇÊÐà·¹Ô ¹้Òํ ÊÐà·¹Ô º¡ ˌǢÒá¢8Œ§5 85

คางคกหวั ราบ (Ingerophrynus macrotis) คางคกแคระ (Ingerophrynus parvus)

คางคกบา้ น (Duttaphrynus melanostictus) จงโคร่ง (Phrynoidis aspera)

8866 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

วงศ์คางคก B F IDA
“คางคก” นา่ จะมาจากเสยี งร้องทีเ่ ป็นเอกลกั ษณด์ ัง “คก ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ” เสยี งโทน
เดียว รอ้ งพยางค์เดียวหรือร้องซ�า้ ๆ เป็นจงั หวะ
ภาษาอังกฤษใช้ค�าว่า “toad” มาจากค�าวา่ “tadige, tadie” ในภาษาอังกฤษโบราณ ซ่งึ
ไม่มที มี่ า ภายหลงั มีการนา� มาแปลงเปน็ คา� ว่า “Toad-strangler” แปลว่า ฝนตกหนัก ซึ่ง
คาดว่ามาจากพฤตกิ รรมของคางคกทม่ี ักจะร้องเสียงดังก่อนทีจ่ ะมีฝนตกหนักตามมา ส่วน
ชอื่ “bufo” เป็นภาษาละติน มีความหมายวา่ “toad” เช่นกนั

ผวิ หนังค่อนข้างแห้ง มตี อ่ มพิษทั่วร่างกาย ท�าให้เหน็ เปน็ ป่มุ ปมทว่ั ตัว ส่วนใหญ่มี
ต่อมพิษขนาดใหญเ่ หนอื แผน่ หู เปน็ สัตว์สะเทินน�้าสะเทนิ บกวงศ์เดียวทไี่ มม่ ฟี นั สว่ นใหญ่
วางไขเ่ ป็นสายในน�า้

กระจายพนั ธ์ุท่ัวโลก พบแล้ว 33 สกุล ในประเทศไทยพบ 6 สกลุ 11 ชนดิ
ห้วยขาแข้งพบ 3 สกุล 4 ชนดิ ไดแ้ ก่ คางคกบ้าน (Duttaphrynus melanostictus)
คางคกหัวราบ (Ingerophrynus macrotis) คางคกแคระ (Ingerophrynus parvus)
และจงโคร่ง (Phrynoidis aspera)

ÊµÑ ÇÊÐà·¹Ô ¹Òํ้ ÊÐà·¹Ô º¡ ˌǢÒá¢8§Œ 7 87

คางคกบ้าน

คางคาก, คางขาก
Black-spined Toad
Duttaphrynus melanostictus
(Schneider, 1799)

8888 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

ÊµÑ ÇÊÐà·¹Ô ¹Ò้ํ ÊÐà·¹Ô º¡ ˌǢÒá¢8Œ§9 89

คางคกบา้ น เปน็ คางคกขนาดกลาง ความยาว

จากหวั ถงึ กน้ 115 มลิ ลเิ มตร หน้าเปน็ สนั สีดา�
ชดั เจน ต่อมพิษรปู ร่างยาวขนาดใหญ่อยูบ่ ริเวณ
หลังตา แผน่ หขู นาดใหญก่ ว่าตาปรากฏชัดเจน
ผิวหนงั เปน็ ป่มุ ปมทมี่ ีสว่ นยอดสีดา� หลังสนี �า้ ตาล
ด�า สีนา�้ ตาลเหลือง หรอื สนี ้�าตาลแดง บางตัวมี
ลายจุดสีแดง หรือแตม้ สเี หลือง ดา้ นทอ้ งสีขาว
ออกเหลือง หรือสนี �า้ ตาลอ่อน เทา้ มีพงั ผดื เลก็
น้อยค่อนข้างหนา เพศผ้มู ีถงุ ขยายเสียง ชว่ ง
เวลาผสมพนั ธุ์ล�าคอเปลยี่ นเป็นสเี หลืองหรอื สี
นา้� ตาลเหลือง ลูกอ๊อดมีขนาดตวั เล็กสดี า� ลา�
ตัวค่อนขา้ งกลม ปากอยู่ทางดา้ นล่าง หางเรยี ว
และแผน่ ครบี หางเล็ก
9900 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

มักนั่งนิ่ง ๆ คลาน และกระโดดระยะสน้ั ๆ กิน
อาหารหลากหลายในกลมุ่ สตั ว์ไม่มีกระดกู สนั หลงั ท่พี บตาม
พ้ืน อาหารหลกั ไดแ้ ก่ สตั วม์ ขี อ้ ปลอ้ ง โดยเฉพาะมด ปลวก
แมงป่อง ตะขาบ และกิ้งกือ มกั พบออกหากนิ เวลากลางคนื
กอ่ นฝนตกและช่วงฝนตกมักส่งเสยี งร้อง “คก คก คก คก”
เสียงทมุ้ กังวาน ดังมาจากท่ีซ่อน เมือ่ ถกู รบกวนจะกระโดด
หนี แต่ถา้ ถูกบีบรัดตวั จะปลอ่ ยสารเปน็ ยางสีขาวออกมาตาม
ผวิ หนัง ซงึ่ มพี ษิ ต่อระบบประสาทหากเขา้ สรู่ า่ งกาย ผสมพันธ์ุ
ในน้า� นิง่ หรือนา�้ ไหลเออื่ ย ท้งั แหลง่ น�้าชว่ั คราวและแหล่งนา�้
ถาวร วางไข่เป็นสายเกาะตดิ กบั พชื นา้� หรอื วสั ดุใต้น้�า

อาศัยตามพน้ื ในพนื้ ทช่ี ุมชน แหล่งเกษตรกรรม
ป่าปลกู ปา่ ชมุ ชน ป่าทดแทน ปา่ เต็งรัง ปา่ ดบิ แล้ง และตาม
พนื้ ทอ่ี าศัยของคน มักพบอยูใ่ ต้ดนิ หนิ ใบไมท้ ับถม ขอนไม้
ลกู ออ๊ ดอาศยั อยู่ในนา้� นงิ่ หรอื นา้� ไหลเอ่อื ย

กระจายพันธุ์ตั้งแต่ประเทศอินเดียแถบหิมาลายัน
พมา่ จนี ตอนใต้ คาบสมุทรอินโดจีน มาเลเซยี และอนิ โดนีเซีย

ในไทยพบกระจายท่ัวประเทศ
ÊѵÇʏ Ðà·¹Ô ¹ํÒ้ ÊÐà·¹Ô º¡ ËÇŒ ¢Òá¢9§Œ 1 91

9922 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

คางคกหวั ราบ

คางคกเหลอื ง, คางคกเลก็
Flat-headed Toad
Ingerophrynus macrotis (Boulenger,
1887)

ÊµÑ ÇÊÐà·¹Ô ¹ํÒ้ ÊÐà·¹Ô º¡ ËÇŒ ¢Òá¢9Œ§3 93

คางคกหัวราบ เปน็ คางคกขนาดเลก็ ความยาวจากหัวถงึ กน้ 55 มลิ ลิเมตร หวั ราบ ไม่มสี ัน ต่อม

พิษรูปร่างกลมขนาดพอ ๆ กบั ตา อยบู่ รเิ วณหลงั ตา แผ่นหูสีน้า� ตาลเข้มขนาดใกลเ้ คียงกับตาปรากฏ
ชัดเจน ผวิ หนงั เปน็ ปุม่ ปมซึ่งมสี ีครีม หลังสนี า้� ตาลออ่ น หรอื สเี หลือง มลี ายสีน�า้ ตาลเข้มรปู อักษร

วคี ว่�า (^) บรเิ วณไหล่ และจดุ สีดา� 2 จดุ กลางหลัง ดา้ นทอ้ งสีขาวออกเหลอื ง เท้ามพี ังผดื เลก็ นอ้ ย

ค่อนข้างหนา ตัวผ้มู ีถงุ ขยายเสียง ชว่ งผสมพนั ธุต์ วั ผจู้ ะมีสีตัวออกเหลืองมากขน้ึ ลกู ออ๊ ดสดี �า ตัว
เล็ก ค่อนข้างกลม ปากอยู่ทางดา้ นล่าง หางเรยี วเล็ก แผน่ ครบี หางเลก็ ใส
9944 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

เคลอื่ นที่โดยการกระโดดระยะสัน้ ๆ หลบซอ่ นตวั ในเวลากลางวันและออกหากิน
เวลากลางคนื โดยกินแมลงเปน็ อาหารหลกั ผสมพันธแ์ุ ละวางไขใ่ นแอง่ น้�า

อาศัยอยตู่ ามพืน้ ท่มี คี วามช้นื สงู ในป่าเบญจพรรณ ปา่ ดบิ แล้ง และป่าเต็งรงั
กระจายพนั ธุใ์ นประเทศไทย และพมา่
ในไทยพบกระจายทว่ั ประเทศ แตพ่ บกระจายเป็นหย่อมหา่ ง ๆ ทางภาคใต้ โดย
พบลงไปสดุ ที่จงั หวัดปัตตานี

浄 Çʏ Ðà·¹Ô ¹้Òํ ÊÐà·Ô¹º¡ ËÇŒ ¢Òá¢9§Œ 5 95

9966 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG


Click to View FlipBook Version