The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกห้วยขาแข้ง ฉบับปรุงปรุงใหม่ (2nd Edition) เป็นฉบับแก้ไขเนื้อหาจากการพิมพ์ครั้งที่ 1 ให้มีเนื้อที่ถูกต้องตามการแก้ไขในปัจจุบันตามหลักวิชาการ โดยจำนวนชนิดที่ปรากฎในเล่ม จากการอ้างอิงถึงจำนวนสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกประเทศไทย 170 กว่าชนิด และโดยการสำรวจและการตรวจเอกสารของทีมผู้จัดทำ พบจำนวน 48 ชนิดในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by rabbitinthemoon399, 2022-10-17 11:58:28

Amphibians Of Huai Kha Khaeng 2nd Edition

หนังสือสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกห้วยขาแข้ง ฉบับปรุงปรุงใหม่ (2nd Edition) เป็นฉบับแก้ไขเนื้อหาจากการพิมพ์ครั้งที่ 1 ให้มีเนื้อที่ถูกต้องตามการแก้ไขในปัจจุบันตามหลักวิชาการ โดยจำนวนชนิดที่ปรากฎในเล่ม จากการอ้างอิงถึงจำนวนสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกประเทศไทย 170 กว่าชนิด และโดยการสำรวจและการตรวจเอกสารของทีมผู้จัดทำ พบจำนวน 48 ชนิดในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง

Keywords: amphibians,HuaiKhaKhaeng,Thailand

คางคกแคระ

คางคกหัวจบี , คางคกไฟ
Dwarf Toad
Ingerophrynus parvus (Boulenger,
1887)

ÊѵÇʏ Ðà·¹Ô ¹้ํÒÊÐà·Ô¹º¡ ˌǢÒá¢9§Œ 7 97

คางคกแคระ เป็นคางคกขนาดเล็ก ความ

ยาวจากหัวถงึ กน้ 35-47 มิลลิเมตร บนหวั
มีสนั นูน 2 สนั ซึ่งโคง้ คล้ายรปู วงเล็บ แผน่
หูขนาดใหญ่กว่าตาปรากฏชัดเจน มีต่อม
พษิ รูปร่างกลมขนาดเล็กอยบู่ ริเวณหลังตา
จมูกแคบและย่นื หน้าเปน็ สัน ล�าตัวดา้ น
บนสนี า�้ ตาลอ่อน ถงึ สีเทา หลงั อาจมีลายสี
แดง หรอื แตม้ สีดา� ดา้ นท้องสนี �้าตาลอ่อน
หรอื สีครีม ขามลี ายพาดสีเข้ม เทา้ มีพงั ผดื
เลก็ น้อยคอ่ นข้างหนา เพศผู้มถี ุงขยายเสียง
9988 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

เคลอ่ื นทโ่ี ดยการกระโดดระยะส้นั ๆ กิน
แมลงเปน็ อาหารหลัก ตวั ผูส้ ง่ เสียงรอ้ งเกือบตลอดปี
เสยี งดงั “คก คก คก คก” เสียงสั้น โทนเสยี งเล็กแหลม
กว่าคางคกบา้ น ผสมพันธแ์ุ ละวางไขใ่ นแอง่ น�า้ หรอื
ล�าธารท่นี �้าไหลเอื่อย พบการวางไข่มากท่ีสุดในเดือน
สิงหาคม

อาศัยอย่ตู ามพืน้ ปา่ และกองใบไมต้ ามตล่ิง
ใกล้ลา� ธารทน่ี �้าไหลเอ่อื ย หรอื แอง่ นา้� ในปา่ เบญจพรรณ
ป่าดิบแลง้ ไปจนถึงป่าดิบเขาระดับต่า�

กระจายพันธ์ุในประเทศไทย พม่า กัมพูชา
มาเลเซีย และเกาะสุมาตรา

ในไทยพบกระจายทว่ั ยกเว้นภาคตะวันออก
เฉยี งเหนือ

浄 Çʏ Ðà·Ô¹¹ํ้ÒÊÐà·Ô¹º¡ ËÇŒ ¢Òá¢9§Œ 9 99

จงโครง่

กะหอง, กง, คางคกถ�า้ , หมาน�า้
iant Asiatic Toad
Phrynoidis aspera ( ravenhorst,
1829)

101000 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

ÊѵǏÊÐà·Ô¹¹ํÒ้ ÊÐà·¹Ô º¡ ˌǢÒá¢1Œ§01101

จงโคร่ง เป็นคางคกขนาดใหญ่ ตวั เมียความ

ยาวจากหวั ถึงก้น 95-140 มลิ ลเิ มตร ตวั ผู้ 70-
100 มลิ ลิเมตร หนา้ ไม่มีสัน แต่มสี ันเหนือแผน่
หรู ปู รา่ งยาวและหนาจรดต่อมพษิ รูปรา่ งกลมที่
อยบู่ รเิ วณหลังตา แผ่นหสู นี ้�าตาลเข้มขนาดเล็ก
กวา่ ตาปรากฏชดั เจน ผวิ หนงั เป็นป่มุ ปม หลงั
สนี ้า� ตาลออ่ นถงึ สนี ้า� ตาลเทา ทอ้ งสีขาวออก
นา้� ตาลและเตม็ ไปดว้ ยลายจดุ ขนาดเลก็ สนี า้� ตาล
เท้ามพี งั ผืดเตม็ ความยาวน้ิวและหนา ตัวผมู้ ีถุง
ขยายเสยี ง ลูกอ๊อดมีขนาดใหญส่ ดี า� สนทิ รูปร่าง
รีแบน ครีบหางใหญป่ ลายเรยี ว ปากรูปถ้วยอยู่
ดา้ นล่างของหัว
101022 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

ออกหากินเวลากลางคนื มักนงั่ นิ่ง
กลมกลนื ไปกับหนิ หรือรากไม้ เมือ่ ถกู รบกวนจะ
ท�าตัวแขง็ แกล้งตาย สืบพันธุไ์ ด้ตลอดทั้งปี ตัวผู้จะ
ส่งเสยี งรอ้ งดงั “กง กง” คลา้ ยเสียงสุนัขเห่า โดย
ร้องทงั้ กลางวนั และกลางคืน

อาศยั อยตู่ ามตลิ่งรมิ ลา� ธาร และตามถ้�า
ในพืน้ ที่ใกลเ้ คียง ตวั เตม็ วัยมกั พบเกาะรอ้ งบนกิง่
ไม้ หรอื ก้อนหินใกล้น้า� ตวั วยั อ่อนมักพบในพนื้ ที่
ปา่ ตามกองใบไม้ หรือ พืชคลุมดิน อาศัยในแก่งนา้�
ไหลแรง ในปา่ เบญจพรรณ และป่าดิบแลง้ ลกู ออ๊ ด
อาศัยอยใู่ นแอ่งน�้ารมิ ล�าธาร

กระจายพนั ธ์ุในประเทศไทย พมา่
มาเลเซยี และอินโดนเี ซยี

ในไทยพบต้งั แต่ภาคเหนอื ตอนล่างไล่
ตามแนวตะวนั ตกลงไปถงึ ภาคใต้ตอนล่าง

ÊѵǏÊÐà·¹Ô ¹้ํÒÊÐà·¹Ô º¡ ËÇŒ ¢Òá¢1Œ§03103

อ่งึ น้�าเต้า (Microhyla mukhlesuri) อ่งึ ข้างดา� (Microhyla heymonsi) อึ่งขาคา� (Microhyla pulchra)

อ่ึงลายแต้ม (Microhyla butleri) อ่งึ จวิ หลังจดุ (Micryletta inornata) อ่งึ แม่หนาว (Microhyla berdmorei)

อ่งึ ลาย (Glyphoglossus guttulatus) อ่ึงปุ่มหลงั ลาย (Kalophrynus interlineatus)

อ่ึงปากขวด (Glyphoglossus molossus)

อึ่งอา่ งบา้ น (Kaloula pulchra) อ่งึ อา่ งก้นขดี (Kaloula mediolineata)

101044 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

วงศ์องึ่ MICR YLIDA

“องึ่ ” สนั นิษฐานว่ามาจากเสียงรอ้ งขององึ่ อ่างซึ่งพบได้งา่ ยและบอ่ ยท่ีสุด ช่วงฝน
ตกหนักนา�้ นององึ่ อ่างจะออกมาสง่ เสยี งรอ้ ง “อึ่ง” ลากเสยี งยาว ๆ
ภาษาอังกฤษใชค้ า� ว่า “narrow-mouthed frog” แปลวา่ กบปากแคบ มาจากรปู ทรงของ
อึ่งท่ีมีช่วงหน้าสัน้ ปลายปากแหลมเล็ก สว่ นชือ่ วงศม์ าจากภาษากรกี “mikros” หมายถงึ
สิง่ เลก็ ๆ และ “hylas” ต้ังตามช่ือชายหนุ่มท่เี ป็นคู่หแู ละคนรักคนหนง่ึ ของ “ eracles”
หรือทรี่ ู้จกั กนั ในภาษาโรมันวา่ “ ercules” ไฮลาสเปน็ บตุ รของราชา Theiodamas แห่ง
เมอื ง Dryopians กบั พรายน้�า Melite ซ่ึงแทจ้ ริงเป็นบตุ รของเฮอร์คิวลิสทเ่ี ปน็ ชกู้ บั นางเม
ไลท์ ภายหลังถูกพรายนา้� ตนหนง่ึ หลงรกั และลอ่ ลวงพาไปอยู่ใตน้ �้าโดยไม่มีผู้ใดพบเห็นอกี
เลย สนั นิษฐานว่าน่าจะสือ่ ถงึ สง่ิ มชี ีวติ ขนาดเล็กทอ่ี าศัยอยู่ท้งั บนบกและในนา้�

หวั เล็กหลมิ ล�าตวั ทรงสามเหลี่ยม เมื่อมองทางด้านบน ส่วนใหญ่มีผิวหนังเรยี บ
และพองลมไดเ้ มอื่ ถูกรบกวน หากถูกบีบรัดตัวจะปล่อยยางเหนยี ว ๆ ออกมาตามผิวหนงั
ตมุ่ ใตฝ้ ่าตีนแหลมคม ใชข้ ดุ ดนิ ไดด้ ี มักอาศยั อยูต่ ามพ้นื ดนิ แตป่ ีนป่ายตน้ ไม้ไดด้ ี

กระจายพนั ธุ์ทัว่ โลก พบแล้ว 13 วงศย์ ่อย ในประเทศไทยพบ 1 วงศ์ย่อย คอื
MICR YLI A กระจายพันธอ์ุ ยใู่ นทวีปเอเชียตะวันออก ตงั้ แต่อินเดยี เกาหลี ลงมาถึง
หมู่เกาะซุนดาใหญ่ พบทงั้ หมด 7 สกุล ในประเทศไทยพบ 5 สกลุ 18 ชนดิ หว้ ยขาแข้งพบ
4 สกุล 11 ชนดิ ได้แก่ องึ่ ลาย (Glyphoglossus guttulatus) อ่ึงปากขวด (Glyphoglos-
sus molossus) อ่ึงปุ่มหลงั ลาย (Kalophrynus interlineatus) อ่ึงอา่ งก้นขดี (Kaloula
mediolineata) องึ่ อา่ งบา้ น (Kaloula pulchra) อึง่ แม่หนาว (Microhyla berdmorei)
อ่ึงลายแตม้ (Microhyla butleri) อ่ึงข้างด�า (Microhyla heymonsi) อึง่ น�า้ เตา้ (Micro-
hyla mukhlesuri) อึง่ ขาคา� (Microhyla pulchra) อ่ึงจวิ หลงั จดุ (Micryletta inorna-
ta)

ÊµÑ ÇÊÐà·¹Ô ¹้ํÒÊÐà·¹Ô º¡ ˌǢÒá¢1Œ§05105

101066 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

อึง่ ลาย

อึง่ แวน่ , อึ่งแดง
Striped Burrowing Frog
Glyphoglossus guttulatus (Blyth, 1856)

浄 Çʏ Ðà·Ô¹¹ํÒ้ ÊÐà·¹Ô º¡ ËÇŒ ¢Òá¢1Œ§07107

องึ่ ลาย เปน็ อึ่งขนาดกลาง ความยาวจากหวั ถงึ ก้น

43-50 มลิ ลิเมตร รปู รา่ งอ้วนกลม หนา้ สนั้ ป้าน ระยะ
ห่างระหวา่ งตากวา้ งกว่าความกวา้ งเปลอื กตาอยา่ ง
เห็นได้ชัด แผน่ หไู ม่ปรากฏ ปลายนิว้ เรยี ว มือไมม่ ี
พังผดื มปี มุ่ บนฝ่ามือ 3 ปมุ่ โดยปุ่มด้านนอกมรี ปู รา่ ง
ยาวทส่ี ดุ ขาสน้ั เท้ามพี ังผดื เล็กน้อย ฝ่าเทา้ มปี ่มุ
2 ปุ่ม โดยปุ่มด้านนอกขนาดใหญเ่ ปน็ สันแขง็ ปมุ่ ด้าน
ในเป็นรปู อกั ษรวีคว�่า ล�าตวั ด้านบนสนี ้า� ตาลเข้ม หลัง
และบนขาหลงั มลี วดลายสีน�า้ ตาลอ่อนหรือสีแดง
เรอ่ื ๆ ขอบสคี รมี และดา� ตามลา� ดบั ท้องสขี าว ฝา่ เทา้
สีด�าอมมว่ ง ลกู ออ๊ ดล�าตวั ปอ้ ม สนี ้�าตาลใส หางยาว
สีดา� มสี ีออกเหลอื งตามแนวสนั กลาง ครบี หางใส
ขนาดใหญ่ ปากอยู่ด้านหน้าสุดของหัว ดูคล้ายลูกอ๊อด
ของอึง่ ปากขวด ตา่ งกันทีส่ ่วนทา้ ยล�าตัวลูกอ๊อดของ
101088 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

องึ่ ลายเรยี วเทา่ กับส่วนต้นของหาง แตส่ ่วนท้ายลา� ตวั
ลกู ออ๊ ดของอึง่ ปากขวดใหญ่ต่างจากโคนหางชดั เจน

สว่ นใหญ่อาศัยอยูใ่ นโพรงดนิ ที่ขดุ โดยใช้
เท้าหลงั ท่ีเป็นสนั คมแข็งขุดพร้อมถอยหลงั ลงไป
เมื่อลงไปในดินแลว้ จะไม่มรี ่องรอยให้เหน็ เลย ในฤดู
แลง้ จะอาศยั อยใู่ นดินเกือบตลอดเวลา เมอื่ ถึงฤดฝู น
กลางวนั มักหลบซุกตัวตามพืน้ ปา่ ใตก้ องใบไม้ เศษไม้
รมิ โคนไมใ้ หญ่ หรือใกลก้ บั ล�าหว้ ยขนาดเลก็ จะออก
หากินในเวลากลางคนื และส่งเสยี งรอ้ งหาคู่ เสยี งดงั
“แตรด๊ แตรด๊ ” เสยี งดังก้องกงั วาน ผสมพนั ธุ์ช่วงต้น
ฤดฝู นทฝี่ นตกหนกั และคอ่ นขา้ งดกึ โดยจะมารวมกนั
เปน็ กลุ่มจ�านวนมาก ผสมพนั ธ์ุและวางไข่ในแอ่งน�้าขงั
ชั่วคราว รวมทง้ั ในอา่ งเก็บน�า้ ตัวเมยี วางไขเ่ ปน็ แพ

ลอยบนผิวน�้า หากถกู รบกวนจะมพี ฤติกรรมสบู
ลมเขา้ ปอดขยายตัวให้ใหญ่ข้นึ

ลูกอ๊อดมพี ฤติกรรมอยูร่ วมกนั เปน็ กล่มุ
ใหญแ่ ละว่ายน้า� ไปดว้ ยกนั เพ่อื ลดโอกาสถกู ล่า
และยังท�าให้ตะกอนฟุ้งขนึ้ มาเปน็ อาหาร

อาศยั อยตู่ ามพืน้ และในดนิ รว่ นซยุ
ลกู อ๊อดอาศยั อยูใ่ นแอ่งน้�าฝนขัง พบในป่าทดแทน
ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรงั และปา่ ดบิ แล้ง

กระจายพันธ์ุในประเทศพมา่ ลาว
เวียดนาม กมั พูชา และตอนเหนอื ของมาเลเซยี

ในไทยพบกระจายทว่ั ประเทศ
浄 Çʏ Ðà·¹Ô ¹้Òํ ÊÐà·Ô¹º¡ ˌǢÒá¢1§Œ 09109

111100 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

อง่ึ ปากขวด

อึ่งปากกระโถน, อ่งึ เพ้า, อึง่ เทา
Truncate-snouted Burrowing Frog
Glyphoglossus molossus nther,
1869

浄 Çʏ Ðà·¹Ô ¹Ò้ํ ÊÐà·Ô¹º¡ ËÇŒ ¢Òá¢1Œ§11111

อึ่งปากขวด เปน็ อ่งึ ขนาดใหญ่ ความยาวจากหวั

ถงึ กน้ 60 มลิ ลิเมตร รูปรา่ งอ้วนมาก หนา้ ส้ัน ปาก
หนาปลายตดั เหมอื นปากขวด ระยะห่างระหว่าง
ตากวา้ งกว่าความกวา้ งเปลอื กตาอย่างเหน็ ไดช้ ัด
แผ่นหไู ม่ปรากฏ ปลายนิ้วเรยี ว มีปมุ่ บริเวณส้นเทา้
ขนาดใหญแ่ ละเปน็ สันคม ลา� ตัวดา้ นบนสีนา้� ตาล
เทา หรอื สีดา� เตม็ ไปดว้ ยลายจุดขนาดเล็กสีครมี
สีน�้าตาลอ่อน หรือสนี ้�าตาลแดง บางตัวมีเปลอื กตา
สแี ดงอมส้ม ทอ้ งสีขาว ลูกออ๊ ดลา� ตวั ปอ้ ม สีน�้าตาล
ใส หางยาวสีด�า มีสอี อกเหลอื งตามแนวสันกลาง
ครบี หางใสขนาดใหญ่ ปากอยู่ด้านหน้าสุดของหวั
ดคู ล้ายลูกอ๊อดของอึ่งลาย ต่างกันท่สี ่วนทา้ ยลา� ตัว
ลูกออ๊ ดของอึ่งปากขวดใหญ่ต่างจากโคนหางชดั เจน
แตส่ ว่ นท้ายลา� ตวั ลูกอ๊อดขององ่ึ ลายเรียวเทา่ กบั
สว่ นตน้ ของหาง
111122 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในโพรงดนิ ทข่ี ุดโดยใชเ้ ท้าหลงั ท่เี ป็นสันคมแข็งขุดพรอ้ มถอย
หลงั ลงไป เมือ่ ลงไปในดนิ แลว้ จะไม่มรี ่องรอยให้เหน็ เลย ในฤดแู ลง้ จะอาศัยอย่ใู นดินเกือบ
ตลอดเวลา เมอื่ ถึงฤดฝู นจะออกมาหากนิ ในเวลากลางคนื และสง่ เสยี งรอ้ งหาคู่ เสยี งดงั ก้อง
กังวาน ผสมพนั ธช์ุ ่วงต้นฤดูฝน โดยจะมารวมกนั เปน็ กลุ่มก้อนจ�านวนมาก ตัวเมยี วางไข่
เปน็ แพ ลอยบนผิวน้�า หากถูกรบกวนจะมพี ฤติกรรมสูบลมเข้าปอดขยายตัวใหใ้ หญ่ขึ้น
ลกู ออ๊ ดมักลอยตัวนงิ่ ใต้ผวิ น�า้ เฉียงเปน็ มมุ 45 องศา อย่กู ันเปน็ กลมุ่ ใหญ่และวา่ ยน�า้ ไปด้วย
กนั เพ่อื ลดโอกาสถกู ลา่ และยังท�าให้ตะกอนฟงุ้ ขนึ้ มาเปน็ อาหาร

อาศยั อยตู่ ามพื้นท่ีเป็นดนิ รว่ น หรอื ดนิ ทราย ในป่าดิบแล้ง ปา่ เตง็ รงั
ปา่ เบญจพรรณ และตามพืน้ ที่อาศัยของคน

กระจายพนั ธุ์ในประเทศไทย พมา่ ลาว เวยี ดนาม กมั พูชา
ในไทยพบกระจายเกอื บท่ัวประเทศ โดยกระจายลงไปใตส้ ดุ ถงึ จงั หวัด
ประจวบครี ขี ันธ์ ท่ีอา� เภอบางสะพาน

浄 Çʏ Ðà·¹Ô ¹Ò้ํ ÊÐà·Ô¹º¡ ˌǢÒá¢1Œ§13113

องึ่ ปุม่ หลงั ลาย

อ่งึ ยาง
Striped Sticky Frog
Kalophrynus interlineatus
(Blyth, 1855)

111144 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

ÊѵǏÊÐà·Ô¹¹ํÒ้ ÊÐà·¹Ô º¡ ˌǢÒá¢1Œ§15115

อึง่ ปุม่ หลงั ลาย เปน็ อึง่ ขนาดกลาง ความยาวจาก

หัวถงึ กน้ 40 มลิ ลเิ มตร รูปร่างสามเหลยี่ ม อ้วน
ปอ้ ม หน้าส้นั แหลม แผน่ หูปรากฏไม่ชดั เจน ขาสั้น
ปลายนว้ิ เรยี ว ขอบขา้ งล�าตวั เปน็ สันสีขาวคมชัดจาก
ปลายจมกู ผา่ นเหนือตาไปถึงขาหลัง ผิวหนงั เปน็ ปมุ่
ปมขนาดเล็กละเอียด หลังสีน�้าตาล สีนา�้ ตาลเทา
สีน�้าตาลอ่อน หรือสีนา�้ ตาลเหลือง มีลายแถบหรือ

เสน้ รูปอักษรวีคว�่า (^) สีน้�าตาลขอบสีครีม บางตัวมี

ลายจดุ สีดา� ในแถบด้วย ซอกขาหลงั อาจมสี แี ดง
มจี ุดกลมสีดา� ขอบขาวสองข้างดา้ นท้ายลา� ตวั ดคู ลา้ ย
ดวงตาขนาดใหญ่คางและอกสนี ้า� ตาลตวั ผคู้ างมีสีด�า
ทอ้ งสีขาว ขาอาจมีลายพาด
111166 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

เมื่อถูกรบกวนจะพองตัวใหใ้ หญข่ นึ้ โหย่ง
ตวั และหนั หลงั ให้ศตั รู เพอื่ ให้เหน็ จุดด้านทา้ ยล�า
ตวั ท่ดี คู ลา้ ยดวงตาของสัตว์ หากถูกจบั จะปลอ่ ยสาร
เหนยี วคล้ายกาวออกมา

อาศัยอยตู่ ามพ้ืนในป่าเบญจพรรณ และ
ปา่ ดิบแลง้

กระจายพนั ธุใ์ นประเทศอนิ เดยี พมา่ ไทย
ลาว เวียดนาม กมั พูชา และจีนตอนใต้

ในไทยพบกระจายทวั่ ยกเวน้ ทางภาคใต้
浄 Çʏ Ðà·Ô¹¹ํ้ÒÊÐà·¹Ô º¡ ËÇŒ ¢Òá¢1Œ§17117

อึ่งอา่ งกน้ ขีด

อึ่งไม้แดง, อง่ึ ยาง, อึ่งขดี
Stripe-back Burrowing Frog
Kaloula mediolineata Smith, 1917

เป็นองึ่ ขนาดใหญ่ ความยาวจากหวั ถึง
กน้ 56 มลิ ลเิ มตร ลา� ตวั รูปร่างสามเหลย่ี ม อว้ น
ป้อม หน้าสน้ั ระยะห่างระหวา่ งตากวา้ งกว่า
ความกวา้ งเปลอื กตาอยา่ งเห็นได้ชดั แผน่ หไู ม่
ปรากฏ ปลายนวิ้ เรยี ว มอื ไม่มพี งั ผืด มีปุ่มบน
ฝา่ มือ 3 ปุม่ โดยปุ่มดา้ นในมีขนาดใหญ่ที่สดุ
ปมุ่ กลางขนาดเล็กทีส่ ุดและอยูใ่ กล้กับปมุ่ ดา้ น
นอกมากกว่า เทา้ มีพังผืดประมาณครง่ึ หนึ่งของ
ความยาวนว้ิ ฝ่าเทา้ มีปุ่ม 2 ป่มุ ขนาดใหญ่ โดย
ป่มุ ดา้ นนอกขนาดเล็กกวา่ มีสันยาวแข็งสา� หรบั
ขุดดนิ ล�าตัวดา้ นบนสนี า�้ ตาล มีลายแถบขอบด�า
บรเิ วณปลายหัวตอ่ เนือ่ งไปตามแนวเหนอื สีข้าง
2 ข้างลา� ตวั มลี ายแถบสคี รีมขอบด�า 1 แถบจาก
หลงั ถึงกน้ ทอ้ งสีขาวออกเหลืองมลี ายเลอะสี
นา้� ตาล ตวั ผูม้ ถี งุ ขยายเสยี งท่ีคางสดี า�

ลกู อ๊อดมลี า� ตวั สดี า� แตม่ ีแถบสคี รมี พาด
ขวางระหว่างตา ปากอยสู่ ว่ นหน้าสุดของหวั ชอ่ ง
ปากคอ่ นข้างใหญ่ ไม่มีตุม่ ฟันและไมม่ จี ะงอย
ปาก แผ่นครบี หางโปร่งแสง ตวั หางมีเสน้ สี
เหลอื งยาวบริเวณโคนหาง

111188 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

เวลากลางวนั อาศยั อยูแ่ ต่ในโพรงดนิ โดยเฉพาะในฤดูแล้ง เมอื่ ถึงฤดูฝนจะขึ้นมา
หากินช่วงกลางคนื ผสมพันธแุ์ ละวางไข่พร้อมกนั ในคืนทฝี่ นตกหนักเปน็ คร้งั แรกของฤดู
ฝน โดยวางไข่ในแอ่งนา�้ ชวั่ คราวในป่าทดแทน ป่าเบญจพรรณ และปา่ เตง็ รงั มักอาศัยอยู่
ตามพนื้ แตส่ ามารถปนี ป่ายไดด้ ี มพี ฤติกรรมการสืบพันธรุ์ วมกนั เปน็ กลมุ่ ก้อน ปกติเมื่อถกู
รบกวนจะใช้เทา้ หลงั ทเ่ี ป็นสันคมแขง็ ขดุ พรอ้ มถอยหลังลงไปในดินจนมดิ อย่างไรร้ อ่ งรอยให้
เหน็ หากถกู สัมผสั ตวั จะมีพฤติกรรมสูบลมเขา้ ปอดขยายตวั ให้ใหญ่ข้ึน และถา้ ถูกบีบรัดตัว
จะปลอ่ ยสารคล้ายกาวออกมาตามผิว

กระจายพนั ธ์ุในประเทศไทย ลาว กัมพูชา และเวยี ดนาม
ในไทยพบกระจายท่วั ประเทศ

浄 Çʏ Ðà·¹Ô ¹ํ้ÒÊÐà·¹Ô º¡ ËÇŒ ¢Òá¢1§Œ 19119

121200 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

อึ่งอา่ งบา้ น

อึง่ , หล่ึง, อึง่ ยาง
Painted Burrowing Frog
aloula pulchra ray, 1831

ÊѵǏÊÐà·Ô¹¹้ํÒÊÐà·Ô¹º¡ ˌǢÒá¢1§Œ 21121

องึ่ อา่ งบ้าน เป็นอ่ึงขนาดใหญ่ ความยาวจากหัว

ถงึ กน้ 65-75 มิลลิเมตร รปู ร่างสามเหลี่ยม อ้วน
ป้อม หนา้ สนั้ ระยะหา่ งระหว่างตากวา้ งกวา่ ความ
กวา้ งเปลือกตาอยา่ งเหน็ ได้ชัด แผ่นหูไมป่ รากฏ
นิว้ เรยี ว ปลายนวิ้ ขยายเปน็ ตุม่ ใหญข่ ้นึ เลก็ นอ้ ย
ปลายตดั มอื ไม่มีพังผืด มีปมุ่ บนฝ่ามือ 3 ปุ่ม โดย
ปมุ่ ด้านนอกมรี ปู ร่างยาวที่สุด ขาสั้น เทา้ มพี งั ผืด
เลก็ น้อย ฝ่าเท้ามปี ่มุ 2 ปุ่ม โดยปุ่มดา้ นในเปน็ รปู
อักษรวีคว�่า ปมุ่ ดา้ นนอกรูปรา่ งกลมขนาดเล็กมี
สนั ยาวแขง็ สา� หรบั ขุดดนิ ลา� ตวั ด้านบนสีน�้าตาล
อาจมีจุดสคี รีมกระจายห่าง ๆ มแี ถบกวา้ งสีครีม
ขอบด�าบรเิ วณปลายหวั และตอ่ เนื่องไปตามแนว
เหนอื สขี า้ ง 2 ข้างลา� ตวั ทอ้ งสีเทาอ่อนมลี ายเลอะ
สีเทาออ่ น มีลายเลอะสนี ้า� ตาล ตวั ผู้มถี ุงขยายเสียง
บริเวณคางสนี ้�าตาลดา� ลูกอ๊อดมีสดี �า สว่ นท้องใส

ชว่ งฤดูแล้ง ส่วนใหญ่อาศยั อยใู่ นโพรง
ดิน เมื่อถงึ ฤดูฝน เวลากลางวนั มกั ซอ่ นตัวอยู่
ตามใต้วัสดุตา่ ง ๆ ออกหากนิ เวลากลางคืน อยู่
ในพืน้ ทเ่ี ดมิ ตลอดเวลา อาหารไดแ้ ก่ แมลง พวก
มด ปลวก จงิ้ หรีด ตกั๊ แตน แมลงวัน และไส้เดอื น
และส่งเสยี งรอ้ งหาคู่ เสียงดงั “องึ่ -องึ่ ” เสียง
ลากยาวและดังก้องกงั วาน โดยแต่ละตัวจะมโี ทน
เสียงและจังหวะแตกต่างกนั บางครั้งเราจึงไดย้ นิ
เป็นเสียง “องึ่ -อา่ ง” ผสมพันธ์ชุ ว่ งตน้ ฤดฝู นท่ฝี น

121222 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

ตกหนกั ผสมพันธแ์ุ ละวางไขใ่ นแอง่ นา�้ ขังช่วั คราว เชน่ แอ่งน�้าฝนขัง หรือ ภาชนะรองรับ
น�า้ ที่วางท้ิงไว้ เช่น กระถาง หรอื โอ่ง และแหล่งนา�้ ถาวร เชน่ อา่ งเกบ็ นา้� หนอง บึง ตวั เมีย
วางไขเ่ ปน็ แพ ลอยบนผิวนา้� เมอื่ ถูกรบกวนจะใชเ้ ท้าหลงั ท่เี ปน็ สันคมแขง็ ขุดพร้อมถอยหลงั
ลงไปในดนิ จนมดิ อย่างไรร้ ่องรอย หากถกู สมั ผัสตวั จะมพี ฤติกรรมสบู ลมเขา้ ปอดขยายตัว
ใหใ้ หญ่ขึน้ และถ้าถูกบีบรดั ตวั จะปลอ่ ยสารคล้ายกาวออกมาตามผิวหนัง

ลกู ออ๊ ดที่เพง่ิ ออกจากไข่จะมีพฤติกรรมหมนุ ตัวอยู่แถวท้องน้�าใหต้ ะกอนฟุ้งข้นึ มา
และพฤติกรรมน้จี ะลดลงเมอื่ โตขึ้น

มกั อาศยั อยตู่ ามพนื้ แตย่ งั สามารถปีนขน้ึ ท่สี ูงได้ และอาจพบตามโพรงท่ีมีนา�้ ขัง
บนตน้ ไม้ ในป่าเต็งรัง ปา่ เบญจพรรณ และป่าดบิ แลง้

กระจายพันธใุ์ นประเทศไทย พมา่ ลาว กัมพูชา จนี ตอนใต้ เวยี ดนาม มาเลเซยี
และอินโดนีเซยี

ในไทยพบกระจายทั่วประเทศ
浄 Çʏ Ðà·¹Ô ¹Ò้ํ ÊÐà·¹Ô º¡ ˌǢÒá¢1§Œ 23123

121244 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

อง่ึ แมห่ นาว

เขียดเปอะ, เขยี ดขายาว
Berdmore s Chorus Frog
Microhyla berdmorei (Blyth,
1856)

浄 Çʏ Ðà·Ô¹¹้ํÒÊÐà·¹Ô º¡ ËÇŒ ¢Òá¢1§Œ 25125

อึง่ แมห่ นาว เปน็ อึง่ ในสกลุ Microhyla ท่มี ขี นาด

ใหญ่ทสี่ ดุ ความยาวจากหวั ถึงก้น 36-45 มิลลเิ มตร
หน้าค่อนข้างแหลม ระยะหา่ งระหวา่ งตาพอ ๆ กบั
ความกวา้ งเปลือกตา แผน่ หูไม่ปรากฏ ปลายน้ิว
เรยี ว มือไม่มพี ังผดื ฝ่ามอื มปี มุ่ ขนาดใหญ่ โดยด้าน
นอกปมุ่ ขนาดใหญ่กว่า ขายาว เทา้ มพี ังผดื เต็ม
ความยาวนิ้ว ปุม่ บนฝา่ เท้าด้านนอกเลก็ กวา่ ดา้ น
ใน ล�าตวั ด้านบนสีเทา สนี �้าตาลเทา หรอื สีน�า้ ตาล
แดง มลี ายเสน้ คลา้ ยรูปน�้าเตา้ หรอื รปู นา กิ าทราย
สนี า้� ตาลและสดี �าบนหลงั โดยลายบรเิ วณไหล่ ท้อง
และตะโพกอาจยาวเปน็ แถบลงมาทางสขี า้ ง ขอบ
ลายอาจมสี ีขาว ขามลี ายพาดสีเทาเขม้ สขี า้ งมี
ลายจุดสดี �า มีแต้มสดี า� เหนอื กน้ ท้องสีขาวเหลือง
ฝา่ เท้าสีดา� ตวั ผู้มีถุงขยายเสยี งและคางสดี า� ลูก
ออ๊ ดขนาดเลก็ ลา� ตวั ใส หัวปา้ น ปากอยู่สว่ นหน้า
สุดของหัว มกั อย่รู วมกันเป็นฝงู

กลางวันมักซอ่ นตัวใตก้ องใบไม้ ขอนไม้
หรือซอกหิน ออกหากินเวลากลางคืน อาหารได้แก่
แมลง โดยเฉพาะปลวกและมด เมือ่ ถูกรบกวน
121266 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

สามารถกระโดดหนไี ด้ไกลมาก ช่วงตน้ ฤดูหนาว
ตัวผูจ้ ะส่งเสยี งรอ้ งเรียกตัวเมีย ผสมพนั ธแ์ุ ละ
วางไขใ่ นแหล่งนา�้ นง่ิ ขา้ งลา� ธาร หรอื ตามแอ่งหนิ
ใกล้น�า้ ตก

อาศยั อยตู่ ามพื้นปา่ ใกลล้ า� ธาร หรอื
เกาะตามพชื รมิ นา�้ ในปา่ เต็งรัง ป่าเบญจพรรณ
ปา่ ดบิ แล้ง และปา่ ดบิ เขา

กระจายพันธต์ุ ้ังแตป่ ระเทศอินเดีย
บังคลาเทศ จีน พมา่ ลาว กัมพูชา เวยี ดนาม
มาเลเซีย และอินโดนีเซยี

ในไทยพบกระจายทวั่ ประเทศ

ÊµÑ ÇÊÐà·¹Ô ¹ํÒ้ ÊÐà·Ô¹º¡ ËÇŒ ¢Òá¢1§Œ 27127

อง่ึ ลายแต้ม

อึ่งลายเลอะ, องึ่ แอด๊
oisy Chorus Frog
Microhyla butleri Boulenger, 1900

121288 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

ÊѵǏÊÐà·Ô¹¹ํÒ้ ÊÐà·¹Ô º¡ ˌǢÒá¢1Œ§29129

อึง่ ลายแต้ม เปน็ อึ่งขนาดเล็ก ความยาวจาก

หวั ถงึ กน้ 26 มิลลิเมตร รปู รา่ งเพรียว หน้าสน้ั
ระยะห่างระหวา่ งตา กวา้ งกวา่ ความกว้างเปลอื ก
ตาเล็กนอ้ ย แผ่นหูไมป่ รากฏ มีสันจากหลังตาไป
ถึงโคนแขน นว้ิ เรยี ว ปลายนว้ิ แผอ่ อกเลก็ นอ้ ย
มอื ไม่มีพังผดื ฝ่ามอื มปี ุ่ม 3 ปุม่ โดยป่มุ ดา้ นนอก
มีขนาดใหญ่ท่ีสุด เทา้ มพี งั ผืดเล็กน้อย ประมาณ
1 ใน 3 ส่วนของความยาวน้วิ มีปุ่มบนฝา่ เทา้
2 ปุ่ม ล�าตัวด้านบนสเี ทา หรือสีนา้� ตาลเทา มี
แถบสีขาวจากหางตาถึงโคนแขน มลี ายเส้น
คล้ายรูปน้า� เตา้ หรอื รูปนา ิกาทรายสนี า้� ตาล
และสดี า� ขอบขาวบนหลงั สขี ้างสีเหลืองเร่อื ๆ
มีจดุ สีดา� กระจายอยู่ ทอ้ งสีขาวครีม ตวั ผมู้ ีถุง
ขยายเสียง คางสีน้า� ตาลดา�
131300 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

อาศยั อยู่ตามพื้นทีม่ ีความชนื้ ใกลร้ อ่ งน้�า และริมหว้ ย กินแมลงขนาดเล็กเป็น
อาหาร จะสง่ เสยี งรอ้ งหาคูช่ ่วงต้นฤดูฝน

อาศยั อยู่ตามพ้นื ใตก้ องใบไม้ ขอนไม้ กอหญ้า หรือเกาะตามใบพมุ่ ไม้ท่ไี ม่สูงนกั
บรเิ วณชายป่า ป่าเตง็ รัง ป่าเบญจพรรณ และป่าดิบแลง้

กระจายพันธ์ใุ นประเทศพมา่ จีนตอนใต้ ไทย ลาว กมั พชู า เวียดนาม และ
มาเลเซีย

ในไทยพบกระจายทั่วประเทศ
ÊµÑ ÇÊÐà·¹Ô ¹Òํ้ ÊÐà·Ô¹º¡ ˌǢÒá¢1§Œ 31131

131322 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

อึ่งข้างด�า

อง่ึ จวิ ข้างดา�
Dark-sided Chorus Frog
Microhyla heymonsi ogt, 1911

ÊѵǏÊÐà·Ô¹¹้Òํ ÊÐà·Ô¹º¡ ˌǢÒá¢1§Œ 33133

อ่ึงข้างด�า เป็นอึ่งขนาดเล็ก ความยาวจากหัวถงึ กน้

20-22 มลิ ลเิ มตร รปู ร่างสามเหลย่ี ม หลังแบน หน้า
สน้ั แผน่ หไู มป่ รากฏ น้ิวเรียว มอื ไมม่ ีพงั ผดื มีปมุ่ บน
ฝ่ามือรูปร่างรี 3 ปุม่ เท้ามพี งั ผดื เลก็ นอ้ ย มปี ุ่มบน
ฝ่าเท้า 2 ปุ่ม โดยปุ่มดา้ นนอกมขี นาดใหญ่ ลา� ตวั ด้าน
บนสเี ทา สีน้�าตาลเทา หรือสนี �า้ ตาลแดง มีลายจุด
ขนาดเล็กละเอยี ดเรียงเปน็ แถบสเี ทา หลายแถบ บาง
ตวั มีเส้นสีดา� ตามแนวกลางสันหลังจากปลายจมกู ถึง
กน้ และมลี ายจดุ 1-2 จุด ด้านขา้ งมีแถบสีดา� ตง้ั แต่
หน้ายาวตลอดสีข้าง ก้นแตม้ ด้วยสีด�า ท้องสีขาว
เหลอื ง ตวั ผมู้ ถี ุงขยายเสียงตรงคางสีด�า ลูกออ๊ ดมลี า�
ตวั เรียวยาว ปากยดื หดได้ มีลายดา้ นข้างเป็นแถบ
สดี �ายาวจากหวั จนไปถงึ หาง ลา� ตัวใสถงึ สีคลา้� ส่วน
หนา้ สดุ ของหวั ระหว่างตาทั้งสองขา้ งมีแต้มสเี งิน
131344 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

กลางวนั ซอ่ นตวั อยู่ตามพงหญ้าหรือใต้
กองใบไมท้ บั ถม ออกหากินเวลากลางคืน อาหาร
หลกั คอื มด และกินสัตว์ไมม่ ีกระดูกสันหลงั ขนาด
เล็กอ่ืน ๆ เชน่ หมัดไร แมลงปีกแข็ง ไส้เดือนฝอย
ไส้เดือน หนอนปล้อง แมงมุม หอย เป็นตน้ มกั
รวมกนั ขณะฝนตก สง่ เสยี งร้องเสียงดังอยตู่ ามที่
ซอ่ น ดัง “แอก ๆ ๆ ๆ ๆ” เสยี งส้นั รวั ออกลกู
เปน็ ไขอ่ ยตู่ ามแอ่งน้�าขัง หรือแอ่งน�้ารมิ ล�าธาร

อาศัยอย่ใู นป่าดิบแล้ง ปา่ เต็งรงั ป่า
เบญจพรรณ และพนื้ ทท่ี ถี่ กู เปล่ยี นสภาพ เช่น
สวน พื้นท่เี พาะปลูก และป่าทดแทน

กระจายพนั ธ์ใุ นประเทศพม่า ไทย ลาว
กัมพชู า เวยี ดนาม และมาเลเซีย

ในไทยกระจายทว่ั ประเทศ
浄 Çʏ Ðà·Ô¹¹Ò้ํ ÊÐà·¹Ô º¡ ˌǢÒá¢1Œ§35135

131366 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

อ่ึงนา�้ เต้า

อ่ึงจิว
rnate Chorus Frog
Microhyla mukhlesuri asan,
Islam, uramoto, urabayashi
and Sumida, 2014

ÊѵÇʏ Ðà·¹Ô ¹้ํÒÊÐà·Ô¹º¡ ËÇŒ ¢Òá¢1§Œ 37137

อ่งึ น้�าเตา้ เปน็ องึ่ ขนาดเล็ก ความยาวจากหวั ถึง

ก้น 28 มิลลิเมตร หนา้ สน้ั ระยะหา่ งระหว่างตา
กว้างกวา่ ความกว้างเปลือกตา แผน่ หูไม่ปรากฏ
นว้ิ เรยี ว มือไม่มพี งั ผืด มีปมุ่ บนฝ่ามอื 3 ปมุ่ โดย
ปมุ่ กลางมีขนาดเล็กท่สี ุด เท้ามีพังผดื เล็กน้อย มี
ปุ่มบนฝ่าเทา้ ดา้ นใน 1 ปุม่ และดา้ นนอก 1 ปุ่ม
ฝ่าเทา้ สดี �า ล�าตวั สีน�า้ ตาลแดง สนี ้า� ตาลเทา หรอื
สเี ทา บนหลังมีลายเสน้ คล้ายรปู น�้าเต้าหรอื รูป
นา กิ าทรายสีน�้าตาลเข้มและสีด�า สขี า้ งมแี ถบ
สดี �ามีขอบไม่แน่นอน ขามีลายพาดสีน�้าตาลเขม้
สลับสีนา�้ ตาลออ่ น ทอ้ งสคี รีม ตวั ผู้มีถงุ ขยายเสยี ง
131388 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

บริเวณคางสีดา�
กลางวนั ซ่อนตัวอย่ตู ามใต้กองใบไม้ กลางคนื ออกหากิน อาหารไดแ้ ก่ แมลง

โดยเฉพาะปลวกและมด เมอื่ ถกู รบกวนสามารถกระโดดไดไ้ กลเป็นเมตร มกั รวมกนั ขณะ
ฝนตก สง่ เสียงรอ้ งเสยี งดัง เพื่อเรยี กคู่ผสมพนั ธ์ุ ตัวเมยี ทม่ี ตี วั ผู้เกาะหลงั จะลงไปในน้�า
และออกไข่อยู่ตามแอง่ น้�าขัง หรอื แอง่ น�้ารมิ ล�าธาร โดยแพไขล่ อยอยู่บนผิวน�้า

อาศยั อย่ใู นปา่ เบญจพรรณ ปา่ เต็งรัง และพื้นท่ที ถี่ กู เปลี่ยนสภาพ เช่น สวน
พืน้ ที่เพาะปลูก และป่าทดแทน

กระจายพนั ธใุ์ นประเทศบงั คลาเทศ จนี ตอนใต้ ไทย ลาว กมั พูชา เวียดนาม
มาเลเซีย และสิงคโปร์

ในไทยพบกระจายท่ัวประเทศ
ÊµÑ ÇÊÐà·Ô¹¹ํ้ÒÊÐà·Ô¹º¡ ËÇŒ ¢Òá¢1Œ§39139

141400 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

อึ่งขาคา�

Painted Chorus Frog
Microhyla pulchra ( allowell, 1861)

ÊµÑ ÇÊÐà·¹Ô ¹ํ้ÒÊÐà·¹Ô º¡ ˌǢÒá¢1§Œ 41141

องึ่ ขาค�า เป็นอง่ึ ขนาดเล็ก ความยาวจากหวั ถงึ กน้

29 มลิ ลิเมตร หนา้ สั้น ระยะหา่ งระหวา่ งตากว้าง
กว่าความกว้างเปลอื กตา แผน่ หไู มป่ รากฏ นวิ้ เรยี ว
มอื ไมม่ พี งั ผดื มีปุ่มบนฝ่ามอื 2 ป่มุ เทา้ มีพงั ผืด
เกือบครึง่ หน่ึงของความยาวนิว้ มปี ุ่มบนฝา่ เท้า
2 ปุม่ ลา� ตวั ดา้ นบนมลี าย รปู อกั ษรวคี วา่� เรียงซอ้ น
กนั หลายสี เป็นแถบสีนา�้ ตาลอ่อน สลบั สคี รมี
สีนา้� ตาลเข้ม และสดี า� หลงั และตะโพกสนี ้�าตาลเทา
มลี ายแตม้ สดี �าขอบขาว ตะโพกมีแต้มสีด�า 1 คู่
ขาหนีบสีเหลืองสด ขามีลายแถบสนี ้�าตาลออ่ นสลับ
สีน�้าตาลดา� ท้องค่อนขา้ งใส เตม็ ไปดว้ ยจดุ ขนาด
เล็กละเอียดสนี า�้ ตาล ตวั ผู้คางสีดา� มีถุงขยายเสียง
ท้องสีเหลอื ง ลกู อ๊อดมขี นาดตัวเลก็ และโปรง่ แสง
แต่มีจดุ สดี า� กระจายทัว่ ล�าตัว ส่วนหน้าของหัวป้าน
บรเิ วณกลอ่ งสมองมแี ถบสีดา� รปู รา่ งโค้งคลา้ ยวงเลบ็
ล�าตวั และหางป้อม หางและแผ่นครบี หางใหญ่แต่ไม่
แข็งแรง ส่วนปลายของหางเรียวเล็กเปน็ เสน้
141422 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

ปากอยู่ทางดา้ นหน้าสดุ ค่อนมาทางดา้ นบน
ออกหากินเวลากลางคนื อาหารได้แก่ แมลง โดยเฉพาะปลวกและมด ช่วงฤดฝู น

ตวั ผ้จู ะส่งเสยี งรอ้ งหาคูอ่ ยตู่ ามพงหญ้า ผสมพนั ธ์ุและวางไขใ่ นแอ่งนา้� ขงั ชว่ั คราว อ่างเก็บน้�า
หนอง บงึ และทุ่งนา ในชว่ งฤดฝู นประมาณเดอื นเมษายนถึงกนั ยายน เม่ือถกู รบกวนมัก
หมอบตัวลงแนบพ้นื

อาศยั อย่ตู ามกองใบไม้ เศษไม้ ใกล้แหลง่ นา�้ ในปา่ เบญจพรรณ ป่าเตง็ รงั และ
ป่าดิบแลง้

กระจายพันธต์ุ ง้ั แตฮ่ อ่ งกง จนี ไทย กมั พชู า ลาว และเวยี ดนาม
ในไทยพบกระจายทว่ั ยกเวน้ ทางภาคใตต้ อนลา่ ง

浄 Çʏ Ðà·¹Ô ¹ํÒ้ ÊÐà·¹Ô º¡ ˌǢÒá¢1§Œ 43143

อึ่งจวิ หลงั จุด

อ่งึ หลงั จุด
Spot-backed Chorus Frog
Micryletta cf.erythropoda

141444 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG

ÊѵǏÊÐà·Ô¹¹ํÒ้ ÊÐà·¹Ô º¡ ˌǢÒá¢1Œ§45145

อึ่งจิวหลังจดุ เป็นอ่ึงขนาดเล็ก ความยาวจากหวั ถึง

ก้น 21-31 มิลลเิ มตร หนา้ มน แผน่ หไู ม่ปรากฏ นวิ้
เรยี ว มอื และเทา้ ไมม่ พี งั ผดื ฝ่ามอื มปี ่มุ 3 ปมุ่ โดยปุ่ม
ดา้ นในมขี นาดเลก็ มปี ุ่มบนฝา่ เทา้ ดา้ นใน 1 ปมุ่ ไมม่ ี
ป่มุ ดา้ นนอก ล�าตวั ดา้ นบนสีน้า� ตาล หรอื สีเทา มีแถบ
สนี ้�าตาลเข้มจากปลายจมูกผ่านตาไปยังสขี า้ ง มีลาย
แต้มสีนา้� ตาลเขม้ อมมว่ ง ซึ่งลายนอี้ าจเชือ่ มต่อกนั เปน็
แถบส้ัน ๆ บางตวั ไม่มลี ายเลย ขาสีส้มเหลือง ทอ้ ง
ใสโปรยด้วยจุดเลก็ ละเอียดสีขาวครมี ตวั ผูม้ ถี งุ ขยาย
เสียง

มักกระโดดแบบโหย่งตวั คราวละ 2-3 ครั้ง
เปน็ ระยะสน้ั ๆ คลา้ ยพวกคางคก แต่ส่วนใหญใ่ ช้
การคลานสข่ี าไปตามพนื้ มกั ซ่อนตัวในขอนไม้ผุ และ
อาศยั กนิ ปลวกบริเวณนน้ั เป็นอาหาร เสยี งร้องดงั
แหลม คลา้ ย จงิ้ หรีด
141466 AMPHIBIANS OF HUAI KHA KHAENG


Click to View FlipBook Version