Sherlock Holmes
เป็นนวนิยายภาษาอังกฤษแนวสืบสวนหรือรหัสคดี ประพันธ์โดยเซอร์อาร์เธอร์ โคนันดอยล์ นักเขียนและ
นายแพทย์ชาวสกอต ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 - 20 ตัวละคร เชอร์ล็อก โฮมส์ เป็นนักสืบชาวลอนดอนผู้
ปราดเปร่ืองท่ีมีช่ือเสียงโด่งดังด้านทักษะการประมวลเหตุและผล ทักษะด้านนิติวิทยาศาสตร์ โดยอาศัย
หลักฐานและการสังเกตอันคาดไม่ถึงเพื่อคล่ีคลายคดี ความโด่งดังของเชอร์ล็อก โฮมส์ ทาให้ผู้อ่านจานวนมาก
เชื่อว่าเขามีตัวตนจริงและพากันเขียนจดหมายไปหา ทั้งยังมีการตั้งพิพิธภัณฑ์เชอร์ล็อกโฮมส์ขึ้นนับเป็น
พิพิธภัณฑ์ท่ีแรกที่สร้างข้ึนสาหรับตัวละครในนิยาย และมีการนาไปดัดแปลงและแต่งเพิ่มเติมเป็นภาพยนตร์
ละครโทรทัศน์ ละครวิทยุ และสื่ออื่น ๆ อีกมากมายนับไม่ถ้วน กระท่ังบันทึกสถิติโลกกินเนสส์ระบุว่า เชอร์
ล็อก โฮมส์ เปน็ " ตวั ละครท่ีมผี ู้แสดงมากทส่ี ุด " ภาพลักษณ์ของ โฮมสก์ ลายเปน็ สญั ลักษณ์ของนักสบื และส่ง
อทิ ธพิ ลตอ่ วรรณกรรมและการแสดงในประเภทรหัสคดีจานวนมาก
เอกสารอ้างอิง
• Doyle, Arthur Conan (1893). The Original illustrated 'Strand' Sherlock Holmes (1989 ed.).
Ware, England: Wordsworth. pp. 354–355. ISBN 978-1-85326-896-0.
• Dakin, David (1972). A Sherlock Holmes Commentary. Newton Abbot: David & Charles.
ISBN 0715354930.
เลขท่ี 11 ขนิษฐา พรมโสภา
41
De civitate dei (The city of god)
ทีม่ า: https://pi-nu.blogspot.com/2018/04/city-of-god.html
ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก
The City of God – นครของพระผเู้ ปน็ เจา้ แตง่ โดย เซนต์ออเรริอุส ออกสั ตนิ (St. Augustine 354 -430)
เซนต์ออกสั ตนิ เกิดในครอบครัวของขนุ นางโรมนั ในแอฟริกาเหนอื มีแมเ่ ป็นคริสเตยี นซ่ึงพยายามปลูกฝงั ใหเ้ ขา
เปน็ คริสเตียนตัง้ แต่เด็ก แต่กไ็ มป่ ระสบความสาเร็จ ออกัสตินชอบเรียนภาษาละตนิ วรรณคดี และวาทะศิลป์
ไม่ชอบภาษากรกี เลย นอกจากน้ีเขายงั ชใ้ี ห้เห็นวา่ พัฒนาการของประวัติศาสตรน้ันเป็นเส้นนตรง มจี ดุ เริ่มต้น มี
ความตอ่ เน่ืองและมีความกา้ วหน้าทน่ี ามนษุ ย์ไปสเู่ ป้าหมายสงู สดุ ของชวี ิต ดังปรากฏในงานเขียนเร่อื ง “นคร
แห่งพระเจา้ ” หรือ The City of God ทเี่ ขยี นในปี ค.ศ. 426 The City of God มจี านวน 22 เลม่ เป็น
หนงั สือท่ีแกข้ ้อกล่าวหาของคนนอกศาสนา แม้ว่าผลงานชิน้ นีม้ ิใชผ้ ลงานทางประวตั ิศาสตร์ แต่งานเขยี นของ
เขาก่อใหเ้ กิดการปฏิวัตใิ นประวตั ิศาสตรน์ พิ นธ์ City of God (เมอื งของพระเจ้า) เป็นวรรณกรรมทางศาสนา
และทางโลก โดยวรรณกรรมทางศาสนาทส่ี าคัญน้ันคือ เทวนคร เปน็ เรอื่ งราวการสรา้ งโลกตามคติศาสนา โดย
ใจความสาคัญของหนังสือ City of God คอื โลกมี 2 เมือง แบง่ เป็นเมืองดีและเมืองชวั่ ร้าย เมอื งดเี ป็นตวั แทน
ของพระเจา้ สว่ นเมืองช่วั รา้ ยคอื เมืองปีศาจ It was pride that changed angels into devils; it is
humility that makes men as angels. “ความยิ่งโยโสเปลยี่ นเทวดาใหเ้ ป็นปีศาจ ความสุภาพถ่อมตนทาให้
คนเป็นเทวดา” Love and then what you will, do. “จงรกั และทาส่ิงท่ที ่านปรารถนาจะทา”
เอกสารอ้างองิ
Saint Augustine. (2012). The City of God (1-10), Study Edition. New York: New City
Press.
เลขท่ี 1 นางสาวกชกร วงศใ์ หญ่
43
Ecclesiastical History of the English People
ที่มา:
https://en.m.wikipedia.org/wiki/Ecclesiastical_History_of_the_English_People
วิวัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก
Ecclesiastical History of the English People ประวัติศาสตร์พระของอังกฤษ เป็นที่รู้จักกันดีในการ
ทางานของเรือประจัญบานเสร็จในประมาณ 731 คร้ังแรกของหนงั สือหา้ เรม่ิ ตน้ ดว้ ยพื้นหลงั ทางภูมิศาสตร์
บางสว่ นแลว้ ภาพวาดประวตั ศิ าสตรข์ องอังกฤษเรมิ่ ตน้ ดว้ ยการรุกรานของซีซาร์ใน 55 ปีก่อนคริสตกาล
เรอ่ื งราวโดยย่อของศาสนาคริสตใ์ นโรมนั บริเตนซึ่งนาศาสนาคริสต์มาสแู่ องโกล-แซกซอน เลม่ ทสี่ องเรม่ิ ต้น
ดว้ ยการตายของGregory the Greatในปี 604 หนงั สอื เลม่ ทีส่ ามเลา่ ถึงการเตบิ โตของศาสนาคริสต์ ใน
Northumbria ภายใตพ้ ระมหากษตั ริย์ออสวอลและOswy หนงั สอื เล่มท่สี ่เี ร่ิมต้นดว้ ยการถวายของทโี อดอร์
เปน็ อารค์ บิชอปแหง่ แคนเทอและเน้อื หาWilfridความพยายามที่จะนาศาสนาครสิ ต์ไปยงั อาณาจักรของซัส
เซ็กซ์ หนงั สือเล่มท่หี า้ นาเร่ืองราวมาสู่ยุคของเบด และรวมถึงเรื่องราวของงานเผยแผศ่ าสนาในฟรีเซีย และ
ความขดั แย้งกบั คริสตจกั รอังกฤษเรื่องการนดั หมายวนั อสี เตอร์ที่ถูกต้อง
เอกสารอ้างอิง
วกิ พิ ีเดีย. (2547). Ecclesiastical History of the English People. สบื ค้น 21 สงิ หาคม 2564,
จากhttps://en.m.wikipedia.org/wiki/Ecclesiastical_History_of_the_English_People
เลขที่ 3 นางสาวกมลทพิ ย์ จนั ทาฟา้ เหลื่อม
45
Snow White
ท่ีมา:https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B9%82%E0%B8%99
%E0%B8%A7%E0%B9%8C%E0%B9%84%E0%B8%A7%E0%B8%95%E0%B
9%8C
ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรค์จรรโลงโลก
สโนว์ไวต์ หรือ เจ้าหญิงหิมะขาวเป็นเทพนิยายเรอ่ื งน้ีต้ังชื่อข้ึนตามตวั เอกของเรื่อง โดยดังเดิมเป็นนิทานพื้นบ้านของยุโรป
ได้รับการเล่าขานกันมาตา่ ง ๆ กัน แต่เทพนิยายเร่ืองสโนว์ไวต์ท่ีเรารจู้ ักกันดที ี่สดุ มาจากบทประพันธ์ในภาษาเยอรมนั ของ
พี่น้องตระกูลกริมม์ โดยพี่น้องตระกูลกริมม์ไดเ้ พิ่มตัวละครส่วนประกอบที่ทาให้เรื่องราวน่าสนใจย่ิงขึ้น อาทิ กระจกวิเศษ
และ คนแคระทั้งเจ็ด เป็นต้น เทพนิยายเร่ืองสโนว์ไวต์ในภาษาอื่น ๆ มีบทบาทที่แตกต่างกัน เช่น ในบางชาติได้แต่งบทให้
คนแคระทง้ั เจด็ เป็นโจร หรอื ให้ราชินีพูดคยุ กับดวงอาทิตย์ หรือดวงจันทร์ แทนกระจกวเิ ศษ เปน็ ต้น ในบทประพันธฉ์ บับอัล
บาเนยี รวบรวมโดย โยฮนั น์ จอร์จ ฟอน ฮาห์น และตีพิมพเ์ ปน็ ภาษากรีก และภาษาอัลบาเนยี เมื่อปี ค.ศ. 1864 สโนว์ไวต์
อาศัยอย่กู ับมงั กร 40 ตวั และสโนวไ์ วต์หลับไปเพราะใส่แหวนท่ตี ้องมนต์สะกด ด้วยเหตุนี้ เร่อื งสโนว์ไวต์จงึ ถกู จัดรวมอยู่ใน
กลมุ่ เทพนิยายรหัส 709 ซงึ่ เป็นเทพนิยายทีต่ วั เอกของเรือ่ งหลบั ไปเพราะสวมแหวนทั้งสิ้น ส่วนต้นแบบของเร่อื งสโนว์ไวต์ท่ี
แท้จริงน้ันยังไม่สามารถหาของสรุปได้ แต่คาดว่าน่าจะเป็นเทพนิยายท่ีถูกแต่งข้ึนในช่วงยุคกลาง เม่ือปี ค.ศ. 1937
ทางดิสนียไ์ ด้ดดั แปลงเทพนิยายเรอื่ งนีใ้ นรูปแบบภาพยนตรก์ ารต์ นู โดยใช้ชอ่ื วา่ สโนว์ไวตก์ ับคนแคระทง้ั เจด็ เนื่องจากได้รับ
เสียงตอบรับดมี ากและทารายได้ให้ทางวอลตด์ สิ นยี เ์ ปน็ จานวนมากหลงั จากน้นั ในปี ค.ศ. 2000 เธอได้รบั คัดเลือกให้เข้าเป็น
หนึง่ ในสมาชิกหลักของ เจ้าหญิงดสิ นีย์
เอกสารอ้างอิง
Grimm, Jacob and William, edited and translated by Stanley Appelbaum, Selected
Folktales/Ausgewählte Märchen: A Dual-Language Book Dover Publications Inc. Mineola, New
York. ISBN 0-486-42474-X
Theodor Ruf: Die Schöne aus dem Glassarg. Schneewittchens märchenhaftes und wirkliches
Leben. Würzburg: Königshausen und Neumann, 1994 (absolutely reliable academic work)
เลขที่ 8 นางสาวกัญฐิกา อบุ ลมณี
47
The Tragical History of D. Faustus
ท่มี า: https://en.wikipedia.org/wiki/Doctor_Faustus_(play)
วิวัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก
The Tragical History of D. Faustus
วรรณกรรมเร่ืองน้ีเขียนเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1587 และตีพิมพ์เป็นภาษาเยอรมันชื่อ Historia von D.
Johann Fausten และได้มีการนากลับมาเขียนใหม่หลายครั้ง แต่ฉบับท่ีโด่งดับที่สุดคือฉบับบทละคร
ของคริสโตเฟอร์ มาร์โลว์ ถูกตีพิมพ์คร้ังแรก ค.ศ. 1604 โดยเป็นเร่ืองราวเก่ียวกับ เฟาสท์ นักเล่นแร่ธาตุ
ในขณะที่เขาเรียนอยู่มหาลัยคราคูฟ เพื่อนสนิทของเขามาร์ติน ลูเธอร์ และ ฟิลิป เมลแอชตัน ก็ได้เป็น
พยานในพิธสี ญั ญากับปีศาจ เฟาสทถ์ ูกประณามจากครสิ ตจักรว่าดูหมนิ่ ศาสนา ส่วนคาสัญญาของเฟาสท์กับ
ปีศาจคือ ชีวิตที่สุขสบายและการกลับมาหนุ่ม 24 ปีอีกคร้ังแต่น่าเสียดายที่ต่อมาเขาก็ไม่รู้สึกพอใจชีวิตท่ี
เปน็ อยูแ่ ละพยายามที่จะยกเลิกข้อตกลง ปีศาจจงึ ได้ฆ่าเขาอย่างทารุณ ซ่ึงการตายของเฟาสต์ในชีวิตจริงน้ัน
คือการเสียชีวิตจากการระเบิดในขณะทาการทดลองเล่นแปรธาตุ แต่จุดประสงค์หลักของวรรณกรรมเล่มน้ี
คอื การเทศนาคาสอนของศาสนาคริสต์
เอกสารอา้ งองิ
Marlowe, Christopher (1962). Bevington, David; Rasmussen, Eric (eds.). Doctor
Faustus, A- and B-texts (1604, 1616). Manchester: U of Manchester P. pp. 72–73. ISBN
9780719016431.
Chambers, E. K. (1923). The Elizabethan Stage. 4 Volumes, Oxford, Clarendon Press.
เลขท่ี 5 นางสาวกรกนก ทัศนนิตินัย
49
Decamerone
ที่มา: https://th.wikipedia.org/wiki/ตานานสบิ ราตรี
วิวัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรค์จรรโลงโลก
Decamerone วรรณกรรมเรื่องน้ี ผู้แต่งคือ โจวันนี บอกกัชโช แต่งโดยใช้ภาษากรีก และถูกแต่งขึ้นท่ี
อิตาลี สมัยยคุ กลางตอนปลาย ซึง่ เตม็ ไปด้วยความอดยาก โรคระบาดและสงคราม ซ่งึ โรคระบาดทีก่ าลงั เกิด
ณ ตอนนั้นคือ วัณโรค เป็นเรื่องสั้น 100 เร่ือง โดยผู้ประพันธ์ตั้งใจเขียนไว้ให้ผู้หญิงอ่าน ด้วยว่าผู้หญิงสมัย
นั้นไม่มีความบันเทิงเลย เรื่องน้ีมีตัวละคร 10 คน เป็นเด็กหนุ่มสาวชนชน้ั สูงของเมืองฟลอเรนซ์ หนีภัยกาฬ
โรคซง่ึ กาลังระบาดอยูใ่ นฟลอเรนซ์ ทง้ั สิบไปถึงยังคฤหาสถแ์ ลว้ ก็ไดค้ ิดข้นึ วา่ พวกเรานหี้ นอต้องอยทู่ ่ีน่ีกันถึง
2 สัปดาห์ จะทาอะไรกันดีเพื่อแก้เหงา อย่ากระน้ันเลย นอกจากร้องเพลง เต้นรา ฯลฯ แล้ว พวกเราจงมา
ผลัดกันเล่านิทานดีกว่า เล่าคนละเร่ือง 10 วันก็ 10 โดยในแต่ละวันราชินีหรือราชาของวันก่อนหน้าก็จะ
เลือกหัวข้อของวันต่อไป แต่ละวันก็จะเป็นหัวเร่ืองใหม่ นอกจากวันแรกและวันที่เก้า หัวข้อต่างๆ ก็รวมท้ัง
หัวข้อที่เก่ียวกับเหตุการณ์ร้ายที่ในท่ีสุดก็นาความสุขที่มิได้คาดหวังมาให้, ผู้ที่ได้รับความสาเร็จตามที่หวังไว้
หรือพบส่ิงท่ีหายไป, เรื่องรักที่จบลงด้วยความไม่มีความสุข เรื่องรักท่ีรอดจากภัยพิบัติอันร้ายแรง ผู้ท่ี
สามารถรอดจากอันตราย กลเม็ดของผหู้ ญิงท่ใี ช้กบั สามี กลเม็ดของท้ังชายและหญิงที่ใช้ต่อกนั และผทู้ ่ีได้รับ
สิ่งต่างๆ อย่างมากไม่ว่าจะเป็นความรักหรือเร่ืองอื่นๆ จุดประสงค์ของเรื่องนี้คือ แสดงผลกระทบกระเทือน
ทางกาย ทางใจ และทางสังคมของกาฬโรคต่อยุโรปในสมยั น้ัน
เอกสารอ้างอิง
The Greek title (1353). would be δεκαήμερο (τό) with a more correct classical
Greek compound being δεκαήμερον
เลขที่ 6 นางสาวกรกมล ดษิ ธรรม
51
The Divine Comedy
ที่มา:http://www.satit.up.ac.th/BBC07/AboutStudent/Document/Hist_MiddleAge
s/pdf/E_The_Literature.pdf
ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก
The Divine Comedy
The Divine Comedy เป็นวรรณกรรมเอกของอิตาลที ผ่ี ู้เขียน Dante Alighieri ได้จินตนาการว่าตนได้เดินทาง
ท่อง Inferno Purgatory และ Paradise ซ่ึงก็มีคนมักยกเทียบกับไตรภูมิพระร่วงของไทยอยู่บ่อยคร้ัง และมัก
เรียกล้อเลียน The Divine Comedy ว่า ไตรภูมิดานเต้ ซ่ึงความคล้ายคลึงกันนี้ก็คงเป็นธีมเร่ืองที่เก่ียวข้องกับ
ศาสนาเปน็ หลัก
โดยในเนื้อเร่ืองจะแบ่งเป็น3ส่วน คือ นรก แดนชาระ และสวรรค์เลา่ การเดนิ ทางของกวีคือดันเตเองสู่นรก นา
ทางโดยเวอร์จิล สองกวีเอกสองยุคได้ท่องผ่านสถานที่แห่งการทรมาน ซ่ึงเรียกว่า "วงกลม" มีอยู่ด้วยกัน 9 วง
ดันเตได้ผ่านประตูนรก เหนือประตูมีคาจารึก ว่า“ผู้ผ่านเข้าส่ปู ระตูนี้ จงละท้ิงความหวงั " ในส่วนของสวรรค์มีผู้
นาพาโดย เบียทริเช พอร์ตินาริ หญิงสาวที่สวยงามที่จะมีหน้าที่กากับเส้นทางของดันเต้ผ่านแดนสวรรค์สวรรค์
ถูกนาเสนอเป็นระบบสุริยจักรวาลประกอบด้วยดาวเคราะห์ 9 ดวงท่ีโคจรรอบวัตถุท้องฟ้าซึ่งพระเจ้าทรงอยู่
ภายใต้การเป็นตัวแทนของพระตรีเอกภาพอันศักดิ์สิทธ์ิที่สุดแม้ว่า The Divine Comedy จะเป็นวรรณกรรม
ศาสนาแต่แท้จริงแล้วเบ้ืองหลังคือการวิพากษ์การเมืองและศาสนาในบริบทสังคมอิตาเลียนท่ีแตกแยกกันอย่าง
ชัดเจน ในชว่ งศตวรรษท่ี 12-13
เอกสารอา้ งองิ
Wikipedia, สารานกุ รมเสรี (2017) Divine Comedy สืบคน้ จาก: en.wikipedia.org
เลขท่ี 9 นางสาวกุลจิรา บวรปญั ญานนท์
53
มหากาพย(์ epic)
ทมี่ า: https://pi-nu.blogspot.com/2018/04/chanson-de-roland.html
https://msixninehistory.wordpress.com/2013/10/29/ยคุ กลาง/
https://fr.m.wikipedia.org/wiki/Chanson_de_Roland
วิวัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรค์จรรโลงโลก
มหากาพย(์ epic)
ผู้แต่งชื่อ Turold แต่งข้ึนท่ีประเทศฝร่ังเศส สมัยคริสต์ศตวรรษที่ 8 ในฝร่ังเศสเรียกว่า ชองซองเดอเจสต์
(Chanson de Geste) เป็นเร่ืองราวของการสร้างวีรกรรมของวีรบุรุษในอดีตนิยมประพันธ์ด้วยโคลงกลอน
แพร่หลายในคริสตศ์ ตวรรษที่ 11-12
ชองซองเดอโรลองด์(Chanson de Roland) วรรณกรรมประเภทน้ีที่สาคัญ ซ่ึงเป็นเร่ืองราวการต่อสู้ของโร
ลองด์ ทหารคนสนทิ ของจักรพรรดชิ าร์เลอมาญกับกองทัพของพวกซาราเซน็ ซ่ึงเปน็ มุสลิมท่เี ดินทัพมาจากสเปน
เพื่อพิชิตยุโรปตะวันตก กองทัพของโรลองด์ถูกฝ่ายมุสลิมซุ่มโจมตีในเทือกเขาพิเรนีส แต่งข้ึนเพื่อสดุดีวีรกรรม
ของอัศวนิ ของฝรงั่ เศสในชว่ งสมยั กลาง
เอกสารอา้ งอิง
Turold.11th century.La Chanson de Roland. France: ม.ป.พ. ISBN 10: 2070308448 ISBN
13: 9782070308446
Wikipedia.ม.ป.ป. Chanson de Roland.สบื คน้ 13สิงหาคม2564
เลขท่ี 7 นางสาวกรองทอง สนุ ทรวิภาค
55
สรปุ
ภาษาและวรรณกรรมของยูโรเปียนนั้นอยู่ในตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน หรือ ตระกูลภาษาอินเดีย-
ยุโรป ท่ีมีความหลากหลายทางภาษา ที่ประกอบด้วยภาษาหลกั และภาษาย่อย รวมกันกว่า 443 ภาษา ท่ีทาให้
เกิดวรรณกรรมในภาษามากมาย ได้แก่ ภาษาอังกฤษ ภาษาละตินภาษาเยอรมัน ภาษากรีก ภาษาอิตาลี การมี
วรรณกรรมเกิดขึ้นนนั้ สะท้อนให้เห็นเหตุการณ์ของบ้านเมือง ศาสนา ปรัชญา การใช้ชีวติ ในชว่ งนั้นเปน็ อยา่ งไร
จนเกดิ การพฒั นาในยุคช่วงถัดไป และจากตัวอย่างทีผ่ ูอ้ ่านไดเ้ ห็น จะพบว่าวรรณกรรมยโู รเปยี นน้ัน มกั จะมีเนื้อ
เร่ืองเกยี่ วกบั ศาสนาและความเชื่อเป็นส่วนใหญ่ เพราะชาวยโุ รปเปน็ ชาวคริสต์เป็นจานวนมาก
ภาษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ ปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก และมีวรรณกรรม
มากมายท่ีเกิดขึ้นมาจากภาษาน้ีมากมาย ได้แก่ Romeo and Juliet ท่ีสอนถึงการใช้ชีวิตที่ละท้ิงความเกลียด
ชังด้วยความรัก และไม่ปล่อยอารมณ์มาครอบงาชีวิต , Sherlock Holmes เป็นการสร้างตัวละครขึ้นมา
คล่ีคลายคดีท่ีมีชื่อเสียง จนทาให้มีผู้อ่านเชื่อว่ามีตัวตนจริง ๆ , Harry Potter เป็นชุดนวนิยายแฟนตาซี เล่า
เรอ่ื งเก่ยี วกับการผจญภยั ของพอ่ มดวยั ร่นุ ทช่ี ื่อ แฮรี่ พอตเตอร์
ภาษาละติน เป็นภาษาท่ีนักวิทยาศาสตร์ นักปรัชญาของยุโรป ใช้ในการทางานเขียนและวรรณกรรม ได้แก่
The City of God เป็นหนังสือท่ีแก้ข้อกล่าวหาของคนนอกศาสนา ความรุ่งเร่ืองของโรมไม่ได้ข้ึนอยู่กับเทพเจ้า
ท้ังหลายของโรม , Ecclesiastical History of the English People ท่ีผู้แต่งเน้นความขัดแย้งระหว่างก่อน
แตกแยก โรมนั พระราชพิธแี ละเซลติกศาสนาครสิ ต์
ภาษาเยอรมัน เป็นภาษาต่างประเทศที่สอนท่ัวโลกมาเป็นอันดับ 3 ก็ยังมีวรรณกรรมที่เลื่องชื่อเกิดข้ึนได้แก่
Snow white เป็นเทพนิยายที่เล่าถึงชีวิตตวามเป็นหญิงสาวที่ชื่อสโนว์ไวท์ ท่ีถูกราชินีกลั่นแกล้ง และคนแคระ
วิวฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก
ท้ังเจ็ดคอยรับใช้ , The Tragical History of D. Faustus เป็นเรื่องราวเก่ียวกับ เฟาสท์ นักเล่นแร่ธาตุ
โหราจารยแ์ ละจอมเวทย์จากเยอรมนั
ภาษากรีก เปน็ ภาษาที่มีเอกสารทางประวัติศาสตร์เกา่ แก่ท่สี ุดในกลุ่มอนิ โด-ยูโรเปยี น และเกิดขนึ้ มาอย่างกว้าง
ขว้าง ได้แก่ ตานานสิบราตรี เล่าเก่ียวกับผลกระทบกระเทือนทางกาย ใจ และสังคมของกาฬโรคต่อยุโรปใน
สมยั นน้ั
ภาษาอิตาลี เป็นภาษาในกลุ่มภาษาโรมานซ์ โดยส่วนใหญ่ภาษาอิตาลีเป็นภาษาท่ีใกล้เคียงกับภาษาละตินมาก
ที่สุด ก็สามารถเกิดวรรณกรรมได้ เช่น The Divine Comedy เป็นเร่ืองที่เก่ียวข้องกับศาสนา ท่ีมีคนมักยก
เปรียบเทียบกบั ไตรภมู ิพระรว่ ง
ภาษาฝร่ังเศสเป็นภาษากลมุ่ โรมานซ์ในตระกลู ภาษาอินโด-ยโู รเปียน ภาษาฝร่งั เศสยังไดร้ บั อิทธพิ ลจากภาษา
กลมุ่ เคลต์ท่ีใชพ้ ดู กันในกอลก่อนทภ่ี าษาละตนิ จากจักรวรรดโิ รมันเขา้ มาแทนที่ และภาษากลุม่ เจอร์แมนิกของ
ชาวแฟรงกท์ ี่เข้ามาหลังยุคโรมัน
ไม่ว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงทางวรรณกรรมยูโรเปียนไปในทิศทางใดก็ตาม แต่งานวรรณกรรมของยูโรเปียนก็
ยังคงเป็นไปในลักษณะเดียวกัน เพราะงานวรรณกรรมยูโรเปียนนั้นเปรียบเสมือนบันทึกทางประวัติศาสตร์ท่ี
เปิดเผยให้คนรุ่นหลังได้รับรู้ต่อไปว่า เกิดอะไรขึ้นในสังคม ณ เวลานั้น เพราะฉะน้ัน วรรณกรรมยูโรเปียนน้ัน
เปรียบเสมือนสิ่งที่คอยสะท้อนแนวคิด สังคมและวัฒนธรรม นอกจากน้ีก็ยังมีเร่ืองประเพณีและความเชื่ อด้วย
โดยผ่านทางตัวหนงั สือ
57
ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก
บทท่ี 2
ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมภารตะและเอเชยี กลาง
ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก
ส่วนนา
วรรณกรรม
วรรณคดีหรือศิลปะท่ีเป็นผลงานอันเกิดจากการคิด และจินตนาการ และเรียบเรียง นามาบอกเล่า
บันทึก ขับร้อง หรือสื่อออกมาด้วยวิธีต่าง ๆ โดยท่ัวไปแบ่งวรรณกรรมเป็น 2 ประเภท คือ วรรณกรรมลาย
ลักษณ์ คือวรรณกรรมที่บันทึกเป็นตัวหนังสือ และวรรณกรรมมุขปาฐะ คือวรรณกรรมที่เล่าด้วยปาก ไม่ได้จด
บันทกึ วรรณกรรมจึงมีความหมายครอบคลุมกว้างถึงประวัติ นทิ าน ตานาน เรือ่ งเลา่ ขาขนั เรอ่ื งสั้น นวนยิ าย
บทเพลงคาคมวรรณกรรมเป็นผลงานศิลปะที่แสดงออกด้วยการใช้ภาษาเพื่อการส่ือสารเร่ืองราวให้เข้าใจ
ระหว่างมนุษย์ ภาษาเป็นส่ิงที่มนุษย์คิดค้นและสร้างสรรค์ขึ้นเพื่อใช้ส่ือความหมาย เร่ืองราวต่าง ๆ ภาษาที่
มนษุ ย์ใช้ในการสื่อสาร เช่น ภาษาพดู โดยการใช้เสียง ภาษาเขียน โดยการใชต้ วั อักษร ตัวเลข สัญลักษณ์ และ
ภาพ ภาษาทา่ ทาง โดยการใช้กิริยาท่าทาง
วรรณกรรมภารตะ
ประวัติของวรรณกรรมอินเดยี - วรรณกรรมอนิ เดียหมายถึงวรรณกรรมที่ผลิตในชมพทู วีปจนถงึ ปีพ.ศ.
2490 ในสาธารณรัฐอินเดียงานวรรณกรรมอินเดียที่เก่าแก่ได้รับการถ่ายทอดทางปากเปลา่ วรรณคดีสันสกฤต
เร่ิมตน้ ดว้ ยวรรณกรรมมุขปาฐะของRig Veda ซง่ึ เป็นวรรณกรรมทีม่ อี ายุ
เอเชยี กลาง
เอเชียกลางเป็นดินแดนท่ีเคยเป็นแหล่งอารยธรรมโบราณแห่งหนึ่งท่ีมีประวัติศาสตร์ความเจริญ
ต่อเน่ืองกันมาเป็นเวลากว่า 2000 ปี มาแล้วมีหลักฐานปรากฎอย่างชัดเจนว่าความเจริญของทวีปยุโรปที
รากฐานกาเนิดจากอารายธรรมไมโนน (Minoan Civilization)
61
มีจานวนประเทศท้ังหมด 8 ประเทศ ประกอบไปดว้ ย คาซคั สถาน อุซเบกิสถาน คีร์กซี เตริ ก์ เมนิสถาน
ทาจิกิสถาน จอร์เจีย อาร์เมเนีย อาเซอร์ไบจาน เคยรวมอยู่กับสหภาพโซเวียตท่ีปกครองด้วยระบอบเผด็จการ
คอมมิวนิสต์และใช้ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม แม้ได้รับเอกราชการปกครองตนเองและหันมาใช้ระบบ
เศรษฐกิจแบบเสรีนิยมแล้ว แตร่ ะบบเกา่ ทฝี่ งั รากลกึ อย่เู กอื บร้อยปี ทาใหค้ วามเปลีย่ นแปลงในภูมิภาคนเ้ี ปน็ ไป
อย่างล่าช้า มีขนาดพ้ืนท่ีรวมกันประมาณ 4.2 ล้านตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ระหว่าง เอเชียตะวันตกเฉียงใต้กับ
รัสเซีย ประกอบด้วยดินแดน 2 ส่วน โดยมีทะเลสาบแคสเปียนค่ันอยู่ เชื้อชาติเป็นพวกคอเคซอย์หรือกลุ่มคน
ผิวขาว และมีภาษารัสเซียที่ใช้เป็นภาษากลางในการติดต่อส่ือสาร ประชากรส่วนใหญ่นับศาสนาอิสลาม ส่วน
ประเทศที่อยู่ทางตะวันตกของทะเลสาบแคสเปียน ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ ประกอบไปด้วย
ประเทศ คาซัคสถาน อซุ เบกสิ ถาน และเติร์กเมนสิ ถาน
วิวัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก
ตัวอย่างวรรณกรรมภารตะและเอเชียกลางท่ียังคงมีชื่อเสียงมาถึงปัจจุบันได้แก่ วรรณกรรมรามายณะท่ีมีต้น
กาเนิดมาจากอินเดีย, ภาษาเอกเทวนาครีซ่ึงเป็นอักษรที่ใช้บันทึกพระไตรปิฏก, ศาสนาเชนคือศาสนาท่ีเป็น
ศาสนาเก่าแก่ของอินเดีย, คัมภีร์พระเวทซ่ึงเป็นคัมภีร์ที่เก่าแก่และศักดิ์สิทธิ์ท่ีสุดของอินเดีย, วรรณกรรมมหา
กาพย์มหาภารตะเป็นมหากาพย์ที่สาคัญของอินเดีย และนอกจากน้ียังมีภาษาอ่ืนๆเช่น ภาษาเบงกอลซ่ึงเป็น
ภาษาท่พี ดู โดยประชากรของประเทศบังกลาเทศและรฐั เบงกอลตะวนั ตกในประเทศอินเดีย เปน็ ต้น
63
อักษรเทวนาครี
ท่มี า://th.m.wikipedia.org/wiki/อกั ษรเทวนาครี
ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก
อกั ษรเทวนาครี
เกิดข้ึนเมื่อราวปี ค.ศ. 1200 พัฒนามาจากอักษรพราหมีในราวคริสต์ศตวรรษที่ 11 เป็นอักษรที่ใช้
เขียนภาษาฮินดี ภาษาสันสกฤต ภาษาบาลี และอ่ืนๆในประเทศอินเดีย ลักษณะของอักษรเทวนาครีจะเขียน
จากซ้ายไปขวา มีเส้นเล็กๆอูย่เหนือหัวตัวอักษร อักษรเทวนาครีเป็นอักษรที่ใช้เขียนพระไตรปิฎก ซึ่ง
ประกอบด้วย พระวินยั ปิฎก พระสตุ ตนั ตปิฎก พระอภธิ รรมปิฎก รวมถึงตวั เลขอารบกิ มที ่มี าจากอักษรเทวนาค
รอี กี ด้วย
ยุคอาณานคิ มมีความนิยมใช้อักษรเทวนาครีอยา่ งแพรห่ ลายในการตีพิมพง์ านสนั สกฤต ดว้ ยเหตุน้จี งึ ทาให้
อักษรเทวนาครีและภาษาสันสกฤตมีความเชื่อมโยงกันจนเกดิ ความเข้าใจผดิ ไปอยา่ งกว้างขวาง เรียกอักษรน้ีว่า
อักษรสันสกฤตก็มี เน่อื งจากอักษรเทวนาครีเป็นพ้นื ฐานของภาษาบาลี สนั สกฤต และภาษาอนื่ ๆของอินเดียใน
ปัจจุบัน ทาใหม้ ีการนาอักษรเทวนาครเี ข้าบรรจุเปน็ อกั ษรหน่ึงในคอมพวิ เตอร์
ถอื ได้วา่ อักษรเทวนาครีเป็นอกั ษรเก่าแก่ของอินเดียท่ใี ช้ตง้ั แต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
เอกสารอ้างอิง
Salomon, Richard (2003), "Writing Systems of the Indo-Aryan Languages", in Cardona,
George & Dhanesh Jain, The Indo-Aryan Languages, Routledge, 67-103
ธวัชชัย ดุลยสุจริต. (2561). ภาษาสันสกฤตง่ายนิดเดียว. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
https://www.gotoknow.org/blog/. (วันทีค่ ้นขอ้ มูล 2 มกราคม 2561).
เลขท่ี 24 นางสาวชนษิ ฐา ปอ้ งเขยี ว
65
คัมภีรพ์ ระเวท
ท่มี า: https://th.wikipedia.org/wiki/พระเวท
ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก
คัมภรี ์พระเวท
ภาษาพระเวท เป็นภาษาที่ชาวอารยันใช้เขียนคัมภีร์พระเวทและเป็นต้นตระกูลของภาษาอื่นๆใน
อินเดีย เมื่อชาวอารยันติดต่อกับชาวพ้ืนเมืองเดิมในอินเดีย ทาให้ภาษาเกิดการปะปนกันจนเกิดเป็นภาษา
ปรากฤต นกั ปราชญช์ าวอารยันที่ยังใช้ภาษาพระเวทเกรงว่าภาษาของตนจะปะปนกับภาษาอ่ืนจนเสยี ความ
บริสุทธ์ิของภาษาไป จึงมีการจัดระเบียบภาษาพระเวทขึ้นใหม่ตามหลักไวยากรณ์ คือ อัษฏาธยายี ภาษาที่
ถกู จัดระเบยี บแล้วจะเรยี กวา่ ภาษาสันสกฤต ส่วนภาษาปรากฤตทเ่ี หลอื นน้ั มวี วิ ัฒนาการมาเป็นภาษาทใี่ ช้ใน
อินเดียปัจจุบัน เช่น ภาษาฮินดี ภาษามราฐี ภาษาปัญจาบ ภาษาอูรดู เป็นต้น คัมภีร์พระเวท เป็นคัมภีร์ใน
ศาสนาพราหมณ-์ ฮินดู กลา่ วถึงบทสวดตา่ งๆทีเ่ กี่ยวกับความเช่อื ของชาวอนิ โดอารยนั โดยมีการรวบรวมเปน็
หมวดหมู่ในภายหลัง คัมภีร์พระเวทจะประกอบด้วยคัมภรี ์ 4 เล่ม ได้แก่ฤคเวท เป็นคัมภีร์ที่เก่าแก่ท่ีสุดและ
เป็นบทสวดสรรเสริญเทพเจา้ สามเวท เป็นคัมภีร์ท่ีรวบรวมบทสวดในพิธีกรรมถวายน้าโสมแก่ พระอินทร์
และขับกล่อมเทพเจ้า ยุชรเวท เป็นคัมภีร์ระเบียบวิธีการประกอบพิธีบูชายัญและบรวงสรวงเทพเจ้า และ
อาถรรพเวท เปน็ คมั ภรี ท์ ี่ถูกแตง่ ขึ้นในภายหลังจะรวบรวมคาถาอาคมหรือเวทมนตร์ต่าง
เอกสารอา้ งองิ
กรณุ า-เรืองอุไร กุศลาสัย. ภารตวิทยา. พมิ พ์คร้งั ท่ี 5 กทม. ศยาม. 2547
เลขที่ 21 นางสาวชญานิษฐ์ ฤทธิพงษ์
67
วรรณกรรมรามายณะ
ทมี่ า : https://th.wikipedia.org/wiki/รามายณะ
ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรค์จรรโลงโลก
วรรณกรรมรามายณะ
เป็นวรรณกรรมท่ยี ่งิ ใหญเ่ รื่องหน่ึงของอนิ เดยี และยังแพร่ไปสหู่ ลายประเทศในเอเซียเช่ือว่าเล่าสืบ
ตอ่ กนั มายาวนานในหลากหลายพืน้ ท่ีของชมพูทวปี แตผ่ ู้ไดร้ วบรวมแตง่ ให้เปน็ ระเบยี บครั้งแรกคือฤๅษีวาลมีกิ
โดยแบ่งเป็น 7 กัณฑ์ ดังน้ี 1)พาลกัณฑ์ 2)อโยธยากัณฑ์ 3)อรัณยกัณฑ์ 4)กีษกินธกัณฑ์ 5)สุนทรกัณฑ์
6)ยุทธกัณฑ์ 7)อตุ ตรกัณฑ์
เร่ืองย่อ พระนารายณ์ ได้สังหาร นนทก ตามคาบัญชาของพระอิศวร และให้ไปเกิดใหม่เป็น"
ทศกัณฐ์"มีสิบหน้ายี่สิบมือยังโลกมนุษย์จากนั้นจึงได้ไปขอพระอิศวรเพื่อตนและเหล่าเทวดาจะตามไป
สงั หารนนทกอีกในชาติหน้าซึ่งเรื่องราวเกิดขน้ึ จากนางสีดา พระมเหสี ของพระรามได้ถูกยักษ์ทศกัณฐ์ลักพา
ตัวจึงกลายเป็นสงครามขึ้นโดยมีพระลักษมณ์ ซึ่งเป็นน้องชายของพระรามและหนุมานทหารเอกและเหล่า
กองทัพวานรช่วยในการทาศึกในคร้ังนี้อยู่นานแต่ท้ายที่สุดฝ่ายยักษ์ก็ปราชัยพ่ายแพ้ต่อพระราม และพาตัว
นางสีดาพระมเหสกี ลับมาได้สาเร็จ
เอกสารอ้างองิ
ผศ.ดร.สถติ ย์ ไชยปัญญา.(2563).ประวตั วิ รรณคดีสันสกฤต:สานกั พมิ พ์มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง.
เลขท่ี 14 นางสาวจรัสศรี เสรฐิ สายบวั
69
มหาภารตะ
ที่มา: https://images.app.goo.gl/cTk6uAaXcDDgsQhM9
วิวัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรค์จรรโลงโลก
มหาภารตะ บางครง้ั เรียกสน้ั ๆ ว่า ภารตะ เป็นหน่ึงในสองของมหากาพย์ ทย่ี ิ่งใหญ่ของอินเดยี (มหากาพย์
อีกเร่ืองคือ รามายณะ) ประพันธ์เป็นโศลกภาษาสันสกฤต มหากาพย์เรื่องน้ีนับเป็นส่วนหน่ึงของคัมภีร์ "อิติ
หาส นบั เป็นมหากาพย์ท่ยี าวที่สดุ ในโลก ดว้ ยมจี านวนคา 1.8 ล้านคา การสงครามของอินเดียทั้งนยี้ ังถือว่า
เป็นคัมภีร์ศักดิ์สิทธ์ิท่ีสาคัญของศาสนาฮินดูนอกจากนี้มหาภารตะนี้ยังสอดแทรกความรู้เก่ียวกับ
ขนบธรรมเนียมประเพณี วิถีชีวิต ศาสนา การเมือง ศิลปะหลายแขนง ประวัติความเป็นมาของวงศ์ตระกูล
ต่าง ๆ ในเร่ือง และธรรมเนียมประเพณีการรบการสงครามของอินเดียยุคโบราณด้วย มหาภารตะเป็น
เรื่องราวความขัดแย้งของพ่ีน้องสองตระกูล ระหว่าง ตระกูลเการพ และตระกูลปาณฑพ ซึ่งท้ังสองตระกูล
ต่างก็สืบเช้ือสายมาจากท้าวภรต แห่งกรุงหัสตินาปุระ จนบานปลายไปสู่มหาสงครามที่ทุ่งกุรุเกษตร ซึ่งมี
พนั ธมติ รของแต่ละฝา่ ยเข้ารว่ มรบดว้ ยเปน็ จานวนมาก กลา่ วกนั ว่าน่ีคือการต่อสรู้ ะหวา่ ง ฝา่ ยธรรมะและฝ่าย
อธรรม ความดแี ละความชั่ว ซ่ึงในที่สุดแล้ว ฝา่ ยปาณฑพก็เปน็ ผู้ชนะในสงครามครงั้ นี้
เอกสารอา้ งอิง
จุดประกาย 4 บันเทิง, Ranclamoozhan จากบทกวีสู่หนังอินเดียท่ี 'แพง' ที่สุด. "โลกนี้มีมายา"
โดย ลีนาร์. กรุงเทพธุรกจิ ปที ี่ 29 ฉบับท่ี 10441: วนั จนั ทรท์ ่ี 24 เมษายน พ.ศ. 2560
"แฟนพันธุ์แท้ 11 เมษายน 2557 - มหาภารตะ". แฟนพันธุ์แท้ 11 April 2014. สืบค้นเมื่อ 12
April 2014
เลขที่ 16 นางสาวจนั ทร์จิรา เสาวงจันทร์
71
"ไชนประตีกจนิ หะ" สัญลกั ษณ์ทางการสากลของศาสนาเชน
ที่มา: https://th.wikipedia.org/wiki/ศาสนาเชน
ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรค์จรรโลงโลก
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนมแี หล่งกาเนิดมาจากประเทศอินเดียและเป็นศาสนาเก่าแก่ของอินเดีย เกดิ ก่อนพุทธศักราช
58ปี ศาสนาเชนมีความเก่าแก่คู่กับศาสนาพราหมณ์ โดยศาสนาเชนเป็นศาสนาอเทวนิยม และคาวา่ “เชน”
หรือ “ไชนะ”มาจากภาษาสนั สกฤต “ไชนะ”แปลวา่ ผชู้ นะและสามารถลุยข้ามสายนา้ แหง่ การเวยี นว่ายตาย
เกิดได้ โดยคัมภีร์ของศาสนาเชนคือ “คัมภีร์อังคะหรือคัมภีร์อาคม”จารึกคาบัญญัติหรือวินัยที่เป็นไป
เกี่ยวกบั ความประพฤตปิ ฎบิ ตั ขิ องนักพรตหรือคฤหสั ถผ์ คู้ รองเรือน และ “คมั ภีรส์ ิทธานตะ”กล่าวถึงเรื่องราว
ประเภทชาดกในศาสนา โดยนิกายของศาสนาเชนมี 2 นิกายได้แก่ “นิกายทิคัมพร”คือนักบวชต้องสละ
ทรัพย์สินทั้งหมดเพราะผู้ท่ีหลุดพ้นจากกิเลสจะไม่ยึดติดอยู่กับอะไรท้ังส้ิน และ “นิกายเศวตามพร” คือ
นกั บวชต้องนงุ่ ขาวห่มขาว ถอื ว่าปกปิดร่างกายไมใ่ ห้อจุ าดตาเท่าน้นั สัญลักษณ์ในรปู ภาพมอี ยู่ 4 ประการ 1.
รปู กงจักร สัญลักษณ์แทนอหิงสาอยู่บนฝ่ามอื 2.รปู สวัสดกิ ะ เคร่อื งหมายแหง่ สงั สาร 3.จดุ สามจดุ สัญลักษณ์
แห่งความเห็นชอบ รู้ชอบ ประพฤติชอบ 4.จุดหนึ่งจุดอยู่บนเส้นครึ่งวงกลมขา้ งบนสุดคือวญิ ญาณแหง่ ความ
หลุดพน้ เป็นอิสระสถิตอยู่ เป็นตน้
เอกสารอ้างองิ
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. พิมพ์คร้ังท่ี ๒, กรุงเทพฯ :
ราชบณั ฑิตยสถาน, 2556. 1,544 หน้า. ISBN 978-616-7073-80-4
เลขท่ี 18 นางสาวจารุวรรณ ดาแหม็ง
73
เวตาลปัญจวงิ ศติ หรือ นิทานเวตาล
ทมี่ า: https://www.wikiwand.com/th/นิทานเวตาล
ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก
วรรณกรรมสนั สกฤต
ภาษาสันสกฤต เปน็ ภาษาในตระกูลอนิ โด-ยโู รเปยี น สาขาอนิ โด-อารยัน ภาษาสนั สกฤตเคยเป็น
ภาษากลางในเอเชียใต้ยคุ เก่าถึงเอเชียใต้ยุคกลาง เมื่อมีการเผยแพร่วัฒนธรรมฮินดูและพุทธในชว่ งยุคกลาง
ตอนต้นท่ีเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียตะวันออกและเอเชียกลางจะใช้ภาษาสันสกฤตเป็นภาษาทาง
ศาสนา
วรรณกรรมสันสกฤตท่ีเป็นท่ีรู้จักกันอย่างมาก คือ เวตาลปัญจวิงศติ หรือนิทานเวตาล เป็น
วรรณกรรมสันสกฤตโบราณท่ีถูกเล่าโดยกวีช่ือ ศิวทาส และถูกเล่าต่อกันมามากกว่า 2500 ปี นิทานเวตาล
จะนาไปสู่เรื่องย่อยอีก 25 เรื่อง เนือ้ เร่อื งจะเก่ียวกบั พระวิกรมาทติ ย์ กษตั รยิ ใ์ นตานานของอนิ เดียโบราณได้
รบั ปากกบั โยคีชือ่ ศานติศีลวา่ จะไปนาตวั เวตาล อมนุษย์ทมี่ ีลกั ษณะคล้ายศพมนุษย์ผสมค้างคาวท่ีห้อยหัวอยู่
ท่ีต้นอโศกมาให้เพื่อนาไปใช้ในพิธีบูชาเจ้าแม่กาลี เม่ือจับตัวเวตาลได้เวตาลก็พยายามย่ัวยุให้พระองค์ตรัส
ออกมาโดยการเล่านิทานต่างๆ ทาให้พระวิกรมาทิตย์อดไม่ได้ท่ีจะวิจารณ์เกี่ยวกับนิทาน จึงทาให้เวตาล
ลอยกลับมาท่ีต้นอโศกอยู่เสมอ จนครั้งที่ 25พระวิกรมาทิตย์ระงับใจที่จะไม่ตรัสอะไรออกมา เวตาลจึงยอม
ให้พระองค์พาตนไปให้โยคศี านตศิ ีลได้
เอกสารอ้างอิง
น.ม.ส. อจั ฉริยกวีศรีรตั นโกสนิ ทร์, สถาบันภาษาไทย, กรมวชิ าการกระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ.
2541, หนา้ 22
เลขที่ 19 นางสาวจริ ัศยา งามประโคน
75
Risalo of Shah Abdul Latif (Selections)
ที่มา: https://bit.ly/AQriC
วิวฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก
วรรณกรรมสินธี
ภาษาสินธีเป็นภาษาของกลุ่มชนในเขตสินธ์ในเอเชียใต้ ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของประเทศ
ปากสี ถาน เปน็ ภาษาตระกลู อินโด-ยโุ รเปียน แม้วา่ จะเป็นภาษาของชาวอารยนั แตม่ อี ทิ ธิพลจากภาษาของด
ราวิเดียนด้วย ภาษานี้เขียนด้วยอักษรอาหรับดัดแปลง ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2491 รัฐบาลอินเดียพยายามให้ชาว
สินธใ์ นอนิ เดียเขยี นดว้ ยอักษรเทวนาครีแต่ไม่มกี ารยอมรับเท่าทคี่ วร
วรรณกรรมสินธี งานเขียนในภาษาสินธีจุดเร่ิมต้นศตวรรษท่ี 11 ในบทกลอนของมิชชันนารี ลักษณะ
สาคัญของวรรณกรรมสินธีคือ การอยู่ร่วมกันของความคิดเวทและเวทย์มนต์ของอิสลาม เนื้อหาของกวี
นิพนธ์ทางศาสนาที่เติบโตในสินธีตั้งแต่ศตวรรษท่ี 15 ถึงศตวรรษที่ 18 ถูกครอบงาโดยลัทธิเสรีนิยมทาง
ศาสนาโดยส้ินเชิง กวีที่ยิ่งใหญ่ท่ีสุดในสินธีคือชาห์อับดุลลาตีฟแห่งภีต เป็นท่ีรู้จักจากผลงานรวมบทกวี
Risalo Latif วิพากษ์วิจารณ์นิกายออร์โธดอกซ์ทางศาสนาทุกรูปแบบและส่ังสอนความเป็นหนึ่งเดียวของ
พระเจ้าและภราดรภาพสากลในภาษาทีม่ เี น้ือหาเกย่ี วกับลัทธิอารมณ์แบบซฟู ี
เอกสารอา้ งองิ
"Sindhi". The Languages Gulper. สืบคน้ เมอ่ื December 27, 2013
Annemarie Schimmel,ไข่มุกจากสินธุ: การศกึ ษาในสินธวุ ัฒนธรรม Jamshoro ดฮป์ ากีสถาน:
สินธุ Adabi คณะ (1986) หน้า 111
เลขที่ 20 นางสาวจุฑาวรรณ เหมวรรณานกุ ูล
77
ภาษาฮินดี
ทม่ี า: https://th.wikipedia.org/wiki
วิวฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก
ภาษาฮินดี เปน็ ภาษาทพ่ี ูด สว่ นใหญ่ในประเทศอนิ เดียเหนือและกลาง เป็นภาษากลุม่ อินโด-ยูโรเปยี น อยู่
ในกลุ่มยอ่ ย อนิ โด-อเิ รเนยี น มวี วิ ัฒนาการมาจากภาษาปรากฤต ในสาขา ของยคุ กลาง และมวี วิ ัฒนาการ
ทางอ้อมจากภาษาสันสกฤต ภาษาฮนิ ดีได้นาคาศพั ทช์ ั้นสงู สว่ นใหญ่มาจากภาษาสันสกฤต นอกจากน้ี
เนอ่ื งจากอิทธิพลของชาวมุสลมิ ในอินเดียเหนือ ภาษาฮินดยี ังมีคาทย่ี ืมมาจากภาษาเปอร์เซีย ภาษาอาหรบั
และ ภาษาตุรกี เป็นจานวนมาก และในท่สี ุดได้ก่อใหเ้ กิดภาษาอูรดูขนึ้ สาหรบั ภาษา"ฮนิ ดมี าตรฐาน" หรือ
"ฮนิ ดแี ท้" น้นั มใี ช้เฉพะการส่ือสารทีเ่ ปน็ ทางการ ขณะทภี่ าษาซง่ึ ใชใ้ นชวี ิตประจาวันในพ้ืนทสี่ ว่ นใหญน่ ้ัน
ถอื ว่าเป็นหนง่ึ ในภาษาถน่ิ ย่อย
วิวฒั นาการของภาษาในอนิ เดียก่อนภาษาฮนิ ดี รปู ภาษาโบราณของภาษาตระกูลอินโด-ยุโรป ในอินเดียนั้น
พบอยู่ในภาษาสันสกฤตพระเวท ต่อมาปาณินิได้ต้ังกฎเกณฑ์ทางไวยากรณ์ และจัดให้อยู่ในลักษณะแบบ
แผน สมัยอารยะของภาษายุคกลาง (500 ปีก่อนคริสตกาล - ค.ศ. 1000) เริ่มขึ้นหลังจากสมัยอารยะของ
ภาษายุคโบราณ ในระยะท่หี นึง่ ของยคุ นภ้ี าษาบาลีได้พัฒนาขนึ้ มา ในระยะที่สองภาษาปรากฤตได้พัฒนาขึ้น
ในระยะสดุ ท้ายนน้ั เรียกวา่ ระยะของภาษา อปั ภรญั ศ์
เอกสารอา้ งอิง
แปลและเรียบเรียงจาก หนังสอื ภาษาฮินดีชอ่ื Vyavharik Hindi Vyakaran aur Vartalab ผู้แตง่
Caturbhuj Sahay พิมพโ์ ดย Central Hindi Institute, Agra :1998
เลขท่ี 17 นางสาวจนั ทรรัตน์ อาทรกจิ วฒั น์
79
วรรณกรรมทมิฬ
ท่มี า: https://th.wikipedia.org/wiki/ภาษาทมิฬ
ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรค์จรรโลงโลก
วรรณกรรมทมิฬ ภาษาทมฬิ เป็นหน่ึงในภาษาตระกูลภาษาดราวิเดยี นและภาษาคลาสสกิ ของโลกและ
เปน็ ภาษาคลาสสิกแรกท่ใี ชส้ าหรับบทกวี แบ่งได3้ ยุคสมัยดังนี้
1.ภาษาทมฬิ โบราณ จารกึ ภาษาทมิฬที่เกา่ ท่ีสดุ พบราว พ.ศ. 243 เขยี นด้วย”อกั ษรทมิฬ-พราหมี
2.ภาษาทมฬิ ยคุ กลาง ภาษาทมฬิ ถกู ทาใหเ้ ปน็ สนั สกฤตมากข้นึ และเกิดภาษาผสมขนึ้ มา
3.ภาษาทมิฬยุคใหม่ มีการแทนทค่ี ายมื จากภาษาสนั สกฤตด้วยคาจากภาษาทมิฬท่ีมีความหมายเหมือนกัน
วรรณกรรม Sangam ประกอบด้วยวรรณกรรมภาษาทมิฬที่เก่าแก่ท่ีสุดท่ียังหลงเหลืออยู่ และ
เกย่ี วข้องกับความรกั ประเพณี สงครามในยคุ สมยั แซน การปกครอง การค้าขาย และการไว้ทุกข์ น่าเสียดาย
ท่ีวรรณคดีทมิฬที่เป็นของยุคซังกัมส่วนใหญ่สูญหายไป วรรณกรรมที่มีอยู่ในปัจจุบันจากช่วงเวลาน้ีอาจเป็น
เพียงเศษเสยี้ วของความมั่งค่ังของวสั ดุทผ่ี ลติ ในยุคทองของอารยธรรมทมิฬ
เอกสารอา้ งองิ
นิลากนั ตะสาตรีก. (2543). ประวัตศิ าสตร์ของอินเดยี ใต้ นิวเดลี: สานักพิมพ์มหาวทิ ยาลยั ออกซ์
ฟอร์ด ISBN 0-19-560686-8.
Krishnamurti, Bhadriraju (2003). The Dravidian Languages. Cambridge Language
Surveys. Cambridge University Press. p. 154. ISBN 0521771110.
เลขที่ 15 นางสาวจริยา สจุ รติ
81
ภาษาเบงกอล
ทีม่ า:https://th.m.wikipedia.org/wiki/ภาษาเบงกอลภาษาเบงกอล
วิวฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก
ภาษาเบงกอล
เป็นภาษาอินอารยันยุคกลาง ซึ่งมีวิวัฒนาการท่ีเกี่ยวข้องกับภาษาปรากฤตหรือภาษาพื้นเมืองท่ี
ใช้เป็นภาษาพูดซ่ึงภาษาเบงกอลเป็นภาษาท่ีมีความแตกต่างระหว่างภาษาพูดและภาษาเขียน โดยภาษา
เขยี นม2ี แบบคอื
1.สาธภุ าษา เปน็ รปู แบบการเขียนท่ีมกี ารผนั คากรยิ าแบบยาว และใชศ้ ัพทท์ ม่ี าจากภาษาสันสกฤต
2.ชลติภาษา เป็นรูปแบบการเขยี นภาษาเบงกอลสมยั ใหม่ ที่ใชก้ ริยาในรูปส้นั
ส่วนภาษาพูดของภาษาเบงกอลก็จะมีความแตกต่างเช่นเดียวกัน ไม่ว่าเป็นการที่ชาวเบงกอลนับถือศาสนา
ฮินดูและศาสนาอิสลามจะใช้ภาษาที่ต่างกัน ผู้นับถือศาสนาฮินดูนิยมใช้ศัพท์ที่มาจากภาษาสันสกฤต ส่วน
มสุ ลิมนิยมใช้ศพั ทท์ ่ีมาจากภาษาอาหรบั และเปอร์เซียแมว้ ่าจะมีความหมายท่ีเหมือนกัน
เอกสารอา้ งองิ
" Dhaka Medical College Hostel Prangone Chatro Shomabesher Upor Policer
Guliborshon. Bishwabidyalayer Tinjon Chatroshoho Char Bekti Nihoto O Shotero Bekti
Ahoto". The Azad (ภาษาBengali). 22 February 1952.
เลขที่ 22 นางสาวชนดิ า บรุ วงค์
83
ภาษาปัญจาบ
ท่มี า: https://th.m.wikipedia.org/wiki/ภาษาปัญจาบ
วิวัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก
ภาษาปัญจาบ
ภาษาปัญจาบ หรือ ปัญจาบี หรือ ปัญชาพี เป็นภาษาของชาวปัญจาบในประเทศอินเดีย และ
ประเทศปากีสถาน เป็นภาษากลุ่มอินโด-ยุโรเปียนภาษาเดียวที่เป็นภาษาวรรณยุกต์ มีสาเนียงต่าง ๆ
มากมาย โดยได้รับอิทธิพลจากภาษาสินธีในปากีสถาน และ ภาษาฮินดีในประเทศอินเดีย และชาวปัญจาบ
ได้ถูกแบ่งอินเดียกับปากีสถาน ในการแบ่งอินเดียเม่ือ พ.ศ. 2490 ภาษาและวัฒนธรรมปัญจาบ มักเป็น
ปัจจัยที่ทาให้ชาวปัญจาบอยู่รวมกัน ไม่ว่าจะสัญชาติหรือศาสนาใด และมีชาวปัญจาบอพยพจานวนมากใน
หลายประเทศ เช่น สหรฐั ออสเตรเลยี อังกฤษ แคนาดา ภาษาปญั จาบเป็นภาษาศักด์ิสิทธิ์ของชาวสิกข์ท่ีใช้
เขียนวรรณกรรมทางศาสนา เปน็ ภาษาทใี่ ช้ในดนตรภี ันคระท่แี พร่หลายในเอเชียใต้
ภาษาปัญจาบสมัยใหม่ได้รับอิทธิพลจากภาษาอาหรับ ภาษาอูรดู ภาษาเปอร์เซีย และภาษา
สันสกฤต ส่วนภาษาท่ีใช้ในหมู่ผอู้ พยพชาวปัญจาบจะมีคายืมจากภาษาท่ีใชใ้ นบริเวณนั้น เช่น ภาษาอังกฤษ
ภาษาสเปน ภาษาดตั ช์
เอกสารอา้ งองิ
Bhatia, T. "Punjabi: A Cognitive-Descriptive Grammar", 1993. p 279. ISBN 0-415-
00320-2
เลขท่ี 23 นางสาวชนติ า โรจนพ์ งศ์เกษม
85
ภาษาอินโด-อารยัน
ที่มา: https://hmong.in.th/wiki/Old_Indo-Aryan
วิวฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก
กล่มุ ภาษาอนิ โด-อารยนั
ภาษาอินโดอารยันท่ีเรียกว่าภาษาสันสกฤตกลุ่มย่อยของอินโดอิหร่านสาขาของยูโรเปียน
ภาษาครอบครัว ในศตวรรษท่ี 21 ต้นภาษาอินโดอารยันถูกพูดโดยมากกว่า 800 ล้านคนส่วนใหญ่ใน
ประเทศอินเดีย บงั คลาเทศ เนปาล ปากีสถานและศรลี ังกา เปอร์เซน็ ต์ของผ้พู ูดภาษาอินโด - อารยันตาม
ภาษาแม่: (รวมทั้ง ภาษาฮินดีและ อูรดู ) หลักฐานเร่ิมแรกของกลุ่มภาษาน้ีเริ่มจากภาษาพระเวทที่ใช้เขียน
คัมภีร์พระเวทของศาสนาพราหมณ์ในสมัยโบราณ เม่ือราว 3,457 ปีก่อนพุทธศักราช ภาษาสันสกฤตได้ถูก
ปรับปรุงและจัดมาตรฐานโดยปาณินี เรียกว่าภาษาสันสกฤตคลาสสิก ในแบบเดียวกับภาษาปรากฤต
หลากหลายสาเนียงได้ถูกพัฒนาข้ึนมาในยุคกลาง ภาษาปรากฤตได้เกิดความหลากหลายกลายเป็นสาเนียง
ต่างๆมากมาย ในอินเดียยุคกลางตง้ั แต่ พุทธศตวรรษที่ 11 - 18 บางสาเนยี งได้มกี ารใชใ้ นวรรณกรรม
เอกสารอา้ งอิง
สารานุกรมหอการค้า ระบบการเรียนรู้ระหว่างประเทศ พ.ศ. 2511 "ภาษาอารยันส่วนใหญ่ของ
อินเดียและปากีสถานเป็นของตระกูลอินโด - อารยันและสืบเชื้อสายมาจากภาษาสันสกฤตผ่านขนั้
กลาาง ภาษา ปรากฤตภาษาอินโด – อารยันเป็นภาษาท่ีสาคัญท่ีสุดในเชิงตัวเลขและดินแดนท่ี
พวกเขาครอบครองนนั้ ขยายไปทว่ั อินเดียตอนเหนือและตอนกลางและไปถึงทางใตไ้ กลถึงกัว"
เลขท่ี 13 นางสาวจณิสตา ทานรุ ัตน์
87
สรุป
จากตัวอย่างข้างต้นทั้งหมดที่ได้กล่าวมา จะสะท้อนให้เห็นถึงวิวัฒนาการด้านภาษาและ
วรรณกรรมของภารตะและเอเชียกลาง ซึ่งทมี่ าของภาษาและวรรณกรรมต่างๆท่ีมีพบเหน็ และยงั เลื่องช่ืออยู่
ในยคุ ปจั จุบนั กม็ ตี ้นกาเนดิ มาจากชาวอินเดยี โบราณจนถงึ ปัจจบุ ัน อินเดยี เปน็ เมืองที่มีวฒั นธรรมอารยธรรม
ที่เก่าแก่ พุทธศาสนามีอิทธิพลต่ออินเดียท้ังท่ีเป็นวัฒนธรรมทางวัตถุและทางจิตใจ ได้มีสถาปัตยกรรม และ
ประติมากรรมทางพุทธศาสนาเกิดขึ้นมากมาย ล้วนมีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ เช่นสังเวชนียสถานอันเป็น
สถานท่ีสาคัญที่ชาวพุทธท่ัวโลกไปกราบนมัสการ ในส่วนของด้านภาษาอินเดียนั้นก็สามารถแบ่งได้ 3 ยุค
สมัย ได้แก่
1.ภาษาสมัยเก่า ได้แก่ ภาษาเทวนาครี ท่ีใช้เขียนพระไตรปิฎก ภาษาท่ีใช้ในคัมภีร์พระเวท คือคัมภีร์
ฤคเวท ยชุรเวท สามเวท และอาถรรพเวท รวมตลอดท้ังคัมภีร์อุปนิษัท ซ่ึงเป็นคัมภีร์สุดท้ายของคัมภีร์พระ
เวท (เวทานต์) ภาษาท่ีใช้ในคัมภีรต์ ่างๆ เหลา่ นี้จะมคี วามเก่าแกล่ ดหลั่นกันมาตามลาดับ ภาษาสันสกฤตก็
จัดอยใู่ นสมัยน้ีดว้ ย
2.ภาษาสมัยกลาง ได้แก่ ภาษาปรากฤตซึ่งเป็นภาษาถ่ินของชาวอารยันท่ีใช้กันท้องถิ่นต่างๆ ของ
ประเทศอนิ เดยี เชน่ ภาษามาคธี มหาราษฏรี เศารเสนี เปน็ ต้น
3.ภาษาสมัยใหม่ ไดแ้ ก่ ภาษาต่างๆในปจั จุบัน เช่น ภาษาฮนิ ดี เบงกาลี ปญั จาบี มราฐี เนปาลี แม้จะ
เขา้ ใจกันวา่ เปน็ ภาษาที่มาจากภาษาปรกฤต แต่ลักษณะจะผดิ กนั เพราะมภี าษาของชาวอารยันเขา้ ไปปะปน
ด้วย จึงเกิดเป็นภาษาอีกมากมาย
วิวฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรค์จรรโลงโลก
จนถงึ ในยคุ ปัจจุบัน อินเดยี มีภาษาถ่นิ มากกว่า 200 ภาษา แตร่ ฐั ธรรมนญู รับรองเพียง 14 ภาษา และภาษา
ทางราชการคือภาษาฮินดี ซึ่งมีประชากรพูดมากท่ีสุดคือ ร้อยละ 40 ซึ่งภาษาฮินดีนี้คือการเปล่ียนแปลงรูป
มาจากภาษาสนั สกฤตและภาษาบาลี
นอกจากภาษาแล้วกย็ ังมีวรรณกรรมที่เกิดขึ้นและมวี ิวฒั นาการมาจนถึงปัจจุบัน วรรณกกรมที่มีชื่อเสยี งเป็น
ท่ีรู้จัก และจะนึกถึงทุกคร้ังเมื่อกล่าถึง อินเดีย เช่น รามายณะ มหาภารตะ นิทานเวตาล ในฉบับภาษา
สันสกฤต อโศกมหาราช และศาสนาที่มีมาแต่โบราณของอินเดยี คือ ศาสนาเชน แบ่งออกเป็น 2 นิกาย คือ
ทิคัมพร และ เศวตามพร ซ่ึงถือปฏิญญา 5 ประการ คือ อหิงสา สัตยะ อสตียะ พรหมจรรย์ และอปริ
เคราะห์ เอกลักษณ์ คือการทานมังสวิรัติ และคติประจาศาสนาคือ “ปรัสปโรปัครโหชีวานาม” หมายถึง
หน้าท่ีของสิง่ มชี ีวิตหนึง่ คือการชว่ ยเหลือกันและกนั
เอเชียกลางเปน็ ดินแดนที่เคยรวมอยู่กับสหภาพโซเวียตท่ปี กครองดว้ ยระบอบเผด็จการคอมมวิ นิสต์และ
ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมหลังจากน้ันได้ประกาศแยกออกเป็นสาธารณรัฐอิสระเพื่อปกครองตนเอง
ทาให้ประเทศสหภาพโซเวียตต้องล่มสลายลงใน พ.ศ.2534 สาธารณรัฐในเอเชียกลางที่แยกตัวออกมาจาก
อดีตสหภาพโซเวียต มี 8 ประเทศ ได้แก่ คาซัคสถาน อุซเบกิสถาน คีร์กีซ เติร์กเมนิสถาน ทาจิกิสถาน
จอร์เจีย อาร์เมเนีย และอาเซอร์ไบจาน ในส่วนของวิวัฒนาการด้านภาษาน้ัน เนื่องจากเคยอยู่ภายใต้การ
ปกครองของสภาพโซเวียตนานเกือบ 100 ปี ทาให้ประชากรทุกประเทศต้องเรยี นรู้และใชภ้ าษารสั เซียเป็น
ภาษากลางในตดิ ต่อสื่อสาร แตป่ จั จบุ ันได้มภี าษาเป็นของตนเองแลว้ ในแตล่ ะประเทศ ทางด้านวรรณกรรมก็
ยังมีปรากฏให้เห็น นั่นคือ วรรณกรรมอาร์เมเนีย Wounds of Amenia หรือ Verkʻ Hayastani ท่ีที่เกิดข้ึน
ในช่วงกลางสงครามรสั เซยี กับเปอรเ์ ซีย นน่ั เอง
89
ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก