The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by try.008, 2021-10-29 12:41:24

วิวัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรค์จรรโลงโลก

ปกหน้า_merged

เป็นหนังสือที่แปลจากนวนิยายฝรั่งเศส เร่ืองราวพูดถึงเรื่องมิเนอร์วาเทพีแห่งปัญญาปลอมตัว เมนเทอร์ของติว
เทอร์คือพระเอกตัวจริงของหนังสือ ซึ่งส่วนใหญ่มาจากสุนทรพจน์และคาแนะนาเก่ียวกับวิธีการปกครอง ครั้ง
แล้วครั้งเล่าเมนเทอร์ ประณามสงคราม ความฟุ่มเฟือย และความเห็นแก่ตัว และประกาศความเป็นพ่ีน้องของ
มนุษย์และความจาเป็นของการเห็นแก่ประโยชน์ผู้อ่ืน เขาแนะนาให้ยกเคร่ืองรัฐบาลอย่างสมบูรณ์และยกเลิก
ระบบการค้าและภาษีเก่ียวกับชาวนาและแนะนาระบบของรฐั บาลรัฐสภาและสหพันธ์แห่งชาติเพ่ือยุติข้อพิพาท
ระหว่างประเทศอย่างสันติ ต่อต้านความหรูหราและจักรวรรดินิยม เจ้าชายจะให้คาแนะนาโดยสภาของ
patricians Jean-Claude Bonnet นักประวัติศาสตร์วรรณกรรมชาวฝรั่งเศสเรียกเทเลมาคัสว่าเป็น "กุญแจที่
แท้จริงในพิพิธภัณฑ์แห่งจินตนาการแห่งศตวรรษที่สิบแปด" หน่ึงในผลงานท่ีได้รับความนิยมมากที่สุดแห่ง
ศตวรรษ เป็นหนังสือขายดีในทันทีท้ังในฝรั่งเศสและต่างประเทศ ผ่านหลายฉบับและแปลเป็นภาษายุโรปทุก
ฉบับและแม้แต่กลอนภาษาละติน (ครั้งแรกในกรุงเบอร์ลินในปี ค.ศ. 1743 จากนั้นในปารีส โดย เอเตียน วีล
[1737–87]. เป็นแรงบันดาลใจให้เกิดการลอกเลยี นแบบมากมาย

เอกสารอ้างอิง

 ฟร็องซวั เฟเนลอน (1717). Les Aventures de Télémaque. สบื คน้ 21 สิงหาคม 2564,
จาก https://wikipang.com/wiki/Les_Aventures_de_T%C3%A9l%C3%A9maque

เลขท่ี 59 นางสาวบศุ ยรินทร์ อดุลยโพธธิ รรม

191

Divan-i Shams-i Tabrizi
ทมี่ า: https://hmong.in.th/wiki/Diwan-e_Shams-e_Tabrizi

วิวัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก

Divan-i Shams-i Tabrizi

บทกวีส่วนใหญ่ใน Divan เป็นไปตามรูปแบบของ ghazal ซ่ึงเป็นบทกวีประเภทหน่ึงที่มักใช้เพื่อแสดงธี
มของความรักและมิตรภาพตลอดจนวิชาเทววทิ ยา Sufi ที่ลึกลับมากขึน้ โดยการประชุมกวเี ขยี น ghazals มกั จะ
นามาใช้บุคลิกบทกวีซึ่งพวกเขาก็เรียกว่าเป็นNoms เดขนนกในตอนท้ายของบทกวีของพวกเขาในสิ่งที่เรียกว่า
takhallos รูมเิ ซ็นสัญญากับ ghazals สว่ นใหญข่ องตัวเองในฐานะKhâmush (Silence) หรอื Shams-i Tabrizi
แม้ว่าจะเป็นของกวีนิพนธ์ Sufi ที่สืบทอดกันมายาวนาน แต่ Rumi ก็ได้พัฒนารูปแบบที่เป็นเอกลักษณ์ของ
ตัวเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเนื่องจากลักษณะภายนอกท่ีรูมิแต่งบทกวีของเขากวีนิพนธ์ส่วนใหญ่ของรูมิจึงมี
รปู แบบท่ีมคี วามสุขเกือบจะเหมอื นมนึ งงซ่ึงแตกต่างจากผลงานของกวอี สิ ลามมอื อาชพี คนอื่น ๆ

ในปี 1244 ซีอีรุมิแล้วกฎหมายและท่ีปรึกษาของการทางานตามคาสั่งของยุคสุลต่าน พบกับหลง Sufi
Derishชื่อ Shams-I ราบิในKonya รูมิซึ่งก่อนหน้าน้ีไม่มีพื้นฐานด้านกวีกลายเป็นคนที่ยึดติดกับแชมส์อย่าง
รวดเร็วผู้ซึ่งทาหน้าทเี่ ป็นครูให้กับรูมิและแนะนาให้เขารู้จักกับดนตรีร้องบทกวแี ละเต้นราผา่ นซูฟีซามสั แชมส์อ
อกจากคอนยาอย่างกะทนั หนั ในปีค. ศ. 1246 กลับมาในอกี หนงึ่ ปีตอ่ มาจากนั้นก็หายไปอีกคร้ังในปีค. ศ. 1248

บทกวเี หล่านจ้ี ะถกู เก็บรวบรวมหลงั จากการตายของรมุ โิ ดยนกั เรยี นของเขาในฐานะDivan

เอกสารอา้ งองิ

 Shams of Tabriz. Divan-i Shams-i Tabrizi. สบื ค้น 22 สงิ หาคม 2564
จาก https://hmong.in.th/wiki/Diwan-e_Shams-e_Tabrizi

เลขที่ 60 นางสาวบษุ ยมาศ ชีอยู่

193

สว่ นสรปุ

อาหรับ อนาโตเลีย-เอเชียไมเนอร์ มีจุดกาเนิดท่ีเอเชียตะวันออกกลางและเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ มี
ลักษณะท่ีคล้ายคลึงกันทั้งอารยธรรม ศาสนา และภาษา เป็นต้นกาเนิดของภาษาและวรรณกรรมที่สาคัญตา่ งๆ
ของโลกที่หลายคนรู้กนั จกั ดี

อาหรับ เป็นต้นกาเนิดของตัวเลขอารบิค ตัวอักษรรูปลิ่ม ตัวอักษรเฮียโรกราฟฟิก ยังมีตัวอักษรอีก
มากมายท่ีได้เกิด และภาษาท่ีโดดเด่นของอาหรับคือ ภาษาอาหรับ เป็นภาษาที่ใช้ในคัมภีร์อัลกรุอาน และเคย
เป็นภาษากลางในช่วงยุคทองของอารยธรรมอิสลาม ภาษาอาหรับยังคงมีการใช้อยู่ในปัจจุบัน โดยกลุ่มที่ใช้คือ
ชาวอาหรบั ทน่ี บั ถอื ศาสนาคริสต์ ชาวอาหรบั ดรซู ชาวยิวมซิ ราฮี และชาวมนั เดียนในอิรัก แต่ชาวมุสลมิ สว่ นใหญ่
ไม่ไดใ้ ชภ้ าษาอาหรับเปน็ ภาษาแม่ แต่สามารถอา่ นภาษาอาหรบั ทเ่ี ก่ยี วข้องกบั ศาสนาได้ และสงิ่ ทส่ี าคญั อกี อย่าง
กค็ อื กระดาษปาปิรสุ ต้นกาเนิดของกระดาษที่ใช้อยู่โลก

วรรณกรรมอาหรับเร่ิมเกิดข้ึนในช่วงศตวรรษท่ี 5 วรรณกรรมที่ได้รับการยกย่องและรู้จักกันท่ัว คือ
คัมภีร์อัลกุรอาน วรรณกรรมอาหรับเจริญรุ่งเรืองในยุคทองของอิสลาม และในช่วงศตวรรษท่ี 19 ได้มีการฟ้ืนฟู
วรรณกรรมอาหรับ ซึ่งไดม้ กี ารเรยี กในภาษาอาหรับวา่ อลั - นาหด์ า ทแ่ี ปลว่า ยุคฟ้ืนฟูศิลปวทิ ยา ก่อนศตวรรษ
ที่ 20 ในยุคที่เรียกว่า วรรณกรรมอาหรับคลาสสิก จนถึงในยุควรรณกรรมสมัยใหม่ ในศตวรรษท่ี 20 นักเขียน
ทงั้ กวีพนธ์และร้อยแกว้ ได้สะท้อนใหเ้ หน็ ถงึ การเมืองและสงั คมทเ่ี ปลีย่ นแปลงไปของโลก เปน็ รูปแบบการต่อต้าน
อาณานคิ ม ในยุคกลางตะวันออกใกล้ไดอารี่ ภาษาอาหรับถูกเขียนข้นึ ก่อนศตวรรษท่ี 10 ไดอารีใ่ นยุคกลางส่วน
ใหญ่จะมลี ักษณะทีค่ ล้ายกับไดอาร่สี มัยใหม่ และวรรณกรรมท่โี ดดเดน่ ในปจั จบุ ันทรี่ จู้ ักกันดี คอื อะลาดนิ ท่มี ตี ้น
กาเนิดมาจากตะวนั ออกกลาง และถกู จดั อยใู่ นอาหรบั ราตรีเช่นเดียวกัน

ภาษาโบราณท่ีเกิดข้ึนในอนาโตเลีย - เอเชียไมเนอร์ ได้สูญหายไปและถูกแทนท่ีโดยส่วนใหญ่คือภาษา
กรีก แต่ต้นตระกูลของภาษาท่ีรู้จักกันดี คือ ภาษาอินโด - ยูโรเปียน ประกอบไปด้วยภาษาหลักและภาษาย่อย
รวม 443 ภาษา ซ่ึงกลุ่มภาษาอนาโตเลีย จัดเป็นกลุ่มย่อยแรกที่แยกออกจากภาษาอินโด – ยูโรเปียน เม่ือราว

วิวัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก

ประมาณ 4 พันปีก่อนคริสตกาล ภาษาที่สาคัญที่สุดในกลุ่มภาษาอนาโตเลีย คือ ภาษาฮิตไทต์ แต่ถูกจัดเป็น
ภาษาท่ีตายแลว้

วรรณกรรมในอนาโตเลีย - เอเชยี ไมเนอร์ ส่วนใหญจ่ ะเปน็ วรรณกรรมท่เี กิดข้ึนในตุรกี แตว่ รรณกรรมที่
สาคัญในอนาโตเลีย ก็คือ คัมภีร์ฮีบรู เป็นคัมภีร์ในศาสนายูดาห์ และยังเป็นท่ีมาของคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธ
สัญญาเดิมของศาสนาครสิ ต์ด้วย

195

ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก

บทท่ี 6
วิวฒั นาการภาษาและวรรณกรรม อเมรกิ า

ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก

ส่วนนา

บรรพบุรุษของชนพื้นเมืองอเมริกันเช่ือกันว่าเป็นผู้อพยพมาจากทวีปเอเชียเมื่อ 40,000-12,000 ปีก่อน
ผ่านช่องแคบเบริง โดยสมัยน้ันชาวยุโรปจะเรียกชนพ้ืนเมืองกลุ่มนี้ว่า Red Indian หรือท่ีเราเคยได้ยินกันว่า
อินเดียนแดง ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 เผ่าใหญ่ ได้แก่ เผ่ามายา เผ่าแอซเท็ก และเผ่าอินคา (ในปัจจุบันใช้คาว่า
Native American) โดยมีพัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรมทีห่ ลากหลายในเวลาตอ่ มา

ภาษาของชาวอินเดียนแดงส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลมาจากศาสนา มีการใช้ภาษา Indigenous languages
of the Americas ส่ือสารกัน ในชนเผ่าแอซเท็กช่วงแรกจะใช้ภาพและสัญลักษณ์ ท่ีเรียกว่า glyphs เพ่ือเป็น
ตัวแทนของคาพูดและความคิด และได้มีการทาเป็นหนังสือโบราณท่ีเขียนด้วยลายมือของชนเผ่าแอซเท็ก
เกิดขึ้นตามมา

หลังจากยุคล่าอาณานิคมได้จบลง ภาษาของอเมริกาก็มีความหลาหลายมากขึ้น แต่ส่วนมากจะได้รับ
อิทธิพลจากภาษาอังกฤษ เนื่องจากเคยตกเป็นเมืองขึ้น และต่อมาภาษาอังกฤษก็ได้กลายมาเป็นภาษาประจา
ชาตขิ องอเมรกิ า

วรรณกรรมในอเมริกาเกิดขึน้ ในช่วงเวลาไลเ่ ล่ยี กัน ซึง่ ววิ ฒั นาการดา้ นภาษาและวรรณกรรมในอเมริกาล้วน
ไดร้ ับอทิ ธิพลมาจาก วิถีชีวติ สภาพสงั คม วัฒนธรรม ประเพณีและเหตกุ ารณ์ตา่ งๆทเ่ี กดิ ขึ้นในช่วงเวลานนั้

วรรณกรรมท่ีมีช่ือเสียงของอเมริกามีหลากหลาย ทั้งท่ีเป็นหนังสือ นิยาย นวนิยาย ภาพยนตร์ เพลง
การ์ตูน เช่น คาประกาศอิสรภาพของอเมริกา, The Constitution of United States, The Power of
Sympathy, Brokeback Mountain, Fences, Strange Fruit, Ymca, Mickey Mouse, The Simpsons
Marvel Cinematic Universe; MCU จกั รวาลมาร์เวล

199

ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก

ภาษาสาคัญและวรรณกรรมทีเ่ ลอ่ื งช่อื ในปจั จุบัน มที ้ังหมด 12 อยา่ ง แบ่งออกเปน็
วรรณกรรมมี 10 เรื่อง ไดแ้ ก่

• คาประกาศอิสรภาพของอเมริกา
• รฐั ธรรมนูญฉบบั แรกของโลก
• วรรณกรรมที่ใช้การร่างแบบจดหมายเหตเุ รอ่ื ง The Power of Sympathy
• ภาพยนตร์เรื่อง Brokeback Mountain
• ภาพยนตร์เรื่อง Fences
• เพลง Strange Fruit ของศิลปนิ บิลลี ฮอลิเดย์
• เพลง Y.M.C.A ของศลิ ปนิ วงวิลเลจพเี พิล
• การต์ ูน Mickey Mouse
• ภาพยนตรเ์ ร่ือง Marvel Cinematic Universe; MCU จักรวาลมารเ์ วล
• การต์ นู ซทิ คอม The Simpsons

201

หนังสือโบราณทีเ่ ขยี นดว้ ยลายมือของชนเผา่ แอซเท็ก
ที่มา: https://www.thoughtco.com/what-is-a-glyph-2086584

https://m.pantip.com/topic/39211008?

ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก

หนงั สือโบราณท่ีเขียนดว้ ยลายมือของชนเผา่ แอซเทก็

หนังสือโบราณท่ีเขียนด้วยลายมือของชนเผ่าแอซเท็ก เกิดข้ึนจากการท่ีชนเผ่าแอซเท็กไม่มีภาษาเป็น
ตวั อักษร จงึ เกิดการนยิ ามรูปภาพหรือสัญลักษณ์ตา่ งๆขึน้ เป็นตวั แทนของคาพดู และความคดิ เพ่ือใหเ้ กิดการ
เขา้ ใจความหมายระหวา่ งกัน และต่อมาชาวแอซเท็กกไ็ ด้เขยี นหนงั สอื ขน้ึ

หนังสือของชนเผ่าแอซเท็กแต่ละเล่มเต็มไปด้วยภาพท่ีมีสีสันสวยงาม โดยเขียนด้วยอักษรภาพGlyphs
หนงั สือนี้สะทอ้ นถึงศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี และความเชื่อดา้ นศาสนาของชนเผ่าแอซเท็กได้เป็นอย่างดี
เช่น สะท้อนวิถีชีวิตความเป็นอยู่ สะท้อนด้านการปกครอง และสะท้อนความเช่ือเรื่องการบูชาเทพพระเจ้า
เนอื่ งจากสงั คมในสมยั นั้นเป็นสงั คมการทาเกษตร

เอกสารอา้ งอิง:

 Journals. 2554. ลักษณะการใชภ้ าษาอเมริกาก่อนถูกล่าอาณานคิ มมายา.

เลขที่ 61 นางสาวปทติ ตา ปรากฏวงศ์

203

Indigenous languages of the Americas
ท่ีมา: https://th.m.wikipedia.org/wiki/ชนพ้นื เมอื งในทวปี อเมรกิ า

ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรค์จรรโลงโลก

Indigenous languages of the Americas

อินเดียนแดง หรือ ชนพ้ืนเมืองชาวอเมริกันเป็นกลุ่มคนท่ีอาศัยในทวีปอเมริกามานานก่อนที่ชาวยุโรป
จะอพยพยา้ ยถน่ิ ฐานมาตงั้ รกราก โดยสนั นิษฐานวา่ อาจจะย้ายมาจากทวีปเอเชียผ่านชอ่ งแคบแบรงิ
ในเวลาต่อมาชนพื้นเมืองอเมริกันได้รับผลกระทบจากการล่าอาณานิคม ทาให้ประชากรลดลงเป็นจานวน
มากเนือ่ งจากสงครามการยึดดินแดนและการตกเปน็ ทาส

ชาวอินเดียนแดงหรือชนพื้นเมืองอเมริกันกาเนิดภาษาท่ีเรียกว่า Indigenous languages of the
Americas เพ่ือใช้ส่ือสารกัน โดยภาษาอินเดียนเเดงในอดีตสามารถเเบ่งเเยกได้เป็นหลายพันรูปแบบ แต่ไม่
สามารถเพิ่มเข้าไปเป็นภาษาที่ใช้สื่อสารในช่วงนั้นได้ เน่ืองจากไม่มีหลักฐานท่ีเพียงพอว่าการสื่อสารในช่วง
น้ันเป็นรูปแบบใด ภาษาเหล่าน้ีไม่สามารถแสดงให้เห็นได้ท้ังหมดว่ามีความเก่ียวข้องกัน ซึ่งถูกจาแนก
ออกเป็นตระกูลภาษาต่างๆกว่าร้อยตระกูลและยังมีภาษาบางส่วนท่ีสูญหายและไม่ถูกจัดเป็นประเภทอีก
มากมาย

เอกสารอ้างอิง

 Red Indian. 1492. Indigenous languages of the Americas. , August, 19,
2021Retrievedfromhttps://en.wikipedia.org/wiki/Indigenous_peoples_of_the_Americ
as

เลขท่ี 62 นางสาวปริยาภัทร นนทสิงห์

205

คาประกาศอสิ รภาพของอเมริกา
ทีม่ า: http://oknation.nationtv.tv/blog/007k/2014/06/26/entry-

ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก

คาประกาศอสิ รภาพของอเมรกิ า

เร่ิมต้นจากสงครามปฏิวัติอเมริกัน (Revolutionary War) 13อาณานิคมทาสงครามกับ ราชอาณาจักรบริ
เตน ในเดือนเมษายน ปี ค.ศ. 1775 รัฐอาณานิคมหลายแห่งไม่ได้มีความต้องการจะได้อิสรภาพอยา่ งเต็มตัว
จากอังกฤษ จนเวลาผ่านมาประมาณ 1 ปี หลายฝา่ ยเรม่ิ มีความตอ้ งการทจ่ี ะแยกตัว เนอ่ื งจากความไม่พอใจ
ต่ออังกฤษที่เพ่ิมขึ้นอย่างรุนแรง จนถึงวันที่ 6 มิถุนายน ปี ค.ศ. 1776 ได้มีการประชุมสภาแห่งภาคพื้นทวปี
ที่อาคารที่ทาการรัฐเพนซิลเวเนีย (ซ่ึงภายหลังถูกเปล่ียนช่ือเป็น หออิสรภาพ - Independence Hall) ใน
เมืองฟิลาเดลเฟีย และ ริชาร์ด เฮนรี่ ลี ผู้แทนจากเวอร์จิเนีย เสนอญัตติให้รัฐอาณานิคมประกาศตัวเป็น
อิสระ ซึ่งมีการอภิปรายอย่างดุเดือดจนต้องเลื่อนการลงมตอิ อกไป แต่แต่งต้ังคณะกรรมาธิการท่ีมีสมาชกิ 5
คน รับหน้าท่ีร่างแถลงการณ์แสดงเหตุผลของการแยกตัวออกจากอังกฤษ และต่อมาได้เกิดคาประกาศ
อสิ รภาพขนึ้ เพ่ือสรา้ งสิทธิท่เี ทา่ เทียมกนั สาหรับทกุ คน โดยคาประกาศอสิ รภาพสว่ นใหญ่เขยี นข้ึนโดย โทมสั
เจฟเฟอรส์ ัน

เอกสารอ้างองิ

 Magnum Concillium. 1776. United States Declaration of Independence.
, August, 19, 2021 Retrieved from http://oknation.nationtv.tv/blog/007k/2014/06/26/entry-
1

เลขท่ี 63 นางสาวปรียาภสั เปอร์เชาวน์

207

The Constitution of United States.
ท่มี า: http://oknation.nationtv.tv/blog/007k/2014/06/26/entry-1

ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรค์จรรโลงโลก

The Constitution of United States (รัฐธรรมนูญฉบบั แรกของโลก)

เกิดจากอังกฤษไดม้ ีการใช้นโยบายการค้าอยา่ งไมย่ ุติธรรมกับอาณานิคม โดยองั กฤษซ้ือใบชาจากอาณา
นคิ มในราคาถกู มากแลว้ นาไปขายในยุโรปในราคาท่สี งู ข้นึ อย่างมาก ทาใหช้ าวอาณานิคมไม่พอใจ และ
ประกอบกบั ไดร้ บั แนวคิดจากนกั ปรชั ญาของจอหน์ ล็อก (en:John Locke) จนทาใหเ้ กิดเหตกุ ารณ์
การประท้วงชุมนุมงานเลี้ยงน้าชาทบี่ อสตนั ที่กรุงบอสตัน เลยนาไปสู่สงครามปฏวิ ตั อิ เมรกิ ัน จนในทส่ี ดุ
อเมรกิ าก็สามารถประกาศอิสรภาพจากการเป็นดนิ แดนอาณานคิ มของอังกฤษ ไดใ้ นวนั ท่ี 4 กรกฎาคม ค.ศ.
1776 ณ ในเมืองฟิลาเดเฟีย (รัฐเพนซิลเวเนีย)

ในปี ค.ศ.1789 ไดม้ ีการประกาศใช้ รฐั ธรรมนญู แหง่ สหรัฐ (The Constitution of United States) เป็น
ฉบบั แรกของโลกท่ีเปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษร โดยนาเอาแนวคดิ ของนกั ปรัชญาทีถ่ กเถียงกันอย่างเป็นนามธรรม
มาบญั ญตั ิไวเ้ ปน็ รูปธรรม มกี ารวางกฎเกณฑ์ในการปกครองประเทศ อานาจและหนา้ ที่ของ
องค์กรปกครองต่างๆ ในประเทศอย่างเป็นระเบียบ โดยแยกองค์กรการปกครองประเทศออกเปน็
ฝ่ายนติ บิ ญั ญตั ิ ฝา่ ยบริหาร และฝา่ ยตุลาการ โดยมีรัฐธรรมนญู เปน็ กฎหมายสูงสุดและยอมรบั อานาจสูงสุด
ของประชาชนเรยี กว่า อานาจอธิปไตย

เอกสารอา้ งอิง

 William Hill Brown. 1789. The Power of Sympathy, August, 17, 2021
Retrieved from https://en.wikipedia.org/wiki/The_Power_of_Sympathy#cite_ref-7

เลขท่ี 64 นางสาวปวีณา พยคั ฆวรรณ

209

The Power of Sympathy
ที่มา:https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons

/3/3e/The_Power_of_Sympathy.jpg

วิวัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรค์จรรโลงโลก

The Power of Sympathy

เป็นนวนิยายซาบซึ้งอเมริกันในศตวรรษที่ 18 เขียนขึ้นในรูปแบบจดหมายเหตุ โดยวิลเลียม ฮิลล์
บราวน์ และถือเป็นนวนยิ ายอเมริกันเรื่องแรกท่ีรู้จกั กันอย่างกวา้ งขวาง ในส่วนของเนื้อเรอ่ื งจะเป็นเรื่องราว
เกี่ยวกบั ความรักอยา่ งผิดศลี ธรรมของตวั ละครเอกThomas Harrington และ Harriot Fawcet ซ่งึ เนื้อเรื่อง
เกี่ยวกับการฝ่าฟันอุปสรรคในเร่ืองของครอบครัว เก่ียวกับความรักของทั้งคู่ท่ีถูกกีดกันมานานแต่ท้ายที่สุด
แล้วทัง้ คู่กต็ กลงหมน้ั กันเเละได้ทราบในภายหลังวา่ ท้งั คู่น้นั เป็นพี่น้องรว่ มสายเลือดเดียวกัน วรรณกรรมเร่ือง
น้ีสะท้อนให้เห็นถึงความรักท่ีผิดศีลธรรมระหว่างคนในครอบครัวซ่ึงไม่เป็นที่ยอมรับ ในช่วงน้ันของชาว
อเมรกิ า

เอกสารอ้างอิง

 William Hill Brown. 1789. The Power of Sympathy, August, 17, 2021
Retrieved from https://en.wikipedia.org/wiki/The_Power_of_Sympathy#cite_ref-7

เลขท่ี 65 นางสาวปณั ฑติ า กอวงษ์

211

Brokeback Mountain
ที่มา: https://th.m.wikipedia.org/wiki/หบุ เขาเร้นรัก

ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรค์จรรโลงโลก

Brokeback Mountain

เป็นภาพยนตร์แนวโรแมนติก - ดราม่าแนวชายรักชาย ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้รับรางวัลภาพยนตร์ยอด
เย่ียม แต่งโดย Annie Proulx เน้ือเรื่องเล่าเรื่องราวของชายหนุ่มสองคนในอเมริกาตะวันตก ท่ีเป็นคาวบาย
ซ่ึงได้มาทางานร่วมกัน โดยมีหน้าท่ีต้อนแกะให้เจ้าของไร่บนbrokeback mountain ทาให้ทั้งสองใกล้ชิด
และตกหลุมรักกัน แต่ฐานะ ภาระ และหน้าที่ทาให้ท้ังคู่ไม่สามารถอยู่ด้วยกันได้ แต่ท้ังคู่ยังคงนัดเจอกัน
ตลอดในช่วงเวลา20ปีที่ผ่านมา ถึงแมว้ า่ ทั้งคู่จะแต่งงานและมีครอบครวั

ผู้แตง่ สร้างเร่ืองน้ีขน้ึ มาเพ่ือถา่ ยทอดความรักของ LGBTQ ทยี่ ังไมเ่ ปดิ กว้างในช่วงนั้น เนอ่ื งจากสังคมยัง
ไม่เปิดรับบมากพอ สะท้อนเรื่องความรักที่ถูกตัวกาหนดจากหลายๆส่ิง ในการตัดสินใจเลือกคู่ครอง เช่น
บรรทัดฐานทางสังคม ฐานะ ภาระหนา้ ทีใ่ น

เอกสารอ้างอิง

 Larry McMurtry Diana Ossana. 2005. Brokeback Mountain. , August, 19, 2021 Retrieved
from https://en.wikipedia.org/wiki/Brokeback_Mountain

เลขที่ 66 นางสาวปาณิสรา หอยสงั ข์

213

Fences
ที่มา: https: //jesirose.com/หนงั -fences-ชิงรางวัลออสการ์/

วิวฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก

Fences

ผแู้ ตง่ เรื่อง “Fences” คอื August Wilson เป็นภาพยนตร์ที่เล่าเรื่องราวของอดีตนักกีฬาช่ือดังตกอับ
ที่กลายเป็นคนเก็บขยะ ทาให้ต้องตั้งใจสร้างตัวจนละเลยท่ีจะแสดงความรักกับครอบครัว กลายเป็นเส้น
เร่อื งที่พาเขา้ ไปสัมผสั กบั ความรกั ภายในครอบครวั ของคนผวิ สที ไี่ ม่ได้แตกตา่ งจากมนุษย์ทัว่ ไป

ภาพยนตรเ์ รื่องนี้เปน็ ภาพยนตร์ทีส่ ะท้อนให้เห็นถึงประเดน็ ความขัดแย้งเก่ียวกบั การเหยียดผิวสีในอดีต
และเป็นภาพยนตร์ท่ีได้รางวัลออสการ์ ปี 2017 ในสาขารางวัล Best Performance by an Actress in a
Supporting Role

เอกสารอ้างอิง

 Denzel Washington. 2017. Fences. , August, 19, 2021 Retrieved from
https://jesirose.com/87-fences-

เลขที่ 67 นางสาวปียว์ รา ศริ วิ ชิระภาพ

215

เพลง Strange Fruit
ทมี่ า: https: //fridayiaminrock.com/2009/04/14/strange-fruit/

ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก

เพลง Strange Fruit

ขับร้องโดย บิลลี ฮอลิเดย์ ผหู้ ญงิ ผวิ ดาทเ่ี ตบิ โตทา่ มกลางยุคสมยั ที่มกี ารเหยียดสีผิวในอเมริกา
เพลงน้ีถูกบันทึกในปีค.ศ. 1939 สาเหตุในการบันทึกเพลงคือเพื่อต้องการเสนอมุมมองความเจ็บปวด และ
ความเศร้าของการเหยียดสีผิว ไม่ใช่ส่ือในทางความเครียดแค้นชิงชัง แต่เพราะความชิงชังและการกดข่ีจึง
นามาซึ่งความรุนแรง

โดยเนอื้ หาเพลงจะเป็นการเสียดสีสังคม ความรนุ เเรงการใช้กาลงั ในการเเก้ไขปัญหา การแบ่งเเยกออก
เป็นหลายฝ่ายท่ีไม่เท่าเทียมกัน มีเนื้อหาท่ีรุนแรงจนถึงขนาดท่ีรัฐบาลในสมัยนั้นส่ังห้ามไม่ให้มีการร้องหรือ
จัดแสดงเพลงนี้โดยเด็ดขาด โดยได้พูดถึงเน้ือหาของเพลงน้ีไว้ว่า“มันคือการประกาศสงคราม…การเร่ิมต้น
ของขบวนเรยี กร้องสทิ ธพิ ลเมือง”

เอกสารอ้างองิ

 Strange Fruit. 1939. Billie Holiday. , August, 20, 2021 Retrieved from
https://fridayiaminrock.com/2009/04/14/strange-fruit/

เลขท่ี 68 นางสาวผลิดา สนิ ทอง

217

เพลง วาย.เอม็ .ซ.ี เอ. (Y.M.C.A.)
ทม่ี า: https://th.m.wikipedia.org/wiki/วายเอ็มซเี อ_(เพลง)

วิวัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก

เพลง วาย.เอ็ม.ซี.เอ. (Y.M.C.A.)

Y.M.C.A เปน็ เพลงแนวดสิ โกข้ อง วงวลิ เลจพเี พลิ (Village People) แตง่ โดยกลมุ่ นกั ดนตรชี าวอเมริกัน
ในปี พ.ศ. 2521 เนอ้ื เพลงกล่าวถึงวายเอ็มซีเอท่บี ริการสังคม โดยการจดั ที่พักราคาถูกเพ่ือเยาวชนตามเมือง
ใหญ่ เน้ือเพลงจะมีเน้ือหาไปในทางรักร่วมเพศซ่อนอยู่ เพลงนี้จึงได้รับความนิยมในวัฒนธรรมเกย์ โดยท่า
เต้นที่ได้รับความนิยมคือผู้เต้นจะทามือเป็นรูปตัวอักษร 4 ตัว วาย เอ็ม ซี และ เอ ตามจังหวะเนื้อร้องว่า
วาย เอม็ ซี เอ และสมาคมวายเอ็มซเี อบางแหง่ ถือเป็นเสถานทที่ ่ผี ู้ชายท่เี ปน็ เกยน์ ัดเจอกนั อีกด้วย

เอกสารอา้ งองิ

 Village People. 1978. Y.M.C.A. , August, 20, 2021 Retrieved from
https://en.wikipedia.org/wiki/Y.M.C.A._(song)

เลขที่ 69 นางสาวพรพมิ ล สัมฤทธิ์

219

Mickey Mouse มกิ กี้ เมาส์
ท่ีมา: https: //th.wikipedia.org/wiki/มิกก_้ี เมาส์

ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก

Mickey Mouse (มกิ กี้ เมาส)์

มกิ ก้ี เมาส์ เปน็ ตัวการ์ตูนของค่ายดสิ นีย์ ถือกาเนดิ ข้นึ เมือ่ วนั ท่ี 18 พฤศจิกายน ค.ศ.1928 (พ.ศ.2471)
โดย วอลเตอร์ อีลิส ดิสนีย์ และอบั ไอเวริ ์กส เดิมพวกเขาเรียกมนั วา่ "มอรต์ เิ มอร์ เมาส์" ก่อนจะเปลีย่ นชอ่ื
ตวั การต์ นู น้ีใหมเ่ ป็น มกิ กี้ เมาส์ จากการแนะนาของภรรยาวอลต์ ดิสนีย์ เนือ่ งจากเธอเหน็ วา่ มนั เปน็ ช่ือทีด่ ู
จริงจงั จนเกินไป

จุดกาเนิดของ มกิ ก้ี เมาส์ เกดิ ขึ้นขณะท่ี วอลต์ อลี ิส ดสิ นยี ์ นงั่ อยบู่ นรถไฟ เขาลงมือสเก็ตชภ์ าพคาแรก
เตอรห์ นูเลก็ ๆ สวมกางเกงสีแดงข้นึ มา โดยมี อบั ไอเวริ ์กส ออกแบบรปู รา่ งลกั ษณะ

ในปี ค.ศ.1928 (พ.ศ.2471) มิกกี้ เมาส์ ก็ปรากฎตัวครงั้ แรกในหนงั การ์ตนู เงยี บช่ือว่า Plane Crazy แต่
กอ่ นท่ีการต์ นู เรื่องนจ้ี ะออกฉายน้ัน ก็เร่ิมมกี ารนาเสยี งมาใส่ในภาพยนตร์ ทาให้ มิคกี้ เมาส์ เปน็ หนังการต์ ูน
ทม่ี กี ารใสเ่ สียงเรื่องแรกในโลก ในช่อื เร่อื งวา่ Steamboat Willie

มกิ กีเ้ มาส์เปิดตัวครั้งแรกในเรื่อง "Steamboat Willie" ในวนั ที่ 18 พฤศจิกายน ค.ศ.1928 (พ.ศ.2471)
ทาให้ มกิ กเ้ี มาส์ กลายเป็นขวัญใจของเด็ก ๆ ในปี ค.ศ.1950 (พ.ศ.2493) มิกก้ี เมาส์ ก็เรมิ่ มีรายการทีวีเป็น
ของตัวเองในชือ่ รายการ "The Mickey Mouse Club"เปรยี บเสมอื นเป็นมาสคอตแห่งโลกการ์ตนู ของฝ่ัง
อเมรกิ า

เอกสารอ้างองิ

 Walter Elis Disney ,Ab Iworks. 1928. Mickey Mouse. , August, 19, 2021 Retrieved
from http://mywalt.blogspot.com/p/blog-page.html

เลขที่ 70 นางสาวพชั นี โหงวสอาด

221

Marvel Cinematic Universe; MCU จักรวาลมารเ์ วล
ท่มี า: https://th.m.wikipedia.org/wiki/จักรวาลภาพยนตร์มารเ์ วล

ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรค์จรรโลงโลก

Marvel Cinematic Universe; MCU จกั รวาลมาร์เวล

จกั รวาลมาร์เวล (Marvel Cinematic Universe; MCU) สร้างโดย มาร์เวลสตดู ิโอส์
เปน็ ภาพยนตรซ์ เู ปอร์ฮีโรที่สร้างจากตัวละครทีป่ รากฏอยใู่ นหนังสอื การต์ นู อเมริกันท่ตี ีพมิ พโ์ ดย
มารเ์ วลคอมิกส์

ภาพยนตร์เรื่องแรกของจักรวาลภาพยนตรม์ าร์เวลคอื ไอรอนแมนมหาประลยั คนเกราะเหล็ก
(ค.ศ. 2008) ซงึ่ เป็นการเรม่ิ ต้นระยะหน่ึง ก่อนจะสิน้ สดุ ทภ่ี าพยนตรข์ ้ามฝัง่ ดิอเวนเจอรส์ (ค.ศ. 2012) ระยะ
สอง เริ่มต้นด้วย ไอรอนแมน 3 (ค.ศ. 2013) และส้นิ สุดที่ มนษุ ยม์ ดมหากาฬ (ค.ศ. 2015)
ระยะสาม เร่ิมตน้ ด้วยกปั ตันอเมริกา: ศึกฮโี รร่ ะหา่ โลก (ค.ศ. 2016) และส้นิ สุดที่ สไปเดอร์-แมน ฟาร์ ฟรอม
โฮม (ค.ศ. 2019) สามระยะแรกในแฟรนไชส์นน้ั เรยี กรวมกันวา่ "ดิอนิ ฟนิ ิตีซากา"

ระยะส่ี เริม่ ตน้ ด้วย แบล็ค วิโดว์ (ค.ศ. 2021) นอกเหนอื จากสื่อจกั รวาลภาพยนตรม์ าร์เวล ยังมสี ถานท่ี
ทอ่ งเทยี่ วหลายแห่ง, นทิ รรศการศลิ ปะ, รายการโทรทศั น์พิเศษสองรายการ, หนงั สอื แนะนาสาหรับภาพยนตร์
แต่ละเรือ่ ง, วิดโี อเกมไทอนิ จานวนมากและโฆษณา

เอกสารอา้ งอิง

 Marvel Studios.1928. Marvel Cinematic Universe. , August, 19, 2021 Retrieved from
https://en.wikipedia.org/wiki/Marvel_Cinematic_Universe

เลขท่ี 71 นางสาวเพชรมาศ คงแจง้

223

The Simpsons
ท่มี า: https: //th.m.wikipedia.org/wiki/เดอะซมิ ปส์ ันส์

วิวัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรค์จรรโลงโลก

The Simpsons

เดอะซิมปส์ ันส์ (อังกฤษ: The Simpsons) เป็นรายการการ์ตูนซิตคอมในสหรฐั อเมรกิ า สรา้ งโดย
แม็ตต์ เกรนงิ มีเน้ือเรื่องตลกเสียดสีวถิ ชี ีวิตชนชน้ั กลางของชาวอเมรกิ ัน

โดยมีเน้ือหาเกิดที่เมืองที่ชอื่ สปรงิ ฟิลด์ ผา่ นตวั ละครในครอบครัว คือ โฮเมอร์, มารจ์ , บาร์ต, ลิซา และ
แม็กกี เป็นเรอ่ื งเก่ียวกบั การถากถางมมุ มองของสงั คมมนุษย์ วัฒนธรรมอเมริกนั สังคมทั้งหมดและวงการ
โทรทศั น์

ออกฉายซีรสี ค์ รัง้ แรกเมื่อ 17 ธันวาคม ค.ศ. 1989 สว่ นภาพยนตร์ The Simpsons Movie ออกฉาย
ในโรงภาพยนตร์ทวั่ โลกเม่อื วันที่ 26 และ 27 กรกฎาคม ค.ศ. 2007

เอกสารอ้างอิง

 Matt Groening, Ken Spears. 1989. The Simpsons. , August, 20, 2021 Retrieved from
https://en.wikipedia.org/wiki/The_Simpsons

เลขท่ี 72 นายเพชรรัตน์ รัตนกิ ุล

225

สว่ นสรปุ

ภาษาองั กฤษเป็นภาษาประจาชาตขิ องชาวอเมริกัน หากแต่ไม่ใช่ภาษาเดียวที่มีอยู่ในประเทศอเมริกา
เน่อื งมาจากชาวอเมริกนั มีชนชาตเิ ดิมท่ีหลากหลาย ภาษาในอเมริกาจึงมีความหลากหลายตามไป เชน่
คนในอเมริกาบางพวกพูดภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศสและภาษาสเปน เพราะในอดีตอเมริกาเคยตกเป็น
เมอื งขึน้ ของอังกฤษ ฝร่ังเศสและสเปน อกี ท้งั ยงั มีภาษาฮาวาย ทใ่ี ชใ้ นรัฐฮาวาย

เราจะสังเกตได้ว่าภาษา ประเพณี และวัฒนธรรมล้วนมีผลต่อวิถีชีวิตและส่งผลต่อวรรณกรรมทั้งสิ้น
เพราะในแต่ละยุคจะมีแนวคิดในเร่ืองที่แตกต่างกันออกไป เน่ืองจากสภาพสังคมและเหตุการณ์ต่างๆท่ี
สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ทาให้วรรณกรรมเปล่ียนแปลงไปเช่นกนั เชน่ ในยคุ ปฏวิ ัติ วรรณกรรมจะพูดถึงเร่ือง
คาประกาศอิสรภาพของอเมริกา ท่ีมีคากล่าวคือ มนุษย์ทุกคนเกิดมาเท่ากัน ในยุคปัจจุบันหลังสงครามโลก
ครงั้ ท่ี 2 วรรณกรรมจะสะท้อนให้เห็นถงึ สิ่งที่เกดิ ขนึ้ ความเสียหายและเรื่องราวต่าง ๆ

ถึงแม้ว่าเนื้อหาของวรรณกรรมอเมริกาในแต่ละยุคจะเเตกต่างกันไป แต่ก็ยังคงสอดแทรกความเป็น
เอกลักษณ์ของวรรณกรรมอเมริกาไปในทิศทางเดียวกัน เพราะท้ายท่ีสุดแล้วรากฐานของการสร้างผลงาน
วรรณกรรมกค็ ือการใช้ภาษาและการถ่ายทอดเรอ่ื งราวตา่ ง ๆ ออกมาในรูปแบบของงานศลิ ปะชนดิ หนึ่ง และ
ยังหมายถึงการส่งต่อประวัติศาสตร์ เรื่องราวการดาเนินชีวิต ส่งผ่านไปเพ่ือให้คนรุ่นหลังได้ทราบและเข้า
ใจความเปน็ มาของอเมริกา

จากตัวอย่างข้างต้นผู้อ่านจะพบว่าเน้ือหาส่วนใหญ่ของวรรณกรรมอเมริกันจะมีลักษณะที่แตกต่างกัน
อย่างสิ้นเชิงในแต่ละยุค เนื่องจากในบางช่วงมีอิทธิพลของเรื่องราวแตกต่างกันไป เช่น วรรณกรรมเร่ือง คา
ประกาศอิสรภาพของอเมริกา ที่มีคากล่าวคือ มนุษย์ทุกคนเกิดมาเท่ากัน เป็นวรรณกรรมยุคแรก ๆ ท่ีมี
เนื้อหาเก่ียวกับประวัติศาสตร์ ศาสนา และการต่อสู้เพื่ออิสรภาพของอเมริกา ส่ิงสาคัญในการเปล่ียนแปลง
อเมริกาก็คือรัฐธรรมนญู ฉบับแรกของอเมรกิ า และยงั เปน็ ฉบบั เเรกของโลกทไ่ี ด้รบั การยอมรบั จากประชาชน
ในเรอื่ งการเเบง่ อานาจเปน็ 3 ฝา่ ย และยึดถอื ให้เป็นรฐั ธรรมนูญกฎหมายสูงสุดในประเทศอกี ด้วย

วิวัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก

ในช่วงยุคหน่ึงที่มีวิวาทะเก่ียวกับการเหยียดผิวสีก็ได้มีการสร้าง ภาพยนตร์เร่ือง Fences เป็นภาพยนตร์
เก่ียวกับเศรษฐีตกอับ จนต้องดิ้นรนเพื่อกลับไปอยู่ในจุดเดิมอีกคร้ังจนละเลยภาระหน้าที่ในครอบครัว ใน
ภาพยนตร์จะส่ือใหเ้ ห็นถึงความรกั ความเข้าใจท่ีผูค้ นรอบข้างควรมอบให้แก่คนทกุ ชนชาติอย่างเท่าเทียมกนั
และความรกั ภายในครอบครวั ของคนผิวสี ซึง่ ก็ตอ้ งการความรักความเอาใจใสเ่ หมือนกับคนชาติอน่ื ๆ

ถ้าจะให้พูดถึงภาพยนตร์เกี่ยวกับรักร่วมเพศที่มีเช่ือเสียงของอเมริกาก็คงจะเป็นเรื่อง Brokeback
Mountain ซ่ึงเป็นเรือ่ งราวมติ รภาพความสมั พนั ธ์ท่ีลกึ ซงึ้ ของชายหนุม่ ชาวอเมรกิ าตะวันตก

ต่อมาในยุคที่เพลงเริ่มเข้ามามีบทบาทสาคัญกับอเมริกามากขึ้น ศิลปินชาวอเมริกันกลุ่มนึงที่มีชื่อว่า
Village people ได้มีการสร้างผลงานเพลงที่มีช่ือว่า Y.M.C.A. เป็นเพลงแนวดิสโก้ท่ีมีทานองสนุกเนื้อหา
เรียบง่ายแต่ด้วยศิลปินเป็นคนผวิ สีจึงทาใหเ้ พลงน้ียิ่งเป็นท่ีพูดถึงและแพร่หลายออกไปมากข้ึนโดยเฉพาะใน
กลุ่มของรกั ร่วมเพศจนถือไดว้ ่าเปน็ เพลงประจากลุ่มเลยก็ว่าได้

ภาพยนตร์ท่ีเป็นท่ีพูดถึงของอเมริกาคือ Marvel Cinematic Universe; MCU จักรวาลมาร์เวล , DC
Extended Universe, Mickey Mouse และ การ์ตูนเสียดสีสังคมชอ่ื ดังอยา่ งเรอื่ ง The simpsons

227

ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก

บทสรุป
ภาษาวรรณกรรม...ลือจะสน้ิ หรืออยสู่ ู่การสรา้ งสรรค์

ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก

เกริ่นนา

ทางผ้จู ดั ทาสรปุ ความหมายที่แท้จริงของภาษาและวรรณกรรมไดว้ ่า ภาษา หมายถึง เคร่ืองมอื ทีใ่ ช้ในการ
สื่อสารเพื่อทาความเข้าใจกันระหว่างมนุษย์ โดยภาษาเกดิ จาการเรยี นรู้ เลยี นแบบ ถา่ ยทอดจากบุคคลในสังคม
เดียวกัน มีระบบระเบยี บ และเปล่ียนแปลงได้ ตามความนยิ ม สว่ นวรรณกรรม หมายถงึ งานเขยี นทแ่ี ตง่ ข้ึนอัน
เกิดจากการคิด และจินตนาการ แล้วเรียบเรียง บันทึก หรือสื่อออกมาด้วยกลวิธีต่างๆ โดยจะแบ่งวรรณกรรม
เป็น 2 ประเภท คอื วรรณกรรมลายลกั ษณ์ คือวรรณกรรมทีบ่ นั ทึกเปน็ ตัวหนังสือ และวรรณกรรมมุขปาฐะ อนั
ได้แก่วรรณกรรมท่ีเล่าด้วยปากต่อปาก นอกจากนี้ วรรณกรรมมีความหมายครอบคลุมถึงงานเขียนต่างๆ
ดงั ต่อไปนี้

1. งานเขยี นทั่วๆไป เปน็ งานเขยี นทีไ่ มจ่ าเป็นต้องศลิ ปะหรือกลวิธใี นการเขยี น เช่น ตารา เอกสารทาง
วิชาการ เป็นต้น

2. งานเขยี นที่ต้องมีคณุ ค่าทางวรรณศิลป์ จะเปน็ งานเขยี นประเภทใดก็ได้ แตต่ ้องแตง่ อยา่ งมีศิลปะมี
ความประณีต มกี ลวธิ ีสรา้ งอารมณส์ ะเทือนใจ และทาใหผ้ ู้อ่านเกิดอารมณ์คลอ้ ยตาม งานเขียนทม่ี ี
คณุ คา่ ทางวรรณศิลป์เช่น นวนิยาย เร่ืองสน้ั บทละคร บทความ สารคดี เป็นต้น

ความสาคัญของภาษาและวรรณกรรม ข้อท่ีหน่ึง เป็นเครื่องมือในการติดต่อสือ่ สาร เพื่อให้เกิดความเขา้ ใจ
เรื่องราว ความรู้สึก ความนึกคิด ความต้องการของแต่ละฝ่าย ซ่ึงได้แก่ผู้ส่งสาร ซ่ึงจะส่งสารโดยในวรรณกรรม
จะเน้นการแสดงพฤติกรรมในรูปของการเขียน ส่วนผู้รับสารจะรับสารด้วยการฟัง หรือการอ่าน ข้อที่สอง เป็น
เครื่องมือในการเรียนรู้และแสวงหาความรู้ ที่บรรพบุรุษของชนชาติต่างๆนัน้ ได้สร้างสรรค์ สะสม และถ่ายทอด
เป็นวัฒนธรรมให้เป็นมรดกของชาติโดยใช้ภาษาเป็นส่ือ ให้คนรุ่นหลังใช้เป็นเครื่องมือในการศึกษาแสวงหา
ความรู้ ประสบการณ์ และรับสง่ิ ทเ่ี ป็นประโยชน์มาพัฒนาตนเอง ทงั้ การพฒั นาสติปัญญา กระบวนการคิด การ
วิเคราะห์ การวิพากษ์วิจารณ์ การแสดงความคิดเห็น ทาให้เกิดความรู้และประสบการณ์ที่งอกงาม กลายเป็นผู้
ท่ีมีโลกทศั น์ทส่ี อดคล้องกับยุคสมยั ขอ้ ทส่ี าม เปน็ เครอื่ งมอื สรา้ งความเข้าใจอนั ดีต่อกัน ทุกประเทศบนโลกใบน้ี
มีภาษาประจาชาติเป็นของตัวเอง แต่ก็ยังมีภาษาถิ่น ซ่ึงเป็นภาษาท่ีติดต่อกันเฉพาะในกลุ่ม ซึ่งหมายความว่าก็

231

อาจจะมีวรรณกรรมที่ถูกแต่งขึ้นด้วยภาษาถ่ิน ตามพ้ืนท่ีที่พวกเขาอาศัยอยู่ ข้อที่ส่ี ซึ่งเป็นข้อสุดท้าย น้ันก็คือ
เป็นเครื่องมือช่วยจรรโลงใจ เม่ือภาษาได้ถูกแต่งออกมาเป็นวรรณกรรมอยา่ งประณีต ผู้คนที่ได้อ่านหรือได้ฟังก็
จะเกดิ ความรู้สึกช่นื บาน เกดิ ความจรรโลงใจ ไมว่ า่ จะอยใู่ นรูปของอะไรก็ตาม
โดยทางผูจ้ ดั ทาได้แบง่ การสรปุ ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมออกเป็น 6 หวั ขอ้ ใหญ่ดังนี้

1. ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมยูโรเปยี น
2. วิวฒั นาการภาษาและวรรณกรรมภารตะและเอเชียกลาง
3. วิวฒั นาการภาษาและวรรณกรรมจนี เกาหลี และญ่ปี ุ่น
4. วิวัฒนาการภาษาและวรรณกรรมอษุ าคเนย์-แปซฟิ ิค
5. วิวัฒนาการภาษาและวรรณกรรมอาหรับ อนาโตเลยี -เอเชียไมเนอร์
6. ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมอเมริกา

ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรค์จรรโลงโลก

วิวฒั นาการภาษาและวรรณกรรมของยูโรเปียน
ท่ีมา: https://en.wikipedia.org/wiki/List_of_European_literatures

233

ภาษาและวรรณกรรมยูโรเปยี น

ตระกลู ของภาษายโู รเปยี นนน้ั มตี ้นกาเนิดมาจาก Indo-European ซง่ึ เปน็ จุดเรม่ิ ตน้ ของภาษาทั้งหมด
บนโลก และแตกแขนงออกมาได้อีก 3 ภาษาหลัก ได้แก่ สลาฟ โรมานซ์ และเจอร์มานิก และภาษาก็แตก
ออกมาเรื่อยๆ จนเป็นภาษาในทวีปยุโรป ยกตัวอย่างวรรณกรรมยูโรเปียนท่ีมีความสาคัญ ตัวอย่างเช่น
วรรณกรรมยูโรเปียนท่ีถูกเขียนข้ึนคร้ังแรก โดยกลุ่มนักประพันธ์ที่ไม่มีใครรู้จักอย่าง Beowulf ท่ีได้พูดท่ี
บุคคลท่ีมีความกล้าหาญและยึดม่ันในศีลธรรมตามหลักศาสนาคริสต์ ซึ่งเป็นค่านิยมท่ีดี สาหรับคนในยคุ นน้ั
และต่อมา Harry Potters ผู้เป็นแทนโลกของพ่อมดและแม่มดของคุณ JK.Rowling ซ่ึงนวนิยายเร่ืองนี้น้ัน
ไดล้ บภาพลักษณทีไ่ ม่ดขี องพ่อมดและแมม่ ดออกไปจนหมด ซึง่ ลกั ษณะนิสยั หรือองคป์ ระกอบต่างของพ่อมด
และแม่มดในเร่ือง Harry Potters นั้น ตรงกันข้ามกับแนวคิดเรื่องแม่มดในยุคท่ีมีการล่าพ่อมดและแม่มด
โดยสิ้นเชิง การล่าแม่มดน้ันอยู่ในช่วงศตวรรษท่ี 15-16 ต้ังแต่ในทวีปยุโรปลามไปถึงดินแดนอาณานิคมใน
ทวปี อเมรกิ า เช่น กรณแี มสซาชูเซตส์ และในปี ค.ศ. 1692-1693 นอกจากนส้ี เปนก็มีการล่าแมม่ ด เพ่อื เป็น
กลไกในการจัดการทาสผิวดาและชนพ้ืนเมืองละตินอเมริกามาตลอดหลายทศวรรษ และตัวอย่างสุดท้าย
เร่ือง Sherlock Holmes เราสามารถสังเกตลักษณะนิสัยของเขา บรรยากาศในท่ีเกิดเหตุที่เขาอยู่
ส่ิงแวดล้อมรอบตัวเขา หรือแม้การท้ังวัฒนธรรมหรือเกร็ดความรู้ทางประวัติศาสตร์ของประเทศอังกฤษได้
โดยการอา่ นเรอ่ื งราวท่ีมคี ณุ Sherlock Holmes เป็นตวั เอกของเร่อื งนี้

เอกสารอา้ งองิ

 Alexander, Marie; et al. (2009). "2nd International Conference of Maltese Linguistics:
Saturday, September 19 – Monday, September 21, 2009". International Association
of Maltese Linguistics. Retrieved 2 November 2009.

 A. Walton Litz, Jane Austen: A Study of Her Development. New York: Oxford
University Press, 1965. p. 142; Oliver MacDonagh, Jane Austen: Real and Imagined
Worlds. New Haven: Yale University Press, 1991. pp. 66–75; Collins, 160–61.

ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรค์จรรโลงโลก

วิวฒั นาการภาษาและวรรณกรรมของภารตะและเอเชยี กลาง
ท่ีมา: https://kids.britannica.com/students/article/Indian-literature/275047

https://en.m.wikipedia.org/wiki/Indian_literature

235

ภาษาและวรรณกรรมภารตะและเอเชียกลาง

วิวัฒนาการทางด้านภาษาและวรรณกรรมของอินเดียและเอเชียกลาง ต่างมีวิวัฒนาการที่มีมาอย่าง
ยาวนาน และยังพบเห็นได้ในปัจจุบันอาจจะสูญหายไปเป็นบ้างแต่ก็ยังหลงเหลือไว้ให้ได้ช่ืนชม วิวัฒนาการ
ดา้ นภาษาของอนิ เดยี จะแบง่ เปน็ 3 ยุคสมยั ดังนี้
1.ภาษาสมัยเก่า ได้แก้ ภาษาเทวนาครี ที่ใช้เขียนพระไตรปิฎก ภาษาท่ีใช้ในคัมภีร์พระเวท คือคัมภีร์ฤคเวท
ยชุรเวท สามเวท และอาถรรพเวท รวมตลอดท้ังคัมภีร์อุปนิษัท ซ่ึงเป็นคัมภีร์สุดท้ายของคัมภีร์พระเวท
(เวทานต์) ภาษาสันสกฤตกจ็ ัดอยู่ในสมัยนดี้ ้วย

2.ภาษาสมัยกลาง ได้แก่ ภาษาปรากฤตซ่ึงเป็นภาษาถ่ินของชาวอารยันที่ใช้กันท้องถ่ินต่างๆ ของ
ประเทศอนิ เดีย เช่นภาษามาคธี มหาราษฏรี เศารเสนี เปน็ ต้น

3.ภาษาสมัยใหม่ ได้แก่ ภาษาต่างๆในปัจจุบัน เช่น ภาษาฮินดี เบงกาลี ปัญจาบี มราฐี เนปาลี แม้จะ
เข้าใจกันวา่ เป็นภาษาทม่ี าจากภาษาปรกฤต แต่ลักษณะจะผดิ กนั เพราะมีภาษาของชาวอารยนั เขา้ ไปปะปน
ดว้ ย จึงเกิดเป็นภาษาอีกมากมาย จนถึงในยุคปัจจุบัน อนิ เดียมีภาษาถ่นิ มากกว่า 200 ภาษา แตร่ ฐั ธรรมนูญ
รบั รองเพียง 14 ภาษา และภาษาทางราชการคือภาษาฮินดี
ส่วนวิวัฒนาการด้านภาษาของเอเชียกลางน้ัน เน่ืองจากเคยอยู่ภายใต้การปกครองของสภาพโซเวียตนา
นเกือบ 100 ปี ทาให้ประชากรทุกประเทศต้องเรียนรู้และใช้ภาษารัสเซียเป็นภาษากลางในติดต่อส่ือสาร
แต่ปัจจบุ นั ได้มีภาษาเปน็ ของตนเองแล้วในแต่ละประเทศ สาหรบั ววิ ฒั นาการของวรรณกรรมทมี่ ีช่อื เสยี งของ
อินเดียและเล่ืองชื่อมาถึงปัจจุบัน นั่นก็คือ รามายญะ และภารตะ ส่วนทางด้านของเอเชียกลางถึงจะไม่มี
ชื่อเสียงมากแต่ก็จะเป็นท่ีรู้จักกันอยู่บ้างน่ันก็คือ วรรณกรรมอาร์เมเนีย โดย Wounds of Amenia หรือ
Verkʻ Hayastani ซง่ึ เปน็ ผเู้ ขยี นวรรณกรรมน้ขี ้ึนมา

เอกสารอา้ งองิ

 Avari, Burjor (11 June 2007). India: The Ancient Past: A History of the Indian Sub-
Continent from C. 7000 BC to AD 1200. Routledge. ISBN 9781134251629.

วิวัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก

.

วิวัฒนาการภาษาและวรรณกรรมของจีน เกาหลีและญ่ีปุ่น
ทม่ี า: https://www.modernlanguagesopen.org/articles/10.3828/mlo.v0i0.206/

https://en.m.wikipedia.org/wiki/East_Asian_literature

237

ภาษาและวรรณกรรมของจีน เกาหลี ญีป่ นุ่

ภาษาจีน ก็มีประวัติของตัวอักษรจีนที่มีประวัติความเป็นมาไม่ต่ากว่า 3,000 ปี และยังมีภาษาถ่ินที่
สามารถแบ่งได้ 7 กล่มุ หรอื 10 กลมุ่ ได้แก่ จีนกลาง, อู๋,กวางตุ้ง, หม่นิ , เซียง, ฮากกา, กา้ น และเพ่มิ มาอีก
3 กลุ่ม ไดแ้ ก่ จน้ิ , ฮุย, ผิง

ภาษาเกาหลี เปน็ ภาษาทส่ี ว่ นใหญ่พดู ในประเทศเกาหลีใต้และเกาหลีเหนือ ซ่ึงเป็นภาษาราชการ ภาษา
เกาหลสี ามารถแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ ได้แก่ ภาษาเกาหลีไซนจิ ิ, ภาษาโครยอ-มาร,์ ภาษาเกาหลีถิ่นจนี

ภาษาญ่ีปุ่น เป็นภาษาราชการของประเทศญี่ปุ่น ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 5 ยุค ได้แก่ ยุคก่อน
ประวัติศาสตร์, ยุคภาษาญ่ีปุ่นเก่า, ยุคภาษาญ่ีปุ่นตอนต้น, ยุคภาษาญี่ปุ่นตอนปลาย และยุคภาษาญี่ปุ่นใน
ปัจจบุ ัน

ซ่ึงที่มาของภาษาจีน เกาหลี ญ่ีปุ่นที่กล่าวมาข้างต้นน้ี ก็เป็นจุดเริ่มต้นที่ทาให้มีการนาภาษามาแต่งเป็น
วรรณกรรมให้ทุกคนได้อ่านจนถึงปัจจุบันนี้ โดยเน้ือหาของวรรณกรรมที่ได้ยกตัวอย่างมาน้ันจะแฝงไปด้วย
เรือ่ งการเมืองการปกครอง วัฒนธรรม สังคม ชวี ิตความเป็นอยโู่ ดยจะสะท้อนผา่ นสงั คมในมุมมองทแ่ี ตกต่าง
กัน อย่างเช่น

วรรณกรรมจนี เรอื่ งความฝันในหอโคมแดง จะสะท้อนใหเ้ หน็ ถึงความล้มเหลวของระบบศกั ดินา, และเร่ือง
ไซอว๋ิ กย็ งั มีการสอดแทรกเร่อื งพระพุทธศาสนาเอาไวม้ ากมาย

วรรณกรรมเกาหลี เร่ือง แดจังกึม ก็แสดงถึงความอดทน วัฒนธรรมเกาหลี รวมท้ังตารับอาหารและหาร
แพทย์ในราชสานักเกาหลี และเร่ือง Hong Gilding Jeon ที่แสดงท่ีความวิริยะอุตสาหะ ไม่ยอมแพ้ต่อ
โชคชะตา

วรรณกรรมญ่ีปุ่น เร่ือง โดเรมอน ซ่งึ เป็นเรื่องท่ีใครหลายๆคนต้องรู้จกั เพราะได้ทาเป็นหนังสือการต์ ูนและ
แอนเิ มชันอกี ด้วย เปน็ เรอ่ื งราวเกยี่ วกบั หุ่นยนตแ์ มวท่ีมขี องวิเศษมากมายไวค้ อยช่วยเหลอื เพ่ือนซี้อยา่ ง 'โนบิ
ตะ' พร้อมท้ังสอดแทรกศิลปะวัฒนธรรมของญ่ีปุ่นเข้าไปในตัวการ์ตูน จึงทาให้หลายๆคนสามารถเรียนรู้
วฒั นธรรมญ่ปี นุ่ ได้แบบไม่นา่ เบอ่ื

ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก

วรรณกรรม ไม่ได้เป็นแค่ส่ืออย่างเดียว แต่มีส่ิงท่ีแฝงลึกลงไปในช่องไฟระหว่างตัวอักษร สะท้อนให้เห็นถึง
ความตื้นลึกหนาบางทางภูมิปัญญาของผู้เขียน และลึกลงไปในภูมิปัญญาน้ันก็คือความจริงใจท่ีผู้เขียน
สะท้อนต่อตัวเองและต่อผู้อ่าน วรรณกรรมเป็นส่วนหน่ึงของชีวิตมนุษย์และเป็นเคร่ืองช้ีให้รู้ว่า ชาติใดมี
ความเจริญทางวัฒนธรรมสูงแค่ไหนและยุคใดมีความเจริญสูงสุด ยุคใดมีความเสื่อมลง เพราะฉะนั้น
วรรณกรรมแต่ละชาติ จึงเป็นเครื่องช้ีวัดได้ว่า ในแต่ละยุคประชาชนในชาติมีความเจริญหรือเสื่อมอย่างไร
ด้วยเหตุนี้วรรณกรรมจึงเป็นเคร่ืองมือสื่อสารความรู้สึกนึกคิดถ่ายทอดจินตนาการและแส ดงศิลปะอัน
ประณตี งดงาม การศกึ ษาหรืออา่ นวรรณกรรมแตล่ ะเร่ืองทาใหผ้ ู้อ่านมองเห็นภาพสังคม วัฒนธรรม การเมือง
และเศรษฐกิจ ของยคุ สมัยที่ผู้เขยี นได้สะท้อนผ่านมุมมองของตนออกมา รวมทง้ั ทาให้ผู้อ่านเข้าใจความรู้สึก
นึกคดิ ของผคู้ นทม่ี ตี ่อสภาพการณเ์ หล่าน้นั ดว้ ย ดังน้นั วรรณกรรมจึงมีความสาคญั ตอ่ มนุษยแ์ ทบทุกดา้ น เช่น
สังคมมนุษย์ท่ีเจริญมีอารยธรรมและเทคโนโลยีในปัจจุบันนี้ ต้ังอยู่บนพ้ืนฐานของวรรณกรรม วรรณกรรม
ตา่ งมีบทบาท ความสาคญั และอิทธพิ ลไมม่ ากก็น้อย

เอกสารอา้ งองิ

 Starosta, Stanley (2005). "Proto-East Asian and the origin and dispersal of languages
of east and southeast Asia and the Pacific". In Sagart, Laurent; Blench, Roger;
Sanchez-Mazas, Alicia (eds.). The Peopling of East Asia: Putting Together
Archaeology, Linguistics and Genetics. London: Routledge Curzon. pp. 182–
197. ISBN 978-0-415-32242-3.

 Wulff, Kurt. 1934. Chinesisch und Tai: Sprachvergleichende Untersuchungen.
Copenhagen: Levin & Munksgaard.

 Blust, Robert; Trussel, Stephen (June 21, 2020). "Austronesian Comparative
Dictionary, web edition". Archived from the original on August 6, 2020.
Retrieved November 10, 2020.

239

 Miyake, Marc Hideo (2004), Old Japanese: A Phonetic Reconstruction,
RoutledgeCurzon, ISBN 978-0-415-30575-4.

 Ramsey, S. Robert (1987), The Languages of China, Princeton University
Press, ISBN 978-0-691-01468-5.

 Sidwell, Paul; Blench, Roger (2011), "The Austroasiatic Urheimat: the Southeastern
Riverine Hypothesis"(PDF), in Enfield, N.J. (ed.), Dynamics of Human Diversity: The
Case of Mainland Southeast Asia, Canberra: Pacific Linguistics, pp. 317–
345, ISBN 978-0-85883-638-9.

 Wilkinson, Endymion (2000), Chinese history: a manual (2nd ed.), Harvard Univ Asia
Center, ISBN 978-0-674-00249-4.

วิวฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก


Click to View FlipBook Version