วิวัฒนาการภาษาและวรรณกรรมของอุษาคเนย์-แปซฟิ กิ
ที่มา: https://www.britannica.com/art/Southeast-Asian-
arts/Literature#ref29466
241
ภาษาและวรรณกรรมของอุษาคเนย-์ แปซิฟกิ
จากตวั อย่างวรรณกรรมของ อษุ าคเนย์-แปซฟิ ิก (เอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้) แต่เดมิ เรื่องแต่งต่างๆมักนามา
จากการดารงชีวิตการเป็นอยู่แลดารเอาตัวรอดของมนุษย์แต่เดมิ เร่ืองแต่งไม่มีแบบแผนท่ีแน่นอนแต่พอเมอ่ื
สังคมได้มีการพัฒนาเจริญก้าวหน้าการแต่งเร่ืองต่างๆก็เร่ิมพัฒนาตามขึ้นไปเร่ือยๆตามสภาพสังคมที่
เปล่ียนแปลง ทั้งในรูปแบบของนิทาน นิทานพื้นบ้าน หรือเพลงพ้ืนบ้านต่างๆ และต่อมา ประเทศในเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ได้เริ่มรับอิทธิพลมาจากวัฒธรรมอินเดียและจีน แต่เน่ืองด้วยในภมู ิภาคท่ีอยู่ในระหวา่ งอา
รายธรรมท้ังสองอารยธรรมดังกล่าวจึงได้นาวรรณคดีหลายๆเร่ืองนามาดัดเเปลงเร่ืองราวเกือบท้ังหมดหรือ
แค่บางส่วน ท้งั จากเร่อื งทเี่ ขียนในภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต และภาษาจีน โดยไดน้ าเรือ่ งทเี่ ปน็ ทตี่ ดิ หูหรือท่ี
รู้จักของจีนและอินเดียนามาปรับใหม่โดยผู้ท่ีนามาปรับใหม่คือ พระมหากษัตริย์ ขุนนาง หรือ พระสงฆ์ ใน
สมัยนั้น ต่อมา ในศตวรรษท่ี 19 อิธิพลของชาติตะวันตกเริ่มแผ่ขยายมายังภูมิภาคต่างๆ และได้มาแทนท่ี
วฒั นธรรมเดิมท่ีมอี ย่จู ากระบอบจกั รวรรดินิยมเริ่มสง่ ผลใหม้ ีการรณรงค์วรรณกรรมไม่ให้สาปสญู หายไปตาม
กาลเวลาในหลายๆประเทศ ทตี่ อ้ งรณรงคว์ รรณกรรมไว้เพอื่ เปน็ การอนุรักษ์ใหแ้ กค่ นรนุ่ หลงั ได้เรยี นรู้ต่อไป
วรรณกรรมเวียดนาม ได้รับอทิ ธิพลจากประเทศจนี ในเรื่องวัฒนธรรมและภาษา เคยมกี ารใชอ้ ักษรจื๋อโนม
ในคริสต์ศตวรรษท่ี 14 ต่อมา ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ได้มีการใช้อักษรโรมันแทนท่ีอักษรจีนในภาษา
เวยี ดนาม วรรณคดไี ทย พม่า และกมั พชู า ต่างไดร้ บั อทิ ธิพลมาจากพุทธศาสนานกิ ายเถรวาท รวมถึงอทิ ธพิ ล
จากประเทศอินเดีย ในคริสต์ศตวรรษท่ี 13 มีการประดิษฐ์ตัวอักษรและได้ถูกนามาใช้ในงานวรรณกรรม ใน
อดีตจนถึงปัจจุบัน พระมหากษัตริย์ ราชวงศ์ และเหล่าเจ้านาย ต่างสร้างสรรค์ผลงานด้านวรรณศิลปไ์ วเ้ ป็น
จานวนมาก ในขณะเดียวกัน ประชาชนส่วนมากก็ได้รับรู้ถึงงานวรรณกรรมอย่างแพร่หลาย รวมถึงช่วง
คริสต์ศตวรรษที่ 19 ไดม้ ผี ลงานสาคญั จากประเทศจีน เริ่มรูจ้ กั กมาข้ึน และเรม่ิ มีการแปลในรูปแบบบทร้อย
แก้วในเวลาต่อมา
เอกสารอา้ งอิง
Panikkar, K. M. (1953). Asia and Western dominance, 1498-1945, by K.M. Panikkar.
London: G. Allen and Unwin.
วิวฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก
วิวฒั นาการภาษาและวรรณกรรมของอาหรบั อนาโตเลีย-เอเชยี ไมเนอร์
ทม่ี า: https://en.m.wikipedia.org/wiki/Arabic_literature
https://lithub.com/a-brief-wondrous-history-of-arabic-literature/
243
ภาษาและวรรณกรรมของอาหรับ อนาโตเลยี -เอเชีย ไมเนอร์
อาหรับ เป็นต้นกาเนิดของตัวเลขอารบิค ตัวอักษรรูปลิ่ม ตัวอักษรเฮียโรกราฟฟิก ยังมีตัวอักษรอีก
มากมายที่ได้เกิด และภาษาท่ีโดดเด่นของอาหรับคือ ภาษาอาหรับ เป็นภาษาท่ีใช้ในคัมภีร์อัลกรุอาน และ
เคยเปน็ ภาษากลางในช่วงยุคทองของอารยธรรมอสิ ลาม ภาษาอาหรับยงั คงมีการใช้อยู่ในปจั จุบนั โดยกล่มุ ท่ี
ใชค้ ือ ชาวอาหรับทนี่ ับถือศาสนาคริสต์ ชาวอาหรับดรูซ ชาวยิวมิซราฮี และชาวมันเดยี นในอิรกั
วรรณกรรมอาหรับเริ่มเกิดข้ึนในช่วงศตวรรษที่ 5 วรรณกรรมที่ได้รับการยกย่องและรู้จักกันท่ัว คือ
คัมภีร์อัลกุรอาน วรรณกรรมอาหรับเจริญรุ่งเรืองในยุคทองของอิสลาม และในช่วงศตวรรษที่ 19 ได้มีการ
ฟื้นฟวู รรณกรรมอาหรบั ซ่งึ ไดม้ ีการเรยี กในภาษาอาหรบั วา่ อลั - นาหด์ า ที่แปลว่า ยคุ ฟื้นฟศู ลิ ปวิทยา กอ่ น
ศตวรรษท่ี 20 ในยุคทเี่ รยี กว่า วรรณกรรมอาหรบั คลาสสกิ จนถงึ ในยุควรรณกรรม
ภาษาโบราณที่เกิดขึ้นในอนาโตเลีย - เอเชียไมเนอร์ ได้สูญหายไปและถูกแทนที่โดยส่วนใหญ่คือ
ภาษากรีก แต่ต้นตระกูลของภาษาท่ีรู้จักกันดี คือ ภาษาอินโด - ยูโรเปียน ประกอบไปด้วยภาษาหลักและ
ภาษาย่อยรวม 443 ภาษา ซ่ึงกลุ่มภาษาอนาโตเลีย จัดเป็นกลุ่มย่อยแรกที่แยกออกจากภาษาอินโด –
ยูโรเปียน เมื่อราวประมาณ 4 พันปีก่อนคริสตกาล ภาษาที่สาคัญท่ีสดุ ในกลุ่มภาษาอนาโตเลยี คือ ภาษาฮิต
ไทต์ แตถ่ กู จัดเป็นภาษาทต่ี ายแลว้
วรรณกรรมในอนาโตเลีย - เอเชียไมเนอร์ ส่วนใหญจ่ ะเป็นวรรณกรรมท่เี กิดขึ้นในตรุ กี แตว่ รรณกรรม
ทส่ี าคัญในอนาโตเลีย ก็คือ คมั ภรี ์ฮีบรู เปน็ คมั ภีรใ์ นศาสนายูดาห์ และยงั เปน็ ทม่ี าของคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธ
สญั ญาเดมิ ของศาสนาคริสตด์ ว้ ย
เอกสารอ้างองิ
Allen, Roger (1995). The Arabic Novel: An Historical and Critical Introduction (2nd
ed.). Syracuse University Press. ISBN 978-0815626411.
ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก
วิวัฒนาการภาษาและวรรณกรรมอเมริกา
ท่ีมา: https://www.britannica.com/art/American-literature
https://en.m.wikipedia.org/wiki/American_literature
245
ภาษาและวรรณกรรมของอเมรกิ า
ภาษาอังกฤษเป็นภาษาประจาชาติของชาวอเมริกัน หากแต่ไม่ใช่ภาษาเดียวท่ีมีอยู่ในประเทศอเมริกา
เนื่องมาจากชาวอเมรกิ ันมชี นชาตเิ ดมิ ที่หลากหลาย ภาษาในอเมริกาจงึ มีความหลากหลายตามไป เช่น
คนในอเมริกาบางพวกพูดภาษาอังกฤษ ภาษาฝร่ังเศสและภาษาสเปน เพราะในอดีตอเมริกาเคยตกเป็น
เมืองขึ้นของอังกฤษ ฝรง่ั เศสและสเปน อีกทั้งยังมีภาษาฮาวาย ที่ใชใ้ นรฐั ฮาวาย
เราจะสังเกตได้ว่าภาษา ประเพณี และวัฒนธรรมล้วนมีผลต่อวิถีชีวิตและส่งผลต่อวรรณกรรมทั้งสิ้น
เพราะในแต่ละยุคจะมีแนวคิดในเรื่องท่ีแตกต่างกันออกไป เน่ืองจากสภาพสังคมและเหตุการ ณ์ต่างๆที่
สามารถเปล่ยี นแปลงได้ ทาให้วรรณกรรมเปลีย่ นแปลงไปเช่นกัน เช่น ในยคุ ปฏวิ ตั ิ วรรณกรรมจะพูดถงึ เรื่อง
คาประกาศอิสรภาพของอเมริกา ที่มีคากล่าวคือ มนุษย์ทุกคนเกิดมาเท่ากัน ในยุคปัจจุบันหลังสงครามโลก
ครัง้ ที่ 2 วรรณกรรมจะสะท้อนให้เหน็ ถงึ สงิ่ ทเ่ี กดิ ข้นึ ความเสยี หายและเร่อื งราวตา่ ง ๆ
ถึงแม้ว่าเน้ือหาของวรรณกรรมอเมริกาในแต่ละยุคจะเเตกต่างกันไป แต่ก็ยังคงสอดแทรกความเป็น
เอกลักษณ์ของวรรณกรรมอเมริกาไปในทิศทางเดียวกัน เพราะท้ายที่สุดแล้วรากฐานของการสร้างผลงาน
วรรณกรรมกค็ อื การใชภ้ าษาและการถา่ ยทอดเรอื่ งราวตา่ ง ๆ ออกมาในรปู แบบของงานศลิ ปะชนดิ หนึ่ง และ
ยังหมายถึงการส่งต่อประวัติศาสตร์ เรื่องราวการดาเนินชีวิต ส่งผ่านไปเพ่ือให้คนรุ่นหลังได้ทราบและเข้า
ใจความเป็นมาของอเมริกา
จากตัวอย่างข้างต้นผู้อ่านจะพบว่าเนื้อหาส่วนใหญ่ของวรรณกรรมอเมริกันจะมีลักษณะท่ีแตกต่างกัน
อย่างสิ้นเชิงในแต่ละยุค เนื่องจากในบางช่วงมีอิทธิพลของเรื่องราวแตกต่างกันไป เช่น วรรณกรรมเร่ือง คา
ประกาศอิสรภาพของอเมริกา ที่มีคากล่าวคือ มนุษย์ทุกคนเกิดมาเท่ากัน เป็นวรรณกรรมยุคแรก ๆ ที่มี
เน้ือหาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ศาสนา และการต่อสู้เพ่ืออิสรภาพของอเมริกา สิ่งสาคัญในการเปล่ียนแปลง
อเมรกิ าก็คือรฐั ธรรมนูญฉบับแรกของอเมรกิ า และยงั เปน็ ฉบบั เเรกของโลกทไี่ ด้รบั การยอมรบั จากประชาชน
ในเรอ่ื งการเเบ่งอานาจเป็น 3 ฝา่ ย และยดึ ถอื ใหเ้ ปน็ รัฐธรรมนญู กฎหมายสงู สุดในประเทศอีกด้วย
ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรค์จรรโลงโลก
ในช่วงยุคหน่ึงท่ีมีวิวาทะเกี่ยวกับการเหยียดผิวสีก็ได้มีการสร้าง ภาพยนตร์เรื่อง Fences เป็นภาพยนตร์
เก่ียวกับเศรษฐีตกอับ จนต้องดิ้นรนเพื่อกลับไปอยู่ในจุดเดิมอีกครั้งจนละเลยภาระหน้าที่ในครอบครัว ใน
ภาพยนตร์จะสื่อใหเ้ ห็นถึงความรกั ความเข้าใจท่ีผู้คนรอบข้างควรมอบให้แก่คนทุกชนชาติอย่างเท่าเทียมกัน
และความรกั ภายในครอบครวั ของคนผวิ สี ซึง่ ก็ต้องการความรกั ความเอาใจใสเ่ หมือนกับคนชาติอนื่ ๆ
ถ้าจะให้พูดถึงภาพยนตร์เกี่ยวกับรักร่วมเพศท่ีมีเชื่อเสียงของอเมริกาก็คงจะเป็นเร่ือง Brokeback
Mountain ซ่งึ เปน็ เรอื่ งราวมติ รภาพความสัมพันธ์ท่ีลึกซง้ึ ของชายหนมุ่ ชาวอเมรกิ าตะวนั ตก
ต่อมาในยุคท่ีเพลงเริ่มเข้ามามีบทบาทสาคัญกับอเมริกามากข้ึน ศิลปินชาวอเมริกันกลุ่มนึงที่มีช่ือว่า
Village people ได้มีการสร้างผลงานเพลงท่ีมีชื่อว่า Y.M.C.A. เป็นเพลงแนวดิสโก้ท่ีมีทานองสนุกเน้ือหา
เรียบง่ายแต่ด้วยศิลปินเป็นคนผิวสีจึงทาใหเ้ พลงนี้ยง่ิ เป็นท่ีพูดถึงและแพร่หลายออกไปมากขึ้นโดยเฉพาะใน
กล่มุ ของรักรว่ มเพศจนถอื ไดว้ า่ เปน็ เพลงประจากลุ่มเลยกว็ ่าได้
ภาพยนตร์ท่ีเป็นที่พูดถึงของอเมริกาคือ Marvel Cinematic Universe; MCU จักรวาลมาร์เวล , DC
Extended Universe, Mickey Mouse และ การต์ นู เสยี ดสสี งั คมชอื่ ดงั อย่างเร่ือง The Simpsons
เอกสารอา้ งอิง
Lease, Benjamin (1972). That Wild Fellow John Neal and the American Literary
Revolution. Chicago, Illinois: University of Chicago Press. p. 80. ISBN 0-226-46969-7.
Julian P. Boyd, "The Declaration of Independence: The Mystery of the Lost
Original" ArchivedFebruary 12, 2015, at the Wayback Machine. Pennsylvania
Magazine of History and Biography 100, number 4 (October 1976), p. 456.
Parker, Patricia L. "Charlotte Temple by Susanna Rowson". The English Journal.
65.1: (1976) 59-60. JSTOR. Web. 1 March 2010.
247
Hamilton, Kristie. "An Assault on the Will: Republican Virtue and the City in Hannah
Webster Foster's 'The Coquette'". Early American Literature. 24.2: (1989) 135-
151. JSTOR. Web. 1 March 2010
Said, Omar Ibn. (2014). Muslim American Slave : the Life of Omar Ibn Said.
University of Wisconsin Press. ISBN 978-0-299-24953-3. OCLC 1043364329.
Herlihy-Mera, Jeffrey (2018). "After American Studies: Rethinking the Legacies of
Transnational Exceptionalism". Routledge. p. 5. Retrieved August 21, 2019.
Q. L. Pearce. Native American Mythology. Greenhaven Publishing LLC,
2012. ISBN 978-1-4205-0951-9
ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก
จากวิวัฒนาการของภาษาและวรรณกรรมทาให้เห็นว่า ภาษาต่าง ๆ ในโลกมีมากมายล้วนเกิดจากความ
ต้องการของมนุษย์ท่ีจะสื่อสารกันให้รู้เร่ือง เข้าใจ ในเรื่องท่ีต้องการสื่อสาร เม่ือมีการเกิดภาษาแล้วส่ิงที่
ตามมาหลังจากน้ันจะเป็นการบันทึกตัวอักษรของภาษานั้น ๆ ลงในกระดาษหรือหิน จนทาให้เกิดเป็น
หนังสือ บันทึกประวัตศิ าสตร์ สงคราม ตานาน นทิ าน และสิง่ ต่าง ๆ อกี มากมาย ภาษาทอ่ี ยใู่ นโลกนี้แบง่ เป็น
ทวปี ตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ ยุโรป เอเชีย และอเมริกา ในภาษาที่กลา่ วมาลว้ นเกดิ วรรณกรรมตามมา
ภาษาและวรรณกรรมทวีปยุโรปเป็นตระกูลของภาษายูโรเปียนนั้น มีต้นกาเนิดมาจาก Indo-
European ซึ่งเป็นจุดเร่ิมต้นของภาษาท้ังหมดบนโลก และแตกแขนงออกมาได้อีก 3 ภาษาหลัก ได้แก่
สลาฟ โรมานซ์ และเจอร์มานิก และภาษาก็แตกออกมาเร่ือยๆ จนเป็นภาษาในทวีปยุโรปยกตัวอย่าง
วรรณกรรมยูโรเปียนท่ีมีความสาคัญ ตัวอย่างเช่น วรรณกรรมยูโรเปียนท่ีถูกเขียนข้ึนคร้ังแรก โดยกลุ่มนัก
ประพนั ธ์ทีไ่ ม่มใี ครรู้จักอยา่ ง Beowulf, Harry Potters, Sherlock Holmes
ภาษาและวรรณกรรมทวีปเอเชีย แบ่งเป็น ภาษาและวรรณกรรมภาระตะและเอเชียกลาง
ภาษาและวรรณกรรมจีน เกาหลี ญี่ปุ่น ภาษาและวรรณกรรมอุษาคเนย์-แปซิฟิค ภาษาและวรรณกรรม
อาหรบั อนาโตเลีย-เอเชียไมเนอร์ โดยในภาษาและวรรณกรรมภาระตะและเอเชียกลางชม วิวฒั นาการด้าน
ภาษาของอนิ เดยี จะแบง่ เป็น 3 ยคุ สมยั ดังนี้ 1.ภาษาสมยั เกา่ ไดแ้ ก้ ภาษาเทวนาครี ทใ่ี ช้เขียนพระไตรปิฎก
ภาษาท่ใี ชใ้ นคมั ภีรพ์ ระเวท คือคัมภรี ์ฤคเวท ยชรุ เวท สามเวท และอาถรรพเวท รวมตลอดท้ังคัมภรี ์อุปนิษัท
ซ่ึงเป็นคัมภีร์สุดท้ายของคัมภีร์พระเวท (เวทานต์) ภาษาสันสกฤตก็จัดอยู่ในสมัยนี้ด้วย 2.ภาษาสมัยกลาง
ได้แก่ ภาษาปรากฤตซึ่งเป็นภาษาถิ่นของชาวอารยันท่ีใช้กันท้องถ่ินต่างๆ ของประเทศอินเดีย เช่นภาษา
มาคธี มหาราษฏรี เศารเสนี เป็นต้น 3.ภาษาสมัยใหม่ ไดแ้ ก่ ภาษาตา่ งๆในปัจจบุ ัน เชน่ ภาษาฮินดี เบงกาลี
ปัญจาบี มราฐี เนปาลี วรรณกรรมท่ีมชี ่อื เสยี งของอนิ เดยี และเล่ืองชื่อมาถึงปจั จบุ ัน นั่นก็คอื รามายญะ และ
ภารตะ ส่วนทางด้านของเอเชียกลางถึงจะไม่มีช่ือเสียงมากแต่ก็จะเป็นท่ีรู้จกั กันอยู่บ้างน่ันก็คือ วรรณกรรม
อาร์เมเนีย ต่อไปเป็นภาษาและวรรณกรรมของจีน เกาหลี ญี่ปุ่น ภาษาจีน ก็มีประวัติของตัวอักษรจีนที่มี
ประวัติความเป็นมาไม่ต่ากว่า 3,000 ปี และยังมีภาษาถ่ินที่สามารถแบ่งได้ 7 กลุ่ม หรือ 10 กลุ่ม ได้แก่ จีน
กลาง, อู๋,กวางตุ้ง, หมิ่น, เซียง, ฮากกา, ก้าน และเพ่ิมมาอีก 3 กลุ่ม ได้แก่ จิ้น, ฮุย, ผิง ภาษาเกาหลี เป็น
ภาษาท่ีส่วนใหญ่พูดในประเทศเกาหลีใต้และเกาหลีเหนือ ซ่ึงเป็นภาษาราชการ ภาษาเกาหลีสามารถแบ่ง
249
ออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ ได้แก่ ภาษาเกาหลีไซนิจิ, ภาษาโครยอ-มาร์, ภาษาเกาหลีถิ่นจีน ภาษาญี่ปุ่น เป็น
ภาษาราชการของประเทศญ่ปี นุ่ ซ่งึ สามารถแบง่ ออกเปน็ 5 ยุค ได้แก่ ยุคกอ่ นประวัตศิ าสตร,์ ยคุ ภาษาญป่ี ุ่น
เก่า, ยุคภาษาญี่ปุ่นตอนต้น, ยุคภาษาญี่ปุ่นตอนปลาย และยุคภาษาญี่ปุ่นในปัจจุบัน วรรณกรรมจีนเรื่อง
ความฝันในหอโคมแดง วรรณกรรมเกาหลี เรื่อง แดจังกึม วรรณกรรมญ่ีปุ่น เรื่อง โดเรมอน และสุดท้าย
ภาษาและวรรณกรรมอาหรับ อนาโตเลีย-เอเชียไมเนอร์ อาหรับ เป็นต้นกาเนิดของตัวเลขอารบิค ตัวอักษร
รูปลมิ่ ตวั อกั ษรเฮียโรกราฟฟิก เปน็ ภาษาที่ใช้ในคัมภีร์อัลกรุอาน และเคยเป็นภาษากลางในชว่ งยคุ ทองของ
อารยธรรมอสิ ลาม วรรณกรรมอาหรับเร่ิมเกดิ ขึ้นในช่วงศตวรรษที่ 5 วรรณกรรมที่ได้รบั การยกย่องและรู้จัก
กนั ท่ัว คือ คัมภรี อ์ ัลกรุ อาน ภาษาโบราณทีเ่ กิดข้ึนในอนาโตเลยี - เอเชียไมเนอร์ ได้สูญหายไปและถูกแทนท่ี
โดยส่วนใหญ่คือภาษากรีก แต่ต้นตระกูลของภาษาที่รู้จักกันดี คือ ภาษาอินโด – ยูโรเปียน วรรณกรรมที่
สาคัญในอนาโตเลีย ก็คอื คมั ภรี ฮ์ ีบรู
ภาษาและวรรณกรรมทวีปอเมริกา ภาษาอังกฤษเป็นภาษาประจาชาติของชาวอเมริกัน
หากแต่ไม่ใช่ภาษาเดียวที่มีอยู่ในประเทศอเมริกา เน่อื งมาจากชาวอเมริกันมีชนชาติเดิมทหี่ ลากหลาย ภาษา
ในอเมริกาจึงมีความหลากหลายตามไป เช่น คนในอเมริกาบางพวกพูดภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศสและ
ภาษาสเปน วรรณกรรมท่สี าคญั คอื เร่ือง คาประกาศอสิ รภาพของอเมริกา
วรรณกรรม ไม่ได้เป็นแค่สื่ออย่างเดียว แต่มีสิ่งที่แฝงลึกลงไปในช่องไฟระหว่างตัวอักษร
สะท้อนให้เห็นถึงความตื้นลึกหนาบางทางภูมิปัญญาของผู้เขียน และลึกลงไปในภูมิปัญญาน้ันก็คือความ
จริงใจท่ีผู้เขียนสะท้อนต่อตัวเองและต่อผู้อ่าน วรรณกรรมเป็นส่วนหน่ึงของชีวิตมนุษย์และเป็นเคร่ืองช้ีให้รู้
ว่า ชาติใดมีความเจริญทางวัฒนธรรมสูงแค่ไหนและยุคใดมีความเจริญสูงสุด ยุคใดมีความเส่ือมลง
เพราะฉะนั้นวรรณกรรมแต่ละชาติ จึงเป็นเครื่องช้ีวัดได้ว่า ในแต่ละยุคประชาชนในชาติมีความเจริญหรือ
เสื่อมอย่างไร ด้วยเหตุน้ีวรรณกรรมจึงเป็นเครื่องมือสื่อสารความรู้สึกนึกคิดถ่ายทอดจินตนาการและแสดง
ศลิ ปะอันประณตี งดงาม การศกึ ษาหรอื อา่ นวรรณกรรมแตล่ ะเรื่องทาให้ผอู้ ่านมองเหน็ ภาพสังคม วฒั นธรรม
การเมอื ง และเศรษฐกจิ ของยคุ สมัยทผ่ี ูเ้ ขียนไดส้ ะท้อนผา่ นมมุ มองของตนออกมา
วิวฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรค์จรรโลงโลก
บรรณานกุ รม
Gibbons, Brian, ed. (1980). Romeo and Juliet. The Arden Shakespeare, second series.
London: Thomson Learning. ISBN 978-1-903436-41-7.
Bisson, Lillian. (1998). Chaucer and the Late Medieval World. New York: St. Martin's Press.
Cooper, Helen. (1996). The Canterbury Tales. Oxford Oxfordshire: Oxford University Press.
Kevin S. Kiernan (1997). Beowulf and the Beowulf Manuscript Ann Arbor, MI: University of
Michigan Press. ISBN 978-0-472-08412-8.
Mitchell, Bruce (1986). "Diphthongs", A Guide to Old English. Blackwell, 14-15
JK. Rowling.(1997) Harry Potter and the Philosopher's Stone. Bloomsbury
JK. Rowling.(1998) Harry Potter And The Chamber Of Secrets. Bloomsbury
JK. Rowling.(1999) Harry Potter And The Prisoner Of Azkaban. Bloomsbury
JK. Rowling.(2000) Harry Potter And The Goblet Of Fire. Bloomsbury
JK. Rowling.(2003) Harry Potter And The Order Of The Phoenix. Bloomsbury
JK. Rowling.(2005) Harry Potter And The Half Blood Prince. Bloomsbury
JK. Rowling.(2007) Harry Potter and the Deathly. Bloomsbury
Doyle, Arthur Conan (1893). The Original illustrated 'Strand' Sherlock Holmes (1989 ed.).
Ware, England: Wordsworth. pp. 354–355. ISBN 978-1-85326-896-0.
Dakin, David (1972). A Sherlock Holmes Commentary. Newton Abbot: David & Charles.
ISBN 0715354930.
251
Saint Augustine. (2012). The City of God (1-10), Study Edition. New York: New City Press.
วิกิพเี ดีย. (2547). Ecclesiastical History of the English People. สบื ค้น 21 สงิ หาคม 2564, จาก
https://en.m.wikipedia.org/wiki/Ecclesiastical_History_of_the_English_People
Grimm, Jacob and William, edited and translated by Stanley Appelbaum, Selected
Folktales/Ausgewählte Märchen: A Dual-Language Book Dover Publications Inc. Mineola, New York. ISBN 0-
486-42474-X
Theodor Ruf: Die Schöne aus dem Glassarg. Schneewittchens märchenhaftes und wirkliches Leben.
Würzburg: Königshausen und Neumann, 1994 (absolutely reliable academic work)
Marlowe, Christopher (1962). Bevington, David; Rasmussen, Eric (eds.). Doctor Faustus, A- and
B-texts (1604, 1616). Manchester: U of Manchester P. pp. 72–73. ISBN 9780719016431.
Chambers, E. K. (1923). The Elizabethan Stage. 4 Volumes, Oxford, Clarendon Press.
The Greek title (1353). would be δεκαήμερο (τό) with a more correct classical Greek
compound being δεκαήμερον
Wikipedia, สารานุกรมเสรี (2017) Divine Comedy สบื คน้ จาก: en.wikipedia.org
Turold.11th century.La Chanson de Roland. France: ม.ป.พ. ISBN 10: 2070308448 ISBN 13:
9782070308446
Wikipedia.ม.ป.ป. Chanson de Roland.สืบค้น13สิงหาคม2564
252
Salomon, Richard (2003), "Writing Systems of the Indo-Aryan Languages", in Cardona, George
& Dhanesh Jain, The Indo-Aryan Languages, Routledge, 67-103
ธวัชชัย ดลุ ยสุจริต. (2561). ภาษาสันสกฤตงา่ ยนิดเดยี ว. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก :
https://www.gotoknow.org/blog/. (วนั ทีค่ ้นข้อมูล 2 มกราคม 2561).
กรุณา-เรืองอุไร กุศลาสัย. ภารตวิทยา. พิมพ์ครั้งท่ี 5 กทม. ศยาม. 2547 ผศ.ดร.สถิตย์ ไชยปัญญา.
(2563).ประวัตวิ รรณคดสี ันสกฤต:สานกั พิมพ์มหาวิทยาลัยรามคาแหง.
จุดประกาย 4 บันเทิง, Ranclamoozhan จากบทกวีสู่หนังอินเดียที่ 'แพง' ท่ีสุด. "โลกนี้มีมายา" โดย ลี
นาร์. กรงุ เทพธุรกจิ ปีที่ 29 ฉบบั ที่ 10441: วนั จนั ทรท์ ี่ 24 เมษายน พ.ศ. 2560
"แฟนพนั ธ์แุ ท้ 11 เมษายน 2557 - มหาภารตะ". แฟนพนั ธ์แุ ท้ 11 April 2014. สบื ค้นเม่อื 12 April 2014
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. พิมพ์ครั้งท่ี ๒, กรุงเทพฯ :
ราชบณั ฑิตยสถาน, 2556. 1,544 หนา้ . ISBN 978-616-7073-80-4
น.ม.ส. อจั ฉรยิ กวีศรรี ตั นโกสนิ ทร์, สถาบันภาษาไทย, กรมวชิ าการกระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2541, หน้า 22
"Sindhi". The Languages Gulper. สบื ค้นเม่อื December 27, 2013
Annemarie Schimmel,ไข่มกุ จากสินธุ: การศึกษาในสินธวุ ฒั นธรรม Jamshoro ดฮป์ ากสี ถาน: สนิ ธุ
Adabi คณะ (1986) หน้า 111
แปลและเรียบเรียงจาก หนังสือภาษาฮินดีช่ือ Vyavharik Hindi Vyakaran aur Vartalab ผู้แต่ง
Caturbhuj Sahay พิมพ์โดย Central Hindi Institute, Agra :1998
253
นิลากนั ตะสาตรีก. (2543). ประวตั ศิ าสตรข์ องอินเดยี ใต้ นวิ เดลี: สานักพมิ พม์ หาวิทยาลยั ออกซฟ์ อร์ด ISBN
0-19-560686-8.
Krishnamurti, Bhadriraju (2003). The Dravidian Languages. Cambridge Language Surveys.
Cambridge University Press. p. 154. ISBN 0521771110.
" Dhaka Medical College Hostel Prangone Chatro Shomabesher Upor Policer Guliborshon.
Bishwabidyalayer Tinjon Chatroshoho Char Bekti Nihoto O Shotero Bekti Ahoto". The Azad
(ภาษาBengali). 22 February 1952.
Bhatia, T. "Punjabi: A Cognitive-Descriptive Grammar", 1993. p 279. ISBN 0-415-00320-2
สารานุกรมหอการค้า ระบบการเรียนรู้ระหว่างประเทศ พ.ศ. 2511 "ภาษาอารยันส่วนใหญ่ของอินเดียและ
ปากีสถานเปน็ ของตระกูลอินโด - อารยันและสืบเช้ือสายมาจากภาษาสันสกฤตผ่านขนั้ กลาาง ภาษา ปรากฤต
ภาษาอินโด – อารยันเป็นภาษาท่ีสาคัญที่สุดในเชิงตัวเลขและดินแดนท่ีพวกเขาครอบครองน้ันขยายไปท่ัว
อินเดยี ตอนเหนอื และตอนกลางและไปถงึ ทางใต้ไกลถงึ กวั "
กระโดดขึน้ ไป: 1.0 1.1 ยศไกร ส.ตันสกุล. จดหมายเหตสุ ามก๊ก ฉบับเฉินโซ่ว, กรุงเทพฯ: ปราชญ์, 2556
จดหมายเหตุสามก๊ก, อนิ ไซดส์ ามก๊ก, ณรงคช์ ัย ปัญญานนทชยั , สานักพมิ พ์ดอกหญ้า, พ.ศ. 2550, หนา้ 11
สนิท กัลยาณมิตร.(2528).เปาบุ้นจิ้น เทพเจ้าแห่งความยุติธรรม ฉบับสมบูรณ์.สืบค้น 20 สิงหาคม 2564,
จาก https://www.su-usedbook.com/produc
254
มู่หลาน ย้อนตานานวีรสตรีผู้ถูกนามาเป็นสัญลักษณ์ของการ รักชาติ.(ม.ป.ป).[ออนไลน์].ได้จาก:
https://www.sarakadeelite.com/faces/mulan-history/
น า ง พ ญ า งู ข า ว . ( 2557).อ อ น ไ ล น์ . ไ ด้ จ า ก : http://www.planet789.com/2014/12/legend-of-white-
snake.html?m=1[สืบค้นวันท่ี 17 สิงหาคม 2564]
ภเู ทพ ประภากร.(2564). ความฝนั ในหอแดง.วารสารวจิ ยั ราชภฏั กรุงเก่า, 8(1), 97-110.
ความฝันในหอแดง.(2564).[ออนไลน์].ได้จาก:https://www.108novel.com/all-articles/articles/book-
world/dream-of-the-red-chamber-novel.html[สบื ค้นเมอื่ 17 สิงหาคม 2564]
แดจังกึม จอมนางวังหลวง.(ม.ป.ป.).[ออนไลน์].ได้จาก:https://th.wikipedia.org/wiki/แดจังกึม_จอมนาง
แห่งวังหลวง [สบื คน้ เม่อื 17 สิงหาคม พ.ศ.2564]
Seoninjoo./(2557).//“Hong Gil Dong” นวนิยายเกาหลีเร่ืองแรก./สืบค้นเม่ือ 17 สิงหาคม พ.ศ.2654,//
จากRetrieved from https://www.asiancastles.com/2014/12/hong-gil-dong.html
ฮงกิลดงจอน.(ม.ป.ป.).[ออนไลน์].ได้จาก: https://hmong.in.th/wiki/Hong_Gildong_(character)[สืบค้น
เมอ่ื 17 สิงหาคม พ.ศ.2564]
Fujiko Fujio. (2513). Doraemon (พิมพ์ครงั้ ท1่ี ). Japan: Kabushikigaisha Shōgakukan.
เด็ก 200 ปี.(ม.ป.ป.).[ออนไลน]์ .ไดจ้ ากhttps://readoverhead.blogspot.com/2007/09/200.html
255
ตานานคนตัดไผ่ หรือ ตานานเจ้าหญิงคะงุยะ (ม.ป.ป) ออนไลน์ ได้จาก : https://th.wikipedia.org/wiki/
ตานานคนตัดไผ่ [สบื ค้นวนั ท2ี่ 0 สงิ หาคม 2564]
เท็ตสึโกะ คุโรยานางิ.(2535).โต๊ะโตะจัง เด็กหญิงข้างหน้าต่าง.สานักพิมพ์ ผีเส้ือ.สืบค้นเม่ือวันท่ี18 สิงหาคม2564.จาก
https://www.artbangkok.com/?p=12659
ผ ศ . ด ร . ส ถิ ต ย์ ไ ช ย ปั ญ ญ า . ( 2563). ว ร ร ณ ก ร ร ม เ ข ม ร . สื บ ค้ น 17 สิ ง ห า ค ม 2564, จ า ก
https://delphipages.live/th
สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช. "6.4.3 พทุ ธศาสนาในปัจจบุ ัน". ประมวลสาระชุดวิชา
ไทยศึกษา หน่วยท่ี 1-7. พมิ พ์ครง้ั ที่ 15. กรุงเทพฯ : สานักพมิ พ์มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช, 2552. หนา้
319. ISBN 974-645-258-4
ฮีตสบิ สองคองสิบส่ี, ชมรมอีสานและภูมิภาคอินโดจีนศึกษา มหาวทิ ยาลัยนเรศวร
อรนุช–วิรชั นยิ มธรรม.(2541). ศลิ าจารึกกบั เค้ามูลทางสงั คมและวรรณกรรมพม่าในสมัยพุกามอนั ไพบลู ย์.
สบื ค้น 17 สิงหาคม 2564
ชาหนอน อหมฺ ัด. (2548). ภูเขาอาถรรพ.์ กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพคบไฟ.
มารแ์ ชล คาเวนดชิ คอร์ปอเรช่ัน (2008) ของโลกและของประชาชน
เบา๋ นนิ ห์. ปวดรา้ วแหง่ สงคราม แปลโดย วรวดี วงศส์ ง่า. กรงุ เทพฯ. แพรว. 2547
ดลมนรรจน์ บากา.(2558).พัฒนาการวรรณกรรมบรูไน.ครั้งที่2.สบื ค้น 18 สงิ หาคม 2564,จาก43349-
Article Text-100431-1-10-20151207(1).pdf
เสฐยี รโกเศศ, เลา่ เรื่องในไตรภูม.ิ (กรุงเทพฯ : สานักพิมพค์ ลังวิทยา, 2518)
256
Ayu Utami. (1998). Saman. สบื ค้น 19 สงิ หาคม 2564, จาก
https://hmong.in.th/wiki/Saman_(novel)
The Raid – Q+A กับ Director & Star" . ดจิ ิทอลฟิกซ์ . 18 พฤษภาคม 2555. เก็บถาวรจากต้นฉบับเมื่อ
14 กรกฎาคม 2557
Romulo P. Baquiran Jr. (2556). To the Marrow: Hospital Diary and other Essays (พิมพค์ รั้งท่ี 1 ).
H.N. Group: นานมบี ุค๊ ส์พบั ลิเคชนั่ ส.์
Chong, Alvin (11 May 2016). "Singapore Book Awards: The Art of Charlie Chan Hock Chye
wins Book of the Year". Channel NewsAsia. Retrieved 6 March 2018.
"The Art of Charlie Chan Hock Chye - Epigram Books". Epigram Books.
ดาบแหง่ อัลเลาะห์ อะคาเดม่ี. (2557). กำเนิดเลขอำรบิค. สบื ค้น 20 สิงหาคม 2564, จาก
http://ansorimas200.blogspot.com/2014/03/blog-post_26.html
โรงเรียนวัดนา้ พ.ุ (2564). อักษรคนู ิฟอร์ม หรืออักษรรูปล่ิม จดุ กำเนิดของกำรพฒั นำกำรเขยี นอักษรภำพ.
สืบค้น 20 สิงหาคม 2564, จาก https://www.wadnumpu.ac.th/อักษรคนู ิฟอร์ม/.
ช ลิ ต า สุ ท ธิ ธ ร ร ม . ( 2014) . เ ฮี ย โ ร ก ลิ ฟ ฟิ ก ( Hieroglyphics). สื บ ค้ น 20 สิ ง ห า ค ม 2564, จ า ก
http://worldcivil14.blogspot.com/2014/12/hieroglyphics.html
Pornphanh. (2013). กระดำษปำปิรุส กระดำษชนดิ แรกของโลก. สบื ค้น 20 สิงหาคม 2564 จาก
https://teen.mthai.com/variety/62144.html
Aybeg. (2564). Cevdet Bey ve Oğulları. สืบคน้ 20 สิงหาคม 2564 จาก
https://tr.m.wikipedia.org/wiki/Cevdet_Bey_ve_O%C4%9Fullar%C4%B1
257
ฟร็องซัว เฟเนลอน (1717). Les Aventures de Télémaque. สืบค้น 21 สิงหาคม 2564, จาก
https://wikipang.com/wiki/Les_Aventures_de_T%C3%A9l%C3%A9maque
Shams of Tabriz. Divan-i Shams-i Tabrizi. สืบคน้ 22 สงิ หาคม 2564
จาก https://hmong.in.th/wiki/Diwan-e_Shams-e_Tabrizi
Journals. 2554. ลักษณะการใชภ้ าษาอเมริกากอ่ นถกู ลา่ อาณานิคมมายา.
Red Indian. 1492. Indigenous languages of the Americas. , August, 19,
2021Retrievedfromhttps://en.wikipedia.org/wiki/Indigenous_peoples_of_the_Americas
Magnum Concillium. 1776. United States Declaration of Independence.
, August, 19, 2021 Retrieved from http://oknation.nationtv.tv/blog/007k/2014/06/26/entry-1
William Hill Brown. 1 7 8 9 . The Power of Sympathy, August, 1 7 , 2 0 2 1 Retrieved from
https://en.wikipedia.org/wiki/The_Power_of_Sympathy#cite_ref-7
Larry McMurtry Diana Ossana. 2005. Brokeback Mountain. , August, 19, 2021 Retrieved from
https://en.wikipedia.org/wiki/Brokeback_Mountain
Denzel Washington. 2017. Fences. , August, 19, 2021 Retrieved from https://jesirose.com/87-
fences-
Strange Fruit. 1939. Billie Holiday. , August, 20, 2021 Retrieved from
https://fridayiaminrock.com/2009/04/14/strange-fruit/
Village People. 1978. Y.M.C.A. , August, 20, 2021 Retrieved from
https://en.wikipedia.org/wiki/Y.M.C.A._(song)
258
Walter Elis Disney ,Ab Iworks. 1928. Mickey Mouse. , August, 19, 2021 Retrieved from
http://mywalt.blogspot.com/p/blog-page.html
Marvel Studios.1928. Marvel Cinematic Universe. , August, 19, 2021 Retrieved from
https://en.wikipedia.org/wiki/Marvel_Cinematic_Universe
Matt Groening, Ken Spears. 1989. The Simpsons. , August, 20, 2021 Retrieved from
https://en.wikipedia.org/wiki/The_Simpsons
259