บทที่ 3
ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมจนี เกาหลี และญ่ีป่นุ
ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก
สว่ นนา
จีนเป็นประเทศที่มีเอกภาพแต่หลากชนชาติ มีชนชาติทั้งหมด 56 ชนชาติด้วยกัน ซ่ึงใช้ภาษาจีนเป็นหลัก
ตัวอักษรจีนเปน็ ตัวอกั ษรทีม่ กี ารใช้มาเป็นเวลานาน การสร้างและการใช้ตวั อักษรจีนไม่เพียงทาให้วัฒนธรรมจีน
พัฒนาเท่านั้น แตไ่ ด้ส่งอิทธิพลตอ่ การพัฒนาวฒั นธรรมโลก ตัวอกั ษรจีนเรมิ่ กลายเป็นตัวอักษรที่มีระบบในสมัย
ราชวงศ์ซาง ศตวรรษท่ี 16 ก่อนคริสต์กาล ภาษาจีนเป็นภาษาในตระกูลจีน-ทิเบต ในภาษาจีนมีภาษาถ่ิน
มากมาย โดยแบ่งออกเป็นเขตภาษาถิ่น 7 เขตด้วยกัน แต่ระบบตัวอักษรที่ประชาชนท่ัวประเทศจีนใช้นั้น
เหมอื นกันทุกประการ ดงั นนั้ ภาษาทใี่ ช้จึงถอื วา่ เป็นภาษาเดยี วกันคอื ภาษาจนี
โดยดั้งเดิมนั้นชาวเกาหลีใช้ตัวอักษรของจีน ซึ่งเข้ามามีอิทธิพลในประเทศเกาหลีต้ังแต่ 2,000 ปีมาแล้ว
เมอ่ื จีนไดเ้ ข้ามาปกครองประเทศเกาหลใี นชว่ ง พ.ศ. 435 ถึง พ.ศ. 856 ทาให้ภาษาจีนมีการใช้อย่างกว้างขวาง
และเริ่มใช้อักษรจีนโบราณในการเขียนภาษาเกาหลี เม่ือประมาณ พ.ศ. 1000 อักษรจีนที่ยืมมาใช้ได้แพร่เข้าสู่
อาณาจักรเกาหลีผ่านพระพุทธศาสนา ชาวเกาหลีได้ปรับใช้ภาษาจีนใหเ้ ข้ากับไวยากรณ์ อักษรฮันจาได้ใช้
ในการเขียนภาษาเกาหลีมาตลอด จนกระท่ังพระเจ้าเซจงได้ประดิษฐ์ตัวอักษรฮันกึลข้ึนมา ในระหว่างปี พ.ศ.
1987 - 1989
ภาษาญป่ี ุ่นได้รับอทิ ธิพลมาจากภาษาตา่ งประเทศเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะภาษาจีน ทไี่ ด้นามาเผยแพร่มา
ในประเทศญป่ี ุ่นเมอ่ื กวา่ 1,500 ปที แี่ ลว้ กอ่ นพ.ศ. 900 ภาษาญ่ปี ุ่นไมม่ ีระบบการเขยี นเป็นของตนเอง หลงั จาก
น้ัน เริ่มปรับปรุงอักษรจีนมาใช้ คาดว่าผ่านมาทางเกาหลี คร้ังแรกภาษาญ่ีปุ่นเขียนด้วยอักษรจีนโบราณ หรือ
รปู แบบผสมระหว่างจนี กับญ่ีป่นุ เมื่อเวลาผ่านไป ระบบการเขยี นเป็นแบบใช้อักษรจนี เขยี นคายืมจากภาษาจีน
93
หรือคาในภาษาญ่ีปุ่นท่ีมีความหมายใกล้เคียงกัน รูปแบบอักษรจีนยังใช้แทนการออกเสียงในการเขี ยน
ไวยากรณ์
เกาหลีและญ่ีปุ่นได้รับอิทธิพลด้านภาษาและวรรณกรรมจากจีน ในระยะเร่ิมแรกของวรรณกรรมเกาหลี
และญีป่ ุ่น ก็ยงั มีการแตง่ วรรณกรรมเป็นภาษาจนี อยูจ่ นกระทัง่ มีการสรา้ งอักษรของตัวเอง
สมัยโบราณประเทศจีนมีวรรณกรรมที่มีเอกลักษณ์ในแต่ละสมัย เมื่อประมาณ 2500 ปีก่อน ในราชวงศ์
โจวปลายช่วงชนุ -ชิว บทกวเี รื่องซือจงิ ซงึ่ เป็นหนังสือรวมบทกวีท่ีรวบรวมโดยขงจื๊อได้ถือกาเนดิ ขึน้ ต่อมากม็ ีบท
กวีท่ีเขียนโดยชวเี หวียน ซ่ึงเป็นขุนนางตงฉิน ได้ผลิตบทกวีซึ่งถือกันว่าเปน็ วรรณกรรมช้ินเอกในประวัติศาสตร์
จีน ในสมัยราชวงศ์ฮ่ัน ถังฯ ก็มีวรรณกรรมท่ีมีรูปแบบและลักษณะที่แตกต่างกัน บทกวีท่ีโดดเด่นในสมัย
ราชวงศ์ฮ่ันที่เป็นที่นิยมมากเรียกว่า ฟู่ ซึ่งมีลักษณะท่ีผสมผสานกันระหว่างบทกลอนและความเรียง เล่าถึง
เรอ่ื งราวในสมัยน้ันและตานานในสมัยโบราณและในสมยั ราชวงศถ์ ังวรรณกรรมประเภทบทกลอนมีความเฟ่ือง-
ฟูมาก
วรรณกรรมเกาหลสี ่วนใหญม่ ักจะแต่งเกี่ยวกับเร่ืองธรรมชาติ พระพุทธศาสนาในแง่ที่เก่ียวกับวญิ ญาณคอื
การเกิดใหม่หรือเช่ือว่าชาติหน้ามีจริง ความรักสันโดษและความพอใจในตนเองจะปรากฏเด่นในวรรณกรรม
ทั่วๆไปของเกาหลี นอกจากน้ีก็ยังมีอิทธิพลของขงจ้ือฝังรากลกึ อยู่ในวรรณกรรมเกาหลีด้วยโดยเฉพาะอย่างย่งิ
เก่ียวกับมนุษยธรรมนิยม เก่ียวกับอานาจเหนือธรรมชาติเวทมนตร์คาถา นอกจากน้ีก็กล่าวถึงความซ่ือตรงจง
รักต่อพระมหากษัตริย์ความเห็นอกเห็นใจกันความเช่ือถือในอาวุโสความไว้วางใจที่มีต่อมิตรและความสัมพันธ์
ของผหู้ ญงิ
วิวัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก
วรรณกรรมญี่ปุ่นชิ้นแรก ได้แก่ หนังสือประวัติศาสตร์ที่ชื่อ โคะจิกิและนิฮงโชะกิ หนังสือบทกวีสมัย
ศตวรรษที่ 8 ทชี่ ือ่ มัง-โยชู ซึ่งเขยี นด้วยภาษาจีนท้ังหมด ในชว่ งต้นของยุคเฮอัง มีการสรา้ งระบบการเขียนแทน
เสียงที่เรียกว่า คะนะ นิทานคนตัดไม้ไผ่ ถูกพิจารณาว่าเป็นงานที่เก่าแก่ท่ีสุดที่เขียนด้วยภาษาญ่ีปุ่น ตา-นาน
เก็นจิท่เี ขียนโดยมรุ ะซะกิ ชิกิบถุ ูกเรยี กวา่ เปน็ วรรณกรรมชิน้ แรกของโลก ระหวา่ งยุคเอโดะวรรณกรรมไม่อยู่ใน
ความสนใจของซามูไรเท่ากับโชนิน ชนชั้นประชาชนท่ัวไป ตัวอย่างเช่น โยะมิฮง กลายเป็นที่นิยมและเผยให้
เห็นการเปล่ยี นแปลงทลี่ กึ ซ้งึ ระหว่างนักอา่ นกบั นกั เขยี น ในสมยั เมจิ วรรณกรรมด้ังเดมิ ไดเ้ ส่ือมสลายลง ขณะท่ี
วรรณกรรมญปี่ นุ่ ได้รับอิทธพิ ลจากตะวันตกมากข้นึ
95
ภาษาจีน
ภาษาจีนโบราณ เป็นภาษาจีนในลักษณะของภาษาเขียนของภาษาจีนที่บรรจงรจนาเป็นภาษาท่ีสวยงาม
แตกต่างจากภาษาพูดค่อนข้างชัดเจน ปัจจุบันยังใช้กันอยู่ในประเทศจีน คาบสมุทรเกาหลี ญี่ปุ่น เวียดนาม
และแถบรวิ กิว
ภาษาจนี โบราณแบง่ ออกเปน็ 2 กล่มุ ได้แก่
1) ภาษาจีนโบราณลึก หมายถึงภาษาจีนโบราณท่ีเกิดขึ้นโดยอาศัยพ้ืนฐานจากภาษาพูดของจีนก่อนสมัย
ฉนิ ซ่ึงประกอบดว้ ยชุดคาศัพท์และไวยากรณ์ทม่ี ลี กั ษณะคล้ายกับภาษาพดู ในสมัยน้ัน
2) จนี โบราณตนื้ คือภาษาจนี โบราณท่ีเกดิ ขึ้นในชว่ งสมัยฮั่นตะวนั ออก ฮนั่ ตะวันตก จ้นิ และราชวงศ์เหนอื
ใต้ โดยมกี ารใช้มายาวนานจึงถึงชว่ งปลายสมัยราชวงศ์ชิงและตน้ สมยั ปฏวิ ตั ิจนี
จีนสมัยกลางช่วงถังและซ่ง ภาษาพูดของจีนเกิดการเปล่ียนแปลงแบบยกเครื่องครั้งใหญ่ ทาให้ภาษาเขียน
ในสมัยนแี้ บ่งออกเปน็ 3 กลมุ่ ใหญ่ ๆ ดว้ ยกนั
1.ภาษาเขียนที่เลียนแบบลักษณะจีนโบราณลึกของหนังสือสมัยโบราณยุคเก่า หนังสือท่ีเขียนด้วยการเขียน
ประเภทนส้ี มยั ถงั เช่น ถางซง่ ปาตา้ เจยี เปน็ ต้น
2.ภาษาเขียนท่ีเป็นลักษณะของจีนโบราณตื้น เช่น พงศาวดารไซ่ฮ่ัน คัมภีร์พุทธศาสนาตงฮ่ันฉบับแปล
หรือของหลวิ อ้ชี ง่ิ เป็นตน้
3.ภาษาเขยี นที่ใชภ้ าษาพูดในขณะน้นั เช่น ภาษา 变文 ในสมยั ถงั ภาษา 话本 สมยั ซ่ง
ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก
แม้ว่ากาลเวลาล่วงเลยมาหลายช่วงสมัย ภาษาเขียนภาษาจีนก็ยังปรากฏให้เห็นเหมือนในสมัยถังและซ่ง
คือใช้ภาษาแบบแผนควบคู่กับภาษาพูดในการเขียนดังเดิม หนังสือที่ใช้ภาษาแบบแผนเรียบเรียง เช่น
พงศาวดารหมิง พงศาวดารชงิ แต่กย็ งั มหี นงั สอื ท่ใี ชภ้ าษาปากเรยี บเรยี ง เชน่ ซอ้ งกง๋ั ไซอิว๋ เปน็ ต้น
เนื่องจากภาษาจีนโบราณนั้นมีการเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลาและบางพื้นที่ก็มีการเปลี่ยนแปลงที่แตกต่าง
กันไป ดังน้ันในพื้นท่ีที่แตกต่างกันและช่วงเวลาแตกต่างกันจึงมีชุดคาศัพท์และไวยากรณ์สาหรับการเขียนที่
แตกตา่ งกันไป
ตวั อักษรจนี เปน็ ระบบตัวอักษรท่ีเก่าแก่และมีคนใช้มากทสี่ ุดในโลกอกั ษรจีนมีประวัติความเป็นมาไมต่ ่ากว่า
3,000 ปี นับจากตัวอักษรเจี่ยกู่หรือตัวอักษรซึ่งสลักบนกระดองเต่าในสมัยราชวงศ์ซาง ตัวอักษรเจี่ยกู่เป็น
อกั ษรภาพเลียน(เซี่ยงสิงจื้อ) ภาษาจีนมภี าษาถน่ิ มากมาย อาจแบง่ ออกไดเ้ ป็นกลุม่ ใหญ่ ๗ หรือ ๑๐ กลมุ่
หากแบง่ ออกเปน็ ๗ กลุ่มจะประกอบด้วย
- จีนกลาง (官话guān huà) ได้แก่ จีนกลางมาตรฐาน และจีนกลางท้องถ่ินตงเป่ย์ หนานจิง เสฉวน ยูน-
นาน ฯลฯ กระจายอยู่ท่วั ประเทศ
- อู๋ (吴语wú yǔ) ไดแ้ ก่ ภาษาเซ่ียงไฮ้ และภาษาในเมืองรอบๆเซย่ี งไฮ้ เชน่ หางโจว หนงิ ปวั ซโู จว เวนิ โจว
- กวางตุง้ (粤语yuè yǔ) ใช้ในมณฑลกวางตุ้งฝงั่ ตะวันตกและกว่างซฝี ง่ั ตะวนั ออก
- หมิ่น (闽语mǐn yǔ) สาเนียงฮกเก้ียน แต้จิ๋ว ไหหลา ล้วนอยู่ในกลุ่มน้ี ใช้ในมณฑลฝูเจ้ียน ไหหลา และ
ส่วนตะวันออกของมณฑลกวางตุง้
97
- เซียง (湘语xiāng yǔ) ใชใ้ นมณฑลหูหนาน
- ฮากกา (客家语kè jiā yǔ) หรือ จีนแคะ ใช้ในพน้ื ทีส่ ว่ นหนงึ่ ของมณฑลกวางต้งุ , เจยี งซี, ฝูเจย้ี น
- กา้ น (赣语gàn yǔ) หรอื กังไส ใชใ้ นมณฑลเจียงซี
หากแบ่งเป็น ๑๐ กลมุ่ จะเพมิ่ มาอีก ๓ กลมุ่
- จนิ้ (晋语 jìn yǔ) แยกออกมาจากจนี กลาง ใชใ้ นมณฑลซานซี
- ฮยุ (徽语huī yǔ) แยกออกมาจากอู๋ ใชใ้ นเมอื งหวงซาน มณฑลอานฮุย
- ผงิ (平语píng yǔ) แยกออกมาจากกวางตุ้ง ใชใ้ นพื้นทเ่ี ลก็ ๆในกว่างซี
ทั้ง ๓ กลุ่มท่ีเพิ่มเข้ามานี้เน่ืองจากมีความแตกต่างเป็นเอกลักษณ์มากพอที่จะแยกกลุ่มออกมา แต่ก็ยังมี
ลักษณะรว่ มกนั มากพอท่จี ะรวม จึงมสี ถานะทคี่ ลุมเครือ
ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก
ภาษาจนี
99
ไซอิ๋ว
ที่มา: https://th.m.wikipedia.org/wiki/พระถังซัมจง๋ั
https://www.investerest.co/books-narrations/journey-to-the-west/
ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก
วรรณกรรมจีน เรอ่ื ง ไซอิว๋
เป็นวรรณกรรมท่ีแต่งขึ้นในปีคริสต์ศักราช 1590 ช่วงราชวงศ์หมิง ประพันธ์โดยอู๋เฉิงเอิน เป็น
วรรณกรรมที่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนา เหี้ยนจึงหรือสาเนียงกลางว่า เสวียนจ้ัง(จีน: 玄奘; พินอิน:
Xuánzàng; ประมาณ ค.ศ. 602 – 5 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 664 เป็นพระภิกษุที่บาเพ็ญศีล สมาธิ ปัญญา มาแต่
เยาว์ เม่ือเติบใหญ่ข้ึนจึงได้ออก เดินทาง โดยได้เขียนเป็นบันทึกการเดินทางไว้ด้วย ซ่ึงเขียนขึ้นในปี พ.ศ.
1183 (ค.ศ. 646) มชี ือ่ วา่ "ต้าถงั
ซโี หยวจี"้ (大唐西游记) แปลวา่ "จดหมายเหตกุ ารเดินทางสู่ดนิ แดนตะวนั ตกของมหาราชวงศ์ถงั "
โดยในน้ันเล่าถึงการเดินทางที่ไปพบปะกับภูมิประเทศที่แตกต่างออกไป สภาพผู้คน วัฒนธรรมีท่
หลากหลาย น่าสนใจ รวมไปถึงการทหารและการเมืองการปกครอง โดยการเดินทางไปศึกษาพุทธศาสนา
และศาสตร์ ความรู้ต่างๆที่ทวีปอินเดีย เม่ือเดินทางกลับมาประเทศจีน ได้นาพระสูตรีท้งมหายานและเถร
วาทกลับมา ด้วยกวา่ 600 ม้วน เพือ่ กลบั มาแปลเปน็ ภาษาจีน
เอกสารอา้ งองิ
พระถังซัมจั๋ง(ม.ป.ป.).[ออนไลน์].ได้จาก: https://th.m.wikipedia.org/wiki/พระถังซัมจั๋ง[สืบค้น
เมอ่ื วันที่ 18 สิงหาคม 2564]
ความหมายท่ีแท้จริงของไซอิ๋ว.(2562).[ออนไลน์].ได้จาก: https://www.investerest.co/books-
narrations/journey-to-the-west/ [สบื คน้ เมอื่ วนั ที่ 17 สงิ หาคม 2564]
เลขท่ี 28 นางสาวชัญนภัค คาสิงห์
101
สามกก๊
ที่มา: https://sites.google.com/site/earthtuysite/thima-khxng-reuxng-3kk
ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก
วรรณกรรมจีน เรอ่ื ง สามกก๊
สามก๊กเป็นวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์ ท่ีเร่ืองราวและเหตุการณ์ต่าง ๆ เกิดขึ้นจริงในประวัติศาสตร์
ของจีน ซ่ึงเน้ือหาโดยรวมเป็นการเล่าแบบบรรยายเก่ียวกับเหตุการณ์ในปลายสมัยราชวงศ์ฮ่ัน ซึ่งจีนใน
ขณะนัน้ บา้ นเมืองเกิดเหตกุ ารณ์วุน่ วายระส่าระสาย เกดิ การแตกแผ่นดินออกเป็นก๊กตา่ ง ๆ รวมสามกก๊ ดว้ ยกัน
รวมทัง้ มีการทาสงครามอันยาวนานนับ 100 ปี และสุดทา้ ยจนี ที่แตกออกเป็นก๊กเปน็ เหลา่ ก็กลับมารวมเป็นจีน
แผ่นดินใหญ่อีกคร้ังในสมัยราชวงศ์จ้ินข้ึนปกครองประเทศจีนต่อ ภายหลังได้มีการชาระประวัติศาสตร์และ
เร่อื งราวตา่ ง ๆ ในอดตี ในยคุ นัน้ โดยนกั ปราชญช์ าวจีนชอ่ื ตันซ่ิว
จดหมายเหตสุ ามกก๊
บันทึกเหตุการณ์และเรื่องราวต่าง ๆ ในยุคสามก๊กฉบับแรก ที่มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรคือ จดหมาย
เหตุสามก๊ก หรือสามก๊กจี่ หรือซันกั๋วจือ (จีน: 三國志) ซ่ึงเป็นผลงานการเขียนในลักษณะพงศาวดารโดย
ตันซ่ิวหรือเฉินโซ่ว บัณฑิตแห่งราชวงศ์จิ้น อดีตข้าราชการอาลักษณ์คนหน่ึงของจ๊กก๊กที่ถูกกวาดต้อนมายังวุ
ยก๊กหลังจากพ่ายแพ้ศึกสงคราม โดยเขียนขึ้นตามบัญชาของพระเจ้าจิ้นหวู่ตี้เพื่อเป็นบันทึกประวัติศาสตร์
ต่อมาในช่วงใดชว่ งหนึ่งระหว่างปี พ.ศ. 1873 - พ.ศ. 1943 หลัว กวน้ั จงในขณะท่เี ขากาลงั ทางานเป็นกุนซือให้
กก๊ ตอ่ ตา้ นราชวงค์หยวนกลุ่มหน่ึง(ต่อมาถูกจหู ยวนจางโจมต)ี เขาไดน้ าซนั กวั๋ จือมาแตง่ ใหม่ในรูปแบบนิยายกึ่ง
ประวัติศาสตร์ โดยเน้ือเรื่องทั้งหมดนามาจากซันกั๋วจือบ้างและแต่งเพ่ิมเติมเองบ้าง ซึ่งเมื่อเทียบกับซันกั๋วจือ
นั้น
ในประวัติศาสตร์จีน มีจุดเร่ิมต้นในยุคสมัยปลายราชวงศ์ฮ่ันตะวันออกซึ่งปกครองโดยพระเจ้าเหี้ยนเต้
ภายหลงั ถกู ตั๋งโตะ๊ เขา้ ยดึ ครองอานาจทัง้ หมดไวเ้ ปน็ ของตน สถาปนาตนเองเปน็ บิดาบุญธรรมของพระเจ้าเหี้ยน
103
เต้ ภายหลังต๋ังโต๊ะถูกลอบสังหาร ราชสานักและราชวงศ์เกิดความวุ่นวาย โจโฉฉวยโอกาสในสถานการณ์ท่ีเกิด
ความขัดแย้งและป่ันป่วนเข้ายึดครองอานาจและบังคับควบคุมให้พระเจ้าเห้ียนเต้อยู่ภายใต้การปกครอง
แต่งต้ังตนเองเป็นมหาอุปราช มีอานาจเด็ดขาดแก่เหล่าขุนศึก กองกาลังทหารและไพรพ่ ล ครอบครองดินแดน
ทางเหนือส่วนหน่ึงไว้เป็นของตน อ้วนเส้ียวเป็นผู้มีอานาจและกองกาลังทหารและไพร่พลเป็นจานวนมาก
ครอบครองพ้ืนท่ีบริเวณตอนกลางและตอนปลายของลุ่มแม่น้าฮวงโห กองทัพอ้วนเสี้ยวจัดเป็นกองกาลังทหาร
ที่มีอานาจสูงสุดทางภาคเหนือเชน่ เดียวกับกองทัพของโจโฉ ภายหลังโจโฉสามารถนากาลังทหารเข้าโจมตีและ
เอาชนะอ้วนเส้ียวได้สาเร็จ จึงรวบรวมดินแดนทางเหนือท้ังหมดไว้เป็นของตน สาหรับดินแดนภาคใต้บริเวณ
ตอนกลางลุ่มแม่น้าแยงซีเกียงเป็นเขตดินแดนปกครองของเล่าเปียวซึ่งปกครองดินแดนด้วยความสงบและ
มนั่ คง และตอนปลายแมน่ ้าแยงซีเกียงเปน็ เขตแดนปกครองของซนุ กวนศกึ สงคราม
ในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก มีความยาวนานมากกว่าร้อยปี ในระหว่างช่วงเวลาน้ีเกิดศึกสงครามใหญ่เพื่อ
แย่งชิงอานาจและความเป็นใหญ่นับร้อยครั้ง และศึกเล็กศึกน้อยอีกนับคร้ังไม่ถ้วน เช่น ศึกโจรโพกผ้าเหลือง
ศึกกัวต๋อ ศึกทุ่งพกบ๋อง ฯลฯ สาหรับศึกสงครามในสามก๊กที่ถือเป็นศึกใหญ่ที่ต้องจารึกในประวัติศาสตร์ได้แก่
ศึกผาแดงหรือศึกเซ็กเพ็ก ในปี พ.ศ. 751 ซ่ึงเป็นศึกสงครามระหว่างโจโฉ เล่าปี่และซุนกวนโดยมีจุดเกิดของ
สงครามจากโจโฉ ที่ส่งกองกาลังทหารของตนลงใตเ้ พื่อโจมตีดินแดนของเล่าเปยี ว โดยใช้กองกาลังทหารเรือจิง
โจวบุกประชดิ เมืองซินเอี๋ยทั้งทางบกและทางน้า ระหว่างท่ีโจโฉนากองกาลังทหารเพื่อทาศึกสงคราม เล่าเปยี ว
เกิดป่วยและเสียชีวิต เล่าจ๋องยอมจานนและยกเมืองเกงจิ๋วแก่โจโฉ เล่าป่ีซ่ึงอาศัยอยู่กับเล่าเปียวไม่ยอมจานน
ต่อโจโฉ จึงแตกทัพจากเมืองซินเอี๋ยไปยังเมืองอ้วนเซีย ระหว่างทางอพยพเกิดศึกสะพานเตียงปันเก้ียวซึ่งเป็น
ศึกใหญ่อีกศึกในประวัติศาสตร์ยุคสามก๊ก ขงเบ้งรับอาสาเป็นฑูตไปเจรจาขอเป็นพันธมิตรกับซุนกวนเพื่อ
ร่วมกันต้านทัพของโจโฉ โดยเกลี้ยกลอ่ มซุนกวนและจวิ ย่ีจนยอมเปดิ ศกึ สงครามกบั โจโฉ
วิวฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก
หลังจากท่ีโจโฉตาย โจผีบุตรชายข้ึนครองราชสมบัติแทน ส่ังปลดพระเจ้าเหี้ยนเต้และสถาปนาตนเองเป็น
จักรพรรดิ ทรงพระนามว่าพระเจ้าเหวินต้ี ก่อตั้งราชวงศ์ใหม่คือราชวงศ์วุย เล่าปี่ซ่ึงเป็นเชื้อสายราชวงศ์ฮ่ันก็
สถาปนาตนเองเป็นจักรพรรดิสืบทอดราชวงศ์ฮั่น โดยใช้เมืองเสฉวนเป็นเมืองหลวง ซุนกวนซึ่งไม่ยอมข้ึนกับ
พระเจ้าโจผีหรือเล่าป่ีจึงตั้งตนเองเป็นจักรพรรดิ ปกครองเมืองกังต๋ัง ทาให้ประเทศจีนในขณะน้ันแตกแยก
ออกเป็นสามอาณาจักรหรือที่เรียกขานกันว่าสามก๊กได้แก่ฝ่ายจ๊กก๊กของเล่าปี่ วุยก๊กของโจผีและง่อก๊กของซุน
กวน ภายหลงั จากพระเจา้ โจผี พระเจา้ เลา่ ป่ีและพระเจา้ ซุนกวนสวรรคต เชือ้ สายราชวงศเ์ ริ่มอ่อนแอ สมุ าเจียว
ซ่ึงดารงตาแหนง่ เปน็ มหาอุปราชของวุยก๊ก สามารถเอาชนะจ๊กก๊กและควบคุมตวั พระเจ้าเล่าเส้ียนมาเป็นเชลย
ไดส้ าเร็จ หลังจากสุมาเจียวตาย สุมาเอีย๋ นบตุ รชายสืบทอดตาแหน่งแทนและช่วงชงิ ราชสมบัตขิ องวยุ ก๊กมาจาก
พระเจ้าโจฮวนและแต่งต้ังตนเองเป็นจักรพรรดิ ก่อต้ังราชวงศ์ใหม่คือราชวงศ์จิ้น พระเจ้าสุมาเอี๋ยนสามารถ
ปราบพระเจ้าซุนโฮแห่งง่อก๊กให้ยินยอมสวามิภักดิ์ได้สาเร็จ แผ่นดินจีนที่เคยแตกแยกออกเป็นก๊กเป็นเหล่ามา
ยาวนาน กลบั รวมกนั เป็นอาณาจักรเดยี วไดด้ ้งั เดิม
เอกสารอา้ งอิง
กระโดดขึ้นไป: 1.0 1.1 ยศไกร ส.ตันสกุล. จดหมายเหตุสามก๊ก ฉบับเฉินโซ่ว, กรุงเทพฯ: ปราชญ์,
2556
จดหมายเหตุสามก๊ก, อินไซด์สามก๊ก, ณรงค์ชัย ปัญญานนทชัย, สานักพิมพ์ดอกหญ้า, พ.ศ. 2550,
หน้า 11
เลขที่ 29 นางสาวญาสมุ ินทร์ สุขาฤดี
105
เปาบุ้นจิน้
ท่ีมา:https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%B2%
E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%88%E0%B8%B
4%E0%B9%89%E0%B8%99
วิวัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก
วรรณกรรมจนี เรอื่ ง เปาบนุ้ จ้ิน
เปาบนุ้ จ้ินมีชื่อว่า เปา เจิ่ง ในภาษาจีนมาตรฐาน หรือ เปาจน้ิ ในภาษาจีนฮกเกยี้ น เรอ่ื งราวของเปา เจ่งิ นั้น
ได้รับการเล่าสืบต่อกันมาโดยไม่ได้เป็นลายลักษณ์อักษร ต่อมาจึงได้รับการดัดแปลงเป็นงิ้ว กระท่ังมีผู้นามา
ประพันธ์เป็นลายลักษณ์อักษรเป็นครั้งแรกในราชวงศ์หยวน ครั้งแรกปรากฏเป็นบทงิ้วซ่ึงประพันธ์ด้วยโคลงชู
และได้รับความนิยมอย่างรวดเร็ว กระท่ังบทง้ิวอีกหลายเรื่องใช้เปา เจ่ิง เป็นตัวละครหลัก เรื่องราวโดยย่อคือ
เปา เจิ่งเป็นข้าราชการชาวจีนในรัชสมัยจักรพรรดิเหรินจงแห่งราชวงศ์ซ่งของจักรวรรดิจีน ตลอดเวลา 25 ปีท่ี
รับราชการ เปา เจ่ิง แสดงออกว่ามีความซ่ือสัตย์สจุ รติ และมีใจเป็นกลาง ในระหว่าง ค.ศ. 1057 ถึง 1058 เขา
ได้เป็นผู้ว่าการนครไคเฟิง เมืองหลวงของราชวงศ์ซ่ง และได้ริเริ่มการเปลี่ยนแปลงหลายอย่างในระบบราชการ
เพอ่ื อานวยความสะดวกใหแ้ กป่ ระชาชนผเู้ ดือดร้อน ทาให้เขาไดร้ ับการยกย่องจนกลายเป็นตานาน ในชว่ งชวี ิต
ราชการของเขา เขายงั ได้รับฉายาวา่ เปาชิงเทยี น (包青天; "เปาผ้ทู าใหฟ้ ้ากระจ่าง") เพราะไดช้ ่วยเหลอื คน
ธรรมดาให้รอดพ้นจากการฉ้อราษฎร์บังหลวง ปัจจุบัน เปา เจ่ิง ได้รับการสดุดีในจีนแผ่นดินใหญ่ให้เป็น
สัญลักษณท์ างวฒั นธรรมของความยุตธิ รรม เรอื่ งราวชวี ิตของเขาไดร้ บั การดดั แปลงเป็นวรรณกรรมแนวสบื สวน
สอบสวนและกาลงั ภายในมาแตโ่ บราณ
เอกสารอ้างอิง
สนิท กัลยาณมิตร.(2528).เปาบุ้นจิ้น เทพเจ้าแห่งความยุติธรรม ฉบับสมบูรณ์.สืบค้น 20 สิงหาคม
2564, จาก https://www.su-usedbook.com/produc
เลขที่ 34 นางสาวณัฐวรา ฮวบเพชร
107
มหู่ ลาน
ทีม่ า : https://www.sarakadeelite.com/faces/mulan-history/
ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก
วรรณกรรมจนี เรอื่ ง มู่หลาน
ก่อนท่ีจะจะมาเป็นการ์ตูนดิสนีย์ ต้นเร่ืองของ มู่หลาน มาจากเด็กสาวชาวจีนท่ีกลายเป็นตานานวีรสตรี
ซึ่งมีการกล่าวถึงในบทกวี ภาพเขียน ตั้งแต่ศตวรรษท่ี 12 จนมาถึงยุคท่ีจีนใช้ภาพยนตร์เป็นสื่อชูอุดมการณ์
ชาตินิยมในช่วงต้นศตวรรษที่ 21 มู่หลานก็ยังคงถูกพูดถึง ก่อนจะกลายมาเป็นผลผลิตของฮอลลีวูด และจีน-
ฮอลลวี ดู ในยุคมลิ เลนเนยี ม
ในเว็บไซต์ของดีสนีย์ได้กล่าวว่าแรงบันดาลใจของการสร้างมู่หลานมาจาก บทกวีส้ัน The Ballad of
Mulan เล่าขานวีรกรรมของมู่หลานในช่วงศตวรรษท่ี 6 ตรงกับช่วงท่ีจีนอยู่ภายใต้การปกครองของราชวงศ์
เว่ยเหนือ (Northern Wei dynasty) แต่บทกวนี ้มี ีเผยแพร่คร้ังแรกในช่วงศตวรรษท่ี 12 เนอ้ื หาพดู ถงึ บทบาท
ของมู่หลาน ลูกคนเดียวของนายทหาร ท่ีเกิดมาเป็นหญิง เม่ือพ่อของเธอถูกเรียกไปร่วมรบในสงคราม มู่หลาน
จึงอาสาไปรบแทน และหลังจากลงสนามรบ 12 ปี โดยไม่มีใครรู้ว่าแท้จริงเธอเป็นหญิง เป็นต้นทางของ
สาระสาคัญท่ีถูกดึงมาผสมกับเร่ืองแต่งต่อเติมเพ่ิมมา จนกระทั่งกลายเป็นพล็อตเร่ืองท้ังฉบับอนิเมชันปี ค.ศ.
1998 และภาพยนตรค์ นแสดงจริงปี ค.ศ. 2020
เอกสารอ้างองิ
มู่หลาน ย้อนตานานวีรสตรีผู้ถูกนามาเป็นสัญลักษณ์ของการ รักชาติ.(ม.ป.ป).[ออนไลน์].ได้จาก:
https://www.sarakadeelite.com/faces/mulan-history/
เลขท่ี 32 นางสาวณัฐชา วัฒนภญิ โญ
109
ตานานนางพญางูขาว Legend of the White Snake
ท่มี า: https://th.m.wikipedia.org/wiki/ตานานนางพญางขู าว
วิวฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก
วรรณกรรมจีน เรอื่ ง ตานานนางพญางขู าว
ตานานนางพญางูขาว เป็นนิทานพ้ืนบ้านของชาวเมืองหังโจว ได้นิยมนามาเล่นแสดงในอุปรากรจีน
หรืองิ้ว อีกทั้งยังนิยมมาดัดแปลงเป็นภาพยนตร์และซีรีส์ทางโทรทัศน์ของจีนหลายครั้ง หลักฐานของการ
นาเสนอตานานนางพญางูขาวคร้ังแรกได้ถูกพบปรากฏหลักฐานการสมมติเรื่องในรูปแบบพิมพ์ที่ เจดีย์เหลย
เฟิง มีภาพไม้แกะสลักเล่าเรื่องราวบางฉากของตานานซึ่งแต่งโดยเฝิง เม่ิงหลงและได้ปรากฏคร้ังแรกใน
วรรณกรรม จองจางูขาวชั่วนิรันดร์ในเจดีย์เหลยเฟิง (白娘子永鎮雷峰塔) ในบันทึกจิ่งซ่ือทงเห
ยียน (警世通言) ของเฝงิ เมิง่ หลง (馮夢龍) โดยบนั ทกึ ดังกล่าวคน้ พบในระหวา่ งยคุ ราชวงศห์ มงิ
เน้ือเรื่องกล่าวถึงบัณฑิตหนุ่มชื่อสวีเซียน ท่ีตกหลุมรักสตรีผู้เลอโฉมนางหน่ึง แต่แท้จริงแล้วสตรีนางนี้คือ
ปศี าจงขู าวท่ีจาแลงกายมา ชอ่ื ไปซ๋ เู่ จนิ ทง้ั สองไดต้ กหลุมรกั กนั แต่ถกู ขัดขวา้ งโดยพระเถระฝาไห่(ธรรมสาคร)
เนื่องจากความรกั ระหวา่ งคนกับปีศาจไม่อาจอยู่รว่ มกันได้ เพราะผิดกฎสวรรค์จงึ ถูกพระเถระฝาไห่จองจาท่ี
เจดีห์เหลยเฟิง ก่อนถูกจองจาไป๋ซู่เจินได้ให้กาเนิดบุตร จากน้ันเมื่อบุตรชายของไป๋ซู่เจินเติบโตข้ึน เขาได้
สอบได้เป็นจอหงวน เพราะคาแนะนาของพระเถระฝาไห่และกลับมาอ้อนวอนสวรรค์ถึง3วัน3คืนให้ลดโทษ
แกม่ ารดาจนสรรคเ์ หน็ ใจยอมลดโทษให้ และเหน็ ถึงความกตญั ญจู งึ ปล่อยไป๋ซู่เจนิ ออกมา ทาให้ไป๋ซ่เู จินหมด
กรรมกลายมาเปน็ มนุษย์ได้ จึงทาให้ทั้งสามอย่ดู ว้ ยกันอยา่ งมคี วามสุข
เอกสารอา้ งองิ
นางพญางูขาว.(2557).ออนไลน์.ได้จาก:http://www.planet789.com/2014/12/legend-of-
white-snake.html?m=1[สืบคน้ วันที่ 17 สงิ หาคม 2564]
เลขที่ 26 นางสาวชลธชิ า คาหรม่ิ
111
ความฝันในหอแดง
ที่มา: https://mgronline.com/china/detail/9580000069629
ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก
วรรณกรรมจนี เรื่อง ความฝันในหอแดง
ความฝนั ในหอแดง (红楼梦) ประพนั ธโ์ ดย เฉาเสวี่ยฉิน (曹雪芹) เม่ือปี ค.ศ.1744 - 1755 ระหวา่ ง
รชั สมยั "ฮอ่ งเต้เฉียนหลง" แห่งราชวงศ์ชิง ประพันธ์ได้ 80 ตอนก็เสยี ชีวติ แต่นิยายเรื่องนีเ้ ปน็ ท่ีนิยม จึงมนี ัก
ประพนั ธห์ ลายท่าน มาแตง่ ต่อแต่ฉบับของ "เกาเอ้อ(高鹗)" 40 ตอน ไดร้ บั ความนยิ มนิยม จึงได้ถกู รวมเขา้
กับฉบับของเฉาเสวย่ี ฉนิ จนกลายเป็น 120 ตอน ความฝันหอแดงเปน็ วรรณกรรมจนี คลาสสกิ ที่กลา่ วถึง
เรือ่ งราวชวี ติ ผหู้ ญงิ จนี ทส่ี ะท้อนผา่ นตัวละครผูห้ ญิง12คน โดยมีนสิ ยั แตกตา่ งกันออกไป ว่าดว้ ยความรักของ
หนุม่ สาวในระบบสังคมศักดนิ าทีภ่ ายนอกดูดี หรหู ราแต่ข้างในกลับเต็มไปด้วยการแก่งแย่ง การผิดศีลธรรม
สะท้อนชะตากรรมที่ผู้หญิงอยู่ภายใตว้ ฒั นธรรมขงจ้ือทผี่ ู้ชายเปน็ ใหญ่ ไปจนถึงชีวติ รักของตวั เอกในเรื่องก็ไมไ่ ด้
มคี วามสุขอะไรเลยแมจ้ ะอยู่ในจวนหลงั ใหญ่กต็ าม จนนาไปสโู้ ศกนาฏกรรมของความรกั ครอบครวั และ
เกยี รตยิ ศ การทุจรติ หน้าทใี่ นระบบราชการ การมวั เมาตัณหา การกดขี่ข่มเหงผู้ทอี่ ่อนดอ้ ยกว่า เรอ่ื งนี้ถือเปน็
หนงั สอื ตอ้ งห้ามในยุคนัน้ ดงั นั้นเฉาเสวีย่ ฉิน จงึ ไมแ่ ต่งแบบแสดงออกมาตรง ๆ
เอกสารอา้ งองิ
ภเู ทพ ประภากร.(2564). ความฝันในหอแดง.วารสารวิจัยราชภัฏกรุงเกา่ , 8(1), 97-110.
ค ว า ม ฝั น ใ น ห อ แ ด ง . ( 2 5 6 4 ) . [ อ อ น ไ ล น์ ] . ไ ด้ จ า ก : https://www.1 0 8 novel.com/all-
articles/articles/book-world/dream-of-the-red-chamber-novel.html[สื บ ค้ น เ มื่ อ 1 7
สิงหาคม 2564]
เลขท่ี 25 นางสาวชลดา เสนานุวงศ์
113
ภาษาเกาหลี
ภาษาเกาหลี (한국어 หรือ 조선말, ดูในส่วนช่ือ) เป็นภาษาที่ส่วนใหญ่พูดใน ประเทศเกาหลีใต้
และ ประเทศเกาหลเี หนอื ซึง่ ใช้เป็นภาษาราชการ และมีคนชนเผา่ เกาหลที อี่ าศัยอยู่ในประเทศจีนพูดโดยท่ัวไป
(ในจงั หวดั ปกครองตนเองชนชาติเกาหลีเหยียนเปียน มณฑลจหี๋ ลนิ ซ่งึ มีพรมแดนติดกับเกาหลีเหนือ) ทว่ั โลกมี
คนพูดภาษาเกาหลี 78 ล้านคน รวมถึงกลุ่มคนในอดีตสหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา แคนาดา บราซิล ญ่ีปุ่น
และเมื่อเรว็ ๆ นกี้ ม็ ผี ู้พูดใน ฟิลิปปินส์ ด้วย การจัดตระกูลของภาษาเกาหลีไม่เปน็ ทย่ี อมรับกันโดยทวั่ ไป แต่คน
ส่วนมากมักจะถือเป็นภาษาเอกเทศ นกั ภาษาศาสตร์บางคนได้จดั กลุ่มให้อยู่ใน ตระกลู ภาษาอลั ไตอิกดว้ ย ทง้ั น้ี
เนื่องจากภาษาเกาหลีมีวจีวิภาคแบบภาษาคาติดต่อ ส่วนวากยสัมพันธ์หรือโครงสร้างประโยคนั้น เป็นแบบ
ประธาน-กรรม-กริยา (SOV) ภาษาเกาหลีไซนิจิ เป็นภาษาเกาหลีท่ีใช้โดยชาวเกาหลีไซนิจิ คือชาวเกาหลีท่ีตั้ง
ถ่ินฐานอยู่ในประเทศญี่ปุ่น เน่ืองจากชาวเกาหลีที่เข้ามาอาศัยอยู่ในญ่ีปุ่นรุ่นแรก ๆ มาจากทางตอนใต้ของ
คาบสมุทร อาทิจากการที่แยกออกมาจากแผ่นดินแม่ ภาษาเกาหลีไซนิจิจึงรับอิทธิพลจากภาษาญ่ีปุ่นเข้ามา
ค่อนข้างมากจนกลายเป็นเอกลักษณ์ทางภาษาท่ีต่างออกไปจากภาษาเกาหลีที่ใช้ในประเทศเกาหลีเหนือและ
เกาหลใี ต้ ภาษาโครยอ-มาร์ (ฮนั กึล: 고려말; ฮันจา: 高麗말; รัสเซยี : Корё маль; ภาษาเกาหลี
มาตรฐาน: 중앙아시아 한국어, ความหมาย ภาษาเกาหลีเอเชียกลาง) เปน็ ภาษาถ่ินหนง่ึ ของภาษา
เกาหลีที่ใช้พูดโดยโครยอ-ซารัม กลุ่มชาติพันธ์ุเกาหลีท่ีอาศัยอยู่ในพ้ืนที่อดีตสหภาพโซเวียต ซ่ึงชาวเกาหลีกลมุ่
น้ีมีบรรพบุรุษอาศัยในเขตฮัมกย็อง ซึ่งปัจจุบันอยู่ในประเทศเกาหลเี หนือ ภาษานี้เข้าใจได้ยากเม่ือใช้พูดคุยกบั
ภาษาเกาหลีมาตรฐาน าษาเกาหลีถ่ินจีน (จีน:中國朝鮮) เป็นกลุ่มชาวจีนเช้ือสายเกาหลีท่ีอาศัยอยู่ทาง
ตอนเหนอื ของคาบสมุทรเกาหลีท่ีมเี ขตแดนตอ่ กับเกาหลีเหนือ ใช้สาเนยี งใกลเ้ คียงกับเกาหลเี หนอื
ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก
ภาษาเกาหลี
115
แดจงั กึม
ทม่ี า: https://th.wikipedia.org/wiki/แดจังกมึ _จอมนางแห่งวังหลวง
ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก
วรรณกรรมเกาหลี เรือ่ ง แดจงั กึม
เน้นถึงชีวิตของซอ จังกึม หมอหลวงคนแรกที่เป็นสตรีในราชวงศ์โชซ็อน ในรัชสมัยของพระเจ้าจุงจง แห่ง
เกาหลี (ค.ศ. 1488– 1544, ครองราชย์ ค.ศ. 1506 – 1544) แก่นเรื่องหลักก็คือ ความอดทน และการ
แสดงออกวัฒนธรรมเกาหลี รวมทั้งตารับอาหารและการแพทย์ในราชสานักเกาหลี แดจังกึมในละครนั้นยัง
ได้รบั ยกยอ่ งใหเ้ ป็นผู้ทีค่ ดิ คน้ วธิ กี ารผ่าตดั คนแรกของโลกอกี ด้วย แต่ในความเป็นจรงิ สมยั น้ันยงั ไมเ่ ปน็ ที่ยอมรับ
ของการแพทย์และเป็นเรื่องที่ร้ายแรงมากแดจังกึมเป็นบุคคลจริงในประวัติศาสตร์ ซ่ึงมีการบันทึกเอาไว้ใน
จดหมายเหตขุ องราชวงศ์ และเอกสารทางการแพทยใ์ นสมัยนั้น แตม่ ีเนอื้ หาและหลกั ฐานอ้างองิ เพยี งสั้นๆ ตาม
หลักฐานทางประวัติศาสตร์พระราชพงศาวดารของเกาหลี น้ันมีการกล่าวอ้างถึง แพทย์หญิง แดจังกึม จริงแต่
บันทึกเพียง 250 ตัวอักษรเท่าน้ัน เพราะไม่เป็นที่ยอมรับของเหล่าขุนนางและกฎมณเฑียลบาล ของเกาหลีท่ี
ผู้หญิงมีบทบาทเป็นถึงแพทย์ประจาพระองค์ของพระราชา เท่านั้น มีหลักฐานยืนยันว่าแดจังกึมเป็นหมอ
ประจาพระองค์คนแรกที่เป็นผู้หญิงของกษัตริย์เกาหลี แต่ก็ยังมีหลักฐานบางชิ้นระบุว่า แดจังกึมเป็นเพียงตัว
ละครทีส่ รา้ งขึ้นจากบคุ ลิกของหมอหญิง
เอกสารอา้ งอิง
แดจังกึม จอมนางวังหลวง.(ม.ป.ป.).[ออนไลน์].ได้จาก:https://th.wikipedia.org/wiki/แดจังกึม_
จอมนางแห่งวังหลวง [สบื ค้นเมอื่ 17 สงิ หาคม พ.ศ.2564]
เลขท่ี 27 นางสาวชลธิชา ชลานเุ คราะห์
117
Hong Gildong Jeon
ทม่ี า:https://www.asiancastles.com/2014/12/hong-gil-dong.html
https://hmong.in.th/wiki/Hong_Gildong_(character)
วิวัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก
วรรณกรรมเกาหลี เรือ่ ง Hong Gildong Jeon
ฮงกิลดงจอน ประพันธ์โดย ฮอ-คยูน (허균-Heo Gyun) ที่รับตาแหน่งรัฐมนตรฝี ่ายพลเรือนในชว่ งรชั
สมัยที่องค์ชายควังแฮกุน นวนิยายภาษาเกาหลีเรื่องแรก และในปัจจุบันยังถือว่าเป็นนวนิยายที่มีอายุเก่าแก่
ที่สุดของนวนยิ ายฮันกึลเขยี นด้วยอกั ษรเกาหลี เปน็ นวนยิ ายเกาหลมี ักจะแปลว่าชีวประวัติของ Hong Gildong
เป็นเรื่องราวเก่ียวกับ ฮง กิลดง เป็นบุตรชายของ เสนาบดีฮง กับ ชุมซอม หญิงรับใช้ภายในบ้าน แม่ของ กิ
ลดง เสียชีวิตภายหลงั ใหก้ าเนิดเขาไดไ้ ม่นาน โดยที่เสนาบดฮี งเลีย้ งดูเขาเหมือนกบั คนรบั ใช้คนหนงึ่ คนในบ้าน
จึงดูถูกเหยียดหยามกิลดงตลอดเวลา แต่ด้วยสติปัญญาเฉลียวฉลาดของกิลดงทาให้จดจาตาราของขงจ๊ือและ
เมิงจ่อื ไดโ้ ดยท่ีไม่มีใครสอนตั้งแต่ในวัยเด็ก จนเริม่ ฝกึ ฝนวิชาเรยี กลมเรยี กฝนและหายตวั ทาให้คนในตระกูลฮง
รู้สึกหวาดระแวงว่ากิลดงอาจจะนาหายนะมาสตู่ ระกูลได้ จึงจ้างมือสังหารมากาจัดกิลดง เขาต้องหลบหนีออก
จากบา้ น เรร่ ่อนไปเร่อื ยๆ แต่ดว้ ยความเป็นคนรักดี กลิ ดงไปขอฝึกวทิ ยา-ยุทธ์กับเจ้าอาวาสวดั จนกระทั่งกิลดง
ได้ช่วยหญิงสาว หญิงคนนี้ได้รู้ว่ากิลดงต้องการเดินทางไปประเทศจีนจึงให้กิลดงช่วยเธอเร่ขายยาแลกกับการ
สอนภาษาจีน แต่ชีวิตกิลดงได้แปรเปลี่ยนอีกคร้ังเมื่อเขาพบกับชายท่ีเป็นอดีตรัชทายาทท่ีมีแผนจะชิงบัลลังก์
คืน กลิ ดงไดเ้ ขา้ มาเกยี่ วพันกบั แผนของอดตี รัชทายาท จนได้เข้ารว่ มกล่มุ กบั พวกโจร
เอกสารอ้างอิง
ฮงกลิ ดงจอน.(ม.ป.ป.).[ออนไลน]์ .ได้จาก: https://hmong.in.th/wiki/Hong_Gildong_(character)[
สบื ค้นเมื่อ 17 สงิ หาคม พ.ศ.2564]
เลขที่ 30 นางสาวฐาปนีย์ ชยั ศักดานกุ ูล
119
ภาษาญ่ีปุ่น
ภาษาญ่ีปุ่น (คันจิ: 日本語 ฮิรางานะ: にほんご/にっぽんご โรมาจิ: nihongo,
nippongo ทับศัพท์: นิฮงโงะ, นิปปงโงะ) เป็นภาษาราชการของประเทศญี่ปุ่นโดยพฤตินัยปัจจุบันมีผู้ใช้เป็น
ภาษาแมท่ ่วั โลกประมาณ 126.3 ล้านคน อาศยั อยใู่ นประเทศญป่ี นุ่ ประมาณ 125 ลา้ นคน และมผี ู้ใช้เปน็ ภาษา
ที่สองประมาณ 120,000 คน นอกจากนี้ รัฐอาเงาร์ สาธารณรัฐปาเลา ยังได้กาหนดให้ภาษาญ่ีปุ่นเป็นหนึ่งใน
ภาษาราชการรว่ มกบั ภาษาปาเลาและภาษาอังกฤษ
ววิ ฒั นาการของภาษาญป่ี ุ่นสามารถแบง่ ออกเป็นยุคต่าง ๆ ไดด้ ังนี้
1 . ยุ ค ก่ อ น ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ( Prehistoric age; 先史時代せんしじだい) อ ยู่ ใ น ช่ ว ง ก่ อ น
คริสตศ์ ตวรรษท่ี 8 ตรงกบั ยุคโจมง ยคุ ยาโยอิ ยคุ โคฟุง และยุคอาซูกะ 2.ภาษาญ่ีป่นุ เก่า (Old Japanese; 上
代語じょうだいご) อยู่ในช่วงคริสต์ศตวรรษท่ี 8 ตรงกับยุคนาระ 3.ภาษาญี่ปุ่นกลางตอนต้น
(Early Middle Japanese; 中古語ちゅうこご) อยู่ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 9 ถึงคริสต์ศตวรรษท่ี
12 ตรงกับยุคเฮอัง 4.ภาษาญี่ปุ่นกลางตอนปลาย (Late Middle Japanese; 中世語ちゅうせい
ご) อย่ใู นช่วงคริสตศ์ ตวรรษที่ 13 ถึงคริสต์ศตวรรษท่ี 16 ปี ตรงกับยคุ คามากรู ะ ยคุ มโู รมาจิ และยุคอาซจู ิ-โม
โมยามะ 5.ภาษาญี่ปนุ่ ปัจจบุ ัน (Modern Japanese; 近世語きんせいご, 現代語げんだ
いご) เร่ิมต้งั แต่ครสิ ต์ศตวรรษท่ี 17 จนถึงปัจจุบนั โดยอาจแบ่งย่อยได้เปน็ 2 ช่วง ได้แก่ ภาษาญีป่ ุน่ ที่ใช้ใน
ยุคเอโดะ กบั ภาษาญปี่ นุ่ ท่ีใช้ต้งั แตย่ ุคเมจจิ นถงึ ปัจจุบนั
วิวฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก
ภาษาญ่ปี ่นุ
121
โดราเอมอน
ท่มี า: https://www.beartai.com/article/697659
วิวฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก
วรรณกรรมญ่ีปนุ่ เรอ่ื ง โดราเอมอน
กอ่ นจะเข้าสเู่ ร่ืองราวของโดราเอมอน เรามาทาความรจู้ ักผใู้ ห้กาเนดิ เจ้าแมวสีฟา้ กันก่อนว่า ฟูจโิ กะ ฟจู ิโอะ
(Fujiko Fujio) คือใครและมีผลงานอะไรท่ีเป็นตานานนอกจากการ์ตูนเร่ือง ‘Doraemon’ เร่ิมจากช่ือจริงของ
ฟูจิโกะ ฟูจิโอะ น้ันก็คือ ฮิโรชิ ฟูจิโมโตะ (Hiroshi Fujimoto) เกิดวันท่ี 1 ธันวาคมปี 1933 เสียชีวิตวันที่ 23
กันยายนปี 1996 อายุ 62 ปี ตั้งแตเ่ ดก็ ฮิโรชิมีความฝนั อยากจะเปน็ นักเขยี นการต์ ูน แต่ดว้ ยความที่เป็นลูกชาย
คนโตของบ้านจึงต้องสืบทอดกิจการ แต่น่ันก็ไม่มีทางหยุดความฝันท่ีอยากวาดรูปได้ ที่แม้จะจากไปแต่ผลงาน
ของอาจารย์ก็ยังอยู่ในใจเด็กเม่ือพูดถึงเจ้าแมวไร้หูตัวสีฟ้าท่ีมาจากโลกอนาคต เช่ือว่าหลายคนคงต้องรูท้ ันทวี า่
สิ่งนั้นหมายถึง โดราเอ-มอน (Doraemon) หุ่นยนต์แมวท่ีถูกส่งมาจากโลกอนาคตคริสต์ศตวรรษท่ี 22 เพ่ือมา
ฆ่าโนบิ โนบิตะ (Nobi Nobita) เด็กชายผู้ไม่เอาไหนท่ีในอนาคตเขาจะเป็นผู้นาของมนุษย์ปกป้องโลก ทาง
หนุ่ ยนต์เลยส่งโดราเอม่อนมาจัดการเขา(ผดิ เรื่องขออภัย) ความจรงิ แลว้ โดราเอม่อนถูกส่งมาจากเหลนของโนบิ
ตะทชี่ อื่ เซวาชิ โนบิ (Sewashi Nobi) ดว้ ยเหตุผลทเี่ จา้ ตัวบอกเพยี งวา่ ต้องการเปล่ียนแปลงอนาคต ใหค้ ณุ ทวด
ได้แต่งงานกบั มินา-โมโต้ ชิซกุ ะ (Shizuka Minamoto) แทน ไจโกะ โกดะ (Jaiko Gouda) เพือ่ เปลีย่ นอนาคต
ทั้งท่ีโนบิตะเองก็คัดค้านว่าการเปล่ียนอนาคตคือส่ิงท่ีผิดแต่เซวาชิก็ยืนยันในเร่ืองน้ีจนเกิดเป็นเร่ืองราวต่าง ๆ
มาจนถึงตอนนี้
เอกสารอ้างอิง
Fujiko Fujio. (2513). Doraemon (พมิ พค์ รั้งท1่ี ). Japan: Kabushikigaisha Shōgakukan.
เลขท่ี 35 นางสาวณฐั ิดา ศรเี มือง
123
เด็ก 200 ปี
ท่มี า: https://readoverhead.blogspot.com/2007/09/200.html
ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก
วรรณกรรมญป่ี นุ่ เรือ่ ง เดก็ 200 ปี
นวนยิ ายเรอื่ ง “เดก็ 200 ปี” เป็นงานอกี กลุ่มของโอเอะ ซงึ่ มงุ่ สารวจรากเหงา้ ของตวั เองควบคู่ไปกับการ
ทาความเข้าใจต่ออุดมคติเชิงสังคม ความน่าสนใจอยู่ท่ีว่าเร่ืองน้ีเป็นวรรณกรรมเยาวชน เพราะโดยทั่วไปแล้ว
มิติเวลาในการสารวจภาวะการมีอยู่ (existence) น้ันคือขณะปัจจุบัน แต่สาหรับเรื่องนี้โอเอะสนใจอดีตและ
อนาคตด้วย ผา่ นตวั ละครเดก็ ท่ีเรียนรู้ชวี ิตด้วยการขา้ มกาลเวลาไปมาอยู่ในชว่ ง 200
ส่วนท่ีทาให้นิยายมีอารมณ์บาดลึกกว่าวรรณกรรมเยาวชนทั่วไปคือความรู้สึกและท่าทีต่อชีวิตของตัว
ละคร ไม่ว่าจะเป็นความผูกพันอันล้าลึก ความสงสัยต่อภาวะไม่มีความหมาย ความกล้าหาญในการรับผิดชอบ
และการเยียวยาปมติดค้างในใจ แต่ท่ีเหมือนกันคือเจตนาในการส่ังสอนเนื้อหาอันเป็นบทสรุปของผู้เขียน นว
นยิ ายเรอ่ื งนจ้ี ึงเป็นวรรณกรรมอีกเรื่องหนึ่งที่พยายามใช้พลังจนิ ตนาการปลูกฝงั ภาพพจน์อันเขม้ แข็งลงในจิตใจ
ของผู้อา่ นวยั เยาว์ เพือ่ เปน็ ประสบการณ์ทางอ้อมสาหรับผจญภัยกับชวี ิตในขณะปัจจุบันที่มีทั้งอดตี และอนาคต
คลุกเคล้าอยดู่ ้วยกัน
เอกสารอา้ งอิง
เดก็ 200 ป.ี (ม.ป.ป.).[ออนไลน]์ .ได้
จาก: https://readoverhead.blogspot.com/2007/09/200.html
เลขท่ี 31 นางสาวฐิติมา โพธริ าช
125
ตานานเจ้าหญิงคะงุยะ หรอื ตานานคนตัดไผ่
ทมี่ า: https://th.wikipedia.org/wiki/ตานานคนตดั ไผ่
วิวฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก
วรรณกรรมญี่ปุ่น เร่อื ง ตานานเจ้าหญงิ คะงุยะ หรอื ตานานคนตัดไผ่
วันหน่ึงขณะที่เดินอยู่กลางป่า ชายแก่ผู้มีอาชีพตัดไผ่ มองเห็นปล้องไผ่ที่ส่องแสงเรืองรองเข้า ด้วยความ
สงสัยก็ไปตัดปล้องไผ่ดู ก็พบว่าภายในมีเด็กทารกผู้หญิงขนาดเท่าหัวแม่มือนอนอยู่ คนตัดไม้ไผ่ผู้มีความดีใจที่
ได้นาทารกกลับไปบ้านไปให้ภรรยาเลี้ยงอย่างลูก และต้ังช่ือให้ว่าคะงุยะฮิเมะ คะงุยะฮิเมะเองก็เติบโตข้ึนมา
เป็นสตรีที่มีขนาดปกติและมีความสวยงามเป็นอันมาก แต่ไม่นานนักความสวยงามของคะงุยะก็เป็นที่เลื่องลือ
จนเป็นท่ีทราบกันโดยทั่วไป ต่อมาจักรพรรดิมิกะโดะจักรพรรดิแห่งญี่ปุ่นก็เสด็จมาทอดพระเนตรสตรีสวยงาม
เม่ือทรงได้เห็นพระองค์ก็ทรงตกหลุมรักคะงุยะฮิเมะและทรงขอแต่งงานด้วย ต่อมาพฤติกรรมของคะงุยะฮิเมะ
ยิ่งแปลกขึ้นจนกระท่ังจนในที่สุดก็ยอมเปิดเผยว่านางน้ันมิได้มาจากโลกนี้ เมื่อวันที่จะต้องกลับใกล้เข้ามา
จกั รพรรดิมิกะโดะก็ทรงส่งทหารมาลอ้ มบ้านเพ่ือปอ้ งกนั ไม่ใหช้ าวจันทรประเทศมาเอาตวั คะงยุ ะฮเิ มะไปได้ แต่
เม่ือทูตจาก “สรวงสวรรค์” มาถึงประตูบ้านของคนตัดไม้ไผ่ทหารท่ีมารักษายามต่างก็ตาบอดกันไปตาม ๆ กัน
เพราะความแรงของแสงท่ีเรืองออกมา คะงุยะฮิเมะประกาศว่าแม้ว่าตนเองจะมีความรักเพื่อนหลายคนบน
มนษุ ยโลกแตก่ จ็ าต้องเดินทางกลบั ไปยังจันทรประเทศซึ่งเปน็ บ้านเมืองที่แท้จรงิ ของตนเอง จากนั้นคะงุยะฮิเมะ
ก็เขียนจดหมายรา่ ลาขออภัยตอ่ คนตัดไมไ้ ผ่และภรรยา และมอบเส้ือคลุมใหบ้ ิดามารดาเลีย้ งไว้เปน็ ทร่ี ะลึก
เอกสารอา้ งอิง
ต า น า น ค น ตั ด ไ ผ่ ห รื อ ต า น า น เ จ้ า ห ญิ ง ค ะ งุ ย ะ ( ม . ป . ป ) อ อ น ไ ล น์ ไ ด้ จ า ก :
https://th.wikipedia.org/wiki/ตานานคนตัดไผ่ [สบื ค้นวนั ท่2ี 0 สิงหาคม 2564]
เลขที่ 33 นางสาวณัฐริการ์ กกนอก
127
โต๊ะโตะจงั เดก็ หญิงข้างหน้าตา่ ง
ทมี่ า: https://www.artbangkok.com/?p=12659
วิวัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก
วรรณกรรมญปี่ ่นุ เรอ่ื ง โต๊ะโตะจัง เด็กหญงิ ขา้ งหน้าต่าง
โต๊ะโตะจังเป็นวรรณกรรมท่ีเล่าเรื่องจริงของโรงเรียนประถมศึกษา ในกรุงโตเกียว ในยุคก่อนสงครามโลก
คร้ังท่ีสองจะสงบไม่นานนัก เป็นเรื่องที่น่ารัก อ่านเพลิน และพูดถึงการศึกษาและโรงเรียนได้ดีมาก การศึกษา
และความสัมพันธ์ของพ่อแม่ลูกในครอบครัวมักเป็นเร่ืองหลักที่เน้นย้าไว้ภายในเสมอ สงครามเป็นเงาดาที่พาด
ผ่านจินตนาการไร้จากัดของวรรณกรรมญ่ีปนุ่ กระน้ันเน้ือหาสงครามที่โหดร้ายไม่ได้มีมากมายพอแก่การทาให้
หนังสอื สาหรับเดก็ แปดเปอ้ื น โต๊ะโตะจงั ผา่ นพน้ สงครามมาได้เนื้อเร่อื งย่อ โตะ๊ โตะจังถกู ไล่ออกจากโรงเรยี นเก่า
ขณะเรียนช้ันประถมหน่ึง ด้วยเหตุผลว่า “จะเป็นการรบกวนเด็กคนอื่นในชั้นเรียน” โรงเรียนใหม่ของโต๊ะโตะ
จังช่ือโรงเรียนโทโมเอ “โรงเรียนน้ีช่างไม่มีอะไรเหมือนโรงเรียนเก่าของเธอเลย” ห้องเรียนเป็นตู้รถไฟซึ่งไม่ได้
ใชแ้ ล้ว โต๊ะโตะจังคิดวา่ โรงเรียนนี้แปลกดี อีกไม่กีว่ ันต่อมา เธอสัญญากบั ตัวเองว่า “โรงเรียนดๆี อยา่ งนี้ จะไม่
ยอมขาดเรียนเลยสักวันเดียว” จนกระทั่งเธอได้รู้ว่าได้มาอยู่ในโรงเรียนแสนพิเศษที่สุดแห่งหนึ่งในโลก มีครูที่
รักและเช่ือม่ันในตัวเด็กอย่างครูโคบายาชิ และมีเพ่ือนๆที่รักโต๊ะโตะจังซ่ึงเธอไม่เคยลืมโรงเรียนและคุณครู
โต๊ะโตะจังเธอ โชคดี ได้มาเรียนโรงเรียนแห่งน้ี ท่ีมีครูใหญ่และคุณครูเข้าใจเธอ ให้เธอได้เรียนรู้สรรพสิ่ง
มากมาย และสร้างจินตนาการต่างๆอย่างมีความสุข ต่อมาเธอเติบโตเป็นนักข่าว ที่สร้างสรรค์ผลงานไว้
มากมายแม้วา่ เรือ่ ง ‘โต๊ะโตะจัง เด็กหญิงขา้ งหน้าต่าง’
เอกสารอา้ งอิง
เท็ตสึโกะ คุโรยานางิ.(2535).โต๊ะโตะจัง เด็กหญิงข้างหน้าต่าง.สานักพิมพ์ ผีเสื้อ.สืบค้นเมื่อวันท่ี18 สิงหาคม2564.
จาก https://www.artbangkok.com/?p=12659
เลขที่ 36 นางสาวทัศน์วรรณ คามี
129
สรุป
จากตัวอย่างภาษาและวรรณกรรมของจีน เกาหลี ญี่ปุ่น ผู้อ่านจะเห็นได้ว่าภาษาในแต่ละประเทศนั้นมี
ระยะเวลาท่ียาวนาน เช่น
ภาษาจีน กม็ ีประวตั ิของตวั อกั ษรจนี ที่มีประวัติความเปน็ มาไม่ตา่ กว่า 3,000 ปี และยงั มีภาษาถ่ินที่สามารถ
แบ่งได้ 7 กลุ่ม หรือ 10 กลุ่ม ได้แก่ จีนกลาง อู๋ กวางตุ้ง หมิ่น เซียง ฮากกา ก้าน และเพิ่มมาอีก 3 กลุ่ม
ไดแ้ ก่ จิ้น ฮุย ผิง
ภาษาเกาหลี เป็นภาษาท่ีส่วนใหญ่พูดในประเทศเกาหลีใต้และเกาหลีเหนือ ซึ่งเป็นภาษาราชการ ภาษา
เกาหลีสามารถแบ่งออกเป็น 3 กลมุ่ ใหญ่ ไดแ้ ก่ ภาษาเกาหลีไซนิจิ ภาษาโครยอ-มาร์ ภาษาเกาหลีถน่ิ จีน
ภาษาญ่ีปุ่น เป็นภาษาราชการของประเทศญ่ีปุ่น ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 5 ยุค ได้แก่ ยุคก่อน
ประวัติศาสตร์ ยุคภาษาญี่ปุ่นเก่า ยุคภาษาญี่ปุ่นตอนต้น ยุคภาษาญ่ีปุ่นตอนปลาย และยุคภาษาญี่ปุ่นใน
ปจั จบุ นั
ซึ่งท่ีมาของภาษาจีน เกาหลี ญี่ปุ่นท่ีกล่าวมาข้างต้นน้ี ก็เป็นจุดเริ่มต้นท่ีทาให้มีการนาภาษามาแต่งเป็น
วรรณกรรมใหท้ ุกคนไดอ้ ่านจนถงึ ปจั จุบนั นี้ โดยเน้อื หาของวรรณกรรมที่ได้ยกตัวอยา่ งมานนั้ จะแฝงไปด้วยเรื่อง
การเมืองการปกครอง วัฒนธรรม สังคม ชีวิตความเป็นอยู่โดยจะสะท้อนผ่านสังคมในมุมมองท่ีแตกต่างกัน
อย่างเชน่
วรรณกรรมจนี เรื่องความฝนั ในหอแดง จะสะทอ้ นให้เหน็ ถงึ ความล้มเหลวของระบบศักดนิ า และเร่อื งไซอิ๋ว
กย็ งั มีการสอดแทรกเรื่องพระพทุ ธศาสนาเอาไวม้ ากมาย
ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก
วรรณกรรมเกาหลีเรื่องแดจังกึม ก็แสดงถึงความอดทน วัฒนธรรมเกาหลีรวมท้ังตารับอาหารและอาหาร
การแพทย์ในราชสานักเกาหลี และเร่ืองHong Gilding Jeon ท่ีแสดงที่ความวิริยะอุตสาหะ ไม่ยอมแพ้ต่อ
โชคชะตา
วรรณกรรมญี่ปุ่น เรื่อง โดราเอมอน ซึ่งเป็นเรื่องท่ีใครหลายๆคนต้องรู้จักเพราะได้ทาเป็นหนังสือการ์ตูน
และแอนเิ มชันอกี ด้วย เป็นเรือ่ งราวเกยี่ วกับหุ่นยนตแ์ มวทมี่ ีของวิเศษมากมายไว้คอยช่วยเหลือเพื่อนซ้ีอย่าง 'โน
บิตะ' พร้อมท้ังสอดแทรกศิลปะวัฒนธรรมของญี่ปุ่นเข้าไปในตัวการ์ตูน จึงทาให้ผู้คนสามารถเรียนรวู้ ัฒนธรรม
ญี่ปุ่นได้แบบไม่น่าเบอ่ื
วรรณกรรมไม่ได้เป็นแค่ส่ืออย่างเดียว แต่มีสิ่งที่แฝงลึกลงไปในช่องไฟระหว่างตัวอักษร สะท้อนให้เห็นถึง
ความต้ืนลึกหนาบางทางภูมิปัญญาของผู้เขียน และลึกลงไปในภูมิปัญญานั้นก็คือความจริงใจท่ีผู้เขียนสะท้อน
ตอ่ ตวั เองและต่อผู้อ่าน วรรณกรรมเปน็ สว่ นหนงึ่ ของชีวติ มนุษยแ์ ละเปน็ เคร่ืองช้ใี ห้รู้ว่า ชาตใิ ดมคี วามเจริญทาง
วัฒนธรรมสูงแค่ไหนและยุคใดมีความเจริญสูงสุด ยุคใดมีความเส่ือมลง เพราะฉะน้ันวรรณกรรมแต่ละชาติ จึง
เป็นเคร่ืองชี้วัดได้ว่า ในแต่ละยุคประชาชนในชาติมีความเจริญหรือเส่ือมอย่างไร ด้วยเหตุนี้วรรณกรรมจึงเป็น
เคร่ืองมือส่ือสารความรู้สึกนึกคิดถ่ายทอดจินตนาการและแสดงศิลปะอันประณีตงดงาม การศึกษาหรืออ่าน
วรรณกรรมแตล่ ะเรื่องทาให้ผู้อ่านมองเห็นภาพสังคม วัฒนธรรม การเมอื ง และเศรษฐกิจ ของยุคสมัยท่ีผู้เขียน
ได้สะท้อนผ่านมุมมองของตนออกมา รวมท้ังทาให้ผู้อ่านเข้าใจความรู้สึกนึกคิดของผู้คนที่มีต่อสถานการณ์
เหล่าน้ันด้วย ดังนั้นวรรณกรรมจึงมีความสาคัญต่อมนุษย์แทบทุกด้าน เช่น สังคมมนุษย์ที่เจริญมีอารยธรรม
และเทคโนโลยีในปัจจุบันน้ี ต้ังอยู่บนพื้นฐานของวรรณกรรม วรรณกรรมต่างมีบทบาท ความสาคัญ และ
อทิ ธพิ ลไมม่ ากกน็ อ้
131
ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก
บทที่ 4
ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมอษุ าคเนย์-แปซฟิ คิ
ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก
สว่ นนา
อษุ าคเนย-์ แปซฟิ ิก(เอเชียตะวันออกเฉยี งใต้-เอเชียแปซฟิ กิ ) เอเชยี แปซฟิ กิ เป็นเป็นภมู ิภาคของ
โลกท่ีอยู่ในหรืออยู่ใกล้มหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตก ซึ่งครอบคลุมพ้ืนที่ส่วนใหญ่ของเอเชีย
ตะวันออก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ออสตราเลเซียและโอเชียเนีย ซ่ึงอาจรวมไปถึงเอเชียใต้
สหพันธรัฐรัสเซีย และประเทศในทวีปอเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้ที่ตดิ กับมหาสมุทรแปซิฟิก
ตะวนั ออกด้วย
ส่วนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นภูมิภาคที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปเอเชียระหว่าง
ประเทศใหญ่ 2 ประเทศ คอื จนี กบั อินเดีย
ลักษณะภูมิประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ประกอบด้วยดนิ แดน 2 ส่วน คือ ส่วนท่ี
เป็นแผ่นดินใหญ่ ได้แก่ ประเทศพม่า ไทย ลาว กัมพูชาและมาเลเซีย (ตะวันตก) ส่วนท่ีเป็นเกาะ
ได้แก่ สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ บรูไน มาเลเซีย (ตะวันออก) และติมอร์ คาว่า "เอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้" เริ่มใช้ระหว่างสงครามโลกคร้ังท่ี 2 เม่ือสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ หรือฝ่าย
สัมพันธมิตร ได้ต้ังศูนย์บัญชาการการรบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ข้ึนใน ค.ศ.1943 เพ่ือทาสงคราม
กับญี่ปุ่น การเรียกช่ือแบบนเี้ พราะ เพอื่ ความเด่นชัดในทางด้านภูมศิ าสตร์
โดยอุษาคเนย์-แปซิฟิก(เอเชียตะวันออกเฉียงใต้-เอเชียแปซิฟิก)นักประวัติศาสตร์เอเชีย
ตะวนั ออกเฉยี งใต้ชาวออสเตรเลียแบง่ ยุคสมยั ไว้อยา่ งหลวมๆ คอื
135
1.สมัยคลาสสิค สาหรับสมัยประวัติศาสตร์วัฒนธรรมท่ีมีศนู ย์กลางอยู่ในบริเวณเมดเิ ตอร์เรเนียนที่
ประกอบด้วยการผสมผสานระหว่างกรีกโบราณกับโรมันโบราณท่ีเรียกว่า โลกกรีก-โรมัน สมัย
คลาสสิกเป็นสมัยที่วรรณคดีกรีกและละตินมีความรุ่งเร่ืองวัฒนธรรมของกรีกโบราณมีอิทธิพลเป็น
อันมากต่อภาษา ระบบการปกครอง ระบบการศึกษา ปรัชญา วิทยาศาสตร์ ศิลปะ และ
สถาปัตยกรรมของยุคใหม่ และเป็นเช้ือท่ีนามาสู่ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาต่อมาในยุโรปตะวันตก และ
ต่อมาในยคุ ฟ้ืนฟคู ลาสสกิ ในครสิ ต์ศตวรรษท่ี 18 และ 19
2.สมัยใหม่ เป็นช่วงเวลาหน่ึงของอารยธรรมต่างๆ ซ่ึงในช่วงน้ี อารยธรรมนั้น ๆ จะเร่ิมมีการนา
เทคโนโลยีเข้ามาใช้ เริ่มมีแนวคิดที่ยึดหลักความจริง หลุดพ้นจากความเช่ืองมงายหลายอย่างใน
อดีต นักวิชาการได้กาหนดช่วงเวลาที่เป็น "สมัยใหม่" ของสากลโลกไว้ให้เป็นช่วง ค.ศ. 1453-ค.ศ.
1945 โดยเริ่มนับจากการล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์และสิ้นสุดลงหลังสงครามโลกครั้งที่
สองยุติ
ทางด้านภาษาของอุษาคเนย์-แปซิฟิก(เอเชียตะวันออกเฉียงใต้-เอเชียแปซิฟิก)สาเหตุสาคัญท่ี
ทาให้ชาวเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้เกดิ ความคิดชาตินิยมคือ ชาติตะวันตกใชภ้ าษาของตนเป็นภาษา
ราชการ ทาให้ชาวพื้นเมืองซ่งึ มีความแตกตา่ งกันในเรื่องภาษามากมายได้ใช้ภาษาของชาตติ ะวันตก
เป็นภาษากลาง ทาให้ชาวพ้ืนเมืองสามารถติดต่อสื่อสารถึงกันได้ไม่ว่าจะอยู่ท่ีใดหรือห่างไกลแค่
ไหน ดังเช่นฟิลิปปินส์และอินโดนีเซีย โดยส่วนใหญ่ ทุกประเทศในอุษาคเนย์ -แปซิฟิก จะมี
ภาษาอังกฤษ เกือบทุกประเทศโดยประเทศท่ีใช้ภาษาอังกฤษจะมี กัมพูชา ไทย บรูไน ฟิลิปปินส์
มาเลเซีย ลาว เวียดนาม สิงคโปร์ อินโดนีเซีย และบางภาษาก็มีต้นกาเนิดมาจากภาษาหนึ่งมา
แปลงเพิ่มได้เป็นอีหน่ึงภาษา เช่น ภาษาไทยและภาษาลาว ภาษาลาวที่คล้ายกับภาษาไทยเพราะ
ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก
ภาษาทางการของประเทศลาว เป็นภาษาท่ีมีวรรณยุกต์ในกลุ่มภาษาไทย และสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ
ของประเทศไทย ระบบการเขียนในภาษาลาวจะใช้อักษรลาว ซ่ึงเป็นระบบอักษรสระประกอบ
(ระบบการเขียนที่ประกอบด้วยสัญลักษณ์แทนพยัญชนะและตามด้วยสระท่ีจะอยู่ด้านหน้า หลัง
บน ล่าง ของพยัญชนะ) และสัมพนั ธ์ใกล้ชิดกับอักษรไทย
หลงั จากส่วนนาทเ่ี สนอเกี่ยวกบั ส่วนประกอบ,วฒั นธรรมและด้านภาษาของอุษาคเนย์-แปซฟิ กิ แลว้
ตอ่ ไปนขี้ อนาเสนอวรรณกรรมที่เก่ยี วข้องกับวัฒนธรรมและภาษาที่ยังเป็นที่เลื่องลือของประเทศ
นนั้ ๆจนถงึ ปจั จบุ ัน ไดแ้ ก่ รามายณะ,หนงั สอื เสียวสวาด,จารึกมยะเซดี, Srengenge,ขนุ ชา้ ง ขนุ
แผน,นิทานลกึ ลับแห่งแดนใต้, Hukum Kanun, HIKAYAT ABDULLAH, Dian yang tak
kunjung padam, Poedjangga Baroe , ถงึ แกน่ เร่ืองเล่าจากโรงพยาบาล , The Art of
Charlie Chan Hock Chye
137
รามเกียรต์ิ
ที่มา: https://delphipages.live/th/วรรณคดี/วรรณกรรมของโลก/khmer-literature
ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก
วรรณกรรมกมั พูชา(รามเกยี รติ์)
วรรณกรรมกมั พชู า(เขมร)เปน็ วรรณกรรมของชนชาติเขมรในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้(อุษาคเนย์-แปซิฟิก)เป็น
หลักของกัมพูชา วรรณกรรมของกัมพูชาส่วนใหญ่เป็นงานแต่งกลอนท่ีจะสะท้อนให้เห็นถึงอิทธิพลทาง
วัฒนธรรมของอินเดีย คือ มหากาพย์นวนิยาย,กลอน,จรรยาบรรณ(CBAP)ถ้าจะยกประเภทวรรณกรรมที่ยังคง
เล่ืองช่ือมาจนถึงปัจจุบันและรู้จักกันดีที่สุดคือ Reamker (“Honor of Rama”; Eng. trans. Reamker) ใน
แบบของกมั พูชาคือรามายณะ ทเ่ี ปน็ สว่ นหน่ึงของรามเกยี รต์ิ
รามายณะเป็นวรรณกรรมที่มีการเปล่ียนเน้ือหาและนามาเรียงใหม่เพ่ือนามาเล่าใหม่ และแพร่หลายไปในหลาย
ภูมิภาคของเอเชีย โดยมีเนื้อหาคือ ระบาสุวรรณมัจฉาซ่ึงเป็นนาฏศิลป์คลาสสิกแบบหน่ึงของกัมพูชาอาศัยเค้า
เรื่องของรามเกียรต์ิตอนหนุมานไปจับนางสุวรรณมัจฉาแตกต่างกัน เป็นเร่ืองราวเก่ียวกับการทาศึกสงครา ม
ระหว่างฝ่ายพระรามกับฝ่ายทศกัณฐ์ ที่โดนฝ่ายพระรามจะมาชิงตัวนางสีดาที่เป็นมเหสีของพระรามเนื่องจาก
นางสดี าโดนทศกณั ฐล์ กั พาตวั มาโดยสุดท้ายฝา่ ยทศกัณฑก์ ็ได้รับชัยชนะไป
เรื่องราวของมหากาพย์รามายณะที่เป็นส่วนหนึ่งของรามเกียรต์ิในประเทศกัมพูชาไม่ได้ มีเรื่องราวอยู่แค่ใน
วรรณกรรมแต่ครอบคลุมไปถึงศิลปะกัมพูชาทุกประเภทต้ังแต่ประติมากรรมไปจนถึงละครเต้นราและจาก
ภาพวาดไปจนถึงศิลปะท่องเที่ยว
เอกสารอ้างอิง
ผศ.ดร.สถิตย์ ไชยปญั ญา. (2563). วรรณกรรมเขมร. สบื ค้น 17 สงิ หาคม 2564, จาก
https://delphipages.live/th
เลขที่ 37 นางสาวธมลวรรณ แกลว้ กล้า
139
ฮตี สิบสอง คองสิบสี่
ที่มา: https://th.wikipedia.org/wiki/
ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก