วรรณกรรมลาว(ฮีตสิบสอง คองสิบสี่)
ฮีตสิบสอง คองสิบส่ี เป็นขนบธรรมเนียมประเพณีของชาติพันธ์ลาว ซึ่งร่วมถึงชาวลาวอีสานที่ปฏิบัตสิ ืบ
ต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน ซ่ึงเป็นวัฒนธรรมแสดงถึงความเป็นชาติเก่าแก่และเจริญรุ่งเรืองมานาน เป็น
เอกลักษณข์ องชาตแิ ละท้องถน่ิ และมสี ว่ นชว่ ยใหช้ าตดิ ารงความเป็นชาติของตนอยู่ตลอดไป
ฮีตสิบสอง มาจากคาสองคาได้แก่ ฮีต คือคาว่า จารีต ซ่ึงหมายถึง ความประพฤติ ธรรมเนียม ประเพณี
ความประพฤติทีด่ ี และ สิบสอง หมายถึง สบิ สองเดอื น
งานบุญประเพณที เ่ี กี่ยวข้องกบั ฮีตสบิ สองท่ีสาคัญของชาวอสี าน เช่น
* บญุ เดือนหก จังหวัดยโสธร (งานประเพณีบุญบ้งั ไฟ)
* บญุ เดือนแปด จังหวัดอบุ ลราชธานี (งานประเพณีแห่เทยี นเขา้ พรรษา)
* บญุ เดอื นสิบเอ็ด จังหวดั นครพนม (งานประเพณีออกพรรษาไหลเรอื ไฟ)
คองสบิ ส่ี เปน็ คาและข้อปฏิบัตคิ ู่กับฮตี สิบสอง คอง หมายถึง แนวทาง หรือ ครรลอง ซ่ึงหมายถงึ ธรรมเนียม
ประเพณี และ สิบสี่ หมายถึง ข้อวัตรหรือแนวทางปฏิบัติสิบส่ีข้อ ดังน้ันคองสิบสี่จึงหมายถึง ข้อวัตรหรือ
แนวทางทป่ี ระชาชนทุกระดบั นับต้งั แต่พระมหากษัตรยิ ์จนถงึ ประชาชน
เอกสารอ้างอิง
สาขาวชิ าศลิ ปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช. "6.4.3 พทุ ธศาสนาในปจั จุบัน". ประมวล
สาระชุดวิชาไทยศึกษา หน่วยที่ 1-7. พมิ พ์ครัง้ ท่ี 15. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์
มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช, 2552. หนา้ 319. ISBN 974-645-258-4
ฮีตสบิ สองคองสบิ สี่, ชมรมอสี านและภูมภิ าคอินโดจีนศึกษา มหาวทิ ยาลยั นเรศวร
เลขที่ 38 นางสาวธัญจิรา ชาวหว้ ยหมาก
141
จารึกมยะเซดี
ท่ีมา: http://www.myanmar.nu.ac.th
วิวฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก
วรรณกรรมพม่า(จารกึ มยะเซดี)
ต้นกาเนิดของงานเขียนทางวรรณกรรมของพม่าจะพบได้จากศิลาจารึก ศิลาจารึกจัดได้ว่าเป็นรากฐาน
สาคญั ของวรรณกรรมพม่า หากจะพิจารณาศิลาจารึกท่เี ป็นต้นกาเนิดก็ควรต้องคานึงถึงยุคพุกาม ซง่ึ เป็นยุค
รุ่งเรืองด้วยศิลาจารึกรวมถึงบรรดาศิลาจารึกพม่าทั้งหลาย คงต้องให้ความสาคัญต่อ “จารึกมยะเซดี” (ซ่ึง
ถือว่าเป็นงานรอ้ ยแก้วชิ้นแรกของวรรณกรรมพม่า จารกึ ชน้ิ น้เี จา้ ชายผู้มพี ระนามว่าราชกมุ าร พระโอรสของ
พระเจา้ จันสติ ตาได้ทาขึ้นในศกั ราช ๔๗๔ (ค.ศ ๑๑๑๒) หรอื ในพ.ศ. ๑๖๕๕ในขณะที่พระราชบดิ ากาลังทรง
พระประชวรอยู่ จารึกเป็นข้อความแบบร้อยแก้ว มีเนื้อหากล่าวถึงเรื่องการหล่อถวายพระพุทธรูปทองคา
องค์หน่ึงและการถวายข้าทาสและท่ีดินจานวนมาก ในจารึกหลักนี้ไม่ได้เขียนไว้เป็นภาษาพม่าเพียงภาษา
เดียวเท่านั้น พบว่าได้มีการจารึกอีก ๓ ด้านด้วยภาษาพยู ภาษาบาลีและภาษามอญ ด้วยเหตุนี้จึงแน่ชัดว่า
ในสมัยนั้นนอกจากจะมีการใช้ภาษาพม่าแล้ว ยังมีการใช้ภาษาอื่นๆร่วมด้วย คือ ภาษาพยู ภาษาบาลี และ
ภาษามอญ ในแง่วรรณกรรม “จารึกมยะเซดี” ถือเป็นงานประพันธ์ที่เก่าแก่ท่ีสุด จารึกมยะเซดีเป็นการ
เรียบเรียงด้วยถ้อยคาสั้นๆแสดงเฉพาะนัยสาคัญจากงานช้ินนี้ นอกจากจะเป็นส่ิงยืนยันว่างานประพันธ์ได้
เริ่มขึ้นแล้วในสมัยพุกามยังทาให้ทราบว่าในสมัยนั้นมีการใช้ภาษาอื่นๆด้วย และหากมองดูสถานะของงาน
วรรณกรรมพม่าในปัจจุบันก็อาจเข้าใจภาวะเช่นนั้นได้ชัดเจน คนพม่าปัจจุบันนอกจากจะใช้ภาษาพม่าแล้ว
ยังต้องศึกษาเรียนรู้ภาษาอังกฤษอีกด้วย จึงทาให้ไม่มีเวลาท่ีจะมาสนใจวรรณกรรมพม่าได้อย่างเต็มท่ี จึง
เปน็ การยากที่จะมผี ู้ทมุ่ เทสรา้ งสรรคว์ รรณกรรมพม่าโดยเฉพาะทานองเดยี วกนั ในยุคทีม่ กี ารเขยี นจารึกมยะ
เซดีนั้นวรรณกรรมพม่าจงึ ไม่อาจเจรญิ ไดเ้ ตม็ ท่ีกเ็ พราะยงั มีการใชภ้ าษาอ่ืนๆอนั หลากหลาย แต่อย่างไรก็ตาม
ชาวพุกามยุคโบราณยังคงพากเพียรสร้างสรรค์งานด้วยภาษาพม่าอย่างไม่ท้อถอย ด้วยเหตุน้ีจึงได้พบงาน
จารกึ พม่าแพรห่ ลายนับแตจ่ ารกึ มยะเซดีเป็นลาดับมา
เอกสารอา้ งองิ
อรนุช–วิรัช นยิ มธรรม.(2541). ศิลาจารกึ กบั เคา้ มูลทางสังคมและวรรณกรรมพมา่ ในสมัยพุกามอัน
ไพบลู ย.์ สืบค้น 17 สิงหาคม 2564
เลขท่ี 39 นางสาวธญั ชนก ไชยปัญญา
143
Srengenge
ทมี่ า: 64030-ไฟล์บทความ-149068-1-10-20160804 (1).pdf
ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก
วรรณกรรมมาเลเซยี ( Srengenge)
Srengengeหรือในช่ือภาษาไทยคือ "ภูเขาอาถรรพ์" ของชาห์นอน อหมัด เป็นวรรณกรรมท่ีสาคัญของ
มาเลเซียที่ได้รับการกล่าวขวัญว่ายอดเย่ียมท่ีสุด และ ได้รับรางวัลหนังสือแห่งชาติ เป็นวรรณกรรมที่เขียน
ข้นึ ในยุคท่ีมาเลเซยี กาลงั พัฒนาประเทศไปสสู่ ังคมสมัยใหม่
โดยมีฉากสาคัญเขียนว่าภูเขาSrengenge(สเรอเงอเงอ) มีหมู่บ้านที่มีความเป็นอยู่ท่ีเรียบง่าย ไม่ต้องด้ิน
รน ในรัฐเคดะห์ ประเทศมาเลเซีย มีชายคนหนึ่งชอื่ อาหวังจ๊ิกแต๊ะ คิดอยากจะเปล่ียนภูเขาลกู น้ีให้มีมลู คา่
ทางเศรษฐกิจ เขาคุยกับอิหม่ามฮามัดเก่ียวกับเรื่องโค่นถางสเรอเงอเงอให้เป็นที่ทานาเพาะปลูกพืชแต่
ชาวบ้านไมเ่ ห็นดว้ ย และเร่ืองน้ีก็มาถึงจุดเปลี่ยนตอนท่ีอิหมา่ มฮามดั ไปดักนกในปา่ แตน่ กต่อของเขาไม่ยอม
เรียกนกเขาป่าเพราะมันเห็นเหยี่ยว แต่อิหม่ามไม่เห็นและโกรธมากจึงฆ่านก แต่พอเขาแหงนข้ึนไปก็เห็น
ตน้ เหตุทที่ าใหน้ กของเขาสญู เสยี ความกลา้ เขารสู้ ึกผดิ จากเหตกุ ารณ์นที้ าให้เขาเปล่ียนความคดิ รบี ไปหาอา
หวงั จกิ๊ แต๊ะและวา่ จะนัดชาวบ้านมาประชุมเกี่ยวกับเร่ืองนี้ กอ่ นที่เขาจะประกาศอหิ มา่ มเกิดอาการเห็นภาพ
หลอนในใจที่ฆ่านกที่เขารัก อาการของเขาเหมือนถูกผีเข้าและสลบไป ชาวบ้านเช่ือและคิดว่าอากง
หวังจ๊ิกแต๊ะน่าจะไปทาให้ผีป่าผีเขาตนใดโกรธ ก็เลยเชิญหมอผีไปทาพิธีเซ่นไหว้ แต่อิหม่ามไม่หายป่วย ยัง
เสียชีวิตอีก ชาวบ้านก็เลยหันมาว่าอาหวังจิ๊กแต๊ะเป็นคนเพ้อเจ้อ ไร้สาระ และเห็นแก่ตัว ภูเขาลูกน้ันก็ถูก
ปล่อยใหอ้ ยู่อย่างที่มนั เคยอยู่เหมอื นเดมิ
วรรณกรรมเร่ืองน้ีเป็นการสะท้อนปัญหาเพ่ือท่ีจะนาเสนอผู้อ่านถึง "การแก้ไขปัญหา" และ ยัง
สนบั สนนุ แนวทางการใช้ศาสนาเปน็ เคร่ืองมอื เพอื่ ท่ีประเทศมาเลเซียจะได้เข้าไปสู่สมยั ใหม่
เอกสารอ้างองิ
ชาหนอน อหฺมดั . (2548). ภูเขาอาถรรพ.์ กรงุ เทพฯ: โครงการจัดพิมพคบไฟ.
เลขท่ี 40 นางสาวธญั ธร นพรตั น์
145
HIKAYAT ABDULLAH
ที่มา: https://hmong.in.th/wiki/Culture_of_Malaysia
วิวัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก
วรรณกรรมมาเลเซยี ( HIKAYAT ABDULLAH)
วรรณกรรมมาเลย์เร่ืองแรกใช้อักษรอารบิก งานเขียนมาเลย์ที่รู้จักกันเร็วท่ีสุดคือ ศิลาจารึกตรังกานู ซ่ึง
สร้างในปี ค.ศ. 1303 หนึ่งในผลงานที่มีช่ือเสียงของมาเลย์คือ พงศาวดารมาเลย์ มันถูกบันทึกคร้ังแรกใน
ศตวรรษท่ี15และรุ่นท่ีรู้จักมาจากศตวรรษที่ 16 Hikaya Rajit Pasai เขียนในศตวรรษที่ 15 เป็นอีกหน่ึงท่ี
สาคญั ของงานวรรณกรรม The Hikayat Hang Tuah หรอื เร่ืองราวของ Hang Tuah บอกเล่าเร่ืองราวของ
Hang Tuah และความจงรักภักดตี ่อสุลตา่ นของเขา
เอกสารอา้ งอิง
มารแ์ ชล คาเวนดิช คอรป์ อเรชน่ั (2008) ของโลกและของประชาชน
เลขที่ 44 นางสาวธติ กิ านต์ ส้มหวาน
147
“ความเศร้าโศกแหง่ สงคราม”
ที่มา: http://oknation.nationtv.tv/blog/nonglakspace/2013/02/06/entry-1
ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก
วรรณกรรมเวยี ดนาม(ความเศร้าโศกแหง่ สงคราม)
“ความเศรา้ โศกแห่งสงคราม”
เศร้าแห่งสงครามเปน็ นวนยิ ายปี 1990 โดยนกั เขียนชาวเวียดนาม Bảo Ninh กลา่ วถงึ เร่อื งของเกย๋ี น ทหาร
ผ่านศึกสงครามเวียดนามที่พยายามเร่ิมต้นชีวิตใหม่หลังสงคราม แต่ความหลังท่ีฝังใจจากความเจ็บปวดใน
สงครามท้ังของเขาและคนรอบข้าง ผลักดันให้เขาต้องพบกับความผิดหวังครั้งแล้วครั้งเล่า การดาเนินเรื่อง
เปน็ ภาพค่ขู นานระหว่างชีวติ ของเก๋ียนหลงั สงคราม กับภาพนึกย้อนของเกยี๋ นไปส่ชู ่วงสงครามและก่อนหน้า
นน้ั ตอนจบของเรอ่ื งจะเฉลยว่า เหตใุ ด เฟอื ง คนรักของเก๋ยี นจึงทง้ิ เขาไป
เอกสารอา้ งองิ
เบา๋ นนิ ห.์ ปวดร้าวแห่งสงคราม แปลโดย วรวดี วงศส์ ง่า. กรุงเทพฯ. แพรว. 2547
เลขท่ี 42 นางสาวธันย์ชนก มะโนรมย์
149
Nakhada Manis
ท่ีมา: file:///C:/Users/User/Downloads/43349-Article%20Text-100431-1-10-
20151207.pdf
วิวฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก
วรรณกรรมบรไู น( Nakhada Manis)
"Nakhada Manis" วรรณกรรมสมัยเก่าของบรูไน จะเน้นถึงสภาพความเป็นอยู่ สังคมของคนยุคนั้น
รวมถงึ มีวรรณกรรมมุขปาฐะ ที่มีคตสิ อนใจมีความเชอ่ื ของเรื่องเหนือธรรมชาติ ทีเ่ กีย่ วขอ้ งกับตวั บุคคล สัตว์
รวมถึงสถานที่เช่น นัคโฮดา มานิส เป็นเร่ืองของแม่ลูกคู่หน่ึงที่อยู่ด้วยกันมา แม่คอยเล้ียงดูมานิสมาตลอด
เม่ือมานิสโตข้ึนจึงออกเดินทางทาการค้าขายไปยังเมืองต่างๆ แม่ผซู้ ง่ึ อยู่คนเดียว คิดถงึ มานสิ ได้แต่เฝ้ารอวัน
แล้ววนั เลา่ ระหวา่ งนนั้ แม่ก็นาทรพั ยส์ นิ ท่ีมีไปช่วยเหลือผ้คู นต่างๆจนหมดตัว จนวันหนึ่งแม่ไดข้ ่าววา่ เรือของ
มานิสได้ผ่านเข้ามาบริเวณน้ี แม่จึงได้ทาการล่องเรือออกไปหามานิสด้วยความรักและคิดถึง ท่ีเฝ้ารอมานิ
สมาเนน่ิ นาน แตฝ่ า่ ยมานสิ เห็นแม่ท่ีแก่เฒ่าอีกท้ังยังแต่งตวั สกปรกไม่มีเงนิ จึงเกดิ ความร้สู ึกอับอาย ทาให้มา
นสิ ประกาศออกไปว่า ไม่ร้จู ักกับหญิงเฒ่าคนนี้
แม่ของมานิสโกรธแค้นมากจนได้พูดออกไปกับพระเจ้าว่า ขอให้ลูกที่อกตัญญูคนน้ีมีอันเป็นไป ไม่นานเรือ
ที่มานิสได้ล่องออกไป ก็พบเจอกับพายุท่ีกระหน่าทาให้เรืออับปางลง เกลือที่บรรทุกมาได้ไหลสู่ทะเลทาให้
แม่น้าบรูไนมีความเค็ม ซากเรือและมานิสกลายไปเป็นหินปรากฏอยู่ที่บุรง ปริไง อาเยร์(Burong Pingai
Ayer)
เอกสารอ้างอิง
ดลมนรรจน์ บากา.(2558).พัฒนาการวรรณกรรมบรูไน.ครั้งท่ี2.สืบค้น 18 สิงหาคม 2564,จาก
43349-Article Text-100431-1-10-20151207(1).pdf
เลขท่ี 43 นางสาวธดิ ารตั น์ เทียมวงษ์
151
ไตรภูมิพระร่วง
ทีม่ า: http://ornsirinwk.blogspot.com/2019/08/blog-post_29.html
ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก
วรรณกรรมไทย(ไตรภูมิพระร่วง)
หนงั สอื ไตรภมู พิ ระร่วง เดิมเรียกวา่ เตภมู กิ ถา หรอื ไตรภมู ิกถา หมายถึงเรอ่ื งราวของโลกท้งั ๓
เป็นวรรณคดีทางศาสนาท่ีสาคัญเล่มหนึ่งและเป็นวรรณกรรมชิ้นเอกในสมัยสุโขทัย ซ่ึงมีอิทธิพลต่อคนไทย
อย่างมาก โดยพระมหาธรรมราชาท่ี ๑ (พญาลิไท) ได้ทรงพระราชนิพนธ์ข้ึนหลังจากที่ทรงผนวชแล้ว และ
ข้ึนครองราชย์ได้ ๖ ปี ประมาณ พ.ศ. ๑๘๙๖ ทรงมีพระประสงค์ที่จะเทศนาโปรดพระมารดา และเพื่อ
จาเริญพระอภิธรรม วรรณคดีเรื่องน้ีมีเน้ือหาเก่ยี วกับคติความเช่ือของชาวไทย ซง่ึ มเี นื้อหาพรรณนาถึงท่ีอยู่
ท่ตี ั้ง และการเกิดของมนุษย์ สัตวน์ รก เปรต อสรุ กาย และเทวดา มกี ารกลา่ วถงึ ภมู ทิ ง้ั ๓ คอื กามภูมิ รูปภูมิ
และอรูปภูมิ ทั้ง ๓ ภูมิ แบ่งออกเป็น ๘ กัณฑ์ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความเปล่ียนแปลงของสรรพสิ่ง ความไม่
แน่นอนท้ังมนุษย์และสตั ว์รวมทั้งส่ิงไม่มีชวี ิต เช่น ภูเขา แม่น้า แผ่นดิน ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ เป็นการสั่ง
สอนผู้ที่จะทาบุญจะได้ขึ้นสวรรค์และผู้ที่ทาบาปจะตกนรก โดยวาดภาพนรกให้น่ากลัวหวาดเสียว คนจะได้
แกรงกลัวต่อบาปไม่อยากตกนรก วาดภาพสวรรค์ให้เป็นแดนสุขารมณ์ คนจะได้ทาบุญเพื่อไปสู่สวรรค์
วรรณกรรมเร่ืองนี้มีอิทธิพลต่อสังคมไทยตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัย กรุงศรีอยุธยามาจนถึงปัจจุบัน เพราะได้
รวบรวมเอาคติความเชื่อทุกแง่ทุกมุมของทุกชนชนั้ หลายเผ่าพันธม์ุ าร้อยเรียงเป็นเรื่องราวให้ผู้อ่านผู้ฟังเกรง
กลัวในการกระทาบาป และเกิดความยินดีในการทาบุญทากุศล โดยใช้วิธเี ปรียบเทียบเรื่องนรก สวรรค์และ
ใหร้ ู้จกั พระพทุ ธศาสนาอยา่ งแท้จริง
เอกสารอา้ งอิง
เสฐียรโกเศศ, เล่าเรื่องในไตรภูม.ิ (กรุงเทพฯ : สานักพมิ พค์ ลงั วิทยา, 2518)
เลขท่ี 41 นางสาวธญั วรตั น์ วรสาร
153
SAMAN ayu utami
ที่มา: https://hmong.in.th/wiki/Saman_(novel)
ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก
วรรณกรรมอินโดนเี ซยี ( SAMAN ayu utami)
วรรณกรรมอินโดนีเซียยุคปฏิรูป การกาเนิดนักเขียนสตรี เป็นการถ่ายทอดปัญหาความไม่เท่าเทียมของ
เพศหญงิ การใช้ภาษาเพือ่ เปน็ การตอ่ สู้ สรา้ งปรากฎการณ์ใหม่แก่วงการวรรณกรรมอินโดนเิ ซยี
อายู อูตามิ ( Ayu Utami) เป็นจุดเร่ิมต้นในการนาเสนอเรื่องเพศวิถี ผลงานที่สร้างช่ือเสียงให้เธอ เรื่อง
สมาน (Saman )ภาษาท่ีใช้ ภาษาอินโดนีเซีย แต่งข้ึนในปี ค.ศ 1998 สมาน จัดเป็นหัวข้อเรื่องเพศท่ีชัดเจน
ซึ่งเป็นข้อห้ามสาหรับนักเขียนสตรีในอินโดนีเซีย เธอเขียน พรรณนาถึงชีวิตของเพื่อนผู้หญิงสี่คนที่มีอิสระ
ทางเพศและอดีตนักบวช เก่ยี วกบั เร่ืองเหนือธรรมชาติและความลึกลับ เลา่ ประสบการณ์ส่วนตวั การสูญเสีย
ศาสนา รวมถึงการสะท้อนการทาลายล้างของอานาจนิยมทางการเมือง แสดงถึงความกระสับกระส่ายและ
ความวติ กกงั วล
เอกสารอา้ งอิง
Ayu Utami. (1998). Saman. สืบคน้ 19 สงิ หาคม 2564, จาก
https://hmong.in.th/wiki/Saman_(novel)
เลขที่ 45 นางสาวธรี ดา สกุณา
155
The raid 2011
ที่มา: https://www.sanook.com/movie/32299/
ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก
วรรณกรรมอินโดนเี ซีย( The raid 2011)
หนังแอค็ ชน่ั อินโดนีเซยี เขยี นกากบั โดยเวลส์อานวยการสรา้ งภาพยนตร์แกแร็ธ อแี วนส์ ภาพยนตรเ์ รื่องน้ี
นาแสดงโดย lko Uwais
หลังจากท่ีเปิดฉายในบ้านเกิดของ THE RAID REDEMPTION (ฉะ! ทะลุตึกนรก) สร้างความเซอร์ไพร์ส
จนกลายเป็นหนังฮิตและทาเงินสูงสุดที่ออกฉาย และยังได้คาวิจารณ์ว่าเป็นหนังแอ็คชั่นที่ยอดเย่ียมต้ังแต่มี
มา "น่ีคือหนังแอ็คชั่นพันธุ์ระห่าในรอบ 10 ปีท่ีผ่านมาท่ีดีท่ีสุด" ในท่ีสุดก็เตะตาและโดนใจให้กับผู้จัด
จาหน่ายในอเมริกาอย่าง โซนี่ พิคเจอร์ส คลาสสิค ที่เคยนา Crouching Tiger, Hidden Dragon (พยัคฆ์
ระห่ามงั กรผยองโลก) และ Kung Fu Hustle (คนเล็กหมัดเทวดา) เปดิ ตลาดทว่ั โลกมาแลว้
เร่ืองราวของ จากา นายทหารผู้ไม่ใส่ใจกับลาภยศหรือตาแหน่งสูงๆ เขาเป็นทหารผู้อุทิศตนเพื่อต่อสู้กับ
อาชญากรรม จากาเป็นทหารผู้ผ่านประสบการณ์ตา่ งๆ ท่ีซึ่งเขาได้เห็นเพ่ือนร่วมทมี ได้รับบาดเจบ็ จนถงึ ชีวิต
หรือถูกยิงตายต่อหน้าต่อตาเขา เขาเคยทาผิดพลาดมาแต่เขาก็ประสบความสาเรจ็ ด้วยเช่นกัน แสดงให้เห็น
ว่าเขารู้วา่ เขาทาอะไรอยแู่ ละเขาต้องทาอะไร ดงั น้นั การบกุ อาคาร 30 ช้ันก็ไม่ใช่เรื่องใหมส่ าหรบั เขา จาการู้
ดีว่าการบุกอาคารแหง่ นีเ้ ป็นเรอ่ื งเส่ียงอันตรายอยา่ งมาก เขาก็เลยอยากทาให้แน่ใจว่าลกู ทีมทั้งหมดของเขา
จะรอดชวี ติ จากภารกิจนน้ี ะ่ เพราะหนทางขา้ งหนา้ คอื อาชญากรตัวพ่อที่โฉดและโหดเป็นอยา่ งทส่ี ดุ
เอกสารอา้ งอิง
The Raid – Q+A กับ Director & Star" . ดจิ ทิ อลฟิกซ์ . 18 พฤษภาคม 2555. เกบ็ ถาวรจาก
ต้นฉบบั เมื่อ 14 กรกฎาคม 2557
เลขที่ 46 นางสาวธีรวรรณ แจงบารุง
157
ถึงแกน่ เรอ่ื งเลา่ จากโรงพยาบาล
ทีม่ า: https://images-se-
ed.com/ws/Storage/PDF/978616/042/9786160425174PDF.pdf
ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก
วรรณกรรมฟลิ ิปปนิ ส(์ ถงึ แกน่ เรอื่ งเลา่ จากโรงพยาบาล)
โรมูโล พี. บาควิราน จูเนียร์ นักเขียนซีไรต์จากประเทศฟิลิปปินส์ เขาได้ตัดสินใจเขียนเล่าประสบการณ์
การรักษาตัวในโรงพยาบาลของเขา หลังเขาพลัดตกลงมาจากรถสองแถวจนข้อเท้าหักและฝ่ามือมีแผลฉีก
ขาด ทาให้โลกใบเดิมของเขาพลิกคว่า เขากลายเป็นผู้ปว่ ยทุพพลภาพ ทาให้ขาท้ังสองข้างเดินไม่ได้ และ
มือซา้ ยใชก้ ารได้ขา้ งเดียว ทางทีเ่ คยเดินทกุ วนั ทาใหเ้ ขาคิดวา่ เปน็ ระยะทางทีไ่ กลแสนไกล
ถึงแก่น เรื่องเล่าจากโรงพยาบาล จะเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับสภาพจริงของผู้ป่วยและส่ิงท่ีเขาค้นพบระหว่าง
สองเดือนท่ีเขาไม่สามารถเดินได้ และอีกหนึ่งเดือนกับการทากายภาพบาบัด ทาให้ผู้เขียนค้นพบว่าโลกน้ีมี
ส่ิงทีด่ แี ละไม่ดีไมว่ า่ จะเปน็ หมอ ญาติ คนรอบตัว เช่น หมอทด่ี ีและหมอที่ไมด่ ี ญาติทจ่ี ริงใจและไม่จรงิ ใจ ทา
ให้เขารู้จักยอมรับความช่วยเหลือจากคนรอบข้างและตระหนักว่าการได้เดินด้วยตนเองน้ันคือสิ่งมหัศจรรย์
เพยี งใด
เอกสารอ้างองิ
Romulo P. Baquiran Jr. (2556). To the Marrow: Hospital Diary and other Essays (พิมพ์
ครงั้ ที่ 1). H.N. Group: นานมีบุ๊คสพ์ ับลิเคชั่นส.์
เลขท่ี 47 นางสาวนภสร โสมเมา
159
The Art of Charlie Chan Hock Chye
ทีม่ า: https://wikipang.com/wiki/Singaporean_literature
https://epigrambookshop.sg/products/charlie-chan-hock-chye
https://www.straitstimes.com/lifestyle/arts/sonny-liews-acclaimed-
comic-the-art-of- charlie-chan-hock-chye-climbs-amazoncom-and
ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก
วรรณกรรมสงิ คโปร(์ The Art of Charlie Chan Hock Chye)
วรรณกรรมสิงคโปร์ส่วนใหญจ่ ะถูกแปลเปน็ ส่ีภาษาราชาการ ไดแ้ ก่ ภาษาองั กฤษ ภาษมาเลย์ มาตราฐาน
โรงแรมแมนดารินและทมิฬ ในสิงคโปร์วรรณกรรมถือได้ว่าเป็นท่ีอยู่ของวรรณคดีภาษาเฉพาะของชาว
สงิ คโปร์ เปน็ มุมมองทต่ี ่างกันของวรรณกรรมจติ ซึ่งถอื ไดว้ า่ เปน็ ประเทศที่มคี วามอสิ ระทางวรรณกรรมอย่าง
มาก และส่วนมากจะมีวรรณกรรมประวัติของประเทศ หรือ ชุมชนที่ตนอาศัยอยู่ มีการเล่าเรื่องต่างๆเป็น
ส่วนใหญ่ วรรณกรรมสิงคโปร์เร่ิมสร้างชื่อเสียงในเวทีระดับนานาชาติ โดยนิยายภาพเรื่อง The Art of
Charlie Chan Hock Chye ของ ซันน่ี หลิว ตีพิมพ์ในปี 2015 เป็นภาพขาวดา บอกเล่าเร่ืองราวของ
Charlie ตัวละครสมมติ ในช่วงยุคอาณานิคมจนถึงปัจจุบันบรรยายสถานการณ์ทางการเมืองในสมัยน้ัน
สะท้อนให้เห็นการเปล่ียนแปลงทางการเมืองและเศรษฐกิจในยุคสมัยนั้น ซึ่งเป็นผลงานชิ้นเอกและแรง
บันดาลใจความรักท่ีมีจุดมุ่งหมายเพ่ือจะดึงภาพออกมาเล่าเร่ืองของศิลปิน และวรรณกรรมเรื่องนี้ได้รับ
รางวัลEisner Awardsสามรางวัลและรางวัล Pingprisen สาขา Best International Comic ในปี 2017
และเปน็ หนังสอื การ์ตูนเล่มแรกทไี่ ดร้ บั รางวลั Singapore Literature Prize 2016
เอกสารอ้างอิง
Chong, Alvin (11 May 2016). "Singapore Book Awards: The Art of Charlie Chan Hock
Chye wins Book of the Year". Channel NewsAsia. Retrieved 6 March 2018.
"The Art of Charlie Chan Hock Chye - Epigram Books". Epigram Books.
เลขที่ 48 นางสาวนรมน ประกอบธรรม
161
สว่ นสรุป
จากตัวอย่างวรรณกรรมของ อุษาคเนย์-แปซิฟิก(เอเชียตะวันออกเฉียงใต้) แต่เดิมเรื่องแต่ง
ต่างๆมักนามาจากการดารงชีวิตการเป็นอยู่แลดารเอาตัวรอดของมนุษย์แต่เดิมเรื่องแต่งไม่มีแบบ
แผนที่แน่นอนแต่พอเมื่อสังคมไดม้ ีการพัฒนาเจริญก้าวหน้าการแต่งเรื่องต่างๆก็เริ่มพัฒนาตามขึ้น
ไปเร่ือยๆตามสภาพสังคมท่เี ปลี่ยนแปลง ทั้งในรปู แบบของนิทาน นิทานพ้ืนบา้ น หรอื เพลงพื้นบ้าน
ต่างๆ และต่อมา ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้-เอเซียแปซิฟิกได้เริ่มรับอิทธิพลมาจาก
วัฒนธรรมอินเดียและจีน แต่เนื่องด้วยในภูมิภาคท่ีอยู่ในระหว่างอารายธรรมทั้งสองอารยธรรม
ดังกล่าวจงึ ไดน้ าวรรณคดหี ลายๆเรื่องนามาดัดเเปลงเรื่องราวเกือบท้ังหมดหรือแค่บางส่วน ท้ังจาก
เร่ืองที่เขียนในภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต และภาษาจีน โดยได้นาเรื่องท่ีเป็นที่ติดหูหรือที่รู้จักของ
จีนและอินเดียนามาปรับใหม่โดยผู้ที่นามาปรับใหม่คอื พระมหากษัตริย์ ขุนนาง หรือ พระสงฆ์ ใน
สมัยน้ัน ต่อมา ในศตวรรษที่ 19 อิทธิพลของชาติตะวันตกเร่ิมแผ่ขยายมายังภูมิภาคต่างๆ และ
ได้มาแทนท่ีวัฒนธรรมเดิมท่ีมีอยู่จากระบอบจักรวรรดินิยมเร่ิมส่งผลให้มีการรณรงค์วรรณกรรม
ไม่ให้สาปสูญหายไปตามกาลเวลาในหลายๆประเทศ ท่ีต้องรณรงค์วรรณกรรมไว้เพื่อเป็นการ
อนุรักษ์ให้แกค่ นรุน่ หลงั ได้เรยี นรตู้ ่อไป
วรรณกรรมเวียดนาม ได้รับอิทธิพลจากประเทศจีนในเรื่องวัฒนธรรมและภาษา เคยมีการใช้
อักษรจ๋ือโนมในคริสต์ศตวรรษที่ 14 ต่อมา ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ได้มีการใช้อักษรโรมัน
แทนทอ่ี ักษรจนี ในภาษาเวียดนาม
วิวัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก
วรรณคดีไทย พม่า และกัมพูชา ต่างได้รับอิทธิพลมาจากพุทธศาสนานิกายเถรวาท รวมถึง
อิทธิพลจากประเทศอินเดีย ในคริสต์ศตวรรษที่ 13 มีการประดิษฐ์ตัวอักษรและได้ถูกนามาใช้ใน
งานวรรณกรรม ในอดีตจนถึงปัจจุบัน พระมหากษัตริย์ ราชวงศ์ และเหล่าเจ้านาย ต่างสร้างสรรค์
ผลงานด้านวรรณศิลป์ไว้เป็นจานวนมาก ในขณะเดียวกัน ประชาชนส่วนมากก็ได้รับรู้ถึงงาน
วรรณกรรมอย่างแพร่หลาย รวมถึงช่วงคริสต์ศตวรรษท่ี 19 ได้มีผลงานสาคัญจากประเทศจีน เร่ิม
รจู้ กั กนั มากขน้ึ และเริ่มมกี ารแปลในรูปแบบบทร้อยแกว้ ในเวลาตอ่ ม
163
ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก
บทที่ 5
ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรม
อาหรบั อนาโตเลีย-เอเชียไมเนอร์
ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก
ส่วนนา
ทวีปเอเชยี เป็นทวีปทใี่ หญ่และมปี ระชากรมากทส่ี ดุ ในโลกตั้งอย่รู ะหวา่ งซกี โลกเหนือและตะวันออก มี
ประเทศที่อยู่ในทวีปเอเชียทั้งหมด 47 ประเทศ แบ่งภูมิภาคออกได้เป็น เอเชียเหนือ เอเชียกลาง เอเชีย
ตะวันตกเฉยี งใต้ เอเชยี ใต้ เอเชยี ตะวนั ตกเฉียงใต้ เอเชยี ใต้ เอเชยี ตะวนั ออก เอเชียตะวันออกเฉยี งใต้
ซ่ึงอาหรับ เป็นดินแดนท่ีอยู่ในเอเชียตะวันออกกลาง ต้ังอยู่ระหว่าง 3 ทวีป คือ ยุโรป แอฟริกา และ
เอเชีย ภูมิภาคน้ีเป็นแหล่งกาเนิดอารยธรรมโบราณที่สาคัญ คือ อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมอิยิปต์
และอารยธรรมอิสลามท่ียังคงอยู่ถึงปัจจุบัน แล้วยังเป็นแหล่งกาเนิดศาสนาท่ีสาคัญ คือ ศาสนาคริสต์ อิสลาม
และยูดายหรือยิว นอกจากนชี้ าวตะวันออกกลางสว่ นใหญ่มีเชอื้ สายอาหรบั
ภาษาอาหรับเคยเปน็ ภาษากลางท่ีมีบทบาทต่อศาสตร์สาคัญตา่ งๆมากมาย ทง้ั ภาษาแห่งวิทยาศาสตร์
บทกวี วรรณกรรม การเมืองการปกครอง และภาษาแห่งศิลปะ รวมถึงมีการหยิบเอาตาราภาษากรีก ภาษา
โรมัน และตาราโบราณอื่นๆในด้านวิทยาศาสตร์ ปรัชญาและวรรณกรรมมาแปลเป็นภาษาอาหรับ และหนึ่งใน
วทิ ยาการทีโ่ ดดเด่นและล้าสมัยทสี่ ุดคือศาสตรแ์ หง่ ดวงดาวหรือดาราศาสตร์ ศาสตร์อีกแขนงท่ีโดดเด่นและเป็น
ท่ีรู้จักท่ัวโลกคือ ศาสตร์แห่งงานศิลป์ มีหนึ่งในรูปแบบงานศิลปะท่ีได้รับการบูรณะคืองานอักษรวิจิตร ที่มีการ
ผสมผสานระหว่างตัวอักษรกับรูปแบบของธรรมชาติและรูปทรงเรขาคณิต อีกทั้งยังมีตัวเลขอาหรับหรือท่ีรู้จัก
กันดี คอื ตัวเลขอารบิค เปน็ ตัวเลขทย่ี ังคงแพร่หลายมาถงึ ปจั จบุ นั
ต่อไปคือวรรณกรรมอาหรบั ที่เกิดขึ้นในช่วงศตวรรษที่ 5 โดยมีเพียงเศษเส้ยี วของภาษาเขียนทป่ี รากฎ
ก่อนหน้าน้ัน ซึ่งมีคัมภีร์อัลกุรอานท่ีได้รับการยกย่องอย่างกว้างขวางว่าเป็นชิ้นส่วนท่ีดีที่สุดของวรรณกรรมใน
ภาษาอาหรับ
อนาโตเลีย – เอเชียไมเนอร์ เป็นดินแดนที่อยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ อยู่ระหว่างทะเลดา
และทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ดินแดนในปัจจุบันคือ ปาเลสไตน์ ตุรกี และซีเรีย มีอารยธรรมเก่าแก่ท่ีสาคัญ คือ
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย และอารยธรรมอิยิปต์ ซ่ึงก่อให้เกิดชนชาติที่เก่าแก่ ได้แก่ ฟินิเชียน ฮีบรู และเปอร์
เชยี และมีศาสนาที่เกิดขึ้น คอื ศาสนายูดาย คริสต์ อสิ ลาม และศาสนาโซโรแอสเตอร์
167
ชาวฟินิเชียนได้มีการดัดแปลงแก้ไขอักษรไฮแรติกของอิยิปต์และอักษรล่ิม หรือคูนิฟอร์มของชาวสุเม
เรียน มาเปน็ อกั ษรแอลฟาเบต ซ่งึ ไดม้ าเปน็ ตน้ แบบของอกั ษรกรีก และไดม้ ีการพฒั นามาเป็นตวั อักษรฮบี รู
ส่วนภาษาของอนาโตเลียที่รู้จักกันดี คือ ภาษาฮิตไทต์ ซ่ึงมาจากต้นตระกูลของภาษาอินโด-ยูโรเปยี น
และยังมีภาษาลูเวีย ท่ีเป็นภาษาใกล้เคียงกับภาษาฮิตไทต์ แบ่งเป็น ภาษาลูเวียอักษรรูปล่ิม และภาษาลูเวียไฮ
โรกลิฟ ซึ่งทั้งหมดน้ถี ูกจดั ว่าเป็นภาษาท่ตี ายแลว้ เป็นภาษาทีส่ ูญหายไปประมาณ 557 ปกี ่อนพุทธศักราช
วรรณกรรมในอนาโตเลียส่วนใหญ่จะพบในตุรกี ซึ่งได้รับอิทธพลมาจากเปอร์เซียและวรรณ กรรม
อาหรบั วรรณกรรมจะแบง่ ออกเปน็ 3 ยคุ คอื กอ่ นอิสลาม - อิสลาม - สมัยใหมห่ รือก่อนออตโตมัน กวนี ิพนธ์ท่ี
โดดเด่นในวรรณกรรมออตโตมัน คอื กวนี พิ นธ์ Divan-I Kebir ทีเ่ ขียนในภาษาเปอรเ์ ซยี
วิวฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก
ตวั อยา่ งภาษาอาหรับ อนาโตเลีย - เอเชียไมเนอร์ ท่สี ูญหาย
ได้แก่ ภาษาอาหรับซิรวาน และภาษาฮิตไทต์
169
ตัวเลขอาหรับ หรือตัวเลขอารบิค
ท่ีมา: http://ansorimas200.blogspot.com/2014/03/blog-post_26.html
วิวัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก
ตัวเลขอาหรบั หรือตวั เลขอารบิค
เป็นสัญลักษณ์ตัวเลขท่ีนิยมใช้กันมากท่ีสุดในโลก และนับว่าเป็นส่วนสาคัญในชีวิตประจาวัน มีหลักฐานเกิด
ริเร่ิมเปน็ กาหนดนับแพร่หลายมาถงึ ปจั จบุ ัน จากนักปราชญ์แหง่ อาหรบั ชาวแบกแดด (อริ กั ) ชือ่ มฮุ มั มดั อบิ น์
มูซา อัลคอวาริซมีย์ ซึ่งมีช่วงชีวิตในประวัติศาสตร์ราว ปี ค.ศ. 780 ถึง 840 (เฉพาะเลข 0 ว่าด้ังเดิมเกิดจาก
นักปราชญ์อารยธรรมอินเดีย) เป็นนักปราชญ์วิทยาการท่ีชอบแปลหนังสือภาษากรีก และสนใจด้าน
คณิตศาสตร์ ส่ิงที่เขาทาคือการอธิบายคณิตศาสตร์และตัวเลขให้เข้าใจง่าย เพื่อประโยชน์และความจาเป็น
ท่ัวไป สาหรับคนท่ัวไปในงานช่างและการคานวณ การแบ่งทรัพย์สิน การจัดการมรดกและมอบทรัพย์สินให้
ตามพินัยกรรม การฟ้องร้อง การค้าขาย การวัดที่ดิน และตลอดถึงการทาบัญชี เพ่ือบรรลุเป้าหมายดังกล่าว
อัลควาราซมีย์ เสนอสมการที่แก้ไขได้ ด้วยมาตรการและมาตรฐานทางตัวเลข เขากาหนดให้มีเลข 0 และ
ตัวเลขอาหรบั ตวั เลขอาหรบั ประกอบไปดว้ ย 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
พีชคณิต มาจากชื่อหนังสือของ อัล-ควาริศมี ท่ีชื่อ อัล-จาบัรฺ วา มูกับบาลา เนื้อหาจานวนมากในหนังสือเล่มนี้ยงั ใช้กันอย่ใู น
วงการคณิตศาสตร์ปัจจุบัน งานของนักคณิตศาสตร์มุสลมิ ถูกนาไปสู่ยุโรปใน 300 ปีถัดมาโดย ไฟโบนาชี นักคณิตศาสตร์อิตา
เลยี น สว่ น อลั กอรธิ ึม และสว่ นใหญข่ องทฤษฎตี รโี กณมิติ กม็ าจากโลกมสุ ลิม อลั ควาริศมี ได้แต่งตาราคณติ ศาสตรอ์ กี เลม่ หนง่ึ
ซ่ึงต้นฉบับภาษาอาหรับหายไป มีฉบับแปล ภาษาลาตินชื่อ "Algoritmi de numero Indorum" เป็นภาษาอังกฤษว่า "Al
kawarizme on the Hindo Art of Reckoning" ซ่ึงเป็นท่ีมาของคาว่า อัลกอริธึม (Algorithm = alkawarizm) ท่ีหมายถึง
ข้ันตอนวิธีการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ส่วนอัล-คินดี คิดค้นการวิเคราะห์ความถี่เพ่ือใช้ถอดรหัสลับในโลกโบราณและเป็น
พน้ื ฐานของการเขียนรหสั ในโลกปัจจุบัน
เอกสารอา้ งอิง
ดาบแหง่ อลั เลาะห์ อะคาเดม่ี. (2557). กาเนดิ เลขอารบิค. สบื ค้น 20 สงิ หาคม 2564,
จาก http://ansorimas200.blogspot.com/2014/03/blog-post_26.html
เลขท่ี 49 นางสาวนราวรรณ เที่ยงธรรม
171
อกั ษรคนู ฟิ อรม์ หรืออักษรรปู ลมิ่ จดุ กาเนิดของการพัฒนาการเขียนอักษรภาพ
ทม่ี า: https://www.wadnumpu.ac.th/อกั ษรคูนิฟอรม์ /
ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก
อักษรคูนฟิ อรม์ หรอื อักษรรปู ลิม่ จุดกาเนดิ ของการพฒั นาการเขียนอักษรภาพ
อกั ษรคนู ิฟอรม์ ในสมัยกอ่ นผคู้ นสอื่ สารโดยใชค้ าพูดแบบปากต่อปากเท่านั้น ตอ่ มาในช่วงอารยธรรมเมโสโป
เตเมีย ชนเผา่ สเุ มเรยี นไดก้ าเนดิ รูปแบบตัวอกั ษรแบบแรกขน้ึ คอื อกั ษรคนู ฟิ อร์ม มที ่มี าจาก “Cuneus” ใน
ภาษาละตินท่มี ีความหมายว่า “ล่ิม” มีการเขยี นอักษรคนู ิฟอรม์ โดยการใชแ้ ผ่นดินเหนียวและก้านอ้อ
ชาวสเุ มเรียนไดป้ ฏิรปู การเขียน เดิมเขียนตรงจากบนลงล่าง แต่ตอ่ มาถกู เปลี่ยนจากซา้ ยไปขวาในแนวนอน
ทาให้สัญลักษณ์รูปลิ่มท้ังหมดเปล่ียนเป็น 90 องศาและเปลี่ยนจากต้ังตรงเป็นนอนราบ ซ่ึงช่วยลดความ
ซับซ้อนของอักษรภาพ ในทางกลับกันมันจะเพ่ิมความหมายของสัญลักษณ์ เช่น สัญลักษณ์ของเท้า อาจ
หมายถึงยืนหรือเดิน ท้ังนี้ลักษณะของอักษรคูนิฟอร์ม มี 2 แบบด้วยกัน คือ แบบแผ่นแบน เป็นที่แบบท่ีใช้
ในการนับทางเกษตรกรรม และแบบแผ่นซ้อน ใช้บันทึกเกี่ยวกับสินค้าแปรรูป คูนิฟอร์มถูกใช้มาเป็น
เวลานาน จนกระทั่งได้มีรูปแบบอักษรรูปแบบใหม่ข้ึน คือ รูปแบบอักษรฟินิเชีย และทาให้อักษรคูนิฟอร์ม
เริ่มเลือนหายไป อักษรคูนิฟอร์มถูกนามาเผยแพร่ให้ผู้คนปัจจุบันได้รู้อีกคร้ังโดยการพบหลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์ คือ กฎหมายฮัมมูราบีที่ถูกร่างกฎหมายโดยพระเจ้าฮัมมูราบี ซึ่งใช้ตัวอักษรคูนิฟอร์มในการ
ร่างกฎหมายฯ จึงทาให้อักษรคนู ิฟอร์มไดม้ ีการเผยแพร่ออกมาให้คนในยคุ ปจั จบุ ันไดร้ ูจ้ กั อักษรคนู ิฟอร์ม
เอกสารอ้างอิง
โรงเรียนวดั น้าพ.ุ (2564). อักษรคูนิฟอร์ม หรืออักษรรปู ลม่ิ จุดกาเนดิ ของการพัฒนาการเขยี น
อกั ษรภาพ. สบื ค้น 20 สิงหาคม 2564, จาก https://www.wadnumpu.ac.th/อกั ษรคนู ฟิ อรม์ /.
เลขท่ี 50 นางสาวนริศรา อนิ สวา่ ง
173
อักษรเฮียโรกลฟิ ฟิก (Hieroglyphic)
ท่ีมา : http://worldcivil14.blogspot.com/2014/12/hieroglyphics.html
ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก
อักษรเฮยี โรกลฟิ ฟิก
เป็นอกั ษรภาพอย่างหน่ึงของอียิปตโ์ บราณ ถกู คน้ พบจากแท่งหินโรเซ็ตตา ซงึ่ เปน็ ศิลาจารึกเรื่องราวต่างๆ ของ
อารยธรรมอยิ ิปต์ ในปีค.ศ.1799 บนศิลาจารกึ นน้ั จะมจี ารึกเป็นอกั ษร 3 ภาษา คือ อักษรเฮียโรกลิฟฟิก อกั ษร
เดโมติก และอักษรกรีก ข้อความบนศิลาจารึกขึ้นเพ่ือเป็นเกียรติแด่ฟาโรห์ปโตเลมีท่ี 5 เมื่อประมาณ 196 ปี
ก่อนคริสต์ศักราช และหลังจากการค้นพบ 25 ปีต่อมา นักปราชญ์ชาวฝร่ังเศสท่ีช่อื ฌอง-ฟรองซัว ชองโปลิอง
เป็นผู้ที่สามารถถอดความหมายของอักษรเฮียโรกลิฟฟิกได้สาเร็จ สรุปได้ว่า อักษรเฮียโรกลิฟฟิกสะกดคา โดย
ถือเสียงเป็นเกณต์ และตวั อักษรจรงิ ๆ แล้วมเี พียงแค่ 66 ตวั ท่ีใชป้ ระสมเปน็ คา ซง่ึ แทนเสยี งพยญั ชนะและสระ
ในภาษาพดู และอักษรบางตัวก็ใช้ซ้าๆกัน ลักษณะการเขียนอักษรเฮียโรกลิฟฟิกนั้นเราสามารเขยี นไปได้หลาย
แบบ และหลายทิศทาง ไม่ว่าจะเป็นทั้งแนวนอน จากซ้ายไปขวาหรือจากขวาไปซ้าย แนวตั้งจากบนลงล่าง
และการบอกทิศทางของอักษรเฮยี โรกลิฟฟกิ น้นั เราจะสังเกตจากการหนั หน้าของรูปคนหรือสตั ว์ ซงึ่ จะหันหน้า
เข้าหา จดุ เร่ิมต้นของเสน้ เสมอ ซ่ึงวิธกี ารเขยี นชอ่ื เฉพาะทเ่ี ป็นนามบุคคลดว้ ยอักษรภาพเฮยี รกลิฟฟิก (ซึง่ จากัด
เฉพาะฟาโรห์และราชวงศ์เท่านั้น) จะเขียนอยู่ในกรอบรูปวงรีที่เรียกว่า คาร์ทูช ใช้สัญลักษณ์ 700 ตัว ในยุค
กรกี -โรมนั ใช้สัญลกั ษณม์ ากกวา่ 5,600 ตวั
เอกสารอา้ งองิ
ชลติ า สทุ ธธิ รรม. (2014). เฮยี โรกลิฟฟกิ (Hieroglyphics). สืบค้น 20 สิงหาคม 2564,
จาก http://worldcivil14.blogspot.com/2014/12/hieroglyphics.html
เลขท่ี 51 นางสาวนรีกานต์ จอมพูล
175
กระดาษปาปริ สุ
ทมี่ า: https://en.wikipedia.org/wiki/Papyrus
ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก
กระดาษปาปริ สุ
กระดาษชนิดแรกของโลก ทามาจากต้นกก ที่มีความยืดหยุ่นและคงต่อสภาพอากาศอันแห้งแล้งของอียิปต์
ได้ดี อียิปต์ใช้บันทึกข้อความสรรเสริญเทพเจ้าและเหตุการณ์ต่างๆในสมัยอียิปต์ โบราณ ว่ากันว่าได้มีการ
ประดษิ ฐ์อกั ษรลงบรกระดาษปาปริ ุสท่ีเรยี กกันวา่ ตัวอกั ษรฮโี รกราฟฟิก หรอื รจู้ ักกนั คือ อกั ษรภาพของชาว
อียิปต์นั่นเอง นักโบราณคดีไม่สามารถชี้ชัดลงไปได้ว่ากระดาษปาปิรุสน้ีมีมาตั้งแต่เม่ือไหร่ เท่าท่ีมีอยู่ทราบ
เพียงว่า ปาปิรุสได้ถูกนามาใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวาง เช่น นามาเป็นเช้ือเพลิง สร้างบ้าน ต่อเรือ สาน
ตะกร้า ตลอดจนตัดเย็บเสื้อผ้าโดยเฉพาะศิลปหัตถกรรมที่ทากระดาษจากต้นปาปิรุส นี้ถือเป็นความลับสุด
ยอดกว็ ่าได้ เน่ืองจากเปน็ หน่วยงานท่ีอย่ภู ายใตก้ ารควบคุมดแู ลอย่างใกลช้ ิดของเจ้าหนา้ ที่ซึ่งองค์ฟาโรห์ทรง
แตง่ ตั้ง ทาเปน็ อตุ สาหกรรม ชาวบ้านจึงเรียกวา่ ปะ – ปี๋ – รา่ หมายถึงกิจการท่เี ป็นขององค์ฟาโรห์ แตช่ าว
กรีกโบราณออกเสียงเพี้ยนเป็นปาปิรัส แล้วคาคาน้ีแหละ ก็แผลงมาเป็น เปเปอร์ หรือกระดาษในปัจจุบัน
นเ่ี อง
เอกสารอ้างองิ
Pornphanh. (2013). กระดาษปาปิรุส กระดาษชนดิ แรกของโลก. สืบค้น 20 สิงหาคม 2564
จาก https://teen.mthai.com/variety/62144.html
เลขท่ี 52 นางสาวนฤมล ปรีชา
177
The Noble Qur'an (คมั ภีรอ์ ัลกรุ อาน)
ที่มา: https://th.wikipedia.org/wiki/อัลกุรอาน
ววิ ัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก
คมั ภีร์อัลกุรอาน
คัมภีร์อัลกุรอาน หรือโกหร่าน โก้หร่าน เป็นคัมภีร์สาหรับผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามโดยชาวมุสลมิ เชื่อว่าพระ
วจนะของอัลลอฮ์ท่ีประทานผ่านทางเทวทูตญิบรีลมาสู่นบีมุฮัมมัด ชาวมุสลิมเชื่อว่าคัมภีร์อัลกุรอานนี้ก็เปน็
คัมภีร์สุดท้ายที่อัลลอฮ์ได้ส่งมาให้แก่มวลมนุษยชาติ หลังจากนี้แล้วจะไม่มีคัมภีร์ใดๆจากพระเป็นเจ้าอีก คา
ว่า กรุ อาน มาจากรากศพั ท์ในภาษาอาหรบั แปลวา่ การอา่ น หรอื อาขยาน ใช้ภาษาอาหรบั ในการเรียบเรียง
คัมภีร์อัลกุรอาน คัมภีร์น้ีถูกจัดทาโดยท่านศาสดามุฮัมมัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม เมื่อ 1,400 ปีก่อน
ซ่งึ ในคัมภรี ม์ ีซูเราะฮ์(บท) ทั้งหมด 114 ซเู ราะฮ์(บท) และในคมั ภรี น์ ้นั จะมีอายะห์(สัญลกั ษณ)์ รวมกนั ทั้งหมด
6,236 อายะห์(สัญลักษณ์) การศรัทธาในคัมภีร์อัลกุรอานทั้งเล่มเป็นหลักการหนึ่งท่ีชาวมุสลิมทุกคนต้อง
ศรัทธา หากไม่ศรัทธาในคัมภีร์อัลกุรอานหรือศรัทธาเพียงบางส่วนก็จะเป็นมุสลิมไม่ได้ โดยเนื้อหาด้านใน
แบง่ ได้3หมวดคอื 1.หลักการศรทั ธาตอ่ พระผู้เป็นเจ้า ความเรน้ ลับที่มอี ย่ใู นและนอกกาลเทศะ 2.พงศาวดาร
ของประเทศชาติก่อนหน้าการประกาศอิสลามและคาพยากรณ์สาหรับอนาคต 3.นิติบัญญัติสาหรับมนุษยท์ ่ี
จะต้องนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ซ่ึงคัมภีร์อัลกุรอานแท้จริงมีจุดประสงค์เพ่ือให้ชาวมุสลิมดาเนินชีวิตและ
ปฏิบัติตนให้เป็นไปตามหลักศาสนาอิสลาม เรียนรู้ความเป็นมาของศาสนาอิสลาม ยึดม่ันในศาสนาอิสลาม
ของตน
เอกสารอา้ งอิง
วกิ ิพเี ดีย สารานุกรมเสรี. (2564). อลั กุรอาน. สืบคน้ 18 สงิ หาคม 2564
จาก https://th.wikipedia.org/wiki/อลั กรุ อาน
เลขท่ี 53 นางสาวนนั ท์นภสั ประคองแก้ว
179
อาหรับราตรี (One thousand and One nights)
ที่ม: https://th.wikipedia.org/wiki/อาหรับราตรี
วิวฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก
อาหรับราตรี
อาหรับราตรหี รือพนั หนึ่งราตรเี ปน็ งานรวบรวมนยิ ายและนิทานพ้นื บ้านตะวันออกกลางและเอเชียใตซ้ ึ่ง
รวบรวมไวเ้ ปน็ ภาษาอังกฤษระหว่างยคุ ทองของอสิ ลาม ซ่ึงฉบับภาษาอังกฤษฉบบั แรก (ค.ศ. 1706) ใชช้ ่อื
เรอื่ งว่า ความบนั เทิงอาหรบั ราตรี (The Arabian Nights' Entertainment) งานดังกลา่ วมีการรวบรวมเปน็
เวลาหลายศตวรรษโดยมผี ูป้ ระพันธ์ ผู้แปลและนักวิชาการต่าง ๆ ทั่วเอเชยี ตะวนั ตก เอเชยี กลางและเอเชยี
ใตแ้ ละแอฟรกิ าเหนือ ตัวนิทานเองสบื ย้อนไปถึงตานานพ้ืนบา้ นวรรณกรรมอาหรับ เปอร์เซีย เมโสโปเตเมีย
อนิ เดียและอียิปตโ์ บราณและสมยั กลางโดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ นิทานหลายเรอื่ งเดิมเป็นนยิ ายพ้นื บา้ น บางเร่ือง
สมั พนั ธอ์ ยา่ งกวา้ งขวางมากกับอาหรบั ราตรี โดยเฉพาะ "ตะเกยี งวิเศษของอะลาดนิ " "อาลีบาบากับโจรสี่สิบ
คน" และ "การเดินทางเจด็ เท่ียวของกะลาสซี นิ แบด" แมว้ ่าแทบเปน็ นทิ านพ้ืนบ้านตะวนั ออกกลางของแท้
คอ่ นข้างแน่นอน แตม่ ใิ ช่ส่วนหน่งึ ของอาหรับราตรใี นฉบับภาษาอาหรับดัง้ เดมิ แต่ถกู อ็องตวน ก็อลลอ็ งและ
ผ้แู ปลยโุ รปคนอ่ืนเพ่ิมเขา้ งาน
เอกสารอา้ งองิ
วกิ ิพเี ดีย สารานกุ รมเสรี. (2561). อาหรับราตร.ี สืบค้น 20 สิงหาคม 2564
จาก https://th.wikipedia.org/wiki/อาหรับราตรี
เลขท่ี 54 นางสาวนนั ทน์ ภัสรฌ์ ศรีโคตรมี
181
ภาษาของชนเผ่าอินโด-ยโู รเปยี น
ที่มา: https://artsandculture.google.com/entity/m02pzv0?hl=th
วิวัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสร้างสรรคจ์ รรโลงโลก
ภาษาของชนเผ่าอนิ โด-ยูโรเปยี น
ภาษาอินโด-ยูโรเปียนดั้งเดิมเป็นภาษาท่ีมีวิวฒั นาการมาจากภาษาในคัมภีร์พระเวทของชาวอารยัน ถือเป็น
ภาษาท่ีศักด์ิสิทธิ์ของคนชั้นสูง แต่เดิมน้ันไม่ได้มีการวางหลักเกณฑ์เคร่งครัดนัก ต่อมาเมื่อระยะเวลาล่วงไป
นานๆ ประกอบกับภาษาในคัมภีร์พระเวทนี้มีภาษาพ้ืนเมืองปะปนอยู่มาก เป็นเหตุให้หลักเกณฑ์ต่างๆ ของ
ภาษานี้คลาดเคล่ือนไปมาก จนกระทัง่ ไดม้ นี กั ปราชญข์ องอนิ เดียคนหนงึ่ ได้ศึกษาคมั ภีร์พระเวททั้งหลายแล้ว
นามาแจกแจงวางหลักเกณฑ์ใหเ้ ป็นระเบียบและรัดกุมแต่งเป็นตาราไวยากรณข์ ึน้ เรียกชื่อว่า อษั ฎาธยายี ซ่งึ
ได้ชือ่ ว่าเปน็ ตาราไวยากรณ์เลม่ แรกที่แต่งได้ดีที่สุดและมชี ื่อเสยี งไปทั่วโลก ตอ่ มาได้มีผูเ้ รยี กภาษาทีป่ าณินิได้
จัดระเบียบของภาษาไว้เป็นอย่างดีและสมบูรณ์ท่ีสุดน้ีว่า สันสกฤต ซึ่งแปลตามศัพท์ว่าสิ่งที่ได้จัดระเบียบ
และ ขัดเกลาเรียบร้อยดีแล้ว แต่กฎเกณฑ์ที่ได้วางไว้นี้กลับเป็นสาเหตุหน่ึงท่ีทาให้ภาษาสันสกฤตไม่มี
วิวัฒนาการเหมือนภาษาอื่นๆ เพราะนอกจากภาษาสันสกฤตจะถือว่าเป็นภาษาท่ีศักดิ์สิทธ์ิใช้ในหมู่ของ
นักปราชญ์ โดยเฉพาะกษัตริย์และพราหมณ์ท่ีเป็นบุรุษเพศกฎเกณฑ์และรายละเอียดปลีกย่อยยังทาให้ไม่
เอือ้ ตอ่ การใช้ จึงทาใหภ้ าษาสันสกฤตเปน็ ภาษาตายในทสี่ ุด
เอกสารอ้างอิง
Nordhoff, Sebastian; Hammarström, Harald; Forkel, Robert; Haspelmath, Martin,
บ.ก. (2013). "Indo-European". Glottolog 2.2. Leipzig: Max Planck Institute for
Evolutionary Anthropology. สบื คน้ 20 สิงหาคม 2564 จาก
https://artsandculture.google.com/entity/m02pzv0?hl=th
เลขท่ี 55 นางสาวนิตยา นอ้ ยพันธด์ุ ี
183
ภาษาฮิตไทต์
ท่ีมา: http://realmetro.com/hattusa/
https://hmong.in.th/wiki/Old_Hittite
วิวัฒนาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก
ภาษาฮติ ไทต์
ภาษาฮิตไทต์จัดเป็นภาษาที่สาคัญท่ีสุดภาษาหนึ่งในบรรดาภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียนหรืออินเดีย-ยุโรป ใน
อานาโตเลีย อยู่ในกลุ่มย่อยภาษาอินโด-ฮิตไทต์ ซ่ึงปัจจุบันจัดเป็นภาษาท่ีตายแล้ว ภาษาฮิตไทต์จัดเป็น
ภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปียนรุ่นแรกๆหลักฐานภาษาฮิตไทต์ท่ีรู้จักในเบ้ืองต้น มาจากจารึกอักษรรูปลิ่ม
ประมาณ 25,000 แผ่น หรือเศษจารึก ท่ียังคงเก็บรักษาอยู่ในหอจดหมายเหตุเมืองโบอาซเกย ในประเทศ
ตุรกี เรียกว่า จารึกฮิตไทต์ ส่วนใหญ่จะอยู่ในช่วงจักรวรรดิฮิตไทต์ (ประมาณ 957-647 ปีก่อนพุทธศักราช)
และเป็นเร่ืองเกี่ยวกับศาสนา และอื่นๆ ส่วนจารึกภาษาฮิตไทต์โบราณ (ประมาณ 1650-1595 ปีก่อน
คริสตกาล) น้ัน ยังมีการเก็บเป็นสาเนาไว้จากสมัยจักรวรรดิ และถือเป็นจารึกท่ีเก่าแก่ที่สุดในตระกูลภาษา
อนิ เดียยุโรปท่ีเคยพบมา แม้ว่าอาณาจกั รใหมข่ องฮิตไทต์จะมผี ู้คนจากหลายเชือ้ ชาติและภาษาทห่ี ลากหลาย
แต่ภาษาฮิตไทต์ก็ถูกใช้ในตาราเขียนทางโลกสว่ นใหญ่ ทง้ั ๆทม่ี ขี อ้ โต้แย้งตา่ ง ๆ ซงึ่ แตกตา่ งจากภาษาอินโด -
ยูโรเปียนอ่ืน ๆ ฮิตไทต์ไม่ได้แยกความแตกต่างระหว่างเพศทางไวยากรณ์ของเพศชายและเพศหญิงและยัง
ขาดอารมณท์ ีเ่ สรมิ และเหมาะสมรวมท้งั แง่มมุ มกี ารกาหนดสมมตฐิ านต่างๆเพ่อื อธิบายความแตกต่างเหลา่ น้ี
เอกสารอา้ งอิง
เดวิด คูแกนไมเคิล. (2013). แหล่งสาหรับการศึกษาของพันธสัญญาเดิมนิวยอร์ก. สืบค้น 20
สิงหาคม 2564, จาก https://hmong.in.th/wiki/Hittite_empire
เลขที่ 56 นางสาวนิติยา แพงราษฎร์
185
คัมภรี ์ฮีบรู
ที่มา: https://th.wikipedia.org/wiki/คมั ภีรฮ์ บี รู
ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก
คมั ภีรฮ์ ีบรู
เป็นชุดคัมภีร์ในศาสนายิวที่มีช่ือเรียกว่า คัมภีร์ทานัค ซ่ึงมีทั้งหมด 24 เล่ม โดยคัมภีร์ฮีบรูส่วนใหญ่จะถูก
บันทึกเป็นภาษาฮีบรู ซึ่งในคัมภีร์ฮีบรูน้ันได้แบ่งหมวดหมู่ออกเป็น 7 หมวดหมู่ นั่นก็คือ โทราห์,เนริอีม,เคตู
วิม,ฮูมัช,ซิดดูร์,บียูติม และโซฮาร์ โดยศาสนายิวเชื่อว่าพระยะโฮวาได้ประทานธรรมบัญญัติในหมวดหมู่โท
ราห์ให้กับโมเสสท่ีภูเขาซีนายและชาวยิวยังเชื่อว่าพระเจ้าสร้างโลกและมนุษย์คู่แรกเมื่อประมาณ 4,000 ปี
ก่อนคริสตกาล โดยยังถือว่าโมเสสเป็นศาสดาท่ีให้กาเนิดศาสนายิวเมื่อประมาณ 2,000 ปีก่อนคริสตกาล
และยังมีบุคคลสาคัญ เช่น อับราฮัม อิสอัค ยาโคบ ยูดาห์ ผู้เผยพระวจนะท่านอื่น ๆ อีกจานวนมาก ซ่ึง
ศาสนายิว เป็นศาสนาท่ีเน้นการบูชาพระเจ้าองค์เดียว ซึ่งได้แก่ พระยะโฮวา และชาวฮีบรูเป็นประชาชนที่
พระองค์ได้เลือกสรรแล้ว (God’s chosen people)ความผูกผันได้บันทึกไว้ในคัมภีร์ฮีบรู ดังน้ันศาสนายิว
จึงเป็นศาสนาเอกเทวนิยมท่ีเก่าแก่ที่สุดที่ยังดารงอยู่ในปัจจุบันและยังเป็นท่ีมาของคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธ
สัญญาเดิมของศาสนาคริสต์ซึ่งจานวนหนังสือในพันธสัญญาเดิมจะแตกต่างกันตามแต่ละนิกายในศาสนา
คริสต์ นิกายโปรเตสแตนต์ยอมรับเฉพาะหนังสือ 24 เล่มในคัมภีร์ทานัคว่าเป็นพันธสัญญาเดิม แต่แบ่งใหม่
เป็น 39 เล่ม ส่วนนิกายโรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ คอปติกออร์ทอดอกซ์ และคริสตจักรแห่ง
เอธิโอเปยี มีจานวนหนงั สอื ทร่ี บั เขา้ ในสารบบพันธสญั ญาเดมิ ของตนมากกวา่
เอกสารอ้างองิ
Braitannica. คมั ภีร์ฮบี รู. สบื ค้น 18 สงิ หาคม 2564, จาก https://th.wikipedia.org/wiki/คมั ภีร์
ฮบี รู
เลขท่ี 57 นางสาวนภิ าพร ใจงาม
187
Cevdet Bey ve Oğulları (Cevdet Bey เเละลูกชายของเขา)
ที่มา: https://tr.m.wikipedia.org/wiki/Cevdet_Bey_ve_O%C4%9Fullar%C4%B1
Cevdet Bey ve Oğulları
ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก
Orhan Pamuk ผู้ประพันธ์นวนิยาย Cevdet Bey ve Oğulları หรือ Cevdet Bey นวนิยายยิ่งใหญ่ซึ่งทา
ให้ Orhan Pamuk มีชื่อเสียงเป็นครั้งแรก เล่าถึงการผจญภัยเจ็ดสิบปีของครอบครัวหน่ึงจากอิสตันบูล นว
นิยายเร่ืองนี้บอกเล่าถึงรากฐานของสาธารณรัฐตุรกีรอบครอบครัวนี้ ลักษณะทางวัฒนธรรมของยุคนั้น โลก
ทัศน์ของชนช้ันที่มีรายได้ปานกลางและสูงของสังคม วิถีชีวิต สภาพบ้าน และนิสัยการบริโภคเป็น
องค์ประกอบหน่ึงของเร่ืองราว ซ่ึงมีลักษณะของนวนิยายศตวรรษที่ 19 เช่นเดียวกับตัวอย่างอื่น ๆ ของ
ประเภทน้ี จะอธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงของสังคมในช่วงระยะเวลาหน่ึงของประวัติศาสตร์ อารัมภบท
ประกอบด้วย 80 หน้า 12 ตอน บทส่งท้ายซึ่งประกอบด้วย 72 หน้า 10 บท เน้ือหาหลักของนวนิยายและ
เร่ืองราวเป็นส่วนระหว่างสองส่วนนี้ ส่วนตรงกลางน้ีมีท้ังหมด 450 หน้า 62 บท ส่วนตรงกลางเล่าถึงช่วง
ชีวิตของ Cevdet Bey และ Refik ลกู ชายของเขา ซ่ึงตอนน้แี ก่แล้ว
นวนิยายเรื่องนี้บอกถึงกระบวนการปรับปรุงให้ทันสมัยของตุรกีผ่านสายตาของครอบครัวชนชั้นนายทุน
Cevdet Bey และครอบครวั ของเขาและ Ömer, Muhittin และ Muhtar Bey ตา่ งก็เปน็ ตวั ละครทแี่ ตกต่าง
กันของความทันสมัยของตุรกี การรับมือกับยุโรปที่ไม่มีใครเทียบได้ทาให้พวกเขาต้องพบกับความผิดหวัง
ตา่ งๆในนวนยิ ายเรอ่ื ง กลา่ ววา่ "ความจรงิ ทว่ี ่าผทู้ พ่ี ยายามเปน็ ชนชนั้ นายทุนไม่สามารถเป็นชนชั้นนายทุนใน
ความหมายทแ่ี ทจ้ ริงได้ และความขดั แยง้ ทีพ่ วกเขาประสบระหว่างสไตล์ตรุ กแี ละยโุ รป" กถ็ กู นบั รวมในหวั ข้อ
ทีถ่ ูกตรวจสอบดว้ ยเช่นกนั
เอกสารอ้างอิง
Aybeg. (2564). Cevdet Bey ve Oğulları. สบื คน้ 20 สงิ หาคม 2564
จาก https://tr.m.wikipedia.org/wiki/Cevdet_Bey_ve_O%C4%9Fullar%C4%B1
เลขท่ี 58 นางสาวนภิ าพร อยู่ละออ
189
การผจญภัยของเทเลมาคัส Les Aventures de Télémaque ( The Adventures of
Telemachus, son of Ulisses )
ท่ีมา: https://wikipang.com/wiki/Les_Aventures_de_T%C3%A9l%C3%A9maque
Les Aventures de Télémaque
ววิ ฒั นาการภาษาและวรรณกรรมสรา้ งสรรคจ์ รรโลงโลก