รหัสวิชา 33102 คำอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน
ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 6 กลุม่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย
เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกติ
อา่ นวิเคราะห์วจิ ารณแ์ สดงความคดิ เห็นโตแ้ ยง้ เสนอความคดิ อย่างมีเหตุผล สงั เคราะห์การอ่านสื่อ
สิง่ พมิ พ์ ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ เขยี นบันทึกการอา่ น เขียนเชงิ สร้างสรรค์ ประเมินงานเขียน ใชว้ ิจารณญาณใน
การฟงั และดู พูดแสดงทรรศนะโต้แยง้ พูดโนม้ นา้ วใจและเสนอแนวคิด การใชภ้ าษาเหมาะสมแกโ่ อกาส
กาลเทศะ และบุคคล คำราชาศัพท์ แต่งบทร้อยกรอง โคลงและฉันท์ วิเคราะห์ลกั ษณะเดน่ และ
สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรม ประเมินคุณค่าด้านวรรณศลิ ป์ วรรณกรรมพนื้ บา้ น ภมู ิปญั ญา
ทางภาษา ท่องจำบทอาขยานและบทร้อยกรองท่ีมีคุณคา่
โดยใช้กระบวนการอ่าน การเขยี น การอธบิ าย การคดิ วเิ คราะห์ วิจารณ์ ประเมินค่า สังเคราะห์
เพ่อื ใหเ้ กดิ ความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถนำไปใช้ตดั สนิ ใจ แกป้ ญั หาและประยกุ ต์ใชใ้ นการดำเนิน
ชวี ติ เพอ่ื พฒั นาตน พัฒนาการเรยี น พัฒนาความรู้ทางอาชีพ มนี สิ ัยรกั การอา่ น มมี ารยาทในการอ่าน การ
เขยี น การฟัง การดู การพูดและเหน็ คุณค่าในความงามของวรรณคดีและวรรณกรรม
ตัวชี้วัด
ท 1.1 ม. 6/5, ม. 6/8, ม. 6/9
ท 2.1 ม. 6/4, ม. 6/5, ม. 6/7, ม. 6/8
ท 3.1 ม. 6/4, ม. 6/5, ม. 6/6
ท 4.1 ม. 6/3, ม. 6/4
ท 5.1 ม. 6/2, ม. 6/3, ม. 6/4, ม. 6/5, ม. 6/6
รวมทั้งหมด 17 ตวั ชี้วัด
คำอธบิ ายรายวชิ าเพ่ิมเติม
การใช้หอ้ งสมดุ 1 , 2 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 เวลา 80 ชั่วโมง จำนวน 2.0 หน่วยกิต
อธบิ ายความหมาย วตั ถุประสงค์ บทบาทและความสำคัญของห้องสมดุ บอกประเภท หน้าที่ของ
ห้องสมุดแตล่ ะประเภท และประโยชน์ของสารสนเทศ บอกความหมาย ลกั ษระและประเภทหนังสืออา้ งองิ
ใชห้ นังสอื อา้ งอิงแต่ละประเภทในการค้นสารสนเทศที่ตอ้ งการ อธบิ ายความหมายและประโยชนข์ องการจดั หมู่
หนงั สือและระบบการจดั เกบ็ การแบ่งหมวดหมหู่ นังสือระบบดวิ อี้ บอกความหมายและความสำคัญของเลข
เรียกหนังสือ ใช้เลขเรยี กหนังสือ หาตำแหน่งของหนงั สือท่ีต้องการ และนำความรู้ไปใช้ในชวี ิตประจำวนั ได้
ผลการเรียนรู้
๑. อธิบายความหมาย วัตถปุ ระสงค์ บทบาทและความสำคัญของห้องสมุดได้
๒. บอกประเภท บทบาท และหน้าท่ีของห้องสมดุ แต่ละประเภทและประโยชนข์ องสารสนเทศได้
๓. บอกความหมาย ลกั ษณะ และประเภทหนงั สืออา้ งองิ ได้
๔. ใช้หนงั สอื อา้ งองิ แต่ละประเภทในการค้นสารสนเทศที่ต้องการได้
๕. อธิบายความหมายและประโยชนข์ องการจัดหมูห่ นงั สอื และระบบการจัดเกบ็ ได้
๖. อธิบายการแบ่งหมวดหมหู่ นังสือระบบดิวอี้ได้
๗. บอกความหมายและความสำคัญของเลขเรียกหนังสือได้
๘. ใช้เลขเรียกหนังสือหาตำแหน่งของหนังสือท่ีต้องการได้
รวมทั้งหมด 8 ผลการเรยี นรู้
คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
รหสั วิชา ค 11101 กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 รวม 200 ชั่วโมง
ศึกษา จำนวนนับ 1 ถึง 100 และ 0 การนับทีละ 1 และทีละ 10 อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก
ตัวเลขไทยแสดงจำนวนนับไม่เกิน 100 และ 0 แสดงจำนวนนับไม่เกิน 20 ในรูปแบบความสัมพันธ์ของจำนวน
แบบส่วนย่อย-ส่วนรวม บอกลำดับที่ และเรียงลำดับจำนวนไม่เกิน 100 และ 0 หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละ
หลักและการเขียนแสดงจำนวนในรูปกระจาย เปรียบเทียบจำนวนนับไม่เกิน 100 และ0 โดยใช้เครื่องหมาย
เท่ากับ ไม่เท่ากับ มากว่า น้อยกว่า ความหมายของการบวก การลบ การหาผลบวก ผลลบ และความสัมพันธ์
ของการบวกและการลบ แก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบ และการสร้างโจทย์ปัญหาของจำนวนนับไม่เกิน 100
และ 0 แบบรูปของจำนวนท่ีเพ่ิมข้ึนหรือลดลงทีละ 1 และทีละ 10 แบบรูปซ้ำของจำนวน รปู เรขาคณิตและรูป
อ่ืนๆ การวัดความยาวโดยใช้หน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน การวัดความยาวเป็นเซนติเมตร เป็นเมตร การ
เปรียบเทียบความยาว การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบที่เกี่ยวกับความยาว การวัดน้ำหนักโดยใช้หน่วยที่
ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน การวัดน้ำหนักเป็นกิโลกรัม เป็นขีด การเปรียบเทียบน้ำหนัก การแก้โจทย์ปัญหาการบวก
การลบที่เก่ียวกับน้ำหนัก จำแนกรูปรูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม วงกลม วงรี ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกลม
ทรงกระบอก และกรวย และการอา่ นแผนภูมริ ูปภาพ
โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการบอกจำนวน ระบุจำนวนท่ีหายไป เปรียบเทียบจำนวน
เรียงลำดับจำนวนนับ หาคา่ ของตวั ไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงวิธหี าคำตอบ วัดและเปรียบเทยี บความ
ยาวและน้ำหนัก จำแนกรูปเรขาคณิต กระบวนการแก้โจทย์ปัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์
กระบวนการสร่างความตระหนัก การให้เหตุผลอิงหลักการ การฝึกปฏิบัติผ่านการจัดเรียนรู้แบบบูรณาการ
ระหว่างกลมุ่ สาระ
เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถในการแก้ปัญหา ใฝ่เรียนรู้ มีความมุ่งม่ันในการทำงานทางคณิตศาสตร์
สามารถสือ่ สาร ส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ และนำทกั ษะทางคณิตศาสตรไ์ ปใชใ้ นสถานการณต์ า่ งๆ
ตวั ช้วี ัด
ค 1.1 ป.1/1, ป.1/2 ,ป.1/3, ป.1/4, ป.1/5
ค 1.2 ป.1/1
ค 2.1 ป.1/1, ป.1/2
ค 2.2 ป.1/1
ค 3.1 ป.1/1
รวม 5 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด
คำอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน
รหัสวิชา ค 12101 กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์
ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 2 รวม 200 ช่วั โมง
ศึกษา จำนวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 การนับทีละ 2 ทีละ 5 ทีละ 10 และทีละ 100 แบบรูปซ้ำและ
แบบรูปของจำนวนท่ีเพ่ิมขึ้นหรอื ลดลง อ่านและเขยี นตวั เลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทยและตัวหนงั สอื แสดงจำนวน
นับไม่เกิน 1,000 และ 0 จำนวนคู่ จำนวนคี่ หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลักและการเขียนตัวเลขแสดง
จำนวนในรปู กระจาย เปรียบเทียบจำนวนนบั ไม่เกิน 1,000 และ 0 โดยใช้เครื่องหมาย เท่ากับ ไมเ่ ท่ากับ มากว่า
น้อยกว่า เรียงลำดับจำนวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 ต้ังแต่ 3 ถึง 5 จำนวนจากสถานการณ์ต่างๆ การบวก การ
ลบ การคูณ การหาร จำนวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 ความหมายของการคูณ การหาร การหาผลคูณ ผลหาร
และเศษ และความสัมพันธ์ของการคูณและการหาร การบวก ลบ คูณ หารระคน การแก้โจทย์ปัญหา และการ
สร้างโจทย์ปัญหาพร้อมท้ังหาคำตอบ การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที การบอกระยะเวลาเป็นช่ัวโมง การ
เปรียบเทียบระยะเวลา การอ่านปฏิทิน การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา การวัดความยาวเป็นเมตรและ
เซนติเมตร การคาดคะเน การเปรียบเทียบความยาวโดยใช้ความสมั พันธ์ระหว่างเมตรกับเซนติเมตร การแก้โจทย์
ปญั หาเก่ียวกับความยาวที่มหี น่วยเปน็ เมตรและเซนติเมตรการวัดน้ำหนักเป็นกิโลกรมั กรัม และขดี การคาดคะเน
น้ำหนัก การเปรียบเทียบน้ำหนักโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างกิโลกรัม กรัม และขีด การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
นำ้ หนักท่ีมีหน่วยเปน็ กิโลกรัม กรมั และขีด การวัดปรมิ าตรและความจุโดยใช้หน่วยที่ไมใ่ ช่หน่วยมาตรฐาน การ
วัดปริมาตรและความจุเป็นช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวง และลิตร การเปรียบเทียบปริมาตรและความจุ การแก้
โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรและความจุจำแนกและบอกลักษณะของรูปหลายเหลี่ยมและวงกลม และการอ่าน
แผนภูมิรปู ภาพ
โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการบอกจำนวน จำแนก เปรียบเทียบ เรียงลำดับจำนวน หาค่า
ของตัวไม่ทราบค่า หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคน แสดงวิธีหาคำตอบ ระบุจำนวนที่หายไปแบบรูป และ
ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคำตอบ บูรณาการกระบวนการคิดสร้างสรรค์ กระบวนการแก้ปัญหา
กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสร้างความตระหนัก การให้เหตุผลอิงหลักการ การฝึก
ปฏบิ ัติผ่านการจดั เรียนรแู้ บบบรู ณาการระหว่างกลุ่มสาระ
เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ในสถานการณ์ต่างๆมีความสามารถใน ใฝ่
เรียนรู้ มคี วามมุง่ มน่ั ในการทำงานทางคณิตศาสตร์ และนำทักษะทางคณิตศาสตร์ไปใชใ้ นชวี ิตประจำวัน
ตวั ชวี้ ดั
ค 1.1 ป.2/1, ป.2/2 ,ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5,ป.2/6, ป.2/7, ป.2/8
ค 2.1 ป.2/1 ป.2/2 ,ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5,ป.2/6
ค 2.2 ป.2/1
ค 3.1 ป.2/1
รวม 4 มาตรฐาน 16 ตัวช้ีวดั
คำอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน
รหัสวิชา ค 13101 กลมุ่ สาระคณติ ศาสตร์
ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 3 รวม 200 ช่ัวโมง
ศึกษา จำนวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทยและตัวหนังสือ
แสดงจำนวนนับไมเ่ กนิ 100,000 และ 0 แบบรปู ของจำนวนที่เพมิ่ ขึ้นหรอื ลดลงทลี ะเทา่ ๆกันหลัก คา่ ของเลขโดด
ในแต่ละหลักและการเขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับไม่เกิน
100,000 จากสถานการณ์ต่างๆบอก อ่าน และเขียนเศษส่วนแสดงปริมาณส่ิงต่างๆและแสดงสิ่งต่างๆตาม
เศษส่วนท่ีกำหนด เปรียบเทียบและเรียงลำดับเศษส่วน การบวก การลบ การคูณ การหาร จำนวนนับไม่เกิน
100,000 และ 0 หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวก การลบ การคูณ และการหาร ท่ี
ผลลัพธไ์ ม่เกิน 100,000 และ 0 การแก้โจทย์ปัญหาและการสรา้ งโจทย์ปัญหา พร้อมท้ังหาคำตอบ การบวกและ
การลบเศษสว่ น การแกโ้ จทย์ปัญหาการบวกและการลบเศษสว่ น การบอกจำนวนเงินและเขียนแสดงจำนวนเงิน
แบบใช้จุด การเปรียบเทียบจำนวนเงินและการแลกเงิน การอ่านและเขียนบันทึกรายรับรายจ่าย การแก้โจทย์
ปัญหาเก่ียวกับเงิน การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที การเขียนบอกเวลาโดยใช้มหัพภาค หรือทวิภาค และการ
อ่าน การบอกเวลาเป็นชั่วโมงและนาที การเปรียบเทียบระยะเวลาโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างชั่วโมงกับนาที
การอ่านและเขียนบันทึกกิจกรรมที่ระบุเวลา การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา การวัดความยาว
เป็นเซนติเมตร มิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร กิโลเมตรละเมตร การเลือกเครื่องวัดความยาวที่เหมาะสม การ
คาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร การเปรียบเทียบความยาวโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยความ
ยาว การแก้โจทยป์ ญั หาเกีย่ วกับความยาว เลือกใชเ้ คร่อื งช่งั ท่เี หมาะสม วดั และบอกน้ำหนักเปน็ กโิ ลกรมั กรมั แอ
ละขีด คาดคะเนน้ำหนัก เปรียบเทียบน้ำหนักโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างกิโลกรัมกับกรมั เมตริกตันกับกิโลกรัม
การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับน้ำหนักเลือกใช้เคร่ืองตวงที่เหมาะสม วัดและเปรียบเทียบปริมาตร ความจุเป็นลิตร
และมิลลิลิตร คาดคะเนปริมาตรและความจุเป็นลิตร การเปรียบเทียบปริมาตรและความจุโดยใช้ความสัมพันธ์
ระหว่างลิตรกบั มิลลิลิตร ช้อนชาช้อนโตะ๊ ถ้วยตวงกับมิลลิลิตร การแก้โจทย์ปัญหาเก่ียวกับปริมาตรและความจุที่
มีหน่วยเป็นลิตรและมิลลิลิตร ระบุรูปเรขาคณิตสองมิติที่มีแกนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร การเก็บ
รวบรวมขอ้ มูลและจำแนกข้อมลู การอา่ นและการเขยี นแผนภมู ริ ูปภาพ การอ่านและการเขียนตารางทางเดียว
โดยใชก้ ระบวนการทางคณิตศาสตรใ์ นการอ่านและเขยี น เปรยี บเทียบ คาดคะเน เรียงลำดบั ตัวเลขแสดง
จำนวนนบั เศษส่วน หาคา่ ของตัวไมท่ ราบค่า หาผลลพั ธ์ แสดงวธิ ีหาคำตอบ ระบจุ ำนวนทห่ี ายไปในแบบรู)
เลอื กใช้เครื่องมือวดั ระบรุ ปู เรขาคณติ เขยี นแผนภมู ิ เขยี นตารางทางเดยี ว และใช้ขอ้ มูลจากตาราง บูรณาการรก
ระบวนการคิดสรา้ งสรรค์ กระบวนการแกป้ ัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคดิ วิเคราะห์ กระบวนการสร้าง
ความตระหนัก การให้เหตผุ ลองิ หลกั การ การฝึกปฏบิ ัตผิ ่านการจัดเรยี นรตู้ ามแนวคดิ Active Learning
เพอื่ ให้ผเู้ รยี นมที กั ษะในการส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ในสถานการณ์ตา่ งๆมคี วามสามารถใน ใน
การคิดแก้ปญั หา ใฝ่เรียนรู้ มีความมงุ่ มน่ั ในการทำงานทางคณิตศาสตร์ ใชค้ วามรู้ทางคณิตศาสตรเ์ ปน็ เครื่องมือ
ในการเรยี นรู้เนอื้ หาตา่ งๆหรือศาสตรอ์ ่นื ๆ และนำทักษะทางคณติ ศาสตร์ไปใชใ้ นชีวิตจริง
ตัวช้วี ัด ค 1.1 ป.3/1, ป.3/2 ,ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5,ป.1/6, ป.3/7, ป.3/8,ป.3/9, ป.3/10, ป.3/11
ค 1.2 ป.3/1
ค 2.1 ป.3/1, ป.3/2 ,ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5,ป.1/6, ป.3/7, ป.3/8,ป.3/9, ป.3/10, ป.3/11, ป.3/12,
ป.3/13 ค 2.2 ป.3/1 ค 3.1 ป.3/1,ป.3/2
รวม 5 มาตรฐาน 28 ตัวช้ีวดั
คำอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน
รหัสวชิ า ค 14101 กลุม่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 รวม 160 ชั่วโมง
ศึกษา จำนวนนับท่ีมากกว่า 100,000 และ 0 อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทยและ
ตัวหนังสือแสดงจำนวนนับท่ีมากกว่า 100,000 หลัก ค่าประจำหลักและค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก ค่าของ
เลขโดในแต่ละหลักของทศนิยม และการเขียนตัวเลข เขยี นทศนิยมแสดงจำนวนในรูปกระจาย เปรียบเทียบและ
เรียงจำนวนนับที่มากกว่า 100,000 จากสถานการณ์ต่างๆ ค่าประมาณของจำนวนนับและการใช้เคร่ืองหมาย
ประมาณค่า บอก อ่าน และเขียนเศษส่วนจำนวนคละแสดงปริมาณสิ่งต่างๆและแสดงส่ิงต่างๆตามเศษส่วน
จำนวนคละท่ีกำหนด เปรยี บเทียบและเรียงลำดบั เศษสว่ น และจำนวนคละท่ีตัวส่วนตัวหนึ่งเป็นพหุคณู ของอีกตัว
หน่ึง การอ่านและเขียนทศนิยมไม่เกิน 3 ตำแหน่งตามปริมาณท่ีกำหนด เปรียบเทียบและเรียงทศนิยมไม่เกิน 3
ตำแหน่งจากสถานการณ์ต่างๆ การบวก การลบ การคูณ การหาร จำนวนนับที่มากกว่า 100,000 และ 0 หาค่า
ของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสญั ลักษณ์แสดงการบวก การลบการคูณ และการหาร การแกโ้ จทยป์ ัญหาและการ
สร้างโจทยป์ ัญหา พร้อมทง้ั หาคำตอบ การบวก การลบเศษส่วนและจำนวนคละ การแกโ้ จทย์ปญั หาการบวก การ
ลบเศษส่วนและจำนวนคละ การบวก การลบทศนยิ ม การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบทศนิยม แบบรูปของ
จำนวนทีเ่ กิดจากการคูณ การหารด้วยจำนวนเดียวกัน การบอกระยะเวลาเป็นวนิ าที ชว่ั โมง วัน สัปดาห์ เดือน ปี
การเปรียบเทียบระยะเวลาโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยเวลา การอ่านตารางเวลา การแก้โจทย์ปัญหา
เก่ยี วกับเวลา วดั และสร้างมุม โดยใช้โพรแทรกเตอร์ ความยาวรอบรูป พ้ืนที่ของรูปสีเ่ หลี่ยมมมุ ฉาก การแก้โจทย์
ปญั หาเกี่ยวกับความยาวรอบรูป และพื้นท่ีของรูปสเ่ี หลี่ยมมุมฉาก ระนาบ จดุ เส้นตรง รงั สี ส่วนของเสน้ ตรงและ
สัญลักษณ์แสดงเส้นตรง รังสี ส่วนของเส้นตรง มุม ส่วนประกอบของมุม การเรียกช่ือมุม สัญลักษณ์แสดงมุม
ชนดิ และสมบตั ิของมุม การสรา้ งรูปส่ีเหลย่ี มมมุ ฉาก การอ่านและการเขียนแผนภูมแิ ท่ง การอ่านตารางสองทาง
โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการอ่านและเขียน จำแนก เปรียบเทียบ เรียงลำดับ ประมาณ
ผลลัพธ์ หาค่าของตัวไม่ทราบค่า หาผลลัพธ์ แสดงวิธีการหาคำตอบ สรา้ งโจทย์ปัญหา วัดและสร้างมุม ใช้ข้อมูล
จากแผนภูมิในการหาคำตอบ บูรณาการรกระบวนการคิดสร้างสรรค์ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม
กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสร้างความตระหนัก การให้เหตุผลอิงหลักการ การฝึกปฏิบัติผ่านการจัด
เรยี นรู้ตามแนวคดิ Research Based Learning
เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ในสถานการณ์ต่างๆมีความสามารถในการ
คิดแก้ปัญหา รับฟังและให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ในการสนับสนุนความคิด ใฝ่เรียนรู้ มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
ทางคณติ ศาสตร์ ใช้ความรู้ทางคณิตศาสตรเ์ ป็นเครอื่ งมอื ในการเรียนรู้เน้อื หาต่างๆหรอื ศาสตรอ์ ่ืนๆและนำทักษะ
ทางคณติ ศาสตร์ไปใชใ้ นชีวิตจรงิ
ตวั ชว้ี ดั
ค 1.1 ป.4/1, ป.4/2 ,ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5,ป.4/6, ป.4/7, ป.4/8,ป.4/9, ป.4/10 ,ป.4/11, ป.4/12, ป.4/13,
ป.4/14, ป.4/15, ป.4/16
ค 2.1 ป.4/1, ป.4/2 ,ป.4/3
ค 2.2 ป.4/1, ป.4/2
ค 3.1 ป.4/1
รวม 4 มาตรฐาน 22 ตวั ช้ีวดั
คำอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน
รหัสวชิ า ค 15101 กลมุ่ สาระคณิตศาสตร์
ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 5 รวม 160 ชั่วโมง
ศึกษา ความสมั พันธร์ ะหวา่ งเศษสว่ นและทศนยิ ม ค่าประมาณของทศนิยมไมเ่ กนิ 3 ตำแหนง่ ท่ีเป็น
จำนวนเตม็ ทศนิยม 1 ตำแหน่ง และ 2 ตำแหน่ง การใช้เครอื่ งหมายประมาณคา่ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์
ปญั หาโดยใช้บัญญตั ิไตรยางศ์ เปรยี บเทยี บเศษสว่ นและจำนวนคละ การบวก การลบ การคณู การหาร และหาร
ระคนของเศษส่วนและจำนวนคละ โจทยป์ ญั หาเศษสว่ นและจำนวนคละ การคูณ การหารทศนยิ มไม่เกิน 3
ตำแหน่ง การแกโ้ จทย์ปญั หาทศนิยม การอ่านและเขยี นร้อยละหรอื เปอรเ์ ซ็นต์ การแก้โจทย์ปญั หาร้อยละ
ความสัมพนั ธร์ ะหว่างหน่วยความยาวเซนตเิ มตรกบั มลิ ลเิ มตร เมตรกบั เซนตเิ มตร กิโลเมตรกบั เมตรโดยใช้ความรู้
เรือ่ งทศนยิ ม การแก้โจทย์ปญั หาเกยี่ วกบั ความยาวโดยใชค้ วามร้เู ร่ืองการเปล่ยี นหนว่ ยและทศนิยมความสมั พนั ธ์
ระหว่างหนว่ ยนำ้ หนักกโิ ลกรัมกับกรัม โดยใช้ความรูเ้ รอื่ งทศนิยม การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกบั น้ำหนกั โดยใช้
ความรเู้ รื่องการเปลยี่ นหนว่ ยและทศนิยม ปรมิ าตรแลความจุ ความสัมพันธร์ ะหว่าง มิลลติ ร ลติ ร ลกู บาศก์
เซนตเิ มตร และลูกบาศก์เมตร การแกโ้ จทย์ปญั หาเกย่ี วกับปรมิ าตรและความจุของทรงส่เี หล่ยี มมมุ ฉาก ความ
ยาวรอบรูป พน้ื ท่ีของรปู สเี่ หล่ียม การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรปู และพื้นที่ของรูปสเี่ หลีย่ ม เสน้ ต้ัง
ฉากและสญั ลักษณแ์ สดงการตั้งฉาก เส้นขนานและสัญลักษณแ์ สดงการขนาน การสร้างเส้นขนาน มมุ แย้ง มุม
ภายใน และมมุ ภายนอกที่อยู่บนขา้ งเดยี วกันของเส้นตัดขวาง ชนิดและสมบตั ิของรปู ส่เี หลี่ยม การสร้างรปู
สี่เหลยี่ ม ลักษณะและสว่ นต่างๆของปรซิ มึ การอา่ นและการเขยี นแผนภูมแิ ท่ง การเขยี นกราฟเสน้
โดยใชก้ ระบวนการทางคณิตศาสตรใ์ นการเขยี นเศษสว่ น แสดงวิธหี าคำตอบหาผลลพั ธ์ สร้างและบอก
ลกั ษณะรปู เรขาคณติ ใช้ข้อมูลในการหาคำตอบ เขยี นแผนภมู แิ ทง่ บรู ณาการรกระบวนการคิดสรา้ งสรรค์
กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกล่มุ กระบวนการคดิ วิเคราะห์ กระบวนการสรา้ งความตระหนัก
กระบวนการสร้างความรคู้ วามเขา้ ใจ การใหเ้ หตุผลองิ หลักการ และกระบวนการสรา้ งทักษะการฝึกปฏบิ ตั ผิ ่าน
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด Research Based Learning
เพือ่ ใหผ้ ู้เรยี นมีทกั ษะในการส่ือสารและส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ในสถานการณต์ า่ งๆมี
ความสามารถในการคดิ แกป้ ัญหา รบั ฟังและให้เหตุผลทางคณติ ศาสตร์ในการสนับสนุนความคิดหรอื โต้แย้งที่
นำไปสกู่ ารสรุปผลโดยมขี ้อเท็จจรงิ ทางคณิตศาสตรร์ องรับ ใฝเ่ รียนรู้ มคี วามมุ่งมั่นในการทำงานทางคณิตศาสตร์
ใชค้ วามรู้ทางคณิตศาสตร์เปน็ เครอื่ งมือในการเรียนรู้เน้ือหาต่างๆหรอื ศาสตร์อืน่ ๆและนำทักษะทางคณติ ศาสตร์
ไปใชใ้ นชวี ติ จรงิ
ตวั ช้วี ัด
ค 1.1 ป.5/1, ป.5/2 ,ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5,ป.5/6, ป.5/7, ป.5/8,ป.5/9
ค 2.1 ป.5/1, ป.5/2 ,ป.5/3, ป.5/4
ค 2.2 ป.5/1, ป.5/2 ,ป.5/3, ป.5/4
ค 3.1 ป.5/1, ป.5/2
รวม 4 มาตรฐาน 19 ตวั ชี้วัด
คำอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน
รหัสวิชา ค 16101 กลุ่มสาระคณติ ศาสตร์
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 รวม 160 ชว่ั โมง
ศึกษา เปรยี บเทยี บ เรียงลำดับเศษสว่ นและจำนวนคละโดยใช้ความร้เู ร่อื ง ค.ร.น. เขยี นอตั ราส่วนแสดง
การเปรียบเทียบ หาอตั ราสว่ นทเ่ี ท่ากับอัตราสว่ นที่กำหนด ตัวประกอบ จำนวนเฉพาะ ตัวประกอบเฉพาะ และ
การแยกตัวประกอบ การแก้โจทยป์ ญั หาเกีย่ วกบั ห.ร.ม. และ ค.ร.น. การบวก การลบ การคณู การหารระคน
เศษสว่ นและจำนวนคละ การแกโ้ จทย์ปญั หาเศษส่วนและจำนวนคละ ความสัมพันธร์ ะหว่างเศษสว่ นและทศนิยม
การหารทศนิยม การแก้โจทย์ปัญหาเกย่ี วกบั ทศนิยม การแกโ้ จทย์ปัญหาอตั ราส่วนและมาตรฐาน การแก้โจทย์
ปญั หาร้อยละ การแก้ปัญหาเก่ยี วกับแบบรูป ปรมิ าตรและความจุ การแกโ้ จทยป์ ัญหาเกี่ยวกบั ปริมาตรของรูป
เรขาคณิตสามมิติ ความยาวรอบรปู พืน้ ที่ มมุ ภายใน ของรูปสามเหล่ยี มและรูปหลายเหล่ยี ม การแกโ้ จทยป์ ัญหา
เก่ยี วกบั ความยาวรอบรปู และพื้นทข่ี องรปู หลายเหลี่ยม ความยาวรอบรปู และพ้ืนที่ของวงกลม การแกโ้ จทย์
ปัญหาเก่ยี วกับความยาวรอบรปู และพนื้ ที่ของวงกลม ชนิดและสมบัติของรปู สามเหลี่ยม การสรา้ งรปู สามเหลยี่ ม
สว่ นต่างๆของวงกลม การสรา้ งวงกลม บอกลกั ษณะของรปู เรขาคณิตสามมิติชนิดตา่ งๆ ระบุรูปเรขาคณติ สามมิติ
ที่ประกอบจากรปู คลี่ และระบรุ ูปคลี่ของรูปเรขาคณติ สามมิติ การอ่านแผนภูมิรปู วงกลม
โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตรใ์ นการเปรียบเทียบ เรียงลำดบั เขียนอตั ราสว่ น หาอัตราสว่ นหา
ห.ร.ม. ค.ร.น. แสดงวิธคี ดิ หาผลลพั ธ์ แสดงวิธีหาคำตอบ จำแนก บอกลักษณะรูปเรขาคณิตสามมติ ิ ใช้ข้อมลู จาก
แผนภูมริ ูปวงกลมหาคำตอบ บรู ณาการรกระบวนการคดิ สร้างสรรค์ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม
กระบวนการคดิ วิเคราะห์ กระบวนการสรา้ งความตระหนัก กระบวนการสรา้ งความรู้ความเขา้ ใจ การใหเ้ หตุผล
องิ หลักการ และกระบวนการสรา้ งทกั ษะการฝึกปฏิบัติผา่ นการจดั การเรยี นรู้ตามแนวคิด Research Based
Learning
เพอื่ ใหผ้ ้เู รยี นมที ักษะในการสื่อสารและสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ในสถานการณต์ ่างๆมี
ความสามารถในการคิดแก้ปัญหาใหเ้ หตผุ ลทางคณิตศาสตรโ์ ดยมขี อ้ เทจ็ จรงิ ทางคณติ ศาสตร์รองรับ ใฝเ่ รียนรู้ มี
ความมงุ่ ม่นั ในการทำงานทางคณติ ศาสตร์ ใช้ความรู้ทางคณติ ศาสตร์เป็นเครอ่ื งมอื ในการเรียนร้เู น้อื หาต่างๆหรือ
ศาสตร์อ่ืนๆและนำทักษะทางคณิตศาสตร์ไปใช้ในชวี ิตจรงิ
ตัวชว้ี ดั
ค 1.1 ป.6/1, ป.6/2 ,ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5,ป.6/6, ป.6/7, ป.6/8,ป.6/9, ป.6/10 ,ป.6/11, ป.6/12
ค 1.2 ป.6/1
ค 2.1 ป.6/1, ป.6/2 ,ป.6/3
ค 2.2 ป.6/1, ป.6/2 ,ป.6/3, ป.6/4
ค 3.1 ป.6/1
รวม 5 มาตรฐาน 21 ตัวชี้วดั
คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน
รหัสวิชา ค 21101 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์
ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 รวม 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ
ศึกษา จำนวนเต็ม สมบตั ิของจำนวนเตม็ ทศนยิ มและเศษส่วน จำนวนตรรกยะและสมบัติของจำนวน
ตรรกยะ เลขยกกำลังทีม่ เี ลขช้ีกำลงั เปน็ จำนวนเต็มบวก การนำความรู้เกย่ี วกับจำนวนเต็มจำนวนตรรกยะ และ
เลขยกกำลังไปใชใ้ นการแก้ปัญหา เขา้ ใจและประยุกตใ์ ช้อัตราสว่ น สัดสว่ น และรอ้ ยละ ในการแก้ปัญหา
คณิตศาสตร์และปัญหาในชีวติ จรงิ
โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการศึกษาจำนวนเต็ม สมบัติของจำนวนเต็ม ทศนยิ มและเศษสว่ น
เลขยกกำลัง อตั ราสว่ น สดั ส่วน และร้อยละ บูรณาการรกระบวนการคดิ สร้างสรรค์ กระบวนการแกป้ ญั หา
กระบวนการกลมุ่ กระบวนการคดิ วิเคราะห์ กระบวนการสร้างความตระหนกั กระบวนการสร้างความรู้ความ
เขา้ ใจ การใหเ้ หตผุ ลองิ หลกั การ และกระบวนการสรา้ งทักษะการฝกึ ปฏิบตั ผิ า่ นการจดั การเรียนรตู้ ามแนวคดิ
Research Based Learning
เพ่อื ให้ผเู้ รียนมที ักษะในการสื่อสารและส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ในสถานการณ์ต่างๆมี
ความสามารถในการคดิ แก้ปัญหาให้เหตุผลทางคณติ ศาสตร์โดยมีขอ้ เท็จจริงทางคณติ ศาสตร์รองรบั ใฝเ่ รียนรู้ มี
ความมงุ่ มน่ั ในการทำงานทางคณิตศาสตร์ ใชค้ วามรู้ทางคณิตศาสตร์เปน็ เครอื่ งมอื ในการเรยี นรู้เนือ้ หาต่างๆหรือ
ศาสตร์อน่ื ๆและนำทักษะทางคณิตศาสตร์ไปใช้ในชีวติ จรงิ
ตวั ชว้ี ดั
ค 1.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3
ค 2.2 ม.1/1, ม.1/2
2 มาตรฐาน 5 ตวั ชว้ี ดั
คำอธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน
รหสั วชิ า ค 21102 กลุ่มสาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 รวม 60 ช่ัวโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต
ศึกษา สมบัตขิ องการเท่ากันและสมบัตขิ องจำนวน เพ่ือวเิ คราะห์และแกป้ ญั หาโดยใช้สมการเชิงเส้นตัว
แปรเดยี วไปใชใ้ นชีวติ จรงิ กราฟของความสัมพนั ธเ์ ชงิ เส้น สมการเชิงเส้นสองตัวแปร การนำความรเู้ กย่ี วกับ
สมการเชงิ เส้นสองตวั แปรและกราฟของความสัมพนั ธเ์ ชงิ เสน้ ไปใช้ในชวี ติ จริง เข้าใจและใชค้ วามรู้ทางสถติ ิในการ
นำเสนอข้อมูลและแปลความหมายข้อมูล รวมท้งั นำสถิติไปใชใ้ นชวี ติ จริงโดยใช้เทคโนโลยที ่เี หมาะสม
โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตรใ์ นการศึกษาสมบัตขิ องจำนวน วเิ คราะหแ์ ละแกป้ ัญหา โดยใช้
สมการเชงิ เสน้ นำความรเู้ กย่ี วกบั สมการเชงิ เส้นไปใช้แก้ปัญหาในชีวติ ประจำวัน มีความร้คู วามเขา้ ใจเกย่ี วกับ
ขอ้ มูลและการนำเสนอข้อมลู โดยใช้เทคโนโลยที ่ีเหมาะสม บูรณาการรกระบวนการคดิ สรา้ งสรรค์ กระบวนการ
แก้ปัญหา กระบวนการกล่มุ กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสรา้ งความตระหนัก กระบวนการสรา้ ง
ความรู้ความเข้าใจ การใหเ้ หตุผลองิ หลกั การ และกระบวนการสรา้ งทักษะการฝกึ ปฏิบตั ผิ ่านการจัดการเรียนรู้
ตามแนวคิด Research Based Learning
เพ่ือให้ผเู้ รยี นมีทกั ษะในการสื่อสารและสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ในสถานการณ์ต่างๆมี
ความสามารถในการคดิ แก้ปัญหาให้เหตุผลทางคณติ ศาสตรโ์ ดยมีข้อเท็จจริงทางคณิตศาสตรร์ องรับ ใฝ่เรียนรู้
มคี วามมงุ่ มน่ั ในการทำงานทางคณติ ศาสตร์ ใช้ความรูท้ างคณติ ศาสตรเ์ ป็นเคร่ืองมือในการเรยี นรู้เนือ้ หาตา่ งๆ
หรือศาสตร์อน่ื ๆและนำทักษะทางคณิตศาสตร์ไปใชใ้ นชวี ิตจรงิ
ตวั ชว้ี ดั
ค 1.3 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3
ค 3.1 ม.1/1
รวม 2 มาตรฐาน 4 ตัวช้ีวัด
คำอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน
รหัสวิชา ค 22101 กลมุ่ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์
ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 รวม 60 ช่ัวโมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ
ศกึ ษา สมบัติของเลขยกกำลังที่มีเลขชก้ี ำลงั เปน็ จำนวนเต็มในการแกป้ ัญหาคณติ ศาสตร์และปญั หาใน
ชีวิตจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนจรงิ รากทีส่ องและรากที่สามของจำนวนตรรกยะ การนำความรเู้ ก่ียวกับ
จำนวนจรงิ ไปใช้ ใช้ความรู้ทางเรขาคณิตและเครื่องมือเช่น วงเวยี นและสันตรง รวมท้งั โปรแกรม The
Geometer’s Sketchpad หรอื โปรแกรมเรขาคณิต ตลอดจนนำความร้เู กี่ยวกบั การสร้างนี้ไปประยุกตใ์ ชใ้ นการ
แก้ปัญหาในชวี ติ จริง สมบัติเก่ียวกบั เส้นขนานและรปู สามเหลยี่ ม การเลอ่ื นขนาน การสะท้อน การหมุน การนำ
ความรูเ้ กี่ยวกับการแปลงทางเรขาคณิตไปใช้ในการแกป้ ญั หา ความเท่ากันทุกประการของรปู สามเหล่ียม การนำ
ความรู้เกีย่ วกบั ความเท่ากันทุกประการไปใช้ในการแกป้ ัญหา ทฤษฏีบทพีทาโกรสั และบทกลับ การนำความรู้
เก่ยี วกับทฤษฎบี ทพที าโกรสั และบทกลับไปใช้ในชีวติ จริง
โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตรใ์ นการศึกษาสมบัตขิ องเลขยกกำลัง จำนวนจรงิ การใชโ้ ปรแกรมทาง
คณติ ศาสตร์ สมบัติเก่ียวกับเส้นขนาน ทฤษฎบี ทพีทาโกรัส บรู ณาการรกระบวนการคดิ สร้างสรรค์ กระบวนการ
แกป้ ัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคดิ วเิ คราะห์ กระบวนการสรา้ งความตระหนัก กระบวนการสรา้ ง
ความรคู้ วามเข้าใจ การให้เหตุผลอิงหลักการ และกระบวนการสรา้ งทกั ษะการฝึกปฏิบตั ิผ่านการจัดการเรยี นรู้
ตามแนวคดิ Research Based Learning
เพ่ือใหผ้ เู้ รยี นมีทกั ษะในการสื่อสารและสื่อความหมายทางคณติ ศาสตร์ในสถานการณ์ตา่ งๆมี
ความสามารถในการคดิ แกป้ ัญหาให้เหตุผลทางคณิตศาสตรโ์ ดยมขี อ้ เทจ็ จริงทางคณิตศาสตร์รองรับ ใฝ่เรียนรู้ มี
ความมุ่งม่นั ในการทำงานทางคณติ ศาสตร์ ใชค้ วามรู้ทางคณิตศาสตร์เป็นเครื่องมอื ในการเรียนรู้เนอื้ หาตา่ งๆหรือ
ศาสตร์อ่ืนๆและนำทักษะทางคณติ ศาสตร์ไปใชใ้ นชวี ิตจริง
ตัวชี้วดั
ค 1.1 ม.2/1, ม.2/2,
ค 2.2 ม.2/1, ม.2/2 , ม.2/3 , ม.2/4, ม.2/5
รวม 2 มาตรฐาน 7 ตัวชี้วดั
คำอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน
รหสั วิชา ค 22102 กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์
ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 2 รวม 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต
ศึกษา พหุนาม การบวก การลบ การคูณของพหุนาม การหารพหนุ ามด้วยเอกนามที่มผี ลหารเปน็ พหุ
นาม การแยกตวั ประกอบของพหนุ ามดีกรีสองโดยใช้สมบตั ิการแจกแจง กำลงั สองสมบรู ณ์ ผลต่างกำลงั สอง การ
หาพ้ืนทผี่ ิวของปรซิ มึ และทรงกระบอก การนำความรู้เก่ยี วกับพ้ืนทผ่ี ิวของปริซึมและทรงกระบอกไปใช้ในการ
แก้ปัญหา การหาปรมิ าตรของปริซมึ และทรงกระบอก การนำความรเู้ กี่ยวกับปริมาตรของปริซึมและทรงกระบอก
ไปใชใ้ นการแกป้ ัญหา เข้าใจและใช้ความรูท้ างสถิติในการนำเสนอข้อมลู และวิเคราะห์ข้อมูลจากแผนภาพจดุ
แผนภาพตน้ – ใบ ฮิสโทแกรม และค่ากลางของขอ้ มลู และแปลความหมายผลลพั ธ์ รวมทัง้ นำสถิติไปใช้ในชีวติ
จรงิ โดยใช้เทคโนโลยที เี่ หมาะสม
โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการศึกษาพหุนาม เอกนาม การแยกตัวประกอบของพหุนาม
สมบัติของจำนวน การหาพื้นที่ผิวและปริมาตรของปริซึม การวิเคราะห์สถิติและนำเสนอข้อมูล บูรณาการ
กระบวนการคิดสร้างสรรค์ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการ
สร้างความตระหนกั กระบวนการสรา้ งความรู้ความเข้าใจ การใหเ้ หตุผลอิงหลักการ และกระบวนการสร้างทักษะ
การฝกึ ปฏิบตั ผิ า่ นการจดั การเรยี นรู้ตามแนวคิด Research Based Learning
เพอ่ื ใหผ้ ูเ้ รยี นมีทักษะในการสื่อสารและส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ในสถานการณ์ตา่ งๆมี
ความสามารถในการคิดแกป้ ัญหาให้เหตผุ ลทางคณิตศาสตรโ์ ดยมีข้อเท็จจริงทางคณติ ศาสตรร์ องรบั ใฝ่
เรยี นรู้ มคี วามมงุ่ ม่ันในการทำงานทางคณิตศาสตร์ ใชค้ วามรทู้ างคณติ ศาสตรเ์ ปน็ เคร่ืองมอื ในการเรียนร้เู น้ือหา
ตา่ งๆหรือศาสตรอ์ น่ื ๆและนำทักษะทางคณิตศาสตรไ์ ปใชใ้ นชีวติ จรงิ
ตวั ชีว้ ดั
ค 1.2 ม.2/1, ม.2/2
ค 2.1 ม.2/1, ม.2/2
ค 3.1 ม.2/1
รวม 3 มาตรฐาน 5 ตัวชี้วัด
คำอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน
รหสั วชิ า ค 23101 กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์
ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 3 รวม 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ
ศกึ ษา อสมการเชิงเส้นตวั แปรเดยี ว การแก้อสมการเชงิ เส้นตัวแปรเดยี ว การนำความรเู้ ก่ียวกบั การแก้
อสมการเชิงเส้นตวั แปรเดยี วไปใช้ในการแก้ปัญหา สมการกำลงั สองตัวแปรเดยี ว การแก้สมการกำลังสองตัวแปร
เดยี ว การนำความรเู้ กี่ยวกบั การแก้สมการกำลงั สองตัวแปรเดียวไปใช้แก้ปัญหา ระบบสมการเชิงเส้นสองตวั แปร
การแกร้ ะบบสมการเชงิ เสน้ สองตัวแปร การนำความรู้เกีย่ วกับการแกร้ ะบบสมการเชงิ เส้นสองตวั แปรไปใชใ้ นการ
แก้ปัญหา การหาพืน้ ทผ่ี ิวและปริมาตรของพีระมดิ กรวย และทรงกลม การนำความรูเ้ กีย่ วกับพ้นื ท่ีผิว ปรมิ าตร
ของพรี ะมดิ กรวย และทรงกลม ไปใช้ในการแก้ปญั หา รูปสามเหลย่ี มท่ีคล้ายกัน การนำความรเู้ ก่ียวกบั ความ
คล้ายไปใช้ในการแก้ปญั หา อัตราส่วนตรีโกณมติ ิ การนำคา่ อตั ราส่วนตรโี กณมิติของมุม 30 องศา 45 องศา และ
60 องศา ไปใช้ในการแก้ปัญหา วงกลม คอร์ด และเส้นสมั ผัส ทฤษฎบี ทเกี่ยวกับวงกลม
โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแกป้ ัญหาเกี่ยวกับสมการเชงิ เส้นตวั แปรเดียว สมการกำลัง
สองตัวแปรเดยี ว อสมการเชงิ เส้นตัวแปรเดยี ว การหาพื้นท่ีผวิ และปรมิ าตร อตั ราสว่ นตรโี กณมติ ิ ทฤษฎบี ท
เกี่ยวกับวงกลม บรู ณาการรกระบวนการคดิ สรา้ งสรรค์ กระบวนการแก้ปญั หา กระบวนการกลมุ่ กระบวนการ
คดิ วเิ คราะห์ กระบวนการสรา้ งความตระหนัก กระบวนการสร้างความรูค้ วามเข้าใจ การให้เหตุผลองิ หลักการ
และกระบวนการสรา้ งทักษะการฝึกปฏบิ ตั ผิ ่านการจัดการเรียนร้ตู ามแนวคดิ Research Based Learning
เพ่ือใหผ้ ้เู รยี นมที ักษะในการส่ือสารและส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ในสถานการณ์ต่างๆมี
ความสามารถในการคิดแกป้ ัญหาใหเ้ หตุผลทางคณติ ศาสตร์โดยมขี อ้ เทจ็ จรงิ ทางคณิตศาสตร์รองรบั ใฝ่เรียนรู้ มี
ความมุ่งมัน่ ในการทำงานทางคณติ ศาสตร์ ใช้ความรู้ทางคณิตศาสตรเ์ ป็นเครือ่ งมอื ในการเรียนร้เู นอ้ื หาต่างๆหรือ
ศาสตรอ์ ืน่ ๆและนำทักษะทางคณิตศาสตร์ไปใชใ้ นชีวิตจริง
ตวั ชีว้ ดั
ค 1.3 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3
ค 2.1 ม.3/1, ม.3/2
ค 2.2 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3
รวม 3 มาตรฐาน 8 ตัวชี้วดั
คำอธิบายรายวชิ าพื้นฐาน
รหัสวิชา ค 23102 กลุ่มสาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์
ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 รวม 60 ช่ัวโมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ
ศึกษา การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ กราฟของฟังก์ชัน
กำลังสอง การนำความรู้เกี่ยวกับฟังก์ชันกำลังสองไปใช้ในการแก้ปัญหา เข้าใจและใช้ความรู้ทางสถิติในการ
นำเสนอและวิเคราะห์ข้อมูลจากแผนภาพกลอ่ งและแปลความหมายผลลพั ธ์รวมทงั้ นำสถิติไปใชใ้ นชีวิตจริงโดยใช้
เทคโนโลยที ี่เหมาะสม ความน่าจะเป็น เหตุการณ์จากการทดลองสุ่ม การนำความรเู้ กี่ยวกับความน่าจะเป็นไปใช้
ในชีวติ จริง
โดยใชก้ ระบวนการทางคณติ ศาสตร์ในการแยกตัวประกอบของพหนุ ามดีกรสี ูงกวา่ สอง กราฟของฟังก์ชัน
กำลังสอง สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ความน่าจะเป็น บูรณาการรกระบวนการคิดสร้างสรรค์ กระบวนการ
แก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสร้าง
ความรู้ความเข้าใจ การให้เหตุผลอิงหลักการ และกระบวนการสร้างทักษะการฝึกปฏิบัติผ่านการจัดการเรียนรู้
ตามแนวคดิ Research Based Learning
เพ่อื ให้ผู้เรยี นมีทักษะในการส่ือสารและส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ในสถานการณ์ตา่ งๆมี
ความสามารถในการคิดแก้ปัญหาใหเ้ หตผุ ลทางคณติ ศาสตร์โดยมขี ้อเทจ็ จริงทางคณติ ศาสตร์รองรับ ใฝ่เรียนรู้ มี
ความม่งุ ม่ันในการทำงานทางคณิตศาสตร์ ใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์เปน็ เคร่ืองมอื ในการเรียนรู้เนอื้ หาต่างๆหรือ
ศาสตร์อื่นๆและนำทักษะทางคณติ ศาสตร์ไปใช้ในชวี ิตจรงิ
ตัวชวี้ ัด
ค 1.2 ม.1/1, ม.1/2
ค 3.1 ม.1/1
ค 3.2 ม.1/1
รวม 3 มาตรฐาน 4 ตัวชี้วัด
คำอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน
รหสั วชิ า ค 31101 กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 รวม 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต
ศึกษา ความรู้เบือ้ งต้นและสัญลักษณ์พื้นฐานเก่ียวกับเซต ยูเนยี น อนิ เตอรเ์ ซกซัน และคอมพลเี มนต์ของ
เชต ประพจน์และตัวเชอ่ื (นเิ สธ และ หรือ ถา้ ...แลว้ ... ก็ต่อเมื่อ) เลขยกกำลัง รากที่ n ของจำนวนจริงเมอ่ื n เป็น
จำนวนนับทีม่ ากกว่า 1 เลขยกกำลังทม่ี เี ลขช้ีกำลงั เปน็ จำนวนตรรกยะ
โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการศึกษาเก่ียวกบั เซต ยูเนียน อินเตอรเ์ ซกซัน และคอมพลีเมนต์
และประพจน์ บูรณาการรกระบวนการคิดสร้างสรรค์ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด
วิเคราะห์ กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ การให้เหตุผลอิงหลักการ และ
กระบวนการสร้างทักษะการฝกึ ปฏิบัติผ่านการจัดการเรยี นรู้ตามแนวคดิ Research Based Learning
เพ่ือให้ผู้เรียนมีทกั ษะในการสื่อสารและส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ในสถานการณต์ ่างๆมี
ความสามารถในการคิดแก้ปัญหาให้เหตผุ ลทางคณติ ศาสตร์โดยมีขอ้ เท็จจริงทางคณิตศาสตรร์ องรับ ใฝ่เรียนรู้
มีความมุง่ มนั่ ในการทำงานทางคณิตศาสตร์ ใช้ความรทู้ างคณิตศาสตรเ์ ป็นเคร่ืองมือในการเรยี นรเู้ น้ือหาตา่ งๆ
หรือศาสตร์อืน่ ๆและนำทักษะทางคณิตศาสตร์ไปใชใ้ นชวี ิตจรงิ
ตัวชวี้ ดั
ค 1.1 ม.4-6/1
รวม 1 มาตรฐาน 1 ตัวชี้วัด
คำอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน
รหัสวิชา ค 31102 กลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 รวม 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หน่วยกติ
ศึกษา หลักการนับเบื้องต้น หลักการบวกและการคูณ การเรียงสับเปล่ียนเชิงเส้นกรณีที่ส่ิงของแตกต่าง
กนั ทงั้ หมด การจดั หมูก่ รณีที่ส่งิ ของแตกตา่ งกันทงั้ หมด ความนา่ จะเป็น การทดลองสมุ่ และเหตุการณ์ ความน่าจะ
เป็นของเหตุการณ์
โดยใชก้ ระบวนการทางคณติ ศาสตรใ์ นการศึกษาเกี่ยวกับหลักการนับเบื้องตน้ หลกั การบวกและคูณ การ
เรียงสับเปล่ียน การจัดหมู่ ความน่าจะเป็น บูรณาการรกระบวนการคิดสร้างสรรค์ กระบวนการแก้ปัญหา
กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสร้างค วามรู้ความ
เข้าใจ การให้เหตุผลอิงหลักการ และกระบวนการสร้างทักษะการฝึกปฏิบัติผ่านการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด
Research Based Learning
เพ่ือใหผ้ ู้เรียนมีทกั ษะในการสื่อสารและส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ในสถานการณ์ตา่ งๆมี
ความสามารถในการคดิ แกป้ ัญหาให้เหตุผลทางคณติ ศาสตรโ์ ดยมขี อ้ เท็จจรงิ ทางคณติ ศาสตรร์ องรบั ใฝเ่ รยี นรู้
มคี วามมุง่ ม่ันในการทำงานทางคณิตศาสตร์ ใชค้ วามรู้ทางคณติ ศาสตร์เป็นเครื่องมือในการเรยี นรู้เนือ้ หาตา่ งๆ
หรอื ศาสตรอ์ น่ื ๆและนำทักษะทางคณิตศาสตร์ไปใชใ้ นชวี ิตจรงิ
ตวั ชวี้ ดั
ค 3.2 ม.4-6/1 , ม.4-6/2
รวม 1 มาตรฐาน 2 ตัวชี้วัด
คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน
รหสั วชิ า ค 32101 กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์
ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 5 รวม 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต
ศึกษา เลขยกกำลัง รากที่ n ของจำนวนจริงเม่ือ n เป็นจำนวนนับที่มากกว่า 1 เลขยกกำลังที่มีเลขช้ี
กำลงั เป็นจำนวนตรรกยะ เข้าใจและใช้ความรเู้ ก่ยี วกับดอกเบ้ียและมูลค่าของเงินในการแกป้ ญั หา
โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการศึกษาเกี่ยวกับเลขยกกำลัง สมบัติของเลขยกกำลัง ดอกเบ้ีย
และมูลคา่ ของเงิน บูรณาการรกระบวนการคิดสรา้ งสรรค์ กระบวนการแกป้ ัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการ
คิดวิเคราะห์ กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ การให้เหตุผลอิงหลักการ
และกระบวนการสร้างทักษะการฝึกปฏบิ ัตผิ า่ นการจัดการเรียนร้ตู ามแนวคิด Research Based Learning
เพอื่ ให้ผูเ้ รียนมีทักษะในการสื่อสารและสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ในสถานการณ์ตา่ งๆมี
ความสามารถในการคดิ แกป้ ัญหาให้เหตผุ ลทางคณิตศาสตรโ์ ดยมขี ้อเท็จจรงิ ทางคณติ ศาสตร์รองรบั ใฝ่เรียนรู้
มีความมุง่ ม่นั ในการทำงานทางคณติ ศาสตร์ ใช้ความรูท้ างคณติ ศาสตร์เป็นเครื่องมือในการเรยี นรเู้ นอื้ หาตา่ งๆ
หรอื ศาสตร์อืน่ ๆและนำทักษะทางคณิตศาสตร์ไปใชใ้ นชีวติ จรงิ
ตัวชีว้ ัด
ค 1.1 ม.4-6/1
ค 1.3 ม.4-6/1
รวม 2 มาตรฐาน 2 ตัวช้ีวัด
คำอธบิ ายรายวิชาพืน้ ฐาน
รหสั วชิ า ค 32102 กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์
ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 5 รวม 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต
ศึกษา ฟังก์ชันและกราฟของฟังก์ชัน(ฟังก์ชันเชิงเส้น ฟังก์ชันกำลังสองฟังก์ชันขั้นบันได ฟังก์ชันเอกซ์
โพเนนเซยี ล) ลำดบั และอนกุ รม ลำดบั เลขคณิตและลำดับเรขาคณติ อนกุ รมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณติ
โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการศึกษาเกี่ยวกับฟังก์ชันและกราฟของฟังก์ชัน ลำดับและ
อนกุ รม บูรณาการกระบวนการคิดสรา้ งสรรค์ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคดิ วิเคราะห์
กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ การให้เหตุผลอิงหลักการ และ
กระบวนการสร้างทกั ษะการฝกึ ปฏบิ ัติผ่านการจัดการเรียนรตู้ ามแนวคดิ Research Based Learning
เพื่อให้ผูเ้ รยี นมที กั ษะในการสื่อสารและสื่อความหมายทางคณติ ศาสตร์ในสถานการณต์ า่ งๆมี
ความสามารถในการคิดแก้ปัญหาให้เหตผุ ลทางคณติ ศาสตร์โดยมีข้อเทจ็ จริงทางคณติ ศาสตรร์ องรบั ใฝ่เรียนรู้
มคี วามมงุ่ มนั่ ในการทำงานทางคณติ ศาสตร์ ใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์เป็นเครื่องมือในการเรยี นรเู้ นอ้ื หาต่างๆ
หรอื ศาสตรอ์ ่นื ๆและนำทักษะทางคณิตศาสตร์ไปใชใ้ นชีวติ จรงิ
ตวั ชี้วดั
ค 1.2 ม.4-6/1 , ม.4-6/2
รวม 1 มาตรฐาน 2 ตัวช้ีวัด
คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน
รหัสวิชา ค 33101 กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์
ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 รวม 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกิต
ศึกษา สถิติ ข้อมูล ตำแหน่งที่ของข้อมูล ค่ากลาง (ฐานนิยม มัธยฐาน ค่าเฉลี่ยเลขคณิต)ค่ากระจาย
(พิสัย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความแปรปรวน)การนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ การแปล
ความหมายของคา่ สถิติ
โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการทำความเข้าใจและใช้ความรู้ทางสถิติในการนำเสนอข้อมูล
และแปลความหมายของค่าสถิติเพื่อประกอบการตัดสินใจ บูรณาการกระบวนการคิดสร้างสรรค์ กระบวนการ
แก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสร้าง
ความรู้ความเข้าใจ การให้เหตุผลอิงหลักการ และกระบวนการสร้างทักษะการฝึกปฏิบัติผ่านการจัดการเรียนรู้
ตามแนวคิด Research Based Learning
เพอ่ื ให้ผ้เู รยี นมที กั ษะในการส่ือสารและสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ในสถานการณต์ ่างๆมี
ความสามารถในการคดิ แกป้ ัญหาให้เหตผุ ลทางคณติ ศาสตรโ์ ดยมีขอ้ เทจ็ จรงิ ทางคณิตศาสตร์รองรบั ใฝเ่ รียนรู้
มีความมุ่งม่ันในการทำงานทางคณติ ศาสตร์ ใช้ความรู้ทางคณติ ศาสตรเ์ ป็นเครื่องมือในการเรยี นรู้เน้ือหาตา่ งๆ
หรอื ศาสตร์อืน่ ๆและนำทกั ษะทางคณิตศาสตร์ไปใช้ในชีวติ จริง
ตวั ช้วี ัด
ค 3.1 ม.4-6/1
รวม 1 มาตรฐาน 1 ตัวช้ีวัด
รหสั วิชา ค 31201 คำอธบิ ายรายวิชาเพ่ิมเตมิ
ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 4 กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์
รวม 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หน่วยกติ
ศกึ ษา ความรู้เบ้อื งต้นและสัญลักษณ์พ้ืนฐานเกี่ยวกับเซต ยูเนียน อนิ เตอร์เซกซนั และคอมพลเี มนตข์ อง
เชต ประพจน์และตัวเชื่อม ประโยคที่มตี ัวบง่ ปริมาณตัวเดยี ว การอา้ งเหตผุ ล จำนวนจริงและพหุนาม จำนวนจริง
และสมบัติของจำนวนจริง ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจรงิ และสมบัตขิ องค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง จำนวนจริงในรูป
กรณฑ์และจำนวนจริงในรูปเลขยกกำลัง จำนวนจริงและพหุนาม ตัวประกอบของพหุนาม สมการและอสมการ
พหุนาม สมการและอสมการพหุนาม สมการและอสมการเศษส่วนของพหุนาม สมการและอสมการค่าสัมบูรณ์
ของพหุนาม สมการเอกซ์โพเนนเซยี ลและสมการลกิ ารทิ ึม
โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตรใ์ นการศึกษาเกีย่ วกบั เซต ยูเนียน อินเตอร์เซกซัน และคอมพลีเมนต์
และประพจน์ การแบกตัวประกอบพหุนาม บูรณาการรกระบวนการคิดสร้างสรรค์ กระบวนการแก้ปัญหา
กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสร้างความรู้ความ
เข้าใจ การให้เหตุผลอิงหลักการ และกระบวนการสร้างทักษะการฝึกปฏิบัติผ่านการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด
Research Based Learning
เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนมีทกั ษะในการส่ือสารและส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ในสถานการณต์ า่ งๆมี
ความสามารถในการคดิ แกป้ ัญหาใหเ้ หตผุ ลทางคณิตศาสตรโ์ ดยมีข้อเทจ็ จรงิ ทางคณิตศาสตรร์ องรบั ใฝเ่ รียนรู้ มี
ความมุ่งมนั่ ในการทำงานทางคณิตศาสตร์ ใช้ความรู้ทางคณติ ศาสตร์เปน็ เครื่องมอื ในการเรยี นรู้เนอ้ื หาต่างๆหรือ
ศาสตร์อื่นๆและนำทักษะทางคณิตศาสตร์ไปใชใ้ นชีวิตจรงิ
ตวั ช้วี ดั
ค 1.1 ม.4-6/1, ม.4-6/2, ม.4-6/3
ค 1.3 ม.4-6/1, ม.4-6/2, ม.4-6/3, ม.4-6/4
รวม 2 มาตรฐาน 7 ตัวช้ีวัด
คำอธบิ ายรายวชิ าเพิ่มเติม
รหสั วชิ า ค 31202 กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์
ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 รวม 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต
ศึกษา การบวก การลบ การคูณ การหารฟังก์ชัน ฟังก์ชันประกอบ ฟังก์ชันผกผัน ฟังก์ชันเอกซ์โพเนน
เชยี ล ฟงั กช์ ันลอการทิ ึม
โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์บวก ลบ คูณ หารฟังก์ชัน บูรณาการรกระบวนการคิดสร้างสรรค์
กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสร้างความตระหนัก
กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ การให้เหตุผลอิงหลักการ และกระบวนการสร้างทักษะการฝึกปฏิบัติผ่าน
การจดั การเรยี นรู้ตามแนวคดิ Research Based Learning
เพอ่ื ให้ผู้เรยี นมีทักษะในการส่ือสารและสื่อความหมายทางคณติ ศาสตร์ในสถานการณ์ต่างๆมี
ความสามารถในการคิดแกป้ ัญหาให้เหตุผลทางคณติ ศาสตรโ์ ดยมขี อ้ เท็จจรงิ ทางคณิตศาสตรร์ องรบั ใฝ่เรยี นรู้ มี
ความมุ่งม่ันในการทำงานทางคณิตศาสตร์ ใช้ความรู้ทางคณิตศาสตรเ์ ปน็ เครือ่ งมือในการเรียนรู้เนือ้ หาต่างๆหรือ
ศาสตรอ์ ่นื ๆและนำทักษะทางคณิตศาสตร์ไปใช้ในชวี ิตจริง
ตวั ชี้วัด
ค 1.2 ม.4-6/1 , ม.4-6/2 , ม.4-6/3
รวม 1 มาตรฐาน 3 ตัวช้ีวัด
คำอธบิ ายรายวชิ าเพิ่มเติม
รหัสวชิ า ค 32201 กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์
ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 5 รวม 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หน่วยกติ
ศึกษา เลขยกกำลัง รากที่ n ของจำนวนจริงเม่ือ n เป็นจำนวนนับที่มากกว่า 1 เลขยกกำลังท่ีมีเลขช้ี
กำลงั เป็นจำนวนตรรกยะ เขา้ ใจและใชค้ วามรูเ้ ก่ียวกับดอกเบ้ยี และมูลค่าของเงินในการแก้ปัญหา
โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการศึกษาเก่ียวกับเลขยกกำลัง สมบัติของเลขยกกำลัง ดอกเบี้ย
และมลู คา่ ของเงนิ บูรณาการรกระบวนการคิดสร้างสรรค์ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการ
คิดวิเคราะห์ กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ การให้เหตุผลอิงหลักการ
และกระบวนการสรา้ งทกั ษะการฝกึ ปฏบิ ตั ผิ า่ นการจดั การเรียนรตู้ ามแนวคิด Research Based Learning
เพือ่ ใหผ้ ้เู รียนมที กั ษะในการสื่อสารและส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ในสถานการณต์ า่ งๆมี
ความสามารถในการคิดแก้ปัญหาใหเ้ หตผุ ลทางคณิตศาสตรโ์ ดยมขี อ้ เทจ็ จริงทางคณติ ศาสตร์รองรับ ใฝเ่ รียนรู้ มี
ความมุ่งมั่นในการทำงานทางคณติ ศาสตร์ ใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์เป็นเครือ่ งมือในการเรียนร้เู นือ้ หาต่างๆหรือ
ศาสตร์อ่ืนๆและนำทักษะทางคณิตศาสตร์ไปใช้ในชีวิตจริง
ตวั ชีว้ ัด
ค 1.1 ม.4-6/1
ค 1.3 ม.4-6/1
รวม 2 มาตรฐาน 2 ตัวช้ีวัด
รหสั วิชา ค 32202 คำอธิบายรายวิชาเพ่ิมเติม
ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 5 กลุม่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
รวม 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกติ
ศึกษา ฟังก์ชันและกราฟของฟังก์ชัน(ฟังก์ชันเชิงเส้น ฟังก์ชันกำลังสองฟังก์ชันขั้นบันได ฟังก์ชันเอกซ์
โพเนนเซยี ล) ลำดบั และอนุกรม ลำดับเลขคณติ และลำดับเรขาคณติ อนุกรมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิต
โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการศึกษาเก่ียวกับฟังก์ชันและกราฟของฟังก์ชัน ลำดับและ
อนุกรม บูรณาการกระบวนการคิดสร้างสรรค์ กระบวนการแก้ปญั หา กระบวนการกลมุ่ กระบวนการคดิ วิเคราะห์
กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ การให้เหตุผลอิงหลักการ และ
กระบวนการสร้างทกั ษะการฝึกปฏบิ ตั ผิ า่ นการจดั การเรยี นรู้ตามแนวคดิ Research Based Learning
เพือ่ ใหผ้ เู้ รียนมีทกั ษะในการส่ือสารและส่ือความหมายทางคณติ ศาสตร์ในสถานการณต์ า่ งๆมี
ความสามารถในการคิดแกป้ ัญหาใหเ้ หตผุ ลทางคณติ ศาสตรโ์ ดยมีขอ้ เทจ็ จรงิ ทางคณติ ศาสตรร์ องรบั ใฝเ่ รยี นรู้
มีความมงุ่ ม่นั ในการทำงานทางคณติ ศาสตร์ ใช้ความรู้ทางคณติ ศาสตร์เป็นเคร่ืองมือในการเรียนรเู้ น้อื หาต่างๆ
หรอื ศาสตร์อนื่ ๆและนำทกั ษะทางคณิตศาสตร์ไปใชใ้ นชวี ติ จริง
ตวั ช้ีวัด
ค 1.2 ม.4-6/1 , ม.4-6/2
รวม 1 มาตรฐาน 2 ตัวชี้วัด
คำอธิบายรายวิชาเพ่ิมเติม
รหัสวชิ า ค 33201 กลุม่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์
ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 รวม 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หน่วยกติ
ศึกษา สถิติ ข้อมูล ตำแหน่งที่ของข้อมูล ค่ากลาง (ฐานนิยม มัธยฐาน ค่าเฉลี่ยเลขคณิต)ค่ากระจาย
(พิสัย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความแปรปรวน)การนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ การแปล
ความหมายของค่าสถติ ิ
โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการทำความเข้าใจและใช้ความรู้ทางสถิติในการนำเสนอข้อมูล
และแปลความหมายของค่าสถิติเพื่อประกอบการตัดสินใจ บูรณาการกระบวนการคิดสร้างสรรค์ กระบวนการ
แก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสร้าง
ความรู้ความเข้าใจ การให้เหตุผลอิงหลักการ และกระบวนการสร้างทักษะการฝึกปฏิบัติผ่านการจัดการเรียนรู้
ตามแนวคดิ Research Based Learning
เพื่อใหผ้ ู้เรียนมีทักษะในการสื่อสารและส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ในสถานการณต์ า่ งๆมี
ความสามารถในการคดิ แก้ปัญหาให้เหตุผลทางคณติ ศาสตรโ์ ดยมีขอ้ เท็จจรงิ ทางคณิตศาสตร์รองรับ ใฝเ่ รียนรู้ มี
ความม่งุ มน่ั ในการทำงานทางคณิตศาสตร์ ใชค้ วามรู้ทางคณิตศาสตรเ์ ป็นเคร่อื งมอื ในการเรียนรู้เนอ้ื หาตา่ งๆหรือ
ศาสตร์อน่ื ๆและนำทักษะทางคณติ ศาสตร์ไปใชใ้ นชวี ติ จริง
ตวั ช้ีวัด
ค 3.1 ม.4-6/1
รวม 1 มาตรฐาน 1 ตัวชี้วัด
คำอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน
รหสั วชิ า ว11101 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 1 เวลาเรยี น 80 ชั่วโมง
ศึกษาคน้ คว้าเก่ยี วกบั ชอื่ พืชและสัตว์ท่ีอาศยั อย่บู รเิ วณต่างๆ สภาพแวดล้อม บอกสภาพแวดลอ้ มท่ี
เหมาะสมกับการดำรงชวี ติ ของสตั วใ์ นบริเวณทอ่ี าศัยอยู่ ระบชุ ือ่ บรรยายลกั ษณะและบอกหน้าทีข่ องสว่ นตา่ งๆ
ของร่ายกายมนุษย์สตั ว์และพืชรวมทง้ั บรรยายการทำหนา้ ทีร่ ่วมกนั ของส่วนต่างๆ ของร่างกายมนุษย์ในการทำ
กจิ กรรมตา่ งๆ ความสำคัญของส่วนตา่ งๆ ของร่างกายตนเอง โดยการดแู ลสว่ นตา่ งๆ อยา่ งถูกต้องปลอดภยั และ
รักษาความสะอาดอยู่เสมอ สมบัตทิ ีส่ งั เกตได้ของวัสดุ ท่ีใช้ทำวัตถุทที่ ำจากวัสดุ ชนิดเดียวหรือหลายชนดิ
ประกอบกนั โดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจักษ์ ชนิดของวสั ดุ และจัดกลมุ่ วัสดุตามสมบตั ิทีส่ ังเกต การเกิดเสยี งและทิศ
ทางการเคล่อื นที่ของเสยี งจากหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ ดาวท่ีปรากฏบนทอ้ งฟา้ ในเวลากลางวนั และกลางคนื จาก
ขอ้ มลู ทีร่ วบรวม สาเหตทุ ี่มองไมเ่ ห็นดาวส่วนใหญใ่ นเวลากลางวันจากหลกั ฐานเชิงประจักษ์ ลกั ษณะภายนอก
ของหนิ จากลักษณะเฉพาะตัวทส่ี งั เกต ปัญหาอย่างง่ายโดยใชก้ ารลองผิดลองถูก การเปรยี บเทียบ ลำดบั ขน้ั ตอน
การทำงานหรือการแก้ปญั หาอย่างงา่ ยโดยใชภ้ าพ สัญลักษณห์ รอื ข้อความ โปรแกรมอย่างง่ายโดยใช้โดยใช้
ซอฟต์แวร์ หรือสอ่ื เทคโนโลยีหรือการสร้าง จัดเก็บเรยี กใช้ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่าง
ปลอดภัย ปฏบิ ัตติ ามข้อตกลงในการใช้คอมพวิ เตอรร์ ่วมกัน ดแู ลรกั ษาอุปกรณ์เบือ้ งต้นใช้งานอยา่ งเหมาะสม
โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรใ์ นการระบุ บอก ตระหนัก บรรยาย อธิบาย สรา้ งแบบจำลอง
เปรยี บเทยี บ ทดลอง การแก้ปญั หาโดยการลองผดิ ลองถูก เขียนโปรแกรม ใชเ้ ทคโนโลยีในการสรา้ ง จดั เก็บข้อมูล
บรู ณาการกระบวนการวิเคราะห์ กระบวนการสืบเสาะ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
กระบวนการคิดวเิ คราะหผ์ ่านกิจกรรมการเรียนรูต้ ามแนวคิด Active Learning
เพอ่ื ให้ผ้เู รยี นตระหนกั ถึงความสัมพันธ์ระหวา่ งวิทยาศาสตร์กับสภาพแวดลอ้ ม เปน็ ผทู้ มี่ ีจติ วทิ ยาศาสตร์
มีความมุ่งม่ัน และใฝ่เรียนรใู้ นเชงิ วิทยาศาสตร์ มีคณุ ธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมในการใช้วิทยาศาสตร์อยา่ ง
สร้างสรรค์
ตวั ชว้ี ดั
ว 1.1 ป.1/1, ป.1/2
ว 1.2 ป.1/1, ป.1/2
ว 2.1 ป.1/1, ป.1/2
ว 2.3 ป.1/1
ว 3.1 ป.1/1, ป.1/2
ว 3.2 ป.1/1
ว 4.2 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4, ป.1/5
7 มาตรฐาน 15 ตัวชวี้ ัด
คำอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน
รหัสวิชา ว12101 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 เวลาเรียน 80 ชั่วโมง
ศึกษาพชื ตอ้ งการแสงและน้ำเพือ่ การเจริญเตบิ โตโดยใชข้ ้อมลู จากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ ความจำเปน็ ท่ี
พืชต้องได้รบั น้ำและแสงเพ่อื การเจรญิ เตบิ โต โดยดูแลพชื ให้ได้รับสง่ิ ดงั กล่าวอย่างเหมาะสม การสรา้ งแบบจำลอง
ท่บี รรยายวัฏจกั รชวี ิตของพืชดอก ลกั ษณะของสงิ่ มชี ีวิตและสงิ่ ไม่มชี วี ติ จากข้อมูลทร่ี วบรวมได้ สมบัติการดูดซบั
น้ำของวัสดโุ ดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจักษ์ การนำสมบตั ิการดูดซบั น้ำของวัสดุไปประยกุ ต์ใช้ในการทำวตั ถุใน
ชวี ิตประจำวัน สมบตั ทิ ่สี ังเกตได้ของวัสดุ การนำวสั ดทุ ่ใี ช้แล้วกลบั มาใช้ใหม่ ประโยชน์ของการนำวัสดทุ ี่ใชแ้ ลว้
กลับมาใช้ใหม่ แนวการเคลื่อนที่ของแสงจากแหลง่ กำเนิดแสง การมองเหน็ ของวัตถุ คุณค่าของความรู้ของการ
มองเห็น การปอ้ งกันอนั ตรายจากการมองวัตถุท่ีอยู่ในบรเิ วณทีม่ แี สงสวา่ งไมเ่ หมาะสม ส่วนประกอบของดิน การ
จำแนกชนดิ ของดนิ โดยลกั ษณะเน้ือดินและการจับตัวเปน็ เกณฑ์ การใช้ประโยชน์จากดนิ ขั้นตอนการทำงานหรือ
การแก้ปัญหาอยา่ งงา่ ยโดยใช้ภาพ สญั ลกั ษณ์ หรือข้อความ การเขียนโปรแกรมอยา่ งงา่ ยโดยใช้ซอฟต์แวรห์ รือสอื่
และตรวจหาข้อผดิ พลาดของโปรแกรม เทคโนโลยใี นการสร้าง จัดหมวดหมู่ คน้ หา จดั เก็บ เรยี กใชข้ อ้ มลู ตาม
วัตถปุ ระสงค์ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภยั การปฏิบัติตามข้อตกลงในการใชค้ อมพิวเตอรร์ ว่ มกนั
การดแู ลรักษาอปุ กรณเ์ บ้ืองต้น
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตรใ์ นการสร้างแบบจำลอง เปรียบเทียบ ข้อมลู อธบิ ายสมบัติที่สังเกตได้
เขยี นโปรแกรมและตรวจหาข้อผดิ พลาด ใชเ้ ทคโนโลยีในการสรา้ ง หมวดหมู่ ค้นหาและจัดเก็บ บรู ณาการ
กระบวนการวเิ คราะห์ กระบวนการสบื เสาะ กระบวนการกลมุ่ ผา่ นกจิ กรรมการเรยี นรู้ตามแนวคดิ Active
Learning
เพือ่ ให้ผูเ้ รียนแสดงความกระตือรือรน้ สนใจท่ีจะเรยี นรู้ มี่ความคิดสรา้ งสรรค์ เก่ยี วกบั เร่ืองท่ีศกึ ษาตาม
คุณลกั ษณะของผู้มจี ิตวิทยาศาสตร์ เห็นคณุ ค่าของการนำความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ไปใชป้ ระโยชนใ์ น
ชวี ิตประจำวนั
ตัวชว้ี ัด
ว 1.2 ป.2/1 ป.2/2 ป.2/3
ว 1.3 ป.2/1 ป.2/2 ป.2/3 ป.2/4
ว 2.1 ป.2/1 ป.2/2 ป.2/3 ป.2/4
ว 2.3 ป.2/1 ป.2/2
ว 3.2 ป.2/1 ป 2/2
ว 4.2 ป.2/1 ป.2/2 ป.2/3 ป.2/4
6 มาตรฐาน 19 ตัวชวี้ ัด
คำอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน
รหสั วชิ า ว13101 กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์
ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3 เวลาเรียน 80 ชั่วโมง
ศกึ ษาส่งิ ทจี่ ำเป็นต่อการดำรงชวี ติ และการเจรญิ เติบโตของมนษุ ย์และสตั ว์โดยใชข้ ้อมลู ท่ีรวบรวมได้
ประโยชนข์ องอาหารนำ้ และอากาศโดยการดูแลตนเองและสัตวใ์ หไ้ ดร้ ับส่ิงเหล่านอี้ ยา่ งเหมาะสม แบบจำลองที่
บรรยายวัฏจักรชีวิตของสัตว์และเปรยี บเทยี บวฏั จักรชีวิตของสัตว์บางชนดิ คุณคา่ ของชีวติ สัตว์โดยไมท่ ำใหว้ ัฏ
จกั รชีวิตของสัตว์เปลย่ี นแปลง วัตถุประกอบขน้ึ จากชน้ิ ส่วนยอ่ ยๆ ซ่งึ สามารถแยกออกจากกันได้และประกอบกัน
เปน็ วตั ถุชน้ิ ใหมไ่ ด้ การเปลีย่ นแปลงของวัสดุเม่ือทำใหร้ ้อนขนึ้ หรือเย็นลง ผลของแรงที่มตี ่อการเปลยี่ นแปลงการ
เคลื่อนท่ีของวตั ถุ การเปรียบเทยี บและยกตวั อย่างแรงสมั ผัสและแรงไมส่ ัมผัสท่ีมีผลต่อการเคลื่อนที่ของวตั ถุ การ
จำแนกวตั ถโุ ดยใช้การดึงดดู กับแม่เหล็กเปน็ เกณฑ์ การระบุข้ัวแม่เหลก็ และพยากรณ์ผลที่เกิดข้นึ ระหวา่ ง
ขวั้ แม่เหลก็ เม่ือนำมาเข้าใกลก้ ัน การเปลี่ยนพลังงานหนึ่งไปเป็นอีกพลงั งานหน่ึง การทำงานของเครอ่ื งกำเนิด
ไฟฟ้า แหล่งพลังงานในการผลติ ไฟฟา้ ประโยชนแ์ ละโทษของไฟฟา้ วิธกี ารใชไ้ ฟฟา้ อยา่ งประหยัดและปลอดภัย
แบบรปู เส้นทางการข้นึ และตกของดวงอาทิตย์ สาเหตขุ องการเกดิ ปรากฏการณ์การข้ึนและตกของดวงอาทิตย์
การเกิดกลางวันกลางคนื และการกำหนดทศิ โดยใช้แบบจำลอง ความสำคัญของดวงอาทิตย์ ประโยชน์ของดวง
อาทติ ย์ต่อสิ่งมชี ีวติ สว่ นประกอบของอากาศ ความสำคัญของอากาศ การลดการเกดิ มลพษิ ในอากาศ การเกิดลม
ประโยชนแ์ ละโทษของลม อัลกอริทึมในการทำงาน การแก้ปญั หาอยา่ งง่าย
โดยใชภ้ าพ สญั ลกั ษณ์ หรอื ข้อความ การเขยี นโปรแกรมอยา่ งง่าย โดยใชซ้ อฟต์แวร์หรอื สอื่ และตรวจหา
ข้อผดิ พลาดของโปรแกรม การใช้อนิ เตอรเ์ น็ตค้นหาความรู้ การรวบรวม ประมวลผล และนำเสนอขอ้ มลู โดยใช้
ซอฟต์แวรต์ ามวตั ถุประสงค์ การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภัย ขอ้ ตกลงในการใชอ้ นิ เตอร์เนต็
โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ในการสร้างแบบจำลอง อธบิ ายการเปลย่ี นแปลงของวตั ถุ ระบุผล
ของแรง เปรียบเทียบและยกตวั อยา่ ง จำแนกวตั ถุ บรรยายการทำงาน อธบิ ายสาเหตตุ า่ งๆ จากแบบจำลอง
แสดงอัลกอรทิ มึ ในการทำงาน เขยี นโปรแกรมและตรวจหาขอ้ ผิดพลาด ใชอ้ ินเทอรเ์ นต็ บูรณาการ กระวนการคดิ
วเิ คราะห์ กระบวนการสบื เสาะ กระบวนการกลมุ่ ผ่านการจัดการเรียนรู้ตามแนวคดิ Active Learning
เพือ่ ให้ผ้เู รียนตระหนักถงึ ประโยชน์ของการใช้ความรแู้ ละกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดำรงชีวิต
ศึกษาหาความรู้เพมิ่ เติมสำหรบั ทำโครงงานหรือช้นิ งานตามความสนใจดว้ ยความมุ่งมั่น รอบคอบ ประหยดั
ซือ่ สัตยแ์ ละทำงานร่วมกบั ผ้อู ื่นอย่างมีความสุข
ตัวชี้วัด
ว1.2 ป.3/1 ป.3/2 ป.3/3 ป.3/4
ว.2.1 ป.3/1 ป.3/2
ว.2.2 ป.3/1ป.3/2 ป.3/3 ป3/4
ว.2.3 ป.3/1 ป.3/2 ป.3/3
ว.3/1 ป.3/1 ป.3/2 ป.3/3
ว.3.2 ป.3/1 ป.3/2 ป.3/3 ป.3/4
ว.4.2 ป.3/1 ป.3/2 ป.3/3 ป.3/4 ป.3/5
7 มาตรฐาน 25 ตัวช้วี ัด
คำอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน
รหสั วชิ า ว14101 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์
ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 4 เวลาเรยี น 80 ช่ัวโมง
ศกึ ษาหนา้ ทข่ี องราก ลำตน้ ใบและดอกของพชื ดอก โดยใช้ข้อมูลที่รวบรวมได้ จำแนกสงิ่ มีชวี ิตโดยใช้
ความเหมอื นและความแตกต่างของลักษณะของส่ิงมชี ีวติ ออกเป็นกลุ่มพชื กลุ่มสัตว์ และกลุ่มทไ่ี มใ่ ช่พชื และสตั ว์
จำแนกพืชออกเปน็ พืชดอกและพืชไมม่ ีดอกโดยใช้การมีดอกเป็นเกณฑ์โดยใชข้ อ้ มลู ท่ีรวบรวมได้ จำแนกสัตว์
ออกเป็นสตั ว์ท่ีมีกระดูกสนั หลังและสตั วไ์ ม่มกี ระดกู สนั หลงั เปน็ เกณฑ์ โดยใช้ข้อมลู ทรี่ วบรวมได้ ลกั ษณะเฉพาะท่ี
สังเกตได้ของสัตว์ มกี ระดูกสันหลังในกล่มุ ปลา กลมุ่ สัตวส์ ะเทนิ น้ำ สะเทินบก กลมุ่ สัตวเ์ ลือ้ ยคลาน กลุ่มนก และ
กล่มุ สตั วเ์ ล้ยี งลูกดว้ ยนม และยกตัวอย่างสิ่งมชี วี ิตในแตล่ ะกลุ่ม สมบตั ทิ างกายภาพดา้ นความแข็ง สภาพยดื หยุ่น
การนำความร้อนและการนำไฟฟ้าของวสั ดุ โดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษจ์ ากการทดลองและระบุการนำสมบัติ
เรอ่ื งความแข็ง สภาพยดื หย่นุ การนำความร้อนและการนำไฟฟา้ ของวัสดุไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวันผา่ นกระบวนการ
ออกแบบชิน้ งาน สมบัติทางกายภาพของวัสดอุ ยา่ งมเี หตผุ ลจากการทดลอง สมบัติของสสารท้งั 3 สถานะจาก
ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตมวลการตอ้ งการท่ีอยูร่ ูปร่างและปริมาตรของสสาร ใชเ้ ครอ่ื งมือเพอื่ วดั มวลและปริมาตร
ของสสารทง้ั 3 สถานะ ผลของแรงโนม้ ถ่วงท่ีมตี อ่ วตั ถุจากหลกั ฐานเชิงประจักษ์ การใชเ้ ครื่องชงั่ สปรงิ ในการชง่ั
นำ้ หนกั ของวตั ถุ มวลของวัตถุทม่ี ผี ลต่อการเปล่ยี นแปลงการเคล่อื นท่ีของวตั ถุทม่ี หี ลักฐานเชงิ ประจักษ์ การ
จำแนกวัตถุเปน็ ตัวกลางโปร่งใส ตวั กลางโปรง่ แสง และวัตถุทบึ แสงจากลกั ษณะการมองเห็นสิง่ ต่างๆ ผา่ นวตั ถนุ น้ั
เป็นเกณฑ์โดยใชห้ ลักฐานเชิงประจกั ษ์ แบบรปู เส้นทางการข้นึ และตกของดวงจนั ทรโ์ ดยใชห้ ลักฐานเชงิ ประจกั ษ์
การสร้างแบบจำลองท่ีอธบิ ายแบบรปู การเปลี่ยนแปลงรปู ร่างปรากฏของดวงจันทร์และพยากรณ์รปู รา่ งปรากฏ
ของดวงจนั ทร์ การสรา้ งแบบจำลองแสดงองค์ประกอบของระบบสรุ ิยะ เปรยี บเทียบคาบการโคจรของดาว
เคราะห์ตา่ งๆ จากแบบจำลอง การใชเ้ หตผุ ลเชงิ ตรรกะในการแกป้ ญั หา การอธบิ ายการทำงาน การคาดการณ์
ผลลพั ธจ์ ากปัญหาอย่างงา่ ย การออกแบบ การเขยี นโปรแกรมอยา่ งง่ายโดยใช้ซอฟตแ์ วร์หรือส่ือและตรวจหา
ขอ้ ผิดพลาดและแก้ไข การใช้อินเตอร์เน็ตคน้ หาความรู้และประเมนิ ความน่าเชอ่ื ถือของข้อมูล การรวบรวม
ประเมนิ นำเสนอขอ้ มลู และสารสนเทศโดยใชซ้ อฟต์แวรท์ ห่ี ลากหลายเพื่อแกป้ ัญหาในชีวิตประจำวนั การใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภยั เข้าใจสิทธิและหนา้ ที่ของตนเคารพในสิทธิของผู้อ่นื
โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรใ์ นการบรรยายลักษณะเฉพาะ เปรียบเทียบสมบัตทิ างกายภาพ
แลกเปล่ยี นความคิดเหน็ ใช้หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ จำแนกวัตถุ สรา้ งแบบจำลอง ใชเ้ หตุผลเชงิ ตรรกะในการ
แกป้ ัญหา ออกแบบการเขยี นโปรแกรม ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูลจากอินเทอรเ์ น็ต ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ บรู ณาการกระบวนการคดิ วิเคราะห์ กระบวนการสบื เสาะ กระบวนการกลุ่ม ผ่านการจัดการเรียนรู้
ความแนวคดิ Active Learning
เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนแสดงความรบั ผิดชอบด้วยการทำงานที่ไดร้ ับมอบหมายอย่างรอบคอบ ประหยดั ซือ่ สัตย์
จนงานลลุ ว่ งเปน็ ผลสำเรจ็ แสดงความคดิ เป็นของตนเอง ยอมรบั ในข้อมูลที่มหี ลกั ฐานอา้ งอิง และทำงานรว่ มกับ
ผอู้ ืน่ อย่างสรา้ งสรรค์
ตัวชว้ี ัด
ว. 1.2 ป.4/1
ว. 1.3 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4
ว. 2.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4
ว. 2.2 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3
ว. 2.3 ป.4/1
ว. 3.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3
ว. 4.2 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5
7 มาตรฐาน 21 ตัวชี้วดั
คำอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน
รหสั วิชา ว15101 กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์
ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 เวลาเรียน 80 ช่วั โมง
ศึกษาโครงสรา้ งและลักษณะของสงิ่ มีชีวิตทเ่ี หมาะสมกบั การดำรงชีวิต ซึง่ เป็นผลมาจากกา
ปรับตวั ของส่งิ มีชวี ิตในแตล่ ะแหลง่ ที่อยู่ ความสัมพันธ์ระหวา่ งสงิ่ มชี ีวติ กับสิง่ มีชวี ิต และความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง
สิ่งมีชีวิตกับส่งิ ไม่มีชีวิตเพื่อประโยชนต์ ่อการดำรงชวี ิต โซอ่ าหาร บทบาทหนา้ ที่ของสิง่ มชี วี ติ ท่ีเป็นผผู้ ลติ และ
ผูบ้ ริโภคในโซอ่ าหาร คุณค่าของส่งิ แวดลอ้ มที่มีต่อการดำรงชวี ิตของสิง่ มีชวี ติ การดูแลรกั ษาสง่ิ แวดล้อม ลกั ษณะ
ทางพนั ธกุ รรมทมี่ ีการถา่ ยทอดจากพ่อแมส่ ู่ลูกของพืช สตั ว์ และมนษุ ย์ ลกั ษณะที่คล้ายคลงึ กนั ของตนกบั พ่อแม่
การเปลย่ี นสถานะของสสารเมื่อทำใหส้ สารรอ้ นขึ้นหรือเย็นลง การละลายของสารในน้ำ การเปลี่ยนแปลงของ
สารเมือ่ เกิดการเปลีย่ นแปลงทางเคมี การเปลย่ี นแปลงที่ผันกลับไดแ้ ละการเปล่ยี นแปลงทผี่ นั กลับไมไ่ ด้ วิธีการหา
แรงลพั ธข์ องแรงหลายแรงในแนวเดยี วกนั ทก่ี ระทำต่อวัตถใุ นกรณีท่ีวตั ถุหยดุ นิ่ง การเขยี นแผนภาพแสดงแรงที่
กระทำต่อวัตถุทอ่ี ยู่ในแนวเดยี วกัน และแรงลพั ธ์ท่ีกระทำต่อวตั ถุ การใช้เครื่องช่ังสปรงิ ในการวัดแรงท่ีกระทำตอ่
วตั ถุ ผลของแรงเสียดทานที่มีตอ่ การเปลีย่ นแปลงการเคลื่อนที่ของวตั ถุ การเขยี นแผนภาพแสดงแรงเสียดทาน
และแรงที่อยูใ่ นแนวเดยี วกนั ท่ีกระทำตอ่ วตั ถุ การได้ยินเสียงผา่ นตัวกลาง ตวั แปร ทดลอง และลกั ษณะการเกิด
เสยี งสงู เสยี งต่ำ ลักษณะและการเกดิ เสียงดัง เสยี งค่อย วดั ระดับเสียงโดยใชเ้ คร่ืองมือวดั ระดบั เสยี ง ระดับเสียง
แนวทางในการหลีกเลีย่ งและลดมลพิษทางเสียง ความแตกตา่ งของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ แบบจำลอง การใช้
แผนท่ีดาวระบตุ ำแหนง่ และเสน้ ทางการข้นึ และตกของกลุ่มดาวฤกษบ์ นท้องฟ้า แบบรปู เสน้ ทางการขนึ้ และตก
ของกลุ่มดาวฤกษบ์ นท้องฟ้าในรอบปี ปรมิ าณน้ำในแตล่ ะแหลง่ ปรมิ าณน้ำทมี่ นุษย์นำมาใช้ประโยชน์ได้ คณุ คา่
ของนำ้ การใชน้ ำ้ อย่างประหยัดและการอนุรกั ษ์น้ำ แบบจำลองที่อธิบายการหมนุ เวียนของน้ำในวฏั จักรนำ้
กระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้ำค้าง และนำ้ ค้างแข็ง แบบจำลอง กระบวนการเกิดฝน หมิ ะ และลูกเห็บ การใช้
เหตผุ ลเชงิ ตรรกะ การแก้ปัญหา การอธบิ ายการทำงาน การคาดการณ์ผลลัพธ์จากปัญหา การออกแบบและเขียน
โปรแกรมทม่ี ีการใชเ้ หตุผลเชงิ ตรรกะ การตรวจหาขอ้ ผดิ พลาดและแก้ไข
โดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตรใ์ นการบรรยายโครงสร้าง อธบิ ายความสมั พนั ธ์ วิเคราะหการ
เปล่ยี นแปลง เขียนแผนภาพ ใชห้ ลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ ระบุตวั แปรทดลอง ออกแบบการทดลอง ใช้แผนที่ดาว
สร้างแบบจำลองใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปญั หา ออกแบบและเขียนโปรแกรมที่มกี ารใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะ
ประเมินความน่าเช่ือถือของข้อมูลจากอนิ เตอรเ์ นต็ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ บูรณาการกระบวนการวเิ คราะห์
กระบวนการสืบเสาะ กระบวนการกลุ่ม ผา่ นการจดั การเรยี นร้ตู ามแนวคดิ Active Learning
เพ่อื ใหผ้ เู้ รยี นแสดงความม่งุ มั่น ในใจท่ีจะเรียนรู้ มีความคดิ สร้างสรรค์เก่ยี วกบั เรื่องทจี่ ะศึกษาโดย
ตระหนักในคณุ คา่ ของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยใี ชค้ วามรูแ้ ละกระบวนการทางวิทยาศาสตรใ์ นการ
ดำรงชีวิต แสดงความชน่ื ชมยกย่องและเคารพสทิ ธใิ์ นผลงานของผคู้ ิดค้นและศึกษาหาความรเู้ พมิ่ เติมด้วยการทำ
โครงงานหรอื ช้นิ งานตามความสนใจ
ตวั ชว้ี ดั
ว.1.1 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4
ว.1.3 ป.5/1 ป.5/2
ว.2.1 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4
ว. 2.2 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4 ป.5/5
ว.2.3 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4 ป.5/5
ว.3.1 ป.5/1 ป.5/2
ว.3.2 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4 ป.5/5
ว.4.2 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4 ป.5/5
8 มาตรฐาน 32 ตัวช้ีวดั
คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน
รหัสวิชา ว16101 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 เวลาเรยี น 80 ชั่วโมง
ศกึ ษาสารอาหารและบอกประโยชนข์ องสารอาหารแต่ละประเภทจากอาหารท่ีตนเองรบั ประทาน การ
เลอื กรับประทานอาหารให้ได้สารอาหารครบถ้วนในสัดส่วนทเ่ี หมาะสมกบั เพศและวัย รวมทง้ั ความปลอดภัยตอ่
สขุ ภาพ ความสำคัญของสารอาหาร โดยการเลือกรับประทานอาหารท่ีมสี ารอาหารครบถ้วนในสัดสว่ นท่ี
เหมาะสมกับเพศและวยั รวมทัง้ ปลอดภยั ต่อสขุ ภาพ การสรา้ งแบบจำลองระบบย่อยอาหาร และบรรยายหนา้ ท่ี
ของอวยั วะในระบบย่อยอาหาร รวมทง้ั อธบิ ายการย่อยอาหารและการดูดซมึ สารอาหาร ความสำคัญของระบบ
ยอ่ ยอาหารโดยบอกแนวทางในการดแู ลรกั ษาอวัยวะในระบบย่อยอาหารให้ทำงานเปน็ ปกติ การแยกสารผสมโดย
การหยบิ ออก การร่อน การใชแ้ มเ่ หลก็ ดึงดูด การรินออก การกรอง และการตกตะกอน โดยใชห้ ลกั ฐานเชิง
ประจกั ษ์ รวมทั้งระบวุ ธิ แี กป้ ัญหาในชวี ติ ประจำวันเกยี่ วกับการแยกสาร การเกิดและผลของแรงไฟฟา้ ซ่ึงเกิดจาก
วัตถุทผี่ ่านการขัดถู โดยใชห้ ลักฐานเชิงประจกั ษ์ ส่วนประกอบและบรรยายหน้าที่ของแต่ละส่วนประกอบของ
วงจรไฟฟ้าอย่างง่ายจากหลักฐานเชิงประจักษ์ แผนภาพและตอ่ วงจรไฟฟ้าอยา่ ง่าย การออกแบบการทดลองและ
การทดลองด้วยวธิ ีทเี่ หมาะสมในการอธิบายวิธีการและผลการตอ่ เซลล์ไฟฟ้าแบบอนกุ รม ประโยชน์ของความรู้
ของการตอ่ เซลลไ์ ฟฟา้ แบบอนกุ รม โดยบอกประโยชนแ์ ละการประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวนั การออกแบบการ
ทดลองและทดลองดว้ ยวิธีท่เี หมาะสมในการอธิบายการต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน ประโยชน์ของ
ความรูข้ องการต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนกุ รมและแบบขนานโดยบอกประโยชน์ ข้อจำกัด และการประยกุ ต์ใชใ้ น
ชวี ติ ประจำวัน การเกดิ เงามดื เงามวั จากหลักฐานเชิงประจักษ์ แผนภาพรงั สขี องแสงแสดงการเกดิ เงามดื เงามัว
การสรา้ งแบบจำลองท่ีอธิบายการเกิดและเปรียบเทียบปรากฏการณ์สรุ ยิ ปุ ราคาและจันทรุปราคา พัฒนาการของ
เทคโนโลยีอวกาศ และยกตัวอย่างการนำเทคโนโลยีอวกาศมาใช้ประโยชน์ในชวี ิตประจำวนั จากขอ้ มูลทร่ี วบรวม
ได้ การเกิดหินอัคนี หนิ ตะกอน และหินแปร และอธิบายวัฏจกั รหนิ จากแบบจำลอง ประโยชน์ของหนิ และแรใ่ น
ชีวิตประจำวนั จากขอ้ มูลท่ีรวบรวมได้ การเกิดซากดึกดำบรรพแ์ ละคาดคะเนสภาพแวดล้อมในอดตี ของซากดึกดำ
บรรพ์ การเกิดลมบก ลมทะเล และมรสุม รวมทง้ั อธบิ ายผลท่มี ตี อ่ สง่ิ มชี วี ติ และสิ่งแวดล้อมจากแบบจำลอง ผล
ของมรสุมตอ่ การเกิดฤดูของประเทศไทยจากข้อมลู ที่รวบรวมได้ ลกั ษณะและผลกระทบของนำ้ ท่วม การกดั เซาะ
ชายฝัง่ ดินถลม่ แผน่ ดนิ ไหว สึนามิ ผลกระทบของภยั ธรรมชาติและธรณีพิบตั ภิ ยั โดยนำเสนอแนวทางในการเฝา้
ระวังและปฏิบัตติ นใหป้ ลอดภัยจากภยั ธรรมชาตแิ ละธรณีพิบตั ิภยั ท่ีอาจเกิดในท้องถิ่น การสร้างแบบจำลองที่
อธบิ ายการเกดิ ปรากฎการณเ์ รอื นกระจก และผลของปรากฏการเรือนกระจกต่อส่งิ มชี วี ติ ผลกระทบ
ปรากฏการณ์เรือนกระจก โดยนำเสนอแนวทางการปฏบิ ตั ิตนเพอื่ ลดกจิ กรรมที่ก่อให้เกิดแกส๊ เรอื นกระจก การใช้
เหตผุ ลเชิงตรรกะในการอธิบายและออกแบบวธิ กี ารแกป้ ัญหาทีพ่ บในชีวิตประจำวนั การออกแบบและเขียน
โปรแกรมอยา่ งงา่ ย เพ่ือแกป้ ัญหาในชวี ติ ประจำวัน ตรวจหาขอ้ ผิดพลาดของโปรแกรมและแก้ไข การใช้
อินเตอร์เน็ตในการค้นหาข้อมูลอย่างมีประสทิ ธิภาพ การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศทำงานร่วมกันอยา่ งปลอดภัย
เข้าใจสทิ ธิและหน้าที่ของตน เคารพในสทิ ธิของผู้อน่ื แจง้ ผู้เกย่ี วข้องเม่ือพบข้อมูลหรือบคุ คลทีไ่ มเ่ หมาะสม
โดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ในการบอกแนวทางในการเลือก อธิบาย เปรยี บเทียบ เขียน
แผนภาพ ต่อวงจร ออกแบบการทดลอง ทดลอง สรา้ งแบบจำลอง อธิบายพัฒนาการ อธบิ ายผลที่เกิดจากข้อมูล
ทร่ี วบรวม บรรยายลักษณะและผลกระทบ ใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะ ออกแบบและเขียนโปรแกรม ใชอ้ ินเทอรเ์ น็ต
และเทคโนโลยสี ารสนเทศดว้ ยความเข้าใจในสทิ ธแิ ละหนา้ ที่ บูรณาการกระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการ
สืบเสาะ กระบวนการกลุม่ ผา่ นการจดั การเรยี นรูต้ ามแนวคิด Active Learning
เพื่อให้ผเู้ รยี น ซาบซ้ึง ห่วงใย ดแู ลรักษาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม อย่างรู้คุณค่า นำความรู้
ทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดำรงชวี ติ เคารพสิทธิและหน้าท่ขี องตนเองและของผู้อ่นื ในการทำงาน
ร่วมกับผู้อน่ื อย่างสร้างสรรค์ เหน็ คณุ ค่าของการนำความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ในชวี ิตประจำวัน ทำงานรว่ มกับผู้อ่นื
อย่างสรา้ งสรรค์
มาตรฐาน/ตัวชี้วดั
ว 1.2 ป.6/1, ป.6/2 ,ป.6/3 ,ป.6/4 ,ป.6/5
ว 2.1 ป.6/1
ว 2.2 ป.6/1
ว 2.3 ป.6/1, ป.6/2 ,ป.6/3 ,ป.6/4 ,ป.6/5 ,ป.6/6 ,ป.6/7 ,ป.6/8
ว 3.1 ป.6/1 ,ป.6/2
ว 3.2 ป6/1, ป.6/2, ป.6/3 ,ป.6/4 ,ป.6/5 ,ป.6/6 ,ป.6/7 ,ป.6/8 ,ป.6/9
ว 4.2 ป6/1 ,ป.6/2 ,ป.6/3 ,ป.6/4
รวม 7 มาตรฐาน 30 ตัวช้ีวัด
รหสั วชิ า ว22101 คำอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน
กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์
ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลาเรยี น 120 ชวั่ โมง จำนวน 3.0 หนว่ ยกิต
ศึกษาการเปรียบเทียบรูปรา่ ง ลักษณะ และโครงสร้างของเซลลพ์ ชื และเซลลส์ ัตว์ หนา้ ท่ขี องผนงั เซลล์
เย่อื หุ้มเซลล์ ไซโทพลาซมึ นวิ เคลียส แวคิวโอล ไมโทคอนเดรีย และคลอโรพลาสต์ กล้องจลุ ทรรศน์ใชแ้ สง ศึกษา
เซลล์และโครงสรา้ งต่างๆ ภายในเซลล์ ความสัมพนั ธร์ ะหว่างรูปร่างกบั การทำหนา้ ทข่ี องเซลล์ การจดั ระบบของ
สิง่ มชี ีวิต โดยเร่ิมจากเซลล์ เนอ้ื เย่อื อวัยวะ ระบบอวัยวะ จนเป็นสง่ิ มชี ีวติ กระบวนการแพรแ่ ละออสโมซสิ การ
แพร่และออสโมซสิ ในชีวติ ประจำวัน ปจั จัยท่ีจำเป็นในการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงและผลผลิตทเ่ี กิดขึน้ จากการ
สงั เคราะห์ด้วยแสง ความสำคัญของการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงของพชื ต่อสิ่งมชี ีวติ และส่งิ แวดลอ้ ม คุณค่าของพชื ทม่ี ี
ต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอ้ ม การร่วมกันปลกู และดูแลรกั ษาตน้ ไมใ้ นโรงเรยี นและชมุ ชน ลกั ษณะและหน้าท่ขี องไซ
เล็มและโฟลเอม็ ทศิ ทางการลำเลียงสารในไซเล็มและโฟลเอ็มของพืช การสบื พนั ธ์แุ บบอาศัยเพศและไม่อาศยั
เพศของพืชดอก ลกั ษณะโครงสร้างของดอกท่มี ีส่วนทำให้เกิดการถา่ ยเรณู การปฏิสนธิของพืชดอก การเกดิ ผล
และเมลด็ การกระจายเมล็ดและการงอกของเมลด็ ความสำคญั ของสัตว์ท่ชี ว่ ยในการถ่ายเรณูของพชื ดอก โดย
การไม่ทำลายชีวติ ของสัตวท์ ีช่ ่วยในการถา่ ยเรณู ความสำคัญของธาตุอาหารบางชนิดท่ีมีผลตอ่ การเจริญเติบโต
และการดำรงชวี ิตของพชื การเลอื กใชป้ ุ๋ยที่มีธาตุอาหารเหมาะสมกบั พืช การเลือกวิธีการขยายพันธุ์พืชให้
เหมาะสมกบั ความต้องการของมนษุ ย์ การสืบพันธุข์ องพืช ความสำคญั ของเทคโนโลยี การเพาะเลย้ี งเน้ือเยื่อใน
การใชป้ ระโยชน์ดา้ นตา่ งๆ ประโยชนข์ องการขยายพนั ธ์ุพชื สมบตั ทิ างกายภาพบางประการของธาตุโลหะ อโลหะ
และกึ่งโลหะ การจดั กลุ่มธาตุเป็นโลหะ อโลหะและก่ึงโลหะ การวิเคราะหผ์ ลจากการใช้ธาตุโลหะ อโลหะ กึ่ง
โลหะและธาตุกัมมันตรงั สีทีม่ ีต่อสิง่ มชี ีวติ ส่ิงแวดลอ้ ม เศรษฐกิจและสงั คม คุณค่าของการใชธ้ าตุโลหะ อโลหะ กงึ่
โลหะ ธาตกุ มั มนั ตรังสี การใช้ธาตอุ ย่างปลอดภยั คุ้มค่า การเปรียบเทยี บจุดเดอื ด จุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์
และสารผสม การวัดอุณหภูมิ เขยี นกราฟ แปลความหมายข้อมูลจากกราฟหรือสารสนเทศ ความหนาแน่นของ
สารบรสิ ทุ ธิ์และสารผสม การใช้เคร่อื งมือวดั มวลและปริมาตรของสารบรสิ ุทธ์แิ ละสารผสม ความสัมพันธ์ระหว่าง
อะตอม ธาตุ และสารประกอบ โครงสร้างอะตอมที่ประกอบด้วยโปรตอน นวิ ตรอน และอเิ ลก็ ตรอน การจดั เรียง
อนภุ าคแรงยดึ เหน่ยี วระหว่างอนภุ าคและการเคลือ่ นที่ของอนุภาคของสสารชนิดเดียวกันในสถานะของแข็ง
ของเหลว และแก๊ส ความสมั พันธ์ระหวา่ งพลังงานความร้อนกบั การเปลีย่ นสถานะของสสาร ความสมั พันธ์
ระหวา่ งความดนั อากาศกับความสงู จากพน้ื โลก การวเิ คราะห์ แปลความหมายข้อมูลและการคำนวณปริมาณ
ความรอ้ นท่ีทำให้สสารเปลี่ยนอุณหภูมแิ ละเปลย่ี นสถานะ โดยใชส้ มการ Q =mc t และ Q = mL การใช้
เทอรโ์ มมิเตอรใ์ นการวัดอุณหภมู ิของสสาร การขยายตัวหรอื หดตัวของสสารเนื่องจากได้รับหรอื สูญเสียความร้อน
ประโยชน์ของความรู้ของการหดและขยายตวั ของสสารเนื่องจากความร้อน การนำความร้มู าแก้ปญั หาใน
ชวี ติ ประจำวนั การถา่ ยโอนความร้อน และคำนวณปริมาณความร้อนท่ีถา่ ยโอนระหว่างสสารจนเกิดสมดลุ ความ
ร้อนโดยใช้สมการ Q สูญเสีย = Q ได้รับ การถา่ ยโอนความร้อนโดยการนำความร้อน การพาความร้อน การแผ่
รังสีความร้อน การออกแบบ เลอื กใช้ และสร้างอุปกรณ์ เพื่อแก้ปัญหาในชวี ติ ประจำวัน การแบง่ ชั้นบรรยากาศ
และเปรียบเทียบประโยชน์ของบรรยากาศแตล่ ะชั้น ปจั จัยท่ีมีผลต่อการเปลย่ี นแปลงองค์ประกอบของลมฟ้า
อากาศ กระบวนการเกิดพายุฝนฟา้ คะนองและพายุหมนุ เขตร้อนและผลท่ีมตี อ่ สิง่ มชี ีวติ และส่งิ แวดล้อม การ
ปฏิบตั ิตนให้เหมาะสมและปลอดภยั การพยากรณ์อากาศ และพยากรณ์อากาศอยา่ งง่าย คุณค่าของการพยากรณ์
อากาศ ประโยชนจ์ ากคำพยากรณ์อากาศ ผลกระทบการเปล่ยี นแปลงภมู ิอากาศโลก การปฏิบัตติ นภายใตก้ าร
เปล่ียนแปลงภูมอิ ากาศโลก แนวคดิ หลกั ของเทคโนโลยีในชวี ติ ประจำวนั สาเหตุหรอื ปจั จัยทสี่ ง่ ผลตอ่ การ
เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ปญั หาหรอื ความต้องการในชวี ิตประจำวัน การออกแบบวิธกี ารแก้ปัญหา การ
ทดสอบ ประเมนิ ผล ระบขุ ้อบกพร่องทเ่ี กดิ ขึ้น แนวทางการปรับปรงุ แก้ไข การใช้ความรแู้ ละทกั ษะเก่ยี วกบั วัสดุ
อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้า หรอื อเิ ลก็ ทรอนิกสเ์ พ่ือแกป้ ัญหาได้อยา่ งถูกต้อง เหมาะสม ปลอดภัย การ
ออกแบบอลั กอรทิ ึมท่ใี ชแ้ นวคิดเชิงนามธรรมเพื่อแก้ปัญหาหรอื อธิบายการทำงานทีพ่ บในชีวติ จริง การออกแบบ
และเขียนโปรแกรมอย่างงา่ ยเพ่อื แกป้ ญั หาทางคณติ ศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์ การรวบรวมขอ้ มูลปฐมภมู ิ
ประมวลผล ประเมนิ ผล นำเสนอข้อมูลและสารสนเทศตามวัตถุประสงคโ์ ดยใช้ซอฟต์แวร์หรอื บริการบน
อินเทอรเ์ นต็ ทหี่ ลากหลาย การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภยั ใช้สือ่ และแหล่งข้อมูลตามข้อกำหนดและ
ข้อตกลง
โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ในการบอกแนวทางในการเลอื ก อธบิ าย เปรียบเทียบ เขยี น
แผนภาพ ต่อวงจร ออกแบบการทดลอง ทดลอง สร้างแบบจำลอง อธบิ ายพฒั นาการ อธบิ ายผลท่ีเกดิ จากข้อมูล
ท่ีรวบรวม บรรยายลักษณะและผลกระทบ ใชเ้ หตผุ ลเชงิ ตรรกะ ออกแบบและเขยี นโปรแกรม ใช้อนิ เทอร์เน็ต
และเทคโนโลยสี ารสนเทศด้วยความเข้าใจในสทิ ธิและหนา้ ท่ี บูรณาการกระบวนการคดิ วิเคราะห์ กระบวนการ
สืบเสาะ กระบวนการกลมุ่ ผ่านการจัดการเรียนร้ตู ามแนวคิด Active Learning
เพ่อื ใหผ้ ูเ้ รียน ซาบซงึ้ ห่วงใย ดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม อยา่ งรู้คุณค่า นำความรู้
ทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยใี นการดำรงชวี ิต เคารพสิทธิและหน้าท่ีของตนเองและของผู้อื่น ในการทำงาน
ร่วมกับผู้อ่ืนอย่างสรา้ งสรรค์ เหน็ คณุ ค่าของการนำความร้ไู ปใช้ประโยชนใ์ นชีวติ ประจำวัน ทำงานร่วมกับผู้อ่นื
อยา่ งสรา้ งสรรค์
รหสั ตัวชวี้ ดั
ว 1.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7 ม.1/8 ม.1/9 ม.1/10 ม.1/11 ม.1/12 ม.1/13
ม.1/14 ม.1/15 ม.1/16 ม.1/17 ม.1/18
ว 2.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7 ม.1/8 ม.1/9 ม.1/10
ว 2.2 ม.1/1
ว 2.3 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7
ว 3.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7
ว 4.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5
ว 4.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4
7 มาตรฐาน 52 ตัวชีว้ ดั
คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน
รหัสวิชา ว22201 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์
ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 เวลาเรียน 120 ชั่วโมง จำนวน 3.0 หนว่ ยกิต
ศึกษา อวัยวะและหน้าที่ของอวัยวะทเี่ กย่ี วข้องในระบบหายใจ กลไกการหายใจเขา้ และออก แบบจำลอง
กระบวนการแลกเปล่ียนแกส๊ ความสำคญั ของระบบหายใจ แนวทางในการดแู ลรักษาอวยั วะในระบบหายใจให้
ทำงานเป็นปกติ อวัยวะ และหน้าทข่ี องอวัยวะในระบบขับถ่ายในการกำจดั ของเสียทางไต ความสำคญั ของระบบ
ขบั ถ่ายในการกำจัดของเสยี ทางไต แนวทางในการปฏิบัติตนท่ีชว่ ยใหร้ ะบบขบั ถ่ายทำหน้าท่ีได้อยา่ งปกติ
โครงสร้างและหน้าที่ของหัวใจ หลอดเลอื ด และเลือด การทำงานของระบบหมนุ เวยี นเลือด แบบจำลอง การ
ออกแบบทดลองและทดลองในการเปรียบเทยี บอตั ราการเต้นของหัวใจ ขณะปกตแิ ละหลังทำกิจกรรม
ความสำคญั ของระบบหมนุ เวียนเลือด แนวทางในการดแู ลรกั ษาอวัยวะในระบบหมนุ เวียนเลอื ดให้ทำงานเปน็
ปกติ อวยั วะและหน้าที่ของอวัยวะในระบบประสาทส่วนกลางในการควบคุมการทำงานตา่ งๆ ของร่างกาย
ความสำคญั ของระบบประสาท การดูแลรักษา การป้องกนั การกระทบกระเทือนและอันตรายต่อสมองและไขสนั
หลัง การระบอุ วัยวะและบรรยายหน้าท่ขี องอวยั วะในระบบสบื พนั ธข์ุ องเพศชายและเพศหญิงโดยใชแ้ บบจำลอง
ผลของฮอรโ์ มนเพศชายและเพศหญงิ ทคี่ วบคุมการเปล่ยี นแปลงของร่างกาย เม่ือเข้าสวู่ ยั หนุ่มสาว การ
เปล่ยี นแปลงของร่ายกายเม่ือเขา้ ส่วู ยั หนุม่ สาว การดแู ลรักษาร่างกายและจิตใจของตนเองในช่วงท่ีมีการ
เปล่ียนแปลง การตกไข่ การมีประจำเดือน การปฏสิ นธิ และการพฒั นาของไซโกต จนคลอดเป็นทารก วธิ ีการ
คมุ กำเนิดทีเ่ หมาะสมกับสถานการณ์ที่กำหนด ผลกระทบของการตั้งครรภก์ ่อนวยั อันควร การประพฤติตนให้
เหมาะสม การแยกสารผสมโดยการระเหยแห้ง การตกผลึก การกลั่นอย่างง่าย โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ การ
สกัดด้วยตวั ทำละลาย โดยใช้หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ แยกสารโดยการระเหยแห้ง การตกผลกึ การกล่นั อย่างง่าย
โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ การสกดั ดว้ ยตวั ทำละลาย วธิ ีการแยกสาร การแก้ปัญหาในชีวติ ประจำวันจาก
การบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และวศิ วกรรมศาสตร์ ออกแบบการทดลอง และทดลอง ผล
ของชนิดตัวละลาย ชนดิ ตวั ทำละลาย อุณหภมู ทิ ี่มีต่อสภาพละลายไดข้ องสาร ผลของความดันที่มตี ่อสภาพ
ละลายไดข้ องสาร การใช้สารสนเทศ ปริมาณตัวละลายในสารละลายในหนว่ ยความเข้มข้นเปน็ ร้อยละ ปรมิ าตร
ตอ่ ปริมาตร มวลต่อมวล และมวลตอ่ ปรมิ าตร ความสำคัญของการนำความรเู้ รื่องความเขม้ ขนของสารไปใช้ การ
ใช้สารละลายในชีวิตประจำวันอย่างถูกต้องและปลอดภยั การพยากรณ์การเคล่ือนท่ขี องวตั ถุทเี่ ปน็ ผลของแรง
ลพั ธท์ ีเ่ กดิ จากแรงหลายแรงท่ีกระทำต่อวัตถุในแนวเดียวกนั การออกแบบการทดลองและทดลองดว้ ยวิธีที่
เหมาะสมในการอธิบายปจั จยั ท่มี ผี ลตอ่ ความดนั ของของเหลว การวเิ คราะห์แรงพยุงและการจม การลอยของวัตถุ
ในของเหลว การเขยี นแผนภาพแสดงแรงที่กระทำต่อวตั ถุในของเหลว แรงเสยี ดทานสถิตและแรงเสยี ดทานจลน์
การออกแบบการทดลองและทดลองดว้ ยวิธีทเี่ หมาะสมในการอธบิ ายปัจจัยท่ีมีผลต่อขนาดของแรงเสียดทาน การ
เขยี นแผนภาพแสดงแรงเสียดทานและแรงอน่ื ๆ ท่กี ระทำต่อวตั ถุ ประโยชนข์ องความรเู้ รื่องแรงเสยี ดทาน การ
วเิ คราะหส์ ถานการณป์ ญั หา วิธีการลดหรือเพิ่มแรงเสยี ดทานทเ่ี ปน็ ประโยชน์ตอ่ การทำกิจกรรมในชวี ติ ประจำวนั
การออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวธิ ีทเี่ หมาะสมในการอธบิ ายโมเมนตข์ องแรง เมื่อวตั ถอุ ยู่ในสภาพสมดลุ
ต่อการหมนุ และคำนวณโดยใชส้ มการ M= Fl การเปรยี บเทียบแหลง่ ของสนามแมเ่ หลก็ สนามไฟฟ้า และสนาม
โนม้ ถว่ ง และทศิ ทางของแรงทีก่ ระทำต่อวัตถทุ ่ีอยู่ในแต่ละสนาม การเขยี นแผนภาพแสดงแรงแมเ่ หล็ก แรงไฟฟ้า
และแรงโน้มถว่ งที่กระทำต่อวัตถุ การวิเคราะห์ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งขนาดของแรงแมเ่ หล็ก แรงไฟฟา้ และแรง
โนม้ ถ่วงทก่ี ระทำต่อวัตถทุ ี่อยใู่ นสนามน้ันๆ กับระยะหา่ งจากแหลง่ ของสนามถึงวตั ถจุ ากข้อมลู ท่ีรวบรวมได้
คำนวณอตั ราเรว็ และความเร็วของการเคลอ่ื นท่ขี องวตั ถุ โดยใชส้ มการ การเขยี นแผนภาพแสดงการกระจัดและ
ความเร็ว การวเิ คราะหส์ ถานการณแ์ ละคำนวณเก่ยี วกบั งานและกำลงั ที่เกดิ จากแรงที่กระทำต่อวตั ถุโดยใชส้ มการ
W= Fs และ P=w/t การวิเคราะหห์ ลักการทำงานของเคร่อื งกลอย่างง่าย ประโยชนข์ องความรขู้ องเครื่องกล
อย่างงา่ ย ประโยชน์และการประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน การออกแบบและทดลองดว้ ยวิธีท่ีเหมาะสมในการ
อธิบายปจั จัยที่มีผลต่อพลงั งานจลน์ และพลังงานศกั ย์โน้มถ่วง การแปลความหมายข้อมูลและอธบิ ายการเปล่ียน
พลงั งานระหว่างพลังงานศกั ย์โน้มถ่วงและพลังงานจลน์ของวัตถโุ ดยพลังงานกลของวตั ถมุ ีค่าคงตวั การวเิ คราะห์
สถานการณ์ การเปลีย่ นแปลงและการถ่ายโอนพลังงานโดยใช้กฏการอนุรักษ์พลังงาน การเปรียบเทยี บ
กระบวนการเกิด สมบตั ิ และการใช้ประโยชน์ ผลกระทบจากการใชเ้ ช้อื เพลิงซากดึกดำบรรพ์ ผลจากการใช้
เชอ้ื เพลงิ ซากดึกดำบรรพ์ แนวทางการใช้เชอ้ื เพลิงซากดกึ ดำบรรพ์ การเปรียบเทยี บข้อดีและข้อจำกดั ของ
พลังงานทดแทนแตล่ ะประเภท แนวทางการใชพ้ ลังงานทดแทนที่เหมาะสมในทอ้ งถนิ่ การสร้างแบบจำลองที่
อธิบายโครงสร้างภายในโลกตามองคป์ ระกอบทางเคมี กระบวนการผพุ ังอยู่กบั ท่ี การกร่อน และการสะสมตัวของ
ตะกอน กระบวนการที่ทำให้ผิวโลกเกิดการเปลีย่ นแปลง ลกั ษณะของชนั้ หนา้ ตดั ดนิ และกระบวนการเกิดดิน
ปจั จยั ที่ทำใหด้ ินมลี ักษณะและสมบตั ิท่ีแตกต่างกนั สมบตั ิบางประการของดิน การใช้ประโยชน์จากดิน ปจั จัยและ
กระบวนการเกดิ แหล่งน้ำผวิ ดิน และแหล่งน้ำใตด้ นิ การใช้น้ำอยา่ งย่ังยืนในท้องถนิ่ กระบวนการเกิดและ
ผลกระทบของน้ำทว่ ม การกดั เซาะชายฝั่ง ดินถลม่ หลมุ ยุบ แผน่ ดนิ ทรุด แนวโนม้ เทคโนโลยีที่จะเกิดข้ึน สาเหตุ
ปจั จยั ทีส่ ่งผลตอ่ การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี การเลือกใช้เทคโนโลยี ผลกระทบทเ่ี กิดข้นึ ตอ่ สังคมสง่ิ แวดล้อม
การระบุปญั หาหรือความตอ้ งการในชุมชน การออกแบบวิธกี ารแก้ปัญหา การตัดสนิ ใจเลือกข้อมูลทจ่ี ำเป็นภายใต้
เงอื่ นไขและทรพั ยากรที่มีอยู่ การทดสอบประเมนิ ผลภายใต้กรอบเงื่อนไข การหาแนวทางแก้ไข การใชค้ วามรู้
และทักษะเก่ียวกับวัสดุ อปุ กรณ์ เคร่อื งมอื กลไก ไฟฟ้า และอเิ ลก็ ทรอนิกสเ์ พ่ือแกป้ ญั หาหรือพัฒนางานอยา่ ง
ถกู ต้องเหมาะสม ปลอดภยั การออกแบบอลั กอรทิ ีมทีใ่ ชแ้ นวคิดเชิงคำนวณในการแกป้ ัญหาหรือการทำงาน การ
ออกแบบและเขยี นโปรแกรมท่ใี ชต้ รรกะและฟังกช์ ันในการแกป้ ญั หา องค์ประกอบและหลกั การทำงานของระบบ
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยกี ารส่อื สาร การประยุกตใ์ ชง้ านหรือแกป้ ญั หาเบอื้ งต้น การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ
อย่างปลอดภยั มีความรบั ผดิ ชอบ สร้างและแสดงสิทธใิ นการเผยแพร่ผลงาน
โดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ในการบอกแนวทางในการเลอื ก อธิบาย เปรียบเทยี บ เขยี น
แผนภาพ ตอ่ วงจร ออกแบบการทดลอง ทดลอง สรา้ งแบบจำลอง อธบิ ายพัฒนาการ อธบิ ายผลท่ีเกิดจากขอ้ มลู
ทีร่ วบรวม บรรยายลกั ษณะและผลกระทบ ใช้เหตุผลเชิงตรรกะ ออกแบบและเขยี นโปรแกรม ใช้อนิ เทอร์เนต็
และเทคโนโลยสี ารสนเทศดว้ ยความเข้าใจในสิทธแิ ละหนา้ ที่ บรู ณาการกระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการ
สืบเสาะ กระบวนการกลุม่ ผา่ นการจัดการเรียนรตู้ ามแนวคิด Active Learning
เพ่ือใหผ้ ู้เรียน ซาบซงึ้ ห่วงใย ดูแลรกั ษาทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม อยา่ งรู้คณุ ค่า นำความรู้
ทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยใี นการดำรงชวี ติ เคารพสิทธิและหนา้ ทีข่ องตนเองและของผอู้ นื่ ในการทำงาน
รว่ มกับผู้อืน่ อย่างสรา้ งสรรค์ เหน็ คุณค่าของการนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวิตประจำวัน ทำงานร่วมกบั ผู้อ่นื
อย่างสรา้ งสรรค์
รหัสตวั ช้ีวดั
ว1.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6 ม.2/7 ม.2/8 ม.2/9 ม.2/10 ม.2/11 ม.2/12 ม.2/13 ม.2/14
ม.2/15 ม.2/16 ม.2/17
ว.2.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6
ว.2.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6 ม.2/7 ม.2/8 ม.2/9 ม.2/10 ม.2/11 ม.2/12 ม.2/13 ม.2/14
ม.2/15
ว.2.3 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6
ว 3.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6 ม.2/7 ม.2/8 ม.2/9 ม.2/10
ว 4.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5
ว 4.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4
7 มาตรฐาน 63 ตัวชี้วัด
คำอธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน
รหสั วิชา ว23301 กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 เวลาเรียน 120 ชว่ั โมง จำนวน 3.0 หนว่ ยกิต
ศกึ ษาปฏสิ มั พนั ธข์ ององคป์ ระกอบของระบบนิเวศท่ไี ด้จากการสำรวจ รูปแบบความสัมพันธ์ระหวา่ ง
สิง่ มีชวี ติ กับสง่ิ มชี ีวิตรปู แบบต่างๆ ในแหล่งท่ีอยู่เดยี วกันท่ีไดจ้ ากการสำรวจ แบบจำลองในการอธิบายการ
ถา่ ยทอดพลงั งานในสายใยอาหาร ความสัมพันธข์ องผู้ผลิต ผู้บริโภค และผูย้ ่อยสลายสารอนิ ทรีย์ในระบบนิเวศ
การสะสมสารพิษในส่ิงมีชีวติ และสง่ิ แวดลอ้ มในระบบนิเวศ โดยไม่ทำลายสมดลุ ระบบนเิ วศ ความสัมพันธ์
ระหว่างยีน ดีเอน็ เอ และโครโมโซม แบบจำลอง การถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรมจากการผสมโดยพิจารณา
ลักษณะเดยี วที่แอลีลเดน่ ข่มแอลลีลดอ้ ยอยา่ งสมบูรณ์ การเกดิ จีโนไทป์และฟีโนไทปข์ องลูกและคำนวณ
อัตราสว่ นการเกดิ จโี นไทป์และฟีโนไทปข์ องร่นุ ลูก ความแตกต่างของการแบง่ เซลล์แบบไมโทซสิ และไมโอซสิ การ
เปล่ยี นแปลงของยีนหรือโครโมโซมอาจทำให้เกิดโรคทางพันธุกรรม ประโยชน์ของความรเู้ รอื่ งโรคทางพนั ธุกรรม
กอ่ นแต่งงานควรปรึกษาแพทยเ์ พื่อตรวจและวนิ ิจฉยั ภาวะเส่ยี งของลูกที่อาจเกิดโรคทางพนั ธุกรรม การใช้
ประโยชนจ์ ากสงิ่ มีชวี ิตดดั แปรพันธุกรรมและผลกระทบที่อาจมีต่อมนุษย์และสิง่ แวดล้อม การรวบรวมขอ้ มูล
ประโยชนแ์ ละผลกระทบของสิง่ มชี วี ติ ดดั แปรพันธกุ รรมทอี่ าจมีต่อมนุษยแ์ ละส่งิ แวดลอ้ ม การเผยแพร่ความรู้ท่ไี ด้
จากการโต้แยง้ ทางวิทยาศาสตร์ซ่ึงมขี ้อมูลสนับสนุน ความหลากหลายทางชวี ภาพในระดับชนิดสิ่งมชี ีวติ ในระบบ
นิเวศตา่ งๆ ความสำคัญของความหลากหลายทางชวี ภาพที่มีตอ่ การรักษาสมดุลของระบบนเิ วศและต่อมนษุ ย์
คุณค่าและความสำคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ การมีสว่ นร่วมในการดูแลรักษาความหลากหลายทาง
ชวี ภาพ สมบัติทางกายภาพและการใช้ประโยชน์วสั ดปุ ระเภทพอลเิ มอร์ เซรามิกส์ และวัสดผุ สม คณุ คา่ ของการ
ใชว้ สั ดปุ ระเภทพอลเิ มอร์ เซรามิกส์ และวสั ดุผสม การใชว้ สั ดุอยา่ งประหยดั คมุ้ ค่า การเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี การ
จดั เรยี งตวั ใหมข่ องอะตอมเมื่อเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี โดยใชแ้ บบจำลองและสมการข้อความ กฎทรงมวล ปฏกิ ิริยาดูด
ความรอ้ น และปฏกิ ิริยาคายความรอ้ น จากการเปล่ียนแปลงพลงั งานความร้อนของปฏิกริ ิยา ปฏิกริ ิยาการเกดิ
สนิมของเหล็ก ปฏกิ ริ ยิ าของกรดกบั โลหะ ปฏิกิรยิ าการเผาไหม้ การเกดิ ฝนกรด การสังเคราะห์ดว้ ยแสง สมการ
ข้อความแสดงปฏิกริ ิยา ประโยชนแ์ ละโทษของปฏกิ ิรยิ าเคมีทม่ี ีต่อส่ิงมีชีวติ และสิง่ แวดลอ้ ม วธิ กี ารปอ้ งกันและ
แกป้ ัญหาที่เกดิ จากปฏิกริ ยิ าเคมีท่ีพบในชวี ิตประจำวัน การสืบคน้ ข้อมูล การออกแบบวิธีแก้ปัญหาใน
ชีวติ ประจำวัน ความรู้เกีย่ วกับปฏกิ ิรยิ าเคมี การบรู ณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และ
วิศวกรรมศาสตร์ การวิเคราะหค์ วามสมั พนั ธค์ วามต่างศักย์ กระแสไฟฟ้า และความตา้ นทาน และคำนวณ
ปรมิ าณท่เี ก่ียวข้องโดยใชส้ มการ V= IR การเขียนกราฟความสัมพนั ธร์ ะหว่างกระแสไฟฟ้า และความต่าง
ศักยไ์ ฟฟ้า การใชโ้ วลตม์ เิ ตอร์ แอมมเิ ตอรใ์ นการวดั ปริมาณทางไฟฟ้า การวเิ คราะห์ความตา่ งศกั ย์ไฟฟ้าและ
กระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟา้ เมื่อตอ่ ตวั ต้านทานหลายตวั แบบอนุกรมและแบบขนาน เขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้า การ
ตอ่ ตัวตา้ นทานแบบอนุกรมและขนาน การทำงานของชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกสอ์ ย่างงา่ ยในวงจร การเขียนแผนภาพ
และต่อชิ้นส่วนอเิ ล็กทรอนิกส์อย่างง่ายในวงจรไฟฟ้าการอธิบายและคำนวณพลังงานไฟฟ้าโดยใช้สมการ W= PT
คำนวณค่าไฟฟา้ ของเคร่อื งใช้ไฟฟ้าในบ้าน คณุ ค่าของการเลือกใชเ้ คร่ืองใช้ไฟฟา้ วิธกี ารใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัด
และปลอดภัย การสรา้ งแบบจำลองที่อธบิ ายการเกิดคลืน่ และบรรยายส่วนประกอบของคลืน่ คล่ืนแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า
และสเปกตรมั ประโยชน์และอนั ตรายจากคล่นื แมเ่ หล็กไฟฟา้ การใชป้ ระโยชน์ในด้านตา่ ง ๆ การออกแบบการ
ทดลองและดำเนินการทดลองดว้ ยวธิ ีทเ่ี หมาะสมในการอธิบายกฏการสะท้อนของแสง แผนภาพการเคลื่อนท่ีของ
แสง การเกิดภาพจากกระจกเงา การหกั เหของแสงเมื่อผ่านตัวกลางโปรง่ ใสท่ีแตกตา่ งกัน การกระจายแสงของ
แสงขาวเมอ่ื ผา่ นปรซิ ึม การเขียนแผนภาพการเคลือ่ นท่ีของแสงแสดงการเกิดภาพจากเลนส์บาง ปรากฏการณ์ที่
เกี่ยวกับแสงและการทำงานของทัศนอุปกรณ์ การเขยี นแผนภาพการเคล่ือนที่ของแสง การเกิดภาพของทศั น
อปุ กรณ์และเลนส์ตา ผลของความสว่างที่มีต่อดวงตา การวดั ความสวา่ งของแสงโดยใช้อุปกรณว์ ดั ความสวา่ งของ
แสง คุณค่าของความรูเ้ ร่ืองความสว่างของแสงทีม่ ีตอ่ ดวงตา การโคจรของดาวเคราะหร์ อบดวงอาทิตยด์ ว้ ยแรง
โน้มถว่ งจากสมการ F=(Gm1m2)/r 2 การสรา้ งแบบจำลองทอ่ี ธิบายการเกิดฤดู และการเคล่อื นท่ปี รากฏของ
ดวงอาทติ ย์ การสรา้ งแบบจำลองท่ีอธบิ ายการเกิดขา้ งขึ้น ขา้ มแรม การเปลย่ี นแปลงเวลาการข้นึ และตกของดวง
จนั ทร์ และการเกดิ นำ้ ขนึ้ น้ำลง การใชป้ ระโยชนข์ องเทคโนโลยีอวกาศ ความกา้ วหน้าของโครงการสำรวจอวกาศ
สาเหตุหรอื ปจั จัยท่ีส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยแี ละความสัมพันธข์ องเทคโนโลยกี ับศาสตรอ์ นื่
โดยเฉพาะวทิ ยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตรเ์ พื่อเป็นแนวทางการแก้ปัญหาหรือพฒั นางาน ปัญหาหรือความต้องการ
ของชุมชน ความถูกต้องด้านทรพั ย์สินทางปัญญา การออกแบบวิธีการแก้ปญั หา เลือกข้อมูลท่ีจำเป็น การ
ดำเนนิ การแก้ปญั หาอยา่ งเป็นขน้ั ตอน การทดสอบ ประเมินผล วิเคราะห์ และใหเ้ หตุผลของปัญหาหรือ
ขอ้ บกพร่องทเ่ี กดิ ข้นึ ภายในกรอบเง่ือนไข แนวทางการปรบั ปรงุ แก้ไข ความรแู้ ละทักษะเกีย่ วกบั วสั ดุ อปุ กรณ์
เครอ่ื งมอื กลไก ไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนิกส์ การพัฒนาแอปพลิเคชันท่ีมีการบูรณาการกบั วิชาอื่น การรวบรวม
ข้อมลู ประมวลผล ประเมินผล นำเสนอขอ้ มลู และสารสนเทศตามวตั ถปุ ระสงค์โดยใชซ้ อฟต์แวรห์ รอื บริการบน
อินเทอรเ์ นต็ ที่หลากหลาย การประเมินความน่าเช่ือถือของขอ้ มูล วเิ คราะห์ส่ือและผลกระทบจากการให้ขา่ วสาร
ที่ผิดเพ่ือการใช้งานอย่างรเู้ ท่าทนั การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภยั และมีความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม
กฎหมายเก่ยี วกบั คอมพวิ เตอร์ ใช้ลิขสิทธขิ์ องผูอ้ ื่นโดยชอบธรรม
โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการบอกแนวทางในการเลือก อธิบาย เปรยี บเทียบ เขยี น
แผนภาพ ต่อวงจร ออกแบบการทดลอง ทดลอง สร้างแบบจำลอง อธิบายพัฒนาการ อธิบายผลที่เกดิ จากขอ้ มูล
ท่ีรวบรวม บรรยายลักษณะและผลกระทบ ใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะ ออกแบบและเขียนโปรแกรม ใช้อินเทอร์เนต็
และเทคโนโลยสี ารสนเทศด้วยความเขา้ ใจในสทิ ธแิ ละหนา้ ท่ี บรู ณาการกระบวนการคดิ วิเคราะห์ กระบวนการ
สืบเสาะ กระบวนการกลมุ่ ผา่ นการจดั การเรียนรูต้ ามแนวคิด Active Learning
เพ่อื ให้ผ้เู รยี น ซาบซึง้ หว่ งใย ดแู ลรักษาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม อย่างรู้คณุ ค่า นำความรู้
ทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดำรงชีวิต เคารพสิทธิและหนา้ ท่ีของตนเองและของผ้อู ื่น ในการทำงาน
ร่วมกบั ผูอ้ น่ื อย่างสร้างสรรคเ์ หน็ คุณค่าของการนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ในชีวติ ประจำวัน ทำงานรว่ มกับผู้อน่ื
อยา่ งสรา้ งสรรค์
รหัสตวั ช้ีวัด
ว.1.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6
ว.1.3 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7 ม.3/8 ม.3/9 ม.3/10 ม.3/11
ว.2.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7 ม.3/8
ว.2.3 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7 ม.3/8 ม.3/9 ม.3/10 ม.3/11 ม.3/12 ม.3/13 ม.3/14
ม.3/15 ม.3/16 ม.3/17 ม.3/18 ม.3/19 ม.3/20 ม.3/21
ว 3.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4
ว 4.1 ม3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5
ว 4.2 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4
7 มาตรฐาน 59 ตัวช้วี ดั
คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเตมิ
รหัสวิชา ว 11201 เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต
ศึกษาและฝกึ ทักษะในการแก้ปัญหาโดยใชข้ ัน้ ตอนการแก้ปัญหาอยา่ งงา่ ย การแสดงข้ันตอนการ
แก้ปญั หาโดยการเขียน บอกเลา่ วาดภาพ หรือใชส้ ญั ลักษณ์ การเขียนโปรแกรมอยา่ งงา่ ยโดยใชซ้ อฟตแ์ วร์
หรอื ส่อื การใชง้ านอุปกรณเ์ ทคโนโลยเี บอ้ื งต้น การใชง้ านซอฟตแ์ วร์เบ้ืองต้น การสรา้ ง จัดเก็บ และเรียกใช้
ไฟล์ตามวัตถุประสงค์ การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภัย ข้อปฏิบตั ใิ นการใชง้ านและการดูแลรกั ษา
อปุ กรณ์ การใช้งานเทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งเหมาะสม
ตัวชวี้ ัด
ว.4.2 เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ)
1. แกป้ ัญหาอย่างง่ายโดยใช้การลองผิดลองถูก การเปรียบเทยี บ
2. แสดงลำดบั ขัน้ ตอนการทำงานหรือการแกป้ ญั หาอยา่ งงา่ ยโดยใช้ภาพ สญั ลกั ษณ์ หรอื ข้อความ
3. เขียนโปรแกรมอย่างง่ายโดยใชซ้ อฟต์แวร์หรอื ส่อื
4. ใชเ้ ทคโนโลยีในการสรา้ ง จัดเก็บ เรียกใช้ข้อมูลตามวัตถปุ ระสงค์
5. ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ปฏิบัติตามข้อตกลงในการใช้คอมพวิ เตอร์รว่ มกัน ดแู ลรกั ษาอปุ กรณ์
เบือ้ งตน้ ใช้งานอยา่ งเหมาะสม
รวมท้ังหมด 5 ผลการเรียนรู้
คำอธบิ ายรายวิชาเพิ่มเติม
รหสั วชิ า ว 14201 เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์
ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 4 เวลา 20 ช่ัวโมง จำนวน 0.5 หนว่ ยกิต
ศึกษาและฝึกทักษะเก่ยี วกับการใช้เหตผุ ลเชิงตรรกะในการแก้ปญั หา การอธิบายการทำงานหรือการ
คาดการผลลพั ธจ์ ากปัญหาอย่างงา่ ย การออกแบบและเขยี นโปรแกรมอยา่ งงา่ ย การตรวจหาข้อผดิ พลาดใน
โปรแกรม การคน้ หาข้อมลู ในอินเทอรเ์ นต็ และการใชค้ ำค้น การประเมนิ ความนา่ เชอื่ ถือของข้อมูล การ
รวบรวมข้อมลู การประมวลผลอยา่ งงา่ ย การวเิ คราะห์ผลและสร้างทางเลือกการนำเสนอข้อมลู การสสอ่ื สาร
อยา่ งมีมารยาทและรู้กาลเทศะ การปกป้องขอ้ มลู ส่วนตัว
ตวั ชี้วดั
ว.4.2 เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ)
ใช้เหตผุ ลเชงิ ตรรกะในการแก้ปญั หา การอธบิ ายการทำงาน การคาดการณผ์ ลลพั ธจ์ ากปญั หาอยา่ งง่าย
ออกแบบ และเขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์หรอื สื่อ และตรวจหาข้อผิดพลาดและแก้ไข
ใช้อนิ เทอร์เน็ตค้นหาความรู้ และประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมลู
รวบรวม ประเมิน นำเสนอข้อมูลและสารสนเทศ โดยใชซ้ อฟต์แวรท์ ่หี ลากหลาย เพื่อแกป้ ญั หาใน
ชวี ิตประจำวัน
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เขา้ ใจสิทธแิ ละหน้าทข่ี องตน เคารพในสิทธขิ องผ้อู นื่ แจง้ ผู้เกี่ยวข้อง
เม่อื พบข้อมูลหรอื บุคคลที่ไมเ่ หมาะสม
รวมทั้งหมด 5 ผลการเรยี นรู้
คำอธิบายรายวชิ าเพิ่มเตมิ
รหสั วิชา ว 21201 เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์
ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 เวลา 40 ชว่ั โมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต
ศึกษาแนวคิดเชิงนามธรรม การคดั เลอื กคุณลกั ษณะทีจ่ ำเป็นตอ่ การแก้ปญั หา ขน้ั ตอนการแก้ปัญหา
การเขียนรหัสลำลองและผงั งาน การเขียนออกแบบและเขียนโปรแกรมอยา่ งงา่ ยท่ีมกี ารใช้งานตัวแปร เง่ือนไข
และการวนซำ้ เพ่ือแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์หรือวทิ ยาศาสตร์ การรวบรวมขอ้ มูลปฐมภูมิ การประมวลผล
ขอ้ มูล การสร้างทางเลือกแลกประเมนิ ผลเพ่อื ตดั สินใจ ซอฟต์แวร์และบรกิ ารบนอนิ เทอรเ์ นต็ ท่ใี ชใ้ นการจัดการ
ข้อมลู แนวทางการใชง้ านเทคโนโลยสี ารสนเทศใหป้ ลอดภยั กาจัดการอัตลกั ษณ์ การพจิ ารณาความเหมาะสม
ของเน้ือหา ข้อตกลงและข้อกำหนดการใชส้ ื่อและแหลง่ ข้อมูล
นำแนวคดิ เชิงนามธรรมและข้ันตอนการแกป้ ญั หาไปประยุกตใ์ ช้ในการเขยี นโปรแกรม หรือการ
แกป้ ญั หาในชวี ติ จริง รวบรวมขอ้ มูลและสรา้ งทางเลอื ก ในการตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพและตระหนักถงึ
การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภยั เกิดประโยชน์ต่อการเรยี นรู้ และไมส่ ร้างความเสียหายใหแ้ ก้
ผอู้ ื่น
ตวั ชี้วดั
ว.4.2 เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ)
ออกแบบอัลกอริทึมทใี่ ช้แนวคิดเชิงนามธรรมเพ่ือแก้ปญั หาหรืออธิบายการทำงานท่ีพบในชีวติ จริง
ออกแบบและเขยี นโปรแกรมอยา่ งง่าย เพอื่ แก้ปญั หาทางคณิตศาสตรห์ รือวิทยาศาสตร์
รวบรวมขอ้ มูลปฐมภูมิ ประมวลผล ประเมนิ ผล นำเสนอข้อมลู และสารสนเทศ ตามวตั ถปุ ระสงค์ โดยใช้
ซอฟตแ์ วร์ หรอื บรกิ ารบนอนิ เทอร์เนต็ ที่หลากหลาย
ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภัย ใชส้ ่อื และแหลง่ ข้อมูลตามข้อกำหนดและขอ้ ตกลง
รวมทั้งหมด 4 ผลการเรียนรู้
คำอธบิ ายรายวิชาเพ่ิมเติม
รหัสวชิ า ว 21202 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์
ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 20 ช่ัวโมง จำนวน 0.5 หน่วยกิต
ศึกษาอธิบายความหมายของเทคโนโลยี วิเคราะหส์ าเหตุหรอื ปัจจยั ทสี่ ่งผลต่อการเปล่ียนแปลงของ
เทคโนโลยี การทำงานของระบบทางเทคโนโลยี ประยกุ ต์ใช้ความรู้ทักษะ และทรัพยากร โดยวเิ คราะห์
เปรียบเทยี บและเลือกขอ้ มูลท่ีจำเปน็ เพ่ืออกแบบวธิ กี ารแก้ปัญหาในชีวติ ประจำวนั ในดา้ นการเกษตรและอาหาร
และสร้างชน้ิ งานหรือพฒั นาวิธกี ารโดยใชก้ ระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม รวมทงั้ เลือกใชว้ ัสดุ อุปกรณ์
เคร่อื งมอื ในการแกป้ ัญหาไดอ้ ยา่ งถกู ต้องเหมาะสม และปลอดภัย
ตัวชีว้ ดั
ว.4.1 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
อธิบายแนวคดิ หลักของเทคโนโลยีในชวี ติ ประจำวันและวเิ คราะหส์ าเหตุหรือปจั จัยที่สง่ ผลต่อการเปล่ยี นแปลง
ของเทคโนโลยี
ระบุปญั หาหรอื ความต้องการในชีวติ ประจำวนั รวบรวม วเิ คราะหข์ ้อมลู และแนวคดิ ทีเ่ ก่ียวข้องกับปัญหา
ออกแบบวิธกี ารแก้ปัญหา โดยวเิ คราะหเ์ ปรยี บเทียบ และตัดสนิ ใจเลอื กขอ้ มลู ที่จำเป็น นำเสนอแนวทางการ
แก้ปัญหาใหผ้ ู้อน่ื เข้าใจ วางแผนและดำเนินการแกป้ ัญหา
ทดสอบ ประเมินผล และระบุขอ้ บกพร่องทเี่ กิดขน้ึ พร้อมท้งั หาแนวทางการปรบั ปรุงแก้ไข และนำเสนอผล
การแกป้ ัญหา
ใช้ความรูแ้ ละทักษะเก่ยี วกับวัสดุ อปุ กรณ์ เคร่ืองมือ กลไก ไฟฟ้า หรืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เพ่ือแก้ปญั หาไดอ้ ย่าง
ถูกต้อง เหมาะสมและปลอดภยั
รวมท้ังหมด 5 ผลการเรยี นรู้
คำอธบิ ายรายวชิ าเพิ่มเติม
รหสั วิชา ว 31201 เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์
ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต
ศึกษาหลักการของแนวคิดเชิงคำนวณ การแยกสว่ นประกอบและการย่อยปัญหา การหารปู แบบการ
คิดเชงิ นามธรรม ตวั อยา่ งและประโยชนข์ องแนวคดิ เชิงคำนวณเพอ่ื แกป้ ญั หาในชีวติ ประจำวนั ประยุกตใ์ ช้
แนวคดิ เชิงคำนวณในการออกแบบขน้ั ตอนวธิ ีสำหรับแก้ปัญหา การแกป้ ัญหาดว้ ยคอมพิวเตอร์ การระบุข้อมูล
เข้า ข้อมลู ออก และเงือ่ นไขข้องปญั หา การออกแบบข้ันตอนวิธี การทำซำ้ กาจัดเรยี งและคน้ หาข้อมลู
ตวั อยา่ งการออกแบบขั้นตอนวธิ ีเพือ่ แกป้ ัญหาดว้ ยคอมพิวเตอร์ การศึกษา ตวั อย่างโครงงานทางเทคโนโลยี
สารสนเทศ การกำหนดปัญหา ศึกษา วางแผน ดำเนนิ งาน สรปุ ผลและเผยแพร่ ในการพฒั นาโครงงานทม่ี ี
การบรู ณาการร่วมกับวชิ าอนื่ และเช่ือมโยงกบั ชีวติ จริง
ตวั ช้วี ดั
ว.4.2 เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ)
ประยกุ ตใ์ ช้แนวคิดเชิงคำนวณในการพฒั นาโครงงานทมี่ ีการบูรณาการกบั วิชาอื่นอย่างสรา้ งสรรค์ และเชอ่ื มโยง
กบั ชวี ิตจรงิ
รวมทั้งหมด 4 ผลการเรยี นรู้
คำอธิบายรายวชิ าเพิ่มเตมิ
รหสั วิชา ว 41202 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์
ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 เวลา 40 ชัว่ โมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกิต
ศึกษา วิเคราะหแ์ นวคิดหลกั ของเทคโนโลยี การเปล่ียนแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยีทีเ่ กดิ ข้ึน
และความสมั พนั ธ์ของเทคโนโลยีกบั ศาสตร์อน่ื ออกแบบ สรา้ ง หรอื พัฒนาผลงานสำหรับแกป้ ัญหาที่คำนงึ ถงึ
ผลกระทบต่อสงั คมในประเด็นทเ่ี กย่ี วข้องกบั สุขภาพและการบรกิ าร โดยใชก้ ระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม
ซึ่งใชค้ วามรู้ ทกั ษะ และเลือกใชว้ สั ดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ เพ่อื แก้ปัญหาได้
อยา่ งถูกต้อง เหมาะสม ปลอดภัย คำนงึ ถึงทรพั ยส์ นิ ทางปัญญา มกี ารใช้ซอฟตแ์ วร์ชว่ ยในการออกแบบและ
นำเสนอผลงาน
ตัวช้วี ัด
ว.4.1 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี
วิเคราะหแ์ นวคิดหลกั ของเทคโนโลยี ความสัมพนั ธก์ ับศาสตร์อ่ืนโดยเฉพาะวทิ ยาศาสตร์หรือคณติ ศาสตร์
รวมทงั้ ประเมนิ ผลกระทบท่ีจะเกิดขน้ึ ต่อมนษุ ย์ สังคม เศรษฐกจิ และส่ิงแวดลอ้ ม เพ่ือเปน็ แนวทางในการ
พัฒนาเทคโนโลยี
ระบปุ ญั หาหรอื ความต้องการท่มี ีผลกระทบต่อสงั คม รวมรวม วเิ คราะห์ขอ้ มูลและแนวคดิ ที่เกี่ยวข้องกับปัญหา
ท่มี คี วามซับซอ้ นเพื่อสังเคราะหว์ ธิ กี าร เทคนคิ ในการแก้ปัญหา โดยคำนึงถงึ ความถูกต้องดา้ นทรัพย์สินทาง
ปญั ญา
ออกแบบวิธีการแกป้ ัญหา โดยวิเคราะห์เปรยี บเทียบ และตดั สนิ ใจเลือกขอ้ มูลทจี่ ำเป็นภายใตเ้ งื่อนไขและ
ทรพั ยากรทมี่ ีอยู่ นำเสนอแนวทางการแกป้ ัญหาให้ผู้อ่นื เขา้ ใจด้วยเทคนิคหรือวธิ กี ารที่หลากหลาย โดยใช้
ซอฟต์แวร์ช่วยในการออกแบบ วางแผนขัน้ ตอนการทำงานและดำเนนิ การแก้ปัญหา
ทดสอบ ประเมนิ ผล วิเคราะห์และให้เหตผุ ลของปัญหาหรือข้อบกพร่องที่เกดิ ขน้ึ ภายใตก้ รอบเงื่อนไข หา
แนวทางการปรบั ปรุงแก้ไข และนำเสนอผลการแกป้ ัญหา พรอ้ มทง้ั เสนอแนวทางการพัฒนาต่อยอด
ใชค้ วามรู้และทักษะเกยี่ วกับวัสดุ อปุ กรณ์ เคร่ืองมือ กลไก ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และเทคโนโลยที ี่
ซบั ซ้อนในการแกป้ ัญหาหรอื พฒั นางาน ได้อยา่ งถูกต้อง เหมาะสมและปลอดภัย
รวมท้ังหมด 5 ผลการเรยี นรู้
วชิ าวิทยาศาสตรช์ วี ภาพ 1 คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน
กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์
ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4-6 เวลา 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หน่วยกติ
ศกึ ษาวเิ คราะห์การรกั ษาดลุ ยภาพของเซลล์ของสง่ิ มีชีวิต กลไกการรักษาดลุ ยภาพของน้ำในพืช กลไก
การควบคมุ ดุลยภาพของนำ้ แร่ธาตุ อุณหภมู ิของมนษุ ย์และสัตว์ ระบบภูมิคุ้มกันของมนุษย์ กระบวนการ
ถา่ ยทอดสารพนั ธกุ รรม การแปรผนั ทางพนั ธุกรรม การเกิดมิวเทชนั ความหลากหลายทางชวี ภาพ ผลของ
เทคโนโลยีชวี ภาพทม่ี ตี อ่ มนุษย์และสง่ิ แวดลอ้ มและนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ผลของความหลากหลายทาง
ชวี ภาพทมี่ ีตอ่ มนุษยแ์ ละส่ิงแวดลอ้ ม กระบวนการคดั เลือกตามธรรมชาติ และผลของการคัดเลอื กตาม
ธรรมชาตติ อ่ ความหลากหลายของส่งิ มชี วี ติ ดลุ ยภาพของระบบนิเวศ กระบวนการเปลี่ยนแปลงแทนที่ของ
สิ่งมชี วี ิต ความสำคญั ของความหลากหลายทางชีวภาพ และแนวทางในการดแู ลรกั ษาสภาพปญั หา สาเหตุของ
สง่ิ แวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในระดับทอ้ งถ่ินระดบั ประเทศระดบั โลก แนวทางในการป้องกันแก้ไข
ปญั หาสงิ่ แวดลอ้ ม และทรัพยากรธรรมชาติ การวางแผนและการดำเนนิ การเฝ้าระวงั และพัฒนาส่งิ แวดลอ้ ม
และทรัพยากรธรรมชาติ
โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การ
สงั เกต การสืบค้นขอ้ มูล การอภิปราย สรปุ เพอ่ื ใหเ้ กิดความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ ส่อื สาร
สิ่งท่ีเรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสนิ ใจ นำความรู้ไปใช้ในชวี ิตของตนเอง มีจิตวทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม
คณุ ธรรม และค่านิยม
ตวั ช้วี ัด
ว 1.1 ม.4-6/1 , ม.4-6/2 , ม.4-6/3 , ม.4-6/4
ว 1.2 ม.4-6/1 , ม.4-6/2 , ม.4-6/3 , ม.4-6/4
ว 2.1 ม.4-6/1 , ม.4-6/2 , ม.4-6/3
ว 2.2 ม.4-6/1 , ม.4-6/2 , ม.4-6/3
รวมท้ังหมด 14 ตัวชี้วัด
วิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ 2 คำอธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน
กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์
ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4-6 เวลา 40 ชว่ั โมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกิต
ศกึ ษาวิเคราะห์โครงสรา้ งอะตอม และสัญลกั ษณ์นวิ เคลยี ร์ของธาตุ การจดั เรยี งอิเลก็ ตรอนในอะตอม
ความสัมพันธร์ ะหว่างอิเลก็ ตรอนในระดบั พลงั งานนอกสดุ กับสมบตั ิของธาตแุ ละการเกดิ ปฏิกริ ิยา การจดั เรียง
ธาตุในตารางธาตุ แนวโน้มสมบตั ิบางประการของธาตุตามตารางธาตุ การเกดิ พันธะเคมใี นโครงสร้างผลกึ และใน
โมเลกลุ ของสาร ความสัมพันธร์ ะหวา่ งจดุ เดอื ด จดุ หลอมเหลว สถานะของสารกับแรงยดึ เหน่ียวระหว่าง
อนุภาค ของสาร สมการของปฏิกิรยิ าเคมีท่ีพบในชวี ิตประจำวนั ผลของสารเคมีที่มีต่อสิ่งมชี วี ิตและสิ่งแวดล้อม
อตั ราการเกิดปฏกิ ริ ิยาปัจจัยท่ีมีผลต่ออตั ราการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมแี ละนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ การเกิดปโิ ตรเลยี ม
กระบวนการแยกผลิตภณั ฑ์ปโิ ตรเลยี มและการใช้ประโยชน์ การเกิดพอลิเมอร์ สมบัติพอลเิ มอร์ การนำพอลิเมอร์
ไปใช้ประโยชน์ ผลทเี่ กิดจากการผลติ และใชพ้ อลิเมอร์ต่อสิง่ มชี วิ ิตและสิ่งแวดล้อมองค์ประกอบ ประโยชน์
ปฏกิ ริ ยิ าบางชนิดของคาร์โบไฮเดรต ไขมนั และกรดไขมัน โปรตนี และกรดนิวคลีอิก
โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสืบคน้ ข้อมูล การอภิปราย การวิเคราะห์
การเปรยี บเทียบ การสำรวจตรวจสอบ การทำนาย และการทดลอง เพ่ือใหเ้ กดิ ความรู้ ความคดิ
ความเข้าใจ สามารถส่อื สารส่ิงท่ีเรยี นรู้ มีความสามารถ ในการตัดสนิ ใจ นำความรู้ไปใช้ในชีวิต
ประจำวนั มจี ิตวิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และค่านยิ มที่เหมาะสม
ตัวชีว้ ัด
ว 3.1 ม.4-6/1 , ม.4-6/2 , ม.4-6/3 , ม.4-6/4 , ม.4-6/5
ว 3.2 ม.4-6/1 , ม.4-6/2, ม.4-6/3 , ม.4-6/4 , ม.4-6/5 , ม.4-6/6, ม.4-6/7 , ม.4-6/8 , ม.4-6/9
รวมท้ังหมด 14 ตัวชว้ี ัด
วชิ าวิทยาศาสตร์กายภาพ คำอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน
กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์
ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 4-6 เวลา 40 ช่วั โมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต
ศกึ ษาวเิ คราะห์ความสัมพนั ธ์ระหว่างแรงกับการเคลื่อนท่ีของวตั ถุในสนามโนม้ ถ่วง การเคลือ่ นที่ของ
อนภุ าคในสนามไฟฟา้ และสนามแมเ่ หล็ก แรงนิวเคลยี ร์และแรงไฟฟ้าระหว่างอนภุ าคในนวิ เคลียร์ความสัมพันธ์
ระหวา่ งระยะทาง การกระจัด เวลา อัตราเรว็ อตั ราเรง่ การเคลอ่ื นทแ่ี นวตรง โพรเจกไทล์ การเคล่ือนทแ่ี บบ
วงกลม และฮาร์มอนิกอย่างงา่ ยการใช้ประโยชน์จากการเคลือ่ นที่แบบต่าง ๆ แรงยดึ เหน่ียวระหวา่ งอนภุ าค
ในนวิ เคลียส คลืน่ กล เสยี งและสมบตั ิของเสยี ง เสยี งและการได้ยนิ สเปกตรมั ของคลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟ้า
ปฏิกิรยิ านิวเคลยี ร์ กมั มนั ตรังสี ไอโซโทป และการใชป้ ระโยชนใ์ นทางสร้างสรรคร์ วมถึงผลต่อสิ่งมีชีวิตและ
ส่งิ แวดล้อม
โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบการสบื คน้ ขอ้ มูล
และการอภิปราย การนำภูมิปัญญาในท้องถิน่ มาใช้ เพ่ือใหเ้ กดิ ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสาร
ส่ิงทีเ่ รยี นรู้ มีความสามารถในการตดั สินใจ นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มจี ติ วทิ ยาศาสตร์ คุณธรรม
จรยิ ธรรม และคา่ นยิ มท่ีเหมาะสม
ตวั ช้วี ัด
ว 4.1 ม.4-6/1 , ม.4-6/2 , ม.4-6/3 , ม.4-6/4
ว 4.2 ม.4-6/1 , ม.4-6/2 , ม.4-6/3
ว 5.1 ม.4-6/1 , ม.4-6/2 , ม.4-6/3 , ม.4-6/4 , ม.4-6/5 , ม.4-6/6 , ม.4-6/7 ,
ม.4-6/8 , ม.4-6/9
รวมท้ังหมด 16 ตัวชี้วัด
วิชาโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน
กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์
ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4-6 เวลา 40 ชว่ั โมง จำนวน 1.0 หน่วยกติ
ศึกษาวเิ คราะหเ์ กีย่ วกับโครงสรา้ งของโลก กระบวนการเปล่ยี นแปลงทางธรณีภาคของโลก
การเกิดภูเขาไฟ รอยเล่อื น รอยคดโค้ง แผ่นดินไหว ภเู ขาไฟระเบดิ ปรากฏการณ์ทางธรณี แผน่ ดนิ ไหว
ภูเขาไฟระเบดิ ทส่ี ง่ ผลต่อสิ่งมชี ีวิตและส่งิ แวดล้อม การลำดับชนั้ หินจากการวางตัวของชั้นหนิ ซากดึกดำบรรพ์
และโครงสรา้ งทางธรณวี ิทยาเพ่อื อธิบายประวัติความเปน็ มาของพน้ื ท่ี ประโยชนข์ องข้อมลู ทางธรณีวิทยา การ
เกดิ และวิวฒั นาการของระบบสุริยะ กาแลก็ ซี และเอกภพ ศึกษาธรรมชาตแิ ละวิวัฒนาการของดาวฤกษ์ การส่ง
และคำนวณความเร็วในการโคจรของดาวเทยี มรอบโลก ประโยชน์ของดาวเทียมในดา้ นต่าง ๆ การสง่ และสำรวจ
อวกาศโดยใช้ยานอวกาศ
โดยใช้กระบวนการการสบื ค้น บรรยาย อภิปราย ทดลอง และคำนวณหาค่าตา่ ง ๆ ทเ่ี กี่ยวข้องกับ
แรง เพื่อให้เกดิ ความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ สามารถส่ือสารสงิ่ ทเ่ี รียนรู้ มคี วามสามารถใน การตัดสนิ ใจนำ
ความรู้ไปใช้ในชีวิตปีระจำวนั อย่างมีจติ วิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และคา่ นยิ มที่เหมาะสม
ตวั ชว้ี ดั
ว 6.1 ม.4-6/1 , ม.4-6/2 , ม.4-6/3 , ม.4-6/4 , ม.4-6/5 , ม.4-6/6
ว 7.1 ม.4-6/1 , ม.4-6/2
ว 7.2 ม.4-6/1 , ม.4-6/2 , ม.4-6/3
รวมท้ังหมด 11 ตัวชี้วดั
คำอธิบายรายวชิ าเพิ่มเตมิ
วิทยาศาสตรส์ ิ่งแวดลอ้ ม 1 , 2 กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์
ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 เวลา 80 ชั่วโมง จำนวน 2.0 หน่วยกิต
ศึกษาค้นคว้า สำรวจ ทดลอง อภปิ ราย แสดงและเสนอความคิดในรูปแบบหลากหลาย สามารถ
วเิ คราะหส์ าเหตแุ ละผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ กบั ประชากรและกลมุ่ สิง่ มีชีวติ ในระบบนเิ วศ ทรัพยากรนำ้ ดนิ พลงั งาน
ป่าไม้ ความหลากหลายทางชีวภาพ มลภาวะที่เกดิ จากกิจกรรมของคนในชุมชนจากการเกษตร การอตุ สาหกรรม
และแนวคิดในการพฒั นาสง่ิ แวดลอ้ มและทรัพยากรธรรมชาตทิ ี่ย่ังยืน เพ่ือใหม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจในความสมั พันธ์
ของมนุษย์กบั สิ่งแวดล้อมทงั้ ระบบ สามารถแกป้ ัญหาและจัดการทรัพยากรธรรมชาติโดยใชว้ ิทยาศาสตรแ์ ละ
เทคโนโลยี ใหม้ ีความรกั ความซาบซึ้งในส่ิงแวดลอ้ ม ตลอดจนใหเ้ กิดความตระหนัก มจี ิตสำนกึ ท่ีจะมีสว่ นรว่ ม
ในกิจกรรมการอนุรักษ์และพัฒนาสงิ่ แวดล้อมท่ียัง่ ยนื
ผลการเรยี นรู้
มีความรคู้ วามเขา้ ใจในเรือ่ งของวทิ ยาศาสตรส์ ิ่งแวดลอ้ ม ท่ีมีความสัมพันธ์กนั ทง้ั ระบบ รวมท้งั ความสมั พันธ์กนั
ระหว่างวิทยาศาสตร์ สงิ่ แวดลอ้ ม เศรษฐกิจ และสังคม สามารถใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตรใ์ นการคิด
วิเคราะห์ รวบรวมข้อมูล และการศึกษาค้นคว้าเก่ียวกบั วทิ ยาศาสตรส์ ่ิงแวดลอ้ ม นำความรู้และกระบวนการ
ทางวทิ ยาศาสตร์ไปใช้ในการแก้ปัญหาสิง่ แวดลอ้ ม ตลอดจนมีความสามารถในการตดั สนิ ใจ และลงมอื ปฏิบัติ
เก่ียวกับการรักษาสิง่ แวดลอ้ มในบ้าน โรงเรยี น และชุมชนในระดบั ท้องถิน่ และระดับประเทศ มคี วามรัก ซาบซ้งึ
ในสิง่ แวดลอ้ ม และตระหนักในความสำคัญของส่งิ แวดลอ้ มและทรัพยากรธรรมชาติ เขา้ รว่ มกิจกรรมทีเ่ ก่ียวกับ
การพฒั นาและอนุรกั ษส์ ่ิงแวดล้อมทีย่ ัง่ ยืน
รวมท้ังหมด 5 ผลการเรยี นรู้
สารพิษในชีวติ ประจำวัน 1 , 2 คำอธิบายรายวิชาเพ่ิมเติม
กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกติ
ศึกษาหลักการพน้ื ฐานทางพิษวิทยา ความหมาย และการจำแนกกลมุ่ ของสารพิษ ชนดิ ของสารพษิ ท่ี
พบบ่อยในชวี ติ ประจำวนั
โดยศึกษาสารพษิ แตล่ ะชนิดในแงข่ องแหล่งกำเนิด การปนเปือ้ น และความเป็นพิษตอ่ ร่างกาย การ
ป้องกันและหลักการรักษาเบื้องตน้ ท้ังในกรณเี ฉียบพลนั และเร้อื รัง
ผลการเรียนรู้
อธิบายหลักการพื้นฐานทางพิษวิทยาได้
บอกความหมายและการจำแนกกลมุ่ ของสารพษิ ได้
บอกชนดิ ของสารพษิ ท่ีพบบ่อยในชีวิตประจำวันได้
บอกที่มาของแหลง่ กำเนดิ สารพิษ การปนเป้ือนของสารพษิ ท่ีมผี ลต่อรา่ งกายได้
รู้วิธีการป้องกันและการรักษาเบอ้ื งต้นจากสารพิษท้งั ในกรณเี ฉยี บพลนั และเรือ้ งรัง
รวมท้ังหมด 5 ผลการเรียนรู้
คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
รหัสวิชา ส 11101 กล่มุ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1 เวลา 80 ช่ัวโมง
ศึกษาวเิ คราะห์พทุ ธประวัติ หรือประวตั ขิ องศาสดาทีต่ นนับถือ แบบอย่างการดำเนนิ ชวี ติ และข้อคิด
จากประวัติสาวก ชาดก/เร่ืองเล่าและศาสนิกชนตัวอย่างตามทีก่ ำหนด ความหมาย ความสำคญั และเคารพพระ
รัตนตรัย ปฏบิ ตั ติ ามหลักธรรม โอวาท 3 ในพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีตนนับถือ สวดมนต์ แผ่เมตตา มสี ติ
บำเพ็ญประโยชนต์ ่อวดั แสดงตนเปน็ พทุ ธมามกะ หรือศาสนิกชนของศาสนาทตี่ นนบั ถอื ปฏบิ ัตใิ นศาสนพิธี
พธิ กี รรมและวันสำคญั ทางศาสนาตามทีก่ ำหนดได้ถกู ต้อง ประโยชน์และปฏิบตั ติ นเปน็ สมาชกิ ท่ีดีของครอบครัว
และโรงเรยี น ศึกษา วิเคราะห์ ความสามารถและความดีและผลจากการกระทำของตนเอง ผ้อู ืน่ โครงสร้าง
บทบาท หนา้ ท่ีของสมาชิกในครอบครัวและโรงเรยี น บทบาท สิทธิ หน้าทข่ี องตนเองในครอบครัวและโรงเรียน มี
สว่ นร่วมในการตดั สินใจ และทำกจิ กรรมในครอบครัวและโรงเรียนตามกระบวนการประชาธิปไตย ศกึ ษาสินค้า
และบรกิ าร การออมและการใช้จา่ ยอย่างพอเพยี ง ทรัพยากร งานสุจริต และสง่ิ ตา่ งๆ เพ่อื ใหผ้ ู้เรยี นเกิดประโยชน์
สงู สุดในการใช้ทรัพยากร ศึกษาสง่ิ แวดลอ้ มที่เกิดขึน้ เองตามธรรมชาตแิ ละส่ิงท่ีมนษุ ย์สร้างข้ึนที่บ้านและท่ี
โรงเรียน ความสมั พันธข์ องตำแหนง่ ระยะ ทิศ ของสง่ิ ต่างๆรอบตวั แผนผงั ของสิ่งตา่ งๆในหอ้ งเรยี น และการ
เปล่ยี นแปลงของสภาพอากาศในรอบวัน สิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่มีผลต่อความเป็นอยู่ของมนษุ ย์ เช่น ภมู ิอากาศ
มผี ลต่อลักษณะท่ีอยูอ่ าศัยและเครอ่ื งแต่งกาย การเปล่ียนแปลงของสิง่ แวดล้อมที่อยู่รอบตัว อทิ ธพิ ลของ
สิง่ แวดล้อมทสี่ ง่ ผลต่อการปฏิบตั ติ นอย่างเหมาะสม การปฏบิ ัติตนในการรักษาส่งิ แวดล้อมในบา้ นและห้องเรยี น
โดยใช้กระบวนการคดิ กระบวนการสืบคน้ ข้อมูล กระบวนการปฏบิ ตั ิ กระบวนการทางสงั คม
กระบวนการกลมุ่ กระบวนการเผชญิ สถานการณแ์ ละแก้ปัญหา สังเกตแวดล้อม แปลความหมายข้อมูลทาง
ภูมศิ าสตร์ ใช้เทคนคิ และเครื่องมือทางภูมิศาสตรส์ ังเกตสิ่ง บอกความสัมพนั ธ์ ใช้แผนผัง แปลความหมายข้อมลู
ทางภูมิศาสตร์ มีสว่ นร่วมดูแลสง่ิ แวดล้อมดว้ ยกระบวนการทางภมู ิศาสตรเ์ พ่อื ให้ผู้เรยี นเข้าใจระบบธรรมศาสตร์
และมนุษย์ มีความรเู้ กย่ี วกบั ลักษณะทางกายภาพของสิ่งตา่ งๆ ที่อยรู่ อบตวั และชมุ ชน
เพือ่ ใหผ้ ู้เรียนเกดิ ความรู้ ความเขา้ ใจ สามารถนำไปปฏบิ ตั ิในการดำเนนิ ชวี ิต มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มี
ความร้เู กี่ยวกับลักษณะทางกายภาพของสิง่ ต่างๆ ทอ่ี ยูร่ อบตวั และชมุ ชน มีคณุ ลกั ษณะ อนั พงึ ประสงค์ในด้าน
รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ซ่ือสัตย์สจุ ริต มีวนิ ยั ใฝเ่ รยี นรู้ มคี วามรับผิดชอบ รักความเปน็ ไทย มีจติ สาธารณะ
สามารถดำเนินชีวติ อย่างสันติสุขในสังคมไทยและสังคมโลก ปฏบิ ัติตนตามหลกั เศรษฐกิจพอเพียง
ตวั ชี้วดั ส 1.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4
ส 1.2 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3
ส 2.1 ป.1/1, ป.1/2
ส 2.2 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3
ส 3.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3
ส 3.2 ป.1/1
ส 5.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4
ส 5.2 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3
รวม 23 ตัวช้วี ัด