The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตร-ประชาธิปัตย์-64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Janchira Boontan, 2022-09-13 03:13:30

หลักสูตร-ประชาธิปัตย์-64

หลักสูตร-ประชาธิปัตย์-64

เพื่อการปรบั ปรุงนโยบาย หลกั สตู ร โครงการ หรอื วิธกี ารจัดการเรยี นการสอนตลอดจนเพอ่ื การจัดทำ
แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ตามแนวทาง

การประกนั คณุ ภาพการศึกษาและการรายงานผลการจัดการศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษา สำนักงานเขต
พืน้ ที่การศกึ ษา สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ผ้ปู กครองและชุมชน

3. การประเมนิ ระดับเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา เป็นการประเมินคณุ ภาพผู้เรียนในระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา
ตามมาตรฐานการเรยี นรู้ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน เพ่ือใชเ้ ปน็ ข้อมูลพืน้ ฐานในการพัฒนา
คุณภาพการศึกษาของเขตพ้ืนที่การศึกษา ตามภาระความรบั ผิดชอบ สามารถดำเนินการโดยประเมินคุณภาพ
ผลสัมฤทธข์ิ องผ้เู รียนด้วยข้อสอบมาตรฐานท่ีจัดทำและดำเนินการโดยเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา หรือด้วยความร่วมมือ
กับหนว่ ยงานต้นสงั กัด ในการดำเนนิ การจดั สอบ นอกจากน้ยี ังได้จากการตรวจสอบทบทวนขอ้ มูลจากการ
ประเมินระดบั สถานศกึ ษาในเขตพื้นที่การศึกษา

4. การประเมนิ ระดับชาติ เปน็ การประเมินคุณภาพผเู้ รยี นในระดบั ชาติตามมาตรฐาน

การเรียนรู้ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน สถานศกึ ษาต้องจดั ใหผ้ เู้ รยี นทุกคนท่เี รียนในชัน้
ประถมศึกษาปีที่ 3 ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 และชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 เขา้ รับการ
ประเมิน ผลจากการประเมนิ ใช้เป็นข้อมลู ในการเทียบเคียงคณุ ภาพการศึกษาในระดบั ต่าง ๆ เพ่อื นำไปใชใ้ นการ
วางแผนยกระดบั คุณภาพการจัดการศกึ ษา ตลอดจนเป็นขอ้ มลู สนบั สนนุ

การตัดสินใจในระดับนโยบายของประเทศ

ข้อมลู การประเมนิ ในระดบั ต่างๆ ข้างต้นเปน็ ประโยชนต์ อ่ สถานศกึ ษาในการตรวจสอบทบทวนพัฒนา
คุณภาพผู้เรียน และเป็นภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาท่ีจะตอ้ งจดั ระบบดูแลชว่ ยเหลือ ปรบั ปรงุ แก้ไข
ส่งเสริมสนบั สนุนเพือ่ ให้ผเู้ รียนไดพ้ ฒั นาเต็มตามศกั ยภาพบนพ้ืนฐาน ความแตกต่างระหว่างบคุ คลทจ่ี ำแนก
ตามสภาพปญั หาและความต้องการ ได้แก่ กล่มุ ผู้เรียนท่ัวไป กล่มุ ผู้เรยี นทม่ี ีความสามารถพิเศษ กลมุ่
ผเู้ รยี นที่มผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนต่ำ กลมุ่ ผู้เรยี นท่ีมปี ัญหาดา้ นวินัยและพฤตกิ รรม กลมุ่ ผู้เรียนทปี่ ฏเิ สธ
โรงเรยี น กลมุ่ ผ้เู รียนที่มีปัญหาทางเศรษฐกิจและสงั คม กลุ่มพิการทางรา่ งกายและสติปัญญา เปน็ ต้น ข้อมูล
จากการประเมนิ จงึ เปน็ หวั ใจของสถานศึกษาในการดำเนินการช่วยเหลือผ้เู รยี นได้ทนั ท่วงที เปดิ โอกาสให้
ผเู้ รียนไดร้ บั การพฒั นาและประสบความสำเรจ็ ในการเรยี น

โรงเรียนชมุ ชนประชาธิปตั ยว์ ทิ ยาคาร ในฐานะผ้รู ับผิดชอบจัดการศึกษา ไดจ้ ดั ทำระเบียบว่าด้วยการ
วดั และประเมนิ ผลการเรียนของสถานศึกษาโดยเน้นความสอดคล้องและเปน็ ไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติท่ี
เป็นขอ้ กำหนดของหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน เพอ่ื ให้บุคลากรทเี่ กี่ยวข้องทุกฝ่ายถือปฏิบตั ิรว่ มกนั


เกณฑก์ ารจบ
1. ระดับประถมศึกษา

1) ผู้เรียนเรยี นรายวชิ าพน้ื ฐาน จำนวน 840 ชว่ั โมง และรายวิชา/กจิ กรรมเพม่ิ เตมิ ปลี ะไม่เกิน
40 ช่ัวโมง

2) ผู้เรียนตอ้ งมผี ลการประเมนิ รายวชิ าพื้นฐานระดบั 1 ข้ึนไป ทกุ รายวิชา จึงจะถือว่าผา่ นรายวชิ า
พ้นื ฐาน

3) ผเู้ รยี นมผี ลการประเมินการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียนในระดับผ่านเกณฑก์ ารประเมินตามที่
สถานศึกษากำหนด

4) ผเู้ รียนมผี ลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่
สถานศึกษากำหนด

5) ผู้เรียนเขา้ ร่วมกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน และมีผลการประเมนิ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ตามท่ี
สถานศกึ ษากำหนด

2. ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้
1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพนื้ ฐาน และเพมิ่ เติมไมเ่ กิน 81 หน่วยกติ โดยเป็นรายวิชาพนื้ ฐาน

66 หน่วยกิต และรายวชิ าเพม่ิ เตมิ ตามทสี่ ถานศกึ ษากำหนด
2) ผเู้ รยี นต้องไดห้ นว่ ยกิตตลอดหลกั สูตรไม่น้อยกวา่ 77 หนว่ ยกิต โดยเป็นรายวชิ าพื้นฐาน

66 หนว่ ยกิต และรายวชิ าเพิม่ เติมไมน่ ้อยกว่า 11 หน่วยกติ
3) ผเู้ รยี นมผี ลการประเมินการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียนในระดับผ่านเกณฑ์การประเมนิ

ตามทส่ี ถานศกึ ษากำหนด
4) ผู้เรียนมผี ลการประเมินคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ในระดับผา่ นเกณฑ์การประเมินตามที่

สถานศึกษากำหนด
5) ผ้เู รียนเขา้ รว่ มกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนและมีผลการประเมนิ ผา่ นเกณฑ์การประเมินตามท่ี

สถานศึกษากำหนด

3. ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
1) ผู้เรยี นเรียนรายวชิ าพนื้ ฐาน และเพม่ิ เติมไม่น้อยกวา่ 81 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชา

พน้ื ฐาน 41 หนว่ ยกิต และรายวชิ าเพ่มิ เติมตามทส่ี ถานศึกษากำหนด
2) ผูเ้ รยี นตอ้ งไดห้ นว่ ยกิตตลอดหลกั สูตรไม่น้อยกวา่ 77 หน่วยกิต โดยเป็นรายวชิ าพ้ืนฐาน 41

หนว่ ยกติ และรายวิชาเพิม่ เติมไมน่ ้อยกวา่ 36 หนว่ ยกิต
3) ผู้เรยี นมผี ลการประเมินการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขยี นในระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน

ตามท่ีสถานศึกษากำหนด
4) ผู้เรียนมผี ลการประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ในระดบั ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ตามที่

สถานศึกษากำหนด
5) ผูเ้ รยี นเข้ารว่ มกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี นและมผี ลการประเมินผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ตามที่

สถานศึกษากำหนด


เอกสารหลกั ฐานการศึกษา

เอกสารหลักฐานการศึกษา เปน็ เอกสารสำคัญที่บนั ทกึ ผลการเรียน ข้อมูลและสารสนเทศ ท่ี
เกี่ยวขอ้ งกบั พฒั นาการของผเู้ รยี นในด้านตา่ งๆ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังน้ี

1. เอกสารหลักฐานการศกึ ษาที่กระทรวงศกึ ษาธกิ ารกำหนด

1.1 ระเบียนแสดงผลการเรยี น เป็นเอกสารแสดงผลการเรียนและรับรองผลการเรยี นของ

ผเู้ รียนตามรายวิชา ผลการประเมินการอา่ น คิดวเิ คราะห์และเขียน ผลการประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ของสถานศกึ ษา และผลการประเมินกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น สถานศกึ ษาจะต้องบนั ทึกข้อมลู และออกเอกสารน้ใี ห้
ผเู้ รยี นเป็นรายบุคคล เมื่อผ้เู รยี นจบการศึกษาภาคบังคบั ( ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ) จบการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ( ช้นั
มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 ) หรือเม่ือลาออกจากสถานศึกษาในทกุ กรณี

1.2. ประกาศนยี บัตร เป็นเอกสารแสดงวฒุ ิการศึกษาเพอ่ื รบั รองศักด์ิปละสทิ ธ์ิของผจู้ บการศกึ ษา
ทสี่ ถานศึกษา ให้ไว้แกผ่ ู้จบการศึกษาภาคบงั คบั และผ้จู บการศึกษาขัน้ พน้ื ฐานตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพืน้ ฐาน

1.3. แบบรายงานผู้สำเร็จการศกึ ษา เป็นเอกสารอนุมัติการจบหลกั สูตรโดยบนั ทึกรายชอื่ และ
ข้อมูลของผจู้ บการศึกษาภาคบงั คบั ( ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ) และผ้จู บการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน ( ช้ันมธั ยมศึกษาทที ี่
6)

3. เอกสาร หลักฐาน การศกึ ษาที่สถานศกึ ษากำหนด

เป็นเอกสารท่ีสถานศกึ ษาจดั ทำข้ึนเพ่อื บนั ทึกพัฒนาการผลการเรียนรู้และข้อมูลสำคญั เก่ยี วกบั
ผเู้ รยี น เชน่ แบบรายงานปะจำตวั นักเรยี น บันทกึ ผลการเรียนประจำรายวิชา ระเบียนสะสม ใบรบั รองผล
การเรยี น และเอกสารอน่ื ๆ ตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการนำเอกสารไปใช้

การเทียบโอนผลการเรียน

สถานศกึ ษาสามารถเทยี บโอนผลการเรยี นของผู้เรยี นในกรณีต่างๆ ไดแ้ ก่ การย้ายสถานศกึ ษา
การเปล่ียนรปู แบบการศึกษา การย้ายหลกั สตู ร การออกกลางคนั และขอกลับเขา้ รับการศึกษาต่อ การศกึ ษา
จากตา่ งประเทศและขอเขา้ ศึกษาต่อในประเทศ นอกจากน้ียงั สามารถเทยี บโอนความรู้ ทกั ษะ ประสบการณ์
จากแหลง่ การเรียนรู้อนื่ ๆ เชน่ สถานประกอบการ สถาบนั ศาสนา สถาบันการฝึกอบรมอาชีพ การจดั การ
ศกึ ษาโดยครอบครวั

การเทยี บโอนผลการเรียนควรดำเนนิ การในชว่ งก่อนเปิดภาคเรยี น หรือตน้ ภาคเรยี นที่
สถานศกึ ษารับผู้ขอเทียบโอนเปน็ ผ้เู รียน ท้งั นี้ ผูเ้ รยี นทีไ่ ดร้ ับการเทยี บโอนผลการเรยี นต้องศึกษาต่อเน่ืองใน
สถานศึกษาที่รบั เทียบโอนอย่างนอ้ ย 1 ภาคเรียน โดยสถานศกึ ษาท่รี บั ผเู้ รียนจากการเทียบโอนควรกำหนด
รายวิชา/จำนวนหน่วยกิต ท่จี ะรบั เทยี บโอนตามความเหมาะสม


การพิจารณาการเทยี บโอน สามารถดำเนนิ การได้ ดังนี้

1. พิจารณาจากหลักฐานการศกึ ษา และเอกสารอ่นื ๆทใี่ ห้ขอ้ มลู แสดงความรู้ ความสามารถของผู้เรียน
2. พิจารณาความรู้ ความสามารถของผู้เรยี นโดยการทดสอบด้วยวิธกี ารตา่ งๆ ทั้งภาคความรู้และ
ภาคปฏิบัติ
3. พิจารณาจากความสามารถและการปฏบิ ัติในสภาพจริง

การเทยี บโอนผลการเรียนใหเ้ ปน็ ไปตามประกาศ หรอื แนวปฏบิ ัตขิ องกระทรวงศึกษาธิการ
สำหรับการเทียบโอนเขา้ สูก่ ารศึกษาในระบบระดับการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ใหด้ ำเนนิ การตามแนวปฏิบัตเิ กีย่ วกับ
การเทียบโอนผลการเรียนเข้าสกู่ ารศกึ ษาในระบบระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน


เอกสารอา้ งองิ

กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2551) หลกั สตู รการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551. กรุงเทพฯ :
โรงพมิ พ์ชมุ นุม สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2551) ตวั ชี้วัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลางกลมุ่ สาระการเรียนรู้
ภาษาไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551) ตวั ชี้วัดและสาระการเรยี นร้แู กนกลางกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
คณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พช์ มุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำกัด.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551) ตวั ช้วี ัดและสาระการเรียนรูแ้ กนกลางกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
วิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ชมุ นุม สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2551) ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลมุ่ สาระการเรียนรู้
สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแห่ง
ประเทศไทย จำกดั .

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2551) ตัวชวี้ ดั และสาระการเรยี นร้แู กนกลางกลมุ่ สาระการเรียนรู้
การงานอาชีพและเทคโนโลยี. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชมุ นุม สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย
จำกดั .

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551) ตวั ช้ีวดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลางกลมุ่ สาระการเรียนรู้
ศิลปะ. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ชุมนุม สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จำกดั .

กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2551) ตวั ชี้วัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลางกล่มุ สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพล
ศึกษา. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พช์ ุมนุม สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จำกดั .


Click to View FlipBook Version