50
คำอธิบำยรำยวชิ ำ (พ้นื ฐำน)
รหสั วิชำ ค 22102 คณิตศำสตร์ 4 กล่มุ สำระกำรเรียนรู้คณิตศำสตร์
ชน้ั มธั ยมศกึ ษำปีท่ี 2 เวลำ 60 ช่ัวโมง 1.5 หนว่ ยกิต ภำคเรียนท่ี 2
ศึกษา ฝึกทักษะการคิดคานวณ จัดการเรียนรู้โดยใช้ประสบการณ์หรือสถานการณ์ในชีวิตประจาวัน
ของผูเ้ รียนใหผ้ ู้เรยี นศึกษาคน้ คว้าโดยการปฏิบตั ิจรงิ สรุปรายงาน และฝกึ ทกั ษะ/กระบวนการทางคณติ ศาสตร์
ในสาระต่อไปน้ี
พื้นที่ผิว การหาพ้ืนท่ีผิวของปริซึมและทรงกระบอก การนาความรู้เก่ียวกับพ้ืนท่ีผิวของปริซึม
และทรงกระบอกไปใช้ในการแก้ปัญหา ปริมาตร การหาปริมาตรของปริซึมและทรงกระบอก การนาความรู้
เกี่ยวกับปริมาตรของปริซึมและทรงกระบอกไปใช้ในการแก้ปัญหาการสร้างทางเรขาคณิต การนาความรู้
เก่ียวกับการสร้างทางเรขาคณิตไปใช้ในชีวิตจริง เส้นขนาน สมบัติเก่ียวกับเส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
การแปลงทางเรขาคณิต การเลื่อนขนาน การสะท้อน การหมุน การนาความรูเ้ กยี่ วกับการแปลงทางเรขาคณิต
ไปใช้ในการแก้ปัญหา ความเท่ากันทุกประการ ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหล่ียม การนาความรู้
เก่ียวกับความเท่ากันทุกประการไปใชใ้ นการแก้ปัญหา สถิติ การนาเสนอและการวิเคราะห์ข้อมูล แผนภาพจุด
แผนภาพตน้ ใบ ฮสิ โทแกม ค่ากลางของข้อมลู การแปลความหมายผลลัพธ์ การนาสถติ ิไปใชใ้ นชวี ิตจริง
เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการคิดคานวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือ
ความหมายทางคณิตศาสตร์ และสามารถนาไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่าง
สร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็นระบบระเบียบ มีความ
รบั ผิดชอบ มีวจิ ารณญาณ และมีความเชอ่ื มัน่ ในตนเอง
รหสั ตัวชี้วดั
ค 2.1 ม.2/1, ม.2/2
ค 2.2 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4
ค 3.1 ม.2/1
รวมท้ังหมด 7 ตัวช้วี ัด
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดนาวง
51
คำอธบิ ำยรำยวิชำ (พ้นื ฐำน)
รหัสวิชำ ค 23101 คณิตศำสตร์ 5 กลุ่มสำระกำรเรียนรคู้ ณิตศำสตร์
ช้ันมัธยมศึกษำปีท่ี 3 เวลำ 60 ช่วั โมง 1.5 หนว่ ยกติ ภำคเรียนที่ 1
ศึกษา ฝึกทักษะการคิดคานวณ จัดการเรียนรู้โดยใช้ประสบการณ์หรือสถานการณ์ในชีวิตประจาวัน
ของผเู้ รียนให้ผู้เรียนศกึ ษาค้นคว้าโดยการปฏิบัติจริง สรุปรายงาน และฝกึ ทกั ษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์
ในสาระตอ่ ไปน้ี
พื้นท่ีผิว การหาพื้นท่ีผิวของพีระมิด กรวย และทรงกลม การนาความรู้เกี่ยวกับพ้ืนที่ผิวของพีระมิด
กรวย และทรงกลมไปใช้ในการแก้ปัญหา ปริมาตร การหาปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรงกลม การนา
ความรู้เก่ียวกับปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรงกลมไปใช้ในการแก้ปัญหา ความคล้าย รูปสามเหลี่ยม
ที่คล้ายกัน การนาความรู้เกี่ยวกับความคล้ายไปใช้ในการแก้ปัญหา อัตราส่วนตรีโกณมิติ การนาค่าอัตราส่วน
ตรีโกณมิติของมุม 30 องศา 45 องศา 60 องศา ไปใช้ในการแก้ปัญหา วงกลม คอร์ด และเส้นสัมผัส ทฤษฎี
บทเกี่ยวกับวงกลม การแยกตัวประกอบของพหุนามท่ีมีดีกรีสูงกว่าสอง ฟังก์ชันกาลังสอง กราฟของฟังก์ชัน
กาลังสอง การนาความรเู้ ก่ยี วกบั ฟงั กช์ ันกาลงั สองไปใช้ในการแกป้ ญั หา
เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการคิดคานวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อ
ความหมายทางคณิตศาสตร์ และสามารถนาไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่าง
สร้างสรรค์ รวมท้ังเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็นระบบระเบียบ มีความ
รบั ผดิ ชอบ มวี จิ ารณญาณ และมคี วามเชอ่ื มั่นในตนเอง
รหสั ตวั ช้ีวดั
ค 1.2 ม.3/1, ม.3/2
ค 2.1 ม.3/1, ม.3/2
ค 2.2 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3
รวมท้ังหมด 7 ตัวชวี้ ัด
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนวดั นาวง
52
คำอธิบำยรำยวชิ ำ (พ้ืนฐำน)
รหัสวิชำ ค 23102 คณติ ศำสตร์ 6 กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้คณิตศำสตร์
ชั้นมัธยมศึกษำปีท่ี 3 เวลำ 60 ชว่ั โมง 1.5 หน่วยกิต ภำคเรยี นท่ี 2
ศึกษา ฝึกทักษะการคิดคานวณ จัดการเรียนรู้โดยใช้ประสบการณ์หรือสถานการณ์ในชีวิตประจาวัน
ของผ้เู รียนใหผ้ ู้เรยี นศกึ ษาคน้ คว้าโดยการปฏิบตั ิจรงิ สรุปรายงาน และฝึกทักษะ/กระบวนการทางคณติ ศาสตร์
ในสาระตอ่ ไปนี้
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การนาความรู้เกี่ยวกับการแก้
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวไปใช้ในการแก้ปัญหา สมการกาลังสองตัวแปรเดียว การแก้สมการกาลังสองตัว
แปรเดียว การนาความรู้เกี่ยวกับการแก้สมการกาลังสองตัวแปรเดียวไปใช้ในการแก้ปัญหา ระบบสมการ
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร การนาความรู้เกี่ยวกับการแก้
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรไปใช้ในการแก้ปัญหา สถิติ ข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล แผนภาพกล่อง
การแปลความหมายผลลพั ธ์ การนาสถิติไปใช้ในชวี ิตจริง ความน่าจะเป็น เหตุการณ์จากการทดลองส่มุ การนา
ความรู้เกย่ี วกับความน่าจะเปน็ ไปใชใ้ นชวี ติ จรงิ
เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการคิดคานวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อ
ความหมายทางคณิตศาสตร์ และสามารถนาไปใช้ในการเรียนรู้ส่ิงต่างๆ และใช้ในชี วิตประจาวันอย่าง
สร้างสรรค์ รวมท้ังเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็นระบบระเบียบ มีความ
รับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และมคี วามเชือ่ มนั่ ในตนเอง
รหสั ตัวชี้วดั
ค 1.3 ม.3/1, ม.3/2, ม.3/3
ค 3.1 ม.3/1
ค 3.2 ม.3/1
รวมท้ังหมด 5 ตัวชว้ี ัด
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนวัดนาวง
53
คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ (พื้นฐำน)
รหัสวิชำ ค 31101 คณติ ศำสตร์ 1 กลุ่มสำระกำรเรียนร้คู ณติ ศำสตร์
ชัน้ มัธยมศึกษำปที ี่ 4 เวลำ 40 ชวั่ โมง 1.0 หนว่ ยกิต ภำคเรยี นที่ 1
ศึกษา ฝึกทักษะการคิดคานวณ จัดการเรียนรู้โดยใช้ประสบการณ์หรือสถานการณ์ในชีวิตประจาวัน
ของผูเ้ รียนให้ผู้เรยี นศึกษาคน้ คว้าโดยการปฏิบัติจรงิ สรุปรายงาน และฝกึ ทกั ษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์
ในสาระตอ่ ไปนี้
เซต ความรู้เบ้ืองตน้ และสัญลักษณ์พื้นฐานเกีย่ วกับเซต ยเู นียน อินเตอรเ์ ซกชนั และคอมพลเี มนต์ของ
เซต ตรรกศาสตรเ์ บื้องตน้ ประพจนแ์ ละตวั เชือ่ ม(นิเสธ และ หรอื ถา้ ...แลว้ ... ก็ต่อเมื่อ)
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการคิดคานวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อ
ความหมายทางคณิตศาสตร์ และสามารถนาไปใช้ในการเรียนรู้ส่ิงต่างๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่า ง
สร้างสรรค์ รวมท้ังเห็นคุณค่าและมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็นระบบระเบียบ มีความ
รับผดิ ชอบ มวี จิ ารณญาณ และมีความเช่ือม่ันในตนเอง
รหสั ตัวชี้วัด
ค 1.1 ม.4/1
รวมทั้งหมด 1 ตวั ช้วี ดั
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวดั นาวง
54
คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ (พ้ืนฐำน)
รหสั วชิ ำ ค 31102 คณิตศำสตร์ 2 กลมุ่ สำระกำรเรียนรคู้ ณิตศำสตร์
ชัน้ มัธยมศกึ ษำปที ี่ 4 เวลำ 40 ช่ัวโมง 1.0 หนว่ ยกติ ภำคเรยี นที่ 2
ศึกษา ฝึกทักษะการคิดคานวณ จัดการเรียนรู้โดยใช้ประสบการณ์หรือสถานการณ์ในชีวิตประจาวัน
ของผ้เู รียนให้ผู้เรียนศกึ ษาค้นคว้าโดยการปฏิบัติจริง สรุปรายงาน และฝกึ ทกั ษะ/กระบวนการทางคณติ ศาสตร์
ในสาระต่อไปน้ี
หลักการนับเบื้องต้น หลักการบวกและการคูณ การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นกรณีท่ีส่ิงของแตกต่างกัน
ทัง้ หมด การจดั หมู่กรณที ี่สิง่ ของแตกต่างกนั ทั้งหมด ความนา่ จะเป็น การทดลองสุ่มและเหตุการณ์ ความน่าจะ
เป็นของเหตุการณ์
เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการคิดคานวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือ
ความหมายทางคณิตศาสตร์ และสามารถนาไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่าง
สร้างสรรค์ รวมท้ังเห็นคุณค่าและมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็นระบบระเบียบ มีความ
รบั ผดิ ชอบ มีวิจารณญาณ และมีความเชอ่ื มน่ั ในตนเอง
รหัสตัวชี้วดั
ค 3.2 ม.4/1, ม.4/2
รวมทั้งหมด 2 ตวั ชวี้ ดั
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดนาวง
55
คำอธิบำยรำยวิชำ (พ้ืนฐำน)
รหัสวชิ ำ ค 32101 คณิตศำสตร์ 3 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้คณิตศำสตร์
ชน้ั มธั ยมศกึ ษำปที ี่ 5 เวลำ 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกติ ภำคเรยี นที่ 1
ศึกษา ฝึกทักษะการคิดคานวณ จัดการเรียนรู้โดยใช้ประสบการณ์หรือสถานการณ์ในชีวิตประจาวัน
ของผ้เู รียนให้ผู้เรียนศึกษาคน้ คว้าโดยการปฏิบัติจรงิ สรุปรายงาน และฝึกทักษะ/กระบวนการทางคณติ ศาสตร์
ในสาระตอ่ ไปนี้
เลขยกกาลัง รากที่ n ของจานวนจริง เม่ือ n เป็นจานวนนับท่ีมากกว่า 1 เลขยกกาลังที่มีเลขช้ีกาลัง
เป็นจานวนตรรกยะ ฟังก์ชัน ฟังกช์ ันและกราฟของฟังก์ชัน(ฟังกช์ ันเชิงเส้น ฟังก์ชันกาลังสอง ฟังกช์ ันขั้นบันได
ฟงั ก์ชันเอกซโ์ พเนนเชียล)
เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการคิดคานวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อ
ความหมายทางคณิตศาสตร์ และสามารถนาไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่าง
สร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็นระบบระเบียบ มีความ
รับผดิ ชอบ มีวจิ ารณญาณ และมีความเชอื่ มั่นในตนเอง
รหสั ตัวช้ีวดั
ค 1.1 ม.5/1
ค 1.2 ม.5/1
รวมท้ังหมด 2 ตวั ชว้ี ัด
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั นาวง
56
คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ (พนื้ ฐำน)
รหสั วชิ ำ ค 32102 คณิตศำสตร์ 4 กลมุ่ สำระกำรเรียนร้คู ณิตศำสตร์
ชน้ั มัธยมศกึ ษำปีที่ 5 เวลำ 40 ชัว่ โมง 1.0 หน่วยกิต ภำคเรยี นที่ 2
ศึกษา ฝึกทักษะการคิดคานวณ จัดการเรียนรู้โดยใช้ประสบการณ์หรือสถานการณ์ในชีวิตประจาวัน
ของผู้เรียนให้ผู้เรียนศึกษาค้นควา้ โดยการปฏิบตั ิจรงิ สรุปรายงาน และฝกึ ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์
ในสาระตอ่ ไปน้ี
ลาดับและอนุกรม ลาดับเลขคณิตและลาดับเรขาคณิต อนุกรมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิต
ดอกเบี้ยและมลู ค่าของเงิน ดอกเบีย้ มูลคา่ ของเงิน ค่ารายงวด
เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการคิดคานวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือ
ความหมายทางคณิตศาสตร์ และสามารถนาไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่าง
สร้างสรรค์ รวมท้ังเห็นคุณค่าและมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็นระบบระเบียบ มีความ
รบั ผดิ ชอบ มีวจิ ารณญาณ และมีความเช่ือม่นั ในตนเอง
รหสั ตวั ช้ีวัด
ค 1.2 ม.5/2
ค 1.3 ม.5/1
รวมทั้งหมด 2 ตัวชีว้ ดั
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนวัดนาวง
57
คำอธบิ ำยรำยวิชำ (พ้ืนฐำน)
รหสั วชิ ำ ค 33101 คณิตศำสตร์ 5 กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้คณติ ศำสตร์
ชั้นมธั ยมศึกษำปีที่ 6 เวลำ 40 ช่ัวโมง 1.0 หน่วยกิต ภำคเรียนท่ี 1
ศึกษา ฝึกทักษะการคิดคานวณ จัดการเรียนรู้โดยใช้ประสบการณ์หรือสถานการณ์ในชีวิตประจาวัน
ของผเู้ รียนใหผ้ ู้เรยี นศกึ ษาคน้ คว้าโดยการปฏิบัติจรงิ สรุปรายงาน และฝกึ ทกั ษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์
ในสาระตอ่ ไปน้ี สถติ ิ ขอ้ มูล ตาแหน่งทขี่ องขอ้ มลู ค่ากลาง(ฐานนยิ ม มัธยฐาน ค่าเฉลยี่ เลขคณิต)
เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการคิดคานวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือ
ความหมายทางคณิตศาสตร์ และสามารถนาไปใช้ในการเรียนรู้ส่ิงต่างๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่าง
สร้างสรรค์ รวมท้ังเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็นระบบระเบียบ มีความ
รบั ผดิ ชอบ มวี ิจารณญาณ และมคี วามเช่อื มน่ั ในตนเอง
รหัสตัวช้ีวดั
ค 3.1 ม.6/1
รวมท้ังหมด 1 ตวั ชว้ี ดั
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นวดั นาวง
58
คำอธิบำยรำยวชิ ำ (พื้นฐำน)
รหัสวิชำ ค 33102 คณติ ศำสตร์ 6 กลุม่ สำระกำรเรียนรคู้ ณิตศำสตร์
ชั้นมธั ยมศกึ ษำปที ี่ 6 เวลำ 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกิต ภำคเรยี นท่ี 2
ศึกษา ฝึกทักษะการคิดคานวณ จัดการเรียนรู้โดยใช้ประสบการณ์หรือสถานการณ์ในชีวิตประจาวัน
ของผู้เรียนใหผ้ ู้เรียนศึกษาคน้ คว้าโดยการปฏิบตั ิจริง สรุปรายงาน และฝึกทักษะ/กระบวนการทางคณติ ศาสตร์
ในสาระต่อไปนี้
สถิติ ค่าการกระจาย(พิสัย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ความแปรปรวน) การนาเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพ
และเชิงปรมิ าณ การแปลความหมายของคา่ สถิติ
เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการคิดคานวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือ
ความหมายทางคณิตศาสตร์ และสามารถนาไปใช้ในการเรียนรู้ส่ิงต่างๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่าง
สร้างสรรค์ รวมท้ังเห็นคุณค่าและมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็นระบบระเบียบ มีความ
รบั ผิดชอบ มวี จิ ารณญาณ และมคี วามเช่ือม่ันในตนเอง
รหสั ตัวช้ีวดั
ค 3.1 ม.6/1
รวมท้ังหมด 1 ตวั ชี้วัด
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั นาวง
59
คำอธิบำยรำยวิชำ (พื้นฐำน)
รหสั วิชำ ว 11101 วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี 1 กลมุ่ สำระกำรเรียนรวู้ ิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชน้ั ประถมศึกษำปที ่ี 1 เวลำ 80 ชว่ั โมง
อธิบายและบรรยายความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงไม่มีชีวิตกับส่ิงมีชีวิต
และความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศระบุชื่อพืชและสัตว์ท่ีอาศัยอยู่บริเวณต่าง
ๆจากข้อมูลท่ีรวบรวมได้ บอกสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับการดารงชีวิตของสัตว์ในบริเวณท่ีอาศัยอยู่
บรรยายลักษณะและหน้าที่ของระบบต่าง ๆของสัตว์และมนุษย์ท่ีทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของ
โครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทางานสัมพันธ์กันระบุสมบัติของวัสดุ องค์ประกอบของวัสดุ
ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของวัสดุกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของ
การเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร ปรากฏการณ์ทเ่ี กีย่ วขอ้ งกบั เสยี ง ทิศทางการเคลื่อนที่ของเสยี งองค์ประกอบ
ลกั ษณะ และวิวัฒนาการของเอกภพกาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมท้ังปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ
ที่ส่งผลตอ่ สิง่ มชี ีวติ ปรากฏการณ์บนท้องฟา้ ในเวลากลางวนั กลางคืน องค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบ
โลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงลักษณะของหิน ดิน รวมทั้งผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมและฝึกทักษะในการ
แกปญหาโดยใชขั้นตอนการแกปญหาอยางงาย การแสดง ขั้นตอนการแกปญหาโดยการเขียน บอกเลา วาด
ภาพ หรือใชสัญลักษณ การเขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดย ใชซอฟตแวรหรือสื่อ การใชงานอุปกรณเทคโนโลยี
เบ้อื งตน การใชงานซอฟตแวรเบอ้ื งตนการสรางการจดั เก็บ และเรยี กใชไฟลตามวตั ถุประสงค การใชเทคโนโลยี
สารสนเทศอยางปลอดภยั ขอปฏบิ ัตใิ นการใชงานและการดแู ลรักษาอุปกรณ การใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
อยางเหมาะสม
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล
และการอธิบายเพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการส่ือสารสิ่งท่ีเรียนรู้ เพื่อการนา
ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ไปใช้ในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้และแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
คิดอย่างมีเหตมุ ีผล มีจิตรวิทยาศาสตร์ มีคณุ ธรรมจริยธรรม และค่านิยมทีเ่ หมาะสม
รหสั ตัวช้วี ัด
ว 1.1 ป.1/1, ป.1/2
ว 1.2 ป.1/1, ป.1/2
ว 2.1 ป.1/1, ป.1/2
ว 2.3 ป.1/1
ว 3.1 ป.1/1, ป.1/2
ว 3.2 ป.1/1
ว 4.2 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4, ป.1/5
รวมท้ังหมด 15 ตัวชี้วัด
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดนาวง
60
คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ (พื้นฐำน)
รหสั วชิ ำ ว 12101 วิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี 2 กลุ่มสำระกำรเรียนรูว้ ิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี
ช้นั ประถมศึกษำปีท่ี 2 เวลำ 80 ช่ัวโมง
เปรียบเทียบและอธิบายสมบัติของส่ิงมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของส่ิงมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและออก
จากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆของสัตว์และมนุษย์ที่ทางานสัมพันธ์กัน
ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าท่ีของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทางานสัมพันธ์กัน ความสาคัญของการ
ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมสารพันธุกรรม การเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรมท่ีมีผลต่อสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการของส่ิงมีชีวิตสมบัติของวสั ดุ องค์ประกอบของวัสดุ ความสัมพันธ์
ระหว่างสมบัติของวัสดุกับโครงสร้างและแรงยึดเหน่ียวระหว่างอนุภาค หลักและธ รรมชาติของการ
เปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี ความหมายของพลังงาน
การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงานปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจาวัน
ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เก่ียวข้องกับเสียง ทิศทางการเคลื่อนท่ีของเสียงองค์ประกอบและของดิน
และจาแนกชนิดของดิน การใช้ประโยชน์จากดิน กระบวนการเปล่ียนแปลงภายในโลกและบนผิวโลก
กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก รวมทั้งผลต่อส่ิงมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมและฝกทักษะ
ในการแกปญหาโดยใชขั้นตอนการแกปญหาอยางงาย การแสดง ขั้นตอนการแกปญหาโดยการเขียน บอกเลา
วาดภาพ หรือใชสัญลักษณ การเขียนโปรแกรมอยางงาย โดย ใชซอฟตแวรหรือส่ือ การใชงานอุปกรณ
เทคโนโลยีเบื้องตน การใชงานซอฟตแวรเบื้องตน การสรางการจัดเก็บ และเรียกใชไฟลตามวัตถุประสงค
การใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย ขอปฏิบัติในการใชงานและการดูแลรักษาอุปกรณ การใชงาน
เทคโนโลยีสารสนเทศอยางเหมาะสม
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล
และการอธิบายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการส่ือสาร ส่ิงท่ีเรียนรู้
มีความสามารถในการตัดสินใจ และการนาเสนอข้อมูลเพื่อการนาความรู้ และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ไปใช้ในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้และแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ คิดอย่างมีเหตุมีผล เห็นคุณค่าของการนา
ความร้ไู ปใช้ประโยชนใ์ นชวี ติ ประจาวันมีจิตรวิทยาศาสตร์ มคี ุณธรรมจรยิ ธรรม และคา่ นิยมท่ีเหมาะสม
รหัสตัวชี้วดั
ว 1.2 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3
ว 1.3 ป.2/1
ว 2.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4
ว 2.3 ป.2/1, ป.2/2
ว 3.2 ป.2/1, ป.2/2
ว 4.2 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4
รวมท้งั หมด 16 ตวั ชว้ี ัด
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนวัดนาวง
61
คำอธบิ ำยรำยวิชำ (พ้นื ฐำน)
รหสั วิชำ ว 13101 วทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี 3 กลุ่มสำระกำรเรียนรวู้ ิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชัน้ ประถมศึกษำปีที่ 3 เวลำ 80 ชวั่ โมง
ศึกษาการเรียนรู้แบบนักวิทยาศาสตร์ ปัจจัยในการดารงชีวิตและการเจริญเติบโตของมนุษย์และสัตว์
วัฏจักรชีวิตของสัตว์ วัตถุประกอบขึ้นจากชิ้นส่วนย่อยซ่ึงสามารถแยกออกจากกันและประกอบกันเป็นวัตถุ
ชิ้นใหม่ได้ การเปลี่ยนแปลงของวัสดุเม่ือทาให้ร้อนข้ึนหรือเย็นลง ผลของแรงท่ีมีต่อการเปลี่ยนแปลง
การเคลื่อนทข่ี องวัตถุ แรงสมั ผัสและแรงไม่สัมผัส วัสดุที่แม่เหล็กดึงดดู ได้ แรงแม่เหล็ก ขว้ั แม่เหลก็ การเปลยี่ น
พลังงานหนึ่งไปเป็นอีกพลังงานหน่ึง การทางานของเคร่ืองกาเนดิ ไฟฟ้า แหล่งพลังงานในการผลิตไฟฟา้ การใช้
ไฟฟ้าอย่างประหยัดและปลอดภัย การเกิดกลางวัน กลางคืน การขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ การกาหนด
ทิศ ความสาคัญของดวงอาทิตย์ ส่วนประกอบของอากาศ ความสาคัญของอากาศ ผลกระทบของมลพิษ
ทางอากาศ การเกิดลม ประโยชน์และโทษของลม การแสดงข้ันตอนการแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ
เบื้องต้น การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้าโดยใช้บัตรคาส่ังและการตรวจหาข้อผิดพลาด การใช้อินเทอร์เน็ต
และข้อตกลงในการใช้งาน การรวบรวมข้อมูล การประมวลผลข้อมูลเบื้องต้น การนาเสนอข้อมูล เทคโนโลยี
ในงานดา้ นต่าง ๆ ข้อดแี ละขอ้ เสยี ในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร
ใช้การสืบเสาะหาความรู้ สังเกต รวบรวมข้อมูล จดั กระทาและสอ่ื ความหมายข้อมลู สร้างแบบจาลอง
และอธิบายผลการสารวจตรวจสอบ เพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ขั้นพ้ืนฐานและมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เบื้องต้น สามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถทางานร่วมกับผู้อ่ืน แสดงขั้นตอนการ
แก้ปัญหา เขียนโปรแกรมแบบวนซ้าโดยใช้บัตรคาส่ัง ใชอ้ ินเทอร์เน็ตในการค้นหาความรู้ รวบรวม ประมวลผล
และนาเสนอข้อมูลตามวัตถุประสงค์ ตระหนักถึงประโยชน์ของการใช้ความรู้และกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
ในการดารงชีวิต ตระหนัก ถึงการใช้อินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัยและอยู่ในการดูแลของครูหรือผู้ปกครอง
มจี ิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และค่านิยมทเี่ หมาะสม
รหัสตวั ชวี้ ัด
ว 1.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4
ว 2.1 ป.3/1, ป.3/2 ว 2.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4
ว 2.3 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3 ว 3.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3
ว 3.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4
ว 4.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5
รวมทง้ั หมด 25 ตัวชี้วัด
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นวัดนาวง
62
คำอธิบำยรำยวิชำ (พ้ืนฐำน)
รหสั วชิ ำ ว 14101 วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี 4 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ช้นั ประถมศึกษำปที ี่ 4 เวลำ 80 ช่ัวโมง
ศึกษาการเรยี นรู้แบบนักวิทยาศาสตร์ การจาแนกส่ิงมีชีวิตเป็นกล่มุ พืช กลุ่มสัตว์ และกลมุ่ ที่ ไม่ใช่พืช
และสัตว์ การจาแนกพืชออกเป็นพืชดอกและพืชไม่มีดอก การจาแนกสัตว์ออกเป็นสัตว์ มี กระดูกสันหลัง
และสัตวไ์ ม่มีกระดูกสันหลงั ลักษณะเฉพาะของสัตวม์ ีกระดูกสนั หลังในกล่มุ ปลา กลมุ่ สัตว์สะเทินนา้ สะเทินบก
กลุ่มสัตว์เล้ือยคลาน กลุ่มนก และกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม หน้าท่ีของ ราก ลาต้น ใบและดอกของพืชดอก
สมบัติทางกายภาพ ด้านความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนาความร้อน และการนาไฟฟ้าของวัสดุ การนาสมบัติ
ทางกายภาพของวัสดุไปใช้ในชีวิตประจาวัน สมบัติของสสาร ท้ัง 3 สถานะ ผลของแรงโน้มถ่วงท่ีมีต่อวัตถุ
การวัดน้าหนักของวัตถุ มวลของวัตถุท่ีมีผลต่อการ เปลี่ยนแปลงการเคล่ือนท่ีของวัตถุ และตัวกลางของแสง
การข้ึนและตกและรูปร่างดวงจันทร์ และ องค์ประกอบของระบบสุริยะ การใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการ
แก้ปัญหา การออกแบบและเขียน โปรแกรมอย่างง่าย การตรวจหาข้อผิดพลาดในโปรแกรม การค้นหาข้อมูล
ในอินเทอร์เน็ตและการใช้ คาค้น การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล การรวบรวม นาเสนอข้อมูล
และสารสนเทศ
ใช้การสืบเสาะหาความรู้ ต้ังคาถาม คาดคะเนคาตอบหรือสร้างสมมติฐาน วางแผนและสารวจ
ตรวจสอบโดยใช้เครื่องมืออุปกรณ์และเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ประเมินความน่าเชื่อถือ ของข้อมูล
รวมรวมข้อมูล ประมวลผลอย่างง่าย วิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ผลและสร้างทางเลือก นาเสนอข้อมูล ลงความ
คดิ เห็นและสรุปผลการสารวจตรวจสอบ เพ่ือให้เกดิ ความรู้ความเข้าใจ มีทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
และมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ในด้านการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสารเบื้องต้น
มีความคิดสรา้ งสรรค์ สามารถทางานรว่ มกบั ผ้อู ื่น ใช้เหตผุ ลเชิง ตรรกะในการแกป้ ัญหา และอธบิ ายการทางาน
หรือคาดการผลลพั ธจ์ ากปัญหาอยา่ งง่าย ออกแบบและ เขียนโปรแกรม ตรวจหาขอ้ ผิดพลาดจากโปรแกรมของ
ตนเองและผอู้ ื่น
ตระหนักถึงคุณค่าของความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และใช้ความรู้และกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ในการดารงชีวิต สามารถสื่อสารอย่างมีมารยาทและรู้กาลเทศะ รู้จักการปกป้องข้อมูล
สว่ นตวั มีจติ วทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม
รหัสตวั ชวี้ ดั
ว 1.2 ป.4/1
ว 1.3 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป. 4/4
ว 2.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป. 4/4
ว 2.2 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3
ว 2.3 ป.4/1 ว 3.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3
ว 4.2 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป. 4/4, ป. 4/5
รวมทั้งหมด 21 ตวั ชี้วดั
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดนาวง
63
คำอธิบำยรำยวิชำ (พ้นื ฐำน)
รหสั วชิ ำ ว 15101 วทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี 5 กล่มุ สำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ช้นั ประถมศึกษำปที ่ี 5 เวลำ 80 ชั่วโมง
ศึกษาการเรียนรู้แบบนักวิทยาศาสตร์ โครงสร้างและลักษณะของสิ่งมีชีวิตท่ีเหมาะสมในแต่ละ
แหล่งที่อยู่ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิตและความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับส่ิงไม่มีชีวิต
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของพืช สัตว์ และมนุษย์การเปลี่ยนสถานะของสสาร การละลายของสาร
ในน้าการเปลี่ยนแปลงทางเคมี การเปล่ียนแปลงท่ีผันกลับได้และผันกลับไม่ได้ แรงลัพธ์ แรงเสียดทาน การได้
ยินเสียงผ่านตัวกลาง ลักษณะและการเกิดเสียงสูง เสียงต่าเสียงดัง และเสียงค่อย ระดับเสียงและมลพิษ
ทางเสียง ความแตกต่างของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ การใช้แผนท่ีดาว แบบรูปเส้นทางการข้ึนและตก
ของกลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟ้าในรอบปีปริมาณน้าในแต่ละแหล่ง ปริมาณน้าท่ีมนุษย์สามารถนามาใช้ได้ การใช้
น้าอย่างประหยัดและการอนุรักษ์น้า วัฏจักรน้า กระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้าค้าง และน้าค้างแข็ง
กระบวนการเกดิ ฝน หมิ ะ และลูกเหบ็ การใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแกป้ ัญหา การเขียนรหสั ลาลองเพอ่ื แสดง
วิธีแก้ปัญหา การออกแบบ และการเขียนโปรแกรมแบบมีเงื่อนไขและการทางานแบบวนซ้า การใช้ซอฟต์แวร์
ประมวลผลข้อมูล การติดต่อส่ือสารผ่านอินเทอร์เน็ต การใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาข้อมูลและการประเมิน
ความนา่ เช่อื ถอื ของข้อมูล อันตรายจากการใช้งานและอาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต
ใช้การสืบเสาะหาความรู้ สังเกต รวบรวมข้อมูล จัดกระทาและสื่อความหมายข้อมูล สร้างแบบจาลอง
และอธิบายผลการสารวจตรวจสอบ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ข้ันพื้นฐานและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเบ้ืองต้น
สามารถส่ือสารส่ิงท่ีเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถทางานร่วมกับผู้อ่ืน แสดงวิธีแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผล
เชิงตรรกะ ใช้รหัสลาลองแสดงวิธีการแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน ออกแบบ และเขียนโปรแกรมแบบมีเง่ือนไข
และการทางานแบบวนซ้า ตรวจหาข้อผิดพลาดของโปรแกรม ใช้ซอฟต์แวร์ช่วยในการแก้ปัญหา
ใช้อินเทอร์เน็ตติดต่อส่ือสารและค้นหาข้อมูล แยกแยะข้อเท็จจริงกับข้อคิดเห็น ประเมินความน่าเช่ือถือ
ของข้อมลู
ตระหนักถึงคุณค่าของความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และใช้ความรู้และกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ในการดารงชีวิต ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยและมีมารยาท มีจิตวิทยาศาสตร์
จรยิ ธรรม คณุ ธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม
รหสั ตวั ชี้วัด
ว 1.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4
ว 1.3 ป.5/1, ป.5/2
ว 2.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4
ว 2.2 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5
ว 2.3 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5
ว 3.1 ป.5/1, ป.5/2
ว 3.2 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5
ว 4.2 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5
รวมทั้งหมด 32 ตัวชี้วัด
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนวัดนาวง
64
คำอธิบำยรำยวิชำ (พืน้ ฐำน)
รหัสวชิ ำ ว 16101 วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี 6 กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้วทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี
ชั้นประถมศึกษำปีที่ 6 เวลำ 80 ชั่วโมง
ศึกษาการเรียนรู้แบบนักวิทยาศาสตร์ สารอาหาร การเลือกรับประทานอาหารให้ได้สารอาหาร
ครบถ้วนในสัดส่วนท่ีเหมาะสมและปลอดภัยต่อสุขภาพ ระบบย่อยอาหาร การแยกสารผสมโดยการหยิบออก
การร่อน การใช้แมเ่ หล็กดึงดูด การรนิ ออก การกรอง และการตกตะกอน แรงไฟฟ้าซึ่งเกดิ จากวตั ถุที่ผ่านการ
ขัดถู การตอ่ วงจรไฟฟ้าอย่างงา่ ย การตอ่ เซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมและการนาไปใชป้ ระโยชน์ การต่อหลอดไฟฟ้า
แบบอนุกรมและแบบขนานและการนาไปใช้ประโยชน์ การเกิดเงามืดเงามัว ปรากฏการณ์สุริยุปราคา
และจันทรุปราคา เทคโนโลยีอวกาศ กระบวนการเกิดหินอัคนี หินตะกอน และหินแปร และวัฏจักรหิน
ลักษณะและสมบัติของหินและแร่ การใช้ประโยชน์ของหินและแร่ การเกิดซากดกึ ดาบรรพ์และสภาพแวดล้อม
ในอดีตของซากดึกดาบรรพ์ การเกิดลมบก ลมทะเล และมรสุม ผลของมรสุมต่อการเกิดฤดูของประเทศไทย
ลักษณะและผลกระทบของน้าท่วม การกัดเซาะชายฝ่ัง ดินถล่ม แผ่นดินไหว สึนามิ การเกิดและผลกระทบ
ของปรากฏการณ์เรือนกระจก การใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการอธิบายและออกแบบวิธีการแก้ปัญหา
การออกแบบ การเขียนโปรแกรมและการตรวจหาข้อผิดพลาด การค้นหาข้อมูลในอินเทอร์เน็ตอย่างมี
ประสิทธภิ าพ การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการทางานรว่ มกัน
ใชก้ ารสืบเสาะหาความรู้ สงั เกต รวบรวมข้อมูล จดั กระทาและสือ่ ความหมายข้อมูล สรา้ งแบบจาลอง
และอธิบายผลการสารวจตรวจสอบ เพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ข้ัน
พื้นฐานและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเบื้องต้น
สามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถทางานร่วมกับผู้อ่ืน อธิบายและออกแบบวิธีการ
แก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ เขียนโปรแกรมอย่างง่ายเพื่อแก้ปัญหาและตรวจหาข้อผิดพลาดของ
โปรแกรม คน้ หาข้อมูลในอนิ เทอร์เน็ตอย่างมีประสทิ ธิภาพ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางานร่วมกัน
ตระหนักถึงคุณค่าของความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และใช้ความรู้และกระบวนการ ทาง
วิทยาศาสตร์ในการดารงชีวิต ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศร่วมกันอย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิและหน้าที่ของตน
เคารพในสิทธิของผ้อู ่ืน มีจติ วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม
รหสั ตัวชี้วัด
ว 1.2 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5
ว 2.1 ป.6/1
ว 2.2 ป.6/1
ว 2.3 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6, ป.6/7, ป.6/8
ว 3.1 ป.6/1, ป.6/2
ว 3.2 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6, ป.6/7, ป.6/8, ป.6/9
ว 4.2 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4
รวมทั้งหมด 30 ตัวช้ีวดั
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นวัดนาวง
65
คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ (พน้ื ฐำน)
รหัสวชิ ำ ว 21101 วทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี 1 กลุม่ สำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี
ชั้นมธั ยมศกึ ษำปีท่ี 1 เวลำ 60 ช่ัวโมง 1.5 หน่วยกติ ภำคเรยี นที่ 1
ศึกษาเปรียบเทียบรูปร่าง ลักษณะ และโครงสร้าง ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ หน้าที่ของผนังเซลล์
เย่ือหุ้มเซลล์ไซโทพลาซึม นิวเคลียส แวคิวโอล ไมโทคอนเดรีย และคลอโรพลาสต์ ใช้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง
ศึกษาเซลล์ และโครงสร้างต่าง ๆ ภายในเซลล์ ความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่างกับการทาหน้าท่ีของเซลล์
การจัดระบบของส่ิงมีชีวิต กระบวนการแพร่และออสโมซิส ปัจจัยท่ีจาเป็นในการสังเคราะห์ด้วยแสง
และผลผลิตท่ีเกิดขึ้นจากการสังเคราะหด์ ้วยแสง ความสาคัญของการสังเคราะห์ดว้ ยแสง ของพืชต่อสิ่งมชี วี ิต
และส่ิงแวดล้อม ลักษณะและหน้าที่ของไซเล็มและ โฟลเอ็ม การลาเลียงสารในไซเล็มและโฟลเอ็ม ของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ และ ไม่อาศัยเพศของพืชดอก การสืบพนั ธ์ุแบบอาศยั เพศ และ ไม่อาศัยเพศของ
พืชดอก ลักษณะโครงสร้างของดอกที่มีส่วนทาให้เกิดการถ่ายเรณู การปฏิสนธิของพืชดอก การเกิดผล
และเมล็ด การกระจายเมล็ด และการงอกของเมล็ด ความสาคัญของธาตุอาหารบางชนิดท่ีมีผลต่อการ
เจริญเตบิ โต และการดารงชวี ติ ของพืช การเพาะเล้ียงเนอื้ เยอื่
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ ทดลอง การสืบค้น
ขอ้ มูลและการอภิปรายเพ่ือให้เกิดองค์ความรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ มคี วามมั่นใจในการนาความรู้ไป
ใชใ้ นชวี ิตประจาวัน มจี ติ วทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และคา่ นยิ มทีเ่ หมาะสม
รหัสตวั ช้ีวดั
ว 1.2 ม.2/1-18
ว 2.1 ม.2/1-10
รวมทั้งหมด 28 ตัวชี้วดั
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวดั นาวง
66
คำอธิบำยรำยวชิ ำ (พืน้ ฐำน)
รหัสวชิ ำ ว 21102 วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี 2 กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี
ชน้ั มัธยมศึกษำปีที่ 1 เวลำ 60 ชั่วโมง 1.5 หนว่ ยกิต ภำคเรยี นท่ี 2
ศึกษา สมบัติทางกายภาพบางประการของ ธาตุโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ การจัดกลุ่มธาตุเป็น
โลหะ อโลหะ และ กึ่งโลหะ ผลจากการใช้ธาตุโลหะ อโลหะ ก่ึงโลหะ และธาตุกัมมันตรังสีท่ีมีต่อส่ิงมีชีวิต
ส่ิงแวดล้อม เศรษฐกิจและสังคม การใช้ธาตุอย่างปลอดภัย คุ้มค่า เปรียบเทียบจุดเดือดจุดหลอมเหลวของ
สารบริสุทธ์ิ และสารผสม โดยการวัดอุณหภูมิเขียนกราฟ แปลความหมายข้อมูลจากกราฟ หรือสารสนเทศ
ความหนาแน่นของ สารบริสุทธิ์และสารผสม ใช้เครื่องมือเพ่ือวัดมวลและปริมาตรของ สารบริสุทธ์ิและสาร
ผสม ความสัมพันธ์ระหว่างอะตอม ธาตุและสารประกอบ โดยใช้แบบจาลอง และสารสนเทศ โครงสร้าง
อะตอมที่ประกอบดว้ ย โปรตอน นวิ ตรอน และอิเลก็ ตรอน การจดั เรียงอนุภาค แรงยึดเหน่ยี วระหว่างอนุภาค
และการเคลื่อนที่ของอนุภาคของสสารชนิดเดียวกันในสถานะ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ความสัมพันธ์
ระหว่าง พลังงานความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่าง ความดันอากาศกับความ
สูงจากพ้ืนโลก วิเคราะห์แปลความหมายข้อมูล และคานวณ ปริมาณความร้อนท่ีทาให้สสารเปลี่ยนอุณหภูมิ
และเปลี่ยนสถานะ โดยใชส้ มการ Q = mc∆t และ Q = mL ใช้เทอร์มอมเิ ตอร์ในการวัดอุณหภูมิของสสาร
สร้างแบบจาลองที่อธิบายการขยายตัวหรือ หดตัวของสสารเน่ืองจากได้รับหรือสูญเสีย ความร้อน การหด
และขยายตัวของสสารเน่ืองจากความร้อน การถ่ายโอนความร้อน และคานวณปริมาณความร้อนท่ีถ่ายโอน
ระหว่างสสารจนเกิดสมดุลความร้อนโดยใช้ สมการ Q สูญเสีย = Q ได้รับ การนาความร้อน การพาความ
ร้อน การแผ่รังสีความร้อน แบบจาลองท่ีอธิบายการแบ่งชั้นบรรยากาศ และประโยชน์ของบรรยากาศแต่ละ
ช้ัน ปัจจัยท่ีมีผลต่อการเปลี่ยนแปลง องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ กระบวนการเกิดพายุฝนฟ้าคะนอง
และพายุหมุนเขตร้อน และผลที่มีต่อส่ิงมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม การพยากรณ์อากาศ และพยากรณ์อากาศ
อย่างง่าย ประโยชน์จากคาพยากรณ์อากาศ ผลกระทบการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศโลกผลกระทบของการ
เปลี่ยนแปลงภมู อิ ากาศโลก
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ ทดลอง การสืบค้น
ข้อมูลและการอภิปรายเพ่ือให้เกดิ องค์ความรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ มคี วามมั่นใจในการนาความรู้ไป
ใช้ในชวี ติ ประจาวนั มีจิตวิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และค่านยิ มที่เหมาะสม
รหัสตวั ชี้วดั
ว 2.2 ม.2/1
ว 2.3 ม.2/1-7
ว 3.2 ม.2/1-7
รวมท้ังหมด 15 ตัวช้ีวัด
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนวดั นาวง
67
คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ (พืน้ ฐำน)
รหสั วชิ ำ ว 22101 วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี 3 กลมุ่ สำระกำรเรียนรวู้ ิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี
ชน้ั มธั ยมศึกษำปที ่ี 2 เวลำ 60 ชั่วโมง 1.5 หนว่ ยกิต ภำคเรียนที่ 1
ระบุอวัยวะและบรรยายหน้าท่ีของอวัยวะท่ี เกี่ยวข้องในระบบหายใจ อธิบายกลไกการหายใจเข้า
และออก โดยใช้ แบบจาลอง รวมทั้งอธิบายกระบวนการ แลกเปล่ียนแก๊ส ตระหนักถึงความสาคัญของ
ระบบหายใจ โดยการบอกแนวทางในการดูแลรักษาอวัยวะ ในระบบหายใจให้ทางานเป็นปกติ ระบุอวัยวะ
และบรรยายหน้าท่ขี องอวัยวะ ในระบบขับถา่ ยในการกาจัดของเสยี ทางไต ตระหนักถงึ ความสาคัญของระบบ
ขับถา่ ย ในการกาจดั ของเสียทางไต โดยการบอก แนวทางในการปฏบิ ตั ิตนที่ช่วยให้ระบบขบั ถ่าย ทาหนา้ ท่ีได้
อย่างปกติ บรรยายโครงสร้างและหน้าท่ีของหัวใจ หลอดเลือด และเลือด อธิบายการทางานของระบบ
หมุนเวียนเลือด โดยใช้แบบจาลอง ออกแบบการทดลองและทดลอง ในการ เปรียบเทียบอัตราการเต้นของ
หัวใจ ขณะปกติ และหลังทากิจกรรม ตระหนักถึงความสาคัญของระบบหมุนเวียนเลือด โดยการบอก
แนวทางในการดูแลรักษาอวัยวะ ในระบบหมุนเวียนเลือดให้ทางานเป็นปกติ ระบุอวัยวะและบรรยายหน้าที่
ของอวัยวะใน ระบบประสาทส่วนกลางในการควบคุม การทางานต่าง ๆ ของร่างกาย ตระหนักถึง
ความสาคัญของระบบประสาท โดยการบอกแนวทางในการดูแลรักษา รวมถึง การป้องกันการ
กระทบกระเทือนและอันตราย ต่อสมองและไขสันหลัง ระบุอวัยวะและบรรยายหน้าที่ของอวัยวะใน ระบบ
สบื พันธ์ขุ องเพศชายและเพศหญิง โดยใช้แบบจาลอง อธบิ ายผลของฮอร์โมนเพศชายและเพศหญิงท่ี ควบคุม
การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย เมื่อเข้าสู่ วัยหนุ่มสาว ตระหนักถึงการเปล่ียนแปลงของร่างกายเมื่อ เข้าสู่วัย
หนุ่มสาว โดยการดูแลรักษาร่างกาย และจติ ใจของตนเองในช่วงท่ีมี การเปลย่ี นแปลง อธิบายการตกไข่การมี
ประจาเดือน การปฏิสนธิและการพัฒนาของไซโกต จนคลอดเปน็ ทารก เลือกวิธีการคุมกาเนิดที่เหมาะสมกับ
สถานการณ์ท่ีกาหนด ตระหนักถึงผลกระทบของการตั้งครรภ์ ก่อนวัยอันควร โดยการประพฤติตนให้
เหมาะสม ออกแบบการทดลองและทดลองในการอธิบาย ผลของชนิดตัวละลาย ชนิดตัวทาละลาย อุณหภูมิ
ท่ีมีต่อสภาพละลายได้ของสาร รวมท้ัง อธิบายผลของความดันท่ีมีต่อสภาพละลายได้ ของสาร โดยใช้
สารสนเทศ ระบุปริมาณตัวละลายในสารละลาย ในหน่วย ความเข้มข้นเป็นร้อยละ ปริมาตรต่อปริมาตร มวล
ต่อมวล และมวลต่อปริมาตร ตระหนักถึงความสาคัญของการนาความรู้เรื่อง ความเข้มข้นของสารไปใช้โดย
ยกตัวอย่างการใช้ สารละลายในชีวิตประจาวันอย่างถูกต้อง และปลอดภัย พยากรณ์การเคลื่อนที่ของวัตถุที่
เป็นผลของ แรงลพั ธ์ท่ีเกดิ จากแรงหลายแรงท่กี ระทาต่อวัตถุ ในแนวเดยี วกันจากหลักฐานเชิงประจกั ษ์ เขียน
แผนภาพแสดงแรงและแรงลัพธ์ท่ีเกิดจาก แรงหลายแรงท่ีกระทาต่อวัตถุในแนวเดียวกัน • แรงเป็นปริมาณ
เวกเตอร์เม่ือมีแรงหลาย ๆ แรง กระทาต่อวัตถุแล้วแรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุมีค่า เป็นศูนย์วัตถุจะไม่
เปลี่ยนแปลงการเคล่ือนท่ี แต่ถ้าแรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุมีค่าไม่เป็นศูนย์ วัตถุจะเปล่ียนแปลงการเคล่ือนที่
ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวิธี ท่ีเหมาะสมในการอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อความดัน ของของเหลว
วิเคราะห์แรงพยุงและการจม การลอยของวัตถุ ในของเหลวจากหลักฐานเชิงประจักษ์ เขียนแผนภาพแสดง
แรงทีก่ ระทาตอ่ วัตถุ ในของเหลว อธบิ ายแรงเสียดทานสถติ และแรงเสียดทานจลน์ จากหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์
ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวิธีท่ี เหมาะสมในการอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อขนาด ของแรงเสียดทาน
เขียนแผนภาพแสดงแรงเสียดทานและแรงอ่ืน ๆ ท่ีกระทาต่อวัตถุ ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้เร่ืองแรง
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนวดั นาวง
68
เสียดทาน โดยวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาและเสนอแนะ วิธีการลดหรือเพ่ิมแรงเสียดทานที่เป็นประโยชน์
ต่อการทากิจกรรมในชีวิตประจาวัน ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวิธี ท่ีเหมาะสมในการอธิบาย
โมเมนต์ ของแรง เมื่อวัตถุอยู่ในสภาพสมดุลต่อ การหมุน และคานวณโดยใช้สมการ M = Fl เปรียบเทียบ
แหล่งของสนามแม่เหล็ก สนามไฟฟ้า และสนามโน้มถ่วง และทิศทาง ของแรงท่ีกระทาต่อวัตถุที่อยู่ในแต่ละ
สนาม เขียนแผนภาพแสดงแรงแม่เหล็ก แรงไฟฟ้า และแรงโน้มถ่วงที่กระทาต่อวัตถุ วิเคราะห์ความสัมพันธ์
ระหวา่ งขนาดของแรง แม่เหลก็ แรงไฟฟ้า และแรงโน้มถว่ งท่ีกระทา ตอ่ วตั ถทุ อี่ ยู่ในสนามนน้ั ๆ กบั ระยะห่าง
จาก แหล่งของสนามถงึ วัตถจุ ากข้อมูลท่ีรวบรวม อธิบายและคานวณอัตราเรว็ และความเรว็ ของ การเคลอ่ื นที่
ของวัตถุโดยใช้สมการ v = s t และ v = s t จากหลักฐานเชิงประจักษ์ เขียนแผนภาพแสดงการกระจัด
และความเร็ว
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ ทดลอง การสืบค้น
ข้อมูลและการอภิปรายเพื่อให้เกิดองค์ความรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ มีความมั่นใจในการนาความรู้ไป
ใช้ในชีวติ ประจาวนั มีจิตวทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และค่านิยมทเ่ี หมาะสม
รหัสตวั ชี้วัด
ว 1.2 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5, ม.2/6, ม.2/7, ม.2/8, ม.2/9, ม.2/10,
ม.2/11, ม.2/12, ม.2/13, ม.2/14, ม.2/15, ม.2/16, ม.2/17
ว 2.1 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5, ม.2/6
ว 2.2 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/6, ม.2/7, ม.2/8, ม.2/9, ม.2/10, ม.2/11, ม.2/12,
ม.2/13, ม.2/14, ม.2/15
รวมท้ังหมด 35 ตัวช้ีวัด
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนวัดนาวง
69
คำอธิบำยรำยวิชำ (พ้ืนฐำน)
รหสั วชิ ำ ว 22102 วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี 4 กลมุ่ สำระกำรเรยี นร้วู ิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี
ชัน้ มธั ยมศึกษำปีที่ 2 เวลำ 60 ช่ัวโมง 1.5 หนว่ ยกิต ภำคเรยี นที่ 2
อธิบายการแยกสารผสมโดยการระเหยแห้ง การตกผลึก การกล่ันอย่างง่าย โครมาโทกราฟีแบบ
กระดาษ การสกัดด้วย ตัวทาละลาย นาวิธีการแยกสารไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน วิเคราะห์สถานการณ์
และคานวณเกี่ยวกับงาน และกาลังที่เกดิ จากแรงท่ีกระทาต่อวัตถุ วิเคราะห์หลักการทางานของเครือ่ งกลอย่าง
ง่าย ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้ของ เคร่ืองกลอย่างง่าย โดยบอกประโยชน์ และการประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจาวัน ออกแบบและทดลองด้วยวิธีท่ีเหมาะสมในการ อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อพลังงานจลน์
และ พลังงานศักย์โน้มถ่วง แปลความหมายข้อมูลและอธิบายการเปล่ียน พลังงานระหว่างพลังงานศักย์โน้ม
ถ่วงและ พลังงานจลน์ของวัตถุ วิเคราะห์สถานการณ์และอธิบายการเปลี่ยน และการถ่ายโอนพลังงานโดยใช้
กฎการอนุรักษ์พลังงาน เปรียบเทียบกระบวนการเกิด สมบัติและการใช้ ประโยชน์รวมท้ังอธิบายผลกระทบ
จากการใช้ เชื้อเพลิงซากดึกดาบรรพ์ แสดงความตระหนักถึงผลจากการใช้เช้ือเพลิง ซากดึกดาบรรพ์โดย
นาเสนอแนวทางการใช้ เชื้อเพลิงซากดึกดาบรรพ์ เปรียบเทียบข้อดีและข้อจากัดของพลังงาน ทดแทนแต่ละ
ประเภทจากการรวบรวมข้อมูล และนาเสนอแนวทางการใช้พลังงานทดแทน สร้างแบบจาลองท่ีอธิบาย
โครงสร้างภายในโลก ตามองค์ประกอบทางเคมี อธิบายกระบวนการผุพังอยู่กับที่การกร่อน และการสะสมตัว
ของตะกอนจากแบบจาลอง อธิบายลักษณะของช้ันหน้าตัดดินและกระบวนการ เกิดดิน จากแบบจาลอง
ตรวจวัดสมบัติบางประการของดิน โดยใช้เคร่ืองมือ ท่ีเหมาะสมและนาเสนอแนวทางการใช้ ประโยชน์ดิน
อธิบายปัจจัยและกระบวนการเกิดแหล่งน้าผิวดิน และแหล่งน้าใต้ดิน จากแบบจาลอง สร้างแบบจาลอง
ท่ีอธิบายการใช้น้า และนาเสนอ แนวทางการใช้น้าอย่างยั่งยืน สร้างแบบจาลองท่ีอธิบายกระบวนการเกิด
และผลกระทบของน้าทว่ ม การกัดเซาะชายฝั่ง ดินถล่ม หลุมยุบ แผ่นดินทรดุ
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ ทดลอง การสืบค้น
ขอ้ มูลและการอภิปรายเพ่ือให้เกิดองค์ความรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ มคี วามมั่นใจในการนาความรู้ไป
ใชใ้ นชวี ิตประจาวนั มีจิตวทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านยิ มทเี่ หมาะสม
รหสั ตัวชี้วัด
ว 2.3 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5, ม.2/6
ว 3.2 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4, ม.2/5, ม.2/6, ม.2/7, ม.2/8, ม.2/9, ม.2/10
รวมทั้งหมด 16 ตัวช้ีวดั
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนวัดนาวง
70
คำอธิบำยรำยวชิ ำ (พ้นื ฐำน)
รหสั วิชำ ว 23101 วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี 5 กลุม่ สำระกำรเรยี นรวู้ ิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี
ชัน้ มธั ยมศึกษำปที ่ี 3 เวลำ 60 ชัว่ โมง 1.5 หน่วยกติ ภำคเรยี นที่ 1
ศึกษาสืบค้น อธิบายปฏิสัมพันธ์ขององค์ประกอบของ ระบบนิเวศท่ีได้จากการสารวจ รูปแบบ
ความสัมพันธ์ระหว่างสง่ิ มีชีวิต กับสิ่งมีชีวิตรูปแบบต่างๆในแหล่งที่อยู่เดียวกัน สร้างแบบจาลองในการอธิบาย
การถ่ายทอด พลังงานในสายใยอาหาร อธิบายความสมั พันธ์ของผู้ผลิต ผู้บริโภค และ ผูย้ ่อยสลายสารอินทรีย์
ในระบบนิเวศอธิบายการสะสมสารพิษในส่ิงมีชีวิตในโซ่อาหาร ความสัมพันธ์ของสิ่งมชี ีวิต และ ส่ิงแวดล้อมใน
ระบบนิเวศ โดยไม่ทาลายสมดุล ของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่าง ยีน ดีเอ็นเอ และ โครโมโซม โดยใช้
แบบจาลอง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจาก การผสมโดยพิจารณาลักษณะเดียวที่แอลลีลเด่น
ข่มแอลลีลด้อยอย่างสมบูรณ์ การเกิด จีโนไทป์และฟีโนไทป์ของลูก และคานวณอัตราส่วนการเกิดจีโนไทป์
และฟีโนไทป์ของรุ่นลูก ความแตกต่างของการแบ่งเซลล์แบบ ไมโทซิสและไมโอซิส การเปลี่ยนแปลงของยีน
หรือโครโมโซม อาจทาให้เกิดโรคทางพันธุกรรม พร้อมท้ัง ยกตัวอยา่ งโรคทางพันธุกรรม ประโยชน์ของความรู้
เร่ืองโรคทาง พันธุกรรมโดยรู้ว่าก่อนแต่งงานควรปรึกษาแพทย์ เพื่อตรวจและวินิจฉัยภาวะเสี่ยงของลูกท่ีอาจ
เกิดโรคทางพันธุกรรม การใช้ประโยชน์จากส่ิงมีชีวิตดัดแปร พันธุกรรม และผลกระทบที่อาจมีต่อมนุษย์
และส่ิงแวดล้อม ประโยชน์และผลกระทบของส่ิงมีชีวิต ดัดแปรพันธุกรรมท่ีอาจมีต่อมนุษย์และส่ิงแวดล้อม
โดยการเผยแพร่ความรู้ท่ีได้จากการโต้แย้งทาง วิทยาศาสตร์ซึ่งมีข้อมูลสนับสนุน เปรียบเทียบความ
หลากหลายทางชีวภาพ ในระดับชนิดส่ิงมีชีวิตในระบบนิเวศต่าง ๆ ความสาคัญของความหลากหลายทาง
ชีวภาพท่ีมีต่อการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ และต่อมนุษย์ ความสาคัญ ของความหลากหลายทางชีวภาพ
โดยมีส่วนร่วม ในการดูแลรักษาความหลากหลายทางชีวภาพ ระบุสมบัติทางกายภาพและการใช้ประโยชน์
วัสดุประเภทพอลเิ มอร์เซรามิกส์และวัสดผุ สม โดยใช้หลกั ฐานเชิงประจักษ์และสารสนเทศ การใชว้ สั ดปุ ระเภท
พอลิเมอร์เซรามิกส์และวัสดุผสม โดยเสนอ แนะแนวทางการใช้วัสดุอย่างประหยดั และคุ้มค่า การเกดิ ปฏกิ ิรยิ า
เคมีรวมถึงการจัด เรียงตัวใหม่ของอะตอมเมื่อเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยใช้แบบจาลองและสมการข้อความ
กฎทรงมวล โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ปฏิกิริยาดูดความร้อน และปฏิกิริยา คายความร้อน จากการ
เปลี่ยนแปลงพลังงาน ความร้อนของปฏิกิริยา ปฏิกิริยาการเกิดสนิมของเหล็ก ปฏิกิริยา ของกรดกับโลหะ
ปฏกิ ริ ิยาของกรดกับเบส และ ปฏกิ ิริยาของเบสกับโลหะ โดยใช้หลักฐานเชิง ประจกั ษ์และอธิบายปฏิกิริยาการ
เผาไหม้ การเกิดฝนกรด การสังเคราะห์ด้วยแสง โดยใช้ สารสนเทศรวมท้ังเขียนสมการข้อความแสดง
ประโยชน์และโทษของปฏิกิริยาเคมี ที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม และยกตัวอย่าง วิธีการป้องกัน
และแก้ปัญหาที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมี ท่ีพบในชีวิตประจาวัน ออกแบบวิธีแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน โดยใช้
ความรู้เก่ยี วกบั ปฏิกริ ยิ าเคมี โดยบูรณาการวทิ ยาศาสตรค์ ณติ ศาสตร์ เทคโนโลยแี ละวิศวกรรมศาสตร์
โดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นขอ้ มูล
และการอภิปราย เพื่อใหเ้ กิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถสื่อสารสิ่งทเี่ รียนรู้ มีความสามารถในการ
ตดั สนิ ใจเห็นคุณค่าการนาความรไู้ ปใช้ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และค่านยิ ม
ทเี่ หมาะสม
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดนาวง
71
รหัสตัวช้ีวัด
ว 1.1 ม.3/1-6
ว 1.3 ม.3/1-11
ว 2.1 ม.3/1-8
รวมทั้งหมด 25 ตัวชี้วดั
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั นาวง
72
คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ (พื้นฐำน)
รหสั วิชำ ว 23102 วทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี 6 กลมุ่ สำระกำรเรยี นรวู้ ิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ช้นั มัธยมศกึ ษำปีที่ 3 เวลำ 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต ภำคเรยี นท่ี 2
วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ กระแสไฟฟ้า และความต้านทาน และคานวณ
ปริมาณท่ีเกี่ยวข้องโดยใช้สมการ V = IR จากหลักฐานเชิงประจักษ์ เขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่าง
กระแสไฟฟา้ และความตา่ งศกั ยไ์ ฟฟ้า ใชโ้ วลต์มิเตอร์แอมมิเตอร์ในการวัดปริมาณทาง ไฟฟ้า วเิ คราะห์ความ
ต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า ในวงจรไฟฟ้าเม่ือต่อตัวต้านทานหลายตัว แบบอนุกรมและแบบขนานจาก
หลักฐาน เชิงประจักษ์ เขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้าแสดงการต่อตัวต้านทาน แบบอนุกรมและขนาน บรรยาย
การทางานของชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ อย่างง่ายในวงจร เขียนแผนภาพและต่อชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ อย่าง
งา่ ยในวงจรไฟฟ้า คานวณพลังงานไฟฟ้าโดยใช้สมการ W = Pt รวมท้ังคานวณคา่ ไฟฟ้าของเครื่องใช้ ไฟฟ้าใน
บ้าน การเลือกใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า โดยนาเสนอวิธีการใช้เคร่ืองใช้ไฟฟ้า อย่างประหยัดและปลอดภัย
สรา้ งแบบจาลองท่ีอธบิ ายการเกิดคล่ืน และบรรยายส่วนประกอบของคล่ืน คล่นื แมเ่ หล็กไฟฟ้าและสเปกตรัม
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ประโยชน์และอันตรายจาก คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าโดยนาเสนอการใช้ ประโยชน์ในด้าน
ต่าง ๆ และอันตรายจาก คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในชีวิตประจาวัน ออกแบบการทดลองและดาเนินการทดลอง
ด้วยวธิ ีท่ีเหมาะสมในการอธิบาย กฎการสะท้อนของแสง เขยี นแผนภาพการเคลื่อนที่ของแสง แสดง การเกิด
ภาพจากกระจกเงา อธบิ ายการหกั เหของแสงเมื่อผ่านตัวกลาง โปรง่ ใสที่แตกต่างกัน และอธบิ ายการกระจาย
แสงของแสงขาวเม่ือผ่านปริซมึ จากหลกั ฐาน เชิงประจักษ์ เขียนแผนภาพการเคล่ือนที่ของแสง แสดงการเกิด
ภาพจากเลนส์บาง ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวกับแสง และการ ทางานของทัศนอุปกรณ์ เขียนแผนภาพการ
เคล่ือนท่ีของแสง แสดงการ เกิดภาพของทัศนอุปกรณ์และเลนสต์ า ผลของความสว่างที่มีต่อดวงตา วัดความ
สว่างของแสงโดยใช้อุปกรณ์วัด ความสว่างของแสง ความสว่าง ของแสงท่ีมีต่อดวงตา โดยวิเคราะห์
สถานการณ์ ปัญหาและเสนอแนะการจัดความสว่าง ให้เหมาะสมในการทากิจกรรมต่าง ๆ การโคจรของดาว
เคราะห์รอบ ดวงอาทติ ย์ด้วยแรงโน้มถ่วงจากสมการ F = (Gm1 m2 )/r2 สร้างแบบจาลองท่ีอธิบายการเกิด
ฤดูและ การเคล่ือนที่ปรากฏของดวงอาทิตย์ สร้างแบบจาลองที่อธิบายการเกิดข้างข้ึน ข้างแรม การ
เปลี่ยนแปลงเวลาการข้ึนและตก ของดวงจันทร์และการเกิดน้าขึ้นน้าลง ประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ
และยกตวั อยา่ งความกา้ วหน้าของโครงการ สารวจอวกาศ
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้น
ข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถส่ือสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถ
ในการตัดสินใจเห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม
และค่านิยมที่เหมาะสม
รหัสตัวช้ีวดั
ว 2.3 ม.3/1-21
ว 3.1 ม.3/1 -4
รวมท้ังหมด 25 ตัวชี้วัด
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนวัดนาวง
73
คำอธิบำยรำยวิชำ (พื้นฐำน)
รหสั วชิ ำ ว 31101 วทิ ยำศำสตร์ชวี ภำพ กลุ่มสำระกำรเรียนรูว้ ิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชนั้ มธั ยมศกึ ษำปที ่ี 4 เวลำ 40 ชว่ั โมง 1.0 หน่วยกิต ภำคเรียนที่ 1
ศึกษา สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างและสมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์ การควบคุมดุลยภาพของน้า
และสารในเลือด ดุลยภาพของกรด-เบสของเลือด ดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย ภาวะภูมิคุ้มกัน
บกพร่อง สารควบคมุ การเจริญเติบโตของพืชท่ีมนุษยส์ ังเคราะห์ข้ึน การตอบสนองของพชื ต่อสิ่งเร้าในรปู แบบ
ต่าง ๆ ความสัมพันธ์ระหว่างยีน การสังเคราะห์ โปรตีน และลักษณะทางพันธุกรรม หลักการถ่ายทอด
ลักษณะด้วยยนี การเปล่ียนแปลงลาดับนิวคลีโอไทด์ในดเี อน็ เอ เปรยี บเทียบการลาเลียงสารผา่ นเย่อื หมุ้ เซลล์
แบบตา่ ง ๆ ยกตัวอย่างความสมั พันธ์ของสภาพทางภมู ิศาสตร์ การเปลีย่ นแปลงขององค์ประกอบทางกายภาพ
ทางชีวภาพ โรคหรืออาการที่เกิดจากความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน การใช้ประโยชน์จากสารต่าง ๆ ที่พืช
บางชนิดสร้างขึ้น การนามิวเทชันไปใช้ประโยชน์ ความหลากหลายของส่ิงมีชีวิต อภิปรายสาเหตุการ
เปล่ียนแปลงแทนท่ขี องระบบนิเวศ ผลกระทบที่มีตอ่ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม เขยี นแผนผงั เกี่ยวกับ
การตอบสนองของร่างกาย ผลของเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ ทดสอบ บอกชนิดของสารอาหารที่พืชสังเคราะห์
ออกแบบการทดลอง และทดลองปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพชื
รหัสตวั ชว้ี ดั
ว 1.1 ม.4-6/1, ม.4-6/2, ม.4-6/3, ม.4-6/4
ว 1.2 ม.4-6/1, ม.4-6/2, ม.4-6/3, ม.4-6/4, ม.4-6/5, ม.4-6/6, ม.4-6/7, ม.4-6/8,
ม.4-6/9, ม.4-6/10, ม.4-6/11, ม.4-6/12
ว 1.3 ม.4-6/1, ม.4-6/2, ม.4-6/3, ม.4-6/4,ม.4-6/5, ม.4-6/6
รวมทั้งหมด 22 ตวั ชว้ี ัด
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนวดั นาวง
74
คำอธิบำยรำยวชิ ำ (พ้ืนฐำน)
รหสั วิชำ ว 32101 วทิ ยำศำสตร์กำยภำพ 1 กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี
ชน้ั มัธยมศกึ ษำปีที่ 5 เวลำ 40 ชว่ั โมง 1.0 หน่วยกิต ภำคเรยี นท่ี 1
ศกึ ษา ระบุ จานวนโปรตอน นวิ ตรอน อิเล็กตรอน และไอออน สารเป็นธาตุหรือสารประกอบ อยูใ่ น
รูปอะตอม โมเลกุล หรือไอออน หมู่และคาบของธาตุ พันธะโคเวเลนต์เป็นพันธะเดี่ยว พันธะคู่ หรือพันธะ
สาม จานวนคู่อิเล็กตรอน ระหว่างอะตอมคู่ร่วมพันธะ สภาพข้ัวของสารท่ีโมเลกุลประกอบด้วย 2 อะตอม
สารที่เกิดพันธะไฮโดรเจน สารเกิดการละลายแบบแตกตัวหรือไม่แตกตวั สารละลายที่ไดเ้ ปน็ สารละลายอิเล็ก
โทรไลต์ หรือนอนอิเล็กโทรไลต์ สารประกอบอนินทรีย์ประเภทไฮโดรคาร์บอนอ่ิมตัวหรือไม่อ่ิมตัว สมบัติ
ความเปน็ กรด-เบส สตู รเคมีของสารตั้งต้นผลติ ภัณฑ์ การไอโซโทป แปลความหมายของสัญลักษณ์ในสมการ
เคมี เขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ สูตรเคมีของไอออนและสารประกอบไอออนิก เปรียบเทียบความ
เหมือนและความแตกต่างของแบบจาลองอะตอมของโบร์กับแบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก สมบัตกิ ารนา
ไฟฟ้า การให้และรับอิเล็กตรอนระหว่างธาตุในกลุ่มโลหะกับอโลหะ สืบค้นข้อมูลสมบัติทางกายภาพระหว่าง
พอลิเมอร์และมอนอเมอร์ นาเสนอตัวอย่างประโยชน์การป้องกันอันตรายของสารกัมมันตรังสี ประโยชน์
และ อันตรายที่เกิดจากธาตุเรพรีเซนเททีฟและธาตุแทรนซิชัน นาเสนอผลกระทบของการใช้ผลิตภัณฑ์
พอลิเมอร์ท่ีมีต่อส่ิงมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างจุดเดือดของสารโคเวเลนต์กับแรง
ดึงดูดระหวา่ งโมเลกุล สมบตั ิการละลายในตัวทาละลายชนดิ ตา่ ง ๆ ความหมายของปฏิกริ ิยารีดอกซ์ สมบัตขิ อง
สารกมั มนั ตรงั สี คานวณครึ่งชีวติ และปรมิ าณของสารกมั มนั ตรงั สี ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
เคมีทใ่ี ช้ประโยชน์ในชีวิต วิเคราะห์ความสัมพันธร์ ะหว่างโครงสร้างกบั สมบัติเทอร์มอพลาสติกและเทอร์มอเซต
ของพอลิเมอร์ การนาพอลิเมอร์ไปใช้ประโยชน์ ทดลองและอธิบายผลของความเข้มข้น พ้ืนท่ีผิว อุณหภูมิ
และตัวเรง่ ปฏกิ ริ ยิ า ที่มีผลตอ่ อตั ราการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี
รหสั ตัวช้วี ดั
ว. 2.1 ม.5/1, ม.5/2, ม.5/3, ม.5/4, ม.5/5, ม.5/6, ม.5/7, ม.5/8, ม.5/9, ม.5/10,
ม.5/11, ม.5/12, ม.5/13, ม.5/14, ม.5/15, ม.5/16, ม.5/17, ม.5/18, ม.5/19, ม.5/20, ม.5/21, ม.5/22,
ม.5/23, ม.5/24, ม.5/25
รวมทงั้ หมด 25 ตวั ชว้ี ัด
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั นาวง
75
คำอธิบำยรำยวชิ ำ (พื้นฐำน)
รหสั วิชำ ว 32102 วิทยำศำสตรก์ ำยภำพ 2 กลุ่มสำระกำรเรยี นรูว้ ิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี
ชนั้ มธั ยมศกึ ษำปที ี่ 5 เวลำ 40 ชัว่ โมง 1.0 หนว่ ยกิต ภำคเรยี นท่ี 2
ศึกษา วิเคราะห์ แปลความหมายข้อมูลความเร็วกับเวลาของการเคล่ือนท่ีของวัตถุ สังเกต อธิบาย
ความเรง่ ของวัตถุการหาแรงลัพธ์ที่เกิดจากแรงหลายแรงที่อยู่ในระนาบเดียวกันที่กระทาต่อวัตถุ แรงกิริยา
แรงปฏิกิริยา ผลของความเร่งที่มีต่อการเคลื่อนท่ีแบบต่างๆของวัตถุ การเกิดสนามแม่เหล็ก แรงแม่เหล็ก
ท่ี กระทาต่ออนุภาคท่ีมีประจุไฟฟ้าท่ีเคล่ือนที่ในสนามแม่เหล็ก แรงแม่เหล็กท่ีกระทาต่อลวดตัวนาท่ีมี
กระแสไฟฟ้าผ่านในสนามแม่เหล็ก หลกั การทางานของมอเตอร์ การเกิดอีเอ็มเอฟ ยกตัวอย่างการนาความรู้
ไปใช้ประโยชน์ การสะท้อน การหักเห การเล้ียวเบน การรวมคล่ืนความถ่ีธรรมชาติ การรวมคล่ืนของคลื่น
เสียง การสั่นพ้อง ผลท่ีเกิดข้ึนจากการสั่นพ้อง การเกิดเสียงสะท้อนกลับ บีต ดอปเพลอร์ การมองเห็น
สีของวัตถุ ความผิดปกติในการมองเห็นสี การทางานของแผ่นกรองแสงสี การผสมแสงสี การผสมสารสี
การนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างความเร่งของวัตถุกับแรงลัพธ์ที่กระทา
ตอ่ วัตถุและมวลของวัตถุ สืบค้นข้อมูลและอธิบายแรงโน้มถว่ งที่เกี่ยวกับการเคล่อื นท่ีของวัตถุต่าง ๆ รอบโลก
แรงเข้มและแรงอ่อน พลังงานนิวเคลียร์ฟิชชัน ฟิวชัน การเปล่ียนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มเสียงกับระดับเสียง ผลของความถ่ีกับระดับเสียงที่มีต่อการได้ยินเสียง
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ส่วนประกอบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า หลักการทางานของอุปกรณ์บางชนิดท่ีอาศัยคล่ืน
แม่เหล็กไฟฟ้า การส่อื สาร โดยอาศัยคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้าในการส่งผ่านสารสนเทศ เปรียบเทียบการส่ือสารด้วย
สัญญาณแอนะล็อกกับสัญญาณดิจิทัล รวมทั้งสืบค้นและอภิปรายเก่ียวกับเทคโนโลยีที่นามาแก้ปัญหา
หรือตอบสนองความต้องการทางดา้ นพลังงาน
รหสั ตวั ชว้ี ดั
ว. 2.2 ม.5/1 , ม.5/2 , ม.5/3 , ม.5/4 , ม.5/5 , ม.5/6, ม.5/7 , ม.5/8 , ม.5/9 , ม.5/10
ว. 2.3 ม.5/1 , ม.5/2 , ม.5/3 , ม.5/4 , ม.5/5 , ม.5/6, ม.5/7 , ม.5/8 , ม.5/9 , ม.5/10,
ม.5/11 , ม.5/12
รวมทั้งหมด 22 ตัวช้วี ัด
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนวัดนาวง
76
คำอธิบำยรำยวิชำ (พืน้ ฐำน)
รหสั วิชำ ว 21103 กำรออกแบบเทคโนโลยี 1 กลมุ่ สำระกำรเรยี นรวู้ ิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี
ชน้ั มธั ยมศกึ ษำปที ่ี 1 เวลำ 20 ชัว่ โมง 0.5 หนว่ ยกติ ภำคเรยี นที่ 1
ศึกษาอธิบายความหมายของเทคโนโลยี วิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยท่ีส่งผลต่อการเปล่ียนแปลง
ของเทคโนโลยีการทางานของระบบทางเทคโนโลยี ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ และทรัพยากร โดยวิเคราะห์
เปรียบเทียบและเลือกข้อมูลท่ีจาเป็นเพ่ือออกแบบวิธีการแก้ปัญหาในชีวิตประจาวันในด้านการเกษตร
และอาหาร และสร้างชิ้นงานหรือพัฒนาวิธีการโดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมทั้งเลือกใช้วัสดุ
อุปกรณ์ เครอ่ื งมอื ในการแกป้ ัญหาได้อย่างถูกตอ้ ง เหมาะสม และปลอดภัย
รหัสตัวชี้วดั
ว. 4.1 ม.1-1/1, ม.1-1/2, ม.1-1/3, ม.1-1/4, ม.1-1/5
รวมทัง้ หมด 5 ตวั ชีว้ ดั
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนวัดนาวง
77
คำอธบิ ำยรำยวิชำ (พืน้ ฐำน)
รหัสวชิ ำ ว 21104 วทิ ยำกำรคำนวณ 1 กลุ่มสำระกำรเรียนร้วู ิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี
ชน้ั มธั ยมศกึ ษำปที ี่ 1 เวลำ 20 ชัว่ โมง 0.5 หน่วยกติ ภำคเรยี นที่ 2
ศึกษาแนวคดิ เชิงนามธรรม การคดั เลอื กคณุ ลักษณะที่จาเป็นตอ่ การแก้ปญั หา ขั้นตอนการแกป้ ัญหา
การเขียนรหัสลาลองและผงั งาน การเขยี นออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างงา่ ยที่มีการใช้งานตวั แปร เงื่อนไข
และการวนซ้าเพ่ือแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์ การรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ การประมวลผล
ข้อมูล การสร้างทางเลือกและประเมินผลเพ่ือตัดสินใจ ซอฟต์แวร์และบริการบนอินเทอร์เน็ตท่ีใช้ในการ
จัดการขอ้ มูล แนวทางการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศให้ปลอดภัย การจัดการอัตลักษณ์ การพิจารณาความ
เหมาะสมของเนือ้ หา ขอ้ ตกลงและข้อกาหนดการใชส้ ่อื และแหล่งข้อมลู
นาแนวคิดเชิงนามธรรมและข้ันตอนการแก้ปัญหาไปประยุกต์ใช้ในการเขียนโปรแกรม หรือการ
แก้ปัญหาในชีวิตจริง รวบรวมข้อมูลและสร้างทางเลือกในการตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ และตระหนัก
ถึงการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้ และไม่สร้างความเสียหาย
ใหแ้ ก่ผู้อื่น
รหสั ตวั ช้ีวดั
ว. 4.2 ม.1-1/1, ม.1-1/2, ม.1-1/3, ม.1-1/4
รวมทั้งหมด 4 ตัวชว้ี ดั
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนวัดนาวง
78
คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ (พื้นฐำน)
รหัสวิชำ ว 22103 กำรออกแบบเทคโนโลยี 2 กล่มุ สำระกำรเรยี นรู้วิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชนั้ มัธยมศกึ ษำปีท่ี 2 เวลำ 20 ชว่ั โมง 0.5 หนว่ ยกติ ภำคเรียนที่ 1
ศกึ ษาสาเหตหุ รือปัจจัยท่ีทาให้เกิดการเปลีย่ นแปลงเทคโนโลยี ตลอดจนคาดการณ์แนวโนม้ เทคโนโลยี
ในอนาคต เลือกใช้เทคโนโลยีโดยคานงึ ถงึ ผลกระทบท่เี กิดขึ้นตอ่ ชีวิต สังคม และสง่ิ แวดลอ้ ม ประยกุ ต์ใช้ความรู้
ทักษะ และทรัพยากร โดยวิเคราะห์ เปรียบเทียบและเลือกข้อมูลท่ีจาเป็นเพื่อออกแบบวิธีการแก้ปัญหา
ในชุมชนหรือท้องถ่ินในด้านพลังงาน ส่ิงแวดล้อม การเกษตรและอาหาร และสร้างช้ินงานหรือพัฒนาวิธีการ
โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมท้ังเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือในการแก้ปัญหาได้อย่าง
ถกู ตอ้ งเหมาะสม และปลอดภัย
รหัสตวั ช้ีวัด
ว. 4.1 ม.2-1/1, ม.2-1/2, ม.2-1/3, ม.2-1/4, ม.2-1/5
รวมทงั้ หมด 5 ตวั ช้วี ดั
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนวดั นาวง
79
คำอธิบำยรำยวชิ ำ (พนื้ ฐำน)
รหสั วิชำ ว 22104 วทิ ยำกำรคำนวณ 2 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชน้ั มธั ยมศึกษำปีท่ี 2 เวลำ 20 ชว่ั โมง 0.5 หนว่ ยกติ ภำคเรยี นที่ 2
ศึกษาแนวคิดเชิงคานวณ การแก้ปัญหาโดยใช้แนวคิดเชิงคานวณ การเขียนโปรแกรมที่มีการใช้
ตรรกะและฟังก์ชัน องค์ประกอบและหลักการทางานของระบบคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสื่อสาร แนวทางการ
ปฏิบัติเมื่อพบเนื้อหาที่ไม่เหมาะสม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ วิธีการสร้าง
และกาหนดสิทธิความเป็นเจา้ ของผลงาน
น า แ น ว คิ ด เชิ ง ค า น ว ณ ไป ป ร ะ ยุ ก ต์ ใช้ ใน ก า ร เขี ย น โป ร แ ก ร ม ห รื อ ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า ใน ชี วิ ต จ ริ ง
สรา้ งและกาหนดสิทธ์กิ ารใช้ข้อมลู ตระหนกั ถึงผลกระทบในการเผยแพรข่ ้อมูล
รหัสตวั ชี้วัด
ว. 4.1 ม.2-1/1, ม.2-1/2, ม.2-1/3, ม.2-1/4
รวมท้ังหมด 4 ตวั ชี้วัด
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนวัดนาวง
80
คำอธิบำยรำยวิชำ (พ้นื ฐำน)
รหสั วิชำ ว 23103 กำรออกแบบเทคโนโลยี 3 กลุ่มสำระกำรเรยี นรูว้ ิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชนั้ มธั ยมศึกษำปีท่ี 3 เวลำ 20 ชั่วโมง 0.5 หน่วยกิต ภำคเรียนท่ี 1
ศึกษาวิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่ทาให้เกิดการเปล่ียนแปลงเทคโนโลยี และความสัมพันธ์ของ
เทคโนโลยกี ับศาสตรอ์ ่ืน ประยกุ ต์ใชค้ วามรู้ ทกั ษะ และทรัพยากร โดยวิเคราะห์สถานการณเ์ พ่ือสรุปกรอบของ
ปัญหา เปรียบเทียบและเลือกข้อมูลท่ีจาเป็นโดยคานึงถึงสภาพทรัพย์สินทางปัญญา เพ่ือออกแบบวิธีการ
แก้ปัญหาในงานอาชีพ ด้านเกษตรกร อาหาร พลังงานและขนส่ง โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
รวมทั้งเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ กลไกล ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในการแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสม และปลอดภัย
รหสั ตัวช้ีวัด
ว. 4.1 ม.3-1/1, ม.3-1/2, ม.3-1/3, ม.3-1/4, ม.3-1/5
รวมทงั้ หมด 5 ตัวชี้วัด
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวดั นาวง
81
คำอธิบำยรำยวิชำ (พ้ืนฐำน)
รหสั วิชำ ว 23104 วิทยำกำรคำนวณ 3 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชนั้ มธั ยมศึกษำปที ่ี 3 เวลำ 20 ช่วั โมง 0.5 หน่วยกติ ภำคเรียนที่ 2
ศกึ ษาขัน้ ตอนการพัฒนาแอปพลเิ คชัน Internet of Things (IoT) การเขยี นโปรแกรมเพ่ือพฒั นา
แอปพลเิ คชนั ข้อมลู ปฐมภมู ิและทตุ ิยภูมิการประมวลผลขอ้ มูลการสรา้ งทางเลือกและประเมินผล
ซอฟต์แวร์หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตที่ใช้ในการจัดการข้อมูลเมินการความน่าเชื่อถือของข้อมูลการ
ประการสืบค้นหาแหล่งต้นตอของข้อมูล เหตุผลวิวัติผลกระทบจากข่าวสารท่ีผิดพลาด การรู้เท่าทันส่ือท่ี
กฎหมาย เกย่ี วกับคอมพิวเตอร์ การใชล้ ขิ สทิ ธิข์ อง ผู้อื่นโดยชอบธรรม
รวบรวมข้อมลู ปฐมภูมหิ รือทุตยิ ภมู ปิ ระมวลผล สร้างทางเลอื กและเสนอการตดั สินใจได้อย่างมี
ประสิทธิภาพออกแบบและเขียนโปรแกรมเพื่อพัฒนาแอปพลิเคชันท่ีมีการบูรณาการกับวิชาอื่น อย่าง
สรา้ งสรรคใ์ ชง้ านเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรเู้ ทา่ ทันและมีความรบั ผิดชอบต่อสังคม
ตัวช้วี ัด
ว. 4.2 ม.3-1/1, ม.3-1/2, ม.3-1/3, ม.3-1/4
รวมทง้ั หมด 4 ตัวชว้ี ัด
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนวดั นาวง
82
คำอธิบำยรำยวิชำ (พนื้ ฐำน)
รหสั วิชำ ว 31102 กำรออกแบบเทคโนโลยี 1 กลุม่ สำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ช้ันมัธยมศกึ ษำปที ี่ 4 เวลำ 40 ชัว่ โมง 1.0 หน่วยกิต ภำคเรียนท่ี 1
ศึกษา วิเคราะห์แนวคิดหลักของเทคโนโลยี การเปล่ียนแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยีท่ีเกิดข้ึน
และความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น ออกแบบ สร้าง หรือพัฒนาผลงานสาหรับแก้ปัญหาที่คานึงถึง
ผลกระทบต่อสงั คมในประเด็นท่เี กี่ยวขอ้ งกับสุขภาพและการบรกิ าร โดยใช้กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม
ซง่ึ ใช้ความรู้ ทักษะ และเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมอื กลไก ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อแก้ปัญหาได้อย่าง
ถูกตอ้ ง เหมาะสม ปลอดภัย คานึงถึงทรัพยส์ ินทางปัญญา มีการใชซ้ อฟต์แวร์ช่วยในการออกแบบและนาเสนอ
ผลงาน
รหสั ตวั ช้ีวดั
ว. 4.1 ม.4-6/1, ม.4-6/2, ม.4-6/3, ม.4-6/4, ม.4-6/5
รวมทงั้ หมด 5 ตัวชี้วดั
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นวดั นาวง
83
คำอธิบำยรำยวชิ ำ (พ้ืนฐำน)
รหสั วิชำ ว 31103 วทิ ยำกำรคำนวณ 1 กลุ่มสำระกำรเรยี นรูว้ ิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี
ชั้นมธั ยมศึกษำปีท่ี 4 เวลำ 40 ชัว่ โมง 1.0 หน่วยกติ ภำคเรียนท่ี 2
ศึกษาหลักการของแนวคิดเชิงคานวณ การแยกสวนประกอบและการยอยปญหา การหารูปแบบ
การคิดเชิงนามธรรม ตัวอยางและประโยชนของแนวคิดเชงิ คานวณเพ่ือแกปญหาในชวี ติ ประจาวัน ประยกุ ตใช
แนวคิดเชิงคานวณในการออกแบบขั้นตอนวิธีสาหรับแกปญหา การแกปญหาดวยคอมพิวเตอร การระบุขอมูล
เขา ขอมูลออก และเงื่อนไขของปญหา การออกแบบขั้นตอนวิธี การทาซ้า การจัดเรียงและคนหาขอมูล
ตัวอยางการออกแบบ ขั้นตอนวิธีเพ่ือแกปญหาดวยคอมพิวเตอร การศึกษาตัวอยางโครงงานทางเทคโนโลยี
สารสนเทศ การกาหนดปญหา ศึกษาวางแผน ดาเนินงาน สรุปผล และเผยแพร ในการพัฒนาโครงงาน
ที่มีการบูรณาการรวมกับวชิ าอืน่ และเชอ่ื มโยงกับชีวิตจริง
รหสั ตวั ช้ีวัด
ว. 4.2 ม.4-6/1
รวมท้ังหมด 1 ตัวชว้ี ดั
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดนาวง
84
คำอธิบำยรำยวิชำ (พ้ืนฐำน)
รหสั วชิ ำ ว 32103 กำรออกแบบเทคโนโลยี 2 กลุ่มสำระกำรเรยี นรวู้ ิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ช้ันมธั ยมศึกษำปที ่ี 5 เวลำ 20 ชั่วโมง 0.5 หนว่ ยกิต ภำคเรียนที่ 1
ศึกษาแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพ่ือการดารงชีวิตในสังคมที่มีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว
ประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะจากศาสตร์ต่าง ๆ รวมทั้งทรัพยากรในการทาโครงงานเพื่อแก้ปัญหา
หรือพฒั นางาน เลือกใชเ้ ทคโนโลยอี ย่างเหมาะสม โดยคานึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม
รหสั ตัวช้ีวดั
ว. 4.1 ม.5/1
รวมทั้งหมด 1 ตวั ช้ีวัด
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนวดั นาวง
85
คำอธบิ ำยรำยวิชำ (พน้ื ฐำน)
รหัสวิชำ ว 32104 วิทยำกำรคำนวณ 2 กลุ่มสำระกำรเรียนรวู้ ิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ช้ันมัธยมศกึ ษำปที ่ี 5 เวลำ 20 ชว่ั โมง 0.5 หนว่ ยกติ ภำคเรยี นท่ี 2
ศึกษา รวบรวม วิเคราะห์ และใช้ความรู้ของข้อมูล ในด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ ส่ือดิจิทัล
เทคโนโลยี สารสนเทศในการแก้ปัญหาหรือเพิ่มมูลค่าให้กับบริการหรือผลิตภัณฑ์ท่ีใช้ในชีวิตจริง
อย่างสรา้ งสรรค์
รหสั ตัวช้ีวัด
ว. 4.2 ม.5/1
รวมท้ังหมด 1 ตัวชีว้ ัด
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดนาวง
86
คำอธิบำยรำยวิชำ (พืน้ ฐำน)
รหัสวิชำ ว 33102 วทิ ยำกำรคำนวณ 3 กลุ่มสำระกำรเรียนร้วู ิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี
ช้นั มัธยมศกึ ษำปที ่ี 6 เวลำ 20 ชั่วโมง 0.5 หน่วยกิต ภำคเรียนท่ี 2
ศึกษาการใช้เทคโนโลยีในการเสนอและแบ่งปันข้อมูลอย่างปลอดภัยและมีจริยธรรมการสร้างชิ้นงาน
และ เผยแพร่ผ่านสื่อต่างๆที่ค นึงถึงจริยธรรมาลิขสิทธิ์ทรัพย์สินทางปัญญาและกฎหมาย หลักการของ
ปัญญ าประดิษฐ์และเทคโนโลยีในอนาคต กรณี ศึกษาเกี่ยวกับนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีที่เกี่ยว
ข้องชีวิตประจาวัน อาชีพท่ีเก่ียวข้องกับงานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ตัวอย่างผลกระทบของเทคโนโลยี
สารสนเทศ
รหสั ตัวชี้วดั
ว. 4.2 เทคโนโลยี วิทยาการคานวณ
ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในการ เสนอและแบ่งปนั ข้อมูลอยา่ งปลอดภัย มจี รยิ ธรรม และวเิ คราะห์
การเปล่ียนแปลงเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีมีผลต่อการดเนนิ ชีวติ า อาชพี สังคม และวฒั นธรรม
รวมทั้งหมด 1 ตัวชีว้ ดั
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนวดั นาวง
87
คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ (พืน้ ฐำน)
รหสั วิชำ ส 11101 สังคมศึกษำฯ 1 กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้สังคมศกึ ษำ ศำสนำและวฒั นธรรม
ชนั้ ประถมศึกษำปที ่ี 1 เวลำ 80 ช่ัวโมง
ศึกษา วิเคราะห์ พุทธประวัติ หรือประวัติของศาสดาท่ีตนนับถือ แบบอย่างการดาเนินชีวิต
และข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก/เรื่องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่างตามท่ีกาหนด ความหมาย ความสาคัญ
และเคารพพระรัตนตรัย ปฏิบัติตามหลักธรรม โอวาท 3 ในพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ สวดมนต์
แผ่เมตตา มีสติ บาเพ็ญประโยชน์ต่อวัด แสดงตนเป็นพุทธมามกะหรือศาสนิกชนของศาสนาท่ีตนนับถือ
ปฏิบัติในศาสนพิธี พิธีกรรมและวันสาคัญทางศาสนาตามท่ีกาหนดได้ถูกต้อง ประโยชน์และปฏิบัติตนเป็น
สมาชกิ ท่ดี ีของครอบครัวและโรงเรยี น
ศึกษา วิเคราะห์ ความสามารถและความดีและผลจากการกระทาของตนเอง ผู้อื่น โครงสร้าง
บทบาท หน้าที่ของสมาชิกในครอบครัว โรงเรียน บทบาท สิทธิ หน้าที่ของตนเองในครอบครัวและโรงเรียน
มสี ว่ นร่วมในการตดั สนิ ใจ และทากิจกรรมในครอบครวั และโรงเรยี นตามกระบวนการประชาธิปไตย สินค้าและ
บริการท่ีใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน การใช้จ่ายเงินในชีวิตประจาวันไม่เกินตัวและประโยชน์ของการออม
การใช้ทรัพยากรในชีวิตประจาวันอย่างประหยัด ความจาเป็นของการทางานท่ีสุจริต แยกแยะสิ่งต่าง ๆ
รอบตัวที่เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ และท่ีมนุษย์สร้างข้ึน ความสัมพันธ์ของตาแหน่ง ระยะ ทิศของส่ิงต่าง ๆ
รอบตัว ทิศหลัก ใช้แผนผังง่าย ๆ ในการแสดงตาแหน่งของสิ่งต่างๆ ในห้องเรียน การเปลี่ยนแปลงของ
อากาศในรอบวัน ส่ิงต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นตามธรรมชาติที่ส่งผลต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์ การเปลี่ยนแปลงของ
สภาพแวดลอ้ มทอี่ ยู่รอบตัว การจดั ระเบียบสิ่งแวดลอ้ มท่ีบา้ นและชน้ั เรียน
โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการทางสังคม
กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนาไปปฏิบัติในการดาเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม
มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มีความ
รบั ผดิ ชอบ รกั ความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ สามารถดาเนนิ ชวี ติ อย่างสนั ตสิ ุขในสงั คมไทยและสงั คมโลก
รหสั ตัวชี้วดั
ส 1.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4
ส 1.2 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3
ส 2.1 ป.1/1, ป.1/2
ส 2.2 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3
ส 3.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3
ส 3.2 ป.1/1
ส 5.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4
ส 5.2 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3
รวมทั้งหมด 24 ตัวช้ีวัด
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวดั นาวง
88
คำอธิบำยรำยวชิ ำ (พนื้ ฐำน)
รหัสวิชำ ส 12101 สังคมศึกษำฯ 2 กลุ่มสำระกำรเรยี นร้สู ังคมศกึ ษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษำปีท่ี 2 เวลำ 80 ชว่ั โมง
ศึกษาวเิ คราะห์พทุ ธประวัติ พุทธสาวก ชาดกและศาสนิกชนตัวอยา่ ง หลักธรรมของศาสนา การทา
ความดี พื้นฐานสมาธิ การฝึกสมาธิเบ้ืองต้น ศาสดา และคัมภีร์ของศาสนาต่าง ๆ การฝึกมารยาทชาวพุทธ
กิจกรรม และพิธีกรรม วันสาคัญของพุทธศาสนา การปฏิบัติตามข้อตกลง กติกา กฎระเบียบ หน้าที่ใน
ชีวติ ประจาวัน การแสดงความเคารพกิริยามารยาทไทย ความแตกต่างของคนในสงั คม สิทธิและเสรภี าพของ
ตนเองและผู้อ่ืน ความสัมพันธ์ของตนเองและสมาชิกในครอบครัว บทบาท อานาจในการตัดสินใจใน
โรงเรยี น และชุมชนทรัพยากรที่นาผลิตสินค้าและบริการในชีวิตประจาวัน การประกอบอาชีพของครอบครัว
การทาบัญชี รับ – จ่าย การออม ความสาคัญของสินค้าและบริการ บทบาทผู้ซอ้ื และผู้บริโภค ความสาคัญ
คุณ ค่าธรรมชาติกับสิ่งแวดล้อม ความหมายประเภทของทรัพยากร ความสัมพันธ์ของฤดูกาล
การเปล่ียนแปลงการดาเนินชวี ิตและสง่ิ แวดล้อม
โดยใช้กระบวนการทางสังคมศาสตร์ การฝึกด้านทักษะกระบวนการคิด การสืบค้น การอภิปราย
การแก้ปัญหา การเรียนรู้ กระบวนการกลุ่ม การจัดและการปฏิบัติเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความคิด
ความเขา้ ใจไดเ้ รียนร้อู ย่างมคี วามสุข และเหน็ คณุ คา่
สามารถนาความรู้ หลักธรรม การทาความดี การทาสมาธิ พิธีกรรมทางศาสนา ข้อตกลง กติกา
กฎระเบียบ หน้าที่ ไปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ในการดารงชีวติ เปน็ พลเมอื งดีของประเทศชาตแิ ละสังคมโลก
รหัสตัวชี้วดั
ส 1.1 ป.2/1-7
ส 1.2 ป.2/1-2
ส 2.1 ป.2/1-4
ส 2.2 ป.2/1-2
ส 3.1 ป.2/1-4
ส 3.2 ป.2/1-2
ส 5.1 ป.2/1-3
ส 5.2 ป.2/1-4
รวมท้ังหมด 34 ตัวช้ีวัด
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนวดั นาวง
89
คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ (พืน้ ฐำน)
รหสั วิชำ ส 13101 สังคมศึกษำฯ 3 กลมุ่ สำระกำรเรยี นรูส้ งั คมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
ชน้ั ประถมศึกษำปที ่ี 3 เวลำ 80 ช่ัวโมง
สังเกต ศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูล อภิปราย แสดงความคิดเห็น สรุปใจความสาคัญความหมาย
ความสาคัญ องค์ประกอบของศาสนา ประโยชน์ ประวัติศาสดาของศาสนา ภาษา ที่ใช้ในคัมภีร์ของศาสนา
ท่ีตนนับถือ หลักจริยธรรมในการพัฒนาตน การบาเพ็ญประโยชน์ต่อครอบครัว โรงเรียน วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับ
ศาสนพิธี พิธีกรรมในวันสาคัญของศาสนา การบริหารจิต การเจริญปัญญา สติ สัมปชัญญะ ความราลึก
ได้ความรู้ตัว ช่ืนชมการทาความดีของบุคคลในครอบครัว และโรงเรียน ศีลธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงาม
การเป็นพลเมืองดีในสังคม ประชาธิปไตย การเคารพสิทธิและหน้าท่ีของ ตนเอง บทบาทสิทธิ เสรีภาพ หน้าท่ี
สถานภาพ สิทธิของบุคคลท่ีพึงได้รับการคุ้มครอง การขัดเกลาของสังคม ค่านิยม ความเชื่อ ประเพณี
การอนุรักษ์วัฒนธรรม และภูมิปัญญา ของท้องถ่ิน การสร้างความดี การแก้ปัญหาความขัดแย้ง กฎ กติกา
ระเบียบในชุมชน ความสาคัญของกฎหมายรัฐธรรมนูญ รายรับ–รายจ่าย ผลประโยชน์ท่ีผู้บริโภคได้รับการ
ตัดสินใจเลือกอย่างเหมาะสม ระบบเศรษฐกิจพอเพียง อาชีพในชุมชนการแลกเปล่ียน สินค้าและบริการ
ความสาคัญของธนาคาร ภาษีทเี่ กี่ยวขอ้ งในชวี ิตประจาวัน องคป์ ระกอบทางกายภาพ ลักษณะ ความเกย่ี วขอ้ ง
แผนผัง แผนท่ี ตาแหน่ง ระยะทิศทาง เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ การพ่ึงพาอาศัยกัน
ส่งิ แวดล้อมทางสังคม การอนุรักษ์ การใช้พลังงาน การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม การรู้จักสังเกตส่ิงต่าง ๆ รอบตัว
โดยใช้กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชิญสถานการณ์
และแกป้ ญั หา
เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนาไปปฏิบัติในการดาเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม
มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซ่ือสัตย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ รักความเป็นไทย
มีจิตสาธารณะ สามารถดาเนินชีวิตอย่างสันติสุขในสังคมไทย และสังคมโลก สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิด
ประโยชน์โดยใช้วิธีการของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับชีวิตประจาวันได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสม
รหัสตวั ชวี้ ดั
ส 1.1 ป.3/1 , ป.3/2 , ป.3/3 , ป.3/4 , ป.3/5 , ป.3/6 , ป.3/7
ส 1.2 ป.3/1 , ป.3/2 , ป.3/3
ส 2.1 ป.3/1 , ป.3/2 , ป.3/3 , ป.3/4
ส 2.2 ป.3/1 , ป.3/2 , ป.3/3
ส 3.1 ป.3/1 , ป.3/2 , ป.3/3
ส 3.2 ป.3/1 , ป.3/2 , ป.3/3
ส 5.1 ป.3/1 , ป.3/2 , ป.3/3
ส 5.2 ป.3/1 , ป.3/2 , ป.3/3 , ป.3/4 , ป.3/5
รวมทั้งหมด 31 ตัวชี้วดั
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั นาวง
90
คำอธบิ ำยรำยวิชำ (พ้นื ฐำน)
รหสั วิชำ ส 14101 สังคมศึกษำฯ 4 กลมุ่ สำระกำรเรียนรูส้ ังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
ชนั้ ประถมศกึ ษำปีท่ี 4 เวลำ 80 ชั่วโมง
ศึกษาความสาคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ สรุปพุทธประวัติ ตั้งแต่บรรลุธรรม
จนถึงประกาศธรรม หรือประวัติศาสดาท่ตี นนับถือหรือปฏิบตั ิตนตามแบบอย่างการดาเนินชีวิตและข้อคิดจาก
ประวัติสาวก ชาดก เรื่องเล่า และศาสนิกชนตัวอย่าง แสดงความเคารพพระรัตนตรัย ปฏิบัติตามไตรสิกขา
และหลักธรรมโอวาท 3 ในพระพทุ ธศาสนา หรือหลักธรรมของศาสนาท่ีตนนบั ถอื ชืน่ ชมการทาความดีของ
ตนเอง บุคคลในครอบครัว โรงเรียน และชุมชน ตามหลักศาสนา พร้อมท้ังบอกแนวปฏิบัติในการดาเนินชีวิต
สวดมนต์ แผ่เมตตา มีสติ มีสมาธิในพระพุทธศาสนา หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ
ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาท่ีตนนับถือหรือปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย เป็นผู้นา
ผตู้ ามท่ดี ี วเิ คราะห์สทิ ธพิ ืน้ ฐานที่เดก็ ทกุ คนพงึ ได้รบั ตามกฎหมาย
ศกึ ษา วิเคราะห์ความแตกตา่ งทางวฒั นธรรมของกลุ่มคนในท้องถ่ิน เสนอวิธีการทจ่ี ะอย่รู ว่ มกันอย่าง
สันติสุข อานาจอธิปไตย ความสาคัญของระบอบประชาธิปไตย บทบาทหน้าที่ของพลเมืองในกระบวนการ
เลือกตั้ง ความสาคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น
ประมุข ปัจจัยท่ีมีผลต่อการเลือกซ้ือสินค้าและบริการ สิทธิพื้นฐานและรักษาผลประโยชน์ในฐานะผู้บริโภค
หลักการของเศรษฐกิจพอเพียงและนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจของคนในชุมชน
หน้าที่เบื้องต้นของเงิน ใช้แผนที่และภาพถ่ายระบุลักษณะสาคัญทางกายภาพ แหล่งทรัพยากรและสิ่งต่าง ๆ
ในจังหวัดของตนเอง ความสัมพันธ์ของส่ิงต่างๆ ท่ีอยู่ในจังหวัด สภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ส่งผลต่อการ
ดาเนินชีวิต การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมและผลท่ีเกิดจากการเปล่ียนแปลงน้ัน และมีส่วนร่วมในการ
อนรุ กั ษ์ส่งิ แวดลอ้ มในจงั หวัด
โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการทางสังคม
กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถ
นาไปปฏิบัติในการดาเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์
กษตั ริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มวี ินยั ใฝ่เรียนรู้ รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ สามารถดาเนินชวี ิตอย่างสันตสิ ุข
ในสงั คมไทยและสงั คมโลก
รหสั ตัวช้ีวดั
ส 1.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4 ,ป.4/5, ป.4/6, ป.4/7, ป.4/8
ส 1.2 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3
ส 2.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5
ส 2.2 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3
ส 3.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3
ส 3.2 ป.4/1, ป.4/2
ส 5.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3
ส 5.2 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3
รวมทั้งหมด 30 ตัวชี้วัด
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวัดนาวง
91
คำอธิบำยรำยวชิ ำ (พ้ืนฐำน)
รหัสวิชำ ส 15101 สังคมศึกษำฯ 5 กล่มุ สำระกำรเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
ชัน้ ประถมศึกษำปที ่ี 5 เวลำ 80 ชั่วโมง
ศึกษาและเข้าใจ วิเคราะห์ความสาคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีตนนับถือ ในฐานะท่ีเป็น
มรดกทางวัฒนธรรมและหลักในการพัฒนาชาตไิ ทย สรุปพทุ ธประวัติต้งั แตเ่ สด็จ
กรุงกบิลพัสดุ์จนถึงพุทธกิจสาคัญ หรือประวัติศาสดาท่ีตนนับถือ เห็นคุณค่า และประพฤติตนตาม
แบบอย่างการดาเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก เร่ืองเล่า และศาสนิกชนตัวอย่างอธิบาย
องค์ประกอบ และความสาคัญของพระไตรปิฎก หรือคัมภีร์ของศาสนาท่ีตนนับถือ แสดงความเคารพ
พระรตั นตรัย และปฏิบัตติ ามไตรสิกขาและหลกั ธรรมโอวาท 3 ในพระพุทธศาสนาหรือหลกั ธรรมของศาสนาที่
ตนนับถือ เห็นคุณค่าและสวดมนต์แผ่เมตตา มีสติท่ีเป็นพ้ืนฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนาหรือการพัฒนา
จิตตามแนวทางของศาสนาท่ีตนนับถือ ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาท่ีตนนับถือ เพื่อการพัฒนาตนเอง
และส่ิงแวดล้อม จัดพิธีกรรมตามศาสนาที่ตนนับถืออย่างเรียบง่าย มีประโยชน์ และปฏิบัติตนถูกต้อง
ปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรม และวันสาคัญทางศาสนา และอภิปรายประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าร่วม
กิจกรรม มีมรรยาทของความเป็นศาสนกิ ชนทีด่ ี
ยกตัวอย่างและปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิเสรีภาพ และหน้าท่ีในฐานะพลเมืองดี
เสนอวิธีการปกป้องคุ้มครองตนเองหรือผู้อื่นจากการละเมิดสิทธิเด็ก เห็นคุณค่าวัฒนธรรมไทยที่มีผลต่อการ
ดาเนนิ ชีวิตในสังคมไทย มีส่วนร่วมในการอนุรกั ษ์ และเผยแพร่ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นของชุมชน อธิบายโครงสร้าง
อานาจ หน้าท่ีและความสาคัญของการปกครองส่วนท้องถิ่น ระบุบทบาทหน้าที่ และวิธีการเข้าดารงตาแหน่ง
ของผู้บรหิ ารท้องถิ่น วิเคราะห์ประโยชน์ทชี่ ุมชน จะไดร้ บั จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่
อธิบายปัจจัยการผลิตสินค้าและบริการ ประยุกต์ใช้แนวคิดของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการ
ทากิจกรรมต่าง ๆ ในครอบครัว โรงเรียนและชมุ ชน อธิบายหลักการสาคัญและประโยชนข์ องสหกรณ์ อธิบาย
บทบาทหนา้ ทเี่ บอ้ื งต้นของธนาคาร จาแนกผลดีและผลเสยี ของการกยู้ มื
รู้ตาแหน่ง (พิกัดภูมิศาสตร์ ละติจดู ลองจิจดู ) ระยะ ทิศทางของภมู ิภาคของตนเอง ระบุลกั ษณะภูมิ
ลักษณ์ที่สาคัญในภูมิภาคของตนเองในแผนท่ี อธิบายความสัมพันธ์ของลักษณะทางกายภาพกับลักษณะทาง
สังคมในภูมิภาคของตนเอง วิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางกายภาพทีม่ ีอิทธิพลตอ่ ลกั ษณะการตั้งถ่ินฐานและการ
ย้ายถิ่นของประชากรในภูมิภาค อธิบายอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติท่ีก่อให้เกิดวิถีชีวิต และการ
สร้างสรรค์วัฒนธรรมในภูมิภาค นาเสนอตัวอย่างท่ีสะท้อนให้เห็นผลจากการรักษา และการทาลาย
สภาพแวดลอ้ ม เสนอแนวคดิ ในการรกั ษาสภาพแวดล้อมในภูมภิ าค
โดยใช้ทักษะกระบวนการ วิเคราะห์ สรุป เห็นคุณค่า ปฏิบัติตน แสดงความเคารพ มีสติ
อภิปราย ยกตวั อย่าง เสนอ มสี ่วนรว่ ม เผยแพร่ อธิบาย ระบลุ ักษณะ ประยกุ ต์ จาแนก
เหน็ คุณคา่ ของการนาความรไู้ ปใชใ้ นชวี ิตประจาวนั และมีคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคต์ ามหลกั สตู ร
รหสั ตวั ช้ีวดั
ส 1.1 ป.5 / 1 - 7 ส 1.2 ป.5 / 1 - 3 ส 2.1 ป.5 / 1 - 4
ส 2.2 ป.5 / 1 – 3 ส 3.1 ป.5 / 1 – 3 ส 3.2 ป.5 / 1 - 2
ส 5.1 ป.5 / 1 – 3 ส 5.2 ป.5 / 1 – 3
รวมท้ังหมด 28 ตัวช้ีวัด
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดนาวง
92
คำอธิบำยรำยวชิ ำ (พ้ืนฐำน)
รหสั วิชำ ส 16101 สังคมศึกษำฯ 6 กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้สงั คมศกึ ษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
ชั้นประถมศกึ ษำปที ่ี 6 เวลำ 80 ชั่วโมง
สังเกต ศึกษาค้นคว้า วเิ คราะห์ อภิปราย สนทนา ซักถาม แสดงความคดิ เหน็ รวบรวมข้อมูลสืบค้น
ข้อมูลความสาคัญหลักธรรมพระรัตนตรัย ไตรสิกขา หลักธรรมโอวาท 3 การทาความดีของบุคคลในประเทศ
การสวดมนต์ แผ่เมตตาของศาสนาท่ีตนนับถือ สรุปใจความสาคัญเกี่ยวกับพุทธประวัติตั้งแต่ปลงอายุสังขาร
จนถึงสังเวชนียสถาน ประวัติศาสดา ข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเล่า ศาสนิกชนตัวอย่าง ศาสนพิธี
สถานท่ีในศาสนสถาน ศาสนิกชนท่ีดี ประโยชนข์ องการเข้าร่วมในศาสนพธิ ี พิธกี รรม กิจกรรมในวันสาคัญทาง
ศาสนา การบริหารจิตและเจริญปัญญาวันสาคัญทางศาสนา การกระทาท่ีแสดงถึงคุณลักษณะของการเป็น
พลเมืองดีในสังคมประชาธิปไตย สิทธิเด็กที่พึงได้รับการคุ้มครองตามสิทธิมนุษยชน บทบาทหน้าท่ีความ
รับผิดชอบของตนเอง บรรทัดฐานทางสังคมและวัฒนธรรม สัญลักษณ์ เอกลักษณ์ ค่านิยม ประเพณี
วัฒนธรรมในท้องถ่ิน อานาจอธิปไตยและการมีส่วนร่วมในการปกครองระบอบประชาธิปไตย กฎหมายใน
ชีวิตประจาวัน การเลือกใช้ทรัพยากรท่ีมีผลกระทบ ต่อส่ิงแวดล้อม การเพิ่มรายได้เงินออมจากการลงทุน
สิทธิและการคุ้มครองผู้บริโภค เศรษฐกิจพอเพียง ระบบสหกรณ์ การบริหาร ด้านการผลิต และการพึ่งพา
ทางเศรษฐกิจ บทบาทการใช้เงินและการบริการด้านการเงินต่างประเทศ การจัดเก็บภาษี การกู้ยืมเงินจาก
ต่างประเทศ แผนที่ชนิดต่าง ๆ การกระทาที่ส่งผลดีและผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมทางสังคม วัฒนธรรม รวมท้ัง
ผลกระทบจากการทีม่ นุษยเ์ ปลย่ี นแปลงสิ่งแวดล้อมในด้านบวกและด้านลบ การกระทาทีม่ ีส่วนช่วยแก้ปัญหา
และเสริมสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น โดยใช้กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการ
กล่มุ กระบวนการเผชญิ สถานการณ์และแก้ปญั หา
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนาไปปฏิบัติในการดาเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม
มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซ่ือสัตย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ รักความเป็นไทย มีจิต
สาธารณะ สามารถดาเนินชีวิตอย่างสันติสุขในสังคมไทย และสังคมโลก สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกิด
ประโยชน์โดยใช้วิธีการของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับชีวิตประจาวันได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสม
รหสั ตัวชี้วดั
ส 1.1 ป.6/1-9
ส 1.2 ป.6/1-4
ส 2.1 ป.6/1-5
ส 2.2 ป.6/1-3
ส 3.1 ป.6/1-3
ส 3.2 ป.6/1-2
ส 4.1 ป.6/1-2
ส 4.2 ป.6/1-2
ส 4.3 ป.6/1-4
ส 5.1 ป.6/1-2
ส 5.2 ป.6/1-3
รวมทั้งหมด 39 ตัวชี้วัด
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั นาวง
93
คำอธบิ ำยรำยวิชำ (พื้นฐำน)
รหสั วชิ ำ ส 21101 สังคมศึกษำฯ 1 กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวฒั นธรรม
ชั้นมธั ยมศกึ ษำปที ่ี 1 เวลำ 20 ชวั่ โมง 0.5 หนว่ ยกติ ภำคเรียนท่ี 1
ศึกษาความหมายและความสาคัญของเศรษฐศาสตร์ ค่านิยม และพฤติกรรมการบริโภคที่มีผลต่อ
เศรษฐกจิ ของชุมชน และประเทศ ความเป็นมาของหลักการและความสาคัญของปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
บทบาทหน้าท่ีของสถาบันการเงิน การพึ่งพาอาศัยกันและการแข่งขันกันทางเศรษฐกิจ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ
การกาหนด อุปสงค์ อุปทาน ผลของการมีกฎหมายเก่ียวกับทรัพย์สินทางปัญญา ศึกษาเลือกใช้เคร่ืองมือทาง
ภมู ิศาสตร์ และเสน้ แบ่งเวลา และเปรยี บเทยี บวนั เวลาของประเทศไทยกับทวีปตา่ ง ๆ
ศึกษาความสาคัญของพระพุทธศาสนา การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศไทย พุทธประวัติ
การประพฤติตนตามแบบอย่างการดาเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาวพุทธตัวอย่าง ชาดก ศึกษา
พุทธคุณอริยสัจ 4 และปฏิบัติตนตามหลักธรรม การพัฒนาจิตด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ การสวดมนต์
แผ่เมตตาบริหารจิตและเจริญ ปัญญาด้วยอานาปานสติศึกษาความจาเป็นท่ีทุกคนต้อ งเรียนรู้ศาสนาอ่ืน
การปฏิบัติต่อบุคคลอ่ืนและศาสนิกอ่ืนได้เหมาะสม การบาเพ็ญประโยชน์ต่อศาสนสถาน ศึกษาพิธีกรรม
ประวตั คิ วามสาคญั และการปฏบิ ตั ติ นในวันสาคญั ในศาสนพิธีไดถ้ ูกตอ้ ง
เพื่อให้สามารถอธิบาย ระบุ วิเคราะห์ ปฎิบัติตน และพัฒนาโดยแสดงออกและอภิปราย ได้ตาม
หลักการของพระศาสนาและพลเมืองดีของประเทศชาติ ทาให้เกิดการใฝ่เรียนรู้ มีวินัย ซ่ือสัตย์ สุจริต รู้จัก
รับผิดชอบ มุ่งม่ันในการทางาน มีมารยาท มีความสัมพันธ์ท่ีดีต่อสังคม มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และรัก
ความเป็นไทย
รหัสตวั ช้ีวดั
ส 2.1 ม.1/1,ม.1/2,ม.1/3,ม.1/4
ส 2.2 ม.1/1,ม.1/2,ม.1/3
ส 3.1 ม.1/1,ม.1/2,ม.1/3
ส 3.2 ม.1/1,ม.1/2,ม.1/3,ม.1/4
รวมทั้งหมด 14 ตัวช้ีวัด
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นวัดนาวง
94
คำอธิบำยรำยวิชำ (พื้นฐำน)
รหสั วชิ ำ ส 21101 สังคมศึกษำฯ 2 กลุ่มสำระกำรเรียนรูส้ ังคมศกึ ษำ ศำสนำและวฒั นธรรม
ชัน้ มัธยมศึกษำปที ี่ 1 เวลำ 20 ช่ัวโมง 0.5 หน่วยกติ ภำคเรียนที่ 2
ศึกษาการเชอื่ มโยงและแนวทางป้องกนั ภัยธรรมชาติและการระวงั ภัย ผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลง
ทางธรรมชาติ ความร่วมมือกันต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ ศึกษาทาเลที่ตั้งกิจกรรมทางเศรษฐกิ จ
และสังคม ปัจจัยทางกายภาพและสังคมที่มีผลต่อการเล่ือนไหลของความคดิ เทคโนโลยี สินค้า และประชากร
ของประเทศไทยและทวปี เอเชยี ออสเตรเลยี
ศึกษาการปฏิบัติตนตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคล การทาประโยชน์ต่อสังคม
และประเทศชาติ วัฒนธรรมที่สร้างความสัมพันธ์ที่ดี การเคารพสิทธิของตนเองและผู้อื่น ศึกษาสาระสาคัญ
การถ่วงดลุ อานาจและปฏบิ ัติตนตามบทบัญญตั ิของรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย ฉบบั ปัจจุบันได้
เพื่อให้มีความสามารถในการเลือกใช้เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ และอธิบาย ระบุ วิเคราะห์ ยกตัวอย่าง
อภิปราย และสารวจ ตามหลกั การทางเศรษฐศาสตร์ ภูมศิ าสตร์ ทาให้ใช้เครอื่ งมอื ได้ถูกต้อง เกิดการใฝ่เรียนรู้
อยู่อยา่ งพอเพยี ง รักสิง่ แวดลอ้ ม มีจิตสาธารณะ และรักความเปน็ ไทย
รหัสตวั ชี้วัด
ส 1.1 ม.1/1,ม.1/2,ม.1/3,ม.1/4,ม.1/5,ม.1/6,ม.1/7,ม.1/8,ม.1/9,ม.1/10,ม.1/11
ส 1.2 ม.1/1,ม.1/2,ม.1/3,ม.1/4,ม.1/5,ม.1/64
ส 5.1 ม.1/1,ม.1/2,ม.1/3
ส 5.2 ม.1/1,ม.1/2,ม.1/3,ม.1/4
รวมท้ังหมด 24 ตัวช้ีวดั
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวดั นาวง
95
คำอธบิ ำยรำยวิชำ (พน้ื ฐำน)
รหัสวิชำ ส 21101 สังคมศึกษำฯ 3 กลุ่มสำระกำรเรียนรสู้ งั คมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 2 เวลำ 20 ช่ัวโมง 0.5 หน่วยกติ ภำคเรยี นท่ี 1
ศกึ ษาปัจจัยที่มีผลต่อการลงทุนและการออม ปัจจัยการผลิตและบรกิ าร ปจั จัยท่ีมีอิทธพิ ลตอ่ การผลิต
สินค้าและบริการในท้องถิ่นตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค ระบบเศรษฐกิจ
การพ่ึงพาอาศัยกัน การแข่งขันกันทางด้านเศรษฐกิจและการคา้ ในประเทศและต่างประเทศที่ส่งผลตอ่ คุณภาพ
สินค้าและราคาสินค้า ทรัพยากรกรและการกระจายทรัพยากรในโลกที่ส่งผลกระทบต่อความสัมพันธ์ทาง
เศรษฐกจิ ระหว่างประเทศ
ศึกษาการเผยแพร่ศาสนาพุทธในประเทศเพ่ือบ้าน พุทธประวัติและประวัติศาสดาของศาสนาต่าง ๆ
ประวัติพุทธสาวก สาวิกา ชาวพุทธตัวอย่าง ชาดก โครงสร้างพระไตรปิฎกและหลักธรรมทางศาสนา
ความสาคัญของศาสนาพทุ ธ ความสาคัญของศาสนาตา่ ง ๆ ในฐานะรากฐานทางวัฒนธรรมและเอกลกั ษณ์ของ
ชาตริ วมทงั้ อทิ ธพิ ลของศาสนาท่ีมีต่อการพัฒนาและการจัดระเบยี บสงั คมไทย
ศึกษาหลักธรรมทางศาสนาท่ีมผี ลต่อการแก้ปญั หาสังคมและ การอย่รู ่วมกนั อยา่ งสนั ติสุข การบรหิ ารจติ
ตามหลักการทางศาสนา แนวทางการปฏบิ ัตติ นอย่างเหมาะสมตามหลกั ศาสนาในฐานะศาสนกิ ชนทด่ี ี พิธีกรรม
และศาสนพิธเี ปรยี บเทยี บเพ่ือ ให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศ ส่งเสริมให้เกิดความรกั ชาติ เห็นคณุ คา่ ความ
เปน็ ไทย มจี ิตสานึกสาธารณะ ปฏิบัติตนไดถ้ กู ต้องตามหลกั ศาสนาและกฎหมาย และมมี ารยาทดี
รหัสตวั ชี้วัด
ส 2.1 ม. 2/1 , ม. 2/2 , ม. 2/3 , ม. 2/4
ส 2.2 ม. 2/1 , ม. 2/2
ส 3.1 ม. 2/1 , ม. 2/2 , ม. 2/3 , ม. 2/4
ส 3.2 ม. 2/1 , ม. 2/2 , ม. 2/3 , ม. 2/4
รวมท้ังหมด 14 ตัวช้ีวดั
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดนาวง
96
คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ (พน้ื ฐำน)
รหัสวิชำ ส 22103 สังคมศึกษำฯ 4 กลมุ่ สำระกำรเรียนรสู้ ังคมศกึ ษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
ชนั้ มัธยมศกึ ษำปีที่ 2 เวลำ 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกติ ภำคเรียนท่ี 2
ศึกษาลักษณะกายภาพ ลักษณะสังคม ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะกายภาพและลักษณะสังคม
ของทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา การเกิดส่ิงแวดล้อมใหม่อันเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ
และสังคม ปัญหาส่ิงแวดล้อม แนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมและผลกระทบท่ีไทย
ไดร้ ับจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอ้ มในทวีปยุโรปและแอฟรกิ า
ศึกษากฎหมายที่เก่ียวข้องในชีวิตประจาวัน กระบวนการการตรากฎหมายไทย หน้าที่พลเมืองดี
ตามวิถีประชาธิปไตย บทบาทและความสาคัญของสถาบันทางสังคม กระบวรการการเปล่ียนแปลงทางสังคม
และวฒั นธรรมของประเทศในภูมภิ าคเอเชีย ดว้ ยวิธกี ารวิเคราะห์ อธิบาย เปรียบเทียบ และฝกึ ปฏิบตั ิ
เพื่อให้สามารถอธิบาย ระบุ ยกตัวอย่าง วิเคราะห์ อภิปราย รวบรวมข้อมูล สารวจ และ เสนอ
แนวทางได้ตามหลักการทางเศรษฐศาสตร์ ใช้เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นคว้าหาข้อมูลได้อย่างถูกต้อง
ทาให้เกดิ การใฝเ่ รียนใฝ่รู้และอยูอ่ ย่างพอเพยี ง
รหัสตวั ช้ีวัด
ส 1.1 ม. 2/1 , ม. 2/2 , ม. 2/3 , ม. 2/4 , ม. 2/5 , ม. 2/6 , ม. 2/7 , ม. 2/8 ,
ม. 2/9, ม. 2/10 , ม. 2/11
ส 1.2 ม. 2/1 , ม. 2/2 , ม. 2/3 , ม. 2/4 , ม.2/5
ส 5.1 ม. 2/1 , ม. 2/2
ส 5.2 ม. 2/1 , ม. 2/2 , ม. 2/3 , ม. 2/4
รวมท้งั หมด 22 ตัวช้วี ัด
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวัดนาวง
97
คำอธิบำยรำยวิชำ (พ้นื ฐำน)
รหสั วิชำ ส 23101 สังคมศึกษำฯ 5 กลุม่ สำระกำรเรยี นรู้สงั คมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
ชนั้ มัธยมศึกษำปที ี่ 3 เวลำ 60 ชวั่ โมง 1.5 หน่วยกติ ภำคเรียนท่ี 1
ศึกษาการเผยแผ่พระพุทธศาสนา การนับถือพระพุทธศาสนา ของประเทศต่าง ๆ ท่ัวโลกพุทธประวัติ
และความสาคัญของพระพุทธศาสนา ประวัติพุทธสาวก ชาดก และ ศาสนิกชนตัวอย่าง หลักธรรมสาคัญ
ได้แก่ กรอบอริยสัจ 4 สังฆคุณ 9 พุทธศาสนสุภาษิต และการปฏิบัติตนตามหลักธรรมทิศเบื้องขวาในทิศ 6
พุทธปณิธาน 4 ในมหาปรินิพพานสูตร หน้าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธเพือ่ การดารงชีวิตอยา่ งเหมาะสมการ
ธารงรักษาศาสนาเช่นการปฏิบัติตนในวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา การปฏิบัติตน ศาสนพิธี เช่น การแสดง
ตนเป็นพุทธมามกะ การพัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ การสวดมนต์และแผ่เมตตาการ
บริหารจิตและเจริญปญั ญาตามหลักสตปิ ัฏฐาน และวถิ ีการดาเนินชีวติ ของศาสนกิ ชนศาสนาอ่ืน ๆ
ศึกษากฎหมายอาญา กฎหมายแพ่ง กฎหมายสิทธิมนุษยชน และการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยศึกษา
ระบอบการปกครองในปัจจุบันและ ปัญหาความขัดแย้งภายในประเทศศึกษาการปกครองของไทยกับประเทศ
อื่น ๆ ท่ีมีการปกครองระบอบประชาธิปไตย และปัญหาที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประชาธิปไตยของไทย
รวมทั้งผลกระทบและแนวทางทางแก้ไขศึกษาบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญบทบาทหน้าที่สาคัญของรัฐ
และการตรวจสอบอานาจรัฐ
เพอ่ื ให้มีความร้คู วามเขา้ ใจและสามารถปฏิบัติตน เป็น พลเมืองดขี องประเทศชาติ และการอยู่ร่วมกัน
อย่างสนั ตสิ ขุ ในประเทศและสงั คมโลก ตามหลักการของพระพุทธศาสนา
รหัสตวั ชี้วัด
ส 4.1 ม. 3/1 , ม. 3/2
ส 4.2 ม. 3/1 , ม. 3/2
รวมทง้ั หมด 4 ตัวช้วี ัด
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนวดั นาวง
98
คำอธิบำยรำยวชิ ำ (พื้นฐำน)
รหสั วิชำ ส 23103 สังคมศึกษำฯ 6 กล่มุ สำระกำรเรียนร้สู งั คมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
ช้นั มัธยมศึกษำปที ่ี 3 เวลำ 60 ชว่ั โมง 1.5 หน่วยกิต ภำคเรียนที่ 2
ศึกษาความหมายของ อุปสงค์ อุปทาน กลไกราคา ตลาด การกาหนดราคา สินค้าและบริการ
ในระบบเศรษฐกิจ สภาพปัญหาท้องถิ่น แนวทางการแก้ไขปัญหา การพัฒนาท้องถ่ินตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง หลักการของระบบสหกรณ์ บทบาทหน้าที่ นโยบาย กิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐ
การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ในภูมิภาคต่าง ๆ ภาวะเงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน การค้า
และการลงทนุ ระหวา่ งประเทศ การกดี กันทางการค้า รวมทง้ั ผลกระทบและแนวทางแกป้ ญั หา
ศึกษาการใช้เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวม วิเคราะห์และน าเสนอ ข้อมูลเก่ียวกับลักษณะ
ทางกายภ าพและสังคมของทวีปอเมริก าเหนือและท วีปอเมริกาใต้ วิเคราะห์ ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะ
ทางกายภาพและสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้ วิเคราะห์การ ก่อเกิดส่ิงแวดล้อมใหม่ทาง
สงั คม อันเป็นผลมาจากการเปลย่ี นแปลงทางธรรมชาติและทางสังคมของทวีป อเมริกาเหนือและทวีปอเมริกา
ใต้ ระบุแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในทวีป อเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้
สารวจ อภิปรายประเด็นปัญหาเกี่ยวกับส่ิงแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีป อเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้
วิเคราะห์เหตุและผลกระทบที่ประเทศไทย ได้รับจากการเปลี่ยนแปลงของ ส่ิงแวดล้อมในทวีปอเมริกาเหนือ
และทวีปอเมริกาใต้ โดยใช้กระบวนการกลุ่ม การฝึกปฏิบัติ การแก้ปัญหา ใช้การขัดเกลาทางสังคม การคิด
วิเคราะห์ กระบวนการสืบคน้ กระบวนการคดิ อย่างมวี ิจารณญาณ การจัดการ การพฒั นาคา่ นิยมทางจริยธรรม
และ การสร้างความคิดรวบยอด และการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้เนน้ การให้ประสบการณ์ทใ่ี กล้ตวั ผู้เรียน เพอ่ื ให้
เกิดการเชื่อมโยงประสบการณ์เดิมสู่การสร้างประสบการณ์ใหม่ ส่งเสริมการท างานกลุ่มเพ่ือพัฒนาทักษะ
ทางสังคมนาไปสู่การยอมรับและเห็นคุณคา่ ของตนเองและผู้อ่ืน เพื่อเห็นความสาคญั การปฏิบัติตนในศาสนพิธี
พิธีกรรม ประพฤติปฏิบัติตามหลักธรรมคาสอนได้ อย่างถูกต้อง และเลือกใช้เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ในการ
วิเคราะห์การเปล่ียนแปลงของทวีปอเมริกาเหนือ และอเมริกาใต้ได้อย่างถูกต้อง พร้อมตระหนักและเข้าใจ
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อม มีจิตสานึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิง่ แวดล้อมเพื่อการพัฒนาทยี่ งั่ ยนื
รหัสตัวชี้วัด
ส 1.1 ม. 3/1 , ม. 3/2 , ม. 3/3 , ม. 3/4 , ม. 3/5 , ม. 3/6 , ม. 3/7 , ม. 3/8 ,
ม. 3/9, ม. 2/10
ส 1.2 ม. 3/1 , ม. 3/2 , ม. 3/3 , ม. 3/4 , ม.3/5 , ม. 3/6 , ม. 3/7
ส 2.1 ม. 3/1 , ม. 3/2 , ม. 3/3 , ม. 3/4 , ม.3/5
ส 2.2 ม. 3/1 , ม. 3/2 , ม. 3/3 , ม. 3/4
รวมท้ังหมด 26 ตัวชี้วดั
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดนาวง
99
คำอธิบำยรำยวชิ ำ (พนื้ ฐำน)
รหัสวิชำ ส 31101 สังคมศึกษำ 1 (พระพุทธศำสนำ)กลุ่มสำระกำรเรยี นรูส้ ังคมศึกษำ ศำสนำและวฒั นธรรม
ชน้ั มธั ยมศึกษำปที ี่ 4 เวลำ 40 ชว่ั โมง 1.0 หน่วยกิต ภำคเรียนที่ 1
ศึกษาลักษณะสังคมชมพูทวีป และคติความเชื่อทางศาสนาสมัยก่อนพระพุทธเจ้า ประสูติ
พุทธประวัติด้านการบริหาร และการธารง พระพุทธศาสนา ข้อปฏิบัติทางสายกลางในพระพุทธศาสนา
การพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง วิเคราะห์ความหมายและคุณค่าของพุทธะ หลักธรรมอริยสัจ 4 ได้แก่
ขันธ์ 5 (นามรูป) หลักกรรม (นิยาม 5) วิตก 3 ภาวนา 4 พระสัทธรรม 3 ปัญญาวุฒิธรรม 4 พละ 5 อุบาสก
ธรรม 5 การสงเคราะห์บุตร การสงเคราะหภ์ รรยา ความสันโดษ
ศึกษาพุทธศาสนสุภาษิต จิตฺต ทนฺต สุขาวห จิตท่ีฝึกดีแล้วนาสุขมาให้ นอุจฺจาวจ ปณฺฑิตา ทสฺสยนฺติ
บัณฑิตย่อมไม่แสดงอาการขึ้น ๆ ลง ๆ นตฺถิ โลเก อนินฺทิโต คนท่ีไม่ถูกนินทา ไม่มีในโลกโกธ ฆตฺวา สุข เสติ
ฆ่าความโกรธได้ย่อมอยู่เป็นสขุ วเิ คราะห์ข้อคิดและแบบอย่างการดาเนนิ ชีวิตจากประวตั ิสาวก ชาดกเรื่องเล่า
และศาสนิกชนตัวอย่าง ตามท่ีกาหนด ได้แก่ พระอัสสชิ พระกีสาโคตมีเถรี พระนางมัลลิกา หมอชีวก โกมาร
ภัจ เวสสันดรชาดก พระนาคเสน – พระยามิลินท์ สมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี) พระอาจารย์ม่ัน ภูริทตฺโต
สุชีพ ปุญญานุภาพ วิธีการศึกษาและค้นคว้าพระไตรปิฏก และคัมภีร์ของศาสนาอื่น ๆ ศึกษาประวัติ
พระพุทธเจ้า มุฮัมมัด พระเยซู คุณค่าและความสาคัญของค่านิยมและจริยธรรม การขจัดความขัดแย้งเพื่ออยู่
ร่วมกันอย่างสันติสุข การพัฒนาจิตและ พัฒนาเรียนรู้ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ ด้วยวิธีคิดแบบสามัญ
ลกั ษณะ และวธิ ีคิดแบบเป็นอย่ใู นขณะปจั จุบนั
ศึกษาการบริหารจิตและเจริญปัญญาตามหลักสติปัฎฐาน สวดมนต์แผ่เมตตา สามารถ นาวิธีการ
บริหารจิตและเจริญปัญญาไปใช้ในการพัฒนาการเรยี นรู้ คุณภาพชวี ิตและสังคมเสนอแนวทางการจัดกิจกรรม
ความร่วมมือของทุกศาสนาในการแก้ปัญหาและพัฒนาสังคม สภาพปัญหาในชุมชน และสังคม การเข้าใจใน
กิจของพระภิกษุ เช่น การศึกษา การปฏิบัติธรรม และการเป็นนักบวชท่ีดี คุณสมบัติทายกและปฏิคาหก
หน้าท่ีและบทบาทของพระภิกษุ ในฐานะพระนักเทศก์ พระธรรมทูต พระธรรมจาริก พระวิทยากร
พระวิปัสสนาจารย์ และพระนักพัฒนา การปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครวั และสังคม ได้แก่ การรกั ษา
ศีล 8 การเปน็ ชาวพุทธท่ีดี ตามหลักทิศเบ้ืองบน ในทศิ 6 ศึกษาศาสนพิธีเน่ืองด้วยพุทธบัญญัติ เชน่ พิธีแสดง
ตนเป็นพุทธมามกะ, พิธีเวียนเทียน, ถวายสังฆทาน, ถวายผ้าอาบน้าฝน, พิธีทอดกฐิน และพิธีปวารณา เป็นต้น
ศาสนพิธีท่ีนาพระพุทธศาสนาเข้าไปเก่ียวเน่ือง เช่น การทาบุญเล้ียงพระในโอกาสต่าง ๆ บุญพิธี ทานพิธี
กุศลพิธี การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ ข้ันเตรียมการ ขั้นพิธีการ ศึกษาหลักธรรม/คติธรรมที่เก่ียวเน่ืองกับ
วันสาคัญ และเทศกาลท่ีสาคัญในพระพุทธศาสนาหรือศาสนาอื่น การปฏิบัติตนที่ถูกต้องในวันสาคัญ
และเทศกาลที่สาคัญ การปกป้องคุ้มครอง ธารงรักษาพระพุทธศาสนาของพุทธบริษัทในสังคมไทย การปลูก
จิตสานึกและการมีส่วนร่วมในสังคมพุทธ
โดยใช้ทักษะ กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการทางสังคม
กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา การแสดงบทบาทสมมติ การสืบค้นข้อมูล
การนาเสนอ และการอภปิ ราย
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นวัดนาวง