100
เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนาไปปฏิบัติในการดาเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม
มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ
สามารถดาเนินชวี ติ อยา่ งสันติสุขในสงั คมไทยและสังคมโลก
รหสั ตวั ชี้วดั
ส 1.1 ม.4-6/1, ม.4-6/2, ม.4-6/13, ม.4-6/14, ม.4-6/15, ม.4-6/19, ม.4-6/20
ส 1.2 ม.4-6/1 , ม.4-6/2, ม.4-6/4
รวมท้ังหมด 10 ตัวชี้วัด
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั นาวง
101
คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ (พน้ื ฐำน)
รหสั วิชำ ส 33102 สังคมศึกษำ 2 (พระพุทธศำสนำ)กลุ่มสำระกำรเรยี นรสู้ งั คมศึกษำ ศำสนำและวฒั นธรรม
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 เวลำ 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกิต ภำคเรยี นที่ 2
ศกึ ษาประวัตขิ องพระพุทธเจ้าในฐานะเป็นมนษุ ยผ์ ู้ฝึกตนไดอ้ ย่างสูงสุด ในการตรัสรู้ การกอ่ ตัง้ วธิ ีการ
สอนและการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธจริยา การพัฒนาศรัทธา และปัญญาที่ถูกต้องใน
พระพุทธศาสนา ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา หลักพุทธศาสนาและการคิดแบบวิทยาศาสต ร์
วิเคราะห์ความหมายและคุณค่าของธรรมะ หลักธรรมของพระพุทธศาสนาในกรอบอริยสัจ 4 เกี่ยวกับทุกข์
(ธรรมทค่ี วรร)ู้ เร่ืองโลกธรรม 8 เกี่ยวกบั สมุทยั (ธรรมท่ีควรละ) กรรม 12 เรอ่ื ง มจิ ฉาวณิชชา 5 เกี่ยวกับ นโิ รธ
(ธรรมท่ีควรบรรลุ) เรื่อง วิมุตติ 4 เก่ียวกับมรรค (ธรรมท่ีควรเจริญ) เร่ือง อปริหานิยธรรม 7, ปาปณิกธรรม 3
, ทฎิ ฐธมั มิกัตถสังวตั ตนิกธรรม 4 ,โภคอาทยิ ะ 5, อริยวัฑฒิ 5, เก่ียวกบั มงคลชีวติ เรื่องจติ ไม่เศร้าโศก,
จติ ไม่มัวหมอง, จิตเกษม, ความเพียรเผากิเลส, ประพฤติพรหมจรรย์, เหน็ อรยิ สัจ, บรรลุนิพพาน
ศึกษาพุทธศาสนาศาสนสุภาษิต เร่ือง ปฏิรูปการี ธุรวา อุฎฺฐาตา วินฺทเต ธน คนขยันเอาการเอางาน
กระทาเหมาะสม ย่อมหาทรัพย์ได้, วายเมถว ปุริโส ยาว อตฺถสฺส นิปฺปทา เกิดเป็นคนควรจะพยายามจนกว่า
จะประสบความสาเร็จ, สนฺตฎฺฐี ปรม ธน ความสันโดษเป็นทรัพย์อย่างย่ิง, อิณาทาน ทุกฺข โลเก การเป็นหน้ี
เปน็ ทุกข์ในโลก ศกึ ษาประวัติสาวก ชาดกเรื่องเล่า และศาสนกิ ชนตัวอยา่ ง ได้แก่ พระอนุรุทธะ, พระองคุลิมาล
, พระธมั มทนิ นาเถรี, จิตตคหบดี มโหสธชาดก, สมเด็จพระนารายณ์มหาราช, พระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาส
ภิกขุ), พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ), ดร.เอ็มเบดการ์ การสังคายนาและการเผยแผ่พระไตรปิฏก
ตัวอย่างผลที่เกิดจากการทาความดี ความชั่ว การพัฒนาจิตตามแนวของศาสนา พัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคิด
แบบโยนิโสมนสิการ 10 วิธี (เน้น วธิ ีคดิ แบบแยกแยะส่วนประกอบ แบบสามัญญลักษณะ แบบเป็นอยู่ในขณะ
ปัจจบุ ัน และแบบวิภชั ชวาท) การสวดมนต์แปล และแผ่เมตตา การบรหิ ารจิตและเจริญปญั ญา ตามหลักสตปิ ัฎ
ฐานนาวธิ ีการบริหารจิตและเจริญปัญญาไปใชใ้ นการพัฒนาการเรยี นรู้ คณุ ภาพชีวติ และสังคมหลักธรรมสาคัญ
ในการอยรู่ ว่ มกันอย่างสนั ตสิ ุข
ศึกษาหลักธรรมในพระพุทธศาสนา ได้แก่ สาราณียธรรม 6, อธปิ ไตย 3, มิจฉาวณิชชา 5, อริยวัฑฆิ
5, โภคอาทิยะ 5 ศึกษาหลักธรรมสาคัญในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข คริสต์ศาสนา ได้แก่ บัญญัติ 10
ประการ (เฉพาะท่ีเกี่ยวข้อง) ศาสนาอิสลาม ได้แก่ หลักจริยธรรม (เฉพาะท่ีเก่ียวข้อง) สภาพปัญหาในชุมชน
และสังคม
การปกป้องคุ้มครอง พระพุทธศาสนาของพุทธบริษัทในสังคมไทย การปฏิบัติตนต่อพระภิกษุทาง
กาย วาจา และใจ ท่ีประกอบด้วยเมตตา การปฏิสันถารที่เหมาะสมต่อพระภิกษุ ในโอกาสต่าง ๆ การเข้าร่วม
กิจกรรมและเป็นสมาชิกขององค์กรชาวพุทธ การปฏิสันถารตามหลัก ปฏิสันถาร 2 การปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดี
ของครอบครวั ตามหลักทิศเบ้ืองหลังในทิศ 6 ความหมาย ความสาคัญ คติธรรม ในพธิ ีกรรม บทสวดมนต์ของ
นกั เรยี น งานพิธี คณุ ค่าและประโยชน์ พิธบี รรพชาอุปสมบท คณุ สมบัตขิ อง ผขู้ อบรรพชาอุปสมบท เคร่อื งอัฏฐ
บริขาร ประโยชน์ของการ บรรพชาอุปสมบท คุณค่าและประโยชน์ของศาสนพิธี การปฏิบัติตนที่ถูกต้องใน
วันสาคัญและเทศกาลที่สาคัญในพระพุทธศาสนา หรือศาสนาอ่ืน การปกป้อง คุ้มครอง ธารงรักษา
พระพทุ ธศาสนาของพุทธบริษัทในสงั คมไทย การปลูกจติ สานกึ และการมีส่วนร่วมในสังคมพทุ ธ
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนวัดนาวง
102
โดยใช้ทักษะ กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการทางสังคม
กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา การแสดงบทบาทสมมติ การสืบค้นข้อมูล
การนาเสนอ และการอภิปราย
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนาไปปฏิบัติในการดาเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม
มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ
สามารถดาเนนิ ชีวติ อย่างสันตสิ ุขในสังคมไทยและสงั คมโลก
รหสั ตัวชี้วัด
ส 1.1 ม.4-6/6, ม.4-6/7, ม.4-6/8, ม.4-6/13, ม.4-6/15, ม.4-6/19, ม.4-6/20
ส 1.2 ม.4-6/1, ม.4-6/2, ม.4-6/3 , ม.4-6/4
รวมทั้งหมด 9 ตัวชีว้ ดั
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดนาวง
103
คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ (พนื้ ฐำน)
รหสั วิชำ ส 32101 สงั คมศึกษำ 3 (ภูมศิ ำสตร์) กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้สังคมศกึ ษำ ศำสนำและวฒั นธรรม
ชั้นมัธยมศกึ ษำปีที่ 5 เวลำ 40 ช่ัวโมง 1.0 หน่วยกติ ภำคเรียนที่ 1
ศึกษาการใช้เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ท่ีให้ข้อมูลทางภูมิสังคมของไทย และภูมิภาคต่าง ๆ ทั่วโลกเพ่ือ
การนาไปใช้ในการรวบรวม วเิ คราะห์ และนาเสนอข้อมลู ภูมิสารสนเทศอยา่ งมีประสิทธิภาพ
วิเคราะห์อิทธิพลของสภาพภูมิศาสตร์ ซ่ึงทาให้เกิดปัญหาทางกายภาพหรือภัยพิบัติทางธรรมชาติใน
ประเทศไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก รวมทั้งการเปล่ียนแปลงของพื้นท่ี ซึ่งได้รับอิทธิพลจากปัจจัยทาง
ภูมศิ าสตร์
ศึกษา วิเคราะห์ และประเมินการเปล่ียนแปลงธรรมชาติท่ีเกิดข้ึนในโลกว่าเป็นผลสืบเนื่องจากการ
กระทาของมนษุ ยห์ รือเกิดจากธรรมชาติ โดยใช้กระบวนการวิเคราะหแ์ ละประเมินสถานการณ์และวกิ ฤตการณ์
ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมของประเทศไทยและโลก
ระบุมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหา บทบาทขององค์การและการประสานความร่วมมือทั้งใน
ประเทศและนอกประเทศเก่ียวกับกฎหมายส่ิงแวดล้อม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมใน
ภูมิภาคต่าง ๆ ของโลกได้อยา่ งเหมาะสมและสร้างสรรค์
โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการแก้ปัญหา
กระบวนการเผชญิ สถานการณ์
เพ่ือให้มีความรู้ความเข้าใจ มีความตระหนัก มีจิตสานึก และประเมินค่าการใช้ประโยชน์จาก
ส่งิ แวดล้อม ในการสร้างสรรค์วัฒนธรรม อันเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่นของไทยและโลก โดยมีส่วนรว่ มในการ
แก้ปญั หาและการดาเนินชวี ิตตามแนวทางการอนรุ ักษ์ทรัพยากรและส่งิ แวดล้อม เพ่ือการพฒั นาทยี่ ั่งยืน
รหัสตวั ชี้วดั
ส 5.1 ม.4-6/1 ม.4-6/2 ม.4-6/3 ม.4-6/4
ส 5.2 ม.4-6/1 ม.4-6/2 ม.4-6/3 ม.4-6/4 ม.4-6/5
รวมท้ังหมด 9 ตัวชวี้ ดั
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดนาวง
104
คำอธบิ ำยรำยวิชำ (พื้นฐำน)
รหัสวชิ ำ ส 32102 สงั คมศึกษำ 4 (เศรษฐศำสตร์) กล่มุ สำระกำรเรยี นร้สู งั คมศกึ ษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5 เวลำ 40 ชว่ั โมง 1.0 หน่วยกิต ภำคเรยี นที่ 2
ศึกษา วิเคราะห์ระบบเศรษฐกิจ การกาหนดราคาและค่าจ้างในระบบเศรษฐกิจแบบต่าง ๆ
และบทบาทของรัฐในการแทรกแซงราคา การควบคุมราคา เพือ่ การแจกจ่ายและการจัดสรรทางเศรษฐกิจ
ศึกษาและตระหนักถึงความสาคัญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต่อเศรษฐกิจ สังคม ประเทศ
และประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตของคนเอง ครอบครัว และเห็นความสาคัญในการนาปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพยี งมาใช้ในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจสังคมฉบบั ปจั จุบัน
ศกึ ษา วิเคราะห์ วิวัฒนาของการสหกรณ์ในประเทศไทย และตระถึงความสาคัญของระบบสหกรณ์ใน
การพัฒนาเศรษฐกจิ ระดับชุมชน ประเทศ และวิเคราะห์ปัญหาในชุมชน และเสนอแนะแนวทางแก้ไข
ศึกษา วิเคราะห์บทบาทของรัฐบาลด้านนโยบายทางการเงินการคลังในการพัฒนาเศรษฐกิจของ
ประเทศ วิเคราะห์สาเหตุ และผลกระทบที่เกิดจากภาวะเศรษฐกิจและบอกแนวทางแก้ไขปัญหาของนโยบาย
ทางการเงนิ การคลงั
ศึกษาวิวัฒนาการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจและใช้กระบวนการอภิปราย เพ่ือวเิ คราะห์ผลกระทบของการ
เปิดเสรีทางเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่มีผลต่อสังคมไทย วิเคราะหผ์ ลดีผลเสียของความรว่ มมือทางเศรษฐกิจ
ระหวา่ งประเทศในรูปแบบต่าง ๆ ท่ีนาไปสู่การพ่ึงพา การแข่งขัน การขัดแย้ง และการประสานประโยชน์ทาง
เศรษฐกจิ การค้าระหว่างประเทศ
โดยใช้กระบวนการคิด การวิเคราะห์ สังเคราะห์ กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการสร้างความ
ตระหนัก
เพื่อให้มคี วามรคู้ วามเข้าใจในหลักเศรษฐศาสตร์ ปัญหาที่เกดิ ขึ้น และแนวทางการแก้ไข
รู้จักการใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพ
เพอ่ื ให้ประชาชนมคี วามเป็นอย่ทู ี่ดี และสง่ ผลให้ประเทศชาตเิ จริญก้าวหน้า
รหัสตัวช้ีวัด
ส 3.1 ม. 4-6/1 ม.4-6/2 ม.4-6/3 ม.4-6/4
ส 3.2 ม. 4-6/1 ม.4-6/2 ม.4-6/3
รวมทั้งหมด 7 ตัวชว้ี ดั
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดนาวง
105
คำอธบิ ำยรำยวิชำ (พืน้ ฐำน)
รหัสวิชำ ส 21102,ส21104 ประวตั ศิ ำสตร์ กลุ่มสำระกำรเรยี นรสู้ งั คมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
ชน้ั มัธยมศึกษำปีที่ 1 เวลำ 20 ช่วั โมง 0.5 หน่วยกติ ภำคเรยี นที่ 1,2
วิเคราะห์ ความสาคัญของการใช้เวลา ช่วงเวลา ยุคสมัยในประวัติศาสตร์ ความสาคัญของเวลา
และช่วงเวลาสาหรับศึกษาประวัติศาสตร์ ความสัมพันธ์และความสาคัญของอดีต ปัจจุบัน อนาคตที่มาของ
ศักราชที่ปรากฏในเอกสารประวัติศาสตร์ไทยวิธีการเทียบศักราชต่างๆละตัวอย่าง การเทียบศักราชต่าง ๆ
ศึกษาความหมาย ความสาคัญของประวัติศาสตร์ และวิธีทาประวัติศาสตร์ หลักฐานทางประวัติศาสตร์
ความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน ตัวอย่างหลักฐานในการศึกษา ประวัติศาสตร์ สมัยสุโขทัย ท้ังหลักฐานชั้นต้น และ
หลักฐานช้นั รอง นาวิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์ ไปใช้ศึกษาเรื่องราวของประวตั ิศาสตรใ์ นท้องถิ่นตนเองในสมัย
ใดก็ ประวัติศาสตร์ สมัยก่อนสุโขทัย สมัยอยุธยา สมัยธนบุรี อธิบายท่ีตั้งและสภาพทางภูมิศาสตร์
ของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ท่ีมีผลต่อการพัฒนาการทางการศึกษาด้านต่าง ๆ พัฒนาทางสังคม
เศรษฐกิจ การเมืองของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ศึกษาท่ีต้ังความสาคัญของแหล่งอารย
ธรรมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น แหล่งมรดกโลกในประเทศต่างๆของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
อิทธพิ ลของอารยธรรมโบราณในดินแดนไทยท่ีมีที่มีอติ อ่ การพัฒนาการของสังคมไทยปัจจุบนั อธบิ ายสมัยกอ่ น
ประวัติศาสตร์ รัฐโบราณในไทยโดยสังเขป รัฐโบราณดินแดนไทย เช่น ศรีวิชัยตามพรลิงค์ ทวาราดี
เปน็ ตน้ รัฐไทยในดินแดนไทย เช่น ล้านนา สวุ รรณภูมิ นครศรธี รรมราช เป็นต้น การสถาปนาอาณาจักร
สุโขทัย และปัจจัยท่ีเกี่ยวข้อง พัฒนาการอาณาจักรสุโขทัยในด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังค ม
และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ วัฒนธรรม สมัยสุโขทัย เช่นภาษาไทย วรรณกรรม ประเพณี
ภูมปิ ญั ญาไทยในสมัยสโุ ขทยั เช่นการชลประทาน เครอื่ งสงั คมโลก ความเสื่อมของอาณาจักรสมยั สุโขทัย
โดยใช้ทักษะกระบวนการอธิบาย วิเคราะห์และปฏิบัติ กระบวนการเรียนรู้ การแก้ปัญหา
สบื ค้นข้อมลู อภิปราย บาทบาทสมมุติ กาปฏิบัติ กระบวนการกล่มุ
เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ รู้จักคิดวิเคราะห์ รู้จักแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ รู้จักแสวงหาความรู้ด้วย
ตนเอง
รหัสตัวช้ีวัด
ส 4.1 ป. 1/1 , ป. 1/2 , ป. 1/3
ส 4.2 ป. 1/1 , ป. 1/2
ส 4.3 ป. 1/1 , ป. 1/2 , ป. 1/3
รวมทั้งหมด 8 ตัวชว้ี ดั
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั นาวง
106
คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ (พน้ื ฐำน)
รหัสวิชำ ส22102,ส22104 ประวัตศิ ำสตร์ กลุ่มสำระกำรเรยี นรสู้ ังคมศึกษำ ศำสนำและวฒั นธรรม
ชั้นมัธยมศึกษำปีท่ี 2 เวลำ 20 ชั่วโมง 0.5 หน่วยกิต ภำคเรียนท่ี 1,2
ศึกษาวิธีประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในลักษณะต่าง ๆ อย่างง่าย ๆ
เช่น การศึกษาภูมิหลังของผู้ทา หรือผู้เกี่ยวข้อง สาเหตุการจัดทา ช่วงระยะเวลาการจัดทาหรือจัดสร้าง
หลักฐาน รูปลักษณ์ของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ว่าเป็นหลักฐานชั้นต้น หรือหลักฐานชั้นรอง (ใครสร้าง
สร้างขึ้นเมื่อไหร่ สร้างขึ้นทาไม เช่ือถือได้หรือไม่) ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูล/สารสนเทศท่ีอยู่ในหลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์ โดยสามารถวิเคราะห์แยกแยะความจริงกับข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ทางประวัติที่ปรากฏ
ในหลักฐาน รวมทั้งแยกแยะข้อคิดเห็นกับข้อเท็จจริงจริงจากข้อมูล ตัวอย่างการประเมินความเช่ือถือของ
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทยท่ีอยู่ในท้องถิ่นของตนเอง และหลักฐานสมัยอยุธยา เข้าใจความสาคัญของการ
วิเคราะห์ตีความข้อมูลจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ โดยใช้ทักษะการรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์
การตีความ การแยกแยะ การเปรียบเทียบ ทั้งนี้เพื่อให้ตระหนักและเห็นคุณค่าความสาคัญของประวตั ิศาสตร์
และวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ในการวเิ คราะห์ ตรวจสอบ ประเมินคุณคา่ ของขอ้ มูลทมี่ อี ยูอ่ ย่างหลากหลายใน
โลกยคุ โลกภวิ ัตน์
ศึกษาวิเคราะห์พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยาและธนบุรีในด้านต่าง ๆ เกี่ยวกับการสถาปนา
อาณาจักรปัจจัยที่ส่งผลต่อความเจริญรุ่งเรืองและความม่ันคงของอาณาจักรอยุธยา พัฒนาการด้านการเมือง
การปกครอง สังคม เศรษฐกิจและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เหตุการณ์สาคัญในสมัยอยุธยาและธนบุรี
เช่น การเสียกรุงศรีอยุธยาคร้ังท่ี 1 และการกู้เอกราช การเสียกรุงศรีอยุธยาคร้ังที่ 2 และการกู้เอกราช
ศึกษาวิเคราะห์ ภูมิปัญญาไทยและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี เช่น การควบคุมกาลังคน
ศิลปกรรม วีรกรรมของบรรพบุรุษไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี เช่น สมเด็จพระรามาธิบดีท่ี 2 สมเด็จพระ
สุริโยทัย สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระนารายณ์มหาราช สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช โดยใช้
ทักษะการรวบรวม การวิเคราะห์ การอ้างอิง การสังเคราะห์ การสรุป การตคี วาม ท้งั น้ีเพ่ือให้เข้าใจความ
เป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรมไทยและภูมิปัญญาไทย เห็นความพยายามของบรรพบุรุษท่ีปกป้องชาติไทย
และสรา้ งสรรค์ความเจริญสบื ต่อมาถงึ ปัจจุบนั
ศึกษาปัจจัยทางภูมิศาสตร์ที่ส่งผลต่อพัฒนาการของภูมิภาคต่าง ๆ ในทวีปเอเชีย (ยกเว้นเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้) พัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของภูมิภาคเอเชีย และอิทธิพลของอารย
ธรรมโบราณท่ีมีต่อภูมิภาคเอเชียในปัจจุบัน โดยใช้ทักษะการสืบค้น การรวบรวมข้อมูล การสรุป
การวิเคราะห์ ท้ังน้ีเพื่อให้เข้าใจพัฒนาการของมนุษย์ที่มีความเปล่ียนแปลงจากอดีตจนถึงปัจจุบันและ
ผลกระทบท่ีมีต่อสังคมโลก เข้าใจความแตกต่างทางวัฒนธรรม สามารถปรับตัวอยู่ร่วมกันในสังคมโลกได้
อย่างมปี ระสิทธิภาพ
รหสั ตัวช้ีวัด
ส 4.1 ป.2/1-3
ส 4.2 ป.2/1-2
ส.4.3 ป.2/1-3
รวมท้ังหมด 8 ตัวชี้วัด
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนวัดนาวง
107
คำอธบิ ำยรำยวิชำ (พื้นฐำน)
รหัสวิชำ ส23102,ส23104 ประวตั ิศำสตร์ กลุ่มสำระกำรเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
ชั้นมัธยมศึกษำปีท่ี 3 เวลำ 20 ช่ัวโมง 0.5 หน่วยกิต ภำคเรียนที่ 1,2
ศึกษาและใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ ในการศึกษาวิเคราะห์เรื่องราวเหตุการณ์สาคัญทาง
ประวัติศาสตร์ได้อย่างมีเหตุผล และศึกษาเร่ืองราวท่ีเก่ียวข้องกับตนเอง ครอบครวั และทอ้ งถ่ินของตนตามความ
สนใจ โดยจัดทาโครงงานทางประวัตศิ าสตร์ โดยใช้ทักษะการสังเกต การสืบคน้ การสารวจ การวิพากษ์ข้อมูล
การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การสร้างความรู้ใหม่ การให้เหตุผล ทั้งน้ีเพ่ือฝึกฝนทักษะการใช้วิธีการทาง
ประวัตศิ าสตร์สืบค้นเร่อื งราวตา่ ง ๆ อยา่ งเปน็ ระบบ
ศึกษาวิเคราะห์พัฒนาทางประวัติศาสตร์ของไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ในด้านต่าง ๆ เก่ียวกับการ
สถาปนากรุงเทพมหานครเป็นราชธานีไทย ปัจจัยที่ส่งผลต่อความม่ันคงและความเจริญรุ่งเรือง บทบาทของ
พระมหากษัตริย์ไทยในราชวงศ์จักรี ในการสร้างสรรค์ความเจริญและมั่นคงของชาติ พัฒนาการทางด้าน
การเมือง การปกครอง สังคม เศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ศึกษาวิเคราะห์สาเหตุปัจจัย
และผลของเหตุการณ์สาคัญที่มีต่อการพัฒนาชาตไิ ทย เช่น สนธิสัญญาเบาว์ริงในรัชกาลท่ี 4 การปฏิรูปประเทศ
ในสมัยรัชกาลที่ 5 การเข้าร่วมสงครามโลกคร้ังท่ี 1 และครั้งท่ี 2 ศกึ ษาวิเคราะหบ์ ทบาทของไทยในสังคม
โลกตั้งแต่เปลี่ยนแปลงการปกครองจนถึงปัจจุบัน รวมท้ังวีรกรรมของบรรพบุรุษไทยและวิเคราะห์ภูมิปัญญา
และวัฒนธรรมไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาและสร้างสรรค์ชาติไทย โดยใช้ทักษะการ
รวบรวมข้อมูล การสืบค้น การเชื่อมโยง การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การอธิบาย การสรุปความ ทั้งน้ี
เพื่อให้เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย เกิดความรักและความภาคถูมิใจในวัฒนธรรมไทย ภูมิปัญญาไทย
ตระหนักและเห็นความสาคัญในบรรพบุรุษไทยท่ีได้ปกป้องและสรา้ งสรรค์ความเจริญให้กับประเทศชาติจนถึง
ทกุ วันน้ี
ศกึ ษาปัจจัยทางภูมศิ าสตร์ที่มผี ลต่อพัฒนาการของภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก และพฒั นาการทางสังคม
เศรษฐกิจ และการเมืองของภูมิภาคต่าง ๆ ในโลกโดยสังเขป (ยกเว้นเอเชีย) อิทธิพลของอารยธรรม
ตะวันตกที่มีต่อพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกโดยสังเขป วิเคราะห์ผลของการเปล่ียนแปลง
ที่นาไปสู่ความร่วมมือและความขัดแย้งในคริสต์ศตวรรษท่ี 20 เช่น สงครามโลก ครั้งที่ 1 คร้ังที่ 2
สงครามเย็น องค์การความร่วมมือระหว่างประเทศ ตลอดจนความพยายามในการขจัดปัญหาพัฒนาการของ
มนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ท้ังด้านความสัมพันธ์และการเปล่ียนแปลงอย่างต่อเน่ืองตระหนักและเห็น
ความสาคญั ท่ีจะอย่รู ่วมกันอยา่ งสงบสขุ
รหสั ตวั ช้วี ดั
ส 4.1 ป.3/1,ป.3/2
ส 4.2 ป.3/1,ป.3/2,ป.3/3
ส 4.3 ป.3/1,ป.3/2,ป.3/3
รวมท้ังหมด 8 ตัวช้ีวัด
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวดั นาวง
108
คำอธบิ ำยรำยวิชำ (พื้นฐำน)
รหัสวชิ ำ ส 31111 ประวัติศำสตร์ไทย 1 กลุ่มสำระกำรเรียนรสู้ งั คมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
ชนั้ มัธยมศึกษำปีท่ี 4 เวลำ 20 ชัว่ โมง 0.5 หนว่ ยกิต ภำคเรยี นที่ 1
ศึกษาเวลาและยุคสมยั ทางประวัติศาสตร์ ตวั อย่างเวลาและยุคสมัยทางประวตั ิศาสตรข์ องสงั คมมนุษย์
ท่ีปรากฏในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ข้ันตอนของ
วธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร์ คณุ คา่ และประโยชน์ของวิธกี ารทางประวตั ศิ าสตรท์ ี่มตี ่อการศึกษาทางประวตั ิศาสตร์
ผลการศึกษาหรือโครงงานทางประวัตศิ าสตร์
ศึกษาประเด็นสาคญั ของประวัติศาสตร์ไทย เชน่ แนวคดิ เกี่ยวกบั ความเป็นมาของชาตไิ ทย อาณาจักร
โบราณในดินแดนไทย และอิทธิพลที่มีต่อสังคมไทย ปัจจัยท่ีมีผลต่อการสถาปนาอาณาจักรไทยในช่วงเวลา
ต่างๆ สาเหตแุ ละผลของการปฏริ ปู การปกครองบา้ นเมือง
โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ ทักษะการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพ่ือนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้
หรอื สารสนเทศเพือ่ การตัดสินใจอย่างมีประสทิ ธิภาพ มคี วามรกั ชาติและภาคภมู ิใจในความเปน็ ไทย
รหสั ตัวชี้วดั
ส 4.1 ม. 4-6/1, 4-6/2
ส 4.3 ม. 4-6/1
รวมทั้งหมด 3 ตวั ชีว้ ดั
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนวดั นาวง
109
คำอธบิ ำยรำยวิชำ (พืน้ ฐำน)
รหัสวชิ ำ ส 31112 ประวตั ิศำสตร์ไทย 2 กลุ่มสำระกำรเรียนร้สู ังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
ช้ันมธั ยมศึกษำปีที่ 4 เวลำ 20 ชวั่ โมง 0.5 หนว่ ยกติ ภำคเรียนท่ี 2
ศึกษาบทบาทของสถาบันกษัตริย์ ในการพัฒนาชาติไทยในด้านต่างๆ อิทธิพลของวัฒนธรรม
ตะวันออกและตะวันตกท่ีมีต่อสังคมไทย ผลงานของบุคคลสาคัญทั้งชาวไทยและต่างประเทศ ที่มีส่วน
สร้างสรรค์วัฒนธรรมไทยและประวัติศาสตร์ไทย ปัจจัย บุคคลและสภาพท่ีมีผลต่อการสร้างสรรค์ภูมิปัญญา
ไทยและวัฒนธรรมไทย วิถีชีวิตของคนไทยในสมัยต่าง ๆ การสืบทอดและการเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมไทย
แนวทางการอนรุ ักษ์ภูมปิ ัญญาไทยและวัฒนธรรมไทย
โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ ทักษะการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ การคิดย่างมีวิจารณญาณ เพื่อ
นาไปสู่การสร้างองค์ความรู้ใหม่ หรือการสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจอย่างมีประสิทธิภาพ โดยคานึงถึง
ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับตนเอง สังคม และส่ิงแวดล้อม มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และภูมิใจใน
ความเป็นไทย
รหัสตัวช้ีวัด
ส 4.3 ม. 4-6/2, 4-6/3, 4-6/4, 4-6/5
รวมท้ังหมด 4 ตวั ชว้ี ัด
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนวดั นาวง
110
คำอธบิ ำยรำยวิชำ (พน้ื ฐำน)
รหสั วิชำ ส 32111 ประวตั ิศำสตร์สำกล 1 กล่มุ สำระกำรเรยี นรสู้ ังคมศึกษำ ศำสนำและวฒั นธรรม
ชน้ั มัธยมศกึ ษำปีท่ี 5 เวลำ 20 ชั่วโมง 0.5 หน่วยกติ ภำคเรียนท่ี 1
ศึกษา วิเคราะห์อารยธรรมโลกยุคโบราณ ได้แก่ อารยธรรมลุ่มแม่น้าไทรกรีส-ยูเฟรตีส ลุ่มแม่น้าไนล์
ล่มุ แม่นา้ ฮวงโห ลุ่มแมน่ ้าสินธุ และอารยธรรมกรกี -โรมนั การติดต่อระหว่างโลกตะวนั ออกกบั โลกตะวันตกและ
อิทธิพลของโลกตะวันตกที่มีต่อกัน เหตุการณ์สาคัญต่างๆท่ีส่งผลต่อการเปล่ียนแปลงของโลกในปัจจุบัน
เช่น ระบอบศักดินาสวามิภักด์ิ สงครามคูเสด การฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์และการ
สารวจทางทะเล การปฎิรูปศาสนา การปฏิวัติอุตสาหกรรม แนวคิดเสรีนิยม แนวคิดจักรวรรดินิยม และ
แนวคิดชาตนิ ยิ ม การล่าอาณานิคม และผลกระทบ
โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ ทักษะการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ
เพอ่ื นาไปส่กู ารสรา้ งความรู้ หรอื การสารสนเทศเพ่อื การตัดสินใจอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
รหสั ตวั ช้ีวัด
ส 4.2 ม.4-6/1, ม.4-6/2, ม.4-6/3
รวมทั้งหมด 3 ตวั ช้วี ัด
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนวัดนาวง
111
คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ (พนื้ ฐำน)
รหัสวิชำ ส 32112 ประวตั ิศำสตร์สำกล 2 กล่มุ สำระกำรเรยี นรูส้ ังคมศึกษำ ศำสนำและวฒั นธรรม
ชัน้ มธั ยมศกึ ษำปที ี่ 5 เวลำ 20 ช่ัวโมง 0.5 หนว่ ยกิต ภำคเรียนท่ี 2
ศึกษาสถานการณ์สาคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21 เช่นเหตุการณ์ 11 กันยายน 2001 การ
ขาดแคลนทรพั ยากร การก่อการร้ายและการต่อต้านการก่อการร้าย และความขดั แย้งทางศาสนา สถานการณ์
และวกิ ฤตการณด์ า้ นทรพั ยากรธรรมชาติของไทยและของโลก วิกฤตการณด์ า้ นเศรษฐกิจของโลก
โดยใชว้ ิธกี ารทางประวัตศิ าสตร์ ทักษะการคิดวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณเพื่อนาไปสู่
การสรา้ งความรู้ หรือการสารสนเทศเพื่อการตัดสนิ ใจอย่างมีประสทิ ธิภาพโดยคานึงถงึ ผลกระทบทเ่ี กิดขึ้นกับตนเอง
มีความรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์
รหสั ตวั ชี้วดั
ส 4.2 ม.4-6/4
รวมทั้งหมด 1 ตวั ชี้วัด
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดนาวง
112
คำอธบิ ำยรำยวิชำ (พ้นื ฐำน)
รหัสวชิ ำ พ 11101 สุขศกึ ษำและพลศึกษำ 1 กลุ่มสำระกำรเรยี นร้สู ุขศกึ ษำและพลศกึ ษำ
ชัน้ ประถมศึกษำปีที่ 1 เวลำ 40 ชั่วโมง
อธิบายลักษณะและหน้าที่ของอวัยวะภายนอกท่ีมีการเจริญเติบโตและพัฒนาการไปตามวัย เช่น
ตา หู คอ จมกู ผม มือ เท้า เล็บ ผิวหนัง แขน ขาอวัยวะสืบพนั ธ์ุ อธิบายวงจรชีวติ การเกดิ แก่ เจ็บ ตาย
อธิบายและปฏิบัติตนในการดูแลรักษาอวัยวะภายนอกอย่างถูกวิธี และทาความสะอาดอวัยวะส่วนต่างๆตาม
คาแนะนา ระบุสมาชิกในครอบครัวปู่ ย่า ตา ยาย พ่อ แม่ พี่น้อง ญาติ บอก ความผูกพันของสมาชิกท่ีมีต่อ
กัน รจู้ ุดเด่น มนี ้าใจ ขยัน เล่นกีฬาเกง่ เรยี นเก่ง พูดจาไพเราะ และจดุ ด้อยของตนเองโกรธงา่ ย โมโหร้าย ขีใ้ จ
น้อย เกเร และบอกลักษณะความแตกต่างระหว่างเพศชายและเพศหญิง ร่างกาย อารมณ์ ลักษณะนิสัย
การพูดจา การแต่งกาย การเคลื่อนไหวร่างกายขณะอยู่กับท่ี เคลื่อนที่และใช้อุปกรณ์ตามธรรมชาติ การเล่น
เกมเบ็ดเตล็ด บอกประโยชน์ของการเล่นเกมและการออกกาลัง และเข้าร่วมกิจกรรมทางกายท่ีใช้การ
เคลื่อนไหวตามธรรมชาติ การออกกาลังกาย และเล่นเกม ตามคาแนะนา ปฏิบัติตนตามกฎ กติกา
ข้อตกลงในการเล่นเกมเบ็ดเตล็ด มีความรับผิดชอบและเข้าร่วมกิจกรรมด้วยความสนใจ ปฏิบัติตนตามหลัก
สุขบัญญัติแห่งชาติ 10 ประการ บอกลักษณะอาการเจ็บป่วย ปฏิบัติตนตามคาแนะนา วิธีปฏิบัติตนเมื่อมี
อาการเจ็บป่วยเกิดข้ึนกับตนเอง ระบุสิ่งที่ทาให้เกิดอันตรายที่บ้าน โรงเรียน บอกสาเหตุและการป้องกัน
อันตรายท่ีเกิดจากการเล่น บอกวิธีปฏิบัติตน และดูแลตนเองเบื้องต้นเมื่อหลัดหลงหรือได้รบั อุบัติเหตุ ปฏิบัติ
ตนตามระเบียบวินัยจราจร แสดงคาพูดหรือท่าทางขอความช่วยเหลือจากผู้อ่ืนเมื่อเกิดเหตุร้ายที่บ้านและ
โรงเรียน บุคคลท่ีควรขอความชว่ ยเหลือพ่อแม่ ญาติ เพื่อน คาพูดและท่าทางการขอความช่วยเหลือ ฝกึ ทักษะ
การขอความช่วยเหลือเมอ่ื พลัดหลงหรือเกดิ อบุ ตั ภิ ัยตา่ ง ๆ
โดยใช้ทักษะการดาเนินชีวิตการดาเนินชีวิต ทักษะทางสุขภาพ กระบวนการฝึกปฏิบัติทางพลศึกษา
เพอื่ ให้เกดิ ความรู้รักการออกกาลังกาย การเล่นกีฬา การปฏิบตั ิเป็นประจาอย่างสม่าเสมอ มีวนิ ัย เคารพสิทธิ
กฎ กติกา มีน้าใจเป็นนกั กฬี า มจี ติ วิญญาณในการแข่งขัน และช่ืนชมในสุนทรยี ภาพของการกฬี า เหน็ คุณคา่ ใน
การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพและดารงสุขภาพอยา่ งยง่ั ยืน
รหสั ตวั ชี้วดั
พ 1.1 ป. 1/1, ป. 1/2
พ 2.1 ป. 1/1, ป. 1/2, ป. 1/3
พ 3.1 ป. 1/1, ป. 1/2
พ 3.2 ป. 1/1, ป. 1/2
พ 4.1 ป. 1/1, ป. 1/2, ป. 1/3
พ 5.1 ป. 1/1, ป. 1/2, ป. 1/3
รวมทั้งหมด 15 ตัวช้ีวดั
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั นาวง
113
คำอธิบำยรำยวชิ ำ (พน้ื ฐำน)
รหัสวิชำ พ 12101 สุขศึกษำและพลศึกษำ 2 กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้สุขศกึ ษำและพลศกึ ษำ
ช้ันประถมศกึ ษำปีที่ 2 เวลำ 40 ช่ัวโมง
อธิบายลักษณะและหน้าท่ีของอวัยวะภายในท่ีมีการเจริญเติบโตและพัฒนาการไปตามวัย วิธีดูแล
รกั ษาอวัยวะภายใน ธรรมชาติของชวี ิตมนุษย์ต้ังแตเ่ กิดจนตาย ระบุบทบาทหน้าทีข่ องตนเอง และสมาชิกใน
ครอบครัว และมีความกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ บอกความสาคัญของเพ่ือน มีความรับผิดชอบ สามัคคี
มนี ้าใจ เป็นผู้นาและผู้ตามทีด่ ี ระบุพฤติกรรมท่ีเหมาะสมกบั เพศ การวางตัวที่เหมาะสมกับกาลเทศะ อธบิ าย
ความภาคภูมิใจในความเป็นเพศหญิงหรือเพศชาย ปฏิบัติตนหลีกเล่ียงพฤติกรรมท่ีนาไปสู่สารเสพติดและการ
ล่วงละเมิดทางเพศ ควบคุมการเคลื่อนไหวร่างกาย ขณะอยู่กับท่ี เคล่ือนที่ตามทิศทางท่ีกาหนด และใช้
อุปกรณ์ประกอบ เล่มเกมเบ็ดเตล็ดและเข้าร่วมกิจกรรมทางกายที่มีวิธีเล่น อาศัยการเคล่ือนไหวเบื้องต้นท้ัง
แบบอยู่กับท่ี เคลื่อนทีแ่ ละใช้อปุ กรณป์ ระกอบ บอกความสาคัญของการเลน่ เกมและการเคลื่อนไหวออกกาลัง
กายที่มีผลตอ่ สุขภาพ บอกความสาคัญและเล่มเกมเบ็ดเตล็ดและเข้าร่วมกิจกรรมทางกายท่ีมีวิธเี ล่น อาศัยการ
เคลื่อนไหวเบ้ืองต้นทั้งแบบอยู่กับท่ี เคลื่อนที่และใช้อุปกรณ์ประกอบ ออกกาลังกาย และเล่นเกมเบ็ดเตล็ดได้
ด้วยตนเอง ประโยชน์ของการออกกาลังกายและการเล่นเกม ปฏิบัติตามกฎ กติกาและข้อตกลง ความ
สามัคคี มีน้าใจในการเล่นเกมเป็นกลุ่ม บอกลักษณะของการมีสุขภาพดี เลือกกินอาหารท่ีมีประโยชน์และไม่มี
ประโยชน์ อาหารท่ีถูกสุขลักษณะ อาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ อธิบายฉลากของอาหารและเครื่องหมายแสดง
มาตรฐานบนฉลากเพื่อการเลือกบริโภค ระบุของใช้ ของเล่น ของมีคม และของท่ีมีสารพิษปนเป้ือนท่ีมี
ผลเสียต่อสุขภาพ อธิบายอาการและวิธีป้องกันการเจ็บปว่ ย การบาดเจ็บที่อาจเกดิ ขึ้น ปฏิบัติตามคาแนะนา
เมื่อมีอาการเจ็บป่วยและบาดเจ็บวิธีปฏิบัติตนปฐมพยาบาลเบื้องต้นเม่ือเจ็บป่วยและบาดเจ็บการขอความ
ช่วยเหลือ ปฏิบัติตนในการปอ้ งกนั อุบัติเหตุท่ีอาจเกิดขึ้นทางน้า จมน้า และทางบก รถชน บอกช่ือยาสามัญ
ประจาบ้าน และใช้ยาตามความจาเป็นและลักษณะอาการ ระบุโทษของสารเสพติด สารอันตรายใกล้ตัวและ
วิธีการป้องกัน ปฏิบัติตนตามความหมายของสัญลักษณ์ และป้ายเตือนของส่ิงของหรือสถานท่ีที่เป็นอันตราย
อธิบายสาเหตุ อันตราย วิธีป้องกันอุบัติภัยต่างๆ และ มีทักษะในการดูแลและป้องกันตัวเองเมื่อเกิดอุบัติภัย
ตา่ งๆและแสดงการหนไี ฟ
โดยใช้ทกั ษะการดาเนนิ ชวี ติ การดาเนินชีวิต ทักษะทางสุขภาพ กระบวนการฝึกปฏิบัติทางพลศึกษา
เพ่ือให้เกดิ ความรู้รักการออกกาลังกาย การเล่นกฬี า การปฏบิ ัติเป็นประจาอย่างสม่าเสมอ มีวินยั เคารพสทิ ธิ
กฎ กติกา มีนา้ ใจเปน็ นักกีฬา มจี ติ วิญญาณในการแข่งขนั และชน่ื ชมในสนุ ทรยี ภาพของการกีฬา เห็นคุณคา่ ใน
การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพและดารงสขุ ภาพอย่างย่ังยืน
รหัสตวั ชี้วดั
พ 1.1 ป. 2/1, ป. 2/2, ป. 2/3
พ 2.1 ป. 2/1, ป. 2/2, ป. 2/3, ป. 2/4
พ 3.1 ป. 2/1, ป. 2/2
พ 3.2 ป. 2/1, ป. 1/2
พ 4.1 ป. 2/1, ป. 2/2, ป. 2/3, ป. 2/4, ป. 2/5
พ 5.1 ป. 2/1, ป. 2/2, ป. 2/3, ป. 2/4, ป. 2/5
รวมท้ังหมด 21 ตัวช้ีวดั
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดนาวง
114
คำอธบิ ำยรำยวิชำ (พนื้ ฐำน)
รหัสวชิ ำ พ 13101 สุขศกึ ษำและพลศึกษำ 3 กลุ่มสำระกำรเรียนรสู้ ขุ ศึกษำและพลศึกษำ
ช้ันประถมศกึ ษำปีท่ี 3 เวลำ 40 ชั่วโมง
อธิบายลักษณะและการเจริญเติบโตของร่างกายมนุษย์บอกถึงพัฒนาการของร่างกายและจิตใต
เปรียบเทียบการเจริญเติบโตของตนเองกับเกณฑ์มาตรฐาน ระบุปัจจัยท่ีมีผลต่อการเจริญเติบโต อธิบาย
ความสาคัญ และความแตกต่างของครอบครัวท่ีมีต่อตนเอง บอกคุณค่าของชีวิตตนเองอธิบายวิธีสร้าง
สัมพันธภาพในครอบครัว กลุ่มเพ่ือน บอกวิธีหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่นาไปสู่การล่วงละเมิดทางเพศ ปฏิบัติ
พฤติกรรมท่ีเหมาะสมกับเพศตามวัฒนธรรม ควบคุมการเคลื่อนไหวร่างกาย ขณะอยู่กับท่ี เคล่ือนที่และใช้
อุปกรณ์ประกอบอย่างมีทศิ ทาง เคลอ่ื นไหวร่างกายท่ีใชท้ ักษะการเคลื่อนไหวแบบบังคับทิศทาง ในการเลน่ เกม
เบ็ดเตล็ด เลือกออกกาลังกาย การละเล่นพื้นเมือง และเล่นเกม ที่เหมาะสมกับจุดเด่น จุดด้อย และข้อจากัด
ของตนเองปฏิบัติตามกฎ กติกาและข้อตกลงของการออกกาลังกาย การเล่นเกม มีความสามัคคีและมีน้าใจ
เป็นนักกีฬา การละเล่นพื้นเมืองได้ด้วยตนเอง อธิบายการติดต่อและวิธีการป้องกันการแพร่กระจายของโร ค
ปฏิบัติตนตามสุขบัญญัติแห่งชาติ จาแนกอาหารหลัก 5 หมู่เลือกกินอาหารท่ีหลากหลายครบ 5 หมู่
ในสัดส่วนท่ีเหมาะสม4 แสดงการแปรงฟันให้สะอาดอย่างถูกวิธีสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายได้ตาม
คาแนะนา ปฏิบัติตนเพื่อความปลอดภัยจากอุบัติเหตุในบ้าน โรงเรียน และการเดินทาง แสดงวิธีขอความ
ช่วยเหลือจากบุคคลและแหล่งต่าง ๆ เม่ือเกิดเหตุร้าย หรืออุบัติเหตุ แสดงวิธีปฐมพยาบาล เม่ือบาดเจ็บ
จากการเลน่ บอกวิธีปฏิบัติในการเคล่ือนย้ายผบู้ าดเจ็บ
โดยใช้ทักษะการดาเนินชีวิตการดาเนินชีวิต ทักษะทางสุขภาพ กระบวนการฝึกปฏิบัติทางพลศึกษา
เพือ่ ให้เกดิ ความรู้รกั การออกกาลังกาย การเล่นกีฬา การปฏิบัติเปน็ ประจาอย่างสมา่ เสมอ มวี นิ ัย เคารพสิทธิ
กฎ กติกา มีนา้ ใจเป็นนักกีฬา มีจติ วญิ ญาณในการแข่งขัน และชืน่ ชมในสุนทรยี ภาพของการกฬี า เห็นคุณคา่ ใน
การสร้างเสริมสุขภาพและดารงสุขภาพอยา่ งย่ังยนื
รหสั ตวั ชี้วดั
พ 1.1 ป. 3/1, ป. 3/2, ป. 3/3
พ 2.1 ป. 3/1, ป. 3/2, ป. 3/3
พ 3.1 ป. 3/1, ป. 3/2
พ 3.2 ป. 3/1, ป. 3/2
พ 4.1 ป. 3/1, ป. 3/2, ป. 3/3, ป. 3/4, ป. 3/5
พ 5.1 ป. 3/1, ป. 3/2, ป. 3/3
รวมท้ังหมด 18 ตัวชี้วัด
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวัดนาวง
115
คำอธิบำยรำยวชิ ำ (พน้ื ฐำน)
รหสั วิชำ พ 14101 สุขศกึ ษำและพลศกึ ษำ 4 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้สขุ ศกึ ษำและพลศกึ ษำ
ชนั้ ประถมศึกษำปที ่ี 4 เวลำ 80 ช่ัวโมง
อธิบายการเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกายและจิตใจตามวัย ความสาคัญของกล้ามเนื้อ
การเปล่ียนแปลงของกระดูกและข้อท่ีมีผลต่อสุขภาพ การเจริญเติบโตและพัฒนาการ วิธีปฎิบัติและดูแล
กล้ามเนื้อ กระดูก และข้อ ให้ทางานอยา่ งมีประสิทธภิ าพ อธิบายคุณลกั ษณะของความเป็นเพ่ือนและสมาชิก
ทด่ี ีของครอบครวั แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมกับเพศของตนตามวฒั นธรรมไทย ยกตัวอย่างวิธีการปฏิเสธการ
กระทาท่ีเป็นอันตรายและไม่เหมาะสมในเร่ืองเพศ เลือกวิธีการท่ีเหมาะสมในการขอความช่วยเหลือ
เมื่อประสบปัญหาทางเพศควบคุมตนเองเมื่อใช้ทักษะ การเคลื่อนไหวในลักษณะผสมผสานได้ทั้งแบบอยู่กับ
ท่ี เคล่ือนท่ีและใชอ้ ุปกรณ์ประกอบ ฝึกกายบริหารท่ามือเปล่าประกอบจงั หวะ ประกอบเพลงปลุกใจ ประกอบ
เพลงอย่างอิสระ เล่นเกมเลียนแบบและกิจกรรมแบบผลัดเล่นกีฬาพ้ืนฐานได้อย่างน้อย 1 ชนิด ออกกาลังกาย
เล่นเกม และกีฬาท่ีตนเองชอบและมีความสามารถในการวิเคราะห์ผลพัฒนาการของตนเองตามตัวอย่าง
และแบบปฏิบัติของผู้อ่ืน คุณค่าของการออกกาลังกาย เล่นเกม และเล่นกีฬา ที่มีต่อสุขภาพ ปฏิบัติตามกฎ
กติกาการเล่นกีฬาพื้นฐาน ตามชนิดกีฬาที่เล่น มีความสามัคคีและมีน้าใจเป็นนักกีฬา อธิบายความสัมพันธ์
ระหว่างสิ่งแวดล้อมโรงเรียน บ้าน ชุมชนกับสุขภาพ การจัดดูแลสิ่งแวดล้อมโรงเรียน บ้าน ชุมชน
ท่ีถกู สุขลกั ษณะ อธิบายสภาวะอารมณ์ ความรสู้ ึกท่มี ีผลต่อสุขภาพ วเิ คราะห์ขอ้ มูลบนฉลากอาหารและผลติ ภณั ฑ์
สุขภาพ เ วัน เดือน ปี ที่ผลิต/วันหมดอายุ/เคร่ืองหมายต่าง ๆ เพ่ือการเลือกบริโภค บอกและฏิบัติตนในวิธี
หลีกเล่ียงอาหารท่ีเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ทดสอบ ปรับปรุงสมรรถภาพทางกายตามผลการทดสอบ
สมรรถภาพทางกาย อธิบายความสาคัญของการใช้ยาและใช้ยาอย่างถูกวิธี แสดงวิธีปฐมพยาบาลเม่ือได้รับ
อันตรายจากการใช้ยาผิด สารเคมี แมลงสัตว์กัดต่อยและการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา บอกอันตรายจาก
การใช้สารเสพติดท่ีมีผลต่อสุขภาพ วิเคราะห์ผลเสียของการสูบบุหร่ี การดื่มสุรา ท่ีมีต่อสุขภาพ เพื่อการ
ปอ้ งกันและหลกี เล่ยี งปจั จยั เส่ียง พฤติกรรมเสีย่ งต่อสขุ ภาพ อบุ ัตเิ หตุ การใชย้ า สารเสพติดและความรุนแรง
โดยใช้ทักษะการดาเนินชีวิตการดาเนินชีวิต ทักษะทางสุขภาพ กระบวนการฝึกปฏิบัติทางพลศึกษา
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะสุขภาพ รักการออกกาลังกาย การเล่นกีฬา การปฏิบัติเป็นประจา
อย่างสม่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้าใจเป็นนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขัน และชื่นชมใน
สนุ ทรยี ภาพของการกีฬา เห็นคณุ คา่ ในการสร้างเสรมิ สุขภาพและดารงสขุ ภาพอย่างยั่งยืน
รหสั ตวั ช้ีวัด
พ 1.1 ป. 4/1, ป. 4/2, ป. 4/3
พ 2.1 ป. 4/1, ป. 4/2, ป. 4/3
พ 3.1 ป. 4/1, ป. 4/2, ป. 4/3, ป. 4/4
พ 3.2 ป. 4/1, ป. 4/2
พ 4.1 ป. 4/1, ป. 4/2, ป. 4/3, ป. 4/4
พ 5.1 ป. 4/1, ป. 4/2, ป. 4/3
รวมทั้งหมด 19 ตัวชี้วดั
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนวัดนาวง
116
คำอธิบำยรำยวิชำ (พ้ืนฐำน)
รหสั วิชำ พ 15101 สุขศึกษำและพลศึกษำ 5 กลุ่มสำระกำรเรียนรสู้ ุขศึกษำและพลศึกษำ
ชัน้ ประถมศกึ ษำปีท่ี 5 เวลำ 80 ช่วั โมง
อธิบายความสาคัญของระบบย่อยอาหาร ระบบขับถ่าย และระบบขับถ่ายที่มีผลต่อสุขภาพการ
เจรญิ เติบโตและพฒั นาการ วิธีปฏิบัติและดูแลระบบยอ่ ยอาหารและระบบขับถ่ายให้ทางานตามปกติ อธิบายการ
เปล่ียนแปลงทางเพศและปฏิบัติตนได้เหมาะสมตามวัฒนธรรมไทยการใช้คาพูด การปฏิบัติตน การแต่งกาย
วิธีดูแลรักษาความสะอาดสุขอนามัยทางเพศและปฏิบัติได้ถูกต้องเหมาะสม ความสาคัญของการมีครอบครัว
ท่ี อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย มีความกตัญญูรู้คุณและเออาทรตามวัฒนธรรมไทย ระบุพฤติกรรมที่พึงประสงค์
ไม่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัว กลุ่มเพื่อนจัดรูปแบบการเคล่ือนไหวร่างกาย
แบบผสมผสานและควบคุมตนเองเม่ือใช้ทักษะการเคลื่อนไหว แอโรบิคตามสมยั นิยม ตามแบบที่กาหนด เล่นเกม
นาไปสู่กีฬาท่ีเลือกและกิจกรรมการเคลื่อนไหวแบบผลัด การเล่นบอลเด่ียว คู่ ทีม ควบคุมการเคล่ือนไหวในเรื่อง
การรับแรง การใช้แรงและความสมดุล แสดงทักษะกลไก การเล่นลูกบอลขั้นพื้นฐาน ในการปฏิบัติกิจกรรมทาง
กาย เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคล ประเภททีมได้อย่างน้อย 1 ชนิด มีวินัย มีความรับผิดชอบ และ
ตรงต่อเวลา อธิบายหลักการและเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการ อย่างน้อย 1 กิจกรรม ออกกาลังกายอย่างมี
รูปแบบ เล่นเกมท่ีใช้ทักษะการคิดและตัดสินใจ ปฏิบัติตาม กฎ กติกา การเล่นเกม กีฬาไทยและกีฬาสากล
ตามชนิดกีฬาที่เล่นปฏิบัติตนตามสิทธิของตนเอง ไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่นและยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคล
ในการเล่นเกม และกีฬาไทย กีฬาสากล แสดงพฤติกรรมที่เห็นความสาคัญของการปฏิบัติตนตามสุขบัญญัติ
แห่งชาติ 10 ประการและโภชนบัญญัติ 9 ประการ ค้นหาข้อมูลข่าวสารเพ่ือใช้สร้างเสริมสุขภาพ วิเคราะห์สื่อ
โฆษณาในการตัดสินใจเลือกซื้ออาหาร ข้อมูลบนฉลากผลิตภัณฑ์อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างมีเหตุผล
ปฏิบัติตนในการป้องกันโรคที่พบบ่อยในชีวิตประจาวัน ทดสอบและปรับปรุงสมรรถภาพทางกาย ตามผลการ
ทดสอบสมรรถภาพทางกาย วิเคราะห์ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการใช้สารเสพติด วิเคราะห์ผลกระทบของการใช้ยา
และสารเสพติดที่มีผลต่อรา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ สงั คม และสติปัญญา มีทีกษะปฏิเสธและทักษะการแก้ปัญหาที่
เหมาะสมกับวัย ปฏิบัตติ นเพื่อความปลอดภัยจากการใช้ยาและหลีกเลยี่ งสารเสพติด วิเคราะห์อิทธิพลของส่ือที่มี
ต่อพฤติกรรมสุขภาพ ปฏิบัตติ าม กฎ กติกา อย่างเคร่งครัด มมี ารยาทในการเล่นกีฬา
โดยใช้ทักษะการดาเนินชีวิตการดาเนินชีวิต ทักษะทางสุขภาพ กระบวนการฝึกปฏิบัติทางพลศึกษา
เพอ่ื ให้เกดิ ความรู้รักการออกกาลังกาย การเล่นกฬี า การปฏิบัติเป็นประจาอย่างสมา่ เสมอ มีวนิ ัย เคารพสิทธิ
กฎ กติกา มีนา้ ใจเปน็ นกั กฬี า มีจิตวญิ ญาณในการแข่งขัน และชืน่ ชมในสุนทรียภาพของการกฬี า เหน็ คุณค่าใน
การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพและดารงสขุ ภาพอยา่ งยั่งยนื
รหัสตวั ช้ีวัด
พ 1.1 ป. 5/1, ป. 5/2
พ 2.1 ป. 5/1, ป. 5/2, ป. 5/3
พ 3.1 ป. 5/1, ป. 5/2, ป. 5/3, ป. 5/4, ป. 5/5, ป. 5/6
พ 3.2 ป. 5/1, ป. 5/2, ป. 5/1, ป. 5/2
พ 4.1 ป. 5/1, ป. 5/2, ป. 5/3, ป. 5/4, ป. 5/5
พ 5.1 ป. 5/1, ป. 5/2, ป. 5/3, ป. 5/4, ป. 5/5
รวมทั้งหมด 25 ตัวชี้วดั
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั นาวง
117
คำอธบิ ำยรำยวิชำ (พน้ื ฐำน)
รหัสวชิ ำ พ 16101 สุขศกึ ษำและพลศึกษำ 6 กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้สุขศกึ ษำและพลศึกษำ
ชัน้ ประถมศกึ ษำปีท่ี 6 เวลำ 80 ช่ัวโมง
อธิบายความสาคัญหน้าท่ีและส่วนประกอบของระบบสืบพันธ์ุ ระบบไหลเวียนโลหิตและระบบ
หายใจ ท่ีมีผลต่อสุขภาพ การเจริญเติบโตและพัฒนาการ วิธีการดูแลรักษาระบบสืบพันธ์ุ ระบบไหลเวียน
โลหิต และระบบหายใจให้ทางานตามปกติ สามารถจัดการกับอารมณ์และความเครียดได้อย่างเหมาะสม
อธิบายความสาคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพกับผู้อื่น ปฎิบัติตนให้เป็นผู้มีมนุษยสัมพันธ์ท่ีดี
วิเคราะห์พฤติกรรมเสี่ยงท่ีอาจนาไปสู่การมีเพศสัมพันธ์ การติดเช้ือเอดส์ และการต้ังครรภ์ ป้องกันภัยจากส่ือ
ทางเพศ ก่อนวัยอันควร การแก้ไขปัญหาในสถานการณ์เส่ียงเรื่องเพศ แสดงทักษะในการดาเนินชีวิตแสดง
ทักษะการเคลื่อนไหวร่วมกับผู้อ่ืนในลักษณะแบบผลัดและแบบผสมผสานได้ตามลาดับทั้งแบบอยู่กับท่ี
แบบ เคล่ือนทีแ่ ละใช้อุปกรณ์ประกอบ และการเคลื่อนไหวประกอบเพลง จาแนกหลักการเคล่ือนไหวในเรื่องการ
รับแรง การใช้แรง และความสมดุลในการเคลื่อนไหวร่างกายในการเล่นเกม เล่นกีฬา และนาผลมาปรับปรุง
เพ่ิมพูนวิธีปฏิบัติของตนและผู้อื่นเล่นกีฬาไทย กีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีมได้อย่างน้อย 1 ชนิด
ใช้ทักษะกลไก เพื่อปรับปรุงเพิ่มพูนความสามารถของตนและผู้อื่นในการเล่นกีฬาร่วมกิจกรรมนันทนาการอย่าง
น้อย 1 กิจกรรม แล้วนาความรู้และหลักการที่ได้ ไปใช้เป็นฐานการศึกษาหาความรู้เรื่องอื่น ๆ อธิบาย
ประโยชน์และหลักการออกกาลังกายเพ่ือสุขภาพ สมรรถภาพทางกายและการสร้างเสริมบุคลิกภาพ เล่นเกม
ท่ีใช้ทักษะการวางแผนและสามารถเพ่ิมพูนทักษะการออกกาลังกายและการเคลื่อนไหวอย่างเป็นระบบ เล่น
กีฬาท่ีตนเองชื่นชอบ และสามารถประเมินทักษะการเล่นของตนเป็นประจา ปฏิบัติตามกฎ กติกา ตามชนิด
กีฬาที่เล่นโดยคานึงถึงความปลอดภัยของตนเองและผู้อ่ืน จาแนกกลวิธีการรุก การป้องกัน และนาไปใช้ใน
การเล่นกีฬา เล่นเกมและกีฬาด้วยความสามัคคี มีวินัย มีน้าใจนักกีฬา มีความสามารถทางด้านสุนทรียภาพ
ทางด้านดนตรีกีฬา แสดงพฤติกรรมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาส่ิงแวดล้อมท่ีบ้าน โรงเรียน ชุมชนที่อยู่
อาศัย ที่มีผลต่อสุขภาพ วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดจากการระบาดของโรค และเสนอแนวทางการป้องกัน
โรคติดต่อสาคัญที่พบในประเทศไทย แสดงพฤติกรรมที่บ่งบอกถึงความรับผิดชอบต่อสุขภาพของส่วนรวม
สร้างเสริมและปรับปรุงสมรรถภาพทางกายเพ่ือสุขภาพอย่างต่อเนื่องตามรายการทดสอบและวิธีทดสอบ
สมรรถภาพ วิเคราะห์ผลกระทบจากความรุนแรงของภัยธรรมชาติท่ีมีต่อร่างกาย จิตใจและสังคม ระบุวิธี
ปฏิบัติตน และมีทักษะชีวิตในการป้งอกันตนเอง เพ่ือความปลอดภัยจากภยั ธรรมชาติ วเิ คราะหส์ าเหตุของการติด
สารเสพติด และชักชวนให้ผู้อ่ืนหลีกเล่ียงสารเสพติด ระบุวิธีปฏิบัติตนเพ่ือป้องกันภัยจากสารเสพติด สาเหตุของ
การติดสารเสพติด ความอยากรู้ อยากลอง ถูกชักชวนความคึกคะนอง สิ่งแวดล้อม ปัญหาทางครอบครัว
ตลอดจนทักษะการส่ือสารให้ผู้อ่ืนหลีกเลี่ยง สารเสพติด รู้และเข้าใจถึงพิษภัยและอันตรายจากสารเสพติด
ทากิจกรรมท่ีเป็นประโยชน์เพ่ือป้องกันและแก้ไขปัญหาสารเสพติด มีทักษะชีวิตในการดูแลและปฏิบัติตน
เพือ่ ป้องกนั ภยั จากสารเสพตดิ
โดยใช้ทักษะการดาเนินชีวิต ทักษะทางสุขภาพ กระบวนการฝึกปฏิบัติทางพลศึกษา เพ่ือให้เกิด
ความรู้ ความเข้าใจต่อสุขภาพอานามัย รักการออกกาลังกาย การเล่นกีฬา การปฏิบัติเป็นประจาอย่าง
สม่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีความสามัคคี มีน้าใจเป็นนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขัน
มีความสามารถและชื่นชม ในสุนทรียภาพของการ เห็นคุณค่าในการสร้างเสริมสุขภาพและดารงสุขภาพอย่าง
ยัง่ ยนื
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดนาวง
118
รหัสตัวชี้วดั
พ 1.1 ป. 6/1, ป. 6/2
พ 2.1 ป. 6/1, ป. 6/2, ป. 6/1
พ 3.1 ป. 6/2, ป. 6/3, ป. 6/4, ป. 6/5
พ 3.2 ป. 6/1, ป. 6/2, ป. 6/3, ป. 6/4, ป. 6/5, ป. 6/6
พ 4.1 ป. 6/1, ป. 6/2, ป. 6/3, ป. 6/4
พ 5.1 ป. 6/1, ป. 6/2, ป. 6/3
รวมทั้งหมด 22 ตัวช้ีวัด
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั นาวง
119
คำอธิบำยรำยวิชำ (พืน้ ฐำน)
รหสั วชิ ำ พ 21101, พ 21102 สุขศกึ ษำและพลศกึ ษำ กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้สุขศึกษำและพลศึกษำชน้ั
มธั ยมศึกษำปีที่ 1 เวลำ 40 ช่ัวโมง 2.0 หน่วยกติ ภำคเรยี นที่ 1,2
ศึกษาและเข้าใจความสาคัญ ของระบบประสาท และระบบต่อมไร้ท่อท่ีมีผลต่อสุขภาพ
การเจริญเติบโต และพัฒนาการของวัยรุ่น วิธีดูแลรักษาระบบประสาท และระบบต่อมไร้ท่อ ให้ทางาน
ตามปกติ การวิเคราะห์ภาวการณ์เจริญ เติบโตตามเกณฑ์มาตรฐานและปัจจัยที่เก่ียวข้อง แนวทางในการ
พัฒนาตนเองใหเ้ จรญิ เติบโตสมวัย การเปลย่ี นแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และพฒั นาการทางเพศ ทักษะ
ปฏิเสธเพ่ือป้องกันการถูกล่วงละเมิดทางเพศ หลักการเพิ่มพูนความสามารถในการเคลื่อนไหวที่ใช้ทักษะกลไก
และทักษะพ้ืนฐานที่นาไปสู่การพัฒนาทักษะการเล่นกีฬา การเล่นกีฬาไทย และกีฬาสากลที่เลือก เช่น กรีฑา
ประเภทลู่และลาน บาสเกตบอล กระบ่ี เทเบิลเทนนิส เทนนิส ว่ายน้า การนาความรู้และหลักการของกิจกรรม
นันทนาการไปใชเ้ ชื่อมโยงสัมพันธ์กบั วิชาอืน่ ความสาคัญของ การออกกาลงั กายและเล่นกฬี า จนเป็นวถิ ีชวี ิตท่ีมี
สุขภาพดี การออกกาลังกาย เช่น กายบริหารแบบต่าง ๆ เต้นแอโรบิก โยคะ รามวยจีน การเล่นกีฬาไทย
และกีฬาสากล ทัง้ ประเภทบุคคลและทีม การประเมินการเล่นกฬี าของตนเองและผ้อู ่ืน กฎ กติกา การเลน่ เกม
และการแข่งขันกีฬาท่ีเลือกเล่น รูปแบบ วิธีการรุกและป้องกันในการเล่นกีฬาท่ีเลือก การเล่น การแข่งขัน
กีฬา และการทางานเป็นทีม การยอมรับความสามารถและความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเล่นกีฬา
หลักการเลือกอาหารท่ีเหมาะสมกบั วัย ปัญหาท่ีเกิดจากภาวะโภชนาการ เกณฑ์มาตรฐานการเจรญิ เติบโตของ
เด็กไทย วิธีการควบคุมน้าหนักของตนเองให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน วิธีทดสอบสมรรถภาพทางกาย วิธีสร้าง
เสริมและปรับปรุง สมรรถภาพ ทางกายตามผลการทดสอบ การปฐมพยาบาลและเคล่ือนย้ายผู้ป่วยอย่าง
ปลอดภัย ลักษณะของผู้ติดสารเสพติด อาการของผู้ติดสารเสพติด การป้องกันการติดสารเสพติด ทักษะที่
ใช้ในการชักชวนผู้อ่ืนให้ลด ละ เลิกสารเสพติด ความสัมพันธ์ของการใช้สารเสพติดกับ การเกิดโรค
และอุบัติเหตุ
โดยใช้กระบวนการ อธิบาย ปรียบเทียบ วิเคราะห์ วางแผน ประเมิน ดูแลรักษา การเคลื่อนไหว
ร่างกาย การออกกาลังกาย เล่นกีฬาไทย และกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีม ปฐมพยาบาล
และเคลอ่ื นย้ายผูป้ ่วย
เพ่ือให้เห็นความสาคัญของ การออกกาลังกายและเล่นกีฬา เคารพ กฎ กติกา ยอมรับความสามารถ
และความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล
รหสั ตัวช้ีวดั
พ 1.1 ม.1 /1, ม.1 /2 , ม.1 /3 , ม.1 /4
พ 2.1 ม.1 /1, ม.1 /2
พ 3.1 ม.1 /1, ม.1 /2, ม.1 /3
พ 3.2 ม.1 /1, ม.1 /2, ม.1 /3, ม.1 /4, ม.1 /5, ม.1 /6
พ 4.1 ม.1 /1, ม.1 /2, ม.1 /3, ม.1 /4
พ 5.1 ม.1 /1, ม.1 /2, ม.1 /3, ม.1 /4
รวมท้ังหมด 23 ตัวชี้วดั
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นวดั นาวง
120
คำอธบิ ำยรำยวิชำ (พ้ืนฐำน)
รหสั วิชำ พ 22101, พ 22102 สุขศึกษำและพลศึกษำ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้สุขศกึ ษำและพลศกึ ษำ
ชน้ั มธั ยมศึกษำปีที่ 2 เวลำ 40 ช่ัวโมง 2.0 หน่วยกติ ภำคเรียนท่ี 1,2
ศึกษาและเข้าใจการเปล่ียนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น ปัจจัย
ที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาปัจจัยท่ีมี
อิทธิพลต่อเจตคติในเร่ืองเพศ ปัญหาและผลกระทบท่ีเกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียนโรคติดต่อทาง
เพศสัมพันธ์ โรคเอดส์ การตั้งครรภ์โดยไม่พึงประสงค์ ความสาคัญของความเสมอภาคทางเพศ การวางตัวต่อ
เพศตรงข้าม ปัญหาทางเพศ แนวทางการแก้ไขปัญหาทางเพศ การนาผลการปฏิบัติตนเกี่ยวกับทักษะกลไกและ
ทักษะการเคล่ือนไหว ในการเล่นกีฬาจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายมาสรุปเป็นวิธีท่ีเหมาะสมในบริบทของตนเองใน
การเล่นกีฬา การเล่นกีฬาไทย กีฬาสากลตามชนิดกีฬาท่ีเลือก เช่น กรีฑาประเภทลู่และลาน บาสเกตบอล กระบี่
เทนนิส ตระกร้อลอดบ่วง ฟุตซอล ว่ายนา้ เทควนั โดประสทิ ธิภาพของรูปแบบการเคล่ือนไหวที่ส่งผลตอ่ การเล่นกีฬา
และกจิ กรรมในชีวิตประจาวนั การออกกาลงั กายและการเล่นกีฬาไทย กีฬาสากลท้ังประเภทบุคคลและประเภท
ทีม การวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างบุคคลเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการร่วมกิจกรรมการออกกาลัง
กายและเล่นกีฬา วินัย ในการฝึก และการเล่นกีฬา ตามกฎ กติกาและข้อตกลง รูปแบบ กลวิธีการรุก
การป้องกันในการเล่นกีฬาเป็นทีม ประโยชน์ของการเล่นและการทางานเป็นทีม หลักการให้ความร่วมมือใน
การเล่น การแข่งขนั กีฬาและการทางานเปน็ ทีม การพฒั นาวิธีเล่นกีฬาทเ่ี หมาะสมกบั ตนเอง การสร้างแรงจงู ใจ
และการสร้างความมุ่งมั่นในการเล่นและแข่งขันกีฬา การเลือกใช้บริการทางสุขภาพ ผลกระทบของเทคโนโลยี
ท่ีมีต่อสุขภาพ ความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์ท่ีมีผลต่อสุขภาพ ความสมดุลระหว่างสุขภาพกาย
และสุขภาพจิต ความสมดุลระหว่างสุขภาพกายและสุขภาพจิต วิธีปฏิบัติตนเพื่อจัดการกับอารมณ์และ
ความเครียด เกณฑ์สมรรถภาพทางกาย การพัฒนาสมรรถภาพทางกาย วิธีการ ปัจจัยและแหล่งที่ช่วยเหลือ
ฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด การหลีกเล่ียงพฤติกรรมเสี่ยงและสถานการณ์เสี่ยง ทักษะชีวิตในการป้องกันตนเอง
(ทกั ษะปฏเิ สธ ทกั ษะการต่อรอง ฯลฯ) และหลกี เลยี่ งสถานการณ์คบั ขนั ทอ่ี าจนาไปสอู่ ันตราย
โดยใชก้ ระบวนการ ระบุ อธิบาย จาแนก เปรียบเทียบ วิเคราะห์ วางแผน สรปุ เสนอแนะ ดูแลรักษา
การเคลื่อนไหวร่างกาย การออกกาลังกาย เล่นกีฬาไทย และกีฬาสากลประเภทบุคคลและประเภททีม
หลีกเลี่ยงพฤตกิ รรมเส่ยี งและสถานการณเ์ สย่ี ง
เพื่อให้เห็นความสาคัญของการออกกาลังกายและเล่นกีฬา วินัยในการฝึกและการเล่นกีฬา ต ามกฎ
กติกาและขอ้ ตกลง สรา้ งความมุง่ ม่นั
รหสั ตวั ชี้วดั
พ 1.1 ม.2 /1, ม.2 /2
พ 2.1 ม.2 /1, ม.2 /2, ม.2 /3, ม.2 /4
พ 3.1 ม.2 /1, ม.2 /2, ม.2 /3, ม.2 /4
พ 3.2 ม.2 /1, ม.2 /2, ม.2 /3, ม.2 /4, ม.2 /5
พ 4.1 ม.2 /1, ม.2 /2, ม.2 /3, ม.2 /4, ม.2 /5, ม.2 /6, ม.2 /7
พ 5.1 ม.2 /1, ม.2 /2, ม.2 /3
รวมท้ังหมด 25 ตัวช้ีวัด
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นวดั นาวง
121
คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ (พ้นื ฐำน)
รหสั วชิ ำ พ 23101,พ 23102 สุขศกึ ษำและพลศกึ ษำ กลุ่มสำระกำรเรยี นรสู้ ขุ ศึกษำและพลศึกษำ
ชน้ั มัธยมศึกษำปีที่ 3 เวลำ 80 ช่ัวโมง 2.0 หน่วยกิต ภำคเรียนที่ 1,2
ศึกษาและเข้าใจการเปล่ียนแปลง ด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในแต่ละวัย
อิทธิพลและความคาดหวังของสังคมที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น ส่ือ โฆษณา ที่มีอิทธิพลต่อ
การเจริญเติบโตและพัฒนาการของวัยรุ่น การออกาลังกายและการเล่นกีฬาประเภทบุคคล และประเภททีม
การนาประสบการณ์ แนวคิดจากการออกกาลังกายและเล่นกีฬาไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต
กฎ กติกาและข้อตกลงในการเล่นกีฬาที่เลือกเล่น การประยุกต์ประสบการณ์การปฏิบัติตามกฎ กติกา
ข้อตกลงในการเล่นกีฬาไปใชพ้ ัฒนาคุณภาพชีวิตของตนในสงั คมวิธกี ารประยกุ ตใ์ ชก้ ลวิธีการรกุ และการป้องกัน
ในการเล่นกีฬาได้ตามสถานการณ์ของการเลน่ การพัฒนาสุขภาพตนเองท่ีเกิดจากการออกกาลังกายและการ
เล่นกีฬาเป็นประจา การกาหนดรายการอาหารที่เหมาะสมกับวัยตา่ ง ๆ โดยคานึงถงึ ความประหยัดและคุณค่า
ทางโภชนาการโรคที่เป็นสาเหตุสาคัญของการเจ็บป่วยและการตาย ของคนไทย (โรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อ)
ปัญหาสุขภาพในชุมชน แนวทางแก้ไขปัญหาสุขภาพในชุมชน การวางแผนและจัดเวลาในการออกกาลังกาย
การพักผ่อน และการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย การทดสอบสมรรถภาพทางกายแบบต่าง ๆ และการ
พัฒนาสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ ปัจจัยเสี่ยง และพฤติกรรมเส่ียงต่อสุขภาพ แนวทางการป้องกันความเสี่ยงต่อ
สุขภาพปัญหาและผลกระทบจากการใช้ความรุนแรง วิธีหลีกเลี่ยงการใช้ความรุนแรง อิทธิพลของสื่อต่อ
พฤติกรรมสุขภาพและความรุนแรง (คลปิ วิดโี อ การทะเลาะววิ าท อนิ เทอร์เน็ต เกม ฯลฯ) ความสัมพนั ธ์ของ
การด่มื เคร่ืองดม่ื ทมี่ ีแอลกอฮอล์ต่อสขุ ภาพและการเกดิ อบุ ตั เิ หตุ วธิ กี ารช่วยฟน้ื คนื ชีพ
โดยใช้กระบวนการ ระบุ อธิบาย จาแนก เปรียบเทียบ วิเคราะห์ วางแผน นาเสนอ สรุป เสนอแนะ
ดูแลรักษา การเคล่ือนไหวร่างกาย การออกกาลังกาย เล่นกีฬา ป้องกันความเส่ียง หลีกเล่ียงพฤติกรรมเสี่ยง
และสถานการณ์เสี่ยง
เพ่ือให้เห็นความสาคัญของ การออกกาลังกายและเล่นกีฬา พัฒนาคุณภาพชีวิต กฎ กติกาและ
ข้อตกลง สรา้ งความม่งุ มนั่
รหสั ตวั ชี้วดั
พ 1.1 ม.3 /1, ม.3 /2, ม.3 /3
พ 2.1 ม.3 /1, ม.3 /2, ม.3 /3
พ 3.1 ม.3 /1, ม.3 /2, ม.3 /3
พ 3.2 ม.3 /1, ม.3 /2, ม.3 /3, ม.3 /4, ม.3 /5
พ 4.1 ม.3 /1, ม.3 /2, ม.3 /3, ม.3 /4, ม.3 /5
พ 5.1 ม.3 /1, ม.3 /2, ม.3 /3, ม.3 /4, ม.3 /5
รวมทั้งหมด 24 ตัวช้ีวัด
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดนาวง
122
คำอธิบำยรำยวชิ ำ (พนื้ ฐำน)
รหสั วชิ ำ พ 31101 พลศกึ ษำ กลุม่ สำระกำรเรยี นร้สู ขุ ศกึ ษำและพลศึกษำ
ช้ันมธั ยมศึกษำปีที่ 4 เวลำ 20 ช่ัวโมง 0.5 หนว่ ยกติ ภำคเรยี นท่ี 1
ศึกษาและปฏิบัติตามกาหนดสาระการเรียนรู้ในเรื่อง การเคล่ือนไหวรูปแบบต่าง ๆ สามารถนาไปใช้
ในการเล่นกีฬาไทยและสากล ประเภทบุคคล/คู่ กีฬาประเภททีม นาหลักการและรูปแบบการเคล่ือนไหวไป
สร้างสรรค์ และเป็นแนวคดิ ของกิจกรรมนันทนาการได้
โดยใช้ขบวนการกิจกรรมปฏิบัติ หลักการและรูปแบบการเคลื่อนไหวต่างๆ ในการเล่นกีฬา
วอลเล่ย์บอล โดยใช้ทักษะกีฬาวอลเลย์บอล ได้แก่ การส่งลูก การรับลูก การต้ังลูก การตบลูก เพื่อท่ีจะนา
ทกั ษะพน้ื ฐานนี้ไปใช้ในการเล่นทมี และการแข่งขัน
เพอื่ ใหเ้ กดิ ความรู้ ความเข้าใจ มีเจตคติ ตลอดจนมีทักษะปฏิบตั ิเก่ยี วกับ การสรา้ งเสรมิ และพัฒนา
การเคลื่อนไหวแบบต่างๆ สามารถนาไปใช้ในกีฬาวอลเล่ย์บอลได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ โดยร่วมเล่นและแข่งขัน
อย่างสนุกสนานและปลอดภัย
รหสั ตัวช้ีวดั
พ 3.1 ม.4/1, ม.4/2, ม.4/3, ม.4/4 ,ม.4/5
รวมท้ังหมด 5 ตัวช้วี ดั
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั นาวง
123
คำอธิบำยรำยวชิ ำ (พืน้ ฐำน)
รหสั วชิ ำ พ 31102 สุขศึกษำ กลุ่มสำระกำรเรียนร้สู ขุ ศกึ ษำและพลศึกษำ
ช้นั มัธยมศึกษำปีท่ี 4 เวลำ 20 ช่ัวโมง 0.5 หน่วยกิต ภำคเรยี นที่ 2
ศึกษาให้มีความรู้เรื่อง การสร้างเสริมการทางานของระบบ ผิวหนัง กระดูก และระบบกล้ามเน้ือ
การวางแผนดูแลสขุ ภาพตามภาวะการเจริญเติบโตของตนเองและครอบครัว วางแผนและปฏิบัติตามแผนการ
พัฒนาสุขภาพของตนเองและครอบครัว วิเคราะห์อิทธิพลครอบครัว เพื่อน สังคม และวัฒนธรรมท่ีมีผลต่อ
พฤติกรรมทางเพศและการดาเนินชีวิต วิเคราะห์ค่านิยมในเร่ืองเพศตามวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมอื่นๆ
วิเคราะห์สาเหตุและผลของความขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้นระหว่างนักเรียนหรือเยาวชน และเสนอแนวทาง
แกป้ ัญหา มีสว่ นรว่ มในการป้องกันความเสี่ยงต่อการใช้ยา การใช้สารเสพติด และความรุนแรง เพื่อสขุ ภาพของ
ตนเอง ครอบครัว และสังคม วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดจากการครอบครอง การใช้ และการจาหน่ายสารเสพ
ตดิ ใชท้ ักษะการตัดสินใจแกป้ ัญหาในสถานการณ์ท่ีเสี่ยงต่อสุขภาพและความรุนแรง และสามารถแสดงวิธกี าร
ชว่ ยฟื้นคืนชพี อยา่ งถกู วิธี
ฝึกให้เรียนรู้การทางานร่วมกัน เรียนรู้เร่ืองการวิเคราะห์ใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา ยอมรับฟังความ
คดิ เห็นของผู้อน่ื การฝกึ ปฏิบัตจิ รงิ อาทิ การหาข้อมูล การสบื คน้ ทางอนิ เตอรเ์ นต็
โดยการแสดงบทบาทสมมุติ การจาลองสถานการณ์ การศึกษานอกสถานที่ การรายงาน
การนาเสนอ นักเรียนนาผลงานกระบวนการการเรียนรู้ปรับใช้ในชีวิตได้อย่างมีคุณค่า มีความรับผิดชอบ
มงุ่ มนั่ ในการทางาน อยใู่ นสังคมไดอ้ ย่างมคี วามสขุ
รหัสตัวช้ีวดั
พ 1.1 ม.4/1, ม.4/2
พ 2.1 ม.4/1, ม.4/2, ม.4/4
พ 4.1 ม.4/5
พ 5.1 ม.4/1, ม.4/2, ม.4/6, ม.4/7
รวมทั้งหมด 10 ตัวช้ีวดั
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวัดนาวง
124
คำอธบิ ำยรำยวิชำ (พืน้ ฐำน)
รหัสวชิ ำ พ 32102 พลศกึ ษำ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้สขุ ศึกษำและพลศกึ ษำ
ชนั้ มัธยมศึกษำปที ี่ 5 เวลำ 20 ชั่วโมง 0.5 หน่วยกิต ภำคเรยี นที่ 1
ศึกษาการเคลื่อนไหวเพ่ือเล่นกีฬา และการเล่นกีฬาเพื่อความเป็นเลิศ โดยใช้กระบวนการวิเคราะห์
อภิปราย แลกเปล่ยี นความคิดเหน็ ลงมือปฏิบัตทิ ั้งแบบกลุ่มและแบบเด่ียว มีการบนั ทึกจากการปฏิบัติ เพ่ือนา
ข้อมูลไปวิเคราะหแ์ ละออกแบบหรือสรา้ งทางเลือกเพื่อนาไปพัฒนาการปฏบิ ตั ใิ ห้ดขี ้นึ กวา่ เดิม
เห็นคุณค่าและความสาคัญของการเคล่ือนไหวที่มีผลต่อการทากิจกรรมประจาวัน การออกกาลังกาย
และเล่นกีฬาท่ีมีผลต่อสุขภาพร่างกายและจิตใจ รวมท้ังเห็นคุณค่าของการเล่นกีฬาไทยและกีฬาสากล
ท้ังประเภทบุคคล ประเภทคู่และประเภททีม จนเกิดค่านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ติดตัวผู้เรียน
เพอ่ื เปน็ แนวทางในการสร้างเสรมิ สุขภาพของบคุ คลในครอบครัว ชมุ ชน และสังคม
เพ่ือให้มีความรู้ความเข้าใจมีทักษะในการเคลื่อนไหวกิจกรรมทางกายเห็นคุณค่าประโยชน์รักการ
ออกกาลังกายการเล่นเกมรูปแบบการรุกการป้องกันการทางานเป็นทีมและกีฬามีวินัยเคารพสิทธิกฎกติกา
มีน้าใจนักกีฬามีจิตวิญญาณในการแข่งขันและชื่นชมในความสุนทรียภาพของการกีฬานาไปปฏิบัติเป็นประจา
อยา่ งสม่าเสมอ
รหสั ตวั ช้ีวัด
พ 3.1 ม.5/1, ม.5/2, ม.5/3, ม.5/4, ม.5/5
พ 3.2 ม.5/1 ,ม.5/2, ม.5/3, ม.5/4
พ 4.1 ม.4/7
รวมทั้งหมด 10 ตัวช้ีวัด
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนวดั นาวง
125
คำอธบิ ำยรำยวิชำ (พน้ื ฐำน)
รหสั วิชำ พ 32102 สุขศึกษำ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้สขุ ศึกษำและพลศกึ ษำ
ชั้นมธั ยมศกึ ษำปที ่ี 5 เวลำ 20 ชวั่ โมง 0.5 หนว่ ยกิต ภำคเรียนที่ 1
ศกึ ษาเรื่องการเจรญิ เติบโตและการพัฒนาของมนุษย์ กระบวนการสร้างเสรมิ และ ดารงประสิทธิภาพ
การทางานของ ระบบย่อยอาหาร ระบบขับถ่าย ระบบหายใจ ระบบไหลเวียนโลหิต วิธีการวางแผนดูแล
สุขภาพตามภาวการณ์เจริญเติบโตและพัฒนาการของตนเองและบุคคลในครอบครัว การเลือกใช้ทักษะ
ที่เหมาะสมในการป้องกัน ลดความขัดแย้งและการแก้ปัญหาเรื่องเพศและครอบครัวเพื่อให้มีความรู้
ความเข้าใจการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ ชีวิตและครอบครัวฝึกให้เรียนรู้การทางานร่วมกัน
เรียนรู้เรื่องการวิเคราะห์ใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน การฝึกปฏิบัติจริง อาทิ
การหาขอ้ มลู การสืบค้นทางอินเตอร์เนต็ สาเหตุและเสนอแนวทางการป้องกนั การเจ็บป่วย และการตายของ
คนไทยร้หู ลักการวางแผน และปฏิบัติตามแผนการพัฒนาสุขภาพ ของตนเองและครอบครวั วเิ คราะหป์ จั จยั ท่ีมี
ผลต่อสุขภาพและความรุนแรงของคนไทย วิเคราะห์ผลกระทบท่ีเกิดจากการครอบครอง การใช้และการ
จาหน่ายสารเสพตดิ วางแผนกาหนดแนวทางลดอุบัติเหตุ และสร้างเสรมิ ความปลอดภัยในชุมชน โดยมีส่วน
รว่ มในการสรา้ งเสรมิ ความปลอดภัยในชุมชน เพื่อใหม้ คี วามรู้ ความเข้าใจในการสรา้ งสุขภาพสมรรถภาพการ
ปอ้ งกนั โรคและความปลอดภยั ในชวี ิต
โดยการแสดงบทบาทสมมุติ การจาลองสถานการณ์ การศึกษานอกสถานที่ การรายงาน
การนาเสนอ นักเรียนนาผลงานกระบวนการการเรียนรู้ ปรับใช้ในชีวิตได้อย่างมีคุณค่า อยู่ในสังคมได้อย่างมี
ความสุข นักเรียนมคี วามรับผดิ ชอบ มงุ่ ม่ันในการทางาน มวี นิ ัยยอมรบั การตดั สินใจของหม่คู ณะอย่างมีเหตุผล
ขจัดพฤตกิ รรมท่ีไมพ่ งึ ประสงค์ท่มี ีผลกระทบต่อตนเองและผู้อ่นื
รหัสตัวชี้วัด
พ 3.1 ม.5/1, ม.5/2, ม.5/3
พ 3.2 ม.5/1, ม.5/2, ม.5/3, ม.5/4
พ 4.1 ม.5/4, ม.5/7
พ 5.1 ม.5/3
รวมทั้งหมด 10 ตัวชี้วัด
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นวัดนาวง
126
คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ (พืน้ ฐำน)
รหัสวิชำ พ 33101 พลศึกษำ กลุ่มสำระกำรเรียนรสู้ ุขศกึ ษำและพลศึกษำ
ชนั้ มัธยมศึกษำปที ่ี 6 เวลำ 20 ชวั่ โมง 0.5 หน่วยกติ ภำคเรยี นท่ี 1
ศึกษาความรคู้ วามเข้าใจการเล่นลูกหน้าตาข่ายเพอ่ื ทาคะแนน การป้องกนั การเลน่ เกมรุก การอบอนุ่
รา่ งกายก่อนการฝกึ การพฒั นาสมรรถภาพกล้ามเนือ้ ด้วยการยกนา้ หนัก และ การตัดสิน
เพ่ือให้นักเรียนมีทักษะในการปฏิบัติกีฬาแบดมินตัน มีทักษะพื้นฐานท่ีสาคัญในการเล่นแบดมินตัน
ทักษะพื้นฐานที่สาคัญในการเล่นแบดมินตัน การเล่นลูกหน้ามือ ลูกหลังหลังมือการเล่นลูกโอเวอเฮดทักษะ
การเสิร์ฟ การเล่นลูกหน้าตาข่ายเพื่อทาคะแนน การป้องกัน การเล่นเกมรุก การอบอุ่นร่างกายก่อนการฝึก
การพัฒนาสมรรถภาพกล้ามเน้ือด้วยการยกน้าหนัก และการตัดสิน และมีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานเก่ียวกับ
กฬี าแบดมินตนั
เพ่ือให้นักเรียนมีเจตคติที่ถูกต้องและเหมาะสมเกี่ยวกับกิจกรรมการออกกาลังกายตามความถนัด
และ ความสนใจ และสามารถนาทักษะกีฬาบาสเกตบอลไปใช้ในการออกกาลังกายเพ่ือพัฒนาบุคลิกภาพ
และสมรรถภาพตอ่ ไป
รหสั ตัวชี้วัด
พ 3.1 ม.4/1 , ม.4/2 , ม.4/3 , ม.4/4 , ม.4/5
พ 3.2 ม.4/1 , ม.4/2 , ม.4/3 , ม.4/4, ม.4/7
รวมทั้งหมด 10 ตัวชี้วัด
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นวัดนาวง
127
คำอธบิ ำยรำยวิชำ (พ้ืนฐำน)
รหัสวิชำ พ 33102 สุขศกึ ษำ กลุม่ สำระกำรเรียนรู้สขุ ศึกษำและพลศึกษำ
ช้ันมัธยมศกึ ษำปีที่ 6 เวลำ 20 ชัว่ โมง 0.5 หน่วยกติ ภำคเรยี นท่ี 1
ศึกษาเร่ืองการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ กระบวนการสร้างเสริม ดารงประสิทธิภาพการทางาน
ของระบบประสาท / ระบบสืบพันธ์ ระบบไร้ท่อ / เลือกใช้ทักษะท่ีเหมาะสมในการป้องกัน ลดความขัดแย้ง
และแก้ปัญหาเรื่องเพศและครอบครัว วิเคราะห์สาเหตุและผลของความขัดแย้งท่ีอาจเกิดข้ึนระหว่างนักเรียน
หรือเยาวชนในชุมชนและเสนอแนวทางปอ้ งกัน วางแผนและปฏิบตั ิตามแผนการพัฒนาสุขภาพของตนเองและ
ครอบครัว มีส่วนร่วมในการการสร้างเสริมพัฒนาสุขภาพ สมรรถภาพและป้องกันโรค ของบุคคลในครอบครัว
และชุมชน มีการวางแผน และปฏิบัติตามแผน การพัฒนาสมรรถภาพทางกาย และสมรรถภาพกลไก
วางแผน กาหนดแนวทางลดอุบัติเหตุ ตลอดจนมีส่วนร่วมในการสร้างเสริมความปลอดภัยในชุมชน ใช้ทักษะ
การการตัดสินใจแก้ปัญหา ในสถานการณ์ท่ีเส่ียงต่อสุขภาพและความรุนแรงและสามารถแสดงวิธีการช่วยฟ้ืน
คืนชพี ได้อย่างถูกวิธี
โดยใช้ทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการตัดสินใจและแก้ไขปัญหาในการป้องกัน ลดความขัดแย้ง
และแก้ปัญหา เรื่องเพศและครอบครัวฝึกให้เรียนรู้การทางานร่วมกัน เรียนรู้เรื่องการวิเคราะห์ใช้เหตุผลใน
การแก้ปัญหา ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น การฝึกปฏิบัติจริง อาทิ การหาข้อมูล การสืบค้นทาง
อนิ เตอร์เนต็
การแสดงบทบาทสมมุติ การจาลองสถานการณ์ การศึกษานอกสถานท่ี การรายงาน การนาเสนอ นักเรียน
นาผลงานกระบวนการการเรยี นรู้ปรับใชใ้ นชวี ิตได้อยา่ งมคี ุณค่า มีความรับผิดชอบ มุ่งมน่ั ในการทางาน มีวนิ ัย
ยอมรับการตดั สินใจของหมคู่ ณะอยา่ งมเี หตุผล
รหัสตัวชว้ี ดั
พ 1.1 ม.4/1
พ 2.1 ม.2/3, ม.2/4
พ 4.1 ม.4/5,ม.4-6/1, ม.4-6/2
พ 5.1 ม.4-6/1, ม.4-6/2, ม.4-6/3
รวมทงั้ หมด 9 ตัวช้ีวัด
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนวดั นาวง
128
คำอธิบำยรำยวิชำ (พื้นฐำน)
รหัสวิชำ ศ 11101 ศลิ ปะ 1 กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ศิลปะ
ช้ันประถมศึกษำปที ี่ 1 เวลำ 40 ช่ัวโมง
สำระท่ี 1 ทัศนศิลป์
อภิปรายเกี่ยวกับรูปร่าง ลักษณะ และขนาดของส่ิงต่าง ๆ รอบตัว ในธรรมชาติเช่น ต้นไม้
สายน้า และสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น ได้แก่ บ้าน ตึกแถว โรงเรียน สะพาน บอกความรู้สึกที่มีต่อธรรมชาติ
และส่ิงแวดล้อมรอบตัว เช่น รู้สึกประทับใจกบั ความงามของบริเวณรอบอาคารเรยี น หรือรู้สึกถึงความไม่เป็น
ระเบียบ ของสภาพภายในห้องเรียน มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุ อุปกรณ์สร้างงานทัศนศิลป์ สร้างงาน
ทัศนศลิ ป์โดยการทดลองใชส้ อี ยา่ งง่าย ๆ เชน่ สีนา้ สโี ปสเตอร์ สีเทียนและสจี ากธรรมชาติท่หี าไดใ้ นท้องถนิ่ เช่น
การเปา่ สีด้วยหลอดกาแฟ การหยดสี การขดู สี ด้วยเทคนิคง่าย ๆ วาดภาพระบายสภี าพธรรมชาติ
ตามความรู้สึกของตนเอง เช่น วาดภาพตามความคิดสร้างสรรค์ของตน ระบุและออกแบบงาน
ทศั นศิลป์ในชวี ติ ประจาวันตามจินตนาการของตนเอง เช่น การใชส้ ี การใช้เส้น และการใช้คอมพิวเตอรใ์ นการ
ออกแบบ
สำระท่ี 2 ดนตรี
รู้ว่าสิ่งต่าง ๆ สามารถก่อกาเนิดเสียงท่ีแตกต่างกัน การกาเนิดของเสียงจากธรรมชาติ เช่น
ฟ้าร้อง ฝนตก ฟ้าผ่า แหล่งกาเนิดของเสียงสีสันของเสียง บอกลักษณะของเสียงดัง-เบา (Dynamic)
และความช้า - เร็วของจังหวะฉ่ิง ท่องบทกลอนร้องเพลงง่ายๆ การอ่านบทกลอนประกอบจังหวะ เช่น ฝนตก
แดดออก การรอ้ งเพลงประกอบจังหวะเชน่ เพลงแมงมุม มีสว่ นรว่ มในกิจกรรมดนตรอี ย่างสนุกสนาน กจิ กรรม
ดนตรีการร้องเพลง เช่น เพลงภูมิแผ่นดิน การเคาะจังหวะโดยใช้เครื่องประกอบจังหวะ เช่น ฉ่ิง
การเคล่อื นไหวประกอบบทเพลง เกดิ เป็นไทยตายเพอื่ ไทย ตามความดัง-เบาของบทเพลง ตามความช้าเรว็ ของ
จังหวะ บอกความเก่ียวข้องของเพลงท่ีใช้ในชีวิตประจาวัน เช่น เพลงกล่อมเด็ก เพลงนกขม้ิน บทเพลง
ประกอบการละเล่น รีรีขา้ วสาร เพลงสาคัญ ต่าง ๆ (เพลงชาติไทย เพลงสรรเสริญพระบารมี) เลา่ ถึงเพลงใน
ท้องถน่ิ ที่มาของบทเพลงในท้องถน่ิ ระบสุ ิ่งทีช่ ืน่ ชอบในดนตรที ้องถ่นิ ความน่าสนใจของบทเพลงในท้องถน่ิ
สำระที่ 3 นำฏศิลป์
เลียนแบบการเคล่ือนไหว การเลียนแบบธรรมชาติ ฟ้าร้อง ลมพัด ฝนตก การเลียนแบบคน
สัตว์ สิ่งของ เช่น คนเลี้ยงสัตว์ ท่านก ท่าช้าง ท่าปลา เลียนแบบท่าทางของสัตว์ชนิดต่าง ๆ แสดงท่าทาง
ง่าย ๆ เพื่อส่ือความหมาย แทนคาพูด การใช้ภาษาท่า และการประดิษฐ์ท่าประกอบเพลงเช่นเพลงช้าง
การแสดงประกอบเพลงท่ีเกี่ยวกับธรรมชาติสัตว์เช่น เพลงนกน้อย เพลงม้าว่ิง บอกส่ิงท่ีตนเองชอบ จากการดู
หรอื รว่ มการแสดง การเป็นผ้ชู มท่ีดีมารยาทในการชมการแสดงและมสี ่วนร่วมในการแสดง ระบุการละเลน่ ของ
เด็กไทย มอญซ่อนผ้า วิธีการเล่น กติกา บอกสิ่งท่ีตนเองชอบในการแสดงนาฏศิลป์ ราวงมาตรฐาน เพลงงาม
แสงเดือน รู้และเข้าใจว่าเร่ืองราวที่ใช้ปฏิบัติกิจกรรมนาฏศิลป์และละครสร้างสรรค์ ที่มีมาจากสิ่งแวดล้อม
รอบตัว พฤติกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์และรู้จักภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่เก่ียวข้องกับการแสดง เช่น การละเล่น
พ้นื บ้าน
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั นาวง
129
เพ่ือให้นักเรียนมีความรู้และทักษะในการคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ จินตนาการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์
ดนตรี นาฏศิลป์ และการเห็นคุณค่าทางศิลปะ ซ่ึงทาให้ผู้เรียนสามารถอภิปรายเก่ียวกับรูปร่าง ลักษณะ
และขนาดของสิ่งต่าง ๆ รอบตัวในธรรมชาติและสิ่งท่ีมนุษย์สร้างขึ้นบอกกความรู้สึกท่ีมีต่อธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมรอบตัวมีทักษะพ้ืนฐานในการใช้วัสดุ อุปกรณ์สร้างงานทัศนศิลป์และ สร้างงานทัศนศิลป์โดย
การทดลองใช้สีด้วยเทคนิคง่าย ๆ วาดภาพ ระบายสีภาพธรรมชาติตามความรู้สึกของตนระบุงานทัศนศิลป์
ในชีวติ ประจาวนั รูว้ ่าสง่ิ ต่าง สามารถก่อกาเนดิ เสยี งที่แตกต่างบอกลกั ษณะของเสยี งดัง – เบา และความชา้ เร็ว
ของจังหวะทอ่ งบทกลอนร้องเพลงง่าย ๆ มสี ่วนร่วมในกจิ กรรมดนตรีอย่างสนุกสนานบอกความที่เกี่ยวขอ้ งของ
เพลงที่ใช้ในชีวิตประจาวัน เล่าถึงเพลงในท้องถ่ินระบุส่ิงที่ชื่นชอบในดนตรีท้องถ่ิน เลียนแบบการเคลื่อนไหว
แสดงท่าทางง่าย ๆ เพื่อส่ือความหมายแทนคาพูดบอกส่ิงท่ีตนเองชอบจากการดูหรือร่วมการแสดง ระบุ
และเลน่ การละเลน่ ของเด็กไทยบอกสงิ่ ทตี่ นเองชอบในการแสดงนาฏศิลป์
รหสั ตัวช้ีวัด
ศ 1.1 ป.1/1 ป.1/2 ป.1/3 ป.1/4 ป.1/5
ศ1.2 ป.1/1
ศ 2.1 ป.1/1 ป.1/2 ป.1/3 ป.1/4 ป.1/5
ศ2.2 ป.1/1 ป.1/2
ศ 3.1 ป.1/1 ป.1/2 ป.1/3
ศ 3.2 ป.1/1ป.1/2
รวมทั้งหมด 18 ตัวชี้วัด
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนวดั นาวง
130
คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ (พ้ืนฐำน)
รหสั วิชำ ศ 12101 ศลิ ปะ 2 กลมุ่ สำระกำรเรียนรศู้ ลิ ปะ
ชน้ั ประถมศกึ ษำปีที่ 2 เวลำ 40 ช่ัวโมง
สำระที่ 1 ทัศนศิลป์
บรรยายรูปร่าง รูปทรงที่พบในธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เช่น รูปกลม รี สามเหลี่ยม สี่เหล่ียม
และกระบอกโดยให้ยกตัวอย่างจากผลไม้ รูปเรขาคณิต และ สัตว์ ระบุทัศนธาตุท่ีอยู่ในสิ่งแวดล้อม และงาน
ทัศนศิลป์ โดยเน้นเรื่องเส้น สี รูปร่าง และรูปทรง เช่น งานวาด งานปั้น และงานพิมพ์ภาพ สร้างงาน
ทัศนศิลป์ต่าง ๆ โดยใช้ทัศนธาตุที่เน้นเส้น รูปร่าง มีทักษะพ้ืนฐานในการใช้วัสดุ อุปกรณ์ สร้างงานทัศนศิลป์
3 มิติ ได้แก่ กระดาษ พลาสติก สร้างภาพปะติดโดยการตัดหรือฉีก กระดาษ วาดภาพเพื่อถ่ายทอดเร่ืองราว
เก่ียวกับครอบครัวของตนเองและเพ่ือนบ้านวาดภาพงานประเพณีไทยในท้องถ่ิน เลือกงานทัศนศิลป์ และ
บรรยายถึงสิ่งท่ีมองเห็น รวมถึงเน้ือหาเร่ืองราว วิจารณ์งานศิลปะที่พบเห็น สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์เป็น
รปู แบบงานโครงสร้างเคลื่อนไหว การทาโมบายจากกล่องนม ขวดนม บอกความสาคัญของงานทัศนศิลป์ท่ี
พบเห็นในชีวิตประจาวัน เช่นงานจิตรกรรมฝาผนังวัด งานเคร่ืองป้ันดิน อภิปรายเก่ียวกับงานทัศนศิลป์
ประเภทต่าง ๆ ในท้องถ่ินโดยเน้นถึงวิธีการสร้างงานและวัสดุอุปกรณ์ ที่ใช้ เช่น ภาพจิตกรรมฝาผนังวัด รู้จัก
ผลงานศิลปะในทอ้ งถน่ิ ตนเอง ภาพจิตรกรรมฝาผนังวดั เปน็ ตน้
สำระที่ 2 ดนตรี
จาแนกแหล่งกาเนิด ของเสียงที่ได้ยิน สีสันของเสียงเคร่ืองดนตรี สีสันของเสียงมนุษย์ เช่น
เสียงพูด เสียงตะโกน จาแนกคุณสมบัติของเสียง สูง- ต่า , ดัง-เบา ยาว-ส้ัน ของดนตรี การฝึกโสตประสาท
การจาแนกเสยี ง สูง-ตา่ ดงั -เบา ยาว-สั้น เคาะจงั หวะหรอื เคลอ่ื นไหวร่างกายใหส้ อดคลอ้ งกับเนอ้ื หาของเพลง
การเคล่ือนไหวประกอบเนื้อหาในบทเพลง (เพลงสัตว์ในทุ่งนา) การเล่นเครื่องดนตรีประกอบเพลง ร้องเพลงง่าย
ๆ ที่เหมาะสมกับวัย การขับร้อง (เพลงหน้าท่ีเด็ก) บอกความหมายและความสาคัญ ของเพลงที่ได้ยิน
ความหมายและความสาคัญของเพลงท่ีได้ยิน เช่น เพลงปลุกใจ เพลงเราสู้ เพลงสอนใจ เช่น เพลงค่าน้านม
บอกความสัมพันธ์ของเสียงร้อง เสียงเครื่องดนตรีในเพลงท้องถิ่น โดยใช้คาง่าย ๆ เช่น บทเพลงในท้องถ่ิน
ลักษณะของเสียงร้องในบทเพลง (เช่น เพลงเจ้าขาว) และลักษณะของเสียงเคร่ืองดนตรีท่ีใช้ ในบทเพลง
แสดงและเข้าร่วมกิจกรรมทางดนตรีในท้องถ่ิน กิจกรรมดนตรีในโอกาสพิเศษ เช่น ดนตรีกับโอกาสสาคัญใน
โรงเรยี น (เชน่ วนั เดก็ ) ดนตรีกับวันสาคัญของชาติ (วันแม่ วนั พ่อ) สนใจและเห็นคุณคา่ ดนตรีทเ่ี ป็นมรดกทาง
วฒั นธรรม ภมู ิปญั ญาทอ้ งถนิ่ ภูมปิ ญั ญาไทยและภูมปิ ญั ญาสากล
สำระที่ 3 นำฏศลิ ป์
เคลื่อนไหวขณะอยู่กับที่และเคล่ือนท่ี อย่างมีรูปแบบ การนั่ง(น่ังคุกเข่า นั่งพับเพียบ
นั่งขัดสมาธิ ) การยืน( ยืนตรง ยืนกางขา ยืนขาเดียว) การเดิน(ก้าวยาว ๆ ก้าวสั้น ๆ เดินต่อส้น) แสดงการ
เคล่ือนไหวที่สะท้อนอารมณ์ของตนเองอย่างอิสระ การประดิษฐ์ท่าจากการเคลื่อนไหวอย่างมีรูปแบบ เพลงท่ี
เก่ียวกับส่ิงแวดล้อม เพลงป่าล่ัน แสดงท่าทาง เพื่อสื่อความหมายแทนคาพูด หลักและวิธีการปฏิบัตินาฏศิลป์
การฝึกภาษาท่าสื่อความหมายแทนอากัปกิริยา เช่น ท่ารัก ท่าย้ิม การฝึกนาฏยศัพท์ในส่วนลาตัว(ยักเอว ยัก
ไหล่) แสดงท่าทางประกอบจังหวะอย่างสร้างสรรค์ การใช้ภาษาท่าและนาฏยศัพท์ประกอบจังหวะ (เพลง
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นวัดนาวง
131
ข้ามถนน) ระบุมารยาทในการชมการแสดง การเข้าชมหรือมีส่วนร่วม ระบุและเล่นการละเล่นพ้ืนบ้าน(รีรี
ข้าวสาร,งูกินหาง ) วิธีการเล่น กติกา เช่ือมโยงสิ่งที่พบเห็นในการละเล่นพ้ืนบ้านกับสิ่งที่พบเห็นในการ
ดารงชีวิตของคนไทย ที่มาของการละเล่นพื้นบ้าน (มอญซ่อนผ้า) ระบุสิ่งทชี่ ่ืนชอบและภาคภูมิใจ ในการละเล่น
รู้และเข้าใจว่าเรื่องราว ที่ใช้ปฏิบัติกิจกรรมนาฏศิลป์และละครสร้างสรรค์ ที่มีมาจากสิ่งแวดล้อมรอบตัว
พฤติกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์และรู้จักภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่เกี่ยวข้องกับการแสดง เช่น การละเล่นพื้นบ้านมอญ
ซอ่ นผา้
เพ่ือให้นักเรียนมีความรู้และทักษะในการคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ จินตนาการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์
ดนตรี นาฏศิลป์ และการเห็นคุณค่าของงานศิลปะ ซ่ึงทาให้ผู้เรียนสามารถ บรรยายรูปร่าง รูปทรงท่ีพบใน
ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ระบุทัศนธาตุที่อยู่ในส่ิงแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ โดยเน้นเร่ืองเส้น สี รูปร่าง
และรูปทรง สร้างงานทัศนศิลป์ต่าง ๆ โดยใชท้ ัศนธ์ าตุท่ีเน้นเสน้ รูปร่าง มีทกั ษะพื้นฐานในการใช้วัสดุ อุปกรณ์
สร้างงานทัศน์ศิลป์ 3 มิติ สร้างภาพปะติดโดยการตัดหรือฉีกกระดาษ วาดภาพเพ่ือถ่ายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับ
ครอบครัวของตนเองและเพ่ือนบ้าน เลือกงานทัศนศิลป์และบรรยายถึงส่ิงท่ีมองเห็น รวมถึงเน้ือหาเร่ืองราว
สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์เป็นรูปแบบงานโครงสร้างเคลื่อนไหวบอกความสาคัญของงานทัศนศิลป์ที่ พบเห็นใน
ชีวิตประจาวันอภิปรายเกี่ยวกับงานทัศนศิลป์ ประเภทต่าง ๆ ในท้องถิ่น โดยเน้นถึงวิธีการสร้างงาน และวัสดุ
อุปกรณท์ ี่ใช้ จาแนกแหล่งกาเนิดของเสียงทไี่ ด้ยนิ จาแนกคุณสมบัตขิ องเสียง สูง-ต่า ดัง – เบา ยาว – ส้นั ของ
ดนตรี เคาะจงั หวะหรือเคลื่อนไหวรา่ งกายให้สอดคล้องกับเนือ้ หาของบทเพลง ร้องเพลงงา่ ย ๆ ทเ่ี หมาะสมกับ
วัย บอกความหมายและความสาคัญของเพลงท่ไี ดย้ ิน บอกความสัมพันธ์ของเสียงร้องเสียงเครื่องดนตรีในเพลง
ท้องถิ่นโดยใช้คาง่าย ๆ แสดงและเข้าร่วมกิจกรรมทางดนตรีในท้องถ่ิน เคล่ือนไหวในขณะอยู่กับท่ีและ
เคล่ือนไหว แสดงการเคลื่อนไหวท่ีสะท้อนอารมณ์ของตนเองอย่างอิสระ แสดงท่าทางเพ่ือสื่อความหมายแทน
คาพูด แสดงท่าทางประกอบจังหวะอย่างสร้างสรรค์ ระบุมารยาทในการชมการแสดงระบุและเล่นการละเล่น
พ้นื บ้านเช่ือมโยงสิ่งที่พบเห็นในการละเล่นพื้นบ้านกับสิ่งท่ีพบเห็นในการดารงชีวิตของคนไทยระบุส่ิงที่ช่นื ชอบ
และภาคภูมิใจในการละเล่นพน้ื บ้าน
รหสั ตัวช้ีวดั
ศ 1.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5, ป.2/6, ป.2/7, ป.2/8
ศ 1.2 ป.2/1, ป.2/2
ศ 2.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5
ศ 2.2 ป.2/1 , ป.2/2
ศ 3.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5
ศ 3.2 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3
รวมทั้งหมด 25 ตัวชี้วดั
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดนาวง
132
คำอธบิ ำยรำยวิชำ (พน้ื ฐำน)
รหสั วชิ ำ ศ 13101 ศลิ ปะ 3 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ศลิ ปะ
ชั้นประถมศกึ ษำปีที่ 3 เวลำ 40 ชวั่ โมง
สำระที่ 1 ทศั นศลิ ป์
บรรยาย รูปร่าง รูปทรงในธรรมชาติสิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์ (ก้อนเมฆ ผลไม้ ผล ต้นไม้
สัตว์) ระบุ วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้สร้างผลงานทัศนศิลป์ประเภทงานวาด งานป้ัน งานพิมพ์ภาพ(สีชอล์ก สีน้า ดิน
นา้ มนั ) เมอื่ ชมงานทศั นศิลป์ จาแนกทศั นธาตุของสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาตสิ ิง่ แวดล้อมและงานทัศนศิลป์เชน่ บอก
ลักษณะพ้ืนผิวของเปลือกผลไม้ โลหะ เปลือกไข่ โดยเน้นเร่ือง เส้น สี รูปร่าง รูปทรง และพื้นผิว วาดภาพ
ระบายสีส่ิงของรอบตัว ด้วยสีเทียน ดินสอสี และสีโปสเตอร์ เช่น วาดภาพทิวทัศน์ในโรงเรียนและระบายสี
ด้วยสีเทียน สีน้า สีดินสอ และสีโปสเตอร์ มีทักษะพื้นฐาน ในการใช้วัสดุอุปกรณ์สร้างสรรค์งานป้ัน เช่น
มดี ตะปู และการเก็บรักษาอุปกรณ์ในการป้ัน วาดภาพถา่ ยทอดความคิดความรู้สึก (การจัดองค์ประกอบศิลป์
จากรูปเลขาคณิต) จากเหตุการณ์ชีวิตจริง โดยใช้เส้น รูปร่าง รูปทรง สี และพื้นผิว บรรยายเหตุผลและวิธีการ
ในการสร้างงานทัศนศิลป์ โดยเน้นถึงเทคนิคและวัสดุ อุปกรณ์ ระบุส่ิงท่ีช่ืนชมและสิ่งที่ควรปรับปรุงในงาน
ทัศนศิลป์ของตนเอง เช่นการวิจารณ์ผลงานทางศิลปะ ระบุและจัดกลุ่มของภาพตามทัศนธาตุท่ีเน้นในงาน
ทัศนศิลป์นั้น ๆการจัดกลุ่มของภาพตามทัศนธาตุ เช่น จาแนกภาพลายเส้น ภาพที่เกิดจากการระบายสี
ชนิดต่าง ๆ ภาพที่ใช้เทคนิคจากทดลองสี บรรยายลักษณะรูปร่าง รูปทรง ในงานการออกแบบเช่น การนา
รูปทรงเรขาคณิตมาจัดองค์ประกอบให้เป็นรูปตามท่ีต้องการสิ่งต่าง ๆ ท่ีมีในบ้านและโรงเรียน เล่าถึงที่มาของ
งานทศั นศลิ ปใ์ นทอ้ งถิ่น บอกประวัติความเป็นมาของภาพวาดจิตรกรรมฝาผนังในโบสถ์วัดนาวง อธิบายเกยี่ วกับ
วัสดุอุปกรณ์และวิธีการสร้างงานทัศนศิลป์ในท้องถ่ิน รู้ความเป็นมาของงานทัศนศิลป์ท้องถิ่น รู้จักผลงาน
ศิลปะในทอ้ งถนิ่ ตนเองเช่นประวตั วิ ดั ในชุมชน
สำระท่ี 2 ดนตรี
ระบุรูปร่างลักษณะของเคร่ืองดนตรีท่ีเห็นและได้ยินในชีวิตประจาวันรูปร่างลักษณะของเคร่ือง
ดนตรีไทย แต่ละประเภท (ดีด สี ตี เป่า) เสียงของเครื่องดนตรีไทย ใช้รูปภาพหรือสัญลักษณ์แทนคุณสมบัติ
ของเสียง (สูง-ต่า ดัง-เบา ยาว-ส้ัน) และจังหวะเคาะสัญลักษณ์แทนรูปแบบจังหวะ บอกบทบาทหน้าที่ของ
เพลงท่ีได้ยิน (เพลงชาติ , เพลงสรรเสริญพระบารมี ,เพลงประจาโรงเรียน ) เพลงต่ืนเถิดชาวไทย, เพลง
มาร์ช สดุดีมหาราชา ขับร้องและบรรเลงดนตรีง่าย ๆ การขับร้องเดี่ยวและหมู่ การบรรเลงเคร่ืองดนตรีเช่น
อังกะลุง ประกอบเพลง เคล่ือนไหวท่าทางสอดคล้องกับอารมณ์ของเพลงท่ีฟัง แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับ
เสียงดนตรี เสียงขับร้องของตนเองและผู้อ่ืน คุณภาพเสียงร้อง คุณภาพเสียงดนตรี นาดนตรีไปใช้ใน
ชีวิตประจาวันหรือโอกาสต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ระบุลักษณะเด่นและเอกลักษณ์ของดนตรีในท้องถิ่น
ลักษณะเสียงร้องของดนตรีในท้องถนิ่ ภาษาและเน้ือหาในบทร้องของดนตรีในท้องถิ่น เครื่องดนตรีและวงดนตรีใน
ท้องถิน่ ระบคุ วามสาคญั และประโยชน์ของดนตรีต่อการดาเนนิ ชวี ติ ของคนในท้องถ่ิน ดนตรีในชีวิตประจาวัน
เช่น เพลงข้ามถนน ดนตรีในวาระสาคัญ(เช่น เพลงชาติ เพลงสรรเสริญพระบารมี เพลงมหาฤกษ์ ) สนใจ
และเห็นคุณค่าดนตรีทีเ่ ปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ ภูมิปัญญาไทย และภมู ิปญั ญาสากล ดนตรี
ปีพ่ าทย์มอญ
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนวัดนาวง
133
สำระที่ 3 นำฏศิลป์
สร้างสรรค์การเคลื่อนไหวในรูปแบบต่าง ๆ ในสถานการณ์สั้น ๆ ราวงมาตรฐาน(เพลงชาวไทย)
เพลงพระราชนิพนธเ์ พลงพรปีใหม่ สถานการณ์ส้ัน ๆ สถานการณ์ท่ีกาหนดให้ แสดงท่าทางประกอบเพลงตาม
รูปแบบนาฏศิลป์หลักและวิธีการปฏิบัตินาฏศิลป์ การฝึกภาษาท่าสื่ออารมณ์ของมนุษย์ (เช่น การยิ้ม ดีใจ โกรธ
รัก อาย เศร้า ตัวเรา ร้องไห้) การฝึกนาฏยศัพท์ในส่วนขาเช่น การกระทุ้งเท้า กระดกเท้า สะดุดเท้า
เปรียบเทยี บบทบาทหน้าทขี่ องผแู้ สดงและผชู้ ม(ละคร) มีส่วนร่วมในกจิ กรรมการแสดงท่ีเหมาะสมกับวัย บอก
ประโยชน์ของการแสดงนาฏศิลป์ในชีวิตประจาวัน การบูรณาการนาฏศิลป์กับสาระการเรียนรู้อื่น ๆ เล่าการ
แสดงนาฏศิลป์ท่ีเคยเห็นในท้องถิ่นของตน บทเพลงเจ้าขาว ระบุส่ิงที่เป็นลักษณะเด่นและเอกลักษณ์ของการ
แสดงนาฏศิลป์รูปแบบของราและระบา อธิบายความสาคัญของการแสดงนาฏศิลป์ ที่มาของการแสดง
นาฏศิลป์และสิ่งที่เคารพ รับรู้และสนใจนาฏศิลป์อันเป็นมรดกทางวัฒนธรรมประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น
และสากลการแสดงเพลงพ้นื บา้ น
เพื่อให้นกั เรียนมคี วามรู้และทกั ษะในการคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ จนิ ตนาการสรา้ งสรรค์งานทัศนศลิ ป์
ดนตรี นาฏศิลป์ และการเห็นคุณค่าของงานศิลปะ ซ่ึงทาให้ผู้เรียนสามารถบรรยายรูปร่าง รูปทรงที่พบใน
ธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อมระบุวัสดุ อปุ กรณ์ท่ีใช้สร้างผลงานเม่ือชมงานทัศนศิลป์จาแนกทศั น์ธาตขุ องส่ิงตา่ ง ๆ
ในธรรมชาติส่ิงแวดล้อม และงานทัศนศิลป์ โดยเน้นเรอ่ื ง เส้น สี รูปร่าง รูปทรง และพื้นผิว วาดภาพระบายสี
ส่งิ ของรอบตัว มีทกั ษะพื้นฐานในการใช้วัสดุ อุปกรณ์สรา้ งสรรค์งานป้ัน วาดภาพถ่ายทอดความคิด ความรู้สึก
จากเหตุการณ์ ชีวิตจริง โดยใช้เส้น รูปร่าง รูปทรง สี และพื้นผิวบรรยายเหตุผลและวิธีการในการสร้างงาน
ทัศนศิลป์ โดยเน้นถึงเทคนคิ และวัสดุ อุปกรณ์ ระบุสิ่งที่ช่ืนชมและสิ่งที่ควรปรับปรุงในงานทัศน์ศิลป์ของตนเอ
ง ระบุและจัดกลุ่มของภาพตามทัศนธาตุที่เน้นในงานทัศนศิลป์นั้น ๆ บรรยายลักษณะรูปร่าง รูปทรง ในงาน
การออกแบบส่ิงต่าง ๆ ท่ีมีในบ้านและโรงเรียน เล่าถึงที่มาของงานทัศนศิลป์ในท้องถิ่น อธิบายเก่ียวกับวัสดุ
อุปกรณ์และวิธีการสร้างงานทัศนศิลป์ในท้องถ่ินสร้างสรรค์การเคลื่อนไหวในรูปแบบต่าง ๆ ในสถานการณ์
สนั้ ๆ แสดงท่าทางประกอบเพลงตามรูปแบบนาฏศิลป์ เปรยี บเทียบบทบาทหน้าท่ีของผู้แสดงและผู้ชม มีส่วน
ร่วมในกิจกรรมการแสดงท่ีเหมาะสมกับวัย บอกประโยชน์ของการแสดงนาฏศิลป์ในชีวิตประจาวันเล่าการ
แสดงนาฏศิลป์ท่ีเคยเห็นในท้องถิ่นระบุสิ่งท่ีเป็นลักษณะเด่นและเอกลักษณ์ของการแสดงนาฏศิลป์ อธิบาย
ความสาคญั ของการแสดงนาฏศลิ ป์
รหสั ตวั ช้ีวดั
ศ 1.1 ป.3/1 ป.3/2 ป.3/3 ป.3/4 ป.3/5 ป.3/6 ป.3/7 ป.3/8 ป.3/9 ป.3/10
ศ1.2 ป.3/1 ป.3/2
ศ 2.1 ป.3/1 ป.3/2 ป.3/3 ป.3/4 ป.3/5 ป.3/6 ป.3/7
ศ2.2 ป.3/1 ป.3/2
ศ 3.1 ป.3/1 1ป.3/2 ป.3/3 ป.3/4 ป.3/5
ศ 3.2 ป.3/1 ป.3/2 ป.3/3
รวมท้ังหมด 29 ตัวช้ีวัด
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนวัดนาวง
134
คำอธิบำยรำยวิชำ (พ้ืนฐำน)
รหสั วิชำ ศ 14101 ศิลปะ 4 กลุม่ สำระกำรเรียนร้ศู ลิ ปะ
ชัน้ ประถมศึกษำปีท่ี 4 เวลำ 80 ช่ัวโมง
สำระที่ 1 ทศั นศิลป์
เปรยี บเทียบรูปลกั ษณะของรูปรา่ ง รูปทรงในธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม และงานทัศนศิลป์เช่น บอกถึง
ความแตกต่างระหว่างรูปร่าง และรูปทรงของผลไม้ อภิปรายเกี่ยวกับอิทธิพลของสีวรรณะอุ่นและสีวรรณะเย็น
ที่มีต่ออารมณ์ของมนุษย์ (สีวรรณะอุ่นให้ความรู้สึก ต่ืนเต้นน่ากลัว อันตราย สีวรรณะเย็นให้ความรู้สึกสดช่ืน)
จาแนกทัศนธาตุของส่ิงต่าง ๆ ในธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์โดยเน้นเร่ืองเส้น สี รูปร่าง รูปทรง
พื้นผิว และพ้ืนที่ว่างมีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุอุปกรณ์สร้างสรรค์งานพิมพ์ภาพโดยใช้วัสดุที่หาได้ในท้องถิ่น
เช่น ก้านกล้วยเปลือกไม้ ใบไม้ มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุ อุปกรณ์สร้างสรรค์งานวาดภาพระบายสี เช่น
หลักการใช้สีชอล์กและสีเทียน บรรยายลักษณะของภาพโดยเน้น เร่ืองการจัดระยะ ความลึก น้าหนัก
และแสงเงาในภาพวาดภาพระบายสี(ความสมดุลของภาพ) โดยใช้สีวรรณะอุ่นและสีวรรณะเย็น ถ่ายทอด
ความรู้สึกและจินตนาการ เปรียบเทียบความคิดความรู้สกึ ท่ีถ่ายทอดผ่านงานทัศนศิลป์ของตนเองและบุคคลอ่ืน
ความเหมือนและความแตกต่างในงานทัศนศิลป์ ความคิดความรู้สึกที่ถ่ายทอดในงานทัศนศิลป์ การเลือกใช้
วรรณะสีเพื่อถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึกในการสร้างงานทัศนศิลป์ ระบุ และอภิปรายเก่ียวกับงานทัศนศิลป์
ในเหตุการณ์ และงานเฉลิมฉลอง ของวัฒนธรรมในท้องถ่ิน บรรยายเกี่ยวกับงานทัศนศิลป์ ท่ีมาจากวัฒนธรรม
ตา่ งๆ
สำระท่ี 2 ดนตรี
บอกประโยคเพลงอย่างง่าย โครงสร้างของบทเพลง ความหมายของประโยคเพลง การแบ่ง
ประโยคเพลงจาแนกประเภทของเครื่องดนตรีที่ใช้ในเพลงท่ีฟัง ประเภทของเครื่องดนตรี (ดีด สี ตี เป่า)
เสียงของเครื่องดนตรีแต่ละประเภทระบุทิศทางการเคล่ือนที่ข้ึน – ลงง่าย ๆของทานองรูปแบบจังหวะและ
ความเร็ว ของจังหวะในเพลงที่ฟังอ่าน เขียนโน้ตดนตรีไทยและสากลเคร่ืองหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี
กุญแจประจาหลักบรรทัดห้าเส้นโน้ตและเครื่องหมายหยุดเส้นกั้นห้อง โครงสร้างโน้ตเพลงไทย การแบ่งห้อง
การแบ่งจังหวะ การร้องเพลงโดยใช้ช่วงเสียงที่เหมาะสมกับตนเอง การขับร้องเพลงในบันไดเสียงท่ีเหมาะสม
กับตนเอง การใช้และการดูแลรักษาเคร่ืองดนตรีอย่างถูกต้องและปลอดภัย ระบุว่าดนตรีสามารถใช้ในการ
ส่ือเรื่องราว ความหมายของเน้ือหาในบทเพลงบอกแหล่งที่มาและความสัมพันธ์ ของวถิ ีชีวิตไทย ที่สะทอ้ นใน
ดนตรีและเพลงท้องถิ่น ความสัมพันธ์ของวิถีชีวิตกับผลงานดนตรี เน้ือหาเร่ืองราวในบทเพลงกับวิถีชีวิตโอกาสใน
การบรรเลงดนตรี ระบุความสาคัญในการอนุรกั ษส์ ่งเสริมวัฒนธรรมทางดนตรี การอนุรักษ์วัฒนธรรมทางดนตรี
ความสาคัญและความจาเป็นในการอนุรักษ์ แนวทางในการอนุรักษ์จัดการแสดงและร่วมกิจกรรมดนตรี โดย
แสดงออกถึงความซาบซ้ึงท่ีเกี่ยวข้องกับมรดกทางวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล การ
เปา่ ขลุ่ย
สำระที่ 3 นำฏศลิ ป์
ระบุทักษะพื้นฐานทางนาฏศิลป์และการละครท่ีใช้ส่ือความหมายและอารมณ์ หลักและวิธกี าร
ปฏิบัตินาฏศิลป์ การฝึกภาษาท่า การฝึกนาฏยศัพท์ การใช้ภาษาท่าและนาฏยศัพท์ประกอบเพลงปลุกใจ
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดนาวง
135
(ขอไทยอยู่เป็นไทย) และเพลงพระราชนิพนธ์ (เพลงพรปีใหม่) หรือศัพท์ทางการละครง่าย ๆ ในการถ่ายทอด
เร่ืองราว แสดง การเคลื่อนไหวในจังหวะต่าง ๆ ตามความคิดของตนการประดิษฐ์ท่าทางหรือท่าราประกอบ
จังหวะพื้นเมือง (เพลงฟ้อนเงยี้ ว) แสดงนาฏศิลป์เป็นคู่ และหมู่ ราวงมาตรฐาน ระบา ราวงพน้ื บ้าน การเล่า
ส่ิงท่ีชื่นชอบในการแสดงโดยเน้นจุดสาคัญของเรื่องและลักษณะเด่น ของตัวละคร วรรณคดีไทย อธิบายประวัติ
ความเป็นมาของนาฏศิลป์ หรือที่มาของชุดการแสดงอย่างง่าย ๆ ระบานกเขาขะแม เปรียบเทียบการแสดง
นาฏศิลป์กับการแสดงที่มาจากวัฒนธรรมอื่น การชมการแสดง ฟ้อนมาลัย นาฏศิลป์ การแสดงของท้องถ่ิน
รามอญ อธิบายความสาคัญของการแสดงความเคารพในการเรียนและการแสดงนาฏศิลป์ ความเป็นมาของ
นาฏศิลป์ การทาความเคารพก่อนเรียนและก่อนแสดง ระบุเหตุผลท่ีควรรักษา และสืบทอดการแสดงนาฏศิลป์
ความเป็นมาและคุณค่าของนาฏศิลป์ รับรู้และสนใจนาฏศิลป์อันเป็นมรดกทางวัฒนธรรมประเพณี ภูมิปัญญา
ท้องถิน่ ภมู ิปญั ญาไทยและสากล
เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และทักษะในการคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ จินตนาการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์
ดนตรี นาฏศิลป์ และการเห็นคุณค่าของงานศิลปะ ซ่ึงทาให้ผู้เรียนสามารถเปรียบเทียบรูปลักษณะของรูปร่าง
รูปทรงในธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ อภิปรายเกี่ยวกับ อิทธิพลของสีวรรณะอุ่นและสีวรรณะเย็น
ท่ีมีต่ออารมณ์ของมนุษย์ จาแนกทัศน์ธาตุของส่ิงต่าง ๆ ในธรรมชาติส่ิงแวดล้อม และงานทัศนศิลป์ โดยเน้น
เร่ือง เส้น สี รูปร่าง รูปทรง และพื้นผิวและพื้นที่ว่าง มีทักษะพ้ืนฐานในการใช้วัสดุ อุปกรณ์สร้างสรรค์งานพิมพ์
ภาพ มีทักษะพ้ืนฐานในการใช้วัสดุ อุปกรณ์สร้างสรรค์งานวาดภาพระบายสี บรรยายลกั ษณะของภาพ โดยเน้น
เร่ืองการจัดระยะ ความลึก น้าหนัก และแสงเงาในภาพ วาดภาพระบายสี โดยใช้สีวรรณะอุ่น และสีวรรณะเย็น
ถ่ายทอดความรสู้ ึกและจินตนาการ เปรียบเทียบความคิด ความรู้สึกที่ถา่ ยทอดผ่านงานทัศนศิลป์ของตนเองและ
บคุ คลอื่นเลือกใชว้ รรณะสี เพ่ือถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกในการสร้างภาพ ทศั นศิลป์ ระบุและอภิปรายเก่ียวกับ
งานทศั นศิลป์ ในเหตุการณ์และงานเฉลิมฉลองของวัฒนธรรมในท้องถิ่น บรรยายเกี่ยวกับงานทัศนศิลป์ท่ีมาจาก
วัฒนธรรมต่าง ๆ ระบุทักษะพ้ืนฐานทางนาฏศิลป์และการละครท่ีใช้สื่อความหมายและอารมณ์ ใช้ภาษาท่า
และนาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละครง่าย ๆ ในการถ่ายทอดเร่ืองราว แสดงการเคล่ือนไหวในจังหวะต่าง ๆ
ตามความคิดของตน แสดงนาฏศิลป์เป็นคู่และหมู่ เล่าส่ิงที่ช่ืนชอบในการแสดงโดยเน้นจุดสาคัญของเรื่อง
และลักษณะเด่นของตัวละคร อธิบายประวัติความเป็นมาของนาฏศิลป์หรือชุดการแสดงอย่างง่าย ๆ
เปรียบเทียบการแสดงนาฏศิลป์กับการแสดงท่ีมาจากวัฒนธรรมอื่น อธิบายความสาคัญของการแสดงความ
เคารพในการเรยี นและการแสดงนาฏศิลป์ ระบเุ หตุผลท่คี วรรกั ษาและสืบทอดการแสดงนาฏศิลป์
รหสั ตวั ช้ีวดั
ศ 1.1 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ป.4/4 ป.4/5 ป.4/6 ป.4/7ป.4/8ป.4/9
ศ 1.2 ป.4/1 ป.4/2
ศ 2.1 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ป.4/4 ป.4/5 ป.4/6 ป.4/7
ศ 2.2 ป.4/1 ป.4/2
ศ 3.1 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ป.4/4 ป.4/5
ศ 3.2 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ป.4/4
รวมท้ังหมด 25 ตัวชี้วดั
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนวดั นาวง
136
คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ (พน้ื ฐำน)
รหสั วิชำ ศ 15101 ศลิ ปะ 5 กลมุ่ สำระกำรเรยี นรศู้ ิลปะ
ชนั้ ประถมศึกษำปที ่ี 5 เวลำ 80 ช่ัวโมง
สำระที่ 1 ทัศนศิลป์
บรรยายเก่ียวกับจังหวะตาแหน่งของสิ่งต่าง ๆ ท่ีปรากฏในส่ิงแวดล้อม และงานทัศนศิลป์
เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างงานทัศนศิลป์ รูปร่าง รูปทรง พื้นผิว เส้น โดยการเปรียบเทียบความ
แตกต่างระหว่างงานทัศนศิลป์ ที่สร้างสรรค์ด้วยวัสดุ อุปกรณ์และวิธีการที่แตกต่างกัน การวาดภาพ โดยใช้
เทคนิคของแสงเงา น้าหนัก และวรรณะสี เพ่ือสร้างภาพศิลปะที่สมบรูณ์ ภาพจากสีธรรมชาติ เช่นใบไม้
สร้างสรรค์งานปั้นจาก ดินน้ามัน หรือดินเหนียว โดยเน้นการถ่ายทอดจินตนาการ การสร้างงานปั้นเพื่อ
ถา่ ยทอดจินตนาการด้วยการใช้ดินน้ามัน หรือดินเหนียว ป้ันเหตุการณ์ในชุมชน ประเพณีตักบาตรพระทางน้า
สร้างสรรค์งานพิมพ์ภาพ เช่นความสมดุลของภาพซ้าย ขวา หน้า หลัง โดยเน้น การจัดวางตาแหน่ง
ของส่ิงต่าง ๆ ในภาพ ระบุปัญหาในการจัดองค์ประกอบศิลป์ และการส่ือความหมายในงานทัศนศิลป์ของตนเอง
และบอกวิธกี ารปรับปรุงงานให้ดขี ้นึ บรรยายประโยชน์และคุณค่าของงานทัศนศลิ ป(์ ระบุเป็นรายขอ้ ) ทีม่ ผี ลต่อ
ชีวิตของคน ในสังคม ระบุและบรรยายเก่ียวกับลักษณะรูปแบบของงานทัศนศิลป์ในแหล่งเรียนรู้หรือ
นิทรรศการศิลปะ อภิปรายเก่ียวกับงานทัศนศิลป์ ที่สะท้อนวัฒนธรรมและภูมิปัญญา ในท้องถ่ิน อภิปรายภูมิ
ปัญญาของการสร้างงานทัศนศิลป์การสืบทอดการทางานศิลปะท่ีเกี่ยวข้องกับวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญา
ท้องถ่ินและสากล ความเปน็ มาของโบราณสถานและโบราณวัตถใุ นชมุ ชน จิตรกรรมฝาผนังวดั นาวง
สำระที่ 2 ดนตรี
ระบุองค์ประกอบดนตรีในเพลงที่ใช้ในการส่ืออารมณ์ จังหวะกับอารมณ์ของบทเพลง ทานอง
กับอารมณ์ของบทเพลง จาแนกลักษณะของเสียงขับร้องและเคร่ืองดนตรีท่ีอยู่ในวงดนตรีประเภทต่าง ๆ เช่น
กลุ่มเพลงไทยเดิม กลุ่มเพลงลูกทุ่ง กลุ่มเพลงป๊อบ กลุ่มเพลงร็อก ลักษณะของเสียงนักร้องกลุ่มต่าง ๆ เช่น
วงดนตรีไทย วงลูกทุ่ง วงดนตรีสากล ลักษณะเสียงของวงดนตรีประเภทต่าง ๆ อ่าน เขียนโน้ตดนตรีไทย
และสากล 5 ระดับเสียง เคร่ืองหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี บันไดเสียง 5 เสียง Pentatonic scale
โน้ตเพลงในบันไดเสียง 5 เสียง Pentatonic scale ใช้เครื่องดนตรีบรรเลงจังหวะ และทานองการบรรเลง
เคร่ืองประกอบจังหวะ ฉิ่ง ฉับ กรับ โหม่ง การบรรเลงทานองด้วยเครื่องดนตรี ขลุ่ย ร้องเพลงไทยหรือเพลง
สากลหรือเพลงไทยสากลที่เหมาะสมกับวัย การร้องเพลงไทยในอัตราจังหวะสองชั้น ลาวเสี่ยงเทียน การร้อง
เพลงสากล หรอื ไทยสากล การร้องเพลงประสานเสียงแบบ Canon Round การด้นสดงา่ ย ๆ โดยใชป้ ระโยค
เพลงแบบถามตอบ เพลงเต้นการาเคียว การสร้างสรรค์ประโยคเพลงถาม-ตอบ ใช้ดนตรีร่วมกับกิจกรรม
ในการแสดงออกตามจินตนาการการบรรเลงดนตรีประกอบกิจกรรมนาฏศิลป์ การสร้างสรรค์เสียง
ประกอบการเลา่ เรื่อง การเล่านิทานประกอบท่าทางและเสียง อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีกับประเพณี
ในวัฒนธรรมต่าง ๆ ดนตรีกับงานประเพณี บทเพลงในงานประเพณีในท้องถ่ิน บทบาทของดนตรีในแต่ละ
ประเพณี อธิบายคุณค่าของดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมที่ต่างกัน คุณค่าของดนตรีจากแหล่งวัฒนธรรม คุณค่า
ทางสังคม คุณค่าทางประวัติศาสตร์ จัดการแสดงและร่วมกิจกรรมดนตรี โดยแสดงออกถึงความซาบซึ้ง
ทเี่ กี่ยวขอ้ งกับมรดกทางวัฒนธรรมภมู ิปญั ญาท้องถ่ิน ภมู ิปัญญาไทยและสากล การเป่าขลุ่ย
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนวดั นาวง
137
สำระท่ี 3 นำฏศิลป์
บรรยายองค์ประกอบนาฏศิลป์ องค์ประกอบของนาฏศิลป์ จังหวะ ทานอง คาร้อง ภาษาท่า
นาฏยศัพท์ ภาษาท่าประกอบเพลงเพ่ือนไทย อุปกรณ์ การแสดงท่าทางประกอบเพลงหรือเร่ืองราวตาม
ความคิดของตน เพลงนกขม้ิน การแสดงนาฏศิลป์ โดยเน้นการใช้ภาษาท่าและ นาฏยศัพท์ในการสื่อ
ความหมายและการแสดงออก (ระบา ฟ้อน ราวงมาตรฐาน)เพลงดอกไม้ของชาติ รามาซิมารา มีส่วนร่วมใน
กลุ่มกับการเขียน เค้าโครงเร่ืองหรือบทละครสั้น ๆ นิทานเตือนสติสอนใจ นิทานพื้นบ้าน องค์ประกอบของ
ละคร การเลือกและเขยี นเคา้ โครงเรื่อง บทละครสนั้ ๆ เปรียบเทียบการแสดงนาฏศลิ ปช์ ุดตา่ ง ๆ ที่มาของการ
แสดงนาฏศิลป์ชุดต่าง ๆ โขน ระบา บอกประโยชน์ท่ีได้รับจากการชม การแสดง หลักการชมการแสดง
นาฏศิลป์ไทยและละครเวที การถ่ายทอดความรู้สึกและคุณค่าของการแสดง นาฏศิลป์ไทยและละครเวที
เปรียบเทียบการแสดงประเภทต่าง ๆ ของไทย ในแต่ละท้องถ่ิน การแสดงนาฏศิลป์ประเภทต่าง ๆ การแสดง
พื้นบ้านของแต่ละภาค ระบุหรือแสดงนาฏศิลป์ นาฏศิลป์พ้ืนบ้านที่สะท้อนถึงวัฒนธรรมและประเพณี การ
แสดงพ้ืนบ้านสะบ้ามอญ พึงพอใจและยอมรับในภูมิปัญญาของการสร้างผลงานการสืบทอดนาฏศิลป์
ท่ีเกยี่ วข้องกบั วฒั นธรรม ภูมิปญั ญาท้องถน่ิ ภูมิปญั ญาไทยและสากล
เพ่ือให้นักเรียนมีความรู้และทักษะในการคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ จินตนาการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์
ดนตรี นาฏศิลป์ และการเห็นคุณค่าทางศิลปะ ซ่ึงทาให้ผู้เรียนสามารถ บรรยายเกี่ยวกับจังหวะ ตาแหน่ง
ของสิ่งต่าง ๆ ที่ปรากฏในส่ิงแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างงานทัศนศิลป์
ที่ สร้างสรรค์ด้วยวัสดุ อุปกรณ์และวิธีการที่แตกต่างกัน วาดภาพ โดยใช้เทคนิคของแสงเงา น้าหนัก
และวรรณะสี สรา้ งสรรค์งานป้ันจากดินน้ามัน หรอื ดินเหนยี ว โดยเนน้ การถ่ายทอดจนิ ตนาการ สร้างสรรค์งาน
พิมพ์ภาพ โดยเน้น การจัดวางตาแหน่งของสิ่งต่าง ๆ ในภาพ ระบุปัญหาในการจัดองค์ประกอบศิลป์
และการส่ือ ความหมายในงานทัศน์ศิลป์ของตนและบอกวิธีการปรับปรุงงานให้ดีขึ้นบรรยายประโยชน์
และคุณค่าของงานทัศนศิลป์ท่ีมี ผลต่อชีวิตของคนในสังคม ระบุและบรรยายเกี่ยวกับลักษณะรูปแบบของงาน
ทัศนศิลป์ในแหล่งเรียนรู้หรือนิทรรศการศิลปะ อภิปรายเก่ียวกับงานทัศนศิลป์ที่สะท้อนวัฒนธรรม
และภูมปิ ัญญาในท้องถน่ิ ระบอุ งค์ประกอบดนตรใี นเพลงท่ใี ชใ้ นการสื่ออารมณ์ จาแนกลักษณะของเสยี งขับรอ้ ง
และเคร่ืองดนตรีที่อยู่ในวงดนตรีประเภทต่าง ๆ อ่าน เขียน โน้ตดนตรีไทยและสากล 5 ระดับเสียง ใช้เครื่อง
ดนตรีบรรเลงจังหวะและทานอง ร้องเพลงไทย หรือ เพลงสากลได้ หรือเพลงไทยสากลท่ีเหมาะสมกับวัย
ด้นสดง่าย ๆโดยใช้ประโยคเพลงแบบการ ถาม- ตอบ ใช้ดนตรีร่วมกับกิจกรรมในการแสดงออกตาม
จินตนาการ อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีกับประเพณีวัฒนธรรม ต่าง ๆ อธิบายคุณค่าของดนตรี
ท่ีมาจากวัฒนธรรมท่ีต่างกัน บรรยายองค์ประกอบนาฏศิลป์ แสดงท่าทางประกอบเพลงหรือเรื่องราวตาม
ความคิดของตน แสดงนาฏศิลป์โดยเน้นการใช้ภาษาท่า และ นาฏยศัพท์ ในการสื่อความหมาย และการ
แสดงออก มีส่วนร่วมในกลุ่มกับการเขียนเค้าโครงเร่ืองหรือบทละครส้ัน ๆ เปรียบเทียบการแสดงนาฏศิลป์ชุด
ต่างๆบอกประโยชน์ที่ได้รับจากการชมการแสดง เปรียบเทียบการแสดงประเภทตา่ งๆ ของ ไทยระบุหรอื แสดง
นาฏศิลป์ นาฏศลิ ป์ พ้ืนบ้านทส่ี ะท้อนถึงวฒั นธรรมและประเพณี
รหสั ตัวช้ีวดั
ศ 1.1 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4 ป.5/5 ป.5/6 ป.5/7
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนวัดนาวง
138
ศ 1.2 ป.5/1 ป.5/2
ศ 2.1 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4 ป.5/5 ป.5/6 ป.5/7
ศ 2.2 ป.5/1 ป.5/2
ศ 3.1 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4 ป.5/5 ป.5/6
ศ 3.2 ป.5/1 ป.5/2
รวมทั้งหมด 26 ตัวช้ีวัด
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นวดั นาวง
139
คำอธิบำยรำยวิชำ (พน้ื ฐำน)
รหัสวิชำ ศ 16101 ศิลปะ 6 กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ศลิ ปะ
ช้นั ประถมศกึ ษำปีที่ 6 เวลำ 80 ช่ัวโมง
สำระท่ี 1 ทศั นศิลป์
ระบุสีคู่ตรงข้าม และอภิปรายเก่ียวกับการใช้สีคู่ตรงข้ามในการถ่ายทอดความคิด
และอารมณ์ วงสีธรรมชาติ และสีคตู่ รงข้าม สีท่ไี ด้จากธรรมชาติ เชน่ ใบไม้ เปลือกไม้ อธิบายหลักการจัดขนาด
สัดส่วนความสมดุลในการสร้างงานทัศนศิลป์ สร้างงานทัศนศิลป์จากรูปแบบ 2 มิติ เป็น 3 มิติเช่น การทา
ภาพปะติด หรือการทาหนังสือทามือ โดยใช้หลักการของแสงเงาและน้าหนัก สรา้ งสรรคง์ านป้ันโดยใช้หลักการ
เพ่ิมและลด เครื่องปั้นดินเผาเกาะเกร็ด สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์โดยใช้หลักการ ของรูปและพ้ืนที่ว่าง สร้างสรรค์
งานทัศนศิลป์ โดยใช้สีคู่ตรงข้ามหลักการจัดขนาดสัดส่วน และความสมดุล สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพ
แผนผัง และภาพประกอบ ภาพจากสถานการณ์ ภาพประเพณีในท้องถ่ินนาวง เช่น ประเพณีตักบาตรออก
พรรษา เพ่ือถ่ายทอดความคิดหรือเร่ืองราวเก่ียวกับเหตุการณ์ต่าง ๆ บรรยายบทบาทของงานทัศนศิลป์
ทสี่ ะท้อนชีวติ และสังคม อภปิ รายเกย่ี วกบั อิทธิพลของความเชื่อความศรัทธาในศาสนาที่มีผลต่องานทัศนศิลป์
ในท้องถิ่นเช่น ประเพณีในชุมชน ระบุ และบรรยายอิทธิพลทางวัฒนธรรมในท้องถ่ินที่มีผลต่อการสร้างงาน
ทัศนศิลป์ของบุคคล อาชีพในท้องถิ่น สนใจรักและเข้าใจร่วมกิจกรรมมรดกทางศิลปวัฒนธรรมประเพณีใน
ท้องถ่ินพึงพอใจและยอมรับในภูมิปัญญาของการสร้างงานทัศนศิลป์การสืบทอดการทางานศิลปะท่ีเก่ียวข้อง
กบั วฒั นธรรม ประเพณี ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่ินและสากล งานจิตกรรมฝาผนัง ลายกนกตา่ ง ๆ
สำระท่ี 2 ดนตรี
บรรยายเพลงที่ฟัง โดยอาศัยองค์ประกอบดนตรี และศัพท์สังคีต จาแนกประเภทและบทบาท
หน้าท่ี เครื่องดนตรีไทยและเคร่ืองดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมต่าง ๆ ประเภทของเครื่องดนตรีสากล อ่าน
เขียนโน้ตไทย และโน้ตสากลทานองง่าย ๆ เครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี โน้ตบทเพลงไทย อัตรา
จังหวะสองชั้น โน้ตบทเพลงสากลในบันไดเสียง c เมเจอร์ การใช้เครื่องดนตรีบรรเลงประกอบการร้องเพลง
ดน้ สด ท่ีมีจังหวะและทานองง่าย ๆ การร้องเพลงประกอบดนตรี เพลงพม่าเขว การสร้างสรรค์รูปแบบจังหวะ
และทานองด้วยเคร่ืองดนตรีไทยและสากล บรรยายความรู้สึกที่มีต่อดนตรี แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับทานอง
จังหวะการประสานเสียง และคุณภาพเสียงของเพลงที่ฟัง การบรรยายความรสู้ ึกและแสดงความคิดเห็นท่มี ีต่อ
บทเพลง เน้ือหาในบทเพลง เพลงลาวดวงเดือน เพลงนนทบุรี องค์ประกอบในบทเพลง คุณภาพเสียงในบท
เพลง อธิบายเรื่องราวของดนตรไี ทยในประวัติศาสตร์ จาแนกดนตรีทม่ี าจากยุคสมัยท่ีตา่ งกนั อภิปรายอทิ ธิพล
ของวัฒนธรรมต่อดนตรีในท้องถ่ิน ดนตรีไทยในประวัติศาสตร์ ดนตรีในเหตุการณ์สาคัญทางประวัติศาสตร์
ดนตรีในยุคสมยั ต่างๆ อทิ ธพิ ลของวฒั นธรรมที่มีต่อดนตรีจัดการแสดงและร่วมกิจกรรมดนตรี โดยแสดงออกถึง
ความซาบซึ้งทีเ่ ก่ียวข้องกับมรดกทางวัฒนธรรมภมู ิปัญญาท้องถิ่น ภูมปิ ญั ญาไทยและสากล การเปา่ ขลุ่ย ดนตรี
ปพี่ าทยม์ อญ
สำระท่ี 3 นำฏศิลป์
สร้างสรรค์การเคลื่อนไหวและการแสดงโดยเน้นการถ่ายทอดลีลาหรืออารมณ์ การประดิษฐ์
ท่าทางประกอบเพลงปลุกใจ เพลงเราสู้ หรือเพลงพ้ืนเมืองหรือท้องถน่ิ เน้นลีลาหรืออารมณ์ เพลงเต้นการาเคียว
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนวดั นาวง
140
ออกแบบเครื่องแต่งกาย หรืออุปกรณ์ประกอบการแสดงอย่างง่าย ๆ เพลงระบาไก่ แสดงนาฏศิลป์และละคร
งา่ ย ๆ (ราวงมาตรฐาน ระบา ฟ้อน ละครสรา้ งสรรค์) บรรยายความรู้สึกของตนเองท่ีมีต่องานนาฏศลิ ปแ์ ละการ
ละครอย่างสร้างสรรค์บทบาทและหน้าที่ในงานนาฏศิลป์และการละคร แสดงความคิดเห็นในการชมการแสดง
หลักการชมการแสดง การวิเคราะห์ ความรู้สึกชื่นชม อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์และการละครกับ
สิ่งท่ีประสบในชีวิตประจาวัน องค์ประกอบทางนาฏศิลป์และการละคร ละครสร้างสรรค์ อธิบายสิ่งที่มี
ความสาคัญต่อการแสดงนาฏศิลป์และละคร ความหมาย ความเป็นมา ความสาคัญ ของนาฏศิลป์และละคร
บุคคลสาคัญ ศิลปินแห่งชาติ สาขาการแสดงและคุณค่าระบุประโยชน์ท่ีได้รับจากการแสดงหรือการชมการ
แสดงนาฏศิลป์และละคร การแสดงนาฏศิลป์และละครในวันสาคัญของโรงเรียนเชน่ วันสุนทรภู่ วันภาษาไทย
วันแม่ วันพ่อ เป็นต้น จัดการแสดงและร่วมกิจกรรมดนตรี โดยแสดงออกถึงความซาบซึ้งท่ีเกี่ยวข้องกับมรดก
ทางวฒั นธรรมภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ ภมู ปิ ัญญาไทยและสากล
เพ่ือให้นักเรียนมีความรู้และทักษะในการคิดรเิ รมิ่ สร้างสรรค์ จนิ ตนาการสรา้ งสรรค์งานทัศนศิลป์
ดนตรี นาฏศิลป์ และการเห็นคณุ ค่าทางศลิ ปะ ซ่ึงทาให้ผ้เู รียนสามารถ ระบุสีคู่ตรงข้าม และอภิปรายเก่ียวกับ
การใช้สีคู่ตรงข้ามในการถ่ายทอดความคิดและอารมณ์ อธิบายหลักการจัดขนาด สัดส่วน ความสมดุลในการ
สร้างงานทัศนศิลป์ สร้างงานทัศนศิลป์จากรูปแบบ 2 มิติ เป็น 3 มิติ โดยใช้ หลักการของแสงเงาและน้าหนัก
สร้างสรรค์งานปั้นโดยใช้หลักการเพิ่มและลด สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์โดยใช้หลักการของรูปและพ้ืนท่ีว่าง
สร้างสรรคง์ านทัศนศลิ ป์โดยใช้สีคู่ตรงข้าม หลักการจัดขนาด สัดส่วน และความสมดุล สร้างงานทัศนศลิ ป์เป็น
แผนภาพ แผนผัง และ ภาพประกอบเพื่อถ่ายทอดความคิด หรือ เร่ืองราวเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่าง ๆ บรรยาย
บทบาทของงานทัศนศิลป์ที่สะท้อนชีวิตและสังคม อภิปรายเกี่ยวกับอิทธิพลของความเช่ือความศรัทธา
ในศาสนาที่มีผลต่องานทัศนศิลป์ในท้องถิ่น ระบุและบรรยายอิทธิพลทางวัฒนธรรมในท้องถ่ินท่ีมีผลต่อการ
สร้างงานทัศน์ศิลป์ของบุคคล บรรยายเพลงที่ฟังโดยการอาศัยองค์ประกอบดนตรีและศัพท์สังคีต จาแนก
ประเภทและบทบาทหน้าท่ีเคร่ืองดนตรีไทยและเคร่ืองดนตรีท่ีมาจากวัฒนธรรมต่างๆ อ่าน เขียนโน้ตไทย
และโน้ตสากลทาเพลงง่าย ๆ ใช้เคร่ืองดนตรีประกอบการร้องเพลงด้นสด ท่ีมีจังหวะและทาเพลงง่าย ๆ
บรรยายความรู้สึกที่มีต่อดนตรี แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับทานองจังหวะ การประสานเสียงและคุณภาพเสียง
ของเพลงที่ฟัง อธิบายส่ิงท่ีมีความสาคัญต่อการแสดง นาฏศิลป์และละครระบุประโยชน์ท่ีได้รับจากการแสดง
หรือ การชมการแสดงนาฏศิลป์และการละคร
รหสั ตัวชี้วดั
ศ 1.1 ป.6/ 1 ป.6/2 ป.6/3 ป.6/4 ป.6/5 ป.6/6
ศ 1.2 ป.6/1 ป.6/2 ป.6/3
ศ 2.1 ป.6/ 1 ป.6/2 ป.6/3 ป.6/4 ป.6/5 ป.6/6
ศ 2.2 ป.6/1 ป.6/2 ป.6/3
ศ 3.1 ป.6/ 1 ป.6/2 ป.6/3 ป.6/4 ป.6/5 ป.6/6
ศ 3.2 ป.6/1 ป.6/2
รวมท้ังหมด 27 ตัวชี้วัด
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนวดั นาวง
141
คำอธิบำยรำยวชิ ำ (พ้นื ฐำน)
รหัสวิชำ ศ 21101, ศ 21104 ทศั นศิลป์ กลุ่มสำระกำรเรยี นรูศ้ ลิ ปะ
ชั้นมธั ยมศกึ ษำปที ่ี 1 เวลำ 40 ช่วั โมง 1.0 หน่วยกติ ภำคเรยี นที่ 1,2
ศึกษาเรื่องความแตกต่าง และความคล้ายคลึงกันของทัศนธาตุในงานทัศนศิลป์และส่ิงแวดล้อม
ความเป็นเอกภาพ ความกลมกลืน ความสมดุล หลักการวาดภาพแสดงทัศนียภาพ เอกภาพความกลมกลืน
ของเร่ืองราวในงานปั้นหรือส่ือผสม การออกแบบรูปแบบภาพ สัญลักษณ์หรืองานกราฟฟิก การประเมินงาน
ทัศนศิลป์ ศึกษาลักษณะรูปแบบงานทัศนศิลป์ของชาติและท้องถ่ิน งานทัศนศิลป์ของภาคต่าง ๆ ในประเทศ
ไทย ความแตกต่างของงานทศั นศลิ ปใ์ นวัฒนธรรมไทยและสากล
เพื่ อ ใ ห้ นั ก เรี ย น ส า ม า ร ถ บ ร ร ย า ย ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง แ ล ะ ค ว า ม ค ล้ า ย ค ลึ ง กั น ข อ ง ง า น ทั ศ น ศิ ล ป์
และสิ่งแวดล้อมโดยใช้ความรู้เร่ืองทัศนธาตุ สามารถระบุและบรรยายหลักการออกแบบงานทัศนศิลป์
โดยเน้นความเป็นเอกภาพ ความกลมกลืนและความสมดุล วาดภาพทัศนียภาพแสดงให้เห็นระยะไกลใกล้
เป็น 3 มิติ รวบรวมงานปั้นหรือส่ือผสมมาสร้างเป็นเร่ืองราว 3 มิติ โดยเน้นความเป็นเอกภาพ
ความกลมกลืนและการส่ือถึงเร่ืองราวของงาน ออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์หรือกราฟฟิกอื่น ๆ ในการ
นาเสนอความคิดและข้อมูล ประเมินงานทัศนศิลป์ และบรรยาย ถึงวิธีการปรบั ปรุงงานของตนเอง และผู้อ่ืน
โดยใช้เกณฑ์ที่กาหนดให้ สามารถระบุและบรรยายเกี่ยวกับลักษณะรูปแบบงานทัศนศิลป์ของชาติและของ
ท้องถิ่นตนเองจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ระบุและเปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ของภาคต่าง ๆ ในประเทศไทย
เปรยี บเทียบความแตกตา่ งของจุดประสงคใ์ นการสรา้ งสรรคง์ านทัศนศิลปข์ องวัฒนธรรมไทยและสากล
รหสั ตวั ช้ีวดั
ศ 1.1 ม. 1/1 ม. 1/2 ม. 1/3 ม. 1/4 ม. 1/5 ม.1/6
ศ 1.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3
รวมท้ังหมด 9 ตัวช้วี ัด
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นวดั นาวง
142
คำอธิบำยรำยวชิ ำ (พ้นื ฐำน)
รหสั วิชำ ศ 21102, ศ 21105 วิชำดนตรี กลมุ่ สำระกำรเรียนร้ศู ิลปะ
ชั้นมัธยมศกึ ษำปที ี่ 1 เวลำ 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกติ ภำคเรียนท่ี 1,2
ศึกษาและปฏิบัติเก่ียวกับการจัดหมวดหมู่เครื่องดนตรีไทยตามประเภทและหน้าท่ีก ารผสมผสาน
เครื่องดนตรีไทยเป็นวงดนตรีทฤษฏีโน้ตสากล เทคนิคการบรรเลงดนตรีไทย ศัพท์สังคีต การขับร้องเพลง
การสร้างสรรค์ผลงานทางดนตรี การดูแลรักษาเครื่องดนตรี องค์ประกอบของดนตรี ระดับเสียงของเคร่ือง
ดนตรี บทบาทของดนตรีท่ีมีต่อชีวิตและสังคมจุดกาเนิดของเครื่องดนตรีแต่ละชนิด ท่ีมา และประเภทของ
เครอื่ งดนตรพี ้ืนบา้ น เครื่องดนตรีไทย และเคร่อื งดนตรสี ากล อธิบายอิทธพิ ลของนักแสดงชอ่ื ดังท่ีมีผลต่อการ
โน้มน้าวอารมณ์หรือความคิดของผู้ชม ศึกษานาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละครในการแสดง การแสดง
นาฏศิลปใ์ นรูปแบบง่ายๆ ใช้ทักษะการทางานเป็นกลุ่ม บรรยายประเภทของละครไทยในแตล่ ะยุคสมยั
กิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้สังเกตภาพและศึกษาใบความรู้ แล้วคิดวิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์
จาแนกประเภท เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่าง อธิบาย วาดภาพรวมทั้งสรุปเป็นแผนภาพ
ความคิด
เพื่อให้ผู้เรยี นสร้างและนาเสนอผลงานดา้ นดนตรีให้ได้ผลตามท่ีต้องการ สามารถส่ือสารใหผ้ ู้อื่นเข้าใจ
ความคิด ความรู้สึกของตนเอง เข้าใจในความไพเราะของดนตรี บรรยายและอธิบายเก่ียวกับดนตรี
นาฏศิลป์ได้สัมพันธ์เช่ือมโยงกับประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม นาความรู้ด้านดนตรีและการขับร้องการแสดง
นาฏศลิ ป์ไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจาวัน และประกอบการเรียนรู้ในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้อ่ืน ๆ ตลอดจนเห็น
ความสาคัญของการสร้างสรรค์งานดนตรีและนาฏศิลป์ เช่ือม่ัน ภาคภูมิใจในการแสดงออก รับผิดชอบ
มุ่งม่ันในการปฏิบัติงานร่วมกับผู้อ่ืน ซาบซ้ึง เห็นคุณค่า รักและหวงแหนดนตรีนาฏศิลป์ซ่ึงเป็นมรกดทาง
วัฒนธรรม ภมู ปิ ัญญาไทยและสากล
รหัสตวั ช้ีวัด
ศ 2.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7 ม.1/8 ม.1/9
ศ 2.2 ม.1/1 ม.1/2
ศ 3.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5
ศ 3.2 ม.1/1ม.1/2
รวมทั้งหมด 18 ตัวช้ีวัด
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนวัดนาวง
143
คำอธิบำยรำยวิชำ (พ้ืนฐำน)
รหสั วชิ ำ ศ 21103, ศ 21106 วิชำนำฏศลิ ป์ กลุ่มสำระกำรเรยี นรศู้ ลิ ปะ
ชัน้ มธั ยมศึกษำปีที่ 1 เวลำ 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกติ ภำคเรียนท่ี 1,2
ศึกษาและปฏิบัติเก่ียวกับการจัดหมวดหมู่เครื่องดนตรีไทยตามประเภทและหน้าท่ีการผสมผสาน
เคร่ืองดนตรีไทยเป็นวงดนตรีทฤษฏีโน้ตสากล เทคนิคการบรรเลงดนตรีไทย ศัพท์สังคีต การขับร้องเพลง
การสร้างสรรค์ผลงานทางดนตรี การดูแลรักษาเครื่องดนตรี องค์ประกอบของดนตรี ระดับเสียงของเคร่ือง
ดนตรี บทบาทของดนตรีท่ีมีต่อชีวิตและสังคมจุดกาเนิดของเครื่องดนตรีแต่ละชนิด ที่มา และประเภทของ
เครื่องดนตรพี น้ื บา้ น เคร่ืองดนตรีไทย และเคร่อื งดนตรสี ากล อธิบายอิทธิพลของนักแสดงชอ่ื ดังทม่ี ีผลต่อการ
โน้มน้าวอารมณ์หรือความคิดของผู้ชม ศึกษานาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละครในการแสดง การแสดง
นาฏศิลปใ์ นรปู แบบงา่ ยๆ ใชท้ กั ษะการทางานเปน็ กลมุ่ บรรยายประเภทของละครไทยในแต่ละยคุ สมยั
กิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้สังเกตภาพและศึกษาใบความรู้ แล้วคิดวิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์
จาแนกประเภท เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่าง อธิบาย วาดภาพรวมท้ังสรุปเป็นแผนภาพ
ความคดิ
เพ่ือให้ผูเ้ รียนสรา้ งและนาเสนอผลงานด้านดนตรีให้ได้ผลตามที่ตอ้ งการ สามารถส่อื สารใหผ้ ู้อืน่ เข้าใจ
ความคิด ความรู้สึกของตนเอง เข้าใจในความไพเราะของดนตรี บรรยายและอธิบายเกี่ยวกับดนตรี
นาฏศิลป์ได้สัมพันธ์เชื่อมโยงกับประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม นาความรู้ด้านดนตรีและการขับร้องการแสดง
นาฏศิลป์ไปประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจาวัน และประกอบการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรยี นรู้อ่ืน ๆ ตลอดจนเห็น
ความสาคัญของการสร้างสรรค์งานดนตรีและนาฏศิลป์ เชื่อมั่น ภาคภูมิใจในการแสดงออก รับผิดชอบ
มุ่งม่ันในการปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่น ซาบซึ้ง เห็นคุณค่า รักและหวงแหนดนตรีนาฏศิลป์ซึ่งเป็นมรกดทาง
วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทยและสากล
รหสั ตวั ช้ีวัด
ศ 2.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7 ม.1/8 ม.1/9
ศ 2.2 ม.1/1 ม.1/2
ศ 3.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5
ศ 3.2 ม.1/1ม.1/2
รวมท้ังหมด 18 ตัวช้ีวัด
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวัดนาวง
144
คำอธิบำยรำยวิชำ (พ้ืนฐำน)
รหัสวิชำ ศ 22101, ศ 22104 ทัศนศลิ ป์ กลุม่ สำระกำรเรียนรู้ศิลปะ
ชน้ั มัธยมศกึ ษำปีที่ 2 เวลำ 40 ชัว่ โมง 1.0 หน่วยกติ ภำคเรียนที่ 1,2
ศึกษารูปแบบของทัศนธาตุและแนวคิดในงานทัศนศิลป์ ความเหมือนและความแตกต่างของรูปแบบ
การใช้วัสดุ อุปกรณ์ในงานทัศนศิลป์ของศิลปิน เทคนิคในการวาดภาพส่ือความหมาย การประเมินและ
วิจารณ์งานทัศนศิลป์ การพัฒนางานทัศนศิลป์ การจัดทาแฟ้มสะสมงานทัศนศิลป์ การวาดภาพถ่ายทอด
บุคลิกลักษณะของตัวละคร งานทัศนศิลป์ในการโฆษณา วัฒนธรรมที่สะท้อนในงานทัศนศิลป์ปัจจุบัน
งานทศั นศลิ ปข์ องไทยในแต่ละยุคสมัย การออกแบบงานทัศนศิลปใ์ นวัฒนธรรมไทยและสากล
ผู้เรียนสามารถอภิปรายเกี่ยวกับทัศนธาตุในด้านรูปแบบและแนวคิดของงานทัศนศิลป์ที่เลือกมา
บรรยายเกี่ยวกับความเหมือนและความแตกต่างของรูปแบบการใช้วัสดุ อุปกรณ์ในงานทัศนศิลป์ของศิลปิน
วาดภาพด้วยเทคนิคที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราวต่าง ๆ สามารถสร้างเกณฑ์ในการ
ประเมินและวิจารณ์งานทัศนศิลป์ นาผลการวิจารณ์ไปปรับปรุงแก้ไขและพัฒนางาน วาดภาพแสดง
บุคลิกลักษณะของตัวละคร บรรยายวธิ ีการใช้งานทัศนศิลป์ในการโฆษณาเพื่อโน้มน้าวใจและนาเสนอตัวอย่าง
ประกอบ สามารถระบุและบรรยายเก่ียวกับวัฒนธรรมต่าง ๆ ที่สะท้อนถึงงานทัศนศิลป์ในปัจจุบัน บรรยาย
ถึงการเปล่ียนแปลงของงานทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัยโดยเน้นถึงแนวคิดและเน้ือหาของงาน สามารถ
เปรยี บเทยี บแนวคดิ ในการออกแบบงานทัศนศลิ ป์ทม่ี าจากวฒั นธรรมไทยและสากล
รหสั ตัวช้ีวัด
ศ 1.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6 ม.2/7
ศ 1.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3
รวมทั้งหมด 10 ตัวช้ีวดั
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนวัดนาวง
145
คำอธิบำยรำยวชิ ำ (พ้นื ฐำน)
รหัสวชิ ำ ศ 22102, ศ 22105 วชิ ำดนตรี กลุม่ สำระกำรเรียนร้ศู ลิ ปะ
ชั้นมธั ยมศกึ ษำปีท่ี 2 เวลำ 40 ชวั่ โมง 1.0 หน่วยกติ ภำคเรยี นที่ 1,2
ให้ผู้เรียนได้ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องดีดและเครื่องสี การจาแนก
ประเภท การผสมวงและการใช้เครื่องดนตรีประเภทเครื่องสาย ระดับเสียงที่ใช้กับดนตรีไทย เสียงที่ใช้ในวง
ดนตรีไทย การร้องเพลงไทยและเพลงไทยเดิม อัตราจังหวะของดนตรีไทย หน้าที่และชนิดของจังหวะใน
ดนตรไี ทยและดนตรีท้องถนิ่ ของตน รปู แบบ ลักษณะ ชนิดของบทเพลงไทยและการนาเพลงไทยไปใช้ในการ
บรรเลงดนตรีไทย การเพมิ่ ค่าตัวโนต้ โดยการประจดุ ความแตกต่างของการเขยี นโน้ตอตั ราธรรมดา 3 พยางค์
2 พยางค์ ลักษณะการใช้และการดูแลรักษาเคร่ืองลมไม้และเคร่ืองลมทองเหลือง การขับร้องเพลงสากลที่
ถูกต้องตามหลักการ วิธีการและโน้ตเพลง การดูแลรักษาเสียง ลักษณะของขลุ่ยรีคอร์เดอร์ชนิดต่าง ๆ
การเป่าขลุ่ยรีคอร์เดอร์ท่ีถูกต้องและเหมาะสมตามโน้ตเพลงที่กาหนดให้ สร้างสรรค์การแสดงโดยใช้
องค์ประกอบของนาฏศิลป์และการละคร การใช้นาฏยศัพท์ อธิบายศิลปะการแสดงแขนงอ่ืน ๆ ศึกษาหลัก
และวิธกี ารแสดงนาฏศลิ ป์ นาฏศลิ ป์พืน้ บา้ น ละครไทย ละครพื้นบา้ น
กิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนสังเกตภาพ ฟังแถบบันทึกเสียงเพลง ศึกษาใบความรู้และฝึกปฏิบัติ
แล้วคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ จาแนก จากนั้นอธิบาย อภิปรายกลุ่มวาดภาพ และสรุปความรู้เป็นแผนภาพ
ความคดิ
เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอธิบายหรือบรรยายความรู้ท่ีเกี่ยวกับดนตรีไทย ดนตรีท้องถ่ิน ดนตรีสากล
และการขับร้องเพลงสากลได้สอดคล้องกับประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม สร้างและนาเสนอผลงานทางด้าน
ดนตรี โดยใช้ทักษะพ้ืนฐานให้ได้ผลตามต้องการและสามารถสื่อสารให้ผู้อ่ืนเข้าใจได้ นาความรู้ท่ีได้ไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันและการเรียนรู้กลุ่มสาระอ่ืน ๆ ตลอดจนเห็นความสาคัญของการสร้างสรรค์งาน
ทางด้านดนตรี เชื่อมั่น ภาคภูมิใจในการแสดงผลงาน รับผิดชอบ มุ่งมั่นในการปฏิบัติตนร่วมกับผู้อ่ืน
ซาบซึง้ เห็นคณุ คา่ รัก หวงแหนดนตรีซเ่ึ ป็นมรดกทางวฒั นธรรมภูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ ภมู ิปัญญาไทยและสากล
รหสั ตวั ช้ีวดั
ศ 2.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6 ม.2/7
ศ 2.2 ม.2/1ม.2/2
ศ 3.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5
ศ 3.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3
รวมทั้งหมด 17 ตัวชี้วดั
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดนาวง
146
คำอธบิ ำยรำยวิชำ (พน้ื ฐำน)
รหัสวิชำ ศ 22103, ศ 22106 วิชำนำฏศิลป์ กลุ่มสำระกำรเรียนร้ศู ิลปะ
ช้ันมธั ยมศึกษำปที ่ี 2 เวลำ 40 ชัว่ โมง 1.0 หน่วยกติ ภำคเรยี นที่ 1,2
ให้ผู้เรียนได้ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับเคร่ืองดนตรีไทยประเภทเคร่ืองดีดและเครื่องสี การจาแนก
ประเภท การผสมวงและการใช้เครื่องดนตรีประเภทเคร่ืองสาย ระดับเสียงที่ใช้กับดนตรีไทย เสียงท่ีใช้ในวง
ดนตรีไทย การร้องเพลงไทยและเพลงไทยเดิม อัตราจังหวะของดนตรีไทย หน้าที่และชนิดของจังหวะใน
ดนตรไี ทยและดนตรีท้องถ่ินของตน รูปแบบ ลักษณะ ชนิดของบทเพลงไทยและการนาเพลงไทยไปใช้ในการ
บรรเลงดนตรไี ทย การเพิ่มค่าตัวโน้ตโดยการประจดุ ความแตกต่างของการเขียนโนต้ อตั ราธรรมดา 3 พยางค์
2 พยางค์ ลักษณะการใช้และการดูแลรักษาเคร่ืองลมไม้และเครื่องลมทองเหลือง การขับร้องเพลงสากลท่ี
ถูกต้องตามหลักการ วิธีการและโน้ตเพลง การดูแลรักษาเสียง ลักษณะของขลุ่ยรีคอร์เดอร์ชนิดต่าง ๆ
การเป่าขลุ่ยรีคอร์เดอร์ท่ีถูกต้องและเหมาะสมตามโน้ตเพลงที่กาหนดให้ สร้างสรรค์การแสดงโดยใช้
องค์ประกอบของนาฏศิลป์และการละคร การใช้นาฏยศัพท์ อธิบายศิลปะการแสดงแขนงอื่น ๆ ศึกษาหลัก
และวิธีการแสดงนาฏศิลป์ นาฏศลิ ปพ์ ืน้ บ้าน ละครไทย ละครพืน้ บ้าน
กิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนสังเกตภาพ ฟังแถบบันทึกเสียงเพลง ศึกษาใบความรู้และฝึกปฏิบัติ
แล้วคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ จาแนก จากน้ันอธิบาย อภิปรายกลุ่มวาดภาพ และสรุปความรูเ้ ป็นแผนภาพ
ความคิด
เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอธิบายหรือบรรยายความรู้ที่เก่ียวกับดนตรีไทย ดนตรีท้องถิ่น ดนตรีสากล
และการขับร้องเพลงสากลได้สอดคล้องกับประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม สร้างและนาเสนอผล งานทางด้าน
ดนตรี โดยใช้ทักษะพ้ืนฐานให้ได้ผลตามต้องการและสามารถส่ือสารให้ผู้อื่นเข้าใจได้ นาความรู้ท่ีได้ไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันและการเรียนรู้กลุ่มสาระอ่ืน ๆ ตลอดจนเห็นความสาคัญของการสร้างสรรค์งาน
ทางด้านดนตรี เช่ือมั่น ภาคภูมิใจในการแสดงผลงาน รับผิดชอบ มุ่งม่ันในการปฏิบัติตนร่วมกับผู้อ่ืน
ซาบซึ้ง เหน็ คุณค่า รัก หวงแหนดนตรีซ่ึเป็นมรดกทางวัฒนธรรมภูมิปญั ญาท้องถ่ิน ภมู ิปัญญาไทยและสากล
รหัสตัวชี้วดั
ศ 2.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6 ม.2/7
ศ 2.2 ม.2/1ม.2/2
ศ 3.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5
ศ 3.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3
รวมทั้งหมด 17 ตัวชี้วัด
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนวัดนาวง
147
คำอธบิ ำยรำยวิชำ (พน้ื ฐำน)
รหสั วชิ ำ ศ 23101, ศ 23104 ทัศนศลิ ป์ กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ศลิ ปะ
ช้นั มัธยมศกึ ษำปีที่ 3 เวลำ 40 ช่ัวโมง 1.0 หน่วยกิต ภำคเรยี นที่ 1,2
ศึกษาเรื่องทัศนธาตุ หลกั การออกแบบ ในสิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์ เทคนิค วิธีการของศิลปิน
ในการสร้างงานทัศนศิลป์ วิธีการใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสร้างงานทัศนศิลป์ การสร้างงาน
ทัศนศิลป์ท้ังไทยและสากล การใช้หลักการออกแบบในการสร้างงานสื่อผสม การสร้างงานทัศนศิลป์แบบ 2
มิติ และ 3 มิติ เพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และจินตนาการ การประยุกต์ใช้ทัศนธาตุและหลักการ
ออกแบบสร้างงานทัศนศิลป์ การวเิ คราะห์รูปแบบ เน้ือหาและคุณค่าในงานทัศนศิลป์ การใช้เทคนิค วิธกี าร
ทห่ี ลากหลายสร้างงานทัศนศิลป์เพื่อส่ือความหมาย การประกอบอาชพี ทางทัศนศิลป์ และการจดั นทิ รรศการ
ศึกษาเรื่องงานทัศนศิลป์กับการสะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรม ความแตกต่างของงานทัศนศิลป์ ในแต่ละยุค
สมยั ของวฒั นธรรมไทยและสากล
ผู้เรียนสามารถบรรยายสิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ที่เลือกมา โดยใช้ความเร่ืองทัศนธาตุ
และหลักการออกแบบ ระบุและบรรยายเทคนิค วิธีการของศิลปินในการสร้างงานทัศนศิลป์ วิเคราะห์
และบรรยายวิธีการใช้ทัศนธาตุ และหลักการออกแบบในการสร้างงานทัศนศิลปืของตนเองให้มีคุณภาพ
มีทักษะในการสร้างงานทัศนศิลป์อย่างน้อย 3 ประการ มีทักษะในการผสมผสานวัสดุต่าง ๆ ในการสร้างงาน
ทัศนศิลป์โดยใช้หลักการออกแบบ สร้างงานทัศนศิลป์ ท้ัง 2 มิติ และ3 มิติ เพ่ือถ่ายถอดประสบการณ์
และจินตนาการ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเร่ืองราว โดยประยุกต์ใช้ทัศนธาตุและหลักการ
ออกแบบ วิเคราะห์และอภิปรายรูปแบบเน้ือหา และคุณค่าในงานทัศนศิลป์ของตนเองและผู้อ่ืน หรือของ
ศิลปิน สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์เพ่ือบรรยายเหตุการณ์ต่าง ๆ โดยใช้เทคนิคที่หลากหลาย ระบุอาชีพ
ที่เก่ียวข้องกับงานทัศนศิลป์และทักษะที่จาเป็นในการประกอบอาชีพน้ัน ๆ เลือกงานทัศนศิลป์โดยใช้เกณฑ์
ที่กาหนดข้ึนอย่างเหมาะสม และนาไปจัดนิทรรศการ ศึกษาและอภิปรายเก่ียวกับงานทัศนศิลป์ที่สะท้อน
คุณค่าของวัฒนธรรม เปรียบเทียบความแตกต่างของงานทัศนศิลป์ในแต่ละยุคสมัยของวัฒนธรรมไทย
และสากล
รหสั ตัวชี้วัด
ศ 1.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7 ม.3/8 ม.3/9 ม.3/10
ม.3/11
ศ 1.2 ม.3/1 ม.3/2
รวมทั้งหมด 13 ตัวช้ีวัด
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวดั นาวง
148
คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ (พน้ื ฐำน)
รหสั วชิ ำ ศ 23102, ศ 23105 วชิ ำดนตรี กลมุ่ สำระกำรเรียนรูศ้ ิลปะ
ช้นั มธั ยมศกึ ษำปที ่ี 3 เวลำ 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกติ ภำคเรยี นที่ 1,2
ให้ผู้เรียนได้ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับลักษณะของการดนตรีไทยในสมัยอยุธยา ความเป็นมาของ
วงมโหรีไทย หลักการเทียบเสียงในวงมโหรี ประเภทและเสยี งที่บรรเลงในวงมโหรไี ทยหลักทีใ่ ช้ในการบรรเลง
วงมโหรีไทย องค์ประกอบ ประเภทและเทคนิคการขับร้องเพลงไทย ความแตกต่างของเทคนิคการขับร้อง
เพลงไทย ความสัมพันธ์ระหว่างประโยคเพลงกับจังหวะ จังหวะสามัญและอัตราจังหวะของเพลงไทย
ประเภทของจังหวะ ความสาคัญของฉิ่งท่ีใช้ตีจังหวะในบทเพลงลักษณะของเพลงไทย ชนิดของอัตราจังหวะ
การใช้หน้าทับกับการบรรเลง ประเภท ลักษณะ และหน้าท่ีของเคร่ืองตีไม้ ประเภทของเครื่องตีท่ีทาด้วยไม้
วิธีการใช้และดูแลรักษาเครื่องตีไม้ ดีด สีและเป่า องค์ประกอบของการฟังเพลงและประเภทของการ
ฟังเพลง การวิจารณ์ดนตรีบรรเลงของผู้ขับร้อง เคร่ืองดนตรีท่ีใช้ในพระราชพิธีและพิธีประชาชน การแสดง
ดนตรีในพิธีกรรม ประวัติ ลักษณะประเภทของวงเชมเบอร์มิวสิก และความสาคัญของการบรรเลงวงเชม
เบอร์มิวสิก วิธีการหายใจสาหรับการขับร้อง ประเภทของการขับร้องประสานเสียง ขับร้องตามทานอง
และจังหวะเพลงได้เหมาะสมกับการหายใจ องค์ประกอบของดนตรี องคป์ ระกอบของการบรรเลงดนตรีสากล
ความหมายของหอ้ งเพลงและทฤษฏีดนตรีสากล ประเภท วิธีการใช้ และการดูแลรักษาเคร่ืองดนตรปี ระกอบ
จังหวะของดนตรีสากลและการวิเคราะห์เพลงสากล
กิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนฟังแถบบันทึกเสียงเพลง แล้วคิดวิเคราะห์ วิจารณ์และฝึกปฏิบัติ
จากนนั้ สรปุ เปน็ แผนภาพความคดิ
เพื่อให้ผู้เรียนสร้างและนาเสนอผลงานด้านดนตรี โดยเลือกและประยุกต์องค์ประกอบดนตรี
และทักษะพ้ืนฐานให้ได้ผลตามต้องการ ตลอดจนส่ือสารให้ผู้อ่ืนเข้าใจผลงานของตนเองได้ สามารถบรรยาย
และอธิบายความรู้ทางด้านดนตรีได้เก่ียวข้องกับประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมนาความรู้ทางด้านดนตรีไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน และการเรียนรู้กลุ่มสาระอ่ืน ๆ เห็นความสาคัญของการสร้างสรรค์งานดตรี
เช่ือม่ัน ภาคภูมิใจในการแสดงออก รับผิดชอบมุ่งม่ันในการปฏิบัติงานร่วมกับผู้อ่ืน ซาบซ้ึง เห็นคุณค่ารัก
หวงแหนดนตรซี ่งึ เป็นมรดกทางวฒั นธรรมภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่ิน ภูมปิ ญั ญาไทยและสากล
รหสั ตัวช้ีวัด
ศ 2.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7
ศ 2.2 ม.3/1 ม.3/2
ศ 3.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7
ศ 3.2 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3
รวมท้ังหมด 19 ตัวชี้วัด
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนวัดนาวง
149
คำอธบิ ำยรำยวิชำ (พ้นื ฐำน)
รหัสวชิ ำ ศ 23103, ศ 23106 วชิ ำนำฏศิลป์ กล่มุ สำระกำรเรยี นรศู้ ลิ ปะ
ช้นั มัธยมศึกษำปที ่ี 3 เวลำ 40 ช่ัวโมง 1.0 หน่วยกิต ภำคเรยี นที่ 1,2
ให้ผู้เรียนได้ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับลักษณะของการดนตรีไทยในสมัยอยุธยา ความเป็นมาของ
วงมโหรไี ทย หลักการเทียบเสยี งในวงมโหรี ประเภทและเสียงทบี่ รรเลงในวงมโหรไี ทยหลักทใ่ี ช้ในการบรรเลง
วงมโหรีไทย องค์ประกอบ ประเภทและเทคนิคการขับร้องเพลงไทย ความแตกต่างของเทคนิคการขับร้อง
เพลงไทย ความสัมพันธ์ระหว่างประโยคเพลงกับจังหวะ จังหวะสามัญและอัตราจังหวะของเพลงไทย
ประเภทของจังหวะ ความสาคัญของฉิ่งท่ีใช้ตีจังหวะในบทเพลงลักษณะของเพลงไทย ชนิดของอัตราจังหวะ
การใช้หน้าทับกับการบรรเลง ประเภท ลักษณะ และหน้าท่ีของเคร่ืองตีไม้ ประเภทของเคร่ืองตีที่ทาด้วยไม้
วิธีการใช้และดูแลรักษาเคร่ืองตีไม้ ดีด สีและเป่า องค์ประกอบของการฟังเพลงและประเภทของการ
ฟังเพลง การวิจารณ์ดนตรีบรรเลงของผู้ขับร้อง เครื่องดนตรีท่ีใช้ในพระราชพิธีและพิธีประชาชน การแสดง
ดนตรีในพิธีกรรม ประวัติ ลักษณะประเภทของวงเชมเบอร์มิวสิก และความสาคัญของการบรรเลงวงเชม
เบอร์มิวสิก วิธีการหายใจสาหรับการขับร้อง ประเภทของการขับร้องประสานเสียง ขับร้องตามทานอง
และจังหวะเพลงได้เหมาะสมกับการหายใจ องค์ประกอบของดนตรี องค์ประกอบของการบรรเลงดนตรีสากล
ความหมายของหอ้ งเพลงและทฤษฏีดนตรีสากล ประเภท วธิ ีการใช้ และการดูแลรกั ษาเครอ่ื งดนตรปี ระกอบ
จงั หวะของดนตรีสากลและการวิเคราะหเ์ พลงสากล
กิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนฟังแถบบันทึกเสียงเพลง แล้วคิดวิเคราะห์ วิจารณ์และฝึกปฏิบัติ
จากน้นั สรปุ เป็นแผนภาพความคิด
เพื่อให้ผู้เรียนสร้างและนาเสนอผลงานด้านดนตรี โดยเลือกและประยุกต์องค์ประกอบดนตรี
และทักษะพ้ืนฐานให้ได้ผลตามต้องการ ตลอดจนสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจผลงานของตนเองได้ สามารถบรรยาย
และอธิบายความรู้ทาง ด้านดนตรีได้เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมนาความรู้ทาง ด้านดนตรีไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน และการเรียนรู้กลุ่มสาระอื่น ๆ เห็นความสาคัญของการสร้างสรรค์งานดตรี
เช่ือมั่น ภาคภูมิใจในการแสดงออก รับผิดชอบมุ่งม่ันในการปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่น ซาบซึ้ง เห็นคุณค่ารัก
หวงแหนดนตรซี งึ่ เปน็ มรดกทางวัฒนธรรมภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ ภูมิปญั ญาไทยและสากล
รหัสตวั ช้ีวัด
ศ 2.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7
ศ 2.2 ม.3/1 ม.3/2
ศ 3.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7
ศ 3.2 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3
รวมท้ังหมด 19 ตัวชี้วัด
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนวัดนาวง