250
คำอธบิ ำยรำยวิชำ (เพิ่มเตมิ )
รหัสวชิ ำ จ22102 วิชำ ภำษำจนี กลมุ่ สำระกำรเรียนรูภ้ ำษำต่ำงประเทศ
ช้นั มัธยมศึกษำปีท่ี 2 เวลำ 20 ช่ัวโมง 0.5 หน่วยกติ ภำคเรียนท่ี 2
ศึกษาทักษะการอ่านออกเสียงตัวอักษร คาศัพท์ กลุ่มคา ประโยค ตามหลักการอ่านในระบบเสียง
ภาษาจีนกลาง ระบุภาพ หรือสัญลักษณ์ ตรงตามความหมายของคา กลุ่มคา และประโยคจากการฟังหรอื การ
อ่านตอบคาถามจากการฟังและอ่านบทสนทนา หรือตอบคาถามจากการดูภาพประกอบพูดโต้ตอบด้วย
ประโยคส้ันๆเพ่ือส่ือสาร ระหว่างบุคคล พูดเพ่ือขอและให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เพ่ือน ครอบครัว และสิ่งใกล้
ตัวเขียนให้ข้อมูลเก่ียวกับตนเอง แบบง่ายๆ บอกข้อมูลและความสาคญั ของเทศกาล วันสาคญั งานฉลอง ชีวิต
ความเป็นอยู่ของจีนบอกความเหมือน หรือความแตกต่างระหว่างการออกเสียงประโยคชนิดต่างๆ การใช้
เครอ่ื งหมายวรรคตอนและการลาดับคาตาม โครงสรา้ งประโยคของภาษาจีนและภาษาไทย
โดยใชก้ ระบวนการฟงั การพดู การอา่ นการเขียนและกระบวนการคดิ วเิ คราะห์ใช้ภาษาเป็นเคร่ืองมือใน
การรับสารและส่งสารได้อย่างคล่องแคล่วถูกต้องเข้าถึงสารได้อ ย่างชัดเจนรวมทั้ งกระบวนการสืบเสาะหา
ความรู้ กระบวนการกลมุ่ การอภิปรายและมีความสามารถในการสืบคน้ ขอ้ มลู
เพ่ือให้นักเรยี นเป็นผู้มีความรักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มงุ่ มั่นใน
การทางาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ อนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม สืบสานศิลปวัฒนธรรม
ทอ้ งถ่ิน ชมุ ชนร่วมพัฒนา ยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
ผลกำรเรยี นรู้
1. อ่านออกเสยี งตวั อกั ษร คาศัพท์ กลุม่ คา ประโยค ตามหลักการอ่านในระบบเสยี งภาษาจีนกลาง
2. ระบภุ าพ หรอื สัญลักษณ์ ตรงตามความหมายของคา กลมุ่ คา และประโยค จากการฟังหรือการ
อา่ น
3. ตอบค าถามจากการฟงั และอ่านบทสนทนา หรือตอบค าถามจากการดูภาพประกอบ
4. พดู เพ่ือขอและใหข้ ้อมลู เกี่ยวกับตนเอง เพอื่ น ครอบครวั และสิง่ ใกลต้ วั
5. เขยี นใหข้ ้อมลู เกย่ี วกับตนเองแบบง่ายๆ
6. บอกขอ้ มูล และความสาคญั ของเทศกาล วันสาคัญ งานฉลอง ชวี ติ ความเปน็ อยู่ของจนี
7. ความเหมือน หรือความแตกต่างระหวา่ งการออกเสยี งประโยคชนิดตา่ งๆ การใช้เคร่ืองหมาย
วรรคตอนและการลาดบั คา ตามโครงสร้างประโยคของภาษาจนี และภาษาไทย
รวมท้ังหมด 7 ผลการเรยี นรู้
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวัดนาวง
251
คำอธิบำยรำยวิชำ (เพิ่มเตมิ )
รหัสวชิ ำ จ23101 วิชำ ภำษำจนี กลุ่มสำระกำรเรยี นรูภ้ ำษำตำ่ งประเทศ
ช้นั มัธยมศึกษำปีที่ 3 เวลำ 20 ชว่ั โมง 0.5 หนว่ ยกติ ภำคเรยี นที่ 1
ศึกษาทักษะการพูดขอข้อมูลและให้ข้อมูลเกี่ยวกับส่ิงรอบตัวและบุคคลท่ีพบเห็นในชีวิตประจาวัน
อยา่ งง่ายได้
อ่านออกเสียงคาวลีข้อความและบทความได้ถูกต้องตามหลักการออกเสียงอ่านและแปลความหมาย
จากประโยคสั้นๆ ท่ีแสดงความรู้สึกในรูปแบบสัทอักษรภาษาจีนที่กาหนดให้ได้เขียนตัวสัทอักษรจีนเป็นคา
กลุ่มคาและประโยคอย่างง่ายๆ รวมทั้งเติมวรรณยุกต์ได้ถูกต้องใช้ภาษาและท่าทางในการส่ือสารได้อย่าง
เหมาะสมกับระดับบุคคลสถานท่ีโอกาสและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาเข้าใจความแตกต่างระหว่างภาษาจีน
กับภาษาไทยในเร่ืองคา วลี สานวนประโยค ข้อความ ต่างๆและนาไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆอย่างถูกต้อง
เหมาะสม
โดยใช้กระบวนการฟังการพูดการอ่านการเขียนและ กระบวนการคิดวิเคราะห์ใช้ภาษาเป็นเคร่ืองมือ
ในการ รับสารและส่งสารได้อย่างคล่องแคล่วถูกต้องเข้าถึงสารไดอ้ ย่าง ชัดเจนรวมทั้งกระบวนการสืบเสาะหา
ความรู้กระบวน การกลุ่มการอภิปรายและมีความสามารถในการสบื ค้นขอ้ มลู
เพ่ือให้นักเรียนเป็นผู้มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นใน
การทางาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ อนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม สืบสานศิลปวัฒนธรรม
ทอ้ งถ่นิ ชมุ ชน รว่ มพฒั นา ยึดปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
ผลกำรเรียนรู้
1. ใชค้ าขอร้อง คาแนะนา คาชี้แจง และคาอธิบายตามสถานการณ์
2. ระบปุ ระโยคและข้อความ หรือตอบคาถามให้สมั พันธ์กบั สอ่ื ทไี่ ม่ใชค่ วามเรียงท่อี ่าน
3. จบั ใจความสาคัญ สรปุ และตอบคาถามง่ายๆ จากเรื่องท่ีฟังหรอื อ่านจากสอื่ ประเภทต่างๆ
4. สนทนา แลกเปลีย่ นและเขียนโตต้ อบข้อมูลเพ่ือส่อื สารอยา่ งต่อเนื่องเกย่ี วกบั ตนเอง กิจกรรม และ
สถานการณต์ ่างๆ ในชวี ติ ประจาวัน
5. พูดและเขยี นเพื่อขอและให้ข้อมลู เกี่ยวกบั ตนเอง เพื่อน ครอบครัว และเรื่องใกล้ตวั
6. บอกความเหมอื น หรือความแตกตา่ งระหว่างการออกเสียงประโยคชนิดต่างๆ การใชเ้ ครือ่ งหมาย
วรรคตอนและการลาดบั คาตามโครงสร้างประโยคของภาษาจนี และภาษาไทย
7. คน้ ควา้ รวบรวม และสรปุ ขอ้ มลู หรือข้อเท็จจรงิ ท่เี ก่ยี วข้องกบั กลมุ่ สาระการเรยี นรู้อ่นื จากแหลง่ เรยี นรู้
และนาเสนอด้วยการพูดหรือการเขียน
รวมทั้งหมด 8 ผลกำรเรยี นรู้
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดนาวง
252
คำอธิบำยรำยวิชำ (เพ่ิมเติม)
รหสั วิชำ จ23102 วชิ ำ ภำษำจนี กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้ภำษำตำ่ งประเทศช้นั
มธั ยมศกึ ษำปที ี่ 3 เวลำ 20 ช่ัวโมง 0.5 หน่วยกติ ภำคเรียนท่ี 2
ศึกษาทักษะการพูดขอข้อมูลและให้ข้อมูลเกี่ยวกับส่ิงรอบตัวและบุคคลท่ีพบเห็นในชีวิตประจาวัน
อย่างง่ายได้ อ่านออกเสียงความวลี ข้อความและบทความได้ถูกต้องตามหลักการออกเสียงอ่านและแปล
ความหมายจากประโยคส้ันๆ ท่ี แสดงความรู้สึกในรูปแบบสัทอักษรภาษาจีนที่กาหนดให้ได้เขียนตวั สัทอักษร
จีนเป็นคากลุ่ม คาและประโยคอย่างง่ายๆ รวมท้ังเติมวรรณยุกต์ไดถ้ ูกต้องใช้ภาษาและท่าทางในการส่ือสารได้
อย่างเหมาะสมกับระดับบุคคล สถานที่โอกาสและ วัฒนธรรมของเจ้าของภาษาเข้าใจความแตกต่างระหว่าง
ภาษาจีนกับภาษาไทยในเร่ืองคา วลี สานวนประโยค ข้อความ ต่างๆและนาไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆอย่าง
ถูกต้องเหมาะสม
โดยใช้กระบวนการฟังการพูดการอ่านการเขียนและ กระบวนการคิดวิเคราะห์ใช้ภาษาเป็นเคร่ืองมือ
ในการรับสารและส่งสารได้อย่างคล่องแคล่วถูกต้องเข้าถึงสารได้อย่าง ชัดเจนรวมท้ังกระบวนการสืบเสาะหา
ความรู้กระบวน การกลุ่มการอภปิ รายและมีความสามารถในการสบื ค้นข้อมลู
เพื่อให้นักเรยี นเป็นผู้มีความรักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง ม่งุ ม่ันใน
การทางาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ อนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม สืบสานศิลปวัฒนธรรม
ทอ้ งถิ่น ชมุ ชน ร่วมพฒั นา ยึดปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
ผลกำรเรยี นรู้
1. อ่านออกเสยี งประโยคข้อความ บทสนทนา นิทานงา่ ยๆตามหลักการอา่ นในระบบเสยี งภาษาจีน
กลาง
2. จับใจความสาคัญ สรปุ และตอบคาถามง่ายๆจากเร่ืองท่ีฟังหรืออา่ นจากสื่อประเภทต่างๆ
3. สนทนาแลกเปล่ยี นและเขียนโต้ตอบข้อมลู เพื่อสื่อสารอยา่ งตอ่ เน่ืองเกี่ยวกบั ตนเอง กิจกรรมและ
สถานการณ์ ตา่ งๆในชวี ติ ประจาวนั
4. พูดหรือเขียนแสดงความต้องการ ขอและให้ความชว่ ยเหลอื ตอบรบั และปฏเิ สธในสถานการณ์
ตา่ งๆ
5. พูดและเขียนเพ่ือขอและให้ข้อมูลเกีย่ วกับตนเอง เพื่อน ครอบครวั และเร่ืองใกลต้ วั
6. เขียนข้อมลู หรือภาพเก่ียวกับเร่ืองใกลต้ วั
รวมท้ังหมด 6 ผลกำรเรียนรู้
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นวดั นาวง
253
คำอธิบำยรำยวิชำ (เพิ่มเตมิ )
รหัสวิชำ จ31201 วชิ ำ ภำษำจนี กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ภำษำตำ่ งประเทศ
ชัน้ มธั ยมศึกษำปที ่ี 4 เวลำ 20 ชั่วโมง 0.5 หน่วยกิต ภำคเรียนท่ี 1
ศึกษาหลักการออกเสียงและการเขียนสัทอักษรพินอิน การประสมเสียงสัทอักษรตามหลักการออก
เสียง ฟัง และเขียนเครื่องหมายกากับเสียงวรรณยุกต์ในภาษาจีน ฟัง พูด อ่านและเขียนภาษาท่ีใช้ในการ
ส่ือสารระหว่างบุคคล เช่น การทักทาย กล่าวลา ขอบคุณ ขอโทษ ชมเชย การพูดแทรกอย่างสุภาพ การ
ชักชวน การแลกเปลี่ยนข้อมูล เก่ียวกับตนเอง เรื่องใกล้ตัว สถานการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจาวัน ตลอดจน
เลือกใช้ภาษา น้าเสียง และกิริยาท่าทางใน การสนทนาได้ถูกต้องตามระดับของภาษา และเหมาะสมตาม
มารยาทสังคมและวัฒนธรรมของจีน นาคาศัพท์ ประโยค บทสนทนา และบทความท่ีได้เรียนรู้มาประยุกต์ใช้
ตามสถานการณจ์ ริง รวมถงึ สามารถใช้ภาษาจีนในการค้นคว้า การสืบคน้ และการนาเสนอข้อมลู ที่เกีย่ วขอ้ งกับ
กลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืนจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ได้ ท้ังยังเข้าใจ ความแตกต่างระหว่างการออกเสียงตัวอักษร
คา วลี การใช้เคร่อื งหมายวรรคตอน และการลาดบั คาตามโครงสร้างประโยคของภาษาจีนกับภาษาไทย
โดยใช้กระบวนการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และกระบวนการคิดวิเคราะห์ ใช้ภาษาเป็น
เครื่องมือใน การรับสารและส่งสารได้อย่างคล่องแคล่วถูกต้อง เข้าถึงสารได้อย่างชัดเจนรวมท้ังกระบวนการ
สืบเสาะหาความรู้ กระบวนการกลมุ่ การอภิปรายและมคี วามสามารถในการสืบค้นข้อมูล
เพื่อให้นักเรยี นเป็นผู้มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งม่ันใน
การ ทางาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ อนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม สืบสานศิลปวัฒนธรรม
ท้องถน่ิ ชมุ ชน รว่ มพัฒนา ยึดปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
ผลกำรเรียนรู้
1. ระบสุ ทั อักษรพินอนิ (拼音) อา่ นออกเสียงและประสมเสียงตามหลกั การออกเสียง
2. สนทนาหรอื เขียนโตต้ อบในการสอ่ื สารระหว่างบุคคล
3. เลือกใช้ภาษา น้าเสยี ง และกริ ิยาท่าทางใหเ้ หมาะสมกบั บคุ คล โอกาส และสถานที่ ตามมารยาท
สังคมและ วฒั นธรรมของจีน
4. ใชภ้ าษาสื่อสารในสถานการณ์จรงิ หรือสถานการณ์จาลองท่ีเกดิ ขึน้ ในห้องเรยี นและสถานศกึ ษา
5. คน้ คว้า รวบรวมขอ้ มูลหรอื ขอ้ เท็จจรงิ ทเี่ กี่ยวกับกลุ่มสาระการเรยี นรู้อื่น จากแหล่งเรียนร้แู ละ
นาเสนอดว้ ย การพูดหรือการเขยี น
6. บอกความแตกต่างระหว่างการออกเสยี งตัวอกั ษร คา วลี การใชเ้ คร่อื งหมายวรรคตอน และการ
ลาดับคา ตาม โครงสรา้ งประโยคของภาษาจนี กบั ภาษาไทย
รวมท้ังหมด 6 ผลกำรเรียนรู้
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวัดนาวง
254
คำอธบิ ำยรำยวิชำ (เพิ่มเติม)
รหสั วิชำ จ31202 วชิ ำ ภำษำจีน กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ภำษำตำ่ งประเทศ
ชัน้ มธั ยมศึกษำปีที่ 4 เวลำ 20 ช่ัวโมง 0.5 หน่วยกิต ภำคเรียนที่ 2
ศกึ ษาประโยคหรือสานวนภาษาจีน ที่ใช้พดู หรือเขียนให้ขอ้ มลู เกี่ยวกบั ตนเอง เพ่ือน สิ่งแวดล้อม และ
เร่ืองใกล้ ตัว บอกความหมายของคา กลุ่มคา ประโยคหรือข้อความสั้นๆ ตามท่ีฟังหรืออ่าน ตอบคาถาม จับ
ใจความสาคัญตาม หลักการอ่านได้ เลือกใช้ภาษาท่ีใช้แสดงความต้องการ การขอและให้ความช่วยเหลือ การ
ตอบรับและปฏิเสธใน สถานการณ์ต่างๆ รวมถึงสามารถใช้ประโยคและภาษาในการแสดงความคิดเห็น ให้
เหตผุ ลเก่ียวกับเรื่องใกล้ตัว กิจกรรม ประสบการณ์ และเหตุการณ์ในชีวิตประจาวัน นอกจากนั้นยงั สามารถใช้
ภาษาจีนในการสืบค้นหรอื ค้นควา้ ความรูห้ รือข้อมูลต่างๆ จากส่ือและแหลง่ เรียนรู้ต่างๆ และมีความรเู้ ก่ียวกับ
เทศกาล วันสาคัญ งานฉลอง และชวี ติ ความเป็นอยู่ของจนี
โดยใช้กระบวนการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และกระบวนการคิดวิเคราะห์ ใช้ภาษาเป็น
เคร่อื งมอื ในการรับสารและสง่ สารได้อย่างคล่องแคล่วถูกตอ้ ง เขา้ ถึงสารไดอ้ ย่างชัดเจนรวมท้ังกระบวนการสืบ
เสาะหาความรู้ กระบวนการกลมุ่ การอภปิ รายและมีความสามารถในการสบื ค้นขอ้ มลู
เพ่ือให้นักเรียนเป็นผู้มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุง่ มั่นใน
การ ทางาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ อนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม สืบสานศิลปวัฒนธรรม
ทอ้ งถิ่น ชุมชน รว่ มพัฒนา ยดึ ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง
ผลกำรเรียนรู้
1.พดู หรือเขยี นใหข้ ้อมลู เกย่ี วกับตนเอง เพ่ือน สิง่ แวดลอ้ ม และเร่อื งใกล้ตัว
2. บอกความหมายของค า กลมุ่ ค า ประโยคหรอื ขอ้ ความสน้ั ๆ ตามท่ีฟังหรืออา่ นจากสื่อทีเ่ ป็นความ
เรียงและ ไม่ใช่ความเรียงในรูปแบบตา่ งๆ
3. พดู และเขยี นแสดงความต้องการ ขอและใหค้ วามช่วยเหลือ ตอบรับและปฏเิ สธในสถานการณ์
ตา่ งๆ
4. พูดและเขยี นเพ่ือแสดงความคดิ เหน็ เก่ียวกบั เรอื่ งใกล้ตัว พรอ้ มให้เหตผุ ลสั้นๆ ประกอบ
5. ตอบคาถาม จบั ใจความสาคญั สรุปและแสดงความคิดเห็นจากการฟังหรอื อา่ นประโยค บทสนทนา
หรอื นทิ าน ง่ายๆ ท้ังทมี่ ภี าพและไม่มภี าพประกอบ
6. บอกความรูส้ ึกของตนเองเกย่ี วกับเร่อื งใกล้ตวั และกิจกรรมตา่ งๆ พร้อมใหเ้ หตผุ ลสน้ั ๆ
7. ใชภ้ าษาจีนในการสืบค้นหรือคน้ คว้าความรู้หรอื ขอ้ มูลต่างๆ จากสื่อและแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ใน
การศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ
8. บอกชอื่ /คาศัพท์ และตอบคาถามเก่ียวกบั เทศกาล วันสาคญั งานฉลอง และชวี ติ ความเปน็ อยูข่ อง
จนี
รวมทั้งหมด 8 ผลกำรเรยี นรู้
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั นาวง
255
คำอธบิ ำยรำยวิชำ (เพิ่มเติม)
รหสั วชิ ำ จ32201 วชิ ำ ภำษำจนี กลุ่มสำระกำรเรยี นรภู้ ำษำตำ่ งประเทศ
ชนั้ มัธยมศึกษำปีท่ี 5 เวลำ 20 ช่ัวโมง 0.5 หน่วยกิต ภำคเรยี นที่ 1
สนทนาโต้ตอบข้อมูลที่เก่ียวข้องกับตนเอง ครอบครัว เรื่องใกล้ตัว รวมท้ังสามารถเปรียบเทียบข้อมูล
และ แสดงความคิดเห็นต่อเหตุการณ์ในชีวิตประจาวันได้อย่างคล่องแคล่ว โดยใช้คาขอร้อง การให้คาแนะนา
คาอธิบายที่ ถูกตอ้ งตามรูปแบบการใช้ภาษาของเจ้าของภาษา อกี ทั้งสามารถเลอื กใช้ภาษา นา้ เสียง และกิริยา
ทา่ ทางทเ่ี หมาะสม กบั ระดับของบุคคล โอกาสและสถานท่ี ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา
สามารถอ่านออกเสียง บทความส้ันๆ ได้ชัดเจน ถูกต้องตามหลักการอ่าน รวมถึงเข้าใจความหมายของ
บทความที่อ่าน วเิ คราะห์ อธิบาย เปรียบเทียบ โครงสรา้ งประโยค เนอ้ื เรื่อง บทสนทนา เหตุการณ์ท่ัวไป เป็น
สว่ นยอ่ ยๆ ตามหลักไวยากรณ์ และใช้ ภาษาจีนเพื่อค้นควา้ สืบค้น สรปุ และนาเสนอข้อมูลเก่ยี วกับวัฒนธรรม
ของเจ้าของภาษาเพื่อให้มั่นใจในการใช้ ภาษาจีนในการส่ือสารและสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
ได้
โดยใช้กระบวนการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และกระบวนการคิดวิเคราะห์ ใช้ภาษาเป็น
เครือ่ งมอื ในการ รบั สารและส่งสารได้อยา่ งคล่องแคล่วถูกต้อง เขา้ ถึงสารได้อยา่ งชดั เจนรวมทั้งกระบวนการสืบ
เสาะหาความรู้ กระบวนการกลุม่ การอภปิ รายและมีความสามารถในการสบื คน้ ข้อมูล
เพ่ือให้นักเรยี นเป็นผู้มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ สุจริต มีวินัย ใฝเ่ รียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มงุ่ มั่นใน
การทางาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ อนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม สืบสานศิลปวัฒนธรรม
ทอ้ งถิน่ ชมุ ชน รว่ มพัฒนา ยึดปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง
ผลกำรเรียนรู้
1. พดู สนทนาข้อมูลเก่ียวกับตนเองและครอบครัว
2. อ่านออกเสียงคา ประโยค ถกู ต้องตามหลักการอ่าน
3. สนทนา เปรยี บเทยี บ ขอ้ มูลและแสดงความคิดเห็นต่อเหตุการณ์ในชีวิตประจาวนั
4. วเิ คราะหโ์ ครงสรา้ งของประโยคเป็นส่วนย่อยตามหลักไวยากรณ์
5. ใชค้ าขอร้อง ให้คาช้ีแนะ คาอธบิ ายอย่างคล่องแคลว่
6. ค้นคว้า สืบคน้ สรปุ และนาเสนอขอ้ มูลเกีย่ วกบั วฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา
7. เลือกใชภ้ าษา น้าเสยี ง และกิริยาท่าทางเหมาะสมกับระดับของบุคคล โอกาสและสถานทีต่ าม
มารยาทสงั คม และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
8. อธิบาย เปรียบเทียบความแตกตา่ งโครงสร้างประโยค เนื้อเรอื่ ง บทสนทนา เหตกุ ารณ์ท่วั ไป
รวมทง้ั หมด 8 ผลกำรเรยี นรู้
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวัดนาวง
256
คำอธิบำยรำยวิชำ (เพ่ิมเตมิ )
รหสั วชิ ำ จ32202 วชิ ำ ภำษำจีน กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำตำ่ งประเทศ
ชน้ั มธั ยมศึกษำปที ี่ 5 เวลำ 20 ชั่วโมง 0.5 หนว่ ยกิต ภำคเรียนที่ 2
สนทนาโต้ตอบข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับตนเอง ครอบครัว เรื่องใกล้ตัว รวมท้ังสามารถเปรียบเทียบข้อมูล
และ แสดงความคิดเห็นต่อเหตุการณ์ในชีวิตประจาวันได้อย่างคล่องแคล่ว โดยใช้คาขอร้อง การให้คาแนะนา
คาอธิบายที่ ถกู ต้องตามรูปแบบการใช้ภาษาของเจ้าของภาษา อีกทั้งสามารถเลือกใช้ภาษา น้าเสียง และกิริยา
ท่าทางท่ีเหมาะสม กบั ระดับของบคุ คล โอกาสและสถานที่ ตามมารยาทสงั คมและวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา
สามารถอ่านออกเสียง บทความส้ันๆ ได้ชัดเจน ถูกต้องตามหลักการอ่าน รวมถึงเข้าใจความหมายของ
บทความที่อ่าน วเิ คราะห์ อธิบาย เปรียบเทียบ โครงสรา้ งประโยค เนื้อเรื่อง บทสนทนา เหตุการณ์ทั่วไป เป็น
สว่ นย่อยๆ ตามหลักไวยากรณ์ และใช้ ภาษาจีนเพื่อคน้ ควา้ สืบค้น สรุป และนาเสนอข้อมูลเกยี่ วกบั วัฒนธรรม
ของเจา้ ของภาษาเพ่ือให้ม่ันใจในการใช้ ภาษาจีนในการสื่อสารและสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจาวัน
ได้
โดยใช้กระบวนการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และกระบวนการคิดวิเคราะห์ ใช้ภาษาเป็น
เคร่อื งมอื ในการรับสารและส่งสารได้อย่างคล่องแคล่วถูกตอ้ ง เข้าถึงสารไดอ้ ย่างชัดเจนรวมทั้งกระบวนการสืบ
เสาะหาความรู้ กระบวนการกลมุ่ การอภิปรายและมคี วามสามารถในการสบื ค้นข้อมูล
เพ่ือให้นักเรยี นเป็นผู้มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งม่ันใน
การทางาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ อนุรักษ์พลังงานและส่ิงแวดล้อม สืบสานศิลปวัฒนธรรม
ทอ้ งถ่นิ ชุมชน ร่วมพฒั นา ยดึ ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง
ผลกำรเรียนรู้
1. พดู สนทนาข้อมูลเก่ยี วกับตนเองและครอบครวั
2. อา่ นออกเสียงคา ประโยค ถกู ต้องตามหลักการอา่ น
3. สนทนา เปรียบเทยี บ ข้อมูลและแสดงความคดิ เห็นต่อเหตุการณใ์ นชีวิตประจาวัน
4. วเิ คราะห์โครงสร้างของประโยคเป็นสว่ นยอ่ ยตามหลักไวยากรณ์
5. ใชค้ าขอร้อง ใหค้ าช้ีแนะ คาอธิบายอยา่ งคล่องแคลว่
6. คน้ ควา้ สบื ค้น สรปุ และน าเสนอข้อมลู เกยี่ วกับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
7. เลือกใช้ภาษา นา้ เสยี ง และกริ ิยาท่าทางเหมาะสมกับระดับของบุคคล โอกาสและสถานท่ีตาม
มารยาทสงั คม และวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา
8. อธิบาย เปรียบเทียบความแตกตา่ งโครงสร้างประโยค เนื้อเรอื่ ง บทสนทนา เหตกุ ารณ์ทั่วไป
รวมท้ังหมด 8 ผลกำรเรียนรู้
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนวดั นาวง
257
คำอธบิ ำยรำยวิชำ (เพ่ิมเติม)
รหสั วชิ ำ จ33101 วชิ ำ ภำษำจีน กลุ่มสำระกำรเรียนร้ภู ำษำต่ำงประเทศ
ช้นั มัธยมศึกษำปที ่ี 6 เวลำ 20 ช่ัวโมง 0.5 หน่วยกิต ภำคเรยี นที่ 1
ศึกษาทักษะการใช้คาขอรอ้ ง ใหค้ าแนะนา คาชีแ้ จง และคาอธิบายในสถานการณ์ตา่ งๆ พูดและเขยี น
เพ่ือขอ และให้ข้อมูล บรรยาย เปรียบเทียบ แสดงความคิดเห็น และให้เหตุผลเก่ียวกับเร่ืองที่ฟังและอ่าน
อธิบายหรือเขียน ประโยคหรือข้อความให้สัมพันธ์กับส่ือท่ีไม่ใช่ความเรียง รวมทั้งเขียนส่ือที่ไม่ใช่ความเรียง
รูปแบบต่างๆ ให้สัมพันธ์กับ ประโยคหรือข้อความที่ฟังหรืออ่าน ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริงหรือ
สถานการณ์จาลองที่เกิดข้ึนในห้องเรียน สถานศึกษา ชุมชน และสังคมโลก สนทนาอย่างต่อเนื่องและเขียน
โต้ตอบแลกเปล่ียนข้อมูลเก่ียวกับตนเอง เรือ่ งต่างๆ ใกล้ตัว สถานการณ์ ข่าว และเร่ืองที่อยู่ในความสนใจของ
สังคม เลือกใชภ้ าษา น้าเสยี ง กิริยาทา่ ทางให้เหมาะสมกับ บุคคลและโอกาส ตามมารยาทสงั คมและวฒั นธรรม
ของจีน
โดยใช้กระบวนการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และกระบวนการคิดวิเคราะห์ ใช้ภาษาเป็น
เครอ่ื งมือในการ รบั สารและส่งสารได้อยา่ งคล่องแคล่วถูกต้อง เขา้ ถึงสารได้อยา่ งชัดเจนรวมท้งั กระบวนการสืบ
เสาะหาความรู้ กระบวนการกลุม่ การอภปิ รายและมีความสามารถในการสืบค้นขอ้ มูล
เพื่อให้นักเรียนเป็นผู้มีความรักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ สุจริต มีวินัย ใฝเ่ รียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นใน
การ ทางาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ อนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม สืบสานศิลปวัฒนธรรม
ทอ้ งถนิ่ ชุมชน ร่วมพัฒนา ยดึ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ผลกำรเรยี นรู้
1. ใชค้ าขอร้อง ใหค้ าแนะนา คาชแี้ จง และคาอธิบายในสถานการณ์ตา่ งๆ
2. พูดและเขียนเพ่ือขอและให้ข้อมลู บรรยาย เปรยี บเทียบ แสดงความคิดเหน็ และให้เหตุผลเกีย่ วกบั
เรอ่ื งที่ฟงั และอา่ น
3. อธบิ ายหรอื เขยี นประโยคหรอื ข้อความให้สัมพนั ธก์ ับสื่อที่ไม่ใช่ความเรียง รวมท้งั เขียนสื่อท่ีไม่ใช่
ความเรยี ง รูปแบบต่างๆ ให้สมั พันธก์ บั ประโยคหรอื ขอ้ ความท่ฟี งั หรืออา่ น
4. ใช้ภาษาสอ่ื สารในสถานการณจ์ ริงหรือสถานการณ์จาลองทเ่ี กิดขึ้นในห้องเรยี น สถานศึกษา ชมุ ชน
และสังคม โลก
5. สนทนาอยา่ งต่อเนอื่ งและเขียนโตต้ อบแลกเปล่ียนข้อมลู เก่ยี วกับตนเอง เร่อื งต่างๆ ใกล้ตัว
สถานการณ์ ข่าว และเร่อื งท่ีอยใู่ นความสนใจของสงั คม
6. เลอื กใชภ้ าษา นา้ เสียง กริ ิยาทา่ ทางใหเ้ หมาะสมกบั บุคคลและโอกาส ตามมารยาทสังคมและ
วัฒนธรรมของ
จนี
รวมทั้งหมด 6 ผลกำรเรยี นรู้
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนวดั นาวง
258
คำอธิบำยรำยวิชำ (เพ่ิมเติม)
รหสั วชิ ำ จ33102 วชิ ำ ภำษำจีน กลุม่ สำระกำรเรียนรภู้ ำษำต่ำงประเทศ
ชน้ั มธั ยมศึกษำปีที่ 6 เวลำ 20 ช่ัวโมง 0.5 หนว่ ยกิต ภ ำ ค เรี ย น ที่ 2
ศึกษาทักษะภาษาจีนโดยการปฏิบัติตามคาสั่ง คาแนะนา คาชี้แจง คาอธิบาย และคาบรรยายจาก
ข้อมูลทาง ส่ือต่างๆ พูดและเขียนแสดงความต้องการ ขอและให้ความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธใน
สถานการณ์ตา่ งๆ ตลอดจน พูดและเขียนแสดงความรู้สึก ความคิดเห็นของตนเองเก่ียวกับเรื่องต่างๆ กิจกรรม
ประสบการณ์ ข่าวหรือเหตุการณ์ พร้อมให้เหตุผลหรือสอดแทรกสานวนประกอบ ตอบคาถาม จับใจความ
สาคัญ วิเคราะห์ สรุปและแสดงความคิดเห็น พร้อมให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบเก่ียวกับเร่ืองท่ีฟังหรือ
อ่าน อธิบายเก่ียวกับชีวิตความเป็นอยู่ ความคิด ความเช่ือและที่มาของขนบธรรมเนียมและประเพณีของ
จีน ใช้ภาษาจีนในการสืบค้น ค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์ และสรุปความรู้หรือข้อมูลจากส่ือและแหล่งการ
เรยี นรู้ต่างๆ ในการศกึ ษาต่อ และประกอบอาชีพ
โดยใช้กระบวนการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และกระบวนการคิดวิเคราะห์ ใช้ภาษาเป็น
เคร่ืองมอื ในการ รบั สารและส่งสารได้อยา่ งคลอ่ งแคล่วถูกตอ้ ง เขา้ ถึงสารไดอ้ ยา่ งชดั เจนรวมทั้งกระบวนการสืบ
เสาะหาความรู้ กระบวนการกล่มุ การอภปิ รายและมคี วามสามารถในการสืบค้นข้อมูล
เพ่ือให้นักเรียนเป็นผู้มีความรักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ สุจริต มีวินัย ใฝเ่ รียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง ม่งุ ม่ันใน
การ ทางาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ อนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม สืบสานศิลปวัฒนธรรม
ทอ้ งถ่ิน ชมุ ชน รว่ มพัฒนา ยึดปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง
ผลกำรเรียนรู้
1. ปฏิบตั ติ ามคาสง่ั คาแนะนา คาช้แี จง คาอธบิ าย และคาบรรยายจากข้อมูลทางส่ือต่างๆ
2. พดู และเขยี นแสดงความต้องการ ขอและใหค้ วามช่วยเหลอื ตอบรบั และปฏเิ สธในสถานการณ์
ต่างๆ
3. พูดและเขียนแสดงความรู้สึก ความคดิ เหน็ ของตนเองเก่ยี วกับเรื่องตา่ งๆ กจิ กรรม ประสบการณ์
ขา่ วหรือ เหตกุ ารณ์ พร้อมใหเ้ หตุผลหรือสอดแทรกสานวนประกอบ
4. ตอบคาถาม จับใจความสาคัญ วเิ คราะห์ สรุปและแสดงความคิดเหน็ พร้อมให้เหตุผลและ
ยกตวั อยา่ งประกอบ เก่ยี วกับเร่ืองที่ฟังหรืออา่ น
5. อธิบายเก่ียวกบั ชีวิตความเป็นอยู่ ความคิด ความเช่อื และทีม่ าของขนบธรรมเนียมและประเพณี
ของจนี
6. ใชภ้ าษาจีนในการสบื ค้น ค้นควา้ รวบรวม วเิ คราะห์ และสรุปความรู้หรือขอ้ มูลจากส่ือและแหล่ง
การเรยี นรู้ ตา่ งๆ ในการศึกษาตอ่ และประกอบอาชพี
รวมท้ังหมด 6 ผลกำรเรียนรู้
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดนาวง
259
คำอธบิ ำยรำยวิชำ (เพ่ิมเตมิ )
รหัสวชิ ำ ศ21101 วชิ ำ ช่ำงเขยี นภำพกำรต์ ูน กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ศิลปะ
ชน้ั มัธยมศึกษำปีที่ 1 เวลำ 20 ชัว่ โมง 1.0 หน่วยกติ ภำคเรยี นที่ 1
ศึกษาหลักการและวิธีการเขียนภาพประกอบ ลักษณะภาพประกอบท่ีใช้ในงาน การใช้ภาพคน ภาพ
สตั ว์ ภาพการต์ ูน และภาพลอ้ ในการเขยี นภาพประกอบ การจัดภาพเปน็ เรอ่ื งราว
ปฏบิ ัตงิ านออกแบบ เขยี นภาพประกอบ จดั ภาพเป็นเร่อื งราว เพ่อื ให้มีความรู้ความเข้าใจและมที ักษะ
ในการเขยี นภาพประกอบ สามารถให้บรกิ ารและจาหน่ายได้
ผลกำรเรียนรู้
1. นักเรียนอธิบายหลกั การ วิธีการเขียนภาพประกอบได้
2. นักเรียน
3. นักเรียนออกแบบ เขยี นภาพประกอบ จดั ภาพเปน็ เรื่องราวได้
รวมท้ังหมด 3 ผลกำรเรียนรู้
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนวดั นาวง
260
คำอธิบำยรำยวชิ ำ (เพ่ิมเตมิ )
รหสั วิชำ ศ21102 วชิ ำ นำฏศิลป์พ้ืนเมอื ง กล่มุ สำระกำรเรยี นรู้ศิลปะ
ชั้นมัธยมศกึ ษำปีที่ 1 เวลำ 20 ชัว่ โมง 1.0 หน่วยกิต ภำคเรยี นที่ 1
ศึกษานาฏศิลป์พ้ืนเมืองในเรื่องประวัติความเป็นมาการแต่งกายลีลาท่าราเพลงประกอบการราฝึก
แสดงนาฏศิลป์พ้ืนเมืองการละเล่นพื้นเมืองร้องและราเพลงพ้ืนเมืองตามความสนใจการจัดประเภทของการ
แสดงพื้นเมืองประวัติบุคคลในท้องถิ่นที่ประสบผลสาเร็จในการสร้างศิลปะพ้ืนบ้านสามารถจัดการแสดง
พ้ืนบ้านของจังหวัดปทุมธานี และศิลปะพ้ืนบ้านของภาคอื่นๆ ของประเทศไทยเป็นครั้งคราวเพื่อให้มีความรู้
ความเข้าใจช่นื ชมเห็นคณุ ค่ามีวินัยใฝ่ร้ใู ฝ่เรยี นมุง่ ม่ันในการทางานและมที ักษะเกี่ยวกับการแสดงพื้นบ้านสารวจ
และทาความเข้าใจภูมิปัญญาท้องถิ่นสามารถอนุรักษ์และนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันบันไดเสียง
อา่ นโน้ต ฟัง และปฏบิ ัติเคร่อื งดนตรีตามโน้ตตามลาดับความยากง่ายของบทฝึก ในลักษณะท่าทางท่ีถูกต้อง
ปฏบิ ัตเิ ลน่ เด่ียวและเล่มรวมวง
เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับลักษณะและคุณสมบัติของเสียงระดับเสียงพัฒนาบุคลิกภาพ
สามารถขบั รอ้ งเพลงไทยสากล และหรือเพลงไทยลูกทุ่งประกอบดนตรีสาหรับการปริการได้
ผลกำรเรียนรู้
1. มีความร้คู วามเขา้ ใจเกี่ยวกับนาฏศลิ ป์พน้ื เมืองในเรื่องประวัตคิ วามเปน็ มาการแตง่ กายลีลาท่ารา
2. นกั เรยี นสามารถบอกและอธิบายประเภทของการแสดงพนื้ เมืองประวตั ิบุคคลในทอ้ งถน่ิ ปทมุ ธานี
ที่ประสบผลสาเรจ็ ในการสรา้ งศิลปะพน้ื บ้านได้
3. นักเรยี นสามารถฝึกแสดงนาฏศิลป์พืน้ เมืองการละเล่นพ้ืนเมืองร้องและราเพลงพื้นเมืองตาม
ความสนใจได้
4. นักเรียนมีทักษะและสามารถจัดการแสดงพนื้ บ้านของจังหวัดสตูลและศลิ ปะพ้ืนบา้ นของภาค
อื่น ๆ ของประเทศไทยเปน็ ครั้งคราวได้
5. นักเรยี นสามารถสารวจและทาความเข้าใจภูมิปญั ญาท้องถน่ิ ได้
6. นักเรยี นมคี วามชื่นชมเห็นคุณค่าและภาคภูมิใจในศิลปะการแสดงพื้นบ้านภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ
มคี วามตระหนักทจ่ี ะถา่ ยทอดและอนรุ ักษแ์ ละนามาประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจาวันตอ่ ไป
รวมทั้งหมด 6 ผลกำรเรยี นรู้
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นวัดนาวง
261
คำอธิบำยรำยวิชำ (เพ่ิมเตมิ )
รหสั วิชำ ศ21103 วชิ ำ ดนตรี กลมุ่ สำระกำรเรยี นรูศ้ ิลปะ
ชั้นมธั ยมศกึ ษำปที ่ี 1 เวลำ 20 ช่ัวโมง 1.0 หน่วยกติ ภำคเรยี นที่ 1
ศึกษาความรู้เก่ียวกับประวัติความเป็นมาของขลุ่ยเพียงออ ทฤษฎีดนตรีไทย ศัพท์สังคีต ส่วนประกอบ
และการดูแลรักษาขลุ่ยเพียงออ เทคนิคการปฏิบัติขลุ่ยเพียงออ ปฏิบัติการอ่านส่วนของตัวโน้ตไทย เทคนิคการ
ปฏบิ ัตขิ ลุ่ยเพียงออ ไดอ้ ย่างไพเราะถูกทานอง จงั หวะและอารมณ์เพลง มีความสามารถในการส่ือสาร การคดิ การ
แก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต และการใช้ เทคโนโลยี เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างสรรค์ผลงานด้าน
ดนตรีโดยคานึงถึงความมีระเบียบวินัยในการปฏิบัติงาน รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน อยู่อย่างพอเพียงมี
ความซ่ือสตั ยส์ จุ รติ มุ่งมั่นในการทางาน มีจิตสาธารณะ ตอ่ การสร้างสรรคง์ านดนตรี เห็นคุณค่าและรักความเป็น
ไทย
ผลกำรเรยี นรู้
1. อธิบายประวัตคิ วามเป็นมาของขลยุ่ เพยี งออได้
2. อธิบายลักษณะ ส่วนประกอบและเสยี งของขล่ยุ เพยี งออได้
3. อธิบายวธิ ีการอ่าน การเขียนโนต้ ไทย ความหมายสัญลักษณ์ทางดนตรีและอ่านโน้ตไทยในอตั รา
จังหวะ 2 ช้นั ได้
4. อธบิ ายความหมายศัพทส์ ังคตี ดนตรีไทยได้
5. สามารถปฏิบัตเิ ทคนิคการเป่าขลุ่ยเพยี งออตามบทฝึกท่ีกาหนดให้ได้
รวมทั้งหมด 5 ผลกำรเรียนรู้
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนวัดนาวง
262
คำอธิบำยรำยวิชำ (เพิ่มเติม)
รหสั วชิ ำ ศ21104 วชิ ำ ดนตรี กล่มุ สำระกำรเรียนรู้ศิลปะ
ช้ันมัธยมศกึ ษำปที ่ี 1 เวลำ 20 ช่ัวโมง 1.0 หน่วยกิต ภำคเรยี นท่ี 2
ศึกษาเทคนิคการปฏิบัติขลุ่ยเพียงออ ท่าน่ังในการปฏิบัติ การใช้การดูแลรักษาขลุ่ยเพียงออ ประวัติ
ความเปน็ มาของบทเพลงท่ีนามาบรรเลงปฏิบัตทิ ่านั่ง การใช้และดูแลรกั ษาขลยุ่ เพยี งออ เทคนคิ การปฏิบตั ขิ ลุ่ย
เพยี งออ
สามารถปฏิบัติขลุ่ยเพียงออได้อย่างไพเราะ ถูกทานอง จังหวะและอารมณ์เพลง มีความสามารถใน
การส่ือสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต และการใช้เทคโนโลยีเพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจในการ
สรา้ งสรรค์ผลงานดา้ นทัศนศลิ ป์ ดนตรีและนาฏศลิ ป์ โดยคานงึ ถงึ ความมรี ะเบยี บวนิ ยั ในการปฏบิ ัตงิ าน รักชาติ
ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน อยู่อย่างพอเพียงมีความซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมันในการทางาน มีจิตสาธารณะ ต่อการ
สร้างสรรคง์ านดนตรี เหน็ คุณคา่ และรักความเป็นไทย
ผลกำรเรียนรู้
1. อธิบายวิธกี ารนั่งเปา่ และจับขลยุ่ เพียงออได้
2. อธบิ ายวิธีใชแ้ ละดแู ลรักษาขล่ยุ เพยี งออได้
3. ปฏบิ ตั ิเทคนคิ พิเศษในการเป่าขลุย่ เพียงออได้
4. อธบิ ายประวัติความเปน็ มาของเพลงที่บรรเลงได้
5. ปฏิบตั ขิ ลุ่ยเพียงออ ตามบทเพลงที่มอบหมาย ได้อย่างน้อย 1 เพลง
รวมท้ังหมด 5 ผลกำรเรยี นรู้
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวัดนาวง
263
คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ (เพ่ิมเตมิ )
รหัสวิชำ ง21201 คอมพิวเตอรเ์ บอื้ งตน้ 1 กลุ่มสำระกำรเรยี นรกู้ ำรงำนอำชพี และเทคโนโลยี
ชั้นมธั ยมศึกษำปีที่ 1 เวลำ 40 ช่ัวโมง 1.0 หนว่ ยกติ ภำคเรียนที่ 1
อธิบายหลักการทางานของคอมพิวเตอร์ บทบาท ประโยชน์ และองค์ประกอบหลักของ
คอมพิวเตอร์ทั้ง 5 ส่วน ไดแ้ ก่ หนว่ ยรบั เข้า หนว่ ยประมวลผลกลาง หน่วยความจาหลกั หน่วยความจาสา
ลอง และหน่วยส่งออก บทบาทของคอมพิวเตอร์ในการอานวยความสะดวกต่อการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ
ในการเปน็ เครือ่ งมือในการสรา้ งงาน ติดต่อสื่อสาร
โดยใช้กระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูล ตรวจสอบ รวบรวมเป็นแฟ้มข้อมูล การจัดเรียงข้อมูล
การคานวณ การทารายงาน การดแู ลรกั ษา การจัดเกบ็ การทาสาเนา การแจกจ่ายและการส่ือสารข้อมูล
มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยีในการสืบค้น ปฏิบัติได้อย่าง
สร้างสรรค์ บนพ้ืนฐานของคุณลักษณะอันพึงประสงคท์ ้งั 2 ประการ ได้แก่ รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ซ่อื สตั ย์
สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย และมีจิต
สาธารณะ
ผลกำรเรยี นรู้
1. สามารถระบุองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ได้
2. จาแนกประเภทของอปุ กรณ์และยกตัวอยา่ งอุปกรณฮ์ าร์ดแวรไ์ ด้
3. อธบิ ายหน้าท่ีและเปรียบเทยี บความแตกต่างของอปุ กรณ์รับขอ้ มูลแตล่ ะชนิดได้
4. อธิบายหนา้ ทข่ี องหน่วยประมวลผลกลางและหน่วยความจาหลกั ได้
5. อธบิ ายหน้าที่และความแตกต่างของอปุ กรณแ์ สดงผลประเภทตา่ งๆได้
6. อธิบายหนา้ ทแ่ี ละความแตกต่างของอุปกรณ์เก็บขอ้ มลู แตล่ ะชนดิ ได้
7. อธบิ ายบทบาทและความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศได้
8. อธบิ ายวิธกี ารใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศได้
9. อธิบายลกั ษณะการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในชวี ิตประจาวนั ได้
10. รวบรวมขอ้ มลู และยกตัวอย่างการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในชวี ติ ประจาวันได้
รวมทงั้ หมด 10 ผลกำรเรียนรู้
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั นาวง
264
คำอธิบำยรำยวิชำ (เพิ่มเตมิ )
รหัสวชิ ำ ง21202 คอมพิวเตอร์เบ้ืองตน้ 2 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี
ชั้นมธั ยมศกึ ษำปีที่ 1 เวลำ 40 ช่ัวโมง 1.0 หน่วยกิต ภำคเรียนท่ี 2
ศึกษาความหมายของข้อมูลสารสนเทศ การนาคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในการช่วยอานวยความ
สะดวกในการดาเนินกิจกรรมต่างๆและตอบสนองความต้องการของบุคคลและสังคม การแยกประเภทของ
ข้อมูล วิธีการประมวลผลข้อมูล การจัดการสารสนเทศ โดยการรวมรวมข้อมูลและตรวจสอบข้อมูลและนา
ข้อมูลที่ได้มาประมวลผล เก็บในรูปแบบของการสื่อสารข้อมูล ทาการปรับเปล่ียนข้อมูลและแบ่งระดับของ
สารสนเทศ
โดยใช้กระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูล ตรวจสอบ รวบรวมเป็นแฟ้มข้อมูล การจัดเรียงข้อมูล การ
คานวณ การทารายงาน การดแู ลรกั ษา การจดั เก็บ การทาสาเนา การแจกจ่ายและการสือ่ สารข้อมลู
มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยีในการสืบค้น ปฏิบัติได้อย่าง
สร้างสรรค์ บนพ้ืนฐานของคุณลักษณะอันพึงประสงค์ทัง้ 8 ประการ ได้แก่ รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซอ่ื สัตย์
สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย และมีจิต
สาธารณะ
ผลกำรเรียนรู้
1. อธบิ ายความหมาของขอ้ มูลสารสนเทศได้
2. จาแนกประเภทของข้อมูลสารสนเทศได้
3. มีทกั ษะในการประมวลผลขอ้ มูลใหเ้ ปน็ สารสนเทศได้
4. อธิบายวิธีการจัดการข้อมลู
5. อธบิ ายรปู แบบของรหัสแทนข้อมลู คอมพวิ เตอร์ได้
6. มที ักษะในการแทนขอ้ มูลด้วยรหัสแทนขอ้ มลู
7. อธิบายความแตกตา่ งของหน่วยขอ้ มูลขนาดตา่ งๆ ได้
8. จัดเรยี งลาดบั ขน้ั ของหน่วยของข้อมูลได้
9. อธบิ ายความแตกตา่ งของกการประมวลผลแบบกลมุ่ และแบบทนั ทีได้
10. ค้นหา รวมรวมขอ้ มลู และยกตัวอย่างเก่ยี วกบั การประมวลผลได้
รวมท้ังหมด 10 ผลกำรเรียนรู้
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนวัดนาวง
265
คำอธิบำยรำยวชิ ำ (เพิ่มเติม)
รหสั วชิ ำ ง22201 คอมพิวเตอร์เบือ้ งต้น 3 กล่มุ สำระกำรเรียนร้กู ำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี
ชนั้ มธั ยมศกึ ษำปที ี่ 2 เวลำ 40 ช่ัวโมง 1.0 หนว่ ยกิต ภำคเรียนที่ 1-2
ศึกษา และ ปฏิบัติเกี่ยวกับ หลักการเบื้องต้นของการส่ือสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการค้นหาข้อมูล การติดต่อสื่อสารผ่าน
เครอื ข่ายคอมพิวเตอรอ์ ยา่ งมีคณุ ธรรมและจริยธรรมและการใช้ซอฟต์แวรใ์ นการทางานด้านตา่ ง ๆ
โดยนาทักษะกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการแก้ปัญหา การติดต่อส่ือสาร การสืบค้น
ข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและสามารถนาซอฟต์แวร์มาประยุกต์ใช้ในการทางานเพื่อ
เพิม่ ประสิทธิภาพในการทางานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งพัฒนาผ้เู รียนให้มวี นิ ยั ใฝ่เรยี นรู้และมีความมุ่งมั่นใน
การทางาน
ผลกำรเรยี นรู้
1. อธิบายหลกั การเบื้องตน้ ของการสื่อสารข้อมลู และเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์
2. อธิบายหลักการและวธิ ีการแกป้ ัญหาดว้ ยกระบวนการเทคโนโลยสี ารสนเทศ
3. คน้ หาข้อมูล และติดต่อส่ือสารผา่ นเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างมีคณุ ธรรมและจริยธรรม
4. ใช้ซอฟต์แวร์ในการทางาน
รวมท้ังหมด 4 ผลกำรเรียนรู้
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนวดั นาวง
266
คำอธิบำยรำยวิชำ (เพ่ิมเติม)
รหัสวชิ ำ ง23201 คอมพิวเตอรก์ รำฟิก Photoshop กล่มุ สำระกำรเรียนรกู้ ำรงำนอำชพี และเทคโนโลยี
ชนั้ มธั ยมศกึ ษำปีที่ 3 เวลำ 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกิต ภำคเรยี นที่ 1
ศึกษาความหมายของคอมพิวเตอร์กราฟิก หลักการ วิธีการออกแบบกราฟิก ซอฟต์แวร์ด้าน
กราฟิก ระบบคอมพิวเตอร์สาหรับงานคอมพิวเตอร์กราฟิก การใช้งานซอฟต์แวร์ด้านกราฟิก ใช้เครื่องมือ
และอุปกรณ์ต่าง ๆ รวมถึงคาสั่งท่ีสาคัญในการออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก ในโปรแกรมกราฟิกได้อย่าง
ชานาญ การนาภาพจากแหล่งภาพต่างๆ มาสร้างสรรค์งานกราฟิกให้มีจินตนาการตามความคิดริเริ่ม ทั้งยัง
ศึกษาหลักการออกแบบเทคนิคการใช้โปรแกรมการออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิกได้จากเว็บไซต์ต่างๆ เพื่อ
นามาประยุกต์ใช้ในการสร้างสรรค์งาน ปฏิบัติการออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิกด้วยโปรแกรมกราฟิก ใช้
กระบวนการ สร้างความรู้ ความเข้าใจ การคิด วิเคราะห์ การฝึกทักษะและปฏิบัติงาน การ
แก้ปัญหา การทางานกลุ่ม การเสริมสร้างเจตคติ และกระบวนการเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เพอื่ ใหผ้ ู้เรยี นเกิด ความตระหนักและเห็นคุณคา่ มีทกั ษะในการสรรา้ งช้ินงาน และการประกอบอาชพี อยา่ งมี
ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล มีคุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ สร้างผลงานในการ
ดารงชีวติ ใชท้ รพั ยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อมอยา่ งมีคุณค่าถูกวธิ ี
ผลกำรเรียนรู้
1. บอกความหมายของกราฟกิ และคอมพวิ เตอรก์ ราฟกิ ได้
2. บอกประโยชนข์ องคอมพวิ เตอรก์ ราฟิกกบั การฟิกยุกต์ใชง้ านด้านตา่ งๆได้
3. อธบิ ายโปรแกรมสาหรบั งานกราฟกิ ได้
4. บอกความสามารถของโปแกรม Adobe Photoshop ได้
5. สรา้ งผลงานจากโปแกรม Adobe Photoshop ได้
6. ทาการบนั ทึก Imago Map
รวมทั้งหมด 6 ผลกำรเรยี นรู้
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นวัดนาวง
267
คำอธบิ ำยรำยวิชำ (เพ่ิมเติม)
รหสั วิชำ ง23202 สรา้ งหนังสอื อเิ ล็กทรอนิกส์ กลมุ่ สำระกำรเรียนรกู้ ำรงำนอำชพี และเทคโนโลยี
ชั้นมธั ยมศึกษำปที ี่ 3 เวลำ 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกิต ภำคเรยี นท่ี 2
ศึกษา วิเคราะห์ กระบวนการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ นาเสนองานด้วยโปรแกรมนาเสนอ ใช้
สว่ นประกอบของโปรแกรม FlipAlbum สร้างหนังสอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
โดยใช้ กระบวนการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ นาเสนองานด้วยโปรแกรมนาเสนอ ใช้เครื่องมือและ
ส่วนประกอบ สร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ด้วยโปรแกรม FlipAlbumเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความ
เข้าใจและเห็นคุณค่าของเทคโนโลยี สามารถประยุกต์ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจาวันได้อย่าง
เหมาะสม มีจิตสานึกและรับผิดชอบ ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง รักความเป็นไทย รักชาติ ศาสน์กษัตริย์
มีจิตสาธารณะและมีสมั มาคารวะ
นาความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้เป็นแนวทางในการสร้างสรรค์ผลงานเพ่ือนาไปสู่ การเลือกอาชีพต่อไป
โดยให้มเี จตคตทิ ่ดี แี ละเหน็ ความสาคัญต่ออาชีพ ด้วยความซอ่ื สัตย์ สจุ รติ รบั ผดิ ชอบและเห็นคุณค่า
ผลกำรเรียนรู้
1. อธิบายความรูท้ ่ัวไปเกย่ี วกับหนังสืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ได้
2. อธิบายความหมายของหนังสอื อิเล็กทรอนิกส์ได้
3. อธิบายวิวฒั นาการของหนังสอื อเิ ล็กทรอนิกสไ์ ด้
4. อธิบายประเภทของหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ได้
5. อธิบายสว่ นประกอบและใช้เครื่องมือ โปรแกรม FlipAlbumได้
6. สามารถใชโ้ ปรแกรม FlipAlbumสรา้ งหนังสืออิเล็กทรอนิกสไ์ ด้เหมาะสมอย่างมีคุณค่า
รวมท้ังหมด 6 ผลกำรเรียนรู้
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั นาวง
268
คำอธิบำยรำยวชิ ำ (เพ่ิมเติม)
รหัสวชิ ำ ง31241 เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรส่ือสำร กลุ่มสำระกำรเรียนรู้กำรงำนอำชพี ฯ
ช้นั มัธยมศึกษำปที ี่ 4 เวลำ 40 ช่ัวโมง 1.0 หน่วยกติ ภำคเรยี นที่ 1
ศึกษาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
คุณลักษณะ หลักการทางานและอุปกรณ์ต่อพ่วง ประเภทของฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ระบบส่ือสารข้อมูลและ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์การถ่ายโอนข้อมูล รูปแบบการส่ือสาร ส่ือกลางท่ีใช้ในการส่งสัญญาณ ชนิดของ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ มาตรฐานการส่ือสารข้อมูล อปุ กรณ์เครือข่าย และ ขอ้ ควรปฏบิ ัติสาหรบั ผู้ใชเ้ ทคโนโลยี
สารสนเทศใชซ้ อฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ได้เหมาะสมกบั งาน ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคน้ ข้อมูลเพื่อการ
เรียนรู้และการส่ือสาร ใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
และนาเสนอในรูปแบบท่ีเหมาะสมตรงตามวัตถปุ ระสงค์ของงานอยา่ งมีประสิทธภิ าพ
สร้างจิตสานึกและความรับผิดชอบในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศปฏิบัติตามพระราชบัญญัติและ
กฎหมายที่เก่ียวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารพัฒนาสมรรถนะความสามารถในการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการแก้ปัญหา สามารถพัฒนาโปรแกรมโดยใช้ภาษาโปรแกรม
คอมพวิ เตอร์ได้
ผลกำรเรยี นรู้
1. สามารถบอกความหมาย บทบาท ความสาคญั ผลกระทบ ลักษณะสาคญั ของข้อมูล สารสนเทศได้
2. สามารถบอกองคป์ ระกอบของระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศได้
3. สามารถบอกองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ ได
4. สามารถบอกวธิ ีการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ได้
5. สามารถบอกผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศได้
6. สามารถแกป้ ัญหาด้วยกระบวนการทางคอมพวิ เตอร์ได้
7. สามารถพัฒนาโปรแกรมโดยใช้ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอรไ์ ด้
รวม 7 ผลกำรเรียนรู้
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวดั นาวง
269
คำอธิบำยรำยวิชำ (เพ่ิมเติม)
รหสั วิชำ ง32223 กำรสรำ้ ง Webpage ประเภท Text Editor กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้กำรงำนอำชีพฯ
ชน้ั ประถมศึกษำปที ี่ 5 เวลำ 40 ช่ัวโมง 1.0 หน่วยกติ ภำคเรยี นท่ี 1
หลักการออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ ขั้นตอนการพัฒนาเว็บไซต์วิเคราะห์และจัดโครงสร้างข้อมูล
ทางเทคโนโลยที ช่ี ่วยให้ประชาชนต่างวัฒนธรรมสือ่ สารกันไดใ้ นชวี ิตประจาวนั การศึกษาความต้องการของผชู้ ม
เว็บไซต์ เน้ือหาท่ีควรมีในเว็บไซต์ ทีมงานพัฒนาเว็บไซต์ ออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์ ส่วนประกอบของหน้า
เว็บเพจ แนวคิดในการออกแบบเว็บเพจ ออกแบบเว็บเพจอย่างไรให้ดูดีลงมือสร้างและทดสอบ เผยแพร่และ
ส่งเสริมให้เป็นท่ีรู้จัก แนวทางการต้ังชื่อโดเมนเนม HTMLภาษาสร้างเว็บ โครงสร้างของภาษาHTMLประเภท
ของแท็ก ตั้งชื่อTitleให้เว็บเพจ แสดงข้อความในหน้าเว็บเพจ ใส่รูปภาพตกแต่งเว็บให้สวยงาม เปลี่ยนสีพื้น
หลังหรือใส่รูปพ้ืนหลัง กาหนดให้ตัวอักษรหนากาหนดให้ตัวอักษรเอียง กาหนดให้ตัวอักษรขีดเส้นใต้
กาหนดให้ข้อความหรือรูปภาพเล่ือนเอง กาหนดให้ตัวอักษรขีดฆ่ากาหนดให้ตัวอักษรเป็นตัวยก กาหนดให้
ตัวอักษรเป็นตัวห้อย กาหนดให้ตัวอักษรท่ีเป็นหัวข้อ ใส่สีตัวอักษรกาหนดขนาดตัวอักษรการใส่อักขระพิเศษ
การสร้างจุดลิงค์ไปยังเว็บเพจอื่นในเว็บไซต์เดียวกันการสร้างจุดลิงค์ไปยังนอกเว็บไซต์ วิธีการสร้างตาราง
กาหนดขอบเขตของตาราง จานวนแถวในตารางจานวนแถวคอลัมน์ ในแต่ละแถวกาหนดจัดตาแหน่งข้อมูล
ภายในช่องตามแนวตั้ง กาหนดให้ ขอบและสีตารางปรากฎ กาหนดสีของตารางกาหนดรูปภาพพ้ืนหลังของ
ตาราง กาหนดตาแหน่งของตารางในหน้าเว็บ การจัดลาดับหัวข้อและเนื้อหาโดยใช้<ul>การจัดลาดับหัวข้อ
และเน้ือหาโดยใช้<ol> การจัดลาดับหัวข้อและเนื้อหาโดยใช้<dl> คาสั่งที่ใช้ในการตกแต่ง Frameความรู้
เก่ียวกับFrameการแบ่งหน้าจอแสดงผล การสร้างช่องรับข้อมูลชนิด Text Box การสร้างช่องรับข้อมูลชนิด
Password การสร้างช่องรับข้อมูลชนิด Text Area การสร้างช่องรับข้อมูลชนิด Check Box การสร้างช่องรับ
ข้อมูลชนดิ Radio Button การสรา้ งช่องรบั ข้อมลู ชนิด Selection Box
โดยใช้กระบวนการแสวงหาความรู้ สืบค้น กระบวนการปฏิบัติ และอธบิ ายให้เกิดความเข้าใจในการ
สรา้ งเวบ็ ไซต์เพ่อื ให้เกิด ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
การวัดผลประเมินผล ด้วยวิธีท่ีหลากหลายตามสภาพความเป็นจริงของเน้ือหาทักษะกระบวนการ
สมรรถสาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ท่ีต้องวัด
ผลกำรเรียนรู้
1. นักเรยี นสามารถกาหนดเป้าหมายและวางแผนในการสร้างเวบ็ ไซต์ได้
2. นกั เรยี นสามารถวเิ คราะหข์ ้อมลู ทีจ่ ะนาไปสร้างเวบ็ ไซต์
3. นกั เรยี นสามารถออกแบบและจดั โครงสรา้ งของเวบ็ ไซต์ได้
4. นักเรียนสามารถเขา้ ใจถึงหลักการออกแบบและเผยแพรเ่ ว็บไซต์ได้
5. นักเรยี นสามารถเข้าใจถึงความหมายของภาษา HTMLได้
6. นกั เรียนสามารถสร้างเว็บเพจอย่างง่ายไดด้ ว้ ยตัวเอง
7. นกั เรยี นสามารถใช้คาส่ังในการจดั การกบั ตวั อักษรในการสรา้ งเวบ็ ไซต์ได้
8. นกั เรยี นสามารถสรา้ งจดุ ลงิ ค์ไปยังเวบ็ เพจอื่นๆในเว็บไซต์เดยี วกนั และสร้างจดุ ลงิ ค์ไปยังนอกเว็บไซต์ได้
9. นักเรียนสามารถเรยี นร้วู ธิ กี ารสรา้ งตารางอย่างงา่ ยได้
10. นักเรยี นสามารถสร้างและแบง่ เฟรมได้
11. นักเรยี นสามารถสรา้ งฟอร์มในภาษา HTML ได้
รวม 12 ผลกำรเรยี นรู้
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนวัดนาวง
270
คำอธิบำยรำยวชิ ำ (เพ่ิมเติม)
รหัสวชิ ำ ง33221 Web design กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี
ชั้นมธั ยมศกึ ษำปที ี่ 6 เวลำ 40 ช่ัวโมง 1.0 หนว่ ยกิต ภำคเรยี นท่ี 1
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการ ความสาคัญ ข้ันตอนของการออกแบบเว็บไซต์ ประโยชน์ของ
โปรแกรมออกแบบเว็บไซต์ การเรียกใช้งานโปรแกรม หน้าต่างของโปรแกรม การใช้คาสั่งในโปรแกรมการ
ใช้เคร่ืองมือในการออกแบบ การจัดและตกแต่งข้อความ การจัดการภาพกราฟิก การใช้งานเลเยอร์ การใช้
งานกับเฟรม การทางานกับตาราง การออกแบบและสร้างจดุ เช่ือมโยง การออกแบบปุ่มคลกิ การนาไฟล์
จากโปรแกรมอืน่ มาใช้งาน การจดั ตั้งและเผยแพรเ่ ว็บไซต์
เพื่อใหผ้ เู้ รียนมคี วามคดิ รเิ ร่ิมสรา้ งสรรคใ์ นการนาออกมาเผยแพร่สรู่ ะบบเครือขา่ ย มงุ่ เน้นการ
พัฒนาทักษะในการสรา้ งสรรคผ์ ลงานการจัดการพฒั นาคิดคน้ และเกิดเจตคติท่ดี ตี ่อการใชค้ อมพิวเตอร์
ผลกำรเรยี นรู้
1. มคี วามรทู้ ่วั ไป เก่ียวกับ Web design
2. บอกความสาคญั ของการออกแบบเว็บไซต์
3. สามารถเขียนโครงสร้างและการใชง้ านโปรแกรม
4. สามารถเขยี นขั้นตอนการจัดการโปรแกรมการใช้คาส่ังการใช้เครอื่ งมือในการออกแบบการจัดการ
กราฟิกการใช้งานกบั เลเยอรก์ ารใชง้ านกบั เฟรมการทางานกับตารางการออกแบบและการสร้างจุด
เชอื่ มโยงการออกแบบปุ่มคลิก
5. สามารถนาไฟลจ์ ากโปรแกรมอน่ื มาประยกุ ต์ใชง้ าน
6. สามารถนาเสนอและเผยแพร่เวบ็ ไซต์
7. สามารถดูแลบารุงรักษาเว็บไซต์
รวม 7 ผลกำรเรยี นรู้
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนวัดนาวง
271
คำอธิบำยรำยวิชำ (เพ่ิมเตมิ )
รหัสวชิ ำ ง 33222 กำรสร้ำงงำนมัลติมิเดีย กลุ่มสำระกำรงำนอำชพี และเทคโนโลยี
ชน้ั มัธยมศึกษำปที ี่ 6 เวลำ 40 ชั่วโมง 1.0หน่วยกติ ภำคเรยี นท่ี 2
ศึกษาระบบคอมพิวเตอร์สาหรับงานมัลติมีเดีย อุปกรณ์แสดงผลกราฟิก การแสดงผลด้วยภาพ
วีดีโอ เสียง อุปกรณ์ประกอบ เช่น เคร่ืองขับแผ่นบันทึก ซีดี การ์ดประมวลผลเสียง วีดีโอ สแกนเนอร์
เครื่องพิมพ์สี ฯลฯ การเก็บรวบรวมข้อมูลแบบมัลติมีเดียภาพ วีดีโอ เสียง ข้อมูล การใช้โปรแกรมแบบ
มัลติมีเดีย คาสั่งในการดาเนินงาน หลักการกราฟิก การเขียนรูปภาพ การเก็บรูปภาพ การแก้ไข การสร้าง
กราฟิก การสร้างงานมัลติมีเดีย การใช้สี การตกแต่งภาพ การเช่ือมข้อมูล หลักการส่ือหลายมิติ การสร้าง
ขอ้ ความหลายมิติ งานประยกุ ตด์ ้านการศึกษา
ปฏิบัติการสร้างงานแบบมัลติมีเดียและการใช้โปรแกรมสาหรับนาเสนองานมัลติมีเดีย เพื่อนาเสนอ
งานต่าง ๆเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจและทักษะในการใช้เทคโนโลยีสร้างงานแบบมัลติมีเดีย ในการนาเสนอ
งานต่าง ๆ อย่างหลากหลาย มจี ติ สานึกและรบั ผดิ ชอบ
ผลกำรเรยี นรู้
1. เขา้ ใจหลกั การสรา้ งงานมัลติมีเดยี
2. ออกแบบการสรา้ งงานมลั ติมีเดยี ได้
3. รจู้ กั คาศัพท์ทใี่ ชใ้ นโปรแกรมการสรา้ งงานมัลตมิ ีเดยี
4. สามารถติดตงั้ โปรแกรมท่ีใช้ในการสรา้ งงานมัลติมีเดียได้
5. สามารถใช้ส่วนควบคุมต่างๆโปรแกรมสร้างงานมลั ตมิ ีเดยี ได้
6. สรา้ งภาพกราฟิกโดยใช้เทคนิคในแบบตา่ งๆได้
7. ใชโ้ ปรแกรมตัดต่อเสยี งได้
8. สามารถใส่ Effect ของ Videoใหก้ ับงานมัลติมีเดยี ได้
9. สามารถใส่ Effect ของ Audioให้กบั งานมัลติมีเดยี ได้
10. รจู้ ักรปู แบบต่างๆของไฟล์ Video
11. สามารถ Export ไฟลอ์ อกมาเปน็ ไฟล์ Video ในรูปแบบต่างๆได้
12. สามารถแปลงไฟล์ Video จากรูปแบบหน่งึ ไปเปน็ อกี รูปแบบหนึง่ ได้
13. สร้าง VCD,DVD และเขยี นเปน็ แผ่นได้
รวม 13 ผลกำรเรยี นรู้
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนวดั นาวง
272
คำอธบิ ำยรำยวิชำ (เพ่ิมเติม)
รหสั วชิ ำ ส3o2o1 กฏหมำยท่ปี ระชำชนควรรู้ กลุ่มสำระสังคมศกึ ษำศำสนำและวัฒนธรรม
ชนั้ มัธยมศกึ ษำปีท่ี 4 เวลำ 40 ชว่ั โมง 1.0หนว่ ยกิต ภำคเรยี นที่ 1
บอก อธิบาย จาแนก ยกตัวอย่าง สรุป เปรียบเทียบ และวิเคราะห์ความหมายความสาคัญ ที่มาและ
ลักษณะสาคัญของกฎหมาย ระบบกฎหมาย ประเภทของกฎหมาย กระบวนการจัดทากฎหมายลายลักษณ์
อกั ษรการบังคับใช้กฎหมายและการส้ินผลการบังคับใช้กฎหมาย รัฐธรรมนูญ หลักกฎหมายแพ่งหลกั กฎหมาย
อาญา กฎหมายเกี่ยวกับทะเบียนราษฎรและบัตรประจาตัวประชาชนกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองเด็ก
กฎหมายเก่ียวกับการคุ้มครองผู้บริโภค กฎหมายเก่ียวกับการรับราชการทหาร กฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติดให้
โทษรวมท้ังปัญหาการใช้กฎหมายในสังคมไทยที่เกิดจากประชาชนเจ้าพนักงานและตัวบทกฎหมายเองรวมทั้ง
แนวทางป้องกันแก้ไขปญั หาเหล่านโี้ ดยใช้กระบวนการสงั คมศาสตรก์ ารคดิ วิเคราะห์
การสืบค้นข้อมูล กระบวนการกลุ่ม การแก้ปัญหา และการอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ
สามารถส่ือสารส่ิงท่ีเรียนรู้สามารถท่ีจะตัดสินใจ รวมท้ังปฏิบัติตามกฎหมาย รวมทั้งปฏิบัติตามกฎหมายได้
อย่างถูกต้องตระหนัก เห็นคุณค่า และความสาคัญของกฎหมาย รวมทั้งเห็นความสาคัญท่ีต้องปฏิบัติตาม
กฎหมาย มจี ิตสาธารณะ มีจรยิ ธรรม คุณธรรม และคา่ นิยมที่เหมาะสม
ผลกำรเรียนรู้
1. ตระหนกั ในความสาคญั ของกฎหมายวา่ มปี ระโยชนแ์ ละจาเปน็ ต่อการดารงอย่ขู องสังคม
2. รแู้ ละเขา้ ใจเก่ยี วกับที่มาของกฎหมายและระบบกฎหมาย อนั เปน็ พืน้ ฐานสาคัญในการศกึ ษา
วิชากฎหมาย
3. รูแ้ ละเขา้ ใจเกย่ี วกับกฎหมายประเภทตา่ ง ๆ ท่จี ะนามาบงั คับใช้ในสังคม ทง้ั สังคมภายในประเทศ
แบะสังคมนานาประเทศ
4. รู้และเข้าใจเก่ียวกบั กระบวนการจัดทา ตลอดจนข้นั ตอนตา่ ง ๆ ของการรา่ งและการประกาศใช้
กฎหมายลายลกั ษณอ์ ักษร
5. รแู้ ละเข้าใจเกยี่ วกับการบังคับใชก้ ฎหมายและการส้นิ ผลการบงั คบั ใช้กฎหมายในสงั คมไทย
6.รแู้ ละเขา้ ใจเกย่ี วกับรฐั ธรรมนญู วา่ เปน็ กฎหมายสูงสดุ ทวี่ า่ ด้วยการจัดระเบียบแห่งอานาจรัฐและ
กาหนดหลักประกันสทิ ธแิ ละเสรภี าพของประชาชนในรฐั ซง่ึ เปน็ กฎหมายที่มีฐานะเหนือกว่าบรรดากฎหมาย
และกฎเกณฑ์ทงั้ ปวงที่มีการตราออกมาใช้บงั คับ
7. รู้ เข้าใจ และเหน็ ความสาคญั ของกฎหมายแพ่ง รวมทงั้ สามารถนาไปปฏบิ ตั ิเพื่อใหเ้ กดิ ประโยชน์
สาหรับตนเอง ครอบครวั และสงั คมได้อย่างถูกต้อง
8. ร้แู ละเข้าใจในหลักกฎหมายอาญาว่ามีความสาคญั ในการควบคมุ .พฤติกรรมของบุคคลในสงั คมให้
เคารพสิทธิ เสรีภาพ และปฏิบัตติ ่อกนั อย่างถกู ต้องภายใต้กรอบแหง่ กฎหมาย ไม่ประพฤตฝิ า่ ฝืนกฎหมาย ซึง่
จะมีความผดิ และถูกลงโทษ
9. รู้ เข้าใจ และตระหนกั ในความสาคัญของกฎหมายเกยี่ วกับการทะเบยี นราษฎรและบตั รประชาชน
รวมทั้งสามารถไปปฏบิ ัตไิ ด้อย่างถูกต้อง
10. รู้ เขา้ ใจ และตระหนักในความสาคญั ของกฎหมายเกยี่ วกบั การค้มุ ครองเดก็ รวมทัง้ สามารถนาไป
ปฏบิ ตั ิไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
11. รู้ เข้าใจ และตระหนักในความสาคญั ของกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผบู้ รโิ ภค รวมท้งั สามารถ
นาไปปฏบิ ัตไิ ด้อย่างถูกต้อง
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดนาวง
273
12. รู้ เข้าใจ แบะเหน็ ความสาคญั ของการรับราชการทหาร รวมท้ังปฏบิ ัติตนตามกฎหมายเกยี่ วกบั
การรับราชการทหารได้ถูกต้อง
13. รู้และเข้าใจกฎหมายเก่ียวกับยาเสพติดให้โทษ รวมทั้งสามารถนาไปใช้แก้ปัญหาและแนะนาให้
ผอู้ ื่นปฏิบัติตามกฎหมายเพอื่ หลีกเลี่ยงการกระทาผิดกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษในสงั คมไทยและสังคม
โลก
14. ตระหนกั ถึงปญั หาการใช้กฎหมายในสงั คมไทย และสามารถหาแนวทางปอ้ งกนั แก้ไขได้
รวม 14 ผลกำรเรยี นรู้
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนวัดนาวง
274
คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ (เพิ่มเติม)
รหสั วชิ ำ ส3o2o2 ภูมิศำสตรก์ ำรทอ่ งเที่ยว กลุ่มสำระสังคมศกึ ษำศำสนำและวัฒนธรรม
ชั้นมัธยมศกึ ษำปที ี่ 4 เวลำ 40 ชว่ั โมง 1.0 หน่วยกิต ภำคเรยี นที่ 2
ศึกษาภูมิศาสตร์ไทยและภูมิศาสตร์โลกที่เก่ียวข้องกับการท่องเท่ียว วิเคราะห์เง่ือนไขด้านภูมิศาสตร์
ที่มีผลต่อการวางแผนการจัดการการท่องเที่ยวและการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียว ตลอดจนอิทธิพลของสภาพ
ภมู ศิ าสตร์ท่ีมีผลต่อมนษุ ยใ์ นภูมิภาคตา่ งๆ
ผลกำรเรยี นรู้
1. เพ่ือให้ทราบข้อมูลทางภูมิศาสตร์ด้านกายภาพ และด้านวัฒนธรรม อันเป็นพ้ืนฐานสาคัญต่อการ
จัดการทอ่ งเทีย่ ว
2. เพื่อฝึกฝนประสบการณ์ตรงในด้านการท่องเท่ียวกับสภาพภูมิศาสตร์ นิเวศวิทยา รวมถึง
สถานการณ์ดา้ นภูมิศาสตร์ของประเทศไทยในแตล่ ะภูมิภาค
3. เพื่อเรียนรู้การจัดการท่องเท่ียวในอุทยานแห่งชาติในเขตอีสานใต้ อันเป็นแนวทางในการ
ประยกุ ต์ใชค้ วามรทู้ างภมู ศิ าสตรก์ ารทอ่ งเทย่ี ว
4. เพื่อนาความรู้จากการให้บริการชุมชนทางด้านข้อมูลพ้ืนฐานการท่องเที่ยวในเขตจังหวัดอีสานใต้
มาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน ให้เห็นแบบอย่างการพัฒนารูปแบบรายการนาเที่ยวตามพื้นท่ีทาง
ภมู ิศาสตร์ท่ีหลากหลายในเขตอสี านใต้
รวม 4 ผลกำรเรียนรู้
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนวดั นาวง
275
คำอธบิ ำยรำยวิชำ (เพ่ิมเตมิ )
รหัสวชิ ำ ส3o2o4 อำเซยี นศกึ ษำ กล่มุ สำระสงั คมศึกษำศำสนำและวัฒนธรรม
ชนั้ มัธยมศกึ ษำปที ี่ 5 เวลำ 40 ช่ัวโมง 1.0 หน่วยกติ ภำคเรียนท่ี 2
ศึกษา สืบค้นและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับความรู้พ้ืนฐานอาเว๊ยนในเร่ืองประวัติความเป็นมาของ
อาเซียน การก่อต้ังอาเซียน สมาชิกอาเซียน การบริหารและขั้นตอนการดาเนินงานของอาเซียน อัตลกั ษณ์
และสัญลักษณ์ของอาเซียน ปฏญิ ญาอาเซยี น วิสัยทศั น์อาเซยี น กฏบัตรอาเซียน ประเทศสมาชิกอาเซียนใน
เร่ืองธงชาติและตราประจาแผ่นดินของประเทศสมาชิกแต่ละประเทศ สภาพทางภูมิศาสตร์ ประวัติความ
เป็นมา การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับไทย
ประชาคมอาเซียนในเรื่องการจัดต้ังประประชาคมอาเซียน เสาหลักประชาคมอาเวียน บทบาทของไทยใน
การจัดตั้งประชาคมอาเซียน อาเซียนกับความสัมพันธ์ภายนอกอาเซียน ทั้งอาเซียน + 3 อาเซียนกับ
ประเทศคเู่ จรจา อาเซียนกบั สหภาพยุโรป และอาเซียนกับองค์การสหประชาชาติ พลวตั อาเซยี นในทศวรรษ
หนา้ ในเรอื่ งทที่ า้ ทายและอนาคตของอาเซยี นในทศวรรษหนา้
โดยใช้ทักษะการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยีสารสตนเทศ กระบวนการกลุ่ม
กระบวนการทางสังคม กระบวนการนาเสนอข้อมูลและวธิ ีการทางประวัติศาสตร์
เพ่ือให้นกั เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถคดิ วิเคราะห์ สร้างองคค์ วามร้ใู หม่ ตระหนักเห็นคณุ ค่า
มีความภูมิใจในความเป็นไทยและความเป็นอาเซียน ร่วมกันรับผิดชอบต่อประชาคมอาเซียน มีวิถีชีวิต
ประชาธิปไตย ยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล สันติวิธี/สันติธรรม ยอมรับความแตกต่างในการนับถือศาสนา
และการดาเนินชีวติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ผลกำรเรยี นรู้
1. รู้และเข้าใจเก่ียวกับความรู้พ้ืนฐานอาเซียนในเรื่องประวัติความเป็นมาของอาเซียน การก่อต้ัง
อาเซียน สมาชิกอาเซียน การบริหารและขั้นตอนการดาเนินงานของอาเซียน อัตลักษณ์อาเซียน ปฏิญญา
อาเซียน วิสยั ทัศน์อาเซยี นและกฎบัตรอาเซยี น
2. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับประเทศสมาชิกอาเซียนในเร่ืองธงชาติและตราประจาแผ่นดินของประเทศ
สมาชิกแต่ละประเทศ สภาพทางภูมิศาสตร์ ประวัติความเป็นมา การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม
และวฒั นธรรม และความสมั พนั ธร์ ะหว่างประเทศกับไทย
3. รู้และเข้าใจเก่ียวกับประชาคมอาเซียนในเร่ืองการจัดตั้งประชาคมอาเซียนและเสาหลัก
ประชาคมอาเซียน รวมท้ังวิเคราะห์บทบาทของไทยในการจัดต้ังประชาคมอาเซีย และนาไปใช้เม่ือเข้าสู่
ประชาคมอาเซยี น
4. รู้และข้าใจเก่ียวกับอาเซียนกับความสัมพันธ์ภายนอกอาเซียนในเรื่องการรวมกลุ่มเศรษฐกิจ
อาเซยี น บทบาทของกลมุ่ เศรษฐกจิ เศรษฐกิจอาเซยี นและความสัมพนั ธ์ภายนอกของอาเซียน
5. วเิ คราะห์ปญั หาและอุปสรรคจากผลงานของกลุ่มอาเซียนในดา้ นตา่ ง ๆ
6. บอกประโยชน์ท่ีประเทศไทยไดร้ ับจากการเป็นสมาชกิ ของประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น
(ASEAN Ec0n0mic C0mmunity): AEC
7. รู้และเข้าใจเก่ียวกับพลวัตอาเซียนในทศวรรษหน้าในเรื่องท่ีท้าทายและอนาคตของอาเซียนใน
ทศวรรษหนา้
รวม 7 ผลกำรเรียนรู้
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนวดั นาวง
276
คำอธิบำยรำยวชิ ำ (เพิ่มเตมิ )
รหสั วิชำ ส3o2o5 ศำสนำสำกล กลุ่มสำระสงั คมศกึ ษำศำสนำและวฒั นธรรม
ชั้นมัธยมศกึ ษำปีท่ี 6 เวลำ 40 ช่วั โมง 1.0หน่วยกติ ภำคเรยี นท่ี 1
ศึกษา วิเคราะห์เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจใน ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พุทธ คริสต์ อิสลามและสิกข์
ในเรื่องความเป็นมา ศาสดา นิกายสาคัญ หลักคาสอน พิธีกรรมและอิทธิพลที่มีต่อการดาเนินชีวิต ความ
สอดคล้องของหลักคาสอนทั้ง5ศาสนาเพ่ือให้มีความเข้าใจหลักคาสอนที่สาคัญของแต่ละศาสนา เห็น
ความสาคญั ของศาสนาท่มี ีตอ่ การดาเนนิ ชีวิต
เพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างศาสนิกชน และนาหลักคาสอนของศาสนามาประยุกต์ใช้ให้เกิด
ประโยชน์กบั ตนเองและส่วนรวม
ผลกำรเรียนรู้
1. อธบิ ายเกย่ี วกับความเปน็ มา ความหมาย องคป์ ระกอบ ความสาคัญของศาสนา คัมภีรท์ างศาสนาท่ี
ตนนบั ถอื ได้
2. อธบิ ายประวัตคิ วามเป็นมาของศาสนาคริสต์ อิสลาม พราหมณ์ – ฮนิ ดู สกิ ข์ ได้
3. อธบิ ายหลักคาสอนของศาสนาต่าง ๆ ท่สี ่งเสรมิ ให้อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขได้
4. วเิ คราะหเ์ ปา้ หมายของหลักคาสอนทีม่ คี วามสอดคล้องกัน
5. ปฏบิ ัติตนตามหลักคาสอน และนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นการดาเนินชีวิตกับศาสนาทีต่ นนับถือ
6. วิเคราะห์เปรียบเทียบกบั ศาสนาท่ตี นนับถือ เพื่อสร้างความเขา้ ใจอันดรี ะหว่างกันเพอ่ื ประโยชนใ์ น
การอย่รู ่วมกนั อยา่ งสนั ติสขุ
7. วิเคราะห์ถงึ ประโยชน์และความจาเป็นของการมีอยู่ของศาสนาต่าง ๆ ตอ่ สังคมไทยเพื่อการอยู่
รว่ มกนั อยา่ งสันติสุข
รวม 7 ผลกำรเรยี นรู้
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นวัดนาวง
277
คำอธิบำยรำยวชิ ำ (เพ่ิมเติม)
รหสั วชิ ำ ส3o2o6 โลกศกึ ษำ กลมุ่ สำระสังคมศึกษำศำสนำและวัฒนธรรม
ชน้ั มธั ยมศกึ ษำปีท่ี 6 เวลำ 40 ชว่ั โมง 1.0 หนว่ ยกติ ภำคเรยี นท่ี 2
ศึกษา วิเคราะห์ความสาคัญของสถาบันทางสังคม บทบาทของสถาบันหรือองค์กรในสถานการณ์
โลก ความหลากหลายของประชากรด้านชาติพันธุ์ที่มีผลต่อความสัมพันธ์ของมนุษยชาติ อิทธิพลของ
สภาพแวดลอ้ มท่ีมีตอ่ วัฒนธรรม เศรษฐกิจและสังคม คา่ นิยมในสงั คมโลก บทบาทด้านสิทธมิ นุษยชนท่ีมีต่อ
สังคมโลก ปัญหาและความขัดแย้งในสังคมโลกและแนวทางแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง ความม่ันคง
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในภูมิภาคต่างๆ ของโลกและแนวทางแก้ไขและพัฒนา
การพงึ่ พาอาศยั ในโลกยุคโลกาภวิ ฒั น์
โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการทางสังคม กระบวนการปฏิบัติ
กระบวนการเผชญิ สถานการณ์และการแก้ปัญหา
เพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความเป็นไปของโลก สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต
มสี ่วนร่วมในการแกไ้ ขปญั หา เพื่อใหเ้ กดิ ความเป็นธรรมในสังคมโลก มีคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ในด้านการ
เปน็ พลโลกทด่ี ี มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และสามารถดาเนินชวี ติ อย่างสันตสิ ขุ ในสังคมไทยและสังคมโลก
ผลกำรเรียนรู้
1.วเิ คราะหบ์ ทบาทสาคัญของสถาบันและองค์กรท่มี ีผลต่อสถานการณโ์ ลกยุคปัจจุบัน
2. วิเคราะห์ความหลากหลายดา้ นชาตพิ ันธ์ทีมตี ่อความสัมพันธข์ องมนษุ ยชาติ อิทธิพลของ
สภาพแวดล้อมที่มตี อ่ วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และสังคม
3. วเิ คราะห์ค่านิยมท่ีมตี ่อผลการกระทาของคนในสังคม และอิทธิพลของส่อื ที่มผี ลตอ่ ค่านิยม
4. ตระหนกั ในความสาคัญของความเสมอภาคและความยุติธรรมในสงั คม มบี ทบาทและมีส่วนรว่ มใน
การสรา้ งความเท่าเทยี มกัน และความเปน็ ธรรมในสังคม
รวม 4 ผลกำรเรียนรู้
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนวดั นาวง
278
4. กจิ กรรมพัฒนำผู้เรยี น
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มุ่งให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้านเพื่อความเป็น
มนุษย์ที่สมบูรณ์ ท้ังร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบ
วินัย ปลูกฝังและสร้างจิตสานึกของการทาประโยชน์เพื่อสังคม สามารถจัดการตนเองได้ และอยู่ร่วมกับผู้อื่น
อย่างมคี วามสุข
กำรดำเนินกำรกิจกรรมพฒั นำผู้เรยี นโรงเรยี นวดั นำวง
แบ่งเป็น 3 ลักษณะ ดังนี้
1. กิจกรรมแนะแนว
กจิ กรรมแนะแนวเป็นกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาความสามารถของผู้เรยี นให้เหมาะสมตามความ
แตกต่างระหว่างบุคคล สามารถค้นพบและพัฒนาศกั ยภาพของตน เสริมสร้างทักษะชีวิต วุฒิภาวะทางอารมณ์
การเรียนร้ใู นเชิงพหุปัญญา และสรา้ งสมั พันธภาพท่ีดี โรงเรียนวัดนาวงได้จัดกิจกรรมแนะแนว ดงั น้ี
1.1 จัดกิจกรรมการเรียนรู้เก่ียวกับการแนะแนวให้ความช่วยเหลือนักเรียน โดยจะมีแผนการ
จัดการเรียนรู้ จานวน 40 ช่ัวโมงตอ่ ปีการศึกษา เปน็ การเรียนรู้ที่มงุ่ หวังใหผ้ ู้เรียนเกิดทักษะในการดารงชีวิต
และมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และครมู กี ารบันทกึ หลังดาเนินกจิ กรรม เพือ่ นาไปประมวลผลและพฒั นาต่อไป
1.2 จัดกิจกรรมเพ่ือให้ครูได้รู้จักและช่วยเหลือผู้เรียนมากข้ึน โดยใช้กระบวนการทางจิตวิทยา
การจัดบริการสนเทศ โดยจัดให้มีเอกสารเพ่ือใช้สารวจข้อมูลเก่ียวกับตัวผู้เรียน ดว้ ยการสังเกต การสัมภาษณ์
การใช้แบบสอบถาม การเขียนประวัติ การพบผู้ปกครองก่อนและระหว่างเรียน การเยีย่ มบ้านนักเรียน การให้
ความช่วยเหลือผู้เรียนในเร่ืองสุขภาพจิต เศรษฐกิจ การจัดทาระเบียนสะสม สมุดรายงานประจาตัวนักเรียน
และบัตรสุขภาพ
1.3 จัดกิจกรรมพัฒนาวุฒิภาวะทางอารมณ์ โดยทาแบบทดสอบเพื่อรู้จักและเข้าใจตนเอง
มีทักษะในการตดั สนิ ใจ การปรบั ตวั และการวางแผนเพอื่ เลอื กศกึ ษาต่อ เลอื กอาชีพ
1.4 จัดบริการให้คาปรึกษาแก่ผู้เรียนเป็นรายบุคคล และรายกลุ่ม ในด้านการศึกษา อาชีพ และ
ส่วนตัว โดยมีผู้ให้คาปรึกษาที่มีคุณวุฒิ และมีความเช่ียวชาญในเร่ืองการให้คาปรึกษา ตลอดจนมีห้องให้
คาปรึกษาท่ีเหมาะสม
1.4.1 ช่วยเหลือผู้เรยี นทีป่ ระสบปญั หาด้านการเงนิ โดยการใหท้ ุนการศกึ ษาแกผ่ ้เู รยี น
1.4.2 ตดิ ตามเกบ็ ขอ้ มลู ของนักเรยี นท่สี าเรจ็ การศึกษา
2. กจิ กรรมนกั เรยี น
2.1 กิจกรรมลูกเสือ – เนตรนำรี/กิจกรรมเพื่อสังคมและสำธำรณะประโยชน์ ผู้เรียนใน
ระดบั ช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 และผูเ้ รียนระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 - 3 ทุกคน ได้ฝกึ อบรมวิชาลูกเสอื –
เนตรนารี เพ่ือส่งเสริมหลักการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ส่งเสริมความ
สามัคคี มีวินัย และบาเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมโดยดาเนินการจัดกิจกรรมตามข้อกาหนดของคณะกรรมการ
ลกู เสอื แหง่ ชาติ
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนวดั นาวง
279
กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ทาประโยชน์ตาม
ความสามารถ ความถนัดและความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม
ความเสียสละต่อสังคม มีจิตใจมุ่งทาประโยชน์ต่อครอบครัว ชุมชนและสังคม กิจกรรมสาคัญได้แก่ กิจกรรม
บาเพ็ญประโยชน์ กิจกรรมสร้างสรรค์สังคม กิจกรรมดารงรักษา สืบสานศาสนา ศิลปะและวัฒนาธรรม
กิจกรรมพฒั นานวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่ือสงั คม ซ่ึงจะแทรกในกจิ กรรมลกู เสือ – เนตรนารี
3. กิจกรรมชุมนุม ผู้เรียนสามารถเลือกเข้าเป็นสมาชิกชมรม วางแผนการดาเนินกิจกรรมร่วมกัน
โดยมีชุมนุมท่ีหลากหลาย เหมาะสมกับเพศ วัย และความสนใจของผู้เรียน ประกอบด้วยกิจกรรม ด้าน
คุณธรรม จรยิ ธรรม วัฒนธรรม อนุรักษส์ ่ิงแวดล้อม ส่งเสรมิ ประชาธิปไตย ส่งเสริมการเรยี นรู้ และคา่ ยวชิ าการ
การศกึ ษาดงู าน การฝึกปฏิบตั ิ การบรรยายพเิ ศษ
5. กจิ กรรมเสรมิ หลักสูตร
5.1 Head ภำษำอังกฤษเพื่อกำรสือ่ สำร เป็นกจิ กรรมทมี่ วี ัตถปุ ระสงค์ ดังน้ี
- ให้ผู้เรียนสามารถพูดสนทนาภาษาอังกฤษในสถานการณ์ที่หลากหลายโดยใช้
รูปแบบพน้ื ฐานของบทสนทนา
- ผู้เรียนสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษด้วยการออกเสียง การเน้นน้าหนักคา และ
เสียงในประโยคไดอ้ ย่างถกู ต้อง
- ให้ผู้เรียนสามารถประยุกต์รูปแบบของบทสนทนาท่ีได้ฝึกกบั สถานการณ์แบบใหม่
ได้
5.2 Health เปน็ กิจกรรมท่ีมงุ่ ส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนไดร้ ู้จักดูแลสุขภาพตนเอง เพ่ือให้ผ้เู รยี นเป็น
คนทสี่ มบรู ณท์ ้งั ทางด้านรา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ สงั คมและสติปัญญา
5.3 กิจกรรมสวดมนต์ เป็นกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมท่ีดีสาหรับผ
ผู้เรียน ให้ผู้เรียนรู้จักการกราบพระ สวดมนต์บทส้ัน ๆ และกล่าวคาแผ่เมตตาได้ถูกต้อง ให้ผู้เรียนปฏิบัติตน
ตามหลักคาสอนของพระพุทธศาสนาและเพ่ือฝึกให้นักเรียนมีสมาธิ ซ่ึงจะส่งผลดีต่อการเรียนการสอนให้มี
ประสิทธิภาพที่ดีข้ึน ส่งผลให้ผู้เรียนรู้จักการกราบพระท่ีถูกต้อง สวดมนต์บทสั้น ๆ ได้ แผ่เมตตาได้ ผู้เรียนมี
ความอ่อนน้อมถ่อมตน รู้จักเอ้ือเฟ้ือเผ่ือแผ่ ร่วมทากิจกรรมกับเพ่ือนได้ดี ผู้เรียนมีสมาธิมากขึ้น ซ่ึงจะส่งผลดี
ในการทากิจกรรมในห้องเรียนด้วยและผู้ปกครองช่ืนชม ที่เด็กเช่ือฟัง ไม่ด้ือ ไม่ซน รวมท้ังการนาไปใช้ใน
ชวี ติ ประจาวัน
5.4 สอนเสริม เป็นกิจกรรมการสอนเพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง กรณีท่ีผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ
กระบวนการ หรือเจตคติ / คุณลักษณะ ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด สถานศึกษาต้องจัดสอน
ซ่อมเสริมเป็นกรณีพิเศษนอกเหนือไปจากการสอนปกติ เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนสามารถบรรลุตามมาตรฐานการ
เรียนรู้ / ตัวชี้วัดท่ีกาหนดไว้ เป็นการให้โอกาสแก่ผู้เรียนได้เรียนรู้และพัฒนา โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่
หลากหลายและตอบสนองความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนวดั นาวง
280
โครงสร้ำงและอตั รำเวลำจัดกิจกรรมระดับประถมศึกษำ
กจิ กรรมพฒั นำผ้เู รียน ระดับประถมศึกษำ ป.6
ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 40
- แนะแนว บรู ณาการวิชาต้านทจุ รติ 40 40 40 40 40 40
- ลูกเสอื –เนตรนารี/กิจกรรมเพอ่ื สังคมฯ 40 40 40 40 40 40
- ชมนุม 40 40 40 40 40
120
เวลำเรียนรวม/ปี 120 120 120 120 120
โครงสรำ้ งและอัตรำเวลำจดั กิจกรรมระดบั มธั ยมศกึ ษำตอนต้น
กิจกรรมพฒั นำผู้เรยี น ระดบั มธั ยมศกึ ษำ ม.3
ม.1 ม.2 40
กิจกรรมแนะแนว/สวดมนต์ 40 40
กิจกรรมนักเรยี น 40
40 40 40
- ลกู เสือ – เนตรนำร/ี กจิ กรรมเพื่อสังคม 40 40 120
- ชมรม 120 120
เวลำเรยี นรวม/ปี
โครงสรำ้ งและอัตรำเวลำจัดกิจกรรมระดบั มัธยมศกึ ษำตอนปลำย
กิจกรรมพฒั นำผู้เรยี น ม.4 ระดบั มัธยมศกึ ษำ
40 ม.5 ม.6
กิจกรรมแนะแนว/สวดมนต์ 40 40
กิจกรรมนกั เรยี น 40
40 40 40
- กิจกรรมชุมนมุ วิชำกำร/นักศกึ ษำวิชำทหำร 120 40 40
- กิจกรรมจิตอำสำ 120 120
เวลำเรยี นรวม/ปี
แนวทำงกำรประเมินผลกจิ กรรมพัฒนำผเู้ รียน
การประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน จะต้องพิจารณาท้ังเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบตั ิกิจกรรม
และผลงานของผูเ้ รียน ตามเกณฑท์ ่ีสถานศกึ ษากาหนด และใหผ้ ลการเขา้ ร่วมกจิ กรรมเป็นผา่ น และไมผ่ ่าน
6. เกณฑก์ ำรจบกำรศกึ ษำตำมหลกั สตู รสถำนศกึ ษำโรงเรยี นวดั นำวง
ก า ร วั ด แ ล ะ ป ร ะ เมิ น ผ ล ก า ร เรี ย น รู้ ข อ ง ผู้ เรี ย น ต้ อ ง อ ยู่ บ น ห ลั ก ก า ร พื้ น ฐ า น ส อ ง ป ร ะ ก า ร คื อ
การประเมินเพ่ือพัฒนาผู้เรียนและเพ่ือตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน
ให้ประสบผลสาเร็จนั้น ผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัดเพื่อให้บรรลุตามมาตรฐานการ
เรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรยี นซ่ึงเป็นเป้าหมายหลกั ในการวัดและ
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวดั นาวง
281
ประเมินผลการเรียนรู้ในทุกระดับไม่ว่าจะเป็นระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา
และระดับชาติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนโดยใช้ผลการ
ประเมินเป็นข้อมูลและสารสนเทศที่แสดงพัฒนาการ ความก้าวหน้า และความสาเร็จทางการเรียนของผู้เรียน
ตลอดจนข้อมลู ทีเ่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ การส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รียนเกดิ การพัฒนาและเรยี นรู้อย่างเตม็ ตามศักยภาพ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดนาวง พุทธศักราช 2554 ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 แบ่งออกเป็น 4 ระดับ ได้แก่ ระดับชั้น
เรยี น ระดับสถานศึกษา ระดบั เขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาและระดบั ชาติ มรี ายละเอยี ด ดังนี้
1. กำรประเมินระดับช้ันเรียน เป็นการวัดและประเมินผลทอี่ ยู่ในกระบวนการจัดการเรยี นรู้ ผู้สอน
ดาเนินการเป็นปกติและสม่าเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใช้เทคนิคการประเมิน อย่างหลากหลาย เช่น
การซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การประเมินช้ินงาน / ภาระงาน แฟ้ม
สะสมงาน การใช้แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผู้สอนเป็นผู้ประเมินเองหรือเปิดโอกาสให้ผู้เรียนประเมินตนเอง
เพือ่ นประเมินเพือ่ น ผปู้ กครองร่วมประเมิน ในกรณที ่ีไมผ่ ่านตวั ชวี้ ดั ให้มกี ารสอนซอ่ มเสริม
การประเมินระดับช้ันเรียนเป็นการตรวจสอบว่า ผู้เรียน มีพัฒ นาการความก้าวหน้าใน
การเรียนรู้ อันเป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่ และมากน้อยเพียงใด มีส่ิงที่จะต้อง
ได้รับการพฒั นาปรับปรุงและส่งเสริมในด้านใด นอกจากนี้ยังเปน็ ข้อมูลให้ผู้สอนใช้ปรับปรุงการเรยี นการสอน
ของตนดว้ ย ทัง้ นี้โดยสอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชวี้ ัด
2. กำรประเมินระดับสถำนศึกษำ เป็นการประเมินที่สถานศึกษาดาเนินการเพ่ือตัดสินผล การเรยี น
ของผ้เู รียนเป็นรายปี / รายภาค ผลการประเมินการอา่ น คิดวเิ คราะห์และเขยี น คุณลักษณะอันพึงประสงค์
และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน นอกจากนี้เพื่อให้ได้ข้อมูลเก่ียวกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ว่าส่งผลต่อ
การเรียนรู้ของผ้เู รยี นตามเป้าหมายหรือไม่ ผู้เรียนมี จุดพัฒนาในด้านใด รวมทั้งสามารถนาผลการเรียนของ
ผู้เรียนในสถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติ ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็นข้อมูลและ
สารสนเทศเพ่ือการปรับปรงุ นโยบาย หลักสูตร โครงการ หรอื วธิ ีการจดั การเรียนการสอน ตลอดจนเพ่อื การ
จัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ของสถานศึกษาตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและการ
รายงานผลการจัดการศึกษา ต่อคณะกรรมการสถานศึกษา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา สานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ผปู้ กครองและชมุ ชน
3. กำรประเมินระดับเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำ เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับเขตพื้นท่ี
การศึกษาตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานใน
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ สามารถดาเนินการโดย
ประเมินคุณภาพผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียนด้วยข้อสอบมาตรฐานที่จัดทาและดาเนินการโดยเขตพ้ืนที่การศึกษา
หรือด้วยความร่วมมือกับหน่วยงานต้นสังกัด ในการดาเนินการจัดสอบ นอกจากน้ียังได้จากการตรวจสอบ
ทบทวนขอ้ มลู จากการประเมนิ ระดบั สถานศึกษาในเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา
4. กำรประเมินระดับชำติ เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติตามมาตรฐาน
การเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคนท่ีเรียน
ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 เข้ารับการประเมิน ผลจากการประเมินใช้เป็นข้อมูลใน
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั นาวง
282
การเทียบเคียงคุณภาพการศึกษาในระดับต่าง ๆ เพื่อนาไปใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจัด
การศึกษา ตลอดจนเป็นขอ้ มูลสนับสนุนการตดั สนิ ใจในระดบั นโยบายของประเทศ
ข้อมูลการประเมินในระดับต่างๆ ข้างต้น เป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษาในการตรวจสอบทบทวน
พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ถือเป็นภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาท่ีจะต้องจัดระบบดู แลช่วยเหลือ
ปรับปรุงแก้ไข ส่งเสริมสนับสนุนเพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพื้นฐาน ความแตกต่างระหว่าง
บุคคลท่ีจาแนกตามสภาพปัญหาและความต้องการ ได้แก่ กลุ่มผู้เรียนท่ัวไป กลุ่มผู้เรียนท่ีมีความสามารถ
พเิ ศษ กลุ่มผู้เรียนทม่ี ีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนต่า กลุ่มผู้เรียนที่มปี ัญหาด้านวินัยและพฤติกรรม กลุ่มผู้เรียนท่ี
ปฏิเสธโรงเรียน กลุ่มผเู้ รียนที่มปี ัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม กลมุ่ พิการทางร่างกายและสตปิ ัญญา เปน็ ต้น
ข้อมูลจากการประเมินจึงเป็นหัวใจของสถานศึกษาในการดาเนินการช่วยเหลือผู้เรียนได้ทันท่วงที เปิดโอกาส
ให้ผู้เรียนไดร้ บั การพัฒนาและประสบความสาเร็จในการเรียน
สถานศึกษาในฐานะผู้รับผิดชอบจัดการศึกษา จะต้องจัดทาระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผล
การเรียนของสถานศึกษาให้สอดคล้องและเป็นไปตามหลักเกณฑ์ และแนวปฏิบัติท่ีเป็นข้อกาหนดของ
หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน เพื่อใหบ้ ุคลากรทเ่ี กีย่ วขอ้ งทุกฝ่ายถอื ปฏิบตั ิรว่ มกนั
เกณฑ์กำรจบหลักสตู ร
1. เกณฑ์กำรจบระดับประถมศึกษำ
(1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน และรายวิชา/กิจกรรมเพ่ิมเติมตามโครงสร้างเวลาเรียนที่
หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐานกาหนด และรายวิชา/กิจกรรมเพิม่ เตมิ ตามทส่ี ถานศึกษากาหนด
(2) ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินรายวิชาพ้ืนฐาน ผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ีสถานศึกษา
กาหนด
(3) ผ้เู รียนมผี ลการประเมินการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขยี นในระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน
ตามที่สถานศกึ ษากาหนด
(4) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน
ตามทสี่ ถานศกึ ษากาหนด
(5) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่
สถานศึกษากาหนด
2. เกณฑ์กำรจบระดับมัธยมศกึ ษำตอนต้น
(1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐานและเพ่ิมเติม โดยเป็นรายวิชาพ้ืนฐาน 66 หน่วยกิต และ
รายวชิ าเพ่มิ เตมิ ตามทส่ี ถานศกึ ษากาหนด
(2) ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชา
พนื้ ฐาน 66 หน่วยกิต และรายวชิ าเพิ่มเติมไม่น้อยกวา่ 11 หนว่ ยกิต
(3) ผู้เรียนมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่าน เกณฑ์
การประเมินตามท่ีสถานศกึ ษากาหนด
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดนาวง
283
(4) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน
ตามทส่ี ถานศกึ ษากาหนด
(5) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี
สถานศกึ ษากาหนด
3. เกณฑ์กำรจบระดับมธั ยมศึกษำตอนปลำย
(1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐานและเพิ่มเติม โดยเป็นรายวิชาพ้ืน ฐาน 41 หน่วยกิต
และรายวชิ าเพมิ่ เติมตามทส่ี ถานศึกษากาหนด
(2) ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชา
พืน้ ฐาน 41 หนว่ ยกติ และรายวิชาเพ่มิ เติมไม่นอ้ ยกวา่ 36 หนว่ ยกิต
(3) ผู้เรียนมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่าน เกณฑ์
การประเมินตามที่สถานศกึ ษากาหนด
(4) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน
ตามทีส่ ถานศกึ ษากาหนด
(5) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่
สถานศึกษากาหนด
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนวัดนาวง
284
ภาคผนวก
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดนาวง
285
ภาคผนวก ก
คาสั่งแตง่ ตัง้ คณะกรรมการบริหารหลักสตู รและงานวชิ าการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั นาวง
02-565-5566
www.watnawong.ac.th
[email protected]
โรงเรยี นวัดนาวง
สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1
177 หมู่ 1 ตาบลหลักหก อาเภอเมืองปทุมธานี จังหวดั ปทุมธานี