แหลง่ การเรียนรู้
ในสถานศกึ ษา
1. ห้องสมุดวทิ ยาลัยเทคนิคสมุทรสาคร
2. ห้องปฏบิ ตั กิ ารคอมพิวเตอร์ ศึกษาหาขอ้ มลู ทางอนิ เทอรเ์ นต็
นอกสถานศึกษา
ผูป้ ระกอบการ สถานประกอบการ ในทอ้ งถ่ินจังหวัดสมทุ รสาคร
การบูรณาการ/ความสัมพันธ์กบั วิชาอ่นื
1. บูรณาการกับวชิ าอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์เบือ้ งตน้
2. บูรณาการกับวิชาวงจรไฟฟ้าเบ้ืองต้น
3. บูรณาการกบั วชิ าเคร่ืองวัดไฟฟ้า
การประเมินผลการเรียนรู้
• หลกั การประเมนิ ผลการเรียนรู้
ก่อนเรยี น
ความรู้เบ้อื งตน้ ก่อนการเรยี นการสอน
ขณะเรยี น
1. ตรวจใบปฏิบตั งิ าน 7 การใช้โอห์มมิเตอรว์ ดั หาคา่ ความตา้ นทาน
2. สงั เกตการทำงาน
หลงั เรยี น
1. ตรวจแบบฝึกหดั หน่วยท่ี 7
คำถาม
1. จงอธบิ ายเคร่อื งวดั ความต้านทานแบบบริดจ์
2. เมกโอห์มมเิ ตอร์ คอื
3. การวัดว่าความต้านทาน วัดอยา่ งไร
4. สามารถหาสเกลโอหม์ มเิ ตอรอ์ ยา่ งไร
5. ใช้งานโอห์มมเิ ตอรอ์ ย่างไรบา้ ง
6. โครงสรา้ งโอหม์ มเิ ตอรเ์ บือ้ งตน้ มีลกั ษณะอยา่ งไร
ผลงาน/ชิ้นงาน/ผลสำเรจ็ ของผู้เรยี น
ใบปฏบิ ตั ิงาน 7 การใชโ้ อหม์ มิเตอร์วัดหาคา่ ความต้านทาน, แบบฝกึ หดั หน่วยท่ี 7
สมรรถนะที่พึงประสงค์
ผู้เรียนสรา้ งความเขา้ ใจเก่ยี วกับโอห์มมเิ ตอร์
1. วเิ คราะหแ์ ละตีความหมาย
2. ต้ังคำถาม
3. อภิปรายแสดงความคิดเห็นระดมสมอง
4. การประยกุ ตค์ วามรสู้ ่งู านอาชพี
สมรรถนะการปฏิบัติงานอาชีพ
1. นำโอหม์ มเิ ตอร์ไปใช้งาน
สมรรถนะการขยายผล
ความสอดคลอ้ ง
จากการเรียนเรือ่ ง นำโอห์มมิเตอร์ไปใชง้ าน ทำใหผ้ ู้เรียนมคี วามรู้เพ่ิมเกีย่ วกับการเปล่ียนสเกลของดีซี
ไมโครแอมมิเตอร์ให้เป็นสเกลโอห์ม ทำได้โดยกำหนดค่าความต้านทานจากค่าน้อยไปหาค่ามาก นำไปแทนค่า
คำนวณด้วยกฎของโอห์มในวงจรโอห์มมิเตอร์ จะได้กระแสไฟฟ้าเรียงลำดบั จากค่ามากไปหาค่าน้อย เปลี่ยนค่า
กระแสไฟฟ้าท่ีคำนวณได้เป็นค่าความต้านทานทกี่ ำหนดในการคำนวณ
รายละเอียดการ ประเมินผลการเรียนรู้
• จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม ขอ้ ที่ 1 อธิบายเครอ่ื งวดั ความตา้ นทานแบบบรดิ จไ์ ด้
1. วธิ กี ารประเมิน : ทดสอบ
2. เครือ่ งมอื : แบบทดสอบ
3. เกณฑก์ ารให้คะแนน : อธบิ ายเครือ่ งวดั ความตา้ นทานแบบบรดิ จ์ได้ จะได้ 1 คะแนน
• จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม ข้อที่ 2 สรปุ เมกโอหม์ มิเตอรไ์ ด้
1. วธิ ีการประเมนิ : ทดสอบ
2. เครือ่ งมอื : แบบทดสอบ
3. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : สรุปเมกโอหม์ มเิ ตอรไ์ ด้ จะได้ 1 คะแนน
• จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม ข้อที่ 3 ฝึกวดั ว่าความตา้ นทานได้
1. วธิ ีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครอ่ื งมอื : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การใหค้ ะแนน : ฝึกวัดว่าความต้านทานได้ จะได้ 2 คะแนน
• จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อท่ี 4 หาสเกลโอหม์ มิเตอรไ์ ด้
1. วธิ ีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครอ่ื งมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑก์ ารให้คะแนน : หาสเกลโอหม์ มเิ ตอรไ์ ด้ จะได้ 2 คะแนน
• จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ข้อที่ 5 ใช้งานโอหม์ มเิ ตอรไ์ ด้
1. วธิ กี ารประเมนิ : ทดสอบ
2. เคร่อื งมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : ใช้งานโอห์มมิเตอรไ์ ด้ จะได้ 2 คะแนน
• จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม ขอ้ ที่ 6 ชี้แจงโครงสร้างโอหม์ มิเตอร์เบื้องตน้ ได้
1. วธิ กี ารประเมนิ : ทดสอบ
2. เครือ่ งมอื : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การใหค้ ะแนน : ชีแ้ จงโครงสรา้ งโอห์มมิเตอร์เบ้อื งต้นได้ จะได้ 1 คะแนน
• จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม ข้อที่ 7 ใช้งานโอหม์ มิเตอรไ์ ดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม
1. วธิ ีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครอื่ งมอื : แบบทดสอบ
3. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : ใชง้ านโอหม์ มิเตอรไ์ ดอ้ ย่างถูกตอ้ งเหมาะสม จะได้ 1 คะแนน
แบบประเมินผลการนำเสนอผลงาน
ช่อื กลุ่ม……………………………………………ชั้น………………………หอ้ ง...........................
รายชอื่ สมาชิก
1……………………………………เลขที่……. 2……………………………………เลขที่…….
3……………………………………เลขท่ี……. 4……………………………………เลขที่…….
ที่ รายการประเมิน คะแนน ข้อคดิ เหน็
32 1
1 เน้ือหาสาระครอบคลุมชัดเจน (ความรเู้ ก่ียวกบั เนอ้ื หา ความถกู ต้อง
ปฏภิ าณในการตอบ และการแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหนา้ )
2 รปู แบบการนำเสนอ
3 การมีสว่ นร่วมของสมาชกิ ในกลุ่ม
4 บคุ ลิกลกั ษณะ กิริยา ท่าทางในการพูด น้ำเสียง ซึ่งทำให้ผู้ฟังมีความ
สนใจ
รวม
ผู้ประเมิน…………………………………………………
เกณฑก์ ารให้คะแนน
1. เนอ้ื หาสาระครอบคลุมชดั เจนถกู ต้อง
3 คะแนน = มสี าระสำคญั ครบถว้ นถูกต้อง ตรงตามจุดประสงค์
2 คะแนน = สาระสำคัญไมค่ รบถว้ น แต่ตรงตามจดุ ประสงค์
1 คะแนน = สาระสำคญั ไมถ่ กู ตอ้ ง ไมต่ รงตามจุดประสงค์
2. รูปแบบการนำเสนอ
3 คะแนน = มีรูปแบบการนำเสนอท่ีเหมาะสม มกี ารใชเ้ ทคนคิ ทแ่ี ปลกใหม่ ใชส้ อื่ และเทคโนโลยี
ประกอบการ นำเสนอทีน่ า่ สนใจ นำวสั ดใุ นทอ้ งถ่ินมาประยกุ ต์ใชอ้ ย่างคุ้มคา่ และประหยดั
2 คะแนน = มเี ทคนิคการนำเสนอทีแ่ ปลกใหม่ ใชส้ ่อื และเทคโนโลยปี ระกอบการนำเสนอที่น่าสน ใจ แต่
ขาดการประยกุ ตใ์ ช้ วสั ดุในท้องถิน่
1 คะแนน = เทคนคิ การนำเสนอไมเ่ หมาะสม และไมน่ ่าสนใจ
3. การมสี ่วนร่วมของสมาชกิ ในกล่มุ
3 คะแนน = สมาชิกทกุ คนมีบทบาทและมสี ว่ นร่วมกิจกรรมกลมุ่
2 คะแนน = สมาชกิ สว่ นใหญม่ ีบทบาทและมสี ่วนรว่ มกิจกรรมกล่มุ
1 คะแนน = สมาชิกส่วนน้อยมีบทบาทและมสี ่วนรว่ มกจิ กรรมกลมุ่
4. ความสนใจของผ้ฟู ัง
3 คะแนน = ผูฟ้ งั มากกว่ารอ้ ยละ 90 สนใจ และใหค้ วามร่วมมือ
2 คะแนน = ผู้ฟงั ร้อยละ 70-90 สนใจ และใหค้ วามรว่ มมอื
1 คะแนน = ผู้ฟงั น้อยกวา่ ร้อยละ 70 สนใจ และให้ความรว่ มมอื
แบบประเมินกระบวนการทำงาน
ชอื่ กลมุ่ ……………………………………………ชนั้ ………………………หอ้ ง...........................
รายชื่อสมาชิก 2……………………………………เลขที่…….
4……………………………………เลขที่…….
1……………………………………เลขท…ี่ ….
3……………………………………เลขท…่ี ….
ที่ รายการประเมิน คะแนน ข้อคดิ เห็น
1 การกำหนดเปา้ หมายร่วมกนั 321
2 การแบ่งหนา้ ทร่ี บั ผิดชอบและการเตรียมความพรอ้ ม
3 การปฏิบตั หิ น้าทท่ี ่ีได้รบั มอบหมาย
4 การประเมนิ ผลและปรบั ปรงุ งาน
รวม
ผ้ปู ระเมนิ …………………………………………………
วนั ที่…………เดอื น……………………..พ.ศ…………...
เกณฑก์ ารให้คะแนน
1. การกำหนดเปา้ หมายร่วมกัน
3 คะแนน = สมาชกิ ทุกคนมสี ่วนรว่ มในการกำหนดเปา้ หมายการทำงานอย่างชดั เจน
2 คะแนน = สมาชกิ สว่ นใหญ่มีสว่ นร่วมในการกำหนดเปา้ หมายในการทำงาน
1 คะแนน = สมาชกิ ส่วนนอ้ ยมีสว่ นรว่ มในการกำหนดเปา้ หมายในการทำงาน
2. การหน้าทรี่ ับผดิ ชอบและการเตรยี มความพรอ้ ม
3 คะแนน = กระจายงานไดท้ วั่ ถึง และตรงตามความสามารถของสมาชิกทกุ คน มีการจดั เตรียมสถานที่ สอื่ /
อปุ กรณไ์ วอ้ ย่างพรอ้ มเพรียง
2 คะแนน = กระจายงานได้ทวั่ ถงึ แต่ไม่ตรงตามความสามารถ และมีส่อื / อุปกรณ์ไว้อย่างพร้อมเพรียง แตข่ าด
การจดั เตรยี มสถานที่
1 คะแนน = กระจายงานไม่ทัว่ ถงึ และมีส่ือ / อุปกรณ์ไม่เพียงพอ
3. การปฏบิ ตั ิหน้าทีท่ ่ีได้รบั มอบหมาย
3 คะแนน = ทำงานไดส้ ำเร็จตามเป้าหมาย และตามเวลาทก่ี ำหนด
2 คะแนน = ทำงานได้สำเร็จตามเปา้ หมาย แตช่ ้ากว่าเวลาทกี่ ำหนด
1 คะแนน = ทำงานไม่สำเร็จตามเปา้ หมาย
4. การประเมนิ ผลและปรบั ปรุงงาน
3 คะแนน = สมาชิกทุกคนร่วมปรึกษาหารอื ตดิ ตาม ตรวจสอบ และปรับปรุงงานเป็นระยะ
2 คะแนน = สมาชิกบางส่วนมสี ว่ นรว่ มปรึกษาหารอื แต่ไมป่ รบั ปรงุ งาน
1 คะแนน = สมาชิกบางส่วนมีสว่ นรว่ มไม่มสี ่วนรว่ มปรึกษาหารอื และปรับปรงุ งาน
บันทึกหลังการสอน
หนว่ ยที่ 7 โอห์มมเิ ตอร์
ผลการใชแ้ ผนการสอน
1. เน้อื หาสอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม
2. กิจกรรมการสอนเหมาะสมกบั เนอื้ หาและเวลาท่กี ำหนด
3. สื่อการสอนเหมาะสมดี
ผลการเรยี นของนกั เรียน
1. นกั ศกึ ษาสว่ นใหญม่ คี วามเขา้ ใจในบทเรียน อภปิ รายตอบคำถามในกลมุ่ และรว่ มกันปฏบิ ัติ
งานท่ไี ดร้ ับมอบหมาย
2. นกั ศกึ ษากระตือรอื ร้นและรับผิดชอบในการทำงานกลุ่มเพอ่ื ให้งานสำเรจ็ ทนั เวลาท่ีกำหนด
3. นักศึกษาฝึกวดั ว่าความตา้ นทานได้
4. นกั ศกึ ษาหาสเกลโอหม์ มิเตอร์ได้
5. นกั ศกึ ษาใช้งานโอห์มมเิ ตอรไ์ ด้
ผลการสอนของครู
1. สอนเนอื้ หาไดค้ รบตามหลกั สตู ร
2. แผนการสอนและวธิ ีการสอนครอบคลุมเนือ้ หาการสอนทำให้ผู้สอนสอนได้อยา่ งมั่นใจ
3. สอนทันตามเวลาทีก่ ำหนด
แผนการสอน/แผนการเรียนรู้ภาคทฤษฎี
แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 8
ช่ือวิชา เครื่องมือวดั ไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนิกส์ สอนสปั ดาหท์ ่ี 11
ชอื่ หน่วย มัลติมเิ ตอร์แบบเข็ม คาบรวม 44
ชื่อเรื่อง มัลตมิ เิ ตอร์แบบเขม็ จำนวนคาบ 4
หวั ขอ้ เรอ่ื ง
ดา้ นความรู้
1. ลกั ษณะมลั ติมเิ ตอรแ์ บบเข็ม
2. สเกลหนา้ ปัดมลั ตมิ ิเตอร์แบบเข็ม
ดา้ นทักษะ
3. ใช้งานมัลตมิ เิ ตอร์แบบเข็ม
ดา้ นจิตพสิ ยั
4. สว่ นประกอบมลั ตมิ เิ ตอร์แบบเข็ม
5. ข้อควรระวังในการใชม้ ัลติมิเตอร์แบบเข็ม
ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
6. นำมลั ตมิ ิเตอรแ์ บบเข็มไปใชง้ านอย่างเหมาสมตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง
สาระสำคัญ
มัลติมิเตอร์สร้างขึ้นมาจากการรวมเอา โวลต์มิเตอร์ แอมมิเตอร์ และโอห์มมิเตอร์เข้าด้วยกัน เรียกชื่อ
ใหม่ว่ามาตรวัด VOM หรือมัลติมิเตอร์ การเลือกมัลติมิเตอร์ท่ีเหมาะสมมาใช้งานต้องทราบคุณสมบัติของมัลติ
มิเตอรแ์ ต่ละร่นุ ซ่งึ มคี วามแตกตา่ งกนั ไป
สมรรถนะอาชีพประจำหน่วย
1. ใช้งานมลั ตมิ เิ ตอรแ์ บบเขม็
คำศพั ทส์ ำคัญ
1. มัลติมเิ ตอร์ หมายถงึ เคร่ืองวดั ไฟฟ้าทม่ี สี ว่ นประกอบของอปุ กรณห์ ลายชนดิ รวมกนั อุปกรณเ์ หล่านั้นมี
ขนาดเล็กและบอบบาง ย่ิงในสว่ นเคล่ือนไหวของมัลติมิเตอรย์ ิง่ ต้องระมัดระวังอยา่ งมากตลอดจนการนำไปใช้งานก็
ตอ้ งระมัดระวงั ในเรือ่ งของปรมิ าณไฟฟ้าทีท่ ำการวดั และอกี หลายสง่ิ หลายอย่าง
จุดประสงคก์ ารสอน/การเรยี นรู้
• จดุ ประสงคท์ ั่วไป / บรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพียง
1. เพอื่ ใหม้ คี วามรู้เกี่ยวกบั การอธิบายลักษณะมัลตมิ เิ ตอร์แบบเขม็ (ดา้ นความร)ู้
2. เพ่ือให้มีความร้เู กี่ยวกบั การยกตวั อย่างสเกลหน้าปดั มัลติมิเตอรแ์ บบเข็ม (ด้านความร)ู้
3. เพือ่ ใหม้ ที กั ษะในการใช้งานมลั ตมิ เิ ตอร์แบบเขม็ (ด้านทกั ษะ)
4. เพอื่ ให้มเี จตคติทด่ี ใี นการจำแนกสว่ นประกอบมลั ตมิ ิเตอรแ์ บบเข็ม (ด้านจติ พสิ ยั )
5. เพื่อใหม้ ีเจตคติทด่ี ใี นการตดิ ตามข้อควรระวังในการใชม้ ัลติมิเตอร์แบบเขม็ (ดา้ นจติ พิสยั )
6. เพอ่ื นำมัลติมิเตอรแ์ บบเข็มไปใชง้ านอย่างเหมาสมตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง (ด้าน
คุณธรรม จรยิ ธรรม)
• จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม / บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพียง
1. อธบิ ายลักษณะมัลติมิเตอร์แบบเขม็ ได้ (ดา้ นความรู)้
2. ยกตัวอยา่ งสเกลหนา้ ปัดมลั ตมิ เิ ตอรแ์ บบเข็มได้ (ด้านความร)ู้
3. ใชง้ านมัลติมิเตอร์แบบเข็มได้ (ด้านทกั ษะ)
4. จำแนกสว่ นประกอบมัลตมิ ิเตอรแ์ บบเขม็ ได้ (ดา้ นจติ พิสยั )
5. ตดิ ตามข้อควรระวงั ในการใช้มัลตมิ เิ ตอร์แบบเขม็ ได้ (ด้านจิตพิสัย)
6. นำมลั ติมเิ ตอรแ์ บบเขม็ ไปใชง้ านอย่างเหมาสมตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งได้ (ดา้ นคุณธรรม
จรยิ ธรรม)
เน้ือหาสาระการสอน/การเรียนรู้
• ดา้ นความรู้(ทฤษฎี)
8.1 ลกั ษณะมลั ติมิเตอร์แบบเข็ม
มาตรวัดไฟฟ้ากระแสตรงแบบเข็มชีช้ นิดต่างๆ จะพบว่าใชส้ ว่ นเคล่ือนไหวของมาตรวัดถูกผลติ ขนึ้ มาจาก
ดาร์สันวาล์มิเตอร์เหมือนกัน ใช้คุณสมบัติการทำงานด้วยกระแสไฟฟ้าไหลผ่านเข้าดารส์ ันวาล์มิเตอร์เหมือนกัน
แตกต่างเพียงวงจรส่วนประกอบและรายละเอียดท่ีนำมาใช้ในการผลิตเพื่อให้ ได้เป็น ดีซีแอมมิเตอร์ เอซี
แอมมิเตอร์ ดีซีโวลต์มิเตอร์ เอซีโวลต์มิเตอร์ หรือโอห์มมิเตอร์ ดังนั้นเพื่อให้เกิดความสะดวกในการนำไปใช้งาน
โดยการนำมาตรวดั แบบเข็มช้ีชนิดตา่ งๆเหล่าน้ันมาผลติ รวมกันไวภ้ ายในมาตรวัดตัวเดียว และใช้ส่วนเคล่ือนไหว
ดารส์ ันวาลม์ เิ ตอร์รว่ มกันย่อมสามารถทำได้ โดยเรยี กมาตรวดั ชนิดนวี้ ่ามาตรวดั VOM (Volt – Ohm – Milliamp
Meter)คือมาตรวัดท่สี ามารถใชว้ ัดคา่ แรงดนั ไฟฟ้า วดั ค่าความต้านทาน และวดั ค่ากระแสไฟฟ้าได้ รวมไวอ้ ยู่ในตัว
เดยี วกนั การเลอื กใช้งานมาตรวัดชนิดใดทำไดโ้ ดยใช้สวติ ชเ์ ลอื ก เลอื กใชต้ ามต้องการ
มาตรวัด VOM ได้ถูกผลิตเพ่ิมขึ้นมาใช้งาน และพัฒนาประโยชน์การใช้งานมากขึ้น โดยการเพิ่ม
ความสามารถให้ใช้งานวัดปริมาณไฟฟ้าต่างๆ ได้มากข้ึน เช่น เพ่ิมให้สามารถวัดไฟฟ้ากระแสสลับได้ เพ่ิมให้วัด
ประสิทธิภาพของแบตเตอรี่ (ถ่านไฟฉาย) ได้ เพิ่มให้วัดความดังของสัญญาณเสียงได้ และเพ่ิมให้วัดอัตราขยาย
กระแสของทรานซิสเตอร์ได้ เป็นต้น จึงได้เปล่ียนช่ือมิเตอร์จากมาตรวัด VOM มาเป็นชื่อใหม่ว่า มัลติมิเตอร์
(Multimeter) หรือเรยี กวา่ มัลติเทสเตอร์(Multitester) ซ่งึ สามารถใช้งานได้กว้างขวางมากข้ึน มลั ติมิเตอร์แบบ
เขม็
จากรูปท่ี 8.1 แสดงมลั ติมิเตอร์แบบเข็ม มลั ติมิเตอร์ที่ผลิตออกจำหน่ายมีมากมายหลายรนุ่ หลายแบบ
และหลายยี่ห้อ แต่ละรุ่นแต่ละแบบมีรายละเอียดปลีกย่อยแตกต่างกันไป รวมถึงคุณสมบัติในการนำไปใช้งาน
แตกต่างกันบ้าง ในบางรุ่นถูกสร้างให้สามารถวัดค่าปริมาณไฟฟ้าบางชนิดได้เป็นพิเศษกว่าปกติ เช่น วัด
แรงดนั ไฟฟา้ กระแสตรง และแรงดนั ไฟฟ้ากระแสสลับได้ต่ำเปน็ พเิ ศษ บางรุ่นสามารถวดั กระแสไฟฟา้ กระแสตรง
และกระแสไฟฟ้ากระแสสลับได้สงู เป็นพิเศษ บางรุ่นสามารถวัดอุณหภูมิได้ บางรุ่นสามารถตรวจสอบสภาพของ
แบตเตอร่ี (ถา่ นไฟฉาย1.5V และ 9V) ได้ และบางรุ่นสามารถวัดหาขาและชนิดของทรานซิสเตอร์ได้ เป็นต้น รุ่น
แตกต่างกันย่อมมีผลต่อราคาท่ีแตกต่างกันไปด้วย ต้องพิจารณาให้เหมาะสมกับงานท่ีจะนำมัลติมิเตอร์ไปใช้
การศึกษารายละเอียดของมัลติมิเตอร์รุ่นต่างๆ ก่อนการเลือกซ้ือหรือก่อนการใช้งาน นับได้ว่าเป็นส่ิงสำคัญและ
จำเป็น
มลั ติมิเตอร์แต่ละรุ่น แตล่ ะแบบ ตำแหน่งต่างๆ ของส่วนประกอบจะถูกวางแตกต่างกันไปบ้าง เช่น ข้ัว
เสียบสายวัด ตำแหน่งสเกลของย่านวัด ตำแหน่งสเกลบอกค่าการวัด ตลอดจนตัวเลขที่กำกับไวบ้ นสเกลหน้าปัด
เป็นต้น แต่มัลติมิเตอร์ทุกรุ่นทุกแบบสามารถวัดค่าปริมาณไฟฟ้าต่างๆ ได้เหมือนกัน เช่น วัดแรงดันไฟฟ้า
กระแสตรง (DCV) วดั แรงดนั ไฟฟ้ากระแสสลับ(ACV) วัดกระแสไฟฟ้ากระแสตรง (DCmA) และวดั ความตา้ นทาน
(Ω) เป็นต้น การนำมัลติมิเตอร์ไปวัดปริมาณไฟฟ้า มีวิธีตั้งย่านวัด วิธีการปรับแต่ง วิธีการอ่านสเกล ทำได้ใน
หลักการเดียวกัน
8.2 สว่ นประกอบมัลตมิ ิเตอรแ์ บบเข็ม
มัลติมิเตอร์แบบเข็มท่ีผลิตออกมาใช้งานมีความแตกต่างกันไปบ้าง ในส่วนประกอบเคร่ืองรายละเอียด
เครอ่ื ง ตำแหน่งปุ่มปรับ และสเกลหน้าปัด แต่มีหลักการใช้งาน การวดั ค่า และการอ่านค่าไม่แตกต่างกัน ดังนั้น
การทำความเข้าใจในหลักการใช้งานมลั ติมิเตอร์เพียงรุ่นใดรุ่นหนง่ึ ก็สามารถนำหลกั การไปใช้งานกับมลั ตมิ เิ ตอรไ์ ด้
ทุกรุ่นเชน่ เดยี วกัน รปู รา่ งและส่วนประกอบของมัลติมิเตอร์แบบเข็มชนิดหนึง่
หมายเลข 1 เป็นหน้าปดั แสดงสเกลบอกคา่ ต่างๆ ของปริมาณไฟฟา้ ทีว่ ัดได้
หมายเลข 2 เป็นไดโอดเปล่งแสง (LED)จะเปล่งแสงสว่างออกมา แสดงถึงการต่อวงจรถึงกั น
(Continuity) เมื่อตง้ั ยา่ นวดั โอหม์ (Ω) ท่ีย่านx1 ในขณะชอ็ ตปลายสายวัดเข้าดว้ ยกนั
หมายเลข 3 เปน็ เขม็ ชขี้ องมลั ตมิ เิ ตอร์
หมายเลข 4 เป็นสกรูใช้ปรับแต่งให้เข็มช้ใี นสภาวะมัลติมิเตอรไ์ ม่ทำงาน ชี้อยู่ท่ีตำแหน่งซ้ายมือสุดของ
สเกลพอดี (ท่ี∞, 0 V, 0 A) ชว่ ยให้มลั ตมิ เิ ตอรอ์ ยูใ่ นสภาวะพร้อมใช้งาน และขณะใช้งานจะแสดงคา่ ทว่ี ัดออกมาได้
ถกู ตอ้ ง
หมายเลข 5 เป็นปุม่ ปรับใหเ้ ข็มชข้ี องมัลตมิ ิเตอร์ช้ที ี่ตำแหน่งศนู ยโ์ อหม์ พอดี (0 Ω.ADJ)ใช้รว่ มกบั การต้ัง
ย่านวัดโอห์ม (Ω) โดยขณะที่ช็อตปลายสายวัดมัลติมิเตอร์เข้าด้วยกัน เข็มชี้จะต้องบ่ายเบนไปทางขวามือช้ีที่
ตำแหนง่ 0 Ω พอดี ถา้ เข็มช้ไี มอ่ ยทู่ ต่ี ำแหน่ง 0 Ω พอดตี ้องปรบั ปุม่ น้ีช่วย เพอ่ื ทำใหก้ ารวดั ความต้านทานมีความ
ถกู ตอ้ ง
หมายเลข 6 เป็นขั้วต่อเอาต์พุต (OUTPUT) ใช้สำหรับวัดความดังของเสียงจากเครื่องขยายเสียง หรือ
เครอ่ื งรบั วทิ ยุ วัดออกมาเป็นหน่วยเดซเิ บล (dB) ใช้งานร่วมกับขว้ั หมายเลข 9
หมายเลข 7 เป็นสวติ ช์ปรบั เลือกย่านวัดค่าปรมิ าณไฟฟ้าที่เหมาะสม สามารถปรับหมุนไดร้ อบตวั
หมายเลข 8 เปน็ ข้ัวตอ่ สายวัดมลั ติมเิ ตอรข์ ว้ั บวก (+) ใช้สำหรบั ตอ่ สายวดั สแี ดง
หมายเลข 9 เปน็ ขว้ั ต่อสายวัดมลั ตมิ ิเตอรข์ ัว้ ลบ (–COM) ใช้สำหรับต่อสายวัดสดี ำ
8.3 สเกลหน้าปดั มัลตมิ เิ ตอรแ์ บบเข็ม
สเกลหน้าปัดของมัลติมิเตอร์แบบเข็ม จะมีสเกลแสดงค่าปริมาณไฟฟ้าหลายชนิด ปริมาณไฟฟ้าแต่ละ
ชนิดแสดงค่าออกมาแตกต่างกัน ทำให้สเกลท่กี ำหนดไว้ทห่ี นา้ ปดั แต่ละสเกลมคี วามแตกต่างกัน ถูกแยกออกเป็น
สเกลหลายชอ่ งหลายแถว แต่ละช่องแต่ละแถวใช้แสดงปริมาณไฟฟา้ แต่ละชนิดโดยเฉพาะ การใช้งานและการอ่าน
คา่ เปน็ สงิ่ จำเป็นตอ้ งทำความเข้าใจ เพอ่ื การใช้งานมคี วามถกู ต้อง ลักษณะสเกลหน้าปดั ของมลั ตมิ เิ ตอรแ์ บบเข็ม
สเกลหนา้ ปดั มัลติมิเตอร์แบบเข็มตามรปู ท่ี 8.3 เปน็ สเกลบอกปรมิ าณไฟฟา้ แต่ละชนิดไว้ ถกู กำกบั คา่ ไว้
ด้วยหมายเลข เพอื่ บอกชื่อปรมิ าณไฟฟา้ แต่ละส่วน อธิบายรายละเอยี ดไดด้ งั นี้
หมายเลข 1 คือสเกลโอห์ม (Ω)ใช้สำหรับอ่านค่าความต้านทานที่วัดได้ออกมา เมื่อตั้งย่านวัดความ
ต้านทานหรือยา่ นΩ
หมายเลข 2 คือสเกลแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง กระแสไฟฟ้ากระแสตรง และแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ
(DCV, A & ACV) ใช้สำหรับอ่านค่าแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง เม่ือต้ังย่านวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง (DCV) ใช้
สำหรับอ่านค่ากระแสไฟฟ้ากระแสตรง เม่ือต้ังย่านวัดกระแสไฟฟ้ากระแสตรง (DCmA) และใช้สำหรับอ่านค่า
แรงดันไฟฟา้ กระแสสลบั เมื่อต้ังยา่ นวัดแรงดนั ไฟฟา้ กระแสสลบั (ACV)
หมายเลข 3 คือสเกลแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับเฉพาะย่าน 10 โวลต์ (AC 10 V) ใช้สำหรับอ่านค่า
แรงดนั ไฟฟ้ากระแสสลบั เมือ่ ตั้งย่านวัดท่ี 10 ACV เท่านัน้
หมายเลข 4 คือสเกลค่าอัตราขยายกระแสไฟฟา้ กระแสตรงของตัวทรานซิสเตอร์ (hFE)ใชส้ ำหรบั อ่านค่า
อตั ราขยายกระแสไฟฟ้ากระแสตรงของตัวทรานซิสเตอร์เมื่อต้ังย่านวัดโอห์ม (Ω)ท่ีตำแหนง่ x10 (hFE)
หมายเลข 5 คอื สเกลคา่ กระแสไฟฟ้าร่ัวไหล (Leakage Current) ของตวั ทรานซิสเตอร(์ ICEO) ใชส้ ำหรับ
อา่ นค่ากระแสไฟฟ้าร่ัวไหลของตัวทรานซิสเตอร์ที่ขาคอลเลกเตอร์ (C) และขาอิมิตเตอร์ (E) เม่ือขาเบส (B) เปิด
ลอย ขณะตั้งย่านวัดโอห์ม (Ω) ที่ x1 (150 mA), x10 (15 mA),x100 (1.5 mA) และ x1k (150 μA)
นอกจากนั้นยงั ใชแ้ สดงค่ากระแสไฟฟา้ ภาระ (Load Current)ในการวดั ตัวไดโอด (LI) ใช้สำหรับอา่ นกระแสไฟฟ้า
ภาระท่ีไหลผ่านตวั ไดโอด เมอ่ื วดั ด้วยย่านวดั โอหม์ (Ω)
หมายเลข 6 คือสเกลค่าแรงดันไฟฟ้าภาระ (Load Voltage) ในการวัดตัวไดโอด (LV)ใช้สำหรับอ่าน
แรงดนั ไฟฟ้าภาระทต่ี กคร่อมตัวไดโอด เมื่อวดั ด้วยย่านวัดโอห์ม (Ω) เปน็ การวดั คา่ ในเวลาเดยี วกับการวัด LI
หมายเลข 7 คือสเกลค่าความดังของสญั ญาณเสียง บอกคา่ การวดั ออกมาเป็นเดซเิ บล(dB) ใช้สำหรบั อ่าน
ค่าความดังของสัญญาณเสียง เม่ือตงั้ ยา่ นวดั ท่แี รงดนั ไฟฟ้ากระแสสลบั (ACV)
หมายเลข 8 คอื กระจกเงา ใช้สะทอ้ นเข็มช้ี เพ่อื ชว่ ยใหก้ ารอ่านปริมาณไฟฟ้าค่าต่างๆมีความถูกต้องทส่ี ุด
โดยขณะอ่านค่าต้องให้ตำแหน่งเข็มชจ้ี ริงและเข็มชีใ้ นกระจกเงาซ้อนทบั กันพอดี
8.4 ข้อควรระวังในการใช้มลั ติมิเตอรแ์ บบเข็ม
มลั ตมิ ิเตอร์เป็นเคร่ืองวัดไฟฟ้าที่มีส่วนประกอบของอุปกรณ์หลายชนิดรวมกัน อุปกรณ์เหล่าน้ันมีขนาด
เล็กและบอบบาง ย่ิงในสว่ นเคลื่อนไหวของมัลติมเิ ตอร์ยงิ่ ต้องระมดั ระวงั อย่างมากตลอดจนการนำไปใชง้ านก็ตอ้ ง
ระมัดระวังในเร่ืองของปรมิ าณไฟฟ้าท่ที ำการวัด และอีกหลายสง่ิ หลายอยา่ ง กล่าวโดยละเอยี ดเปน็ ขอ้ ๆ ดังน้ี
1. ส่วนเคล่ือนไหวของมัลติมเิ ตอร์ ประกอบด้วยขดลวดเส้นเลก็ มาก และมีส่วนของเดือยและรองเดือยมี
ขนาดเล็ก มีความบอบบาง อาจชำรุดเสียหายได้ง่ายหากได้รับกระแสไฟฟ้ามากเกินไป หรือหากได้รับการ
กระทบกระเทือนแรงๆ ท่ีเกดิ จากการตกหล่น ตลอดจนการตั้งยา่ นวัดท่ีไมถ่ กู ตอ้ ง
2. การวัดปริมาณไฟฟ้าต่างๆ ท่ีไม่ทราบค่า คร้ังแรกควรต้ังย่านวัดในย่านสงู สุดไว้ก่อนแล้วจึงค่อยๆ ลด
ย่านวัดลงมาใหถ้ ูกตอ้ งกบั ปริมาณไฟฟ้าท่ที ำการวดั ค่า และต่อขวั้ วัดใหถ้ กู ต้อง
3. การตั้งย่านวดั โอห์มหรือย่านวัดกระแสไฟฟ้า โดยนำไปวัดค่าแรงดันไฟฟ้า จะมีผลให้ตัวต้านทานใน
วงจรมลั ตมิ ิเตอร์เสียหายได้ เม่อื แรงดันไฟฟา้ ทวี่ ัดมคี ่าสงู ประมาณ 100 V ข้นึ ไป
4. ห้ามวัดค่าความต้านทานในวงจรท่ีมีกำลังไฟฟ้าจา่ ยอยู่ เพราะจะทำให้ย่านวัดโอห์มของมัลติมเิ ตอร์
ชำรุดได้ ต้องตัดไฟฟ้าออกจากวงจรก่อนและปลดขาตัวต้านทานหรือขาอุปกรณ์ตัวท่ีต้องการวัดออกจากวงจร
เสยี กอ่ น
5. ขณะพักการใช้มัลติมเิ ตอร์ทกุ ครั้ง ควรปรับสวติ ช์เลือกยา่ นวัดไปท่ียา่ น 1,000 VDCหรอื 1,000 VAC
เพราะเป็นยา่ นวัดท่มี คี ่าความตา้ นทานภายในตัวสูงสุด หรือในมลั ติมิเตอรร์ ุน่ ที่มีตำแหน่ง OFF บนสวติ ช์เลือกย่าน
วัด ใหป้ รบั สวติ ชเ์ ลอื กย่านวดั ไปท่ีตำแหนง่ OFF เสมอเพราะเปน็ การตดั วงจรมัลติมิเตอร์ออกจากขว้ั ต่อวดั
6. เมื่อหยุดการใช้งานมัลติมิเตอร์เป็นเวลานานๆ ควรปลดแบตเตอร่ีท่ีใส่ไว้ในมัลติมิเตอร์ออกจากมัลติ
มิเตอร์ให้หมด เพื่อป้องกันการเสื่อมของแบตเตอร่ี และเกิดสารเคมีไหลออก มาจากแบตเตอรี่ อาจกัดกร่อน
อุปกรณ์ต่างๆ ภายในมัลติมิเตอร์จนชำรุดเสียหายได้ การเก็บมัลติมิเตอร์ไม่ควรเก็บไว้ในบริเวณท่ีมีอุณหภูมิสูง
และมคี วามชน้ื สงู
7. ในกรณกี ารต้ังยา่ นวัดผดิ พลาด จนทำให้มัลตมิ ิเตอร์วดั ค่าปริมาณไฟฟ้าอื่นๆ ไม่ขึน้ ให้ตรวจสอบฟวิ ส์ท่ี
อยภู่ ายในมัลตมิ ิเตอร์ ซง่ึ ทำหนา้ ทีเ่ ป็นตัวปอ้ งกันไฟเกนิ วา่ ขาดหรอื ไม่ หากฟิวสข์ าดใหใ้ ชฟ้ ิวส์สำรองทม่ี ีอยใู่ สแ่ ทน
ฟวิ ส์ทใี่ ส่ใหมต่ ้องมีค่าทนกระแสไฟฟ้าเท่าของเดิม ห้ามใสค่ ่าท่ีต่ำกว่าหรือสูงกว่าเดมิ เข้าไปแทน และทดลองใช้มัล
ติมิเตอรอ์ ีกครั้ง
8.5 การใชง้ านมัลติมเิ ตอรแ์ บบเข็ม
มัลติมิเตอร์แบบเข็ม สามารถใช้วัดหาปริมาณไฟฟ้าค่าต่างๆ ได้หลายชนิด เช่น ค่าแรงดันไฟฟ้า
กระแสตรง (DCV) ค่าแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ (ACV) ค่ากระแสไฟฟ้ากระแสตรง (DCmA)และค่าความต้านทาน
(Ω) เปน็ ต้น ส่ิงสำคญั ในการใช้งานของมัลตมิ เิ ตอร์ชนดิ น้ี อยทู่ ค่ี ่าทอี่ า่ นออกมาไดจ้ ากการบ่ายเบนไปของเข็มช้ี ถูก
แสดงคา่ ออกมาเปน็ สเกลที่แบง่ ไว้ การอา่ นคา่ ทถ่ี ูกต้องของคา่ ท่ีเขม็ ชีช้ ้ีบอกไว้ จำเป็นต้องใชว้ ิธกี ารแบ่งคา่ ออกเป็น
สดั ส่วน จากค่าตัวเลขที่บอกไว้ในตำแหน่งใกล้เคียงทั้งด้านซ้ายและด้านขวาของเข็มช้ี สัดส่วนทแี่ บ่งออกมีความ
แตกต่างกันไปในแต่ละสเกลและแต่ละค่า ซึ่งส่ิงน้ีเองเป็นผลทำให้การอ่านค่าเกิดความผิดพลาดได้ง่าย การจะ
นำมัลตมิ ิเตอรแ์ บบเขม็ ไปใช้งาน จำเปน็ ต้องศึกษาทำความเขา้ ใจการใชง้ านและการอ่านค่าใหถ้ กู ตอ้ งเสียก่อน
8.5.1 การวดั แรงดันไฟฟ้ากระแสตรง (DCV)
การวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง จะต้องปรับสวิตช์เลือกย่านวัดไปท่ีย่าน DCVมัลติมิเตอร์แบบเข็มรุ่น
มาตรฐาน จะมียา่ นวัดแรงดนั ไฟฟา้ กระแสตรงทั้งหมด 7 ยา่ นวัดเตม็ สเกลคอื ย่าน 0.1 V, 0.5 V, 2.5 V, 10 V, 50
V, 250 V และ 1,000 V การต้ังย่านวัดท่ี DCV แสดงดังรูปท่ี 8.4 การอ่านค่าแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง อ่านท่ี
หนา้ ปัดรปู ท่ี 8.3 หมายเลข 2 สเกล DCV,A & ACV ข้นั ตอนการวัดค่าปฏบิ ตั ิดงั น้ี
1. เสียบสายวัดสีแดงเข้าที่ขั้วต่อขวั้ บวก (+) เสยี บสายวัดสีดำเขา้ ท่ีข้ัวต่อขัว้ ลบ(-COM) ของมัลตมิ ิเตอร์
นำสายวดั ท้ังสองเส้นไปวัดคา่ แรงดันไฟฟ้ากระแสตรงทตี่ อ้ งการ
2. ปรับสวติ ช์เลือกยา่ นวดั DCV ไปยา่ นทีเ่ หมาะสม หากไม่ทราบค่าแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงท่ตี ้องการวัด
ใหป้ รับตัง้ ยา่ นวัดไปทยี่ ่านสงู สุดไวก้ อ่ นที่ยา่ น 1,000 V
3. การวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง ตอ้ งนำมลั ติมิเตอร์ไปต่อวัดแบบขนานกับวงจร(ต่อคร่อมอุปกรณ์ใน
วงจร) และขณะวัดต้องคำนึงถงึ ข้ัวของมัลตมิ ิเตอรใ์ ห้ตรงกบั ขว้ั ของแรงดันไฟฟ้าท่วี ัด โดยยึดหลักการวัดดังนี้ ใกล้
บวกแหล่งจ่ายแรงดนั ไฟฟ้า ต่อวัดด้วยข้วั บวก (+) ของมัลติมิเตอร์ ใกลล้ บแหลง่ จ่ายแรงดันไฟฟ้า ต่อวดั ด้วยขัว้ ลบ
(–) ของมลั ตมิ ิเตอร์ การต่อมัลติมเิ ตอรว์ ดั แรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรง แสดงดงั รูปที่ 8.5
4. การตง้ั ย่านวดั การใชส้ เกล และการอา่ นคา่ แรงดันไฟฟา้ กระแสตรง (DCV)
ตัวอย่างที่ 8.1 ตั้งยา่ นมัลติมิเตอร์ไว้ท่ี DCV เพื่อวดั แรงดันไฟฟ้ากระแสตรง เข็มช้ีชี้คา่ ออกมาตามรูปที่
8.6 จงอา่ นค่าแรงดนั ไฟฟา้ กระแสตรงทุกยา่ นวดั บนสเกลหน้าปัด
วธิ ีทำ อา่ นคา่ แต่ละย่านวัดเต็มสเกล (สเกลสดี ำใต้กระจกเงา DCV)
ย่าน 0 – 10 V อ่านได้ = 6.4 V
ยา่ น 0 – 50 V อา่ นได้ = 32 V
ย่าน 0 – 250 V อา่ นได้ = 160 V ตอบ
8.5.2 การวดั แรงดนั ไฟฟ้ากระแสสลบั (ACV)
การวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ จะต้องปรับสวิตช์เลือกย่านวัดไปที่ย่าน ACVมัลติมิเตอร์แบบเข็มรุ่น
มาตรฐาน จะมีย่านวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับท้ังหมด 4 ย่านวัดเต็มสเกลคือ ย่าน 10 V, 50 V, 250 V และ
1,000 V การต้ังย่านวัดที่ ACV แสดงดังรูปท่ี 8.7 การอ่านค่าแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ อ่านที่หน้าปัดรูปท่ี 8.3
หมายเลข 2 สเกล DCV, A & ACV และหมายเลข3 สเกล AC 10 V ข้นั ตอนการวัดคา่ ปฏบิ ัตดิ งั นี้
1. เสียบสายวัดสีแดงเข้าท่ีข้ัวต่อข้ัวบวก (+) เสียบสายวัดสีดำเข้าท่ีข้ัวต่อข้ัวลบ(-COM) ของมัลติมิเตอร์
นำสายวดั ท้งั สองเส้นไปวัดคา่ แรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ
2. ปรบั สวิตช์เลือกย่านวัด ACV ไปยา่ นที่เหมาะสม หากไม่ทราบคา่ แรงดันไฟฟ้ากระแสสลับทีจ่ ะวัด ให้
ตง้ั ยา่ นวัดไปทย่ี า่ นสงู สุดไวก้ ่อนที่ 1,000 V
3. การวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ ต้องนำมลั ติมิเตอร์ไปต่อวัดแบบขนานกับวงจร(ต่อคร่อมอุปกรณ์ใน
วงจร) และขณะวัดไม่จำเป็นต้องคำนึงถึงขั้วของมัลติมิเตอร์ สามารถวัดสลับข้ัวได้ การต่อมัลติมิเตอร์วัด
แรงดนั ไฟฟ้ากระแสสลบั แสดงดังรปู ที่ 8.8
4. ก่อนต่อมัลติมิเตอร์วัดแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับค่าสูง ควรตัดไฟฟ้าของวงจรที่จะวัดออกก่อน เม่ือ
ต่อมลั ติมเิ ตอรเ์ ข้าวงจรเรียบร้อยแล้ว จงึ จ่ายไฟฟ้าเขา้ วงจรที่ตอ้ งการวัด
5. อย่าจับสายวัดหรือตัวมลั ติมิเตอรข์ ณะวัดแรงดันไฟฟา้ กระแสสลบั ค่าสูง เมอ่ื วัดเสรจ็ เรยี บรอ้ ยควรตัด
ไฟฟา้ ทท่ี ำการวัดเสยี ก่อน จึงปลดสายวัดของมัลติมเิ ตอร์ออกจากวงจร
6. การตัง้ ย่านวัด การใชส้ เกล และการอ่านคา่ แรงดนั ไฟฟา้ กระแสสลบั (ACV)
ตัวอย่างท่ี 8.2 ตั้งย่านมัลติมิเตอร์ไว้ที่ ACV เพื่อวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ เข็มชี้ชี้ค่าออกมาตามรูปที่ 8.9 จง
อ่านคา่ แรงดนั ไฟฟา้ กระแสสลับทกุ ยา่ นวัดบนสเกลหนา้ ปัด
วธิ ที ำ อ่านคา่ แต่ละย่านวดั เตม็ สเกล (สเกลสีดำใตก้ ระจก
เงา ACV และสเกลสแี ดง AC 10 V ดา้ นลา่ ง )
ย่าน 0 – 10 V อา่ นได้ = 3.6 V
ยา่ น 0 – 50 V อ่านได้ = 18 V
ย่าน 0 – 250 V อ่านได้ = 90 V
ยา่ น AC 10 V อา่ นได้ = 3.8 V
ตอบ
8.5.3 การวดั กระแสไฟฟ้ากระแสตรง (DCmA)
การวดั กระแสไฟฟ้ากระแสตรง จะต้องปรับสวิตช์เลือกย่านวัดไปที่ย่าน DCmAมัลติมิเตอร์แบบเข็มรุ่น
มาตรฐาน จะมยี า่ นวัดกระแสไฟฟ้ากระแสตรงทงั้ หมด 4 ย่านวัดเตม็ สเกลคือ ยา่ น 50 μA, 2.5 mA, 25 mA และ
250 mA (0.25 A) การตัง้ ย่านวดั ที่ DCmA แสดงดงั รูปที่ 8.10 การอ่านคา่ กระแสไฟฟา้ กระแสตรง อา่ นท่ีหนา้ ปัด
รูปที่ 8.3 หมายเลข 2 สเกล DCV, A& ACV ขัน้ ตอนการวดั คา่ ปฏบิ ัตดิ ังนี้
1. เสียบสายวัดสแี ดงเข้าที่ข้ัวต่อขั้วบวก (+) เสียบสายวัดสีดำเขา้ ท่ีข้วั ต่อขวั้ ลบ(-COM) ของมัลตมิ ิเตอร์
นำสายวดั ท้ังสองเส้นไปวดั ค่ากระแสไฟฟ้ากระแสตรง
2. ปรบั สวติ ช์เลือกยา่ นวัด DCmA ไปยา่ นทีเ่ หมาะสม หากไมท่ ราบคา่ กระแสไฟฟา้ กระแสตรงที่จะวดั ให้
ตงั้ ย่านวัดไปทีย่ า่ นสงู สุดไวก้ อ่ นที่ 250 mA
3. การวดั กระแสไฟฟ้ากระแสตรง ตอ้ งนำมัลตมิ เิ ตอรไ์ ปตอ่ อนกุ รมกับวงจร (ตัดวงจรออกนำมัลติมิเตอร์
เขา้ ไปต่อร่วมเป็นส่วนหนึ่งของวงจร) และขณะต่อวดั ต้องคำนึงถึงขว้ั ของมัลตมิ ิเตอร์ให้ตรงกับขั้วของแรงดนั ไฟฟ้า
แหล่งจ่าย โดยยึดหลักดังนี้ ใกล้บวกแหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้าต่อวัดด้วยข้ัวบวก (+) ของมัลติมิเตอร์ ใกล้ลบ
แหล่งจ่ายแรงดนั ไฟฟ้า ตอ่ วัดดว้ ยขว้ั ลบ (–)ของมัลตมิ ิเตอร์ การตอ่ มัลตมิ เิ ตอร์วดั กระแสไฟฟา้ กระแสตรง
4. ย่านวดั กระแสไฟฟ้ากระแสตรง 50 μA เป็นย่านเดียวกับย่านวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง 0.1 V ใน
ยา่ นน้ีทำหน้าท่ีทั้งวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงเต็มสเกล 0.1 V และทำหน้าทีว่ ัดกระแสไฟฟ้ากระแสตรงเต็มสเกล
50 μA คอื เป็นท้ังดีซโี วลต์มิเตอร์ และดีซีแอมมิเตอร5์ . การตงั้ ย่านวัด การใชส้ เกล และการอ่านคา่ กระแสไฟฟ้า
กระแสตรง (DCmA)
ตวั อย่างที่ 8.3 ตง้ั ย่านมลั ติมิเตอร์ไว้ที่ DCmA เพอ่ื วัดกระแสไฟฟา้ กระแสตรง เข็มชช้ี ค้ี ่าออกมาตามรปู ที่ 8.12 จง
อ่านค่ากระแสไฟฟ้ากระแสตรงทุกยา่ นวดั บนสเกลหน้าปัด
วิธีทำ อ่านคา่ แตล่ ะยา่ นวัดเตม็ สเกล (สเกลสีดำใตก้ ระจก
เงา DCmA ทใ่ี ช้มี 2 ย่าน คอื 50, 250)
ย่าน 0 – 50 mA อ่านได้ = 46 mA
ยา่ น 0 – 250 mA อา่ นได้ = 230 mA
ตอบ
8.5.4 การวดั ความต้านทาน (Ω)
การวัดความต้านทาน จะต้องปรับสวิตช์เลอื กย่านวัดไปที่ Ω มัลติมเิ ตอรแ์ บบเข็มรุ่นมาตรฐาน จะมียา่ นวัดความ
ตา้ นทานทั้งหมด 4 ถงึ 5 ย่านวัดเต็มสเกล คือ ย่าน x1, x10,x100, x1k และ x10k (บางรุ่นไม่มีย่าน x100 และ
บางรุ่นไม่มยี ่าน x10k) การต้ังย่านวัดที่ Ωแสดงดงั รูปที่ 8.13 การอ่านค่าความต้านทาน อ่านท่ีหนา้ ปัดรูปท่ี 8.3
หมายเลข 1 สเกล Ωขน้ั ตอนการวัดค่าปฏิบตั ดิ งั นี้
1. เสียบสายวัดสีแดงเข้าท่ีข้ัวต่อขั้วบวก (+)เสียบสายวัดสีดำเข้าท่ีขั้วต่อขั้วลบ (-COM) ของมิเตอร์นำ
สายวดั ท้งั สองเสน้ ไปวัดคา่ ความตา้ นทาน
2. ปรับสวิตช์เลือกไปย่านวัดΩ ก่อนนำโอห์มมิเตอร์ไปใช้วัดตัวต้านทานทุกคร้ัง ในทุกย่านวัดท่ีต้ังวัด
โอห์ม ต้องปรับแต่งให้เข็มช้ีช้ีค่าท่ี 0Ωก่อนเสมอโดยช็อตปลายสายวัดทั้งสองเส้นของโอห์มมิเตอร์เข้าด้วยกัน
ปรับแต่งปุ่มปรับ 0Ω ADJ จนเข็มช้ขี องโอห์มมิเตอร์ชท้ี ี่ตำแหน่ง 0 Ω พอดี ลกั ษณะการปรับแต่งโอหม์ มเิ ตอรใ์ ห้
พรอ้ มใช้งาน แสดงดงั รูปท่ี 8.14
3. นำโอห์มมิเตอร์ไปวดั ค่าความตา้ นทานได้ตามตอ้ งการอยา่ งถูกตอ้ ง ค่าที่อา่ นออกมาไดจ้ ากการวัดดว้ ย
โอห์มมเิ ตอร์ คือ คา่ ความตา้ นทานของตวั ตา้ นทานตัวท่ีวัดคา่ ลักษณะการวัดตวั ต้านทานด้วยมัลติมเิ ตอร์แบบเข็ม
แสดงดังรูปที่ 8.15
4. การตั้งยา่ นวัด การใชส้ เกล และการอา่ นคา่ ความตา้ นทาน (Ω)
ตัวอยา่ งที่ 8.4 ตั้งยา่ นมัลติมิเตอรไ์ ว้ท่ีΩเพอื่ วดั ความตา้ นทานของตัวตา้ นทาน เข็มชี้ชค้ี ่าออกมาตามรูปที่ 8.16 จง
อา่ นความต้านทานท่แี สดงบนสเกลหน้าปดั ทุกหมายเลขเข็มช้ี
วธิ ีทำ อ่านค่าทุกหมายเลขเข็มชี้ (สเกลสดี ำเหนือกระจกเงาΩ)
หมายเลข 1 อ่านได้ = 1.4 Ω
หมายเลข 2 อา่ นได้ = 8.5 Ω
หมายเลข 3 อ่านได้ = 42 Ω
หมายเลข 4 อา่ นได้ = 180Ω ตอบ
• ดา้ นทกั ษะ+ดา้ นจติ พสิ ยั (ปฏบิ ัต+ิ ดา้ นจิตพิสัย) (จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรมขอ้ ที่ 4-8)
1. แบบฝึกหดั หนว่ ยที่ 8
2. ใบปฏิบัตงิ าน 8 การใช้งานมัลติมิเตอรแ์ บบเข็ม
• ดา้ นคุณธรรม/จริยธรรม/จรรยาบรรณ/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
(จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรมขอ้ ที่ 9)
1. นำมลั ติมิเตอรแ์ บบเขม็ ไปใช้งานอยา่ งเหมาสมตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงได้
กจิ กรรมการเรยี นการสอนหรอื การเรียนรู้
ขน้ั ตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ขน้ั ตอนการเรียนรหู้ รือกิจกรรมของนกั เรียน
1. ขนั้ นำเข้าสู่บทเรยี น ( 15 นาที ) 1. ขน้ั นำเขา้ สูบ่ ทเรยี น ( 15 นาที )
1. ผู้สอนให้ผู้เรียนออกมายกตัวอย่างสเกล 1. ผู้เรียนออกมายกตัวอย่างสเกลหน้าปัดมัลติ
หน้าปดั มลั ตมิ เิ ตอร์แบบเขม็ ความเข้าใจของตนเอง มิเตอร์แบบเข็มความเข้าใจของตนเอง ตามความเข้าใจ
ของตนเอง
2. ผู้สอนแจ้งจุดประสงค์การเรียนของ หน่วยที่ 2. ผู้เรียนทำความเข้าใจเก่ียวกับจุดประสงค์การ
8 เรอ่ื ง มลั ตมิ ิเตอร์แบบเขม็ เรียนของ หน่วยที่ 8 เรอื่ ง มลั ติมเิ ตอร์แบบเขม็
3. ผู้สอนให้ผู้เรียนจำแนกส่วนประกอบมัลติ 3. ผเู้ รยี นจำแนกสว่ นประกอบมลั ตมิ ิเตอรแ์ บบเข็ม
มิเตอรแ์ บบเขม็ พรอ้ มให้เหตผุ ลประกอบ พรอ้ มให้เหตผุ ลประกอบ
2. ข้นั ใหค้ วามรู้ (120 นาที ) 2. ขนั้ ใหค้ วามรู้ ( 120 นาที )
1. ผู้สอนเปิด PowerPoint และให้ผู้เรียน 1. ผู้เรียนดู PowerPoint และศึกษาเอกสาร
ศึกษาเอกสารประกอบการสอน วิชา เครื่องมือวัด ประกอ บก ารสอน วิชา เค รื่องมือ วัดไฟ ฟ้ าและ
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยท่ี 8 เรื่อง มัลติ อิเล็กทรอนิกส์ หน่วยท่ี 8 เร่อื ง มลั ติมิเตอร์แบบเข็ม
มิเตอร์แบบเข็ม หน้าที่ 150-161 โดยให้ผู้เรียน หนา้ ที่ 150-161 โดยใหผ้ ูเ้ รียนเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง พรอ้ ม
เรียนรู้ดว้ ยตนเอง กับจดบันทกึ เน้ือหาทส่ี ำคญั
2. ผู้สอนเปิดโอกาส ให้ผู้เรียนถามปัญหา และ 2. ผู้เรียนถามปัญหา และข้อสงสัยจากเน้ือหา โดย
ขอ้ สงสัยจากเนื้อหา โดยครูให้ผู้เรียนทดลองใช้งานมัล ผู้เรยี นทดลองใชง้ านมัลติมิเตอร์แบบเขม็
ติมเิ ตอรแ์ บบเขม็
3. ผู้สอนให้ผู้เรียนต้ังคำถามที่ได้จากการ 3. ผเู้ รียนตั้งคำถามทไ่ี ด้จากการเรยี นการสอน คน
เรยี นการสอนคนละ 1 ข้อ ละ 1 ข้อ
3. ขัน้ ประยุกตใ์ ช้ (60 นาที ) 3. ขน้ั ประยุกตใ์ ช้( 60 นาที )
1. ผู้สอนให้ผู้เรียนทำใบปฏิบัติงาน 8 การใช้ 1. ผู้เรียนทำใบปฏิบัติงาน 8 การใช้งานมัลติ
งานมัลตมิ ิเตอรแ์ บบเข็ม หน้า 164-167 มิเตอรแ์ บบเข็ม หน้า 164-167
2. ผสู้ อนใหผ้ ู้เรียนสบื ค้นข้อมูลจากอินเทอรเ์ น็ต 2. ผ้เู รยี นสืบคน้ ข้อมูลจากอินเทอรเ์ นต็
กจิ กรรมการเรียนการสอนหรอื การเรยี นรู้
ข้ันตอนการสอนหรอื กิจกรรมของครู ขัน้ ตอนการเรยี นรู้หรือกจิ กรรมของนักเรยี น
4. ขั้นสรุปและประเมินผล ( 45 นาที ) 4. ข้ันสรปุ และประเมนิ ผล ( 45 นาที )
1. ผ้สู อนและผูเ้ รยี นรว่ มกันสรปุ เนือ้ หาท่ไี ด้เรยี นให้ 1. ผเู้ รยี นรว่ มกันสรปุ เนอื้ หาท่ีได้เรยี นใหม้ คี วาม
มคี วามเข้าใจในทิศทางเดยี วกนั เขา้ ใจในทศิ ทางเดยี วกัน
2. ผสู้ อนให้ผูเ้ รียนทำแบบฝึกหัดหน่วยท่ี 8หน้าที่ 2. ผเู้ รียนทำแบบฝึกหัดหน่วยท่ี 8หนา้ ท่ี 162-
162-163 163
3. ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรียน
ด้วยเอกสารประกอบการสอนท่ีจัดทำขนึ้ 3. ผู้เรียนศึกษ าเพ่ิมเติมนอกห้องเรียน ด้วย
เอกสารประกอบการสอนที่จัดทำขึ้น
(บรรลุจุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมขอ้ ท่ี 1-6)
(รวม 240 นาที หรอื 5 คาบเรยี น) (บรรลจุ ดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรมข้อที่ 1-6)
งานท่ีมอบหมายหรอื กจิ กรรมการวัดผลและประเมนิ ผล
ก่อนเรียน
1. จดั เตรียมเอกสาร สื่อการเรยี นการสอนหน่วยที่ 8
2. ทำความเขา้ ใจเก่ียวกบั จุดประสงค์การเรยี นของหน่วยที่ 8 และใหค้ วามรว่ มมอื ในการทำกิจกรรมใน
หนว่ ยท่ี 8
ขณะเรียน
1. ทำใบปฏิบัตงิ าน 8 การใช้งานมลั ตมิ เิ ตอร์แบบเขม็
2. รว่ มกันสรุป “มลั ตมิ ิเตอร์แบบเขม็ ”
หลงั เรียน
1. สรุปเน้อื หา
2. ทำแบบฝึกหดั หน่วยท่ี 8
ผลงาน/ช้ินงาน/ความสำเร็จของผู้เรยี น
ใบปฏิบตั ิงาน 8 การใชง้ านมลั ตมิ เิ ตอรแ์ บบเขม็ , แบบฝกึ หัดหนว่ ยท่ี 8
ส่อื การเรียนการสอน/การเรยี นรู้
ส่ือสิ่งพมิ พ์
1. เอ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ส อ น วิ ช า เ ค ร่ื อ ง มื อ วั ด ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์
(ใช้ประกอบการเรยี นการสอนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมขอ้ ที่ 1-6)
2. ใบความรทู้ ่ี 8 เรือ่ ง มัลตมิ เิ ตอร์แบบเข็ม (ใชป้ ระกอบการเรียนการสอนขัน้ ให้ความรู้ เพ่ือใหบ้ รรลุ
จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม ข้อที่ 1-6)
3. ใบปฏิบตั ิงาน 8 การใชง้ านมัลติมเิ ตอร์แบบเข็ม ข้ันประยุกต์ใช้ ขอ้ 1
4. แบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 8 สรุปและประเมินผล ข้อ 2
5. แบบประเมินผลงานตามใบงาน ใชป้ ระกอบการสอนขนั้ ประยกุ ตใ์ ช้ ข้อ 1
6. แบบประเมินพฤตกิ รรมการทำงาน ใช้ประกอบการสอนข้นั ประยุกตใ์ ช้ ขน้ั สรปุ และประเมินผล
สอื่ โสตทัศน์ (ถ้าม)ี
1. เครอื่ งไมโครคอมพิวเตอร์
2. PowerPoint เร่ือง มัลตมิ ิเตอร์แบบเข็ม
สือ่ ของจริง
มัลตมิ ิเตอรแ์ บบเข็ม (ใชป้ ระกอบการเรียนการสอนจุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรมขอ้ ที่ 1-6)
แหลง่ การเรียนรู้
ในสถานศกึ ษา
1. ห้องสมุดวทิ ยาลัยเทคนิคสมุทรสาคร
2. ห้องปฏบิ ตั กิ ารคอมพิวเตอร์ ศึกษาหาขอ้ มลู ทางอนิ เทอรเ์ นต็
นอกสถานศึกษา
ผูป้ ระกอบการ สถานประกอบการ ในทอ้ งถ่ินจังหวัดสมทุ รสาคร
การบูรณาการ/ความสัมพันธ์กบั วิชาอ่นื
1. บูรณาการกับวชิ าอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์เบือ้ งตน้
2. บูรณาการกับวิชาวงจรไฟฟ้าเบ้ืองต้น
3. บูรณาการกบั วชิ าเคร่ืองวัดไฟฟ้า
การประเมนิ ผลการเรียนรู้
• หลักการประเมินผลการเรยี นรู้
กอ่ นเรียน
ความรเู้ บอ้ื งตน้ กอ่ นการเรียนการสอน
ขณะเรยี น
1. ตรวจใบปฏิบัตงิ าน 8 การใช้งานมลั ตมิ ิเตอร์แบบเข็ม
2. สงั เกตการทำงาน
หลงั เรยี น
1. ตรวจแบบฝกึ หัดหน่วยท่ี 8
คำถาม
1. จงอธบิ ายลกั ษณะมลั ตมิ ิเตอรแ์ บบเข็ม
2. สเกลหนา้ ปัดมัลติมเิ ตอรแ์ บบเขม็ คือ
3. การใชง้ านมัลตมิ ิเตอร์แบบเข็ม ใช้งานอย่างไร
4. ส่วนประกอบมัลติมเิ ตอร์แบบเขม็ ประกอบด้วยอะไรบ้าง
5. ขอ้ ควรระวงั ในการใชม้ ลั ตมิ ิเตอร์แบบเขม็ มีอะไรบ้าง
ผลงาน/ชนิ้ งาน/ผลสำเรจ็ ของผ้เู รียน
ตรวจใบปฏิบตั ิงาน 8 การใช้งานมัลติมิเตอรแ์ บบเข็ม, แบบฝกึ หดั หน่วยท่ี 8
สมรรถนะท่ีพงึ ประสงค์
ผเู้ รียนสร้างความเขา้ ใจเก่ยี วกับมัลตมิ ิเตอร์แบบเขม็
1. วิเคราะห์และตีความหมาย
2. ตั้งคำถาม
3. อภิปรายแสดงความคิดเห็นระดมสมอง
4. การประยกุ ตค์ วามรู้ส่งู านอาชพี
สมรรถนะการปฏิบัตงิ านอาชีพ
1. ใชง้ านมัลติมเิ ตอร์แบบเขม็
สมรรถนะการขยายผล
ความสอดคลอ้ ง
จากการเรียนเรื่อง มัลติมิเตอร์แบบเข็ม ทำให้ผู้เรียนมคี วามร้เู พิ่มเกี่ยวกับสิ่งสำคัญที่ต้องคำนึงถึงก่อน
นำมัลติมิเตอร์ไปใช้งาน คือการตั้งย่านวัดปริมาณไฟฟ้า ต้องต้ังย่านวัดให้ถูกต้องตามชนิดของปริมาณไฟฟ้าที่
ต้องการวัด เพราะการต้ังย่านวัดผิดชนิดอาจมีผลทำให้มัลติมิเตอร์ชำรุดเสยี หายได้ และการตั้งย่านวัดในย่านที่
เหมาะสมเปน็ สง่ิ จำเป็นเช่นกันจะช่วยให้การอ่านคา่ การวัดค่ามีความถูกตอ้ งมากขึ้น
รายละเอียดการประเมินผลการเรียนรู้
• จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม ขอ้ ท่ี 1 อธิบายลักษณะมัลตมิ ิเตอรแ์ บบเข็มได้
1. วิธีการประเมนิ : ทดสอบ
2. เคร่ืองมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การให้คะแนน : อธบิ ายลักษณะมัลติมเิ ตอร์แบบเขม็ ได้ จะได้ 1 คะแนน
• จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม ขอ้ ท่ี 2 ยกตวั อย่างสเกลหน้าปดั มลั ติมเิ ตอร์แบบเข็มได้
1. วิธกี ารประเมนิ : ทดสอบ
2. เครอื่ งมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การใหค้ ะแนน : ยกตัวอย่างสเกลหนา้ ปัดมัลติมิเตอรแ์ บบเข็มได้จะได้ 1 คะแนน
• จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อท่ี 3 ใชง้ านมลั ตมิ ิเตอรแ์ บบเขม็ ได้
1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครอ่ื งมอื : แบบทดสอบ
3. เกณฑก์ ารให้คะแนน : ใชง้ านมลั ติมเิ ตอรแ์ บบเข็มได้ จะได้ 1 คะแนน
• จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม ข้อที่ 4 จำแนกส่วนประกอบมลั ติมเิ ตอรแ์ บบเข็มได้
1. วิธกี ารประเมนิ : ตรวจผลงาน
2. เครื่องมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การให้คะแนน : จำแนกสว่ นประกอบมลั ตมิ ิเตอรแ์ บบเข็มได้ จะได้ 1 คะแนน
• จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม ข้อที่ 5 ติดตามขอ้ ควรระวังในการใช้มลั ติมเิ ตอรแ์ บบเขม็ ได้
1. วธิ กี ารประเมนิ : ทดสอบ
2. เครือ่ งมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การใหค้ ะแนน : ติดตามข้อควรระวงั ในการใชม้ ัลตมิ ิเตอรแ์ บบเข็มได้ จะได้ 2
คะแนน
• จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม ขอ้ ที่ 6 นำมลั ตมิ ิเตอรแ์ บบเข็มไปใช้งานอยา่ งเหมาสมตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ
พอเพียงได้
1. วิธกี ารประเมนิ : ทดสอบ
2. เครื่องมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การให้คะแนน : นำมลั ตมิ เิ ตอร์แบบเข็มไปใช้งานอยา่ งเหมาสมตามหลักปรชั ญา
เศรษฐกิจพอเพียงได้ จะได้ 1 คะแนน
แบบประเมินผลการนำเสนอผลงาน
ช่อื กลุ่ม……………………………………………ชน้ั ………………………หอ้ ง...........................
รายชอื่ สมาชิก
1……………………………………เลขที่……. 2……………………………………เลขที่…….
3……………………………………เลขท่ี……. 4……………………………………เลขท่ี…….
ที่ รายการประเมนิ คะแนน ข้อคิดเหน็
32 1
1 เน้ือหาสาระครอบคลมุ ชัดเจน (ความรเู้ ก่ียวกบั เนอื้ หา ความถูกต้อง
ปฏภิ าณในการตอบ และการแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหนา้ )
2 รปู แบบการนำเสนอ
3 การมีสว่ นร่วมของสมาชิกในกลุ่ม
4 บคุ ลิกลกั ษณะ กิริยา ทา่ ทางในการพูด น้ำเสียง ซ่ึงทำให้ผู้ฟงั มีความ
สนใจ
รวม
ผู้ประเมิน…………………………………………………
เกณฑก์ ารให้คะแนน
1. เนอ้ื หาสาระครอบคลมุ ชัดเจนถกู ต้อง
3 คะแนน = มสี าระสำคญั ครบถ้วนถูกตอ้ ง ตรงตามจุดประสงค์
2 คะแนน = สาระสำคัญไมค่ รบถว้ น แตต่ รงตามจดุ ประสงค์
1 คะแนน = สาระสำคญั ไมถ่ ูกตอ้ ง ไมต่ รงตามจุดประสงค์
2. รูปแบบการนำเสนอ
3 คะแนน = มีรูปแบบการนำเสนอท่ีเหมาะสม มีการใช้เทคนคิ ที่แปลกใหม่ ใชส้ อ่ื และเทคโนโลยี
ประกอบการ นำเสนอทีน่ ่าสนใจ นำวัสดุในทอ้ งถ่ินมาประยกุ ต์ใช้อยา่ งค้มุ ค่าและประหยดั
2 คะแนน = มเี ทคนิคการนำเสนอทีแ่ ปลกใหม่ ใชส้ ื่อและเทคโนโลยีประกอบการนำเสนอที่นา่ สน ใจ แต่
ขาดการประยุกต์ใช้ วสั ดุในทอ้ งถิ่น
1 คะแนน = เทคนคิ การนำเสนอไม่เหมาะสม และไมน่ ่าสนใจ
3. การมสี ่วนร่วมของสมาชิกในกล่มุ
3 คะแนน = สมาชิกทกุ คนมีบทบาทและมสี ว่ นร่วมกิจกรรมกลมุ่
2 คะแนน = สมาชกิ สว่ นใหญม่ ีบทบาทและมสี ่วนรว่ มกจิ กรรมกล่มุ
1 คะแนน = สมาชิกส่วนน้อยมบี ทบาทและมีสว่ นรว่ มกิจกรรมกลมุ่
4. ความสนใจของผ้ฟู ัง
3 คะแนน = ผูฟ้ งั มากกว่ารอ้ ยละ 90 สนใจ และให้ความรว่ มมือ
2 คะแนน = ผู้ฟงั ร้อยละ 70-90 สนใจ และให้ความร่วมมือ
1 คะแนน = ผู้ฟงั น้อยกวา่ ร้อยละ 70 สนใจ และให้ความร่วมมอื
แบบประเมินกระบวนการทำงาน
ชอื่ กลมุ่ ……………………………………………ชนั้ ………………………หอ้ ง...........................
รายชื่อสมาชิก 2……………………………………เลขที่…….
4……………………………………เลขที่…….
1……………………………………เลขท…ี่ ….
3……………………………………เลขท…่ี ….
ที่ รายการประเมิน คะแนน ข้อคดิ เห็น
1 การกำหนดเปา้ หมายร่วมกนั 321
2 การแบ่งหนา้ ทร่ี บั ผิดชอบและการเตรียมความพรอ้ ม
3 การปฏิบตั หิ น้าทท่ี ่ีได้รบั มอบหมาย
4 การประเมนิ ผลและปรบั ปรงุ งาน
รวม
ผ้ปู ระเมนิ …………………………………………………
วนั ที่…………เดอื น……………………..พ.ศ…………...
เกณฑก์ ารให้คะแนน
1. การกำหนดเปา้ หมายร่วมกัน
3 คะแนน = สมาชกิ ทุกคนมสี ่วนรว่ มในการกำหนดเปา้ หมายการทำงานอย่างชดั เจน
2 คะแนน = สมาชกิ สว่ นใหญ่มีสว่ นร่วมในการกำหนดเปา้ หมายในการทำงาน
1 คะแนน = สมาชกิ ส่วนนอ้ ยมีสว่ นรว่ มในการกำหนดเปา้ หมายในการทำงาน
2. การหน้าทรี่ ับผดิ ชอบและการเตรยี มความพรอ้ ม
3 คะแนน = กระจายงานไดท้ วั่ ถึง และตรงตามความสามารถของสมาชิกทกุ คน มีการจดั เตรยี มสถานท่ี สือ่ /
อปุ กรณไ์ วอ้ ย่างพรอ้ มเพรียง
2 คะแนน = กระจายงานได้ทวั่ ถงึ แต่ไม่ตรงตามความสามารถ และมีส่อื / อุปกรณไ์ วอ้ ยา่ งพร้อมเพรียง แตข่ าด
การจดั เตรยี มสถานที่
1 คะแนน = กระจายงานไม่ทัว่ ถงึ และมีส่ือ / อุปกรณ์ไม่เพียงพอ
3. การปฏบิ ตั ิหน้าทีท่ ่ีได้รบั มอบหมาย
3 คะแนน = ทำงานไดส้ ำเร็จตามเป้าหมาย และตามเวลาทก่ี ำหนด
2 คะแนน = ทำงานได้สำเร็จตามเปา้ หมาย แตช่ ้ากว่าเวลาทกี่ ำหนด
1 คะแนน = ทำงานไม่สำเร็จตามเปา้ หมาย
4. การประเมนิ ผลและปรบั ปรุงงาน
3 คะแนน = สมาชิกทกุ คนร่วมปรึกษาหารอื ตดิ ตาม ตรวจสอบ และปรับปรุงงานเป็นระยะ
2 คะแนน = สมาชิกบางส่วนมสี ว่ นรว่ มปรึกษาหารอื แต่ไมป่ รบั ปรงุ งาน
1 คะแนน = สมาชิกบางส่วนมีสว่ นรว่ มไม่มสี ่วนรว่ มปรึกษาหารอื และปรับปรงุ งาน
บันทึกหลังการสอน
หนว่ ยที่ 8 มลั ติมเิ ตอร์แบบเขม็
ผลการใช้แผนการสอน
1. เนื้อหาสอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
2. กิจกรรมการสอนเหมาะสมกับเนื้อหาและเวลาทกี่ ำหนด
3. ส่อื การสอนเหมาะสมดี
ผลการเรียนของนกั เรยี น
1. นักศึกษาส่วนใหญ่มีความเข้าใจในบทเรียน อภิปรายตอบคำถามในกลุ่ม และร่วมกันปฏิบัติ
งานท่ไี ดร้ ับมอบหมาย
2. นกั ศึกษากระตอื รือร้นและรบั ผิดชอบในการทำงานกลมุ่ เพื่อให้งานสำเรจ็ ทันเวลาทกี่ ำหนด
3. นักศกึ ษาใชง้ านมัลติมเิ ตอร์แบบเข็มได้
ผลการสอนของครู
1. สอนเน้ือหาได้ครบตามหลักสูตร
2. แผนการสอนและวธิ ีการสอนครอบคลุมเน้อื หาการสอนทำให้ผู้สอนสอนไดอ้ ยา่ งมั่นใจ
3. สอนทนั ตามเวลาทีก่ ำหนด
แผนการสอน/แผนการเรยี นร้ภู าคทฤษฎี
แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยที่ 9
ชอื่ วิชา เคร่ืองมือวดั ไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ สอนสปั ดาหท์ ี่ 12-13
ช่อื หนว่ ย ดจิ ติ อลมลั ติมิเตอร์ คาบรวม 52
ชอ่ื เรื่อง ดจิ ติ อลมลั ติมเิ ตอร์ จำนวนคาบ 4
หวั ข้อเร่อื ง
ดา้ นความรู้
1. ดิจติ อลมิเตอร์
2. ดิจติ อลมลั ติมิเตอร์
ด้านทกั ษะ
3. ใชง้ านดจิ ิตอลมลั ตมิ ิเตอร์
ด้านจิตพสิ ยั
4. สว่ นประกอบดิจติ อลมัลตมิ เิ ตอร์
ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
5. นำดจิ ติ อลมลั ติมิเตอร์ไปใช้งานอยา่ งเหมาะสม
สาระสำคญั
ดิจิตอลมิเตอร์ เป็นมาตรวัดชนิดท่ีการแสดงผลการวัดค่าปริมาณไฟฟ้าออกมาเป็นตัวเลขบอกค่า
ปรมิ าณไฟฟา้ ท่ีวดั ได้ออกมาโดยตรง ช่วยให้อ่านค่าได้งา่ ยและรวดเร็วขึ้น ดจิ ติ อลมิเตอร์สามารถผลิตใหเ้ ป็นมาตร
วดั ได้หลายชนิดเชน่ เดียวกับมาตรวัดแบบเขม็ เชน่ แอมมเิ ตอร์ โวลต์มเิ ตอร์ และโอหม์ มิเตอร์ เป็นตน้
สมรรถนะอาชีพประจำหน่วย
1. ใช้ดิจติ อลมลั ติมเิ ตอร์ในการทำงาน
คำศัพท์สำคญั
1. ดจิ ิตอลมิเตอร์ เป็นมาตรวัดชนิดท่ีการแสดงผลการวดั ค่าปริมาณไฟฟ้าออกมาเป็นตัวเลขบอกค่า
ปรมิ าณไฟฟา้ ที่วัดได้ออกมาโดยตรง ช่วยใหอ้ ่านค่าได้งา่ ยและรวดเรว็ ข้ึน ดิจิตอลมเิ ตอร์สามารถผลิตให้เป็นมาตร
วดั ได้หลายชนดิ เชน่ เดียวกับมาตรวดั แบบเข็ม เช่น แอมมิเตอร์ โวลตม์ ิเตอร์ และโอหม์ มิเตอร์ เปน็ ต้น
จดุ ประสงค์การสอน/การเรียนรู้
• จดุ ประสงคท์ ่วั ไป / บรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพียง
1. เพื่อให้มีความร้เู ก่ยี วกับการอธิบายดจิ ิตอลมเิ ตอร์ (ดา้ นความร้)ู
2. เพื่อให้มคี วามรู้เกย่ี วกับการระบดุ ิจิตอลมัลติมิเตอร์ (ดา้ นความร)ู้
3. เพื่อใหม้ คี วามรู้เกี่ยวกบั การฝกึ ใช้งานดจิ ติ อลมลั ตมิ ิเตอร์ (ด้านทักษะ)
4. เพอ่ื ให้มเี จตคติทดี่ ีในการจดั ลำดับสว่ นประกอบดิจิตอลมัลติมเิ ตอร์ (ด้านจิตพสิ ยั )
5. เพือ่ นำดิจิตอลมลั ติมเิ ตอรไ์ ปใช้งานอย่างเหมาะสม (ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม)
• จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม / บรู ณาการเศรษฐกิจพอเพยี ง
1. อธิบายดจิ ติ อลมิเตอร์ได้ (ด้านความรู้)
2. ระบุดจิ ติ อลมัลติมเิ ตอรไ์ ด้ (ดา้ นความร)ู้
3. ฝกึ ใชง้ านดจิ ติ อลมัลติมเิ ตอรไ์ ด้ (ด้านทกั ษะ)
4. จัดลำดับส่วนประกอบดิจติ อลมลั ติมเิ ตอร์ได้ (ดา้ นจิตพิสยั )
5. นำดิจติ อลมลั ติมิเตอรไ์ ปใชง้ านอย่างเหมาะสม (ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม)
เนอ้ื หาสาระการสอน/การเรยี นรู้
• ด้านความรู้(ทฤษฎี)
9.1 ดจิ ิตอลมิเตอร์
ดจิ ติ อลมเิ ตอร์ (Digital Meter) เป็นมาตรวัดชนิดท่ีการแสดงผลการวัดคา่ ปรมิ าณไฟฟา้ ออกมาเปน็ ตวั เลข
บอกคา่ ปรมิ าณไฟฟ้าที่วดั ไดอ้ อกมาโดยตรง ช่วยใหอ้ า่ นค่าได้งา่ ยและรวดเร็วขนึ้ ดจิ ติ อลมเิ ตอรส์ ามารถผลิตให้เป็น
มาตรวัดไดห้ ลายชนิดเช่นเดยี วกับมาตรวดั แบบเขม็ เชน่ แอมมิเตอร์ โวลตม์ ิเตอร์ และโอห์มมิเตอร์ เป็นตน้ การวัด
ปริมาณไฟฟ้าออกมาในลักษณะดิจิตอลจะต้องมีการแปลงปริมาณไฟฟ้าท่ีทำการวัดค่า ซึ่งอยู่ในรูปสัญญาณ
แอนะลอก (Analog Signal)ให้เปล่ียนไปเป็นปริมาณไฟฟ้าที่อยู่ในรูปสัญญาณดิจิตอล (Digital Signal) และ
แสดงผลการวัดออกมาในรูปตวั เลขและตวั อักษรที่สามารถอา่ นค่าไดโ้ ดยตรง หลกั การทำงานของดจิ ิตอลมเิ ตอร์
จากรูปท่ี 9.1 แสดงหลักการทำงานของดิจิตอลมิเตอร์ โดยนำไปวัดปริมาณไฟฟ้าค่าต่างๆที่อยู่ในรูป
สัญญาณแอนะลอก ภายในดิจิตอลมิเตอร์ประกอบด้วยส่วนประกอบหลัก ได้แก่ ภาคลดทอนสัญญาณ
(Attenuator) และภาคขยายสัญญาณ (Amplifier) ของสัญญาณแอนะลอกท่ปี ้อนเขา้ มา เมอ่ื สัญญาณปอ้ นเข้ามา
มีความแรงมากจะถูกลดทอนลงให้ได้คา่ ที่เหมาะก่อนสง่ ตอ่ ไป หรือเม่ือสัญญาณป้อนเข้ามามคี วามแรงนอ้ ยจะถูก
ขยายให้สัญญาณแรงขน้ึ ได้ค่าทเี่ หมาะกอ่ นส่งต่อไปส่งต่อไปภาคแปลงสัญญาณแอนะลอกให้เป็นสัญญาณดิจติ อล
(Analog to Digital Converter ;A/D) และส่งต่อไปภาคแสดงผล (Display) โดยแปลงสัญญาณดิจิตอลใหอ้ อกมา
เปน็ ตัวเลขและตัวอักษร แสดงปริมาณไฟฟา้ ทวี่ ดั ได้ออกมา
มาตรวัดแบบดิจิตอลจะใช้การทำงานของลอจิก (Logic Functions) ร่วมกับเทคนิคทางดิจิตอลถูกสร้าง
ข้ึนด้วยวงจรลอจิกเกต (Logic Gate Circuit) ทำหน้าที่ในการเปล่ียนสถานะของการทำงานด้วยความเร็วสูง
สำหรบั กระบวนการวดั ค่าและเก็บขอ้ มลู การวดั มาตรวดั แบบดจิ ิตอลจงึ เป็นมาตรวัดท่ีไดร้ ับการพัฒนาในการวัดค่า
และแสดงค่าให้สามารถใช้งานได้สะดวก รวดเรว็ แสดงคา่ ออกมามีความถูกตอ้ งแม่นยำมากขึน้ ทำใหด้ จิ ติ อลมิเตอร์
เกิดการขยายตวั อย่างรวดเรว็ ถูกนำไปใชง้ านกับเครื่องวัดไฟฟ้าพ้ืนฐานหลายชนิด ผลิตออกมาเป็นเคร่ืองวัดไฟฟ้า
ชนดิ ตา่ งๆ
9.2 ดิจิตอลมลั ตมิ ิเตอร์
ดจิ ิตอลมัลติมิเตอร์ (Digital Multimeter) เรยี กส้ันๆ วา่ DMM หรอื อาจเรียกว่ามัลติมิเตอรแ์ บบดิจิตอล
เป็นมัลติมิเตอร์อกี ชนิดหนึ่งท่ีถูกพัฒนาขึ้นมาจากเทคโนโลยีทางด้านอเิ ล็กทรอนิกสแ์ ละดจิ ิตอลรวมกัน โดยการ
รวมเอาดิจิตอลโวลต์มิเตอร์ (Digital Voltmeter) ดิจิตอลแอมมิเตอร์(Digital Ammeter) และดิจิตอลโอห์ม
มเิ ตอร์ (Digital Ohmmeter) เข้าด้วยกัน ใช้การแสดงผลการวัดค่าด้วยตัวเลขตัวอักษร และเครื่องหมาย ชว่ ยให้
การวดั ค่าและการอ่านคา่ มีความถูกต้องมากขึ้น และยังช่วยลดความผิดพลาดท่ีเกิดจากการอ่านค่าได้ เกดิ ความ
สะดวกในการใชง้ านมากข้ึน
ลกั ษณะของดิจิตอลมัลติมิเตอร์ มีโครงสร้างท่ีแตกต่างไปจากมัลติมิเตอร์แบบเข็ม เพราะไม่ต้องใช้ส่วน
การแสดงผลด้วยเครือ่ งกลไฟฟ้า (Electromechanical) คือการบ่ายเบนของเข็มช้ีแต่ใช้การแสดงผลด้วยการนับ
ค่าเป็นตัวเลข ตามหลักการทำงานทางดิจิตอล ในส่วนประกอบของวงจรมาตรวัดแต่ละชนิดจะประกอบด้วย
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และดิจิตอล สร้างข้ึนมาเป็นวงจรทำงานในการวัดค่าแสดงค่า ช่วยให้ความต้องการใช้
กระแสไฟฟ้าของดิจิตอลมัลติมิเตอร์ขณะวัดค่าปริมาณไฟฟ้าในวงจรน้อยลง ช่วยลดผลของความผิดพลาดที่เกิด
จากการวัดค่าและแสดงค่าขณะใช้งานดิจิตอลมัลติมิเตอร์ลงได้ ปริมาณไฟฟ้าที่แสดงค่าออกมามีความถูกต้อง
ใกล้เคยี งคา่ จรงิ มากข้นึ
ดิจิตอลมัลติมิเตอร์ท่ีสร้างข้ึนมาใช้งาน แบ่งลักษณะการเลือกย่านวัดค่าปริมาณไฟฟ้าใช้งานของตัว
ดิจิตอลมัลตมิ ิเตอร์ออกได้ 2 แบบ คือ แบบแรกแบบเลือกย่านวัดใชง้ านของแต่ละชนิดการวัดปริมาณไฟฟ้า เป็น
แบบย่านวัดอัตโนมัติ (Auto Range) ตั้งวัดเพียงครั้งเดียวสามารถวัดปริมาณไฟฟ้าได้ตั้งแต่ค่าต่ำสุดถึงค่าสูงสุด
การปรบั เปลย่ี นย่านวัดปรับเองโดยอตั โนมัติภายในตวั ดิจติ อลมลั ตมิ ิเตอร์ ส่วนแบบท่ีสองเป็นแบบยา่ นวดั ตอ้ งปรับ
ด้วยมือผู้วัดเอง (Manual Range)ให้ได้ค่าปริมาณไฟฟ้าที่เหมาะสม คล้ายกับมัลติมิเตอร์แบบเข็มทั่วไป หาก
ปรับแตง่ ไม่ถูกตอ้ งดิจิตอลมลั ติมิเตอรไ์ ม่สามารถวดั ค่าปริมาณไฟฟา้ นั้นออกมาได้ รูปร่างดจิ ิตอลมลั ตมิ ิเตอร์ แสดง
ดงั รูปที่ 9.2 และบลอ็ กไดอะแกรมโครงสร้างเบ้อื งต้นดจิ ติ อลมัลตมิ ิเตอร์
จากรูปท่ี 9.3 แสดงบล็อกไดอะแกรมโครงสรา้ งเบื้องต้นดิจิตอลมัลตมิ ิเตอร์ ประกอบดว้ ยขั้วต่ออนิ พุต 3
ขั้ว คือ V/Ω, COMMON และ mA ปอ้ นผ่านเขา้ มาใหส้ วติ ช์เลือกย่านวัดเลือกย่านการวดั ปรมิ าณไฟฟ้าท่ีตอ้ งการ
ผ่านไปเข้าวงจรมาตรวัดแต่ละชนิดการวัดปริมาณไฟฟ้า ได้แก่การเลือกวัดแรงดันไฟฟ้า (V) ท้ังวัดแรงดันไฟฟ้า
กระแสตรง (VDC) และวัดแรงดันไฟฟา้ กระแสสลับ (VAC) โดยผ่านวงจรแบ่งแรงดนั ไฟฟ้า (Voltage Divider) ให้
ได้คา่ แรงดนั ไฟฟา้ ที่เหมาะสมกอ่ นส่งต่อไป กรณีเปน็ แรงดันไฟฟ้ากระแสตรง (VDC) ส่งตอ่ ไปได้โดยตรง แต่ถ้าเป็น
แรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ (VAC) ต้องส่งไปเข้าภาคแปลงค่าไฟฟ้ากระแสสลับ (AC Converter) ให้เป็นค่า
แรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรงทถี่ ูกต้องกอ่ นส่งตอ่ ไป โดยเทยี บกบั ค่าแรงดันไฟฟ้าอ้างองิ (Reference
Voltage) คา่ หนง่ึ ท่กี ำหนดไว้
การเลอื กวดั ความตา้ นทาน (Ω) โดยผ่านไปเข้าภาคแปลงคา่ ความตา้ นทาน (Resistance Converter) ให้
เปน็ คา่ แรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรงทถ่ี ูกต้องก่อนสง่ ต่อไป โดยเทียบกบั ค่าแรงดันไฟฟ้า
กระแสตรงอา้ งองิ ค่าหนงึ่ ท่ีกำหนดไว้
การเลือกวัดค่ากระแสไฟฟ้า (mA) ท้ังวัดกระแสไฟฟ้ากระแสตรง (DCmA) และวัดกระแสไฟฟ้า
กระแสสลับ (ACmA) โดยผ่านวงจรแบ่งกระแสไฟฟา้ (Current Shunt) ให้ได้ค่ากระแสไฟฟ้าทีเ่ หมาะสม อยู่ในรูป
แรงดันไฟฟ้ากระแสตรงก่อนส่งต่อไป กรณีเป็นกระแสไฟฟ้ากระแสตรง (DCmA)ส่งต่อไปในรูปแรงดันไฟฟ้า
กระแสตรงไดโ้ ดยตรง แต่ถ้าเปน็ กระแสไฟฟา้ กระแสสลบั (ACmA)ต้องส่งไปเข้าภาคแปลงค่าไฟฟ้ากระแสสลบั ให้
เป็นค่าแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงที่ถูกต้องก่อนส่งต่อไป โดยเทียบกับค่าแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงอ้างอิงค่าหน่ึงที่
กำหนดไว้
การเลอื กวดั ค่าปริมาณไฟฟ้าทกุ ชนดิ ทีส่ ง่ เขา้ มา จะถกู สง่ ต่อไปเขา้ ภาคสวิตช์เลอื กการทำงาน (Function
Switches) ช่วยให้การวดั ค่าปริมาณไฟฟ้าแตล่ ะชนิดมีคา่ ที่จ่ายออกมามคี วามเหมาะสมตามต้องการกอ่ นสง่ ต่อไป
อยู่ในลักษณะข้อมูลแบบแอนะลอกไฟฟ้ากระแสตรง (DCAnalog Data) และหน่วยวัดเลขฐานสิบ (Decimal
Point) ส่งไปใหภ้ าคแปลงสัญญาณแอนะลอกเปน็ สญั ญาณดิจิตอล (A/D) และภาคแสดงผล
ภาคแปลงสัญญาณแอนะลอกเปน็ สัญญาณดิจติ อล (A/D) ทำหน้าทแ่ี ปลงสัญญาณแรงดนั ไฟฟา้ ที่อยใู่ นรูป
สัญญาณแอนะลอก ให้เป็นสัญญาณดิจติ อลในลักษณะรหสั เลขฐานสอง ส่งต่อไปให้วงจรตวั ขบั ภาคแสดงผลแปลง
รหสั เลขฐานสองให้สามารถขับภาคแสดงผล แสดงค่าปรมิ าณไฟฟ้าออกมาเป็นตัวเลข แสดงหน่วยวัดปริมาณไฟฟ้า
ออกมาเปน็ ตวั อกั ษร และเคร่อื งหมายได้
9.3 สว่ นประกอบดิจิตอลมัลติมิเตอร์
ดิจิตอลมัลติมิเตอร์ เป็นมัลติมิเตอร์ท่ีสามารถวัดค่าปริมาณไฟฟ้าได้หลายชนิดเช่นเดียวกับมัลติมิเตอร์
แบบเข็ม เช่น วดั แรงดันไฟฟา้ กระแสตรง (DCV) แรงดันไฟฟ้ากระแสสลบั (ACV)กระแสไฟฟ้ากระแสตรง (DCA)
กระแสไฟฟ้ากระแสสลับ (ACA) และความต้านทาน (Ω) เป็นต้นนอกจากน้ีในดิจิตอลมัลติมิเตอร์บางรุ่นยังมี
ความสามารถเพ่ิมมากขึ้นไปอีก สามารถวัดค่าปรมิ าณไฟฟ้าอ่ืนๆ นอกเหนือจากค่าปกติได้ เช่น วัดการตอ่ วงจร
แสดงด้วยเสียงได้ วัดอุณหภูมิได้ วัดความถี่ได้ วัดค่าความจุของตัวเก็บประจุได้ วัดอัตราขยายของทรานซิสเตอร์
(hFE) ได้ และวดั ขาทรานซิสเตอรไ์ ด้ เป็นต้น ดิจิตอลมัลตมิ ิเตอร์ แต่ละรุ่น แตล่ ะแบบ แต่ละยีห่ ้อ มีส่วนประกอบ
โครงสร้าง ปมุ่ ปรับหน้าปัด และรายละเอียดต่างๆ ของเครอ่ื งแตกต่างกนั แต่การใช้งาน การวัดค่า การอา่ นคา่ มี
หลักการคลา้ ยกนั
9.3.1 ดิจติ อลมัลติมิเตอรแ์ บบยา่ นวัดอตั โนมัติ
ดิจิตอลมัลติมิเตอร์แบบย่านวัดอัตโนมัติ ปริมาณไฟฟ้าแต่ละชนิดที่จะวัดค่ามีย่านตั้งวัดเพียงย่านเดียว
เคร่ืองสามารถวัดปริมาณไฟฟ้าได้ตั้งแต่ค่าต่ำสุดถึงค่าสูงสุดแสดงค่าออกมา ใช้งานได้ง่ายและสะดวกรวดเร็ว
รปู รา่ งและส่วนประกอบของดจิ ติ อลมัลติมิเตอรแ์ บบย่านวัดอัตโนมัติแบบหนง่ึ
จากรูปที่ 9.4 แสดงส่วนประกอบของฃดิจิตอลมัลตมิ ิเตอร์แบบย่านวัดอัตโนมัติแบบหนึง่ มีส่วนประกอบ
ต่างๆ แสดงกำกบั ด้วยตัวเลข มีช่ือเรยี กและหน้าทีก่ ารใช้งานดงั น้ี
หมายเลข 1 เปน็ หน้าปัดแสดงผลการวดั คา่ ปริมาณไฟฟา้ แสดงเป็นตัวเลขและตัวอักษรใชค้ ริสตอลเหลว
(Liquid Crystal Display ; LCD)เป็นตัวเลขแสดงคา่ ได้ 4 หลัก แสดงเลขการวัดไดส้ ูงสดุ 9,999 (แลว้ แต่รุ่นท่ีใช)้
หมายเลข 2 เป็นสวิตช์เลือกชนดิ ปรมิ าณไฟฟ้าที่ต้องการวัด สามารถหมนุ กวาดซ้ายขวาได้อย่างอิสระ
หมายเลข 3 เป็นขั้วต่อสายวัดสีแดง เพื่อการวัดค่ากระแสไฟฟ้าท้ังกระแสไฟฟ้ากระแสตรง (DC) และ
กระแสไฟฟ้ากระแสสลบั (AC) ค่ากระแสไฟฟา้ วัดได้สูงสดุ 10 A ใชง้ านร่วมกบั ข้ัวตอ่ หมายเลข 5 (แล้วแตร่ นุ่ ทใ่ี ช้)
หมายเลข 4 เป็นข้ัวต่อสายวัดสีแดง เพื่อการวัดค่าแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง (DCV) แรงดันไฟฟ้า
กระแสสลบั (ACV) คา่ ความตา้ นทาน (Ω) และวัดคา่ ความจุของตัวเก็บประจุ ใช้งานร่วมกับข้วั ตอ่ หมายเลข5
หมายเลข 5 เป็นขั้วต่อสายวัดสีดำ (COM) เป็นข้ัวต่อสายวัดข้ัวขาร่วม ใช้ร่วมกับข้ัวตอ่ หมายเลข 3 และ
หมายเลข 4 ใชว้ ดั คา่ ปรมิ าณไฟฟ้าชนดิ ตา่ งๆ
หมายเลข 6 เป็นตำแหน่งสวิตช์ปิด (OFF) เป็นตำแหน่งท่ีเมื่อสวิตช์เลือกค่าปริมาณไฟฟ้าหมายเลข 2
หมุนมาช้ี เปน็ การปดิ เครือ่ งดจิ ิตอลมัลติมเิ ตอรใ์ ห้หยดุ การทำงาน
หมายเลข 7 เป็นตำแหน่งย่านวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ เมื่อสวิตช์เลือกคา่ ปริมาณไฟฟ้าหมายเลข 2
หมุนมาช้ี เปน็ การเลอื กดิจิตอลมลั ตมิ ิเตอร์ ทำเปน็ โวลต์มเิ ตอรว์ ดั ค่าแรงดันไฟฟา้ กระแสสลบั (ACV)
หมายเลข 8 เป็นตำแหน่งย่านวดั แรงดนั ไฟฟา้ กระแสตรง ( ) เม่ือสวิตชเ์ ลือกคา่ ปริมาณไฟฟา้ หมายเลข 2
หมนุ มาช้ี เปน็ การเลือกดจิ ิตอลมัลตมิ ิเตอร์ ทำเป็นโวลตม์ ิเตอรว์ ดั คา่ แรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรง (DCV)
หมายเลข 9 เป็นตำแหน่งย่านวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับเป็นมิลลิโวลต์ ( )เม่ือสวิตช์เลือกค่าปริมาณ
ไฟฟา้ หมายเลข 2 หมนุ มาชี้ เป็นการเลือกดิจิตอลมัลตมิ เิ ตอร์ ทำเป็นโวลต์มิเตอรว์ ดั ค่าแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับค่า
ตำ่ เปน็ มิลลิโวลต์ (ACmV)
หมายเลข 10 เปน็ ตำแหน่งย่านวัดความตา้ นทาน ( ) เมอ่ื สวิตช์เลือกคา่ ปริมาณไฟฟ้าหมายเลข 2 หมุน
มาช้ี เป็นการเลือกดจิ ติ อลมัลติมเิ ตอร์ทำเป็นโอห์มมิเตอรว์ ัดคา่ ความต้านทานของตัวต้านทาน และอปุ กรณ์ เม่อื กด
ปมุ่ หมายเลข 14 จะเปลี่ยนสภาวะการวัดความต้านทาน ให้กลายเป็นการตรวจสอบสภาวะการต่อถงึ กันของวงจร
ถา้ วงจรตอ่ ถึงกนั จะมีเสียงบสั เซอร์ (Buzzer) ดงั ขึ้นตลอดเวลา
หมายเลข 11 เป็นตำแหน่งตรวจสอบค่าความจุของตัวเก็บประจุ เม่ือสวิตช์เลือกค่าปริมาณไฟฟ้า
หมายเลข 2 หมนุ มาชี้ ดิจติ อลมลั ตมิ ิเตอรท์ ำหนา้ ทใ่ี นการวดั หาค่าความจุของตวั เกบ็ ประจุ
หมายเลข 12 เป็นตำแหน่งย่านวดั กระแสไฟฟ้ากระแสตรง และกระแสไฟฟา้ กระแสสลบั เป็นแอมแปร์ ( )
เม่ือสวิตช์เลือกค่าปริมาณไฟฟ้าหมายเลข 2 หมุนมาช้ี เป็นการเลือกดิจิตอลมัลติมิเตอร์ทำเป็นแอมมิเตอร์ วัด
กระแสไฟฟ้ากระแสตรงเป็นแอมแปร์ (DCA) และกระแสไฟฟ้ากระแสสลบั เปน็ แอมแปร์ (ACA) วัดกระแสไฟฟ้าได้
สงู สุด 10 A (แลว้ แต่รุ่นทใี่ ช้) การเปล่ยี นสภาวะวดั กระแสไฟฟ้าจากกระแสไฟฟ้ากระแสตรง เป็นวัดกระแสไฟฟ้า
กระแสสลบั จะต้องกดปุม่
หมายเลข 14 เพ่อื เปลย่ี นสภาวะการวัดกระแสไฟฟา้ การใช้งานวัดกระแสไฟฟา้ ตำแหนง่ นีจ้ ะต้องคำนงึ ถึง
ขัว้ ต่อสายวดั หมายเลข 3 หมายเลข 4 และหมายเลข 5 ต้องเลือกใช้ให้ถูกตอ้ ง โดยเลือกใชข้ ัว้ ตอ่ หมายเลข 3 และ
หมายเลข 5 ในการต่อวัด
หมายเลข 13 เป็นปุ่มโฮลด์ (HOLD) ใช้สำหรับหยุดการเปลี่ยนแปลงของปริมาณไฟฟ้าที่ทำการวัดไว้
ช่ัวขณะ เพอ่ื ใหง้ ่ายในการอ่านค่า ข้อควรระวงั ในการใช้ปุ่มโฮลด์ ห้ามกดปุ่มโฮลด์ให้ทำงาน เม่ือนำไปวดั ปรมิ าณ
ไฟฟา้ ท่ีไม่ทราบค่า เพราะการแสดงผลของหน้าปดั ไม่สามารถเปลยี่ นแปลงคา่ ทว่ี ดั ออกมาได้
หมายเลข 14 เป็นปมุ่ เปลยี่ นสภาวะการวดั ค่า (ปมุ่ สีส้ม) จากสภาวะหนง่ึ ไปเป็นอีกสภาวะหนึ่ง ในยา่ นตั้ง
วัดเดมิ ท่กี ำกับไว้ดว้ ยสญั ลักษณส์ สี ้ม เช่น จากวดั ความต้านทาน (Ω)เปน็ สภาวะตรวจสอบการตอ่ ถงึ กนั ของวงจร (
) หรอื จากการวัดกระแสไฟฟ้ากระแสตรง ให้เป็นการวัดกระแสไฟฟ้ากระแสสลับ เป็นตน้
9.3.2 ดจิ ติ อลมลั ตมิ ิเตอรแ์ บบยา่ นวัดปรบั ดว้ ยมอื
ดิจิตอลมัลติมิเตอร์แบบย่านวัดปรับด้วยมือ ผู้ใช้ดิจิตอลมัลติมิเตอร์จะต้องเป็นผู้ปรับเลือกย่านวัดให้
เหมาะสมกับค่าปรมิ าณไฟฟา้ ที่วัด หากปรบั ค่าไม่ถกู ต้องดิจติ อลมัลติมเิ ตอรจ์ ะไม่สามารถแสดงค่าปริมาณไฟฟ้าท่ี
วัดออกมาได้ การใช้งานคลา้ ยมลั ติมเิ ตอรแ์ บบเขม็ มีส่วนแตกต่างเพียงดจิ ิตอลมลั ติมิเตอรแ์ บบน้ีเมอื่ วดั ค่า สามารถ
แสดงค่าปริมาณไฟฟ้าท่ีวัดได้ออกมาเป็นตัวเลขและตัวอักษรโดยตรง รูปร่างและส่วนประกอบของดิจิตอลมัลติ
มิเตอรแ์ บบย่านวดั ปรบั ด้วยมือแบบหนง่ึ แสดงดังรูปท่ี 9.5
ดิจิตอลมัลติมิเตอร์ตามรูปท่ี 9.5 เป็นมลั ตมิ เิ ตอร์แบบหน่งึ ท่ีมีขายท่ัวไป มรี าคาถูกสว่ นประกอบไมต่ ่างไป
จากดจิ ิตอลมัลตมิ เิ ตอร์แบบอ่ืนๆ มากนัก (บางรุ่นมีขว้ั วัดปริมาณไฟฟา้ อ่ืนๆ ไดเ้ พ่มิ ขึน้ ) ตัวเลขทช่ี แี้ สดงไว้ บอกช่ือ
ของสว่ นประกอบ หน้าทกี่ ารทำงาน และการใช้งานมรี ายละเอียดดังนี้
หมายเลข 1 เป็นหน้าปัดแสดงผลการวัดค่าปริมาณไฟฟ้า แสดงเป็นตัวเลขจำนวน3 1/2 หลักและ
ตัวอักษร จอเป็นคริสตอลเหลว(LCD)
หมายเลข 2 เปน็ สวติ ชเ์ ลือกคา่ ปริมาณไฟฟา้ ท่ีต้องการวดั ปรบั หมนุ ไปซ้ายหรือขวาไดอ้ ย่างอสิ ระ
หมายเลข 3 เปน็ ขว้ั เสยี บไว้สำหรบั วดั ตวั ทรานซสิ เตอร์ เพ่อื หาค่าอัตราขยายกระแส (hFE)
ของตัวทรานซสิ เตอร์ ใชท้ ำงานรว่ มกบั ตำแหน่งหมายเลข 13 ย่าน hFE
หมายเลข 4 เป็นขั้วต่อสายวัดมิเตอร์สีแดง เพื่อใช้วัดค่ากระแสไฟฟ้ากระแสตรงค่าสูง(10 A ) วัดค่าได้
สูงสุด 10 A ใช้ทำงานรว่ มกบั ขั้วตอ่ หมายเลข 6 และตำแหน่งหมายเลข 12ยา่ น 10 A
หมายเลข 5 เป็นข้ัวต่อสายวัดมิเตอร์สีแดง เพ่ือใช้วัดค่าแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง (DCV)แรงดันไฟฟ้า
กระแสสลับ (ACV) กระแสไฟฟ้ากระแสตรงค่าต่ำ (DCmA) และความต้านทาน (Ω)ใช้ทำงานร่วมกับขั้วต่อ
หมายเลข 6
หมายเลข 6 เปน็ ข้วั ตอ่ สายวัดมิเตอร์สีดำ (COM) เป็นขั้วต่อสายวดั ขัว้ ร่วม ใช้ร่วมกับขั้วหมายเลข 4 และ
ข้ัวหมายเลข 5 ใชว้ ดั ค่าปริมาณไฟฟ้าต่างๆ
หมายเลข 7 เป็นตำแหน่งเลือกการปิดสวิตช์หยุดใช้งานมิเตอร์ (OFF) เพ่ือหยุดการจ่ายไฟฟ้าให้
ดจิ ติ อลมัลตมิ ิเตอร์ เปน็ การหยดุ ทำงานของดิจิตอลมลั ติมเิ ตอร์
หมายเลข 8 เป็นตำแหน่งเลือกการทำงานเป็นโวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (V ) วัดแรงดันไฟฟ้า
กระแสตรงได้สงู สดุ 1,000 V
หมายเลข 9 เป็นตำแหน่งเลือกการทำงานเป็นโวลต์มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ (V~) วัดแรงดันไฟฟ้า
กระแสสลับได้สูงสดุ 750 V
หมายเลข 10 เป็นตำแหน่งเลือกการทำงานเป็นแอมมิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (A ) วัดกระแสไฟฟ้า
กระแสตรงได้สูงสุด 200 mA
หมายเลข 11 เปน็ ตำแหนง่ เลือกการทำงานเป็นโอห์มมิเตอร์ (Ω) วดั ความต้านทานไดส้ ูงสุด 2,000 kΩ
(2 MΩ)
หมายเลข 12 เปน็ ตำแหนง่ เลอื กการทำงานเป็นแอมมิเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรงค่าสูง (10 A)วัดกระแสไฟฟ้า
กระแสตรงได้สูงสดุ 10 A การใชง้ านวดั กระแสไฟฟ้าตำแหนง่ นี้จะตอ้ งคำนึงถงึ ข้วั ตอ่ สายวัดหมายเลข 4 หมายเลข
5 และหมายเลข 6 ต้องเลอื กใช้ให้ถกู ตอ้ ง โดยเลือกใช้ขวั้ ตอ่ หมายเลข 4 และหมายเลข 6 ในการตอ่ วดั
หมายเลข 13 เป็นตำแหน่งเลือกใช้ดิจิตอลมัลติมิเตอรท์ ำงานเป็นเคร่อื งวัดอัตราขยายกระแสไฟฟ้า (hFE)
ของตัวทรานซิสเตอร์ ใชท้ ำงานร่วมกับตำแหน่งหมายเลข 3หมายเลข 14 เปน็ ตำแหนง่ เลือกใช้ดิจติ อลมลั ตมิ ิเตอร์
ทำงานเป็นเครือ่ งวัดตัวไดโอด
9.4 การใช้งานดิจิตอลมลั ติมิเตอร์
การนำดิจิตอลมัลติมิเตอร์ไปใชง้ าน ใช้ได้เช่นเดียวกับมัลติมิเตอรแ์ บบเข็ม เม่ือต้องการวัดปริมาณไฟฟ้า
ชนิดใด ก็ปรับสวิตช์เลือกย่านวัดหมายเลข 2 ของรูปที่ 9.5 ไปย่านปริมาณไฟฟ้าท่ีต้องการวัด ถ้าไม่ทราบค่า
ปริมาณไฟฟ้านั้นให้ตั้งค่าที่ย่านวัดสูงสดุ ไว้ก่อน และคอ่ ยๆ ปรับต่ำลงมาในย่านที่เหมาะสม ดิจิตอลมัลตมิ ิเตอรจ์ ะ
แสดงค่าปริมาณไฟฟ้าออกมาเป็นตัวเลขและหน่วยวัดอ่านค่าได้ทันที การจะนำดิจิตอลมัลติมิเตอร์ไปใช้งาน
จำเปน็ ตอ้ งศึกษาทำความเข้าใจการใชง้ านและการอา่ นคา่ ให้ถกู ตอ้ งเสียกอ่ น การวดั ปริมาณไฟฟ้าชนิดตา่ งๆ ทำได้
ดงั นี้
9.4.1 การวัดแรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรง (DCV)
การวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงด้วยดิจิตอลมัลติมิเตอร์ โดยปรับสวิตช์เลือกย่านวัดไปท่ีย่าน
แรงดันไฟฟา้ กระแสตรง (V ) ดิจติ อลมัลติมิเตอร์รนุ่ ทใ่ี ช้งานตามรปู ท่ี 9.5 มยี ่านวดั แรงดันไฟฟา้ กระแสตรงท้ังหมด
5 ย่านวัดเต็มสเกล คือ ย่าน 200 mV, 2,000 mV, 20 V, 200 Vและ 1,000 V ตัวเลขที่แสดงให้เห็นบนหน้าปัด
ขณะวัดคา่ คือค่าแรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรงท่ีวัดไดก้ ารต่อวัดโดยยึดหลักดังนี้ ใกลบ้ วกแหลง่ จา่ ยแรงดนั ไฟฟ้า ต่อวัด
ด้วยขวั้ บวก (+) ใกล้ลบแหล่งจ่ายแรงดันไฟฟา้ ต่อวดั ดว้ ยขัว้ ลบ (–) กรณที ่ีวัดค่าแล้วเกดิ เครื่องหมายลบ (–) แสดง
อย่ดู า้ นหนา้ ตวั เลขท่บี อกคา่ บอกให้ทราบว่าการตอ่ สายวัดแรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรงต่อผิดข้ัว ให้สลบั ขัว้ สายวัดใหม่
การตั้งยา่ นวัดและการต่อดจิ ติ อลมัลติมิเตอรว์ ัดแรงดนั ไฟฟา้ กระแสตรง
9.4.2 การวดั แรงดนั ไฟฟา้ กระแสสลับ (ACV)
การวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับด้วยดิจิตอลมัลติมิเตอร์ โดยปรับสวิตช์เลือกย่านวัดไปท่ีโวลต์
มิเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ (V~) ดิจิตอลมัลติมิเตอร์รุ่นท่ีใช้งานตามรูปท่ี 9.5 มีย่านวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ
ทั้งหมด 2 ย่านวัดเต็มสเกล คือ ย่าน 200 V และ 750 V ขณะวัดค่ามิเตอร์จะแสดงค่าที่วัดได้ออกมา การวัด
แรงดันไฟฟา้ กระแสสลบั ไม่จำเป็นต้องคำนงึ ถึงขวั้ วัดของดิจิตอลมลั ติมิเตอร์ใช้สลบั ข้ัววดั ได้ การตง้ั ยา่ นวัดและการ
ตอ่ ดจิ ิตอลมลั ตมิ ิเตอร์วดั แรงดนั ไฟฟ้ากระแสสลบั
9.4.3 การวัดกระแสไฟฟ้ากระแสตรง (DCA)
การวัดกระแสไฟฟ้ากระแสตรงด้วยดิจิตอลมัลติมิเตอร์ โดยปรับสวิตช์เลือกย่านวัดไปท่ี
แอมมิเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (A ) ดิจิตอลมัลติมิเตอร์รุ่นที่ใช้งานตามรปู ท่ี 9.5 มีท้ังหมด5 ย่านวัดเต็มสเกล คือ
ย่าน 200 μA, 2,000 μA, 20 mA, 200 mA และ 10 A การต่อวัดกระแสไฟฟ้ากระแสตรงต้องต่อดิจิตอลมัลติ
มเิ ตอร์แบบอนุกรมกับวงจร ตวั เลขที่แสดงให้เห็นบนหน้าปดั ขณะวัดค่า คือคา่ กระแสไฟฟา้ กระแสตรงทว่ี ัดได้ การ
ตอ่ วัดค่าโดยยึดหลกั ดังน้ี ใกลบ้ วกแหลง่ จ่ายแรงดนั ไฟฟ้า ตอ่ วัดดว้ ยขั้วบวก (+) ใกล้ลบแหล่งจา่ ยแรงดันไฟฟา้ ต่อ
วดั ด้วยข้ัวลบ (–) กรณีที่วัดค่าแล้วเกิดเครือ่ งหมายลบ (–) แสดงอยู่ด้านหน้าตัวเลขที่บอกค่าไว้ บอกให้ทราบว่า
การต่อสายวัดเข้าวงจรวัดกระแสไฟฟ้ากระแสตรงผิดข้ัว ให้สลับข้ัวสายวัดใหม่ และเม่ือตอ้ งการวัดกระแสไฟฟ้า
กระแสตรงค่าสงู เป็นแอมแปร์ต้ังที่ 10 A เปลีย่ นตำแหน่งขัว้ ตอ่ สายวัดเส้นสแี ดง ไปเสียบที่ขัว้ ต่อหมายเลข 4 ตาม
รปู ที่ 9.5 การต้ังยา่ นวดั และการตอ่ ดิจติ อลมลั ตมิ เิ ตอร์วดั กระแสไฟฟา้ กระแสตรง
9.4.4 การวดั ความต้านทาน (Ω)
การวัดความต้านทานด้วยดิจิตอลมัลติมิเตอร์ โดยต้ังสวิตช์เลือกย่านวัดไปท่ีย่านโอห์มมิเตอร์ (Ω)
ดิจิตอลมัลติมิเตอรร์ ุ่นทใี่ ช้งานตามรูปท่ี 9.5 มที ้ังหมด 5 ยา่ นวัดเต็มสเกล คือยา่ น 200, 2,000, 20 k, 200 k และ
2,000 k การวัดค่าความต้านทานด้วยโอห์มมิเตอร์ชนิดดิจิตอลไม่จำเป็นต้องช็อตปลายสายวัดเข้าด้วยกันเพื่ อ
ปรับแต่งความถูกต้อง สามารถนำไปวัดค่าได้เลยในทุกย่านวัด ตัวเลขท่ีแสดงให้เห็นคือค่าความต้านทานที่วัดได้
การต้ังย่านวัด และการตอ่ ดจิ ติ อลมัลตมิ ิเตอร์วดั คา่ ความตา้ นทาน
• ดา้ นทกั ษะ+ด้านจิตพสิ ัย (ปฏิบัต+ิ ด้านจติ พิสัย) (จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรมขอ้ ท่ี 3-4)
1. แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 9
2. ใบปฏิบตั งิ าน 9 การใช้งานดิจิตอลมลั ตมิ ิเตอร์
• ดา้ นคุณธรรม/จริยธรรม/จรรยาบรรณ/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพยี ง
(จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรมข้อท่ี 5)
1. ใช้ดจิ ิตอลมลั ตมิ ิเตอรใ์ นการทำงาน
กจิ กรรมการเรยี นการสอนหรอื การเรียนรู้
ข้นั ตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ข้นั ตอนการเรียนรู้หรอื กิจกรรมของนักเรียน
1. ขน้ั นำเขา้ สบู่ ทเรียน ( 15 นาที ) 1. ขั้นนำเขา้ สบู่ ทเรยี น ( 15 นาที )
1. ผสู้ อนให้ผ้เู รยี นอ่านเอกสารประกอบการสอน 1. ผู้เรียนศึกษาเอกสารประกอบการสอนวิชา
วิชา เคร่ืองมือวัดไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนกิ ส์ หน่วยท่ี 9 เคร่ืองมือวัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยที่ 9
เรื่อง ดิจิตอลมัลติมิเตอร์ หน้าที่ 171 ในส่วนของ เรอื่ ง ดิจิตอลมัลติมเิ ตอร์ หน้าท่ี 171 ในส่วนของสาระ
สาระการเรียนรู้ การเรยี นรู้
2. ผู้สอนแจ้งวัตถุประสงค์ของการเรียน เรื่อง 2. ผเู้ รียนทำความเข้าใจเกี่ยวกบั วตั ถุประสงค์ของ
ดิจติ อลมลั ตมิ เิ ตอร์ การเรียน เร่ือง ดจิ ิตอลมัลติมเิ ตอร์
3. ผสู้ อนให้ผู้เรยี นระบุดิจิตอลมลั ตมิ เิ ตอร์ 3. ผเู้ รียนระบดุ ิจติ อลมัลติมิเตอร์
2. ข้ันใหค้ วามรู้ ( 240 นาที ) 2. ขั้นให้ความรู้ ( 240 นาที )
1. ผู้สอนให้ผู้เรียนเปิดเอกสารประกอบการสอน วิชา 1. ผู้เรียนเปิดเอกสารประกอบการสอน วิชา
เครอ่ื งมือวัดไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนกิ ส์ หน่วยท่ี 9 ดจิ ติ อลมัลติ เครื่องมือวัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยที่ 9
มิเตอร์ หน้าท่ี 170-180 พร้อมอธบิ ายเน้ือหาให้ผู้เรียนฟังที ดิจิตอลมัลติมิเตอร์ หน้าที่ 170-180 พร้อมอธิบาย
ละหนา้ เนอื้ หาให้ผู้เรยี นฟังทีละหนา้ พร้อมกับจดบนั ทึกเนือ้ หา
ทไี่ ดเ้ รียน
2. ผสู้ อนสาธิตการใชง้ านดิจิตอลมลั ตมิ เิ ตอร์ 2. ผู้เรียนฟังผู้สอนสาธิตการใช้งานดิจิตอลมัลติ
มเิ ตอร์
3. ผสู้ อนเปดิ โอกาส ใหผ้ ู้เรยี นถามปญั หา และข้อ 3. ผ้เู รยี นซกั ถามขอ้ สงสัยจากเนอื้ หา
สงสัยจากเนอื้ หา
3. ข้นั ประยกุ ตใ์ ช้ (180 นาที ) 3. ข้นั ประยกุ ต์ใช้( 180 นาที )
1. ผู้สอนให้ผู้เรียนทำใบปฏิบัติงาน 9 การใช้ 1. ผู้เรียน ท ำใบ ป ฏิ บั ติ งาน 9 ก ารใช้งาน
งานดจิ ิตอลมัลติมเิ ตอร์ หนา้ 183-187 ดจิ ิตอลมัลตมิ ิเตอร์ หน้า 183-187
2. ผสู้ อนให้ผู้เรียนสืบค้นข้อมูลจากอนิ เทอรเ์ น็ต 2. ผู้เรียนสบื คน้ ข้อมูลจากอนิ เทอรเ์ น็ต
กิจกรรมการเรียนการสอนหรือการเรยี นรู้
ขน้ั ตอนการสอนหรอื กจิ กรรมของครู ขน้ั ตอนการเรียนรหู้ รือกจิ กรรมของนกั เรยี น
4. ข้นั สรุปและประเมนิ ผล ( 45 นาที ) 4. ขนั้ สรปุ และประเมินผล ( 45 นาที )
1. ผสู้ อนและผู้เรียนรว่ มกันสรปุ เนือ้ หาที่ได้เรียน 1. ผ้เู รียนรว่ มกันสรุปเน้อื หาท่ไี ดเ้ รยี นให้มคี วาม
ใหม้ ีความเข้าใจในทิศทางเดยี วกัน เขา้ ใจในทศิ ทางเดียวกัน
2. ผู้สอนให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดหน่วยท่ี 9 2. ผเู้ รียนทำแบบฝกึ หดั หน่วยท่ี 9 หน้าท่ี 181-
หน้าท่ี 181-182 182
3. ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรยี น 3. ผู้เรียนศึกษ าเพ่ิมเติมนอกห้องเรียน ด้วย
ดว้ ยเอกสารประกอบการสอนท่ีจัดทำขึน้ เอกสารประกอบการสอนทีจ่ ดั ทำขนึ้
(บรรลุจุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรมขอ้ ท่ี 1-5) (บรรลุจุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรมข้อท่ี 1-5)
(รวม 480 นาที หรอื 8 คาบเรยี น)
งานท่ีมอบหมายหรือกิจกรรมการวดั ผลและประเมินผล
กอ่ นเรยี น
1. จดั เตรียมเอกสาร ส่ือการเรียนการสอนหนว่ ยที่ 9
2. ทำความเขา้ ใจเก่ยี วกับจดุ ประสงค์การเรยี นของหน่วยท่ี 9 และใหค้ วามรว่ มมอื ในการทำกิจกรรมใน
หนว่ ยท่ี 9
ขณะเรียน
1. ทำใบปฏิบัติงาน 9 การใช้งานดจิ ิตอลมัลติมเิ ตอร์
2. ร่วมกันสรปุ “ดจิ ิตอลมัลติมเิ ตอร”์
หลงั เรยี น
1. สรุปเน้ือหา
2. ทำแบบฝึกหดั หน่วยท่ี 9
ผลงาน/ช้นิ งาน/ความสำเรจ็ ของผเู้ รยี น
ใบปฏิบตั งิ าน 9 การใชง้ านดิจิตอลมลั ติมิเตอร์, แบบฝึกหดั หนว่ ยที่ 9
สอ่ื การเรยี นการสอน/การเรียนรู้
ส่อื สิ่งพมิ พ์
1. เอ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ส อ น วิ ช า เ ค รื่ อ ง มื อ วั ด ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์
(ใช้ประกอบการเรียนการสอนจดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรมขอ้ ท่ี 1-5)
2. ใบความรทู้ ี่ 9 เร่ือง ดิจติ อลมัลติมิเตอร์ (ใชป้ ระกอบการเรยี นการสอนขั้นให้ความรู้ เพื่อใหบ้ รรลุ
จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม ข้อที่ 1-5)
3. ใบปฏิบัตงิ าน 9 การใชง้ านดิจิตอลมลั ติมิเตอร์ ข้ันประยกุ ต์ใช้ ขอ้ 1
4. แบบฝกึ หัดหนว่ ยที่ 9 สรปุ และประเมินผล ข้อ 2
5. แบบประเมินผลงานตามใบงาน ใชป้ ระกอบการสอนขน้ั ประยุกต์ใช้ ขอ้ 1
6. แบบประเมนิ พฤติกรรมการทำงาน ใช้ประกอบการสอนขนั้ ประยุกต์ใช้ ขน้ั สรุปและประเมนิ ผล
ส่อื โสตทัศน์ (ถ้าม)ี
1. เคร่ืองไมโครคอมพวิ เตอร์
2. PowerPoint เรือ่ ง ดิจติ อลมลั ตมิ ิเตอร์
สอ่ื ของจรงิ
ดจิ ิตอลมลั ตมิ เิ ตอร์ (ใชป้ ระกอบการเรยี นการสอนจุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรมข้อที่ 1-5)
แหลง่ การเรียนรู้
ในสถานศกึ ษา
1. ห้องสมุดวทิ ยาลัยเทคนิคสมุทรสาคร
2. ห้องปฏบิ ตั กิ ารคอมพิวเตอร์ ศึกษาหาขอ้ มลู ทางอนิ เทอรเ์ นต็
นอกสถานศึกษา
ผูป้ ระกอบการ สถานประกอบการ ในทอ้ งถ่ินจังหวัดสมทุ รสาคร
การบูรณาการ/ความสัมพันธ์กบั วิชาอ่นื
1. บูรณาการกับวชิ าอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์เบือ้ งตน้
2. บูรณาการกับวิชาวงจรไฟฟ้าเบ้ืองต้น
3. บูรณาการกบั วชิ าเคร่ืองวัดไฟฟ้า
การประเมินผลการเรียนรู้
• หลกั การประเมินผลการเรยี นรู้
กอ่ นเรยี น
ความรู้เบอื้ งตน้ กอ่ นการเรียนการสอน
ขณะเรียน
1. ตรวจใบปฏบิ ตั ิงาน 9 การใช้งานดิจิตอลมัลติมเิ ตอร์
2. สงั เกตการทำงาน
หลงั เรียน
1. ตรวจแบบฝึกหดั หน่วยท่ี 9
คำถาม
1. จงอธิบายดิจิตอลมเิ ตอร์
2. ดิจิตอลมัลติมิเตอร์ คือ
3. การใช้งานดจิ ิตอลมลั ตมิ เิ ตอร์ ใชง้ านไดอ้ ย่างไร
4. ส่วนประกอบดจิ ติ อลมลั ตมิ เิ ตอร์ คือ
ผลงาน/ชนิ้ งาน/ผลสำเร็จของผูเ้ รยี น
ตรวจใบปฏบิ ตั ิงาน 9 การใช้งานดจิ ติ อลมัลตมิ ิเตอร์, แบบฝึกหดั หน่วยที่ 9
สมรรถนะท่ีพึงประสงค์
ผเู้ รียนสรา้ งความเขา้ ใจเกยี่ วกบั ดจิ ิตอลมลั ติมิเตอร์
1. วเิ คราะห์และตีความหมาย
2. ตัง้ คำถาม
3. อภิปรายแสดงความคิดเหน็ ระดมสมอง
4. การประยุกต์ความรูส้ งู่ านอาชีพ
สมรรถนะการปฏิบัตงิ านอาชพี
1. ใช้ดิจิตอลมลั ติมเิ ตอรใ์ นการทำงาน
สมรรถนะการขยายผล
ความสอดคล้อง
จากการเรียนเรือ่ ง ดจิ ติ อลมัลติมิเตอร์ ทำใหผ้ ู้เรียนมคี วามรู้เพ่ิมเก่ียวกับดจิ ิตอลมัลตมิ เิ ตอร์ ซึ่ง มลั ติ
มิเตอร์ทใ่ี ช้การแสดงผลการวัดคา่ ด้วยตัวเลข ช่วยใหก้ ารวัดคา่ การอ่านคา่ มคี วามถกู ต้องแม่นยำมากขึ้น เกดิ ความ
สะดวกในการใช้งาน ดิจิตอลมัลติมิเตอร์สามารถวดั ค่าปริมาณไฟฟ้าได้หลายชนิด เช่นเดียวกับมัลติมิเตอร์แบบ
เขม็ นอกจากนด้ี ิจิตอลมัลตมิ เิ ตอร์บางรนุ่ ยังสามารถวัดค่าปรมิ าณไฟฟา้ ไดเ้ พิ่มมากข้ึนกว่าปกติ เช่น วัดความถไี่ ด้
วดั ค่าความจขุ องตวั เก็บประจุได้ วดั อตั ราขยายกระแสไฟฟา้ ของทรานซสิ เตอร์ได้ เป็นตน้
รายละเอยี ดการประเมินผลการเรยี นรู้
• จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม ขอ้ ที่ 1 อธบิ ายดิจติ อลมเิ ตอร์ได้
1. วิธกี ารประเมิน : ทดสอบ
2. เครื่องมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑก์ ารให้คะแนน : อธิบายดจิ ติ อลมเิ ตอร์ได้ จะได้ 1 คะแนน
• จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม ขอ้ ที่ 2 ระบดุ จิ ติ อลมลั ติมเิ ตอร์ได้
1. วธิ ีการประเมิน : ทดสอบ
2. เครอ่ื งมือ : แบบทดสอบ
3. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : ระบุดิจิตอลมัลติมิเตอร์ได้ จะได้ 1 คะแนน
• จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม ข้อที่ 3 ฝกึ ใช้งานดิจติ อลมัลตมิ ิเตอร์ได้
1. วิธกี ารประเมิน : ทดสอบ
2. เครือ่ งมอื : แบบทดสอบ
3. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : ฝกึ ใช้งานดจิ ติ อลมัลตมิ เิ ตอรไ์ ด้ จะได้ 5 คะแนน
• จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม ข้อท่ี 4 จดั ลำดับสว่ นประกอบดิจิตอลมัลตมิ ิเตอรไ์ ด้
1. วธิ กี ารประเมนิ : ทดสอบ
2. เคร่ืองมอื : แบบทดสอบ
3. เกณฑก์ ารให้คะแนน : จัดลำดับส่วนประกอบดจิ ติ อลมัลตมิ ิเตอรไ์ ด้ จะได้ 1 คะแนน
• จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม ข้อท่ี 5 นำดจิ ิตอลมลั ติมเิ ตอรไ์ ปใช้งานอยา่ งเหมาะสม
1. วธิ ีการประเมิน : ตรวจผลงาน
2. เครอื่ งมือ : แบบประเมินกระบวนการทำงาน
3. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : นำดิจิตอลมัลติมเิ ตอรไ์ ปใชง้ านอยา่ งเหมาะสม จะได้ 2 คะแนน
แบบประเมินผลการนำเสนอผลงาน
ช่ือกลุ่ม……………………………………………ชน้ั ………………………หอ้ ง...........................
รายช่ือสมาชิก
1……………………………………เลขที่……. 2……………………………………เลขท่ี…….
3……………………………………เลขที่……. 4……………………………………เลขท่ี…….
ท่ี รายการประเมนิ คะแนน ข้อคิดเหน็
32 1
1 เนือ้ หาสาระครอบคลุมชดั เจน (ความรู้เกีย่ วกบั เนอ้ื หา ความถูกต้อง
ปฏิภาณในการตอบ และการแก้ไขปญั หาเฉพาะหน้า)
2 รูปแบบการนำเสนอ
3 การมีสว่ นร่วมของสมาชิกในกลมุ่
4 บคุ ลิกลกั ษณะ กิริยา ท่าทางในการพูด น้ำเสียง ซ่ึงทำใหผ้ ู้ฟังมีความ
สนใจ
รวม
ผูป้ ระเมนิ …………………………………………………
เกณฑ์การให้คะแนน
1. เน้อื หาสาระครอบคลุมชัดเจนถกู ตอ้ ง
3 คะแนน = มสี าระสำคญั ครบถ้วนถกู ต้อง ตรงตามจุดประสงค์
2 คะแนน = สาระสำคญั ไม่ครบถ้วน แต่ตรงตามจุดประสงค์
1 คะแนน = สาระสำคัญไม่ถกู ต้อง ไม่ตรงตามจุดประสงค์
2. รูปแบบการนำเสนอ
3 คะแนน = มีรูปแบบการนำเสนอท่ีเหมาะสม มกี ารใชเ้ ทคนิคทีแ่ ปลกใหม่ ใช้ส่อื และเทคโนโลยี
ประกอบการ นำเสนอทน่ี ่าสนใจ นำวัสดใุ นทอ้ งถ่นิ มาประยุกต์ใช้อยา่ งคมุ้ คา่ และประหยัด
2 คะแนน = มเี ทคนิคการนำเสนอทแ่ี ปลกใหม่ ใช้สอ่ื และเทคโนโลยีประกอบการนำเสนอทน่ี ่าสน ใจ แต่
ขาด การประยกุ ตใ์ ช้ วสั ดุในท้องถิน่
1 คะแนน = เทคนิคการนำเสนอไมเ่ หมาะสม และไมน่ า่ สนใจ
3. การมีสว่ นร่วมของสมาชิกในกลมุ่
3 คะแนน = สมาชกิ ทกุ คนมีบทบาทและมีส่วนรว่ มกิจกรรมกลุ่ม
2 คะแนน = สมาชิกส่วนใหญม่ ีบทบาทและมีสว่ นรว่ มกิจกรรมกลุ่ม
1 คะแนน = สมาชิกสว่ นนอ้ ยมบี ทบาทและมสี ว่ นรว่ มกิจกรรมกลุ่ม
4. ความสนใจของผฟู้ ัง
3 คะแนน = ผฟู้ ังมากกว่าร้อยละ 90 สนใจ และใหค้ วามรว่ มมือ
2 คะแนน = ผู้ฟังร้อยละ 70-90 สนใจ และใหค้ วามร่วมมือ
1 คะแนน = ผฟู้ ังน้อยกวา่ รอ้ ยละ 70 สนใจ และใหค้ วามรว่ มมอื
แบบประเมินกระบวนการทำงาน
ชือ่ กลมุ่ ……………………………………………ชัน้ ………………………หอ้ ง...........................
รายชือ่ สมาชกิ 2……………………………………เลขที่…….
4……………………………………เลขที่…….
1……………………………………เลขท…่ี ….
3……………………………………เลขท…ี่ ….
ท่ี รายการประเมนิ คะแนน ขอ้ คดิ เห็น
1 การกำหนดเปา้ หมายรว่ มกนั 321
2 การแบ่งหนา้ ที่รับผดิ ชอบและการเตรยี มความพรอ้ ม
3 การปฏิบัติหน้าทที่ ไี่ ดร้ ับมอบหมาย
4 การประเมินผลและปรบั ปรงุ งาน
รวม
ผูป้ ระเมนิ …………………………………………………
วนั ท่ี…………เดอื น……………………..พ.ศ…………...
เกณฑ์การให้คะแนน
1. การกำหนดเป้าหมายร่วมกนั
3 คะแนน = สมาชกิ ทกุ คนมสี ว่ นรว่ มในการกำหนดเป้าหมายการทำงานอยา่ งชัดเจน
2 คะแนน = สมาชิกสว่ นใหญม่ สี ่วนร่วมในการกำหนดเปา้ หมายในการทำงาน
1 คะแนน = สมาชิกสว่ นนอ้ ยมสี ว่ นร่วมในการกำหนดเปา้ หมายในการทำงาน
2. การมอบหมายหน้าท่รี บั ผดิ ชอบและการเตรียมความพร้อม
3 คะแนน = กระจายงานไดท้ ่วั ถงึ และตรงตามความสามารถของสมาชิกทกุ คน มีการจัดเตรียมสถานที่ สื่อ /
อุปกรณ์ไวอ้ ย่างพรอ้ มเพรียง
2 คะแนน = กระจายงานได้ทวั่ ถงึ แตไ่ มต่ รงตามความสามารถ และมสี ือ่ / อปุ กรณไ์ ว้อย่างพร้อมเพรียง แต่ขาด
การจัดเตรียมสถานที่
1 คะแนน = กระจายงานไม่ทว่ั ถงึ และมสี ่อื / อปุ กรณไ์ ม่เพียงพอ
3. การปฏิบตั หิ น้าท่ีทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย
3 คะแนน = ทำงานไดส้ ำเรจ็ ตามเปา้ หมาย และตามเวลาท่กี ำหนด
2 คะแนน = ทำงานไดส้ ำเรจ็ ตามเปา้ หมาย แต่ช้ากวา่ เวลาทก่ี ำหนด
1 คะแนน = ทำงานไมส่ ำเร็จตามเปา้ หมาย
4. การประเมนิ ผลและปรับปรุงงาน
3 คะแนน = สมาชิกทกุ คนร่วมปรกึ ษาหารอื ตดิ ตาม ตรวจสอบ และปรับปรุงงานเปน็ ระยะ
2 คะแนน = สมาชิกบางส่วนมีส่วนรว่ มปรึกษาหารอื แต่ไมป่ รับปรงุ งาน
1 คะแนน = สมาชิกบางส่วนมสี ว่ นร่วมไมม่ ีสว่ นร่วมปรึกษาหารือ และปรบั ปรงุ งาน
บันทึกหลังการสอน
หนว่ ยท่ี 9 ดจิ ิตอลมัลติมิเตอร์
ผลการใชแ้ ผนการสอน
1. เน้อื หาสอดคลอ้ งกับจดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
2. กจิ กรรมการสอนเหมาะสมกับเนอ้ื หาและเวลาทกี่ ำหนด
3. สื่อการสอนเหมาะสมดี
ผลการเรยี นของนกั เรยี น
1. นักศึกษาส่วนใหญ่มีความเข้าใจในบทเรียน อภิปรายตอบคำถามในกลุ่ม และร่วมกันปฏิบัติ
งานท่ไี ดร้ บั มอบหมาย
2. นกั ศึกษากระตอื รือรน้ และรับผิดชอบในการทำงานกลุ่มเพอ่ื ใหง้ านสำเรจ็ ทันเวลาท่ีกำหนด
3. นักศึกษาฝึกใช้งานดจิ ิตอลมลั ตมิ ิเตอร์ได้
ผลการสอนของครู
1. สอนเน้ือหาไดค้ รบตามหลักสตู ร
2. แผนการสอนและวิธีการสอนครอบคลุมเน้ือหาการสอนทำให้ผู้สอนสอนได้อยา่ งมัน่ ใจ
3. สอนทันตามเวลาทีก่ ำหนด
แผนการสอน/แผนการเรยี นรูภ้ าคทฤษฎี
แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยท่ี 10
ชอ่ื วชิ า เครอื่ งมือวัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนกิ ส์ สอนสปั ดาหท์ ี่ 14-15
ช่อื หนว่ ย มาตรวดั กำลงั ไฟฟ้า คาบรวม 60
ช่อื เร่ือง มาตรวดั กำลงั ไฟฟา้ จำนวนคาบ 4
หวั ข้อเร่อื ง
ดา้ นความรู้
1. กำลังไฟฟ้า
2. วาร์มเิ ตอร์
ด้านทกั ษะ
3. ต่อใช้งานวัตต์มิเตอร์
4. วดั และอา่ นค่ากำลงั ไฟฟ้า
ดา้ นจติ พิสัย
5. วัตตม์ ิเตอร์
6. เพาเวอร์แฟกเตอรม์ เิ ตอร์
7. วตั ต์อาวรม์ เิ ตอร์
ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม
8. เลือกมาตรวดั กำลังไฟฟา้ แต่ชนิดไปใช้งานอยา่ งเหมาะสม
สาระสำคญั
กำลงั ไฟฟ้าเกดิ ข้ึนจากการใช้ไฟฟ้าของอปุ กรณไ์ ฟฟา้ และเครื่องใชไ้ ฟฟา้ สามารถหาค่ากำลงั ไฟฟา้ ได้ 2
วธิ ีการ คือใช้การวัดแรงดนั ไฟฟา้ และกระแสไฟฟา้ ในวงจรนำมาคำนวณโดยใช้สตู รคำนวณกำลังไฟฟ้า อกี วิธีหน่งึ ใช้
วตั ต์มเิ ตอรต์ อ่ วดั กำลงั ไฟฟา้ ในวงจรโดยตรง ชว่ ยลดความยงุ่ ยากในการวัดค่าลงได้วัตต์มเิ ตอรท์ ส่ี ร้างขน้ึ มาใช้งานใช้
หลักการของอเิ ล็กโทรไดนาโมมิเตอรม์ ขี ้วั ต่อวดั 4 ขั้ว ขวั้ วดั 2 ขัว้ แรก เป็นของขดลวดอยกู่ บั ที่หรอื ขดลวด
กระแสไฟฟ้า ข้วั วัดอกี 2 ขั้วที่เหลือเป็นของขดลวดเคลื่อนท่หี รอื ขดลวดแรงดันไฟฟ้า การบ่ายเบนของเขม็ ชีข้ นึ้ อยูก่ ับ
ภาระทตี่ อ่ วงจรและแรงดันไฟฟ้าท่ีปอ้ นให้วงจร